Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard of Operation SOPs_2564

รวมมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard of Operation SOPs_2564

Published by ub.pheoc, 2022-01-26 01:36:57

Description: รวมมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard of Operation SOPs_12.07.64_final

Search

Read the Text Version

กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน รหสั SOP-SAT-02 (Standard of Operation: SOPs) กล่มุ บริหารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศ ส่ือสารสง่ั การ หน้า 2/5 แก้ไขครัง้ ท่ี 1 เร่ือง การแจ้งเหตุการณแ์ ละการรายงาน DCIRs ประกาศใช้ มกราคม 2564 5.2 Notification DCIRs คือ การรายงานเหตุการณ์ DCIRs เบื้องต้นในรูปแบบของข้อความแจ้งผู้บริหาร ผา่ นชอ่ งทางทก่ี าหนด หรอื การแจง้ ทางโทรศพั ท์ โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้ - รายละเอียดของเหตกุ ารณ์ (เกิดอะไร) - วนั /เวลาที่เกดิ เหตุ - สถานที่ - ความเสยี หาย (สถานที่/ผ้เู สียชีวติ /ผู้ไดร้ บั บาดเจบ็ /ผปู้ ว่ ย) - การดาเนินการเบ้ืองต้น - ผู้รายงานเหตุการณ์ 5.3 หัวหน้าเวร คือ ผู้ทป่ี ฏิบตั ิหน้าทใี่ นการตรวจสอบความถูกตอ้ ง ของผู้ปฏบิ ตั งิ านประจาเวร 5.4 ทะเบียนผู้ประสานงาน คือ ผู้ประสานงานระดับหน่วยงานหรือจังหวัด ท่ีสามารถประสานงานเพ่ือ ติดตามข้อมลู ได้ทันทเี่ ม่อื เกิดเหตหุ รือทราบเหตุการณ์ 6. ผงั งาน (Flow Chart) เหตกุ ารณ์ พจิ ารณา ไมใ่ ช่ จบ เหตุการณ์ DCIRs ใช่ แจ้งขอ้ มูลสถานการณเ์ ป็น “Notification DCIRs” รายละเอียดการแจ้ง Notification DCIRs - รายละเอยี ดเหตุการณ์ - วัน/เวลา ที่เกิดเหตุ - สถานที่เกดิ เหตุ - ความเสียหาย/ผลกระทบ (สถานท่ี/ผู้เสียชวี ติ /ผู้บาดเจ็บ/ ผู้ป่วย) - ผรู้ ายงานเหตุการณ์ มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 193

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน รหัส SOP-SAT-02 (Standard of Operation: SOPs) กลุ่มบริหารจัดการขอ้ มูล สารสนเทศ ส่ือสารสั่งการ หน้า 3/5 แกไ้ ขครงั้ ที่ 1 เรือ่ ง การแจ้งเหตกุ ารณ์และการรายงาน DCIRs ประกาศใช้ มกราคม 2564 6. ผังงาน (Flow Chart) (ต่อ) แจ้ง/รายงานผู้บรหิ าร ตาม SAT-REPORT-03 จดั ทารายงานเหตกุ ารณเ์ บอ้ื งต้น ตามแบบฟอรม์ แจง้ /รายงานผูบ้ ริหาร ตาม SAT-REPORT- - SAT-DCIRs-1 กรณี เหตกุ ารณ์ทัว่ ไป 03 - SAT-DCIRs-2 กรณี อุบัติเหตุรถพยาบาล ภายในเวลา 1 ช่ัวโมงหลังจากแจง้ “Notification DCIRs” ส่งผู้บริหารตามชอ่ งทางที่กาหนด แจง้ /รายงานผ้บู ริหาร ตาม SAT-REPORT-03 จดั ทารายงานเหตกุ ารณ์ DCIRs สาหรบั ปลดั กระทรวงสาธารณสุข ตามแบบฟอร์ม - SAT-DCIRs-3 กรณี เหตกุ ารณ์ทั่วไป - SAT-DCIRs-4 กรณี อุบตั เิ หตุรถพยาบาล ภายในเวลา 2 ช่ัวโมงหลังจากแจง้ Notification สง่ ผบู้ รหิ ารตามชอ่ งทางที่กาหนด จบ 7. ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ (Procedure) กระบวนการปฏบิ ัติ รายละเอยี ด ผู้รับผดิ ชอบ พจิ ารณาเกณฑ์ DCIRs เกณฑ์ DCIRs (ระยะเวลาดาเนินการ 5 นาท)ี เวรเฝ้าระวังตดิ ตาม การแจ้ง Notification - รา่ งขอ้ ความ - รา่ งข้อความเสนอผบู้ ังคบั บัญชา โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้ - เวรเฝ้าระวังตดิ ตาม (รายละเอียดของเหตุการณ์ วัน เวลา สถานที่ ความเสยี หาย การ ดาเนนิ การเบื้องตน้ ) ให้หวั หน้างานเฝา้ ระวงั ระบบประเมิน สถานการณ์ และหวั หน้าเวรเฝ้าระวังประจาวนั ตรวจสอบข้อมลู ความถกู ตอ้ ง (ระยะเวลาดาเนินการ 10 นาท)ี - หวั หนา้ งานเฝา้ ระวงั ระบบประเมนิ สถานการณ์ และหวั หน้าเวร - หัวหน้างาน เฝา้ ระวงั ประจาวัน ตรวจสอบ และพจิ ารณาข้อมลู ความถกู ตอ้ ง - หัวหนา้ เวร เสนอ ผอ.กสธฉ. (ระยะเวลาดาเนินการ 10 นาท)ี - ผอ.กสธฉ. - ผอ.กสธฉ. พจิ ารณาข้อมลู ความถกู ต้อง มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 194

กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน รหัส SOP-SAT-02 (Standard of Operation: SOPs) กลมุ่ บริหารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศ สอื่ สารสั่งการ หนา้ 4/5 แกไ้ ขครัง้ ที่ 1 เรอ่ื ง การแจ้งเหตุการณแ์ ละการรายงาน DCIRs ประกาศใช้ มกราคม 2564 กระบวนการปฏบิ ตั ิ รายละเอยี ด ผ้รู ับผดิ ชอบ (ระยะเวลาดาเนนิ การ 5 นาที) - ผอ.กสธฉ. การจดั ทารายงงาน - รายงานขอ้ ความผู้บรหิ ารระดบั สูง ส่งขอ้ ความเขา้ กลุม่ Line - รายงานเหตกุ ารณ์ DCIRs สาหรบั ผบู้ รหิ าร (ระยะเวลาดาเนินการภายใน 10 นาท)ี - เวรเฝา้ ระวังตดิ ตาม ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ - หวั หนา้ งาน - จดั ทาร่างรายงานเหตุการณ์ DCIRs สาหรบั ปลดั กระทรวง - หวั หนา้ เวร สาธารณสุขเบือ้ งตน้ (ระยะเวลาดาเนินการ 120 นาท)ี - ผอ.กสธฉ. - หัวหน้างานเฝ้าระวังระบบประเมนิ สถานการณ์ และหัวหนา้ เวร - ผอ.กสธฉ. เฝ้าระวังประจาวนั ตรวจสอบขอ้ มูล ความถกู ต้องของร่าง รายงาน - ผอ.กสธฉ. พิจารณาข้อมูล ความถูกตอ้ ง เหมาะสมของร่าง รายงาน - รายงานผบู้ รหิ ารระดับสงู สง่ ขอ้ ความเขา้ กลุ่ม Line ผู้บรหิ าร (ระยะเวลาดาเนินการภายใน 15 นาที) 8. มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Performance Standard) 8.1 มาตรฐานระยะเวลา: การดาเนินงานเปน็ ไปตามระยะเวลาทก่ี าหนด 8.2 มาตรฐานเชิงคณุ ภาพ: รายงานเหตกุ ารณ์ 9. การติดตามประเมินผล (Measurement and Evaluation) 9.1 ผรู้ ับผิดชอบในการติดตามประเมนิ ผล: ผอู้ านวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉนิ 9.2 วธิ กี ารติดตามประเมนิ ผล 9.2.1 เวรเฝ้าระวังติดตาม รายงานผลการดาเนนิ งานต่อหัวหนา้ งาน SAT 9.2.2 หวั หนา้ งาน SAT สรุปผลการดาเนินงานต่อผอู้ านวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉินทกุ เดอื น 9.3 ตวั ชว้ี ัด 9.3.1 รายงานเหตฉุ ุกเฉินทต่ี ้องรายงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ทนั ที เสนอผ้บู รหิ ารไดภ้ ายใน 2 ชว่ั โมง นับจากเกิดเหตุ 10. แบบฟอร์มทีใ่ ช้ (Form) 10.1 แบบฟอร์ม 1. แบบฟอรม์ รายงาน DCIRs สาหรบั ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2. แบบฟอรม์ รายงาน DCIRs สาหรบั ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรณี อบุ ัติเหตรุ ถพยาบาล 10.2 เอกสารสนบั สนุนอน่ื 1. เกณฑเ์ หตุฉุกเฉนิ ท่ีต้องรายงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ทันที (DCIRs) มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน (Standard of Operation: SOPs) 195

กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน รหัส SOP-SAT-02 (Standard of Operation: SOPs) กลมุ่ บริหารจดั การขอ้ มูล สารสนเทศ สื่อสารส่ังการ หนา้ 5/5 แกไ้ ขครั้งที่ 1 เรอื่ ง การแจ้งเหตกุ ารณแ์ ละการรายงาน DCIRs ประกาศใช้ มกราคม 2564 2. การแบง่ ประเภทสาธารณภยั ตามคมู่ ือการใช้งานระบบ Web EOC สาหรับศนู ยป์ ฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข 3. ทะเบียนผปู้ ระสานงาน 11. การควบคมุ การบันทึก (Control of Record) ลาดับท่ี ช่อื เอกสาร ผู้รบั ผดิ ชอบ สถานท่ีจดั เกบ็ ระยะเวลาจดั เก็บ 12. บันทกึ การแกไ้ ขเอกสาร เดอื น ปี แกไ้ ขคร้งั ท่ี รายละเอียด 12.1 รายละเอียด ผ้จู ดั ทา ผูท้ บทวน ผู้อนุมตั ิ ผูจ้ ดั ทา ผู้ทบทวน ผอู้ นุมตั ิ นายวทิ ูรย์ อนนั กลุ งานเฝา้ ระวังระบบประเมนิ สถานการณ์ ผูอ้ านวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน 1.นายสบุ รรณ สงิ หโ์ ต ตาแหนง่ นักวิชาการสาธารณสุขปฏบิ ัติการ รายละเอียดการแก้ไข 2.นายพงศ์พัทธ์ ชยั ชมุ พล ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบตั ิการ 3.นางสาวธนั ยานาถ อุปปัญญาคา ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบตั ิการ 4.นางสาวณฏั ฐน์ รี คาดี ตาแหน่ง นกั วิชาการสาธารณสุขปฏบิ ตั ิการ 5.นายทวศี ักด์ิ รกั ขยนั ตาแหน่ง เจา้ หน้าทวี่ ิทยสุ ือ่ สาร 12.2 บนั ทึกการแก้ไข (คร้งั ต่อไป) วันเดอื นปี แก้ไขคร้ังที่ มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 196

กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน รหสั SOP-SAT-03 (Standard of Operation: SOPs) กลุม่ บริหารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศ สอื่ สารสง่ั การ หนา้ 1/5 แกไ้ ขครงั้ ท่ี เร่ือง การแจ้งเตอื นภัยดา้ นการแพทย์ ประกาศใช้ มกราคม 2564 และสาธารณสุข ผจู้ ดั ทา ผ้ตู รวจสอบ/ทบทวน ผ้อู นุมตั ิ งานเฝ้าระวงั ระบบประเมินสถานการณ์ ..…..……………..….…………. ....……………..……………… กองสาธารณสุขฉุกเฉิน (นางสรุ รี ัตน์ ใจดี) (นายวิทรู ย์ อนันกุล) วนั ที่ 19 มกราคม 2564 หวั หน้ากลุม่ บรหิ ารจดั การข้อมูลสารสนเทศ ผู้อานวยการกองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ สอ่ื สาร สัง่ การ วนั ท่ี 20 มกราคม 2564 วนั ที่ 20 มกราคม 2564 1. วัตถปุ ระสงค์ (Objective) 1.1 เพ่ือให้การแจ้งเตือน มีขั้นตอนที่เป็นมาตรฐาน สามารถส่งข้อมูลการแจ้งเตือนไปยังพ้ืนท่ีและ สถานบริการไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว และถูกตอ้ ง 1.2 เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานในการแจ้งเตือนภัย เข้าใจข้ันตอนการปฏิบัติงาน มีการทางานที่ถูกต้อง รวดเร็ว และมีมาตรฐานเดยี วกนั 2. ขอบเขต (Scope) มาตรฐานการปฏิบัติงานน้ี ครอบคุมข้ันตอนการปฏิบัติงานในการแจ้งเตือนภัยของงานเฝ้าระวังระบบ ประเมินสถานการณ์ กองสาธารณสุขฉุกเฉิน เฝ้าระวัง การวิเคราะห์ข้อมูล การเตรียมความพร้อมรับมือ และการ รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มเป้าหมายการแจ้งเตือนภัย คือ ประชาชนในพื้นท่ีเส่ียง สถานบริการในพ้ืนท่ีเสี่ยง เขตบรกิ ารสขุ ภาพ สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั 3. ความรับผดิ ชอบ (Responsibility) 3.1 ผู้อานวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน มีหน้าท่ี พิจารณาข้อมูล และสั่งการให้จัดทาเอกสารแจ้ง เตือนภัย รวมท้ังตรวจสอบความถูกตอ้ ง ก่อนนาเสนอผ้บู งั คบั บัญชาพจิ ารณา 3.2 หัวหน้ากลุ่มบริหารจัดการข้อมูล สารสนเทศ ส่ือสารสั่งการ มีหน้าท่ี ควบคุม กากับ การปฏิบัติงาน หัวหน้างานเฝ้าระวังระบบประเมินสถานการณ์ เวรเฝ้าระวัง และตรวจสอบข้อมูลความถูกต้องการแจ้งเตือน กอ่ นนาเสนอผู้อานวยการกองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน 3.3 หัวหน้างานเฝ้าระวังระบบประเมินสถานการณ์ มีหน้าที่ ควบคุม กากับ การปฏิบัติงานแจ้งเตือนภัย ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน 3.4 เวรเฝ้าระวัง มีหน้าที่ ติดตาม เฝ้าระวัง สาธารณภัย ตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานการปฏิบัติงาน เรอ่ื ง การแจง้ เตอื นภัย 4. เอกสารอา้ งอิง (Reference) 4.1 แผนป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ ปี พ.ศ.2558 4.2 กรอบแนวทางการพัฒนาศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารภาวะฉุกเฉนิ ปี พ.ศ. 2559-2564 4.3 ค่มู อื การใชง้ านระบบ Web EOC สาหรบั ศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินด้านการแพทย์และสาธารณสขุ มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 197

กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน รหัส SOP-SAT-03 (Standard of Operation: SOPs) กล่มุ บริหารจดั การข้อมูล สารสนเทศ สอ่ื สารสงั่ การ หนา้ 2/5 แก้ไขครง้ั ท่ี เร่อื ง การแจ้งเตือนภัยด้านการแพทย์ ประกาศใช้ มกราคม 2564 และสาธารณสขุ 5. คาศพั ทแ์ ละคานิยาม (Term and Definition) ระบบการแจ้งเตือนภัย หมายถึง ระบบท่ีมีความสามารถในการสร้างและเผยแพร่ข้อมูลเตอื นภัย ทช่ี ัดเจน ทันเวลา เพื่อให้หน่วยงานในสังกัด ได้รับทราบและเตรียมความพร้อมต่อสถานการณ์ ดาเนินการตอบสนองต่อ สถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม เพ่ือลดความเสี่ยง ความรุนแรง สามารถรับมือกับสถานการณ์ได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ 6. ผังงาน (Flow Chart) ติดตำมประกำศแจง้ เตอื นภัย/เฝ้ำระวัง จำกหน่วยงำนรบั ผดิ ชอบหลกั ของประเทศ วิเครำะหแ์ ละประเมินพื้นทเ่ี สยี่ ง และสถำนบรกิ ำรเสย่ี ง ขออนมุ ตั ิจัดทำร่ำง No ประกำศแจ้งเตอื นภัย Yes จัดทำร่ำงประกำศแจง้ เตือนภัย หน.กลุม่ ฯ พจิ ำรณำ No ตรวจสอบ No Yes ผอ.กสธฉ. พจิ ำรณำ ตรวจสอบ มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard of Operation: SOPs) 198

กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน รหัส SOP-SAT-03 (Standard of Operation: SOPs) กลมุ่ บริหารจัดการข้อมูล สารสนเทศ สื่อสารส่งั การ หนา้ 3/5 แก้ไขครง้ั ที่ เรื่อง การแจ้งเตอื นภัยดา้ นการแพทย์ ประกาศใช้ มกราคม 2564 และสาธารณสขุ 6. ผงั งาน (Flow Chart) (ต่อ) Yes ปลัด สธ./ รองปลัด สธ. แจ้งเตือนเตรยี มควำมพรอ้ ม รบั ข้อมลู ตอบกลับกำร เตรยี มควำมพร้อม สรปุ รำยงำนกำร เตรียมควำมพรอ้ ม เกบ็ ลงฐานข้อมลู 7. ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิ (Procedure) ขน้ั ตอน รายละเอียด ระยะเวลา ผู้รบั ผดิ ชอบ 1. ติดตามประกาศแจง้ - กรมอุตนุ ยิ มวทิ ยา หนว่ ยงาน - SAT กสธฉ. เตอื นภัย/เฝ้าระวัง จาก - ศูนยเ์ ตอื นภัยพิบตั ิแห่งชาติ หลกั ประกาศ - เวรเฝ้าระวัง หน่วยงานรบั ผิดชอบหลัก - กรมชลประทาน แจ้งเตอื น ของประเทศ - กรมทรัพยากรธรณี - กรมอทุ กศาสตร์ - กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั และหนว่ ยอืน่ ๆที่เกย่ี วข้อง เช่น WHO, AHA Center, กรมควบคุมโรค, กรมควบคุมมลพษิ 2. วิเคราะห์และประเมนิ วเิ คราะห์พ้นื ที่เส่ียงสถานบริการเสีย่ งดบั ระกบั จังหวัด 45 นาที - SAT กสธฉ. - เวรเฝ้าระวงั พน้ื ทเี่ ส่ยี งและสถานบริการ อาเภอ ถงึ ตาบล จากฐานข้อมูลของงานเฝ้าระวงั ระบบ เส่ยี ง ประเมนิ สถานการณ์ มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 199

กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน รหสั SOP-SAT-03 (Standard of Operation: SOPs) กลุ่มบริหารจัดการขอ้ มูล สารสนเทศ ส่ือสารสง่ั การ หนา้ 4/5 แก้ไขครงั้ ท่ี เรือ่ ง การแจ้งเตอื นภัยด้านการแพทย์ ประกาศใช้ มกราคม 2564 และสาธารณสขุ ขั้นตอน รายละเอยี ด ระยะเวลา ผ้รู บั ผดิ ชอบ 3. ขออนมุ ตั ิจดั ทาร่าง เสนอหวั หนา้ งาน เพ่อื จดั ทาร่างประกาศแจ้งเตือนภยั 10 นาที - SAT กสธฉ. ประกาศแจ้งเตือนภัย - เวรเฝา้ ระวัง จัดทารา่ งประกาศแจ้งเตือนภัย เสนอหัวหน้างาน 50 นาที 4. จัดทารา่ งประกาศแจ้ง หัวหนา้ งาน เตอื นภัย 5. หน.กลุม่ ฯ พจิ ารณา เสนอ หน.กลุ่มฯ พิจารณาตรวจสอบ แก้ไข ความ 15 นาที หน.กลมุ่ ฯ ตรวจสอบ ครบถ้วน ความถูกตอ้ ง ความเหมาะสม ความเรียบร้อย 6. ผอ.กสธฉ. พิจารณา เสนอ หน.กลุ่มฯ พิจารณาตรวจสอบ แก้ไข ความ 20 นาที ผอ.กสธฉ. ตรวจสอบ ครบถว้ น ความถกู ตอ้ ง ความเหมาะสม ความเรยี บร้อย 7. ปลัด สธ./ ปลดั สธ./ รองปลดั สธ. พิจารณาอนมุ ตั ิ 30 นาที ปลัด สธ./ รองปลัด สธ. รองปลดั สธ. 8. แจง้ เตอื นเตรยี มความ แจ้งเตือนไปยัง กรมสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขต 10 นาที - SAT กสธฉ. พร้อม บริการสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด กล่อง - เวรเฝา้ ระวัง ภารกจิ เมือ่ รายงาน 9. รบั ขอ้ มลู ตอบกลับการ รับรายงานผลการเตรียมความพร้อม จากสานักงาน - SAT กสธฉ. เตรยี มความพร้อม สาธารณสขุ จงั หวัด และ เขตบรกิ ารสุขภาพ ทันทีที่ได้รบั - เวรเฝ้าระวงั 10. สรปุ รายงานการ รวบรวมและสรุปผลรายงานการเตรียมความพร้อม รายงาน - SAT กสธฉ. เตรยี มความพร้อม นาเสนอ ปลัด สธ. รองปลดั สธ. และ ผอ.กสธฉ. - เวรเฝา้ ระวัง 11. เก็บลงฐานขอ้ มลู เก็บขอ้ มูลลงฐานขอ้ มลู ทนั ทีท่ีไดร้ บั - SAT กสธฉ. - ประกาศแจ้งเตือน รายงาน - ขอ้ มลู เอกสาร - รายงานผลการเตรยี มความพรอ้ ม 8. มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Performance Standard) 8.1 มาตรฐานระยะเวลา: การดาเนนิ งานเปน็ ไปตามระยะเวลาที่กาหนด 8.2 มาตรฐานเชงิ คณุ ภาพ: รายงานเหตกุ ารณ์ 9. การติดตามประเมนิ ผล (Measurement and Evaluation) 9.1 การยืนยนั รบั ทราบข้อมลู จากหน่วยงานแตล่ ะระดับ เพือ่ เตรยี มความพรอ้ มรับเหตกุ ารณฉ์ ุกเฉิน 10. แบบฟอร์มที่ใช้ (Form) 10.1 แบบฟอร์มประกาศแจ้งเตอื นภยั ระดบั สว่ นกลาง 10.2 แบบฟอรม์ ประกาศแจ้งเตอื นภยั ระดบั พ้นื ที่ มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 200

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน รหัส SOP-SAT-03 (Standard of Operation: SOPs) กลมุ่ บริหารจัดการข้อมูล สารสนเทศ สอ่ื สารส่ังการ หน้า 5/5 แก้ไขครัง้ ท่ี เรือ่ ง การแจ้งเตือนภยั ด้านการแพทย์ ประกาศใช้ มกราคม 2564 และสาธารณสขุ 11. การควบคุมการบันทึก (Control of Record) ลาดบั ที่ ช่ือเอกสาร ผู้รับผิดชอบ สถานทจี่ ัดเกบ็ ระยะเวลาจัดเก็บ 12. บนั ทกึ การแกไ้ ขเอกสาร เดือน ปี แกไ้ ขครง้ั ท่ี รายละเอียด 12.1 รายละเอียด ผู้จดั ทา ผู้ทบทวน ผ้อู นุมตั ิ ผูจ้ ัดทา ผู้ทบทวน ผอู้ นุมัติ นายวทิ ูรย์ อนันกลุ งานเฝา้ ระวังระบบประเมินสถานการณ์ ผ้อู านวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉนิ 1.นายสุบรรณ สิงหโ์ ต รายละเอยี ดการแก้ไข ตาแหน่ง นกั วิชาการสาธารณสุขปฏบิ ตั ิการ 2.นายพงศพ์ ัทธ์ ชยั ชมุ พล ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏบิ ัติการ 3.นางสาวธันยานาถ อปุ ปญั ญาคา ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏบิ ัติการ 4.นางสาวณัฏฐ์นรี คาดี ตาแหนง่ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบตั กิ าร 5.นายทวศี ักดิ์ รกั ขยนั ตาแหนง่ เจา้ หนา้ ท่ีวิทยสุ อ่ื สาร 12.2 บันทึกการแกไ้ ข (ครง้ั ต่อไป) วนั เดือนปี แก้ไขครงั้ ที่ มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 201

มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน รหสั SOP-SAT-04 (Standard of Operation: SOPs) กล่มุ บริหารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศ สื่อสาร ส่งั การ กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ เรือ่ ง งานเฝ้าระวังระบบประเมินสถานการณ์ หนา้ 1/6 ในภาวะฉกุ เฉนิ แก้ไขคร้ังที่ ประกาศใช้ มกราคม 2563 ผู้จดั ทา ผ้ตู รวจสอบ/ทบทวน ผู้อนุมัติ งานเฝา้ ระวังระบบประเมินสถานการณ์ ..…..……………..….…………. ....……………..……………… กองสาธารณสุขฉุกเฉิน (นางสุรรี ัตน์ ใจดี) (นายวิทูรย์ อนนั กลุ ) วนั ท่ี 19 มกราคม 2564 หัวหน้ากลุม่ บริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศ ผู้อานวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉนิ ส่อื สาร สงั่ การ วันท่ี 20 มกราคม 2564 วนั ท่ี 20 มกราคม 2564 1. วตั ถปุ ระสงค์ (Objective) 1.1 เพ่อื เปน็ กรอบและแนวทางในการปฏิบัติงานของเจา้ หน้าท่ีทมี ตระหนกั ร้สู ถานการณ์ กองสาธารณสุข ฉุกเฉิน ในภาวะฉกุ เฉิน 1.2 เพ่ือให้มีการพัฒนาระบบและกลไกการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีทีมตระหนักรู้สถานการณ์ กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ และทันต่อเหตุการณ์ สถานการณ์ 1.3 เพ่ือให้มีรายงานต่างๆของทีมตระหนักรู้สถานการณ์ กองสาธารณสุขฉุกเฉิน ในภาวะฉุกเฉิน ตามระยะเวลาท่ีกาหนด 2. ขอบเขต (Scope) 2.1 ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวัง อย่างใกล้ชิด รวมถึงวิเคราะห์และประเมินความเส่ียงของโรคและ ภยั สุขภาพ ในภาวะฉกุ เฉนิ 2.2 ประสานและแลกเปล่ียนข้อมูล ระหว่างทีมตระหนักรู้สถานการณ์ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และหนว่ ยงานต่างๆ 2.3 ประสานข้อมลู รายงาน และจัดทารายงาน ที่เกี่ยวขอ้ งใหผ้ ู้บริหาร และหนว่ ยงานต่างๆ 2.4 ประสานงาน เพื่อพิจารณาเปิดศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข ร่วมกับ กลมุ่ ยุทธศาสตรก์ ารจดั การภาวะฉกุ เฉินด้านการแพทย์และสาธารณสขุ 3. ความรบั ผดิ ชอบ (Responsibility) ทมี ตระหนักรู้สถานการณ์ งานเฝ้าระวังระบบประเมินสถานการณ์ กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน 4. เอกสารอ้างอิง (Reference) 4.1 แผนปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ ปี พ.ศ. 2558 4.2 กรอบแนวทางการพัฒนาศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารภาวะฉุกเฉนิ ปี พ.ศ. 2559-2564 4.3 คู่มอื การใชง้ านระบบ Web EOC สาหรับศูนย์ปฏบิ ัติการฉุกเฉินด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 202

มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน รหัส SOP-SAT-04 (Standard of Operation: SOPs) กลุ่มบริหารจัดการข้อมลู สารสนเทศ ส่อื สาร สง่ั การ กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน เรื่อง งานเฝ้าระวังระบบประเมินสถานการณ์ หนา้ 2/6 ในภาวะฉกุ เฉิน แก้ไขครงั้ ท่ี ประกาศใช้ มกราคม 2563 5. คาศพั ท์และคานิยาม (Term and Definition) 5.1 งานเฝ้าระวงั ระบบประเมินสถานการณ์ หมายถึง เป็นการเฝ้าระวังเหตุการณ์ด้านโรคและภัยสุขภาพ เหตุฉุกเฉิน และสาธารณภัยท่ีส่งผลกระทบทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข โดยการเฝ้าระวังจากแหล่งข่าว ต่างๆ ท้ังในส่วนราชการและนอกส่วนราชการ สื่อมวลชน social media ซึ่งใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานของการติดตาม ตรวจสอบหาข้อเท็จจริงของสถานการณ์น้ันๆ และประเมินสถานการณ์และผลกระทบ ให้สามารถตอบสนองได้ อย่างทนั ท่วงที 5.2 Web EOC หมายถึง เป็น software ท่ีใช้ในการสั่งการในภาวะฉุกเฉินภายใต้ระบบบัญชาการ เหตุการณ์ และเป็น Data Center สาหรบั ศนู ย์ปฏบิ ัติการฉกุ เฉินดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข 5.3 การเฝ้าระวังเหตุการณ์ หมายถึง การรับแจ้งเหตุผิดปกติอย่างรวดเร็วโดยมีการจัดการท่ีเป็นระบบ เพ่ือให้ได้ข่าวสารข้อมูลการเกิดสถานการณ์ จากแหล่งข่าวต่างๆ ท้ังที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ และ มีการตอบสนองท่ีรวดเร็ว 6. ผังงาน (Flow Chart) SAT เสนอผู้บริหารพิจารณาเปิด PHEOC หรอื ขอ้ สัง่ การใหเ้ ปิด PHEOC ชอ่ งทางเฝา้ ระวงั วิทยุสอ่ื สาร โทรศพั ท/์ Fax./E-mail Social Media โทรทศั น์ - ระบบ E-radio/VHFช่อง โทรศพั ท์ - Line ID: moph1771 รายการชอ่ งโทรทศั น์ ต่างๆ เชน่ ความถี่ 11 (154.925 - มือถอื : 09 2251 1771 - Face book ช่อง 3, 5, 7, 9, 11, Thai MHz) - กอง : 0 2590 1934-35 ตอ่ - Twitter PBS, voice TV, nation TNN - เว็บไซตต์ ่างๆ เปน็ ต้น - ระบบ SSB 910, 911 7.645 MHz Fax. - กอง : 0 2590 1340 - ระบบวทิ ยสุ มัครเล่น E-mail (ใช้สาหรบั ติดต่อ รปภ. - [email protected] ภายใน สธ.) A B CD มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 203

มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน รหัส SOP-SAT-04 (Standard of Operation: SOPs) กลมุ่ บริหารจัดการขอ้ มูล สารสนเทศ สือ่ สาร สงั่ การ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน เร่อื ง งานเฝา้ ระวังระบบประเมนิ สถานการณ์ หนา้ 3/6 ในภาวะฉุกเฉิน แกไ้ ขคร้งั ท่ี ประกาศใช้ มกราคม 2563 6. ผังงาน (Flow Chart) (ต่อ) A B CD ตดิ ตามขา่ วสาร ทีเ่ กีย่ วขอ้ งท้งั ในและตา่ งประเทศ พืน้ ท่เี กดิ เหตกุ ารณ์ วเิ คราะห์ขอ้ มลู และประเมินความเสย่ี ง เสนอ IC เพอ่ื พิจารณาเตรยี มทีมปฏิบัตกิ าร ยาและเวชภัณฑ์ ในการสนับสนุน หากมีการร้องขอหรอื เหน็ ว่าพ้นื ทไ่ี มส่ ามารถ บริหารจดั การได้ กาหนดรูปแบบการรายงาน จดั ทารายงานประจาวัน เสนอ ผ้บู ริหารและผทู้ ี่เกย่ี วข้อง นาเสนอสถานการณ์ จัดทาสถานการณเ์ สนอผูบ้ รหิ าร เพ่ือพิจารณาปดิ PHEOC มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 204

มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน รหสั SOP-SAT-04 (Standard of Operation: SOPs) กลมุ่ บริหารจัดการข้อมลู สารสนเทศ ส่ือสาร สั่งการ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน เรอ่ื ง งานเฝ้าระวังระบบประเมนิ สถานการณ์ หน้า 4/6 ในภาวะฉกุ เฉนิ แก้ไขครั้งที่ ประกาศใช้ มกราคม 2563 7. ขั้นตอนการปฏบิ ัติ (Procedure) ขั้นตอน รายละเอยี ด ระยะเวลา ผู้รบั ผดิ ชอบ 1. เสนอผบู้ รหิ าร ทมี ตระหนักรูส้ ถานการณ์ เสนอผบู้ ริหารเพื่อพจิ ารณาเปิดศนู ย์ ทนั ทหี ลังจาก - SAT กสธฉ. พิจารณาเปิด ปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC) หรอื เหตกุ ารณ์มี PHEOC หรือ ขอ้ ส่ัง ขอ้ สงั่ การให้เปดิ PHEOC ร่วมกบั กลมุ่ ยุทธศาสตรก์ ารจดั การ แนวโนม้ รุนแรง - เวรเฝ้าระวงั การให้เปดิ PHEOC ภาวะฉกุ เฉินด้านการแพทย์และสาธารณสขุ ตดิ ตาม 2. เฝา้ ระวงั ช่องทางการเฝ้าระวงั สถานการณ์ ดาเนินการรับข่าวและหา ขึ้น - เจ้าหน้าทีว่ ทิ ยุ สถานการณ์ ผ่าน ข่าวสารผ่านชอ่ งทางต่อไปน้ี ทุกวัน ส่ือสาร ชอ่ งทางตา่ งๆ ตลอด 1.ช่องทางโทรศพั ท์ 24 ชว่ั โมง ทันทหี ลังจาก - SAT กสธฉ. - มือถือ: 09 2251 1711 รบั ทราบ - เวรเฝ้าระวงั 3. เสนอ IC เพอ่ื - กอง: 0 2590 1934-35 ต่อ 910, 911 เหตกุ ารณ์ ตดิ ตาม พจิ ารณาเตรยี มทีม 2.ชอ่ งทางโทรสาร (ทกุ วนั ) ปฏบิ ัตกิ าร ยาและ - กอง: 0 2590 1340 30 นาที - SAT กสธฉ. เวชภัณฑใ์ นการ 3.ช่องทางอเี มล - เวรเฝา้ ระวงั สนบั สนุน - [email protected] หลังจากไดร้ ับ ตดิ ตาม 4. กาหนดรปู แบบ 4.ช่องทางLine ผ่านกลมุ่ ตา่ งๆ รายงานเบ้อื งต้น - SAT กสธฉ. การรายงาน - Line ID: moph1771 - เวรเฝา้ ระวงั 5.ชอ่ งทางวทิ ยุสอ่ื สาร ช่อง 11 (154.925 MHz) นามเรียก ทกุ วัน ขาน “สธฉ” 09.00 น. 6.ชอ่ งทาง Facebook 7.ช่องทาง โทรทศั น์ 8.ช่องทาง เว็บไซตห์ น่วยงานตา่ ง 9.ช่องทาง Twitter 10.ช่องทาง ขา่ วออนไลน์อน่ื ๆ เสนอ IC เพอ่ื พจิ ารณาเตรยี มทมี ปฏบิ ัตกิ าร ยาและเวชภณั ฑ์ใน การสนบั สนุน หากมกี ารรอ้ งขอหรอื เหน็ วา่ พ้ืนทไ่ี ม่สามารถ บรหิ ารจัดการได้ ใหส้ ามารถตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉนิ ด้าน การแพทย์และสาธารณสุข ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ กาหนดรูปแบบการรายงาน 5. จัดทารายงาน จัดทารายงาน เสนอผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องเพ่ือนาเสนอ IC เสนอผบู้ รหิ ารและผู้ เพ่ือพิจารณาตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และ มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน (Standard of Operation: SOPs) 205

มาตรฐานการปฏิบัติงาน รหัส SOP-SAT-04 (Standard of Operation: SOPs) กลมุ่ บริหารจดั การข้อมูล สารสนเทศ สือ่ สาร สงั่ การ กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ เรอื่ ง งานเฝา้ ระวังระบบประเมินสถานการณ์ หนา้ 5/6 ในภาวะฉุกเฉนิ แกไ้ ขครง้ั ท่ี ประกาศใช้ มกราคม 2563 ขัน้ ตอน รายละเอยี ด ระยะเวลา ผ้รู ับผิดชอบ ทีเ่ กย่ี วข้อง - ตดิ ตาม สาธารณสุข เป็นประจาทุกวัน จนกว่าสถานการณ์จะเข้าสู่ - 6. นาเสนอ ภาวะปกติ - SAT กสธฉ. สถานการณ์ - เวรเฝ้าระวัง เตรยี มข้อมลู และนาเสนอผลการติดตามเฝา้ ระวังสถานการณ์ ตดิ ตาม ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจาก IC - SAT กสธฉ. - เวรเฝา้ ระวัง 7. เสนอผบู้ รหิ ารเพอื่ ประสานงาน เพื่อพจิ ารณาเปิดศูนยป์ ฏิบตั ิการฉุกเฉนิ ดา้ น ตดิ ตาม พิจารณายกระดับ/ การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ร่วมกับกลุ่มยุทธศาสตร์การจัดการ ปิด PHEOC ภาวะฉกุ เฉินดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข พิจารณายกระดบั / ปิด PHEOC 8. มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน (Performance Standard) 8.1 มาตรฐานระยะเวลา: การดาเนนิ งานเป็นไปตามระยะเวลาทกี่ าหนด 8.2 มาตรฐานเชิงคุณภาพ: รายงานเหตุการณ์เสนอผู้บรหิ าร 9. การติดตามประเมินผล (Measurement and Evaluation) 9.1 ผรู้ บั ผิดชอบในการตดิ ตามประเมนิ ผล: ผอู้ านวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน 9.2 วธิ ีการตดิ ตามประเมนิ ผล 9.2.1 เวรเฝ้าระวังติดตาม รายงานผลการดาเนนิ งานต่อหัวหน้าทีมตระหนักร้สู ถานการณ์ 9.2.2 หวั หนา้ งาน SAT สรุปผลการดาเนินงานต่อผู้อานวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน 9.3 ตวั ชวี้ ดั 1. รายงานสถานการณ์ดา้ นการแพทย์และสาธารณสขุ เสนอผู้บรหิ ารทกุ วัน 10. แบบฟอร์มทใ่ี ช้ (Form) 10.1 คมู่ ือการปฏบิ ัติงานทมี ตระหนกั รูส้ ถานการณ์ (SAT) สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข 10.2 แบบฟอร์มรายงานสถานการณ์ภาวะฉุกเฉนิ ดา้ นการแพทย์และสาธารณสขุ กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ 11. การควบคมุ การบันทกึ (Control of Record) ลาดับที่ ชอื่ เอกสาร ผรู้ บั ผิดชอบ สถานทจี่ ัดเกบ็ ระยะเวลาจดั เก็บ มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 206

มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน รหัส SOP-SAT-04 (Standard of Operation: SOPs) กลุม่ บริหารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศ สื่อสาร ส่งั การ กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน เรื่อง งานเฝ้าระวังระบบประเมนิ สถานการณ์ หนา้ 6/6 ในภาวะฉุกเฉนิ แกไ้ ขคร้ังท่ี ประกาศใช้ มกราคม 2563 12. บนั ทึกการแกไ้ ขเอกสาร เดือน ปี แก้ไขคร้งั ท่ี รายละเอยี ด 12.1 รายละเอียด ผูจ้ ดั ทา ผู้ทบทวน ผอู้ นุมัติ ผู้จดั ทา ผ้ทู บทวน ผอู้ นุมตั ิ นายวิทรู ย์ อนนั กุล งานเฝา้ ระวงั ระบบประเมนิ สถานการณ์ ผอู้ านวยการกองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน 1.นายสบุ รรณ สิงหโ์ ต ตาแหน่ง นกั วิชาการสาธารณสุขปฏบิ ตั กิ าร รายละเอียดการแกไ้ ข 2.นายพงศ์พัทธ์ ชยั ชุมพล ตาแหนง่ นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั ิการ 3.นางสาวธนั ยานาถ อปุ ปัญญาคา ตาแหน่ง นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบตั ิการ 4.นางสาวณฏั ฐน์ รี คาดี ตาแหนง่ นักวิชาการสาธารณสุขปฏบิ ัตกิ าร 5.นายทวศี ักด์ิ รกั ขยัน ตาแหนง่ เจา้ หนา้ ทวี่ ิทยุสือ่ สาร 12.2 บนั ทกึ การแกไ้ ข (คร้ังต่อไป) วันเดือนปี แกไ้ ขคร้งั ที่ มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 207

มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน รหัส SOP-SAT-05 (Standard of Operation: SOPs) กลมุ่ บริหารจัดการข้อมูล สารสนเทศ สอื่ สาร สงั่ การ กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ หน้า 1/5 เรือ่ ง งานวิทยุส่ือสาร แก้ไขคร้ังท่ี ประกาศใช้ มกราคม 2564 ผจู้ ัดทา ผ้ตู รวจสอบ/ทบทวน ผู้อนมุ ัติ งานเฝา้ ระวงั ระบบประเมนิ สถานการณ์ ..…..……………..….…………. ....……………..……………… กองสาธารณสุขฉุกเฉิน (นางสุรรี ัตน์ ใจดี) (นายวิทูรย์ อนันกลุ ) วนั ที่ 19 มกราคม 2564 หวั หนา้ กล่มุ บรหิ ารจดั การข้อมลู สารสนเทศ ผู้อานวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉนิ สื่อสาร สั่งการ วนั ที่ 20 มกราคม 2564 วันท่ี 20 มกราคม 2564 1. วัตถปุ ระสงค์ (Objective) 1.1 เพื่อเป็นกรอบและแนวทางในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี งานวิทยุสื่อสาร กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1.2 เพ่ือให้มีการพัฒนาระบบและกลไกการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ กองสาธารณสุขฉุกเฉิน ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ 1.3 เพอ่ื ให้มีรายงานตา่ ง ๆ ของงานวิทยุสือ่ สาร กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ ตามระยะเวลาที่กาหนด 2. ขอบเขต (Scope) 2.๑ ตรวจเช็คระบบและความพร้อมของเคร่อื งรับส่งวทิ ยุ พรอ้ มอปุ กรณ์ ให้พรอ้ มใช้งาน 2.๒ ค้นหาและสร้างโครงข่ายเช่ือมโยงสัญญาณรับส่งวิทยุ ของกองสาธารณสุขฉุกเฉิน กับลูกข่าย สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัด โรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลท่ัวไป 2.๓ เช็คสญั ญาณความชดั เจนการติดตอ่ สื่อสารกบั เครอื ขา่ ยทีส่ ามารถรับส่งสัญญาณถึงกันได้ 2.๔ เฝ้าระวังสาธารณภัยจากการรับแจ้งเหตุและรายงานสถานการณ์ สาธารณภัยจากศูนย์ส่ังการต่าง ๆ ของกระทรวงสาธารณสขุ และเครอื ข่ายนอกสงั กัด/หนว่ ยงานตา่ ง ๆ (พร้อมจดั ทารายงานเสนอ) 2.๕ ให้คาแนะนาการใช้งานของเคร่ืองรับส่งวิทยุ ในระบบ e-Radio VHF และ HF ให้แก่เจ้าหน้าท่ี ของกองสาธารณสุขฉุกเฉนิ 2.๖ ซอ่ มบารุงเบอื้ งต้น กรณเี ครื่องมือสื่อสารขัดขอ้ ง หรอื มีปัญหาในการใช้งาน 2.๗ งานอนื่ ๆ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย 3. ความรบั ผดิ ชอบ (Responsibility) งานวิทยุสื่อสาร กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน 4. เอกสารอา้ งอิง (Reference) 4.1 คูม่ อื การมีและการใช้เครื่องวทิ ยุคมนาคม ของกระทรวงสาธารณสุข 4.2 คูม่ ือการใชง้ านระบบ Web EOC สาหรับศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉนิ ด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 208

มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน รหัส SOP-SAT-05 (Standard of Operation: SOPs) กลมุ่ บริหารจดั การขอ้ มลู สารสนเทศ สื่อสาร สงั่ การ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน หน้า 2/5 เร่อื ง งานวิทยุสื่อสาร แกไ้ ขคร้งั ที่ ประกาศใช้ มกราคม 2564 5. คาศพั ท์และคานยิ าม (Term and Definition) 5.1 งานวิทยุส่ือสาร หมายถึง การปฏิบัติงานวิทยุสื่อสารด้านการแพทย์และสาธารณสุข ภายใต้ระเบียบ กระทรวงสาธารณสุขวา่ ด้วยการควบคุมการใชเ้ ครอ่ื งวทิ ยุคมนาคมแบบสงั เคราะหค์ วามถี่ พ.ศ.2555 เพอื่ เฝา้ ระวัง และติดตามสถานการณ์สาธารณภัย การชว่ ยเหลือเปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ รวดเร็ว ลดความสูญเสียโดยใช้ศูนย์ สื่อสารและสั่งการกระทรวงสาธารณสุข เพื่อเป็นศูนย์กลางในการติดต่อประสานงาน และสั่งการด้านการแพทย์ และสาธารณสุข ระหว่างหน่วยงานทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ในภาวะปกติ ภาวะฉุกเฉินหรือสถานการณ์ภัยพิบัติ รวมทั้งการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุขใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด 5.2 Web EOC หมายถึง เป็น software ท่ีใช้ในการส่ังการในภาวะฉุกเฉินภายใต้ระบบบัญชาการ เหตุการณ์ และเป็น Data Center สาหรบั ศูนย์ปฏิบัตกิ ารฉกุ เฉินดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 209

มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน รหสั SOP-SAT-05 (Standard of Operation: SOPs) กลมุ่ บริหารจัดการข้อมูล สารสนเทศ สือ่ สาร ส่งั การ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ หน้า 3/5 เรือ่ ง งานวิทยุสื่อสาร แก้ไขคร้ังที่ ประกาศใช้ มกราคม 2564 6. ผงั งาน (Flow Chart) เร่มิ ตน้ SAT TOR1 เปดร บบวทิ ยุสอ่ื สาร เ วาม รอ้ มของร บบ ล วสั ดอุ ุปกรณ ทา วามส อาด SAT TOR 2,3,4 ร้อม ง้ าน ทดสอบ วาม ดั เจน ร บบสือ่ สาร 1/ 1) 09.30 . 4) . 10.00 . TOR 5 เ าร วังขา่ ว/เหตกุ ารณ ่าน อ่ งทาง Social Media, ส่ือสาธารณ ล อื่น ล บนั ทกข้อมลู ลง Web EOC Non DCIRs / DCIRs SAT Grup Line +SAT 2 Web EOC Grup Line +SAT Web EOC TOR 6 / ประสาน Supervisor ประจาเวร เ ่ือ จิ ารณา าย น นาท ้นหา . (SAT) .08 7254 5261 TOR 7 . (SAT) .06 1857 1119 . (SAT) .09 7042 8163 / . (SAT) .08 7446 9459 SAT / 1 มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 210

มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน รหัส SOP-SAT-05 (Standard of Operation: SOPs) กลุ่มบริหารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศ สอ่ื สาร สง่ั การ กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน หน้า 4/5 เร่ือง งานวิทยสุ ่ือสาร แก้ไขครงั้ ท่ี ประกาศใช้ มกราคม 2564 7. ขั้นตอนการปฏิบัติ (Procedure) ขนั้ ตอน รายละเอยี ด ระยะเวลา ผู้รับผดิ ชอบ ทุกวัน - เจา้ หนา้ ท่ีวทิ ยุ 1.เตรยี มความพร้อม เปดิ ระบบวิทยสุ ่ือสาร เชค็ ความพร้อมของระบบและวัสดุอุปกรณ์ ส่ือสาร ของระบบวทิ ยุ ทาความสะอาด แบบบันทึกและรายงานประจาวนั เจ้าหนา้ ที่ 08.30 น. สือ่ สาร SAT ตรวจทกุ วันศุกร์ - เจ้าหน้าทว่ี ทิ ยุ ทกุ วัน สอ่ื สาร 2.ทดสอบสญั ญาณ ทดสอบสัญญาณวิทยสุ ่ือสาร ชอ่ ง 11 (154.925 MHz) 09.30 น. วิทยสุ ่ือสาร นามเรยี กขาน “สธฉ” ผ่านทางระบบ E-radio ทกุ วนั เวลา 09.30 น. 3.เฝา้ ระวัง 3.1 เฝา้ ระวังขา่ ว/เหตุการณ์ ผ่านชอ่ งทาง Social Media, ส่อื ทุกวนั - เจ้าหนา้ ทว่ี ทิ ยุ สาธารณะ และอนื่ ๆ และบนั ทกึ ข้อมูล ลง Web EOC ตรวจสอบ 08.30-16.30 ส่อื สาร และยนื ยนั เหตกุ ารณ์ผ่านหนว่ ยงานเครอื ข่าย - จนท.SAT เวร 3.2 กรณี DCIRs แจ้งเจ้าหนา้ ท่ี SAT ร่างข้อความรายงาน ส่ง น. ประจาวนั เข้า Grup Line ส่ือสาร+SAT และบนั ทกึ ข้อมลู ลง Web EOC ประสาน Supervisor ประจาเวร เพือ่ พจิ ารณา - เจ้าหนา้ ที่วทิ ยุ สื่อสาร 4.พัฒนาและสรา้ ง คน้ หาและสรา้ งโครงขา่ ย/เชอื่ มสัญญานระบบส่ือสาร รว่ มกับ ทกุ วนั โครงข่ายวทิ ยุสื่อสาร ภาคีเครอื ขา่ ย 08.30-16.30 - เจ้าหนา้ ทว่ี ิทยุ สื่อสาร 5.สรปุ รายงานวิทยุ สรุปรายงานผลการปฏิบัติงานประจาวัน งานวิทยุส่ือสาร น. ส่อื สาร กองสาธารณสุขฉุกเฉิน และรายงานเข้า Grup Line ส่ือสาร+ SAT ทกุ วนั 16.30 น. 8. มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Performance Standard) 8.1 มาตรฐานระยะเวลา: การดาเนนิ งานเป็นไปตามระยะเวลาท่กี าหนด 8.2 มาตรฐานเชงิ คณุ ภาพ: รายงานเหตกุ ารณ์ 9. การติดตามประเมนิ ผล (Measurement and Evaluation) 9.1 ผรู้ ับผิดชอบในการติดตามประเมนิ ผล: ผ้อู านวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน 9.2 วธิ กี ารตดิ ตามประเมินผล 9.2.1 สรุปรายงานผลการปฏิบตั งิ านประจาวนั งานวทิ ยสุ ่ือสาร กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 211

มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน รหสั SOP-SAT-05 (Standard of Operation: SOPs) กลุ่มบริหารจัดการขอ้ มูล สารสนเทศ สอ่ื สาร สัง่ การ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน หน้า 5/5 เร่อื ง งานวิทยสุ ่ือสาร แก้ไขครั้งท่ี ประกาศใช้ มกราคม 2564 10. แบบฟอร์มที่ใช้ (Form) 10.1 แบบฟอรม์ สรุปรายงานผลการปฏิบตั ิงานประจาวนั งานวิทยสุ อ่ื สาร กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน 11. การควบคมุ การบนั ทึก (Control of Record) ลาดับท่ี ชื่อเอกสาร ผ้รู บั ผิดชอบ ผตู้ รวจสอบ สถานท่ีจดั เกบ็ ระยะเวลาจดั เก็บ 12. บนั ทกึ การแก้ไขเอกสาร รายละเอยี ด ผู้แกไ้ ข ผู้ตรวจสอบ วนั เดอื น ปี แกไ้ ขครัง้ ที่ 12.1 รายละเอียด ผู้จัดทา ผ้ทู บทวน ผ้อู นุมตั ิ ผจู้ ัดทา ผู้ทบทวน ผู้อนุมัติ นายวทิ รู ย์ อนนั กลุ งานเฝ้าระวังระบบประเมินสถานการณ์ ผ้อู านวยการกองสาธารณสุขฉกุ เฉิน 1.นายสุบรรณ สิงหโ์ ต ตาแหนง่ นักวชิ าการสาธารณสุขปฏิบตั กิ าร รายละเอยี ดการแก้ไข 2.นายพงศ์พัทธ์ ชัยชุมพล ตาแหนง่ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบตั กิ าร 3.นางสาวธันยานาถ อปุ ปญั ญาคา ตาแหนง่ นกั วิชาการสาธารณสุขปฏบิ ตั กิ าร 4.นางสาวณฏั ฐน์ รี คาดี ตาแหนง่ นกั วิชาการสาธารณสุขปฏบิ ัติการ 5.นายทวีศกั ดิ์ รักขยัน ตาแหนง่ เจา้ หน้าท่วี ิทยุส่อื สาร 12.2 บันทกึ การแกไ้ ข (ครง้ั ต่อไป) วนั เดือนปี แกไ้ ขครัง้ ท่ี มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 212

กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ มาตรฐานข้นั ตอนการปฏิบตั งิ าน รหสั SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หนา้ 1/....... แกไ้ ขคร้งั ท่ี 0 เรื่อง การดาเนนิ งานสือ่ สารความเสี่ยง และประชาสัมพันธ์ ประกาศใชว้ นั ท่ี .............. กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ ผจู้ ัดทา ...................................................... ผู้ตรวจสอบ........................................................... (นางศศิธก์ านต์ จันทร์พรอ้ ม) (นางสุรรี ัตน์ ใจด)ี นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั กิ าร นกั วชิ าการสาธารณสุขชานาญการพเิ ศษ ........./............./......... ........./............./......... ผอู้ นมุ ัติ...................................................... (นายแพทย์วทิ รู ย์ อนันกลุ ) ผูอ้ านวยการกองสาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ ........./............./......... 1. วตั ถุประสงค์ (Objective) 1.1 เพ่อื เปน็ แนวทางการปฏบิ ตั ิงานดา้ นการสอื่ สารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ ให้มีการเตรียมความ พร้อมรับภาวะฉุกเฉินทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข สามารถบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ และทันท่วงที ในทกุ สถานการณ์ท่เี กิดขน้ึ 1.2 เพื่อให้การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ในภาวะฉุกเฉิน เป็นไปอย่างมีปะสิทธิภาพ ข้อมูล ถกู ต้องชัดเจน รวดเร็ว สร้างความรู้ เข้าถึงกลมุ่ เป้าหมาย และลดความตื่นตะหนกของประชาชนได้ 2. ขอบเขต (Scope) มาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Standard Operation Procedure) การดาเนินงานสื่อสารความเส่ียง และประชาสัมพันธ์ กองสาธารณสุขฉุกเฉิน เป็นกระบวนการหน่ึงในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านการแพทย์ และสาธารณสุข เมื่อเกิดการการระบาดของโรคใดโรคหน่ึง หรือภัยสุขภาพที่เกิดข้ึน รวมถึงภัยพิบัติต่างๆ การ สื่อสารความเส่ียงจะทาให้ประชาชนที่อยู่ในภาวะเส่ียงเข้าใจความเสี่ยงตนเอง และปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ เพอ่ื ปอ้ งกนั ตัวเองจากความเส่ียงนั้น การสื่อสารความเสี่ยงจะทาให้ผู้มีอานาจหน้าท่ีหรือผู้เช่ียวชาญได้รับฟัง และ เข้าใจความตื่นตระหนก ความต้องการของประชาชน เพ่ือนาไปสู่การให้คาแนะนาแก่ประชาชนได้ถูกต้อง ตรงกับ ปัญหา สร้างความเชอื่ ม่นั และเป็นแนวปฏิบัติในการเตรียมความพร้อมการจัดการภาวะฉุกเฉินทางด้านการแพทย์ และสาธารณสุข ซงึ่ ครอบคลุมกระบวนการรวบรวมข้อมูล การติดตามสถานการณ์ข่าวสาร การจัดการข่าวลือข่าว ลบ การแตง่ ตัง้ คณะทางานส่อื สารความเสี่ยงและประชาสัมพนั ธ์ การวเิ คราะห์ความเส่ียง (Risk analysis) เพื่อเป็น ข้อมูลในการสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) และการประชาสัมพันธ์ (Public Information Officer) รวมถึงวิธกี ารบริหารจัดการและการเผยแพร่ผา่ นชอ่ งทางการส่อื สารตา่ งๆ มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard of Operation: SOPs) 213

กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน มาตรฐานขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน รหสั SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หนา้ 1/....... แก้ไขครัง้ ท่ี 0 เรอื่ ง การดาเนนิ งานสอ่ื สารความเส่ยี ง และประชาสมั พันธ์ ประกาศใช้วันที่ .............. กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน 3. หนา้ ท่คี วามรับผดิ ชอบ (Responsibilities) หน้าท่ีหลักกลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ (Risk communication& Public Information Officer) 1. จัดต้ังคณะกรรมการสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ ในภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และ สาธารณสขุ ของกระทรวงสาธารณสขุ 2. จัดต้ังคณะทางานส่ือสารความเส่ียงและประชาสัมพันธ์ ในภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และ สาธารณสขุ ของกระทรวงสาธารณสุข 3. การจัดทาแนวทางการส่ือสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ ในภาวะฉุกเฉินการแพทย์และ สาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสขุ 4. การจัดทาแผนปฏิบัติการสื่อสารความเส่ียงและประชาสัมพันธ์ ในภาวะฉุกเฉินการแพทย์และ สาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสขุ 4. ดาเนินการสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทางต่างๆ รวมทั้งเสนอการผลิตส่ือเพ่ือ เผยแพร่ด้วยรูปแบบและภาษาทเี่ หมาะสม 5. ประสานกับกลุ่มภารกิจต่างๆ เพ่ือจัดการและอัพเดรตข้อมูลท่ีจาเป็นเพื่อดาเนินการสื่อสาร ความเสี่ยงและประชาสัมพนั ธ์ 6. ประสานกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุขเพื่อดาเนินการส่ือสาร ความเสีย่ งและประชาสมั พนั ธ์ 7. รายงานผลการดาเนนิ งานส่ือสารความเสีย่ งและประชาสัมพนั ธ์ต่อผบู้ ญั ชาการเหตุการณ์ 8. แนวทางการสื่อสารความเสีย่ งและประชาสมั พันธ์ในภาวะฉุกเฉนิ ในแตล่ ะระยะ 8.1 ระยะกอ่ นเกดิ เหตุ 1. ประเมนิ ความเส่ยี ง และความรนุ แรงทอี่ าจเกดิ ข้นึ 2. จัดตั้งคณะทางาน เพื่อบริหารทรัพยากรท่ีมีอยู่ เช่น คน วัสดุอุปกรณ์ และงบประมาณให้ สามารถดานนิ การส่อื สารความเยงในภาวะฉุกฌแนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 3. จัดทาข้อมลู ขา่ วสาร ประเด็นข่าว (Press release) ประเด็นสาร (Talking point) 4. เผยแพรข่ อ้ มลู ทางโทรทัศน์, วทิ ย,ุ หนังสอื พิมพ์ 5. จัดกิจกรรมพิเศษ และรณรงค์ (Special event activities & Campaign) 6. ใหข้ ้อมลู ข่าวสาร และรบั แจ้งเหตุทาง Call Center สายดว่ นต่างๆ 7. ให้บรกิ ารขา่ วสารทางโซเซียลมีเดยี เช่น เว็บไซต์ เฟสบกุ๊ ไลน์กลุ่ม ไลน์แอด็ เป็นต้น 8.2 ระยะเกิดเหตุ 1. บริกหารจดั การดา้ นการส่อื สารความเสยี่ งและประชาสัมพนั ธ์ในภาวะฉุกเฉนิ ดา้ นการแพทย์และสาธารณสขุ 2. จัดเตรียมประเด็นสาคัญ ขอ้ มูลข่าวสารทปี่ ระชาชนให้ความสนใจ สาหรบั การแถลงข่าว 3. กาหนดบุคคลที่เปน็ โฆษกระดับกระทรวง/จังหวดั สาหรบั แถลงขา่ ว และใหข้ า่ ว 4. จัดการแถลงข่าวสื่อมวลชน (Press conference) มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 214

กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ มาตรฐานข้ันตอนการปฏบิ ตั ิงาน รหสั SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หน้า 1/....... แกไ้ ขครงั้ ที่ 0 เร่อื ง การดาเนินงานสือ่ สารความเส่ยี ง และประชาสัมพนั ธ์ ประกาศใชว้ ันที่ .............. กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ 5. จดั ทาขอ้ มูลขา่ วแจก (Press release) ประเดน็ สาร และประเด็นสมั ภาษณ์ (Talking point) 6. ผลิต และเผยแพร่ส่ือประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ขอ้ มูลทางโทรทศั น,์ วทิ ยุ, หนังสือพิมพ์ 7. ให้ขอ้ มูลขา่ วสาร และรับแจง้ เหตทุ าง Call Center สายด่วนตา่ งๆ 8. ให้บรกิ ารข่าวสารทางโซเซยี ลมเี ดยี เช่น เวบ็ ไซต์ เฟสบุ๊ก ไลนก์ ลุม่ ไลน์แอ็ด เป็นต้น 9. ใหส้ มั ภาษณ์สื่อมวลชน (Press interview) นาผ้สู ือ่ ข่าวดูงานในพนื้ ที่ (Study tours) 10. ประสานทีมวิทยากร และทป่ี รกึ ษาในกรณีนาเสนอขอ้ มลู เชงิ วชิ าการ 11. ประชาสมั พันธเ์ คลือ่ นที่ลงชมุ ชนในพนื้ ทเี่ สย่ี ง 12. สรา้ ง และพัฒนาเครอื ข่ายงานสื่อสารความเสย่ี งและประชาสมั พันธใ์ นระดบั ชุมชน 13. ส่ือสารความเส่ียงและประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง และผู้มี สว่ นสาคญั ตอ่ การป้องกนั ควบคมุ โรคและภยั สุขภาพตา่ งๆ ที่เกิดข้ึนกับประชาชน และชุมชน 8.3 ระยะหลงั เกิดเหตุ 1. วิเคราะหส์ ถานการณ์ ประเมนิ วางแผนการสอ่ื สารความเสีย่ งและประชาสมั พันธ์ หลังเกิดเหตุ ได้แก่ การป้องกนั รักษา การควบคมุ โรคระบาด และภยั สขุ ภาพ รวมท้งั สรปุ บทเรยี น 2. จัดเตรียมประเดน็ สาคัญ ข้อมูลขา่ วสารทีป่ ระชาชนใหค้ วามสนใจ สาหรบั การแถลงข่าว 3. จัดการแถลงขา่ วสื่อมวลชน (Press conference) 4. ให้สัมภาษณ์สอื่ มวลชน (Press interview) 5. ให้บริการข่าวสารทางโซเซียลมเี ดยี เชน่ เว็บไซต์ เฟสบกุ๊ ไลน์กล่มุ ไลนแ์ อ็ด เปน็ ต้น 9. ทบทวนหน้าท่ีความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่และปฏิบัติงานตามขอบเขตท่ีได้รับมอบหมายอย่าง เต็มกาลังความสามารถ 10. อานวยการภารกิจของส่วนงานอ่ืน ๆ หรือภารกิจอ่ืน หน่วยงานอื่น ๆ ให้เป็นไปตามแนวทาง ปฏิบัตแิ ละบรรลตุ ามท่ีกาหนด 4. เอกสารทเี่ กีย่ วข้อง 1. โครงสร้างองคก์ ร 2. คาสงั่ แตง่ ต้ังคณะทางานกลมุ่ ภารกิจส่ือสารความเส่ียงและประชาสัมพันธ์ 3. เอกสารสรุปผลการดาเนินงานประจาปงี บประมาณ (รูปแบบแฟม้ ) 4. หนงั สือแจง้ คาส่ังคณะทางาน 5. หนังสอื แจ้งช่ือผ้แู ทน 6. หนงั สอื เชิญประชมุ 7. สรุปประชุม/ข้อสั่งการ 8. รายงานแบบติดตามการดาเนนิ งานภารกิจส่อื สารความเสีย่ งและประชาสัมพันธ์ 5. นยิ าม/ คาจากัดความ มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard of Operation: SOPs) 215

กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ มาตรฐานข้ันตอนการปฏบิ ัติงาน รหัส SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หน้า 1/....... แกไ้ ขคร้ังท่ี 0 เรอื่ ง การดาเนนิ งานสอื่ สารความเส่ียง และประชาสมั พนั ธ์ ประกาศใช้วนั ท่ี .............. กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน 5.1 การเตรียมความพรอ้ ม (Preparedness) หมายถึง มาตรการและกิจกรรมที่ดาเนินการล่วงหน้าก่อน เกิดสถานการณฉ์ กุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ เพ่ือเตรยี มพร้อมการจัดการในสถานการณ์ฉุกเฉิน เพื่อให้สามารถรับมือกับ ผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึนอย่างทนั สถานการณ์และมปี ระสทิ ธิภาพ 5.2 ความเส่ียง (Risk) หมายถึง เหตุการณใดๆ ก็ตามท่ีมากระทบตอวัตถุประสงคและความคาดหวังของ การดาเนนิ งานดานการแพทยและสาธารณสขุ ซ่งึ อาจเกดิ จากความไมแนนอนของสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป แลวมผี ลทาใหเกดิ ความเสยี หาย สญู เสีย หรือขดั ขวางความสาเร็จในการบรรลุวัตถุประสงคและความคาดหวังของ การดาเนินงานดานการแพทยและสาธารณสขุ 5.3 การวิเคราะหความเสี่ยง (Risk analysis) หมายถึง กระบวนการที่ทาความเขาใจกับธรรมชาติของ ความเสี่ยง (Risk) ที่เป็นผลรวมของ ภัยคุกคาม (Hazard) หรือโรคและภัยสุขภาพท่ีทาให้ประชาชนเกิดการ เจ็บป่วยหรือเสียชีวิต กับการรับรู้ความเสี่ยงและปฏิกิริยาตอบโต้เม่ือได้รับรู้ความเส่ียง (Outrage) ท้ังประชาชน และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการส่ือสารความเส่ียงและประชาสัมพันธ์ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ และมี ประสทิ ธิภาพ 5.4 การเฝาระวัง (Monitoring) หมายถงึ ความตอเน่อื งของการตรวจสอบ การดูแล การสังเกตจุดสาคัญ หรือการตดั สินใจเพอื่ ทจ่ี ะชบี้ งการเปลยี่ นแปลงของสมรรถนะในระดับที่ตองการหรือคาดหวงั การเฝาระวังสามารถ ประยุกตกบั กรอบการบริหารความเสยี่ ง กระบวนการบริหารความเสี่ยง ความเสยี่ งหรอื การควบคุม 5.5 ภาวะฉุกเฉินทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Public Health Emergency) หมายถึง เหตกุ ารณ์การเกดิ โรค และภัยคุกคามสุขภาพ ซง่ึ มีลักษณะทเ่ี ข้าได้กบั เกณฑ์อย่างน้อย 2 ใน 4 ประการ ดังน้ี 1. ทาใหเ้ กดิ ผลกระทบทางสขุ ภาพอย่างรนุ แรง 2. เปน็ เหตุการณท์ ่ีผดิ ปกตหิ รือไม่เคยพบมากอ่ น 3. มโี อกาสทีจ่ ะแพรไ่ ปสพู่ น้ื ท่ีอนื่ 4. ตอ้ งจากัดการเคล่ือนที่ของผ้คู นหรือสนิ คา้ 5.6 การจัดการภาวะฉุกเฉิน (Public Health Emergency Response) หมายถึง การดาเนินการ ดานตางๆเพ่ือหยุดภาวะฉุกเฉินหรือกูสถานการณท่ีรุนแรงใหกลับสูภาวะปกติ ภายในระยะเวลาที่สั้นท่ีสุด ดวย มาตรการท่ีมีการเตรียมพรอมไวรับมืออยางมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยเฉพาะอยางย่ิงการปองกัน การควบคุมและ ยับย้ังไมใหโรคและภัยสุขภาพแพรกระจายออกไปในวงกวางและไมเกิดความเสียหายตอชีวิตเศรษฐกิจและสังคม หรอื เกดิ นอยท่สี ุด 5.7 การส่ือสารความเสี่ยง (Risk Communication) หมายถึง การติดต่อสื่อสาร เช่ือมโยง แลกเปล่ียน ข้อมูลข่าวสาร และความคิดเหน็ ระหวา่ งผปู้ ระเมินความเสีย่ ง (risk assessor) ผ้จู ดั การความเสี่ยง (risk manager) ถึงผู้รับสารหรือผู้ที่อยู่ในความเสี่ยง เช่น ประชาชน กลุ่มหรือองค์กรอื่นท่ีเกี่ยวข้อง และสนใจ (stake holder) เพ่ือให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่ถูกต้อง และแม่นยา ซ่ึงการส่ือสารความเส่ียงมีอยู่ในทุกกระบวนการดาเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ 5.7 การประชาสัมพันธ์ (Public Relations) หมายถึง การติดต่อส่ือสาร เพื่อส่งเสริมความเข้าใจ อนั ถกู ต้องต่อกัน โดยใช้หลกั 5W1H มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน (Standard of Operation: SOPs) 216

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน มาตรฐานขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน รหัส SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หนา้ 1/....... แก้ไขคร้งั ที่ 0 เร่อื ง การดาเนนิ งานสือ่ สารความเสย่ี ง และประชาสัมพนั ธ์ ประกาศใช้วันท่ี .............. กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ 5.8 การจดั การความเสย่ี ง ตามแนวคิดด้านจัดการความเสี่ยงโดยใช้การสื่อสารความเส่ียง (Event-based risk communication) แยกเป็น 2 กลมุ่ หลกั คอื 1. ส่วนสนับสนุน (RC Support: PH) คือ นโยบายและแผนงาน (Policy and Plan) และการบริหาร ทรัพยากรมนษุ ย์ (Human resources) 2. สว่ นกระบวนการสอื่ สารความเส่ยี ง (RC Process: MTCCTE) คอื - Monitoring คือ การเฝา้ ระวงั ตอบโต้ และชี้แจงประเด็นขอ้ มลู ขา่ วสารโรค และภัยสขุ ภาพทสี่ าคัญ - Target audience คือ การกาหนดรายละเอียดกลุ่มเป้าหมายในการส่ือสารความเสี่ยงและ ประชาสมั พนั ธ์ ไดแ้ ก่ ผู้สง่ สาร ผ้รู บั สาร สาร และชอ่ งทางหรอื วิธกี ารสอ่ื สาร - Content and Message designation คือ การกาหนดประเด็นสาร และการออกแบบส่ือ ตามหลัก 8Cs (ชัดเจนเข้าใจง่าย, กระชับได้ใจความ, เป็นรูปธรรม, ถูกต้อง, เป็นเหตุเป็นผล, ครบถ้วน นาไปสู่การปฏิบัติ, สภุ าพ ไมใ่ ชค่ าสงั่ , สอดคลอ้ งกบั วัฒนธรรม) - Channel identification คือ การกาหนดประเภท และช่องทางส่ือสารความเส่ียงและประชาสัมพันธ์ ได้แก่ สอ่ื มวลชน, ส่อื ส่งิ พิมพ์, ส่ือโสตทัศน์, สือ่ กจิ กรรม และส่ือโซเซียล - Trust source คือ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารจากแหล่งท่ีเชื่อถือ ต้ังแต่ระยะเร่ิมต้นเหตุการณ์ และ ตอ่ เน่ือง เพอ่ื สร้างความเช่ือมน่ั เชอ่ื ถอื ให้กบั กลุ่มเปา้ หมายท่ีสือ่ สารถงึ - Evaluation คือ การตดิ ตามประเมินทั้งกอ่ น ขณะ และหลงั การสอื่ สารความเสี่ยงและประชาสมั พันธ์ 6. ผงั งาน (Flow Chart) ๖.๑ การเตรยี มความพร้อม ลาดับ ผงั กระบวนการ รายละเอียดงาน ระยะเวลา ผูร้ ับผิดชอบ แบบฟอรม์ / ดาเนินการ เอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง* ประเมนิ ความเสยี่ งจากเฝา้ ระวงั ขา่ วสาร ๑.นาข้อมลู สถานการณจ์ ากทมี เจ้าหนา้ ทีง่ าน ๑ ตดิ ตามสถานการณ์ จากสอื่ โซเซยี ลต่างๆ ตระหนกั รูส้ ถานการณ์มาประเมิน ๓ วนั วิเคราะห์และ - ทมี เฝ้าระวังข่าวจากกรม ความสนใจจากสื่อมวลชน การตืน่ สื่อสารความ วิชาการ ทุกช่องทาง ตระหนกของประชาชน ในแต่ละภยั เสี่ยง - รายงานสถานการณ์ของ พบิ ตั ิ ทมี ตระหนักรู้สถานการณ์ ๒. ประเมินการรบั รูข้ องสาธารณะ 3 วนั เจา้ หนา้ ทีง่ าน วิเคราะห์ขา่ ว/ประสานงานตรวจสอบขอ้ มูล ดาเนินการจดั ประชมุ คณะทางานฯ ๒ วิเคราะห์และ สถานการณ์ฉุกเฉิน เพ่อื จดั ทาแผนการสอื่ สารความเสีย่ ง ส่อื สารความ และประชาสมั พใ์ นภาวะฉกุ เฉนิ เสยี่ ง ๓ จดั ทาแนวทาง/วิธกี ารดาเนินงาน ๓.จัดทาแนวทาง/วธิ กี ารดาเนนิ งาน 2 วนั เจา้ หน้าทง่ี าน ส่ือสารความเสย่ี งและประชาสัมพันธ์ ส่ือสารความเสีย่ งและ วเิ คราะหแ์ ละ ประชาสมั พันธ์ ส่อื สารความ เสีย่ ง ๔ ๔.ถ้าใช่ต้องปฏบิ ัตติ าม SOP ช่วง ตามระยะเวลา คณะทางาน มติท่ีประชุม/ข้อส่ังการ พิจารณาวา่ เป็น มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 217 สถานการณ์ ฉุกเฉินหรอื ไม่

กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน มาตรฐานขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน รหัส SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หนา้ 1/....... แก้ไขคร้งั ท่ี 0 เร่อื ง การดาเนนิ งานส่อื สารความเส่ียง และประชาสมั พันธ์ ประกาศใช้วนั ที่ .............. กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ ลาดบั ผงั กระบวนการ รายละเอียดงาน ระยะเวลา ผูร้ บั ผิดชอบ แบบฟอร์ม/ ดาเนินการ เอกสารที่เกย่ี วข้อง* ใช่ การเปดิ EOC กระทรวงสาธารณสุข การเปดิ EOC สอ่ื สารความ จากประธานคณะทางาน ถ้าไม่ใช่ตอ้ งปฏบิ ัตติ ามข้ันตอน เสย่ี งและ ตอ่ ไป ประชาสมั พันธ์ ไม่ใช่ ๕ สรปุ และนาเสนอประเด็นในแต่ละสถานการณ์ ๕.รายงาน/บทสรปุ สถานการณ์ 3 วัน เจา้ หน้าทง่ี าน บทสรุปสถานการณ์ ทีเ่ กดิ ขึ้นให้ผบู้ รหิ ารและกล่มุ งานที่เก่ยี วข้อง พร้อมการดาเนินการเผยแพร่ วเิ คราะหแ์ ละ สื่อสารความ จดั ทาประเดน็ ขา่ ว (Press release) และ ๖.ส่งข้อมลู สถานการณท์ ่เี กดิ ขน้ึ เสี่ยง ๖ ประเดน็ สาร (Talking point) ใหก้ บั สานกั งานสารนิเทศ เพ่ือ จัดทาข่าวเพื่อมวลชนในภาพของ ๑ วัน เจ้าหนา้ ท่ีงาน บทความ ประ เด็นข่า ว ๗ ดาเนนิ การส่ือสารความเสยี่ ง การดาเนนิ งานของกระทรวง วิเคราะหแ์ ละ ( Press release) แ ล ะ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สาธารณสุขตอ่ ไป ส่อื สารความ ป ระ เด็ นส า ร ( Talking ๗ .เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์บทความ เสี่ยง point) ที่ สสน. จัดทา ประเด็นข่าว (Press release) และ ประเดน็ สาร (Talking point) ทาง 1 วนั เจา้ หน้าทง่ี าน การเข้าถึง/ให้ความสนใจ เพจกอง และโซเซียลมีเดยี ต่างๆ วเิ คราะห์และ บทความ ประ เด็นข่า ว สอ่ื สารความ ( Press release) แ ล ะ ทรัพยากร เสย่ี ง ป ระ เด็ นส า ร ( Talking point) ทาง เพจกอง และ โซเซียลมีเดยี ตา่ งๆ 6.2 การสือ่ สารความเสีย่ งและประชาสมั พันธ์ในภาวะฉกุ เฉนิ ลาดับ ผงั กระบวนการ รายละเอยี ดงาน ระยะเวลา ผูร้ ับผดิ ชอบ แบบฟอร์ม/ ดาเนินการ เอกสารที่เกีย่ วข้อง* ๑.นาขอ้ มูลสถานการณ์จากทีม ตามระยะเวลา เจ้าหนา้ ทง่ี าน - ทมี เฝา้ ระวงั ข่าวจากกรม ภาวะฉุกเฉินโรคและภยั สขุ ภาพ ตระหนักรู้สถานการณ์ การเปิด EOC วเิ คราะห์และ วิชาการ ๑ (กรณี เปดิ EOC ระดบั กระทรวง) 2. ประเมนิ ความสนใจจากส่อื มวลชน สื่อสารความ - รายงานสถานการณ์ของ เช่น น้าทว่ ม, โควิด 19 เป็นต้น การตน่ื ตระหนกของประชาชน ในแต่ เส่ยี ง ทมี ตระหนักร้สู ถานการณ์ ละสถานการณ์ – ข้อส่ังการศูนย์ปฏิบัติ การฉุกเฉินด้านการแพทย์ และสาธารณสขุ 1. จดั ต้งั คณะทางานสอื่ สารความเสีย่ ง ตามระยะเวลา เจ้าหนา้ ทง่ี าน - คาส่ังตั้งคณะทางาน การเปิด EOC วิเคราะห์และ ส่ือสารความเส่ียงและ จัดต้ังคณะทางานกลุ่มภารกจิ สอ่ื สาร และประชาสัมพนั ธ์ ๒. ดาเนนิ การจัดประชุมคณะทางานฯ และคาสง่ั สอ่ื สารความ ประชาสัมพนั ธ์ ๒ ความเสี่ยงและประชาสมั พนั ธ์ เพื่อจัดทาแผนการสื่อสารความเสย่ี ง ประธาน เส่ยี ง และประชาสัมพใ์ นภาวะฉกุ เฉิน คณะทางานฯ ๓ จดั ทาแนวทาง/วิธกี ารดาเนนิ งาน ๓.จัดทาแนวทาง/วธิ กี ารดาเนินงาน เจา้ หนา้ ที่งาน ม ติ ที่ ป ร ะ ชุ ม / ข้ อ ส่ั ง ก า ร สอื่ สารความเสี่ยงและประชาสมั พันธ์ สือ่ สารความเสยี่ งแลประชาสมั พันธ์ วิเคราะห์และ จากประธานคณะทางาน ในระดบั กระทรวง และระดับจังหวดั สือ่ สารความ ภารกิจสื่อสารความเส่ียง เสย่ี ง และประชาสัมพันธ์ มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 218

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน มาตรฐานขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ าน รหัส SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หน้า 1/....... แกไ้ ขครั้งท่ี 0 เรอ่ื ง การดาเนนิ งานสื่อสารความเสยี่ ง และประชาสัมพนั ธ์ ประกาศใชว้ นั ท่ี .............. กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ ลาดับ ผงั กระบวนการ รายละเอยี ดงาน ระยะเวลา ผู้รบั ผดิ ชอบ แบบฟอรม์ / ดาเนินการ เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง* ๔.จัดประชมุ ทางไกล (Video 1 วนั คณะทางาน พิจารณาพนื้ ท่ี Conference) คณะทางานฯ รว่ มกบั สอ่ื สารความ ประสบภาวะฉกุ เฉิน ๔ พน้ื ที่ เพือ่ ร่วมกาหนดแนวทางวธิ ีการ เสี่ยงและ ดาเนินงานสอ่ื สารความเสี่ยงและ ประชาสัมพันธ์ ประชาสมั พันธใ์ นพน้ื ที่ ลดการต่นื ตะ หนก สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจในการ ดาเนนิ งานในภาวะฉุกเฉนิ จัดประชุมคณะทางานกลมุ่ ภารกจิ สื่อสาร 5.1 ประเมินการรับรู้ของสาธารณะ ตามระยะเวลา เจ้าหน้าทีง่ าน - สรุปประชุมในประเด็น ความสนใจส่ือมวลชน ขา่ วลอื ขา่ วลบ การเปดิ EOC วเิ คราะห์และ สาคัญในการแถลงข่าว ความเสย่ี งและประชาสมั พันธ์ เพื่อกาหนด ขา่ วปลอม และประเดน็ สาคัญท่ี ประเด็นสาคญั ในการแถลงขา่ ว และคาส่ัง สื่อสารความ รายงานสถานการณ์ ๕ ประชาชนตอ้ งได้รบั ขอ้ มลู ขา่ วสารท่ี ประธาน เสี่ยง - ส่ือความรู้ จากทุกกรม ถกู ต้อง ชัดเจน และไปปฏบิ ตั ิในการ คณะทางานฯ วิชาการ ป้องกันควบคุมโรคและภยั สุขภาพได้ - กิจกรรมรณรงค์สร้าง 5.2 กาหนดผแู้ ถลงขา่ ว/โฆษกดาเนิน ความเชื่อม่นั รายการ 6. จัดหาประเด็นสื่อมวลชนและ สรุปรายงานการแถลงข่าว จดั การแถลงขา่ วรายงานสถานการณส์ าคญั ประชาชนสนใจ กาหนด/จัดหา สถานการณ์ทกุ ครั้ง 6 ส่ือสารประชาสมั พนั ธ์ให้ประชาชนเขา้ ใจ มี ผูเ้ ชีย่ วชาญมาใหข้ า่ ว และจัดทาบท ความรู้ และนาไปปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรม แถลงข่าวทเี่ หมาะสมกบั สถานการณ์ 7.รายงานแบบติดตามการปฏิบัติ 1 วัน เจา้ หนา้ ทีง่ าน บทสรุปการดาเนินงาน จดั ทาสรุปแบบตดิ ตามการปฏิบัตภิ ารกจิ กล่อง ภารกิจกล่อง ตามผังบญั ชาการ วเิ คราะห์และ ส่อื สารความเส่ยี งและ เหตกุ ารณ์ ศูนยป์ ฏบิ ัติการฉกุ เฉนิ ดา้ น สือ่ สารความ ประชาสมั พนั ธ์ ตามการ ตามผงั บัญชาการเหตกุ ารณ์ ศนู ยป์ ฏิบตั กิ าร เส่ยี ง ปฏบิ ตั ิภารกจิ กล่อง ตาม 7 ฉกุ เฉินดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข การแพทย์และสาธารณสขุ ผังบญั ชาการเหตกุ ารณ์ ศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉินดา้ น การแพทยแ์ ละสาธารณสุข 8. จดั ทา ลงนาม และเกบ็ เขา้ แฟ้ม 1 วนั เจา้ หน้าท่งี าน แบบติดตามการปฏบิ ตั ิ เกบ็ เรือ่ ง เพอ่ื การเรียกตรวจเอกสารในอนาคต วิเคราะห์และ ภารกจิ กลอ่ ง เข้าแฟ้ม สือ่ สารความ ตามผงั บญั ชาการ 8 เสี่ยง เหตกุ ารณ์ ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ าร ฉุกเฉินดา้ นการแพทยแ์ ละ สาธารณสขุ 9 .เผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์บทความ 1 วนั เจ้าหน้าทงี่ าน การเข้าถึง/ให้ความสนใจ ประเดน็ ข่าว (Press release) และ วเิ คราะห์และ บทความ ประ เด็นข่า ว 9 ดาเนนิ การสอื่ สารความเสย่ี ง ประเดน็ สาร (Talking point) ทาง สื่อสารความ ( Press release) แ ล ะ และเผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธ์ เพจกอง และโซเซยี ลมเี ดยี ต่างๆ เสยี่ ง ป ระ เด็ นส า ร ( Talking ทรพั ยากร point) ทาง เพจกอง และ โซเซยี ลมเี ดียต่างๆ มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 219

กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ มาตรฐานข้ันตอนการปฏิบัตงิ าน รหัส SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หนา้ 1/....... แก้ไขครั้งท่ี 0 เร่ือง การดาเนนิ งานสอื่ สารความเสย่ี ง และประชาสัมพันธ์ ประกาศใช้วนั ท่ี .............. กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ 6.3 คณะทางานกลุ่มภารกิจส่ือสารความเส่ียง และประชาสัมพันธ์ กรณี โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19) ลาดับ ผงั กระบวนการ รายละเอยี ดงาน ระยะเวลา ผรู้ บั ผิดชอบ แบบฟอร์ม/ ดาเนินการ เอกสารที่เกยี่ วขอ้ ง* 1 รบั หนังสือแจง้ การแต่งตั้งเป็น ศูนย์ปฏิบัตกิ ารฉุกเฉินด้านการแพทย์ ๑ วัน PHEOC หนังสือแจง้ คาสั่ง คณะทางานและเลขานกุ าร และสาธารณสุข กรณีโรคติดเช้ือไวรัส คณะทางานฯ โคโรนา 2019 ส่งหนังสือแจ้งคาสั่ง คณะทางาน 2 ๑ วนั งานวิเคราะห์ สาเนาคาสงั่ แต่งตั้ง เกบ็ สาเนา รับเรื่องจากระบบอิเล็กทรอนิกส์ และส่ือสารความ คณะทางานฯ เรอ่ื งเข้าแฟ้ม และเก็บเรอื่ งเข้าแฟ้ม เส่ียง 3 1 วัน ประธาน การแจง้ นดั ประชมุ ใน นัดประชมุ ปรกึ ษาหารือคณะทางาน ประธานคณะทางานแจ้งนัดประชุม คณะทางานฯ แอพพลเิ คช่นั ไลน/์ ทาง โทรศัพท์ 4 จัดทาหนังสือขออนุมัติจัดประชุม 1-2 วนั ผู้ช่วยเลขานุการ หนงั สอื ขออนุมตั ิจัด คณะทางานฯ จากผอู้ านวยการกอง คณะทางานฯ ประชมุ ทาหนังสืออนมุ ตั จิ ดั ประชมุ คณะทางานฯ สาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ 5 ทาหนังสือเชิญประชุม พร้อมวาระ 1-2 วัน ผู้ช่วยเลขานกุ าร หนังสือเชิญประชมุ /วาระ การประชุม ลงนามโดยเลขานุการ คณะทางานฯ การประชุม ทาหนังสือเชิญประชมุ พร้อมแนบวาระการประชุม หรือเลขานุการรว่ มฯ 6 ดาเนินการส่งหนังสือเชิญประชุม 1 วัน ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร ๑.ทาเนียบคณะทางาน ใหแ้ ก่หนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง คณะทางานฯ ๒.หนงั สอื เชญิ ประชมุ สง่ หนังสือเชิญประชมุ คณะทางานตาม ช่องทางตดิ ต่อ 7 - ประชุมปรกึ ษาหารือ เพือ่ จัดแผนการ 1 วัน ประธาน และ 1.วาระการประชมุ / ประชุมคณะทางานสอ่ื สารความเส่ียง สื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ คณะทางานฯ รายงานการประชมุ / และประชาสัมพนั ธ์ และเตรียมประเด็นหัวข้อในการแถลง ใบลงทะเบยี น ขา่ วรายงานสถานการณ์ประจาวัน 8 -ดาเนินการสรปุ ขอ้ สง่ั การ/มติท่ี 1 วนั ผู้ช่วยเลขานุการ 1.จัดทาข้อส่ังการศนู ย์ ประชุมคณะทางานฯ คณะทางานฯ ปฏิบตั ิการดา้ นข่าวฯ สรปุ รายงาน/ขอ้ ส่งั การการประชมุ คณะทางานฯ และสรปุ สถานการณ์และการดาเนินงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคโควิด 19 กระทรวงสาธารณสุข มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 220 ประจาวัน

กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ มาตรฐานขนั้ ตอนการปฏิบตั งิ าน รหัส SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หน้า 1/....... แก้ไขครงั้ ที่ 0 เรือ่ ง การดาเนนิ งานสอื่ สารความเสีย่ ง และประชาสมั พนั ธ์ ประกาศใช้วันที่ .............. กองสาธารณสุขฉุกเฉิน ลาดบั ผังกระบวนการ รายละเอยี ดงาน ระยะเวลา ผรู้ บั ผดิ ชอบ แบบฟอร์ม/ ดาเนินการ เอกสารทเ่ี กยี่ วข้อง* 2. จดั ทารายงานสรปุ สถานการณ์และการ ดาเนินงานปอ้ งกันควบคมุ โรคโควดิ 19 กระทรวง สาธารณสุข ประจาวัน 9 ดาเนนิ การเสนอข้อส่ังการศูนย์ 2-3 วนั ผชู้ ่วยเลขานกุ าร 1.ข้อสัง่ การศูนย์ ปฏบิ ัตกิ ารดา้ นข่าวฯ ประจาวัน คณะทางานฯ ปฏิบตั กิ ารด้านข่าวฯ ที่ลง เสนอประธาน/รอง และรายงานสรุปสถานการณ์และ นามแล้ว ประธาน หรอื การดาเนนิ งานปอ้ งกันควบคมุ โรค 2.รายงานสรุป โควดิ 19 กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์และการ เลขานุการคณะทางาน ประจาวนั ต่อเสนอประธาน/รอง ดาเนินงานปอ้ งกนั ควบคุม ฯ ลงนามข้อสงั่ การ ประธานหรอื เลขานุการคณะทางาน โรคโควิด 19 กระทรวง ฯ ลงนาม สาธารณสุข ประจาวนั ทล่ี งนามแลว้ 10 - ดาเนินการรวบรวม และตอบข้อ 1 สปั ดาห์ ผู้ชว่ ยเลขานุการ รายงานการตอบขอ้ สงั่ การ ตอบข้อสงั่ การศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุกเฉนิ ดา้ น สั่งการศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้าน คณะทางานฯ ศนู ยป์ ฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ ดา้ น การแพทยแ์ ละสาธารณสุข กรณี โรคตดิ เช้ือ การแพทย์และสาธารณสุข กรณี การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) กลอ่ งภารกจิ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กรณี โรคติดเช้ือไวรัสโคโร RC & PR (COVID-19) กล่องภารกิจ RC & นา 2019 (COVID-19) PR รายสปั ดาห์ กล่องภารกิจ RC & PR รายสปั ดาห์ 11. จดั ทา และส่งรายงานแบบตดิ ตาม 1 วัน ผชู้ ่วยเลขานกุ าร หนังสอื นาส่งรายงานแบบ สง่ รายงานแบบตดิ ตามการปฏบิ ัติ การปฏบิ ตั ภิ ารกจิ กลอ่ ง RC & PR คณะทางานฯ ติดตามการปฏบิ ัติภารกิจ ภารกิจกลอ่ ง RC & PR ประจาเดอื น ประจาเดอื น ตอ่ ผบู้ ังคับบัญชา กลอ่ ง RC & PR ประจา เดอื น ต่อผู้บังคับบญั ชา ต่อผู้บงั คับบญั ชา มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 221

กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน มาตรฐานขัน้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน รหัส SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หน้า 1/....... แกไ้ ขคร้ังที่ 0 เร่ือง การดาเนนิ งานส่อื สารความเสยี่ ง และประชาสมั พนั ธ์ ประกาศใช้วนั ที่ .............. กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน 6.4 การเบกิ จ่ายค่าใช้จา่ ยกรณจี ดั ประชุม รายละเอยี ดงาน ระยะเวลา ผู้รบั ผดิ ชอบ แบบฟอรม์ / ดาเนินการ เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง* ลาดบั ผังกระบวนการ ประธานการประชุมนัดประชุมเพ่ือ ประธาน รว่ มประชุมปรกึ ษาหารอื 1 วัน การประชมุ การแจ้งนดั ประชุม การกาหนดวนั เวลา สาหรับจัดประชมุ คณะทางานฯ ติดต่อเจ้าหน้าท่ีดูแลห้องประชุม 1 วัน หัวหน้างาน แบบฟอร์มขอใช้ห้อง เพ่ือขอใช้ห้อง และทาหนังสือแจ้ง บริหาร/ ประชมุ /ขอจดั อาหารวา่ ง เขยี นใบขอใช้หอ้ งประชมุ /ขอจัดอาหารว่าง ความประสงค์ขอให้จัดอาหารว่าง เจา้ หนา้ ท่ีดแู ล และอาหารกลางวนั และอาหารกลางวัน และอาหารกลางวนั หอ้ งประชมุ ประชุมตามกาหนดวัน เวลา และ 1 วัน เจ้าหน้าท่ีงาน วาระการประชมุ /สไลด์ สถานที่ที่กาหนด วิเคราะห์และ นาเสนอ/ใบลงทะเบียน ดาเนินการประชุมคณะทางานฯ สอื่ สารความ 1.หนงั สอื อนุมัตจิ ดั ประชุม รวบรวมเอกสาร เพือ่ ประกอบการเบกิ จา่ ย หลงั จากประชมุ เสร็จสน้ิ ดาเนินการ 2 วัน เสยี่ ง 2.หนังสือเชญิ ประชุม ค่าใช้จ่าย สาหรับการจดั ประชมุ คณะทางานฯ รวบรวมเอกสารท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อทา 3.วาระการประชุม ประกอบดว้ ย เร่ืองเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายสาหรับใช้ใน เจ้าหนา้ ทง่ี าน 4.ใบลงทะเบยี น 1.หนังสืออนมุ ัตจิ ัดประชุม (ฉบบั จรงิ ) กรณีเปน็ การจดั การประชมุ วเิ คราะห์และ 5.ใบรบั รองการจดั ประชุม สาเนาใหล้ งชอ่ื “สาเนาถกู ตอ้ ง” พรอ้ มลงนามช่อื สือ่ สารความ ผ้รู บั ผิดชอบการจัดประชมุ 2.หนงั สือเชญิ ประชมุ (ฉบับจรงิ ) กรณีเปน็ สาเนา เสี่ยง ใหล้ งชือ่ “สาเนาถูกตอ้ ง” พรอ้ มลงนามชอื่ ผ้รู ับผิดชอบการจัดประชมุ 3.วาระการประชมุ (ฉบับจริง) 4.ใบลงทะเบยี น (ฉบับจริง) 5.ใบรบั รองการจัดประชุม ประกอบดว้ ยข้อมลู ระบุดังน้ี 1.ระบวุ นั ที่ /เวลา/สถานที่จดั ประชมุ 2.ชอื่ การประชมุ 3.ประธานการประชมุ 4.จานวนผู้เขา้ ประชมุ ทงั้ หมด 5.ระบุการจัดเลี้ยง : อาหารกลางวนั /อาหารว่าง และเคร่ืองดม่ื มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 222

กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ มาตรฐานขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน รหัส SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หนา้ 1/....... แก้ไขคร้ังที่ 0 เรอ่ื ง การดาเนนิ งานสอ่ื สารความเส่ียง และประชาสมั พนั ธ์ ประกาศใช้วนั ที่ .............. กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ ลาดับ ผังกระบวนการ รายละเอียดงาน ระยะเวลา ผู้รบั ผดิ ชอบ แบบฟอรม์ / ดาเนินการ เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง* การกาหนดวัน เวลา สาหรับจัดประชมุ ประธานการประชุมนัดประชุมเพื่อ 1 วัน ประธาน การแจ้งนัดประชมุ คณะทางานฯ รว่ มประชุมปรกึ ษาหารือ การประชมุ ติดต่อเจ้าหน้าท่ีดูแลห้องประชุม 1 วนั หวั หนา้ งาน แบบฟอรม์ ขอใชห้ ้อง เพ่ือขอใช้ห้อง และทาหนังสือแจ้ง บรหิ าร/ ประชมุ /ขอจดั อาหารวา่ ง เขียนใบขอใช้ห้องประชุม/ขอจดั อาหารว่าง ความประสงค์ขอให้จัดอาหารว่าง เจา้ หน้าทดี่ แู ล และอาหารกลางวัน และอาหารกลางวนั และอาหารกลางวนั หอ้ งประชุม ส่งเอกสารท่ีรวบรวมทั้งหมดประกอบการ ๑ วัน งานการเงินและ หนังสือนาสง่ เบิกคา่ ใช้จ่าย ส่งเอกสารท้งั หมดใหง้ านการเงิน พิจารณาเบิกจ่ายให้งานการเงินและ บญั ชี พรอ้ มเอกสารแนบ และบญั ชตี รวจสอบความถกู ต้อง บัญชี มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 223

กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน มาตรฐานขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน รหสั SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หนา้ 1/....... แกไ้ ขครัง้ ท่ี 0 เรอื่ ง การดาเนนิ งานสือ่ สารความเสีย่ ง และประชาสัมพันธ์ ประกาศใชว้ ันที่ .............. กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน 7. ข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน (Procedure) 7.1 ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมทรพั ยากร จะมกี ารเตรยี มความพรอ้ ม ๒ ภาวะคอื 7.1.1 สภาวะปกติ 1. ประเมินความเส่ียง จากเฝ้าระวังข่าวสารติดตามสถานการณ์ จากสื่อโซเซียลต่างๆ ทุก ชอ่ งทางจากทีมเฝ้าระวังข่าวจากกรมวชิ าการ และนาข้อมูลจากทมี ตระหนักรูส้ ถานการณ์มาประเมนิ ความเส่ยี ง ๒. จัดทาแผน วิเคราะห์ข่าว/ประสานงานตรวจสอบข้อมูลสถานการณ์ฉุกเฉิน เพื่อประเมิน การรับรู้ของสาธารณะดาเนินการจัดประชุมคณะทางานฯเพื่อจัดทาแผนการสื่อสารความเส่ียงและประชาสัมพ์ ในภาวะฉุกเฉิน ๓. จดั ทา แนวทาง/วิธกี ารดาเนินงานส่ือสารความเสีย่ งและประชาสัมพันธ์ ๔. พจิ ารณาว่าเป็นสถานการณ์ฉุกเฉินหรอื ไม่ 4.1 ถ้าเป็นสถานการณ์ฉุกเฉิน ปฏบิ ัติตาม SOP ช่วงการเปดิ EOC กระทรวงสาธารณสุข 4.2 ถา้ ไม่เปน็ สถานการณฉ์ ุกเฉนิ สรปุ และนาเสนอประเดน็ ในแตล่ ะสถานการณ์ที่เกิดข้ึนให้ ผ้บู รหิ ารและกลุ่มงานทเี่ กีย่ วข้อง ๕. รายงาน สรุปและนาเสนอประเด็นในแต่ละสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นให้ผู้บริหารและกลุ่มงานที่ เก่ียวขอ้ ง 6. จัดทา ประเด็นข่าว (Press release) และประเด็นสาร (Talking point) โดยส่งข้อมูล สถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นให้กับสานักงานสารนิเทศ เพ่ือจัดทาข่าวเพ่ือมวลชนในภาพของการดาเนินงานของกระทรวง สาธารณสขุ ตอ่ ไป 7. ดาเนินการส่ือสารความเสี่ยงและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์บทความ ประเด็นข่าว (Press release) และประเด็นสาร (Talking point) ทาง เพจกองสาธารณสุขฉุกเฉิน และโซเซียล มีเดยี ตา่ งๆ 7.2 ภาวะฉกุ เฉนิ โรคและภยั สุขภาพ (กรณี เปิด EOC ระดับกระทรวง) เช่น นา้ ทว่ ม, โควดิ 19 เป็นต้น 1. ประเมินความเสี่ยง จากเฝ้าระวังข่าวสารติดตามสถานการณ์ ประเมินความสนใจจาก สอื่ มวลชน การตนื่ ตระหนกของประชาชน ในแต่ละสถานการณ์ จากส่ือโซเซียลต่างๆ ทุกช่องทางจากทีมเฝ้าระวัง ข่าวจากกรมวิชาการ และนาขอ้ มลู จากทีมตระหนักรู้สถานการณ์มาประเมนิ ความเสย่ี ง ๒. จัดต้ัง คณะทางานสื่อสารความเส่ียงและประชาสัมพันธ์ และดาเนินการจัดประชุม คณะทางานฯ เพือ่ จัดทาแผนการสอ่ื สารความเส่ยี งและประชาสมั พ์ในภาวะฉุกเฉนิ ๓. จัดทา แนวทาง/วิธีการดาเนินงานสื่อสารความเสี่ยงแลประชาสัมพันธ์ในระดับกระทรวง และ ระดบั จังหวดั ๔. พิจารณาพื้นท่ีประสบภาวะฉุกเฉิน เพื่อจัดประชุมทางไกล (Video Conference) คณะ ทางานฯ ร่วมกับพื้นท่ี เพ่อื รว่ มกาหนดแนวทางวิธีการดาเนินงานสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ในพื้นท่ี ลด การต่ืนตะหนก สร้างความร้คู วามเขา้ ใจในการดาเนนิ งานในภาวะฉกุ เฉนิ 5. จดั ประชุม คณะทางานกลมุ่ ภารกิจสอ่ื สารความเส่ียงและประชาสัมพันธ์ เพ่ือกาหนดประเด็น สาคัญในการแถลงข่าว โดยกาหนดผู้แถลงข่าว/โฆษกดาเนินรายการ และประเมินการรับรู้ของสาธารณะ ความ สนใจส่ือมวลชน ข่าวลือข่าวลบ ข่าวปลอม และประเด็นสาคัญท่ีประชาชนต้องได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 224

กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ มาตรฐานขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน รหสั SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หน้า 1/....... แกไ้ ขครัง้ ที่ 0 เรอ่ื ง การดาเนนิ งานส่อื สารความเสย่ี ง และประชาสมั พนั ธ์ ประกาศใชว้ ันท่ี .............. กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน ชัดเจน และไปปฏิบัติในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพได้ พร้อมท้ังขอความร่วมมือจากทุกกรมวิชาการ จัดทาสือ่ ความรู้ และจัดกิจกรรมรณรงค์สร้างความเชื่อม่ัน 6. จัดการแถลงข่าว รายงานสถานการณ์สาคัญส่ือสารประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ปฏิบัติได้ และนาไปปรับเปล่ียนพฤติกรรมในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จากการจัดหา ประเดน็ ส่อื มวลชนและประชาชนสนใจ กาหนด/จดั หาผเู้ ชยี่ วชาญมาใหข้ ่าว และจดั ทาบทแถลงข่าวที่เหมาะสมกับ สถานการณ์ และสรปุ รายงานการแถลงขา่ วสถานการณท์ ุกคร้ัง 7. จัดทา บทสรุปการดาเนินงานสื่อสารความเส่ียงและประชาสัมพันธ์ ตามการปฏิบัติภารกิจ กลอ่ ง ตามผงั บญั ชาการเหตุการณ์ศนู ยป์ ฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉินดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ 8. จัดเก็บเร่ืองเข้าแฟ้ม แบบติดตามการปฏิบัติภารกิจกล่อง ตามผังบัญชาการเหตุการณ์ ศูนย์ ปฏบิ ตั ิการฉุกเฉนิ ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ 9. ดาเนินการสื่อสารความเสี่ยงและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์บทความ ประเด็นขา่ ว (Press release) และประเด็นสาร (Talking point) ทาง เพจกอง และโซเซียลมีเดียต่างๆ 7.3 ข้ันตอนการประชุมคณะทางานกลุ่มภารกิจสื่อสารความเส่ียง และประชาสัมพันธ์ กรณี โรค ตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19) 1. ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินดา้ นการแพทย์และสาธารณสขุ กรณโี รคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ส่ง หนังสือแจ้งคาส่ังคณะทางานกลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ กรณีโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ใหท้ ราบการเปน็ คณะทางานและเลขานุการคณะทางานฯ 2. ลงรับเรื่องหนงั สือแจง้ คาส่ังคณะทางานฯ จากระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนิกส์ของกลุ่มงาน เพ่ือ เสนอให้งานวเิ คราะห์และสื่อสารความเสย่ี งทราบเรื่อง และเก็บเรอ่ื งเข้าแฟ้ม 3. ประธานคณะทางานกลุ่มภารกิจสอื่ สารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโค โรนา 2019 นัดประชมุ คณะทางาน เพอื่ ประชุมปรกึ ษาหารือแนวทางการดาเนินงาน 4. ผูช้ ว่ ยเลขานุการคณะทางานกลุ่มภารกิจสื่อสารความเส่ียงและประชาสัมพันธ์ กรณีโรคติดเชื้อ ไวรัส โคโรนา 2019 ดาเนินการจองห้องประชุม พร้อมส่งใบแบบฟอร์มขอใช้ห้องประชุม/ขอจัดอาหารว่างและอาหาร กลางวัน ให้กล่มุ ภารกจิ อานวยการ ๕. ผู้ช่วยเลขานุการคณะทางานกลุ่มภารกิจสื่อสารความเส่ียงและประชาสัมพันธ์ กรณีโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 ดาเนินการจัดทาหนังสือขออนุมัติจัดประชุมคณะทางานฯ จากผู้อานวยการกองสาธารณสุข ฉกุ เฉิน ๖. ผู้ชว่ ยเลขานุการคณะทางานกลุ่มภารกิจส่ือสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ กรณีโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 ดาเนินการทาหนังสือเชิญประชุม พร้อมวาระการประชุม ลงนามโดยเลขานุการคณะทางานฯ (ผอู้ านวยการสานกั สารนิเทศ) หรอื เลขานกุ ารรว่ มคณะทางานฯ (ผู้อานวยการกองสาธารณสขุ ฉกุ ฉนิ ) ๗. ผชู้ ว่ ยเลขานุการคณะทางานกลุ่มภารกิจส่ือสารความเส่ียงและประชาสัมพันธ์ กรณีโรคติดเชื้อ ไวรสั โคโรนา 2019 ดาเนินการส่งหนังสอื เชญิ ประชมุ ใหแ้ กห่ น่วยงานท่ีเก่ยี วขอ้ งตามรายชื่อคณะทางานฯ ๘. ประธานคณะทางานฯ พร้อมทั้งคณะทางานร่วมประชุมปรึกษาหารือ เพื่อจัดแผนการส่ือสาร ความเส่ียงและประชาสัมพนั ธ์และเตรยี มประเด็นหวั ขอ้ ในการแถลงข่าวรายงานสถานการณป์ ระจาวัน มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 225

กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน มาตรฐานข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน รหัส SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หน้า 1/....... แกไ้ ขครัง้ ท่ี 0 เรื่อง การดาเนินงานสอื่ สารความเสยี่ ง และประชาสัมพันธ์ ประกาศใชว้ นั ที่ .............. กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน ๙. ผู้ช่วยเลขานุการคณะทางานกลุ่มภารกิจส่ือสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ กรณีโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 สรุปรายงาน/ข้อส่ังการการประชุมคณะทางานฯ และสรุปสถานการณ์และการดาเนินงาน ปอ้ งกันควบคุมโรคโควิด 19 กระทรวงสาธารณสขุ ประจาวัน ๑๐. ผู้ช่วยเลขานุการคณะทางานกลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ กรณีโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ดาเนินการเสนอข้อสั่งการศูนย์ปฏิบัติการด้านข่าวฯ ประจาวัน และรายงานสรุป สถานการณ์และการดาเนินงานป้องกันควบคุม โรคโควิด 19 กระทรวงสาธารณสุข ประจาวัน ต่อเสนอประธาน/ รองประธานหรอื เลขานกุ ารคณะทางานฯ ลงนาม 11. ผู้ช่วยเลขานุการคณะทางานกลุ่มภารกิจส่ือสารความเส่ียงและประชาสัมพันธ์ กรณีโรคติด เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ดาเนินการรวบรวม และตอบข้อสั่งการศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และ สาธารณสขุ กรณี โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) กล่องภารกจิ RC & PR รายสปั ดาห์ 12. จัดทา และส่งรายงานแบบติดตามการปฏิบัติภารกิจกล่อง RC & PR ประจาเดือนต่อ ผ้บู ังคบั บัญชา ๗.๔ ข้ันตอนการเบิกจ่ายคา่ ใชจ้ า่ ยกรณีจัดประชุม 1. ประธานการประชุมแจ้งนัดหมายการประชุมผ่านช่องทางแอพพลิเคช่ันไลน์หรือทางโทรศัพท์ โดยมกี ารกาหนดวันและเวลาเพ่อื นดั ประชมุ คณะทางานรว่ มกนั ปรึกษาหารือ 2. เจ้าหน้าที่งานวิเคราะห์และสื่อสารความเส่ียง กองสาธารณสุขฉุกเฉิน ในฐานะ ผู้ช่วยเลขานุการคณะทางานฯ ติดต่อเจ้าหน้าที่ดูแลห้องประชุมเพื่อขอใช้ห้อง และทาหนังสือแจ้งความประสงค์ ขอใหจ้ ดั อาหารวา่ งและอาหารกลางวันถึงหวั หนา้ ภารกิจกล่มุ อานวยการ 3. ประธานการประชุม พร้อมผู้เข้าร่วมประชุมดาเนินการประชุมตามกาหนดวัน เวลา และ สถานทที่ ีก่ าหนด 4. ผู้ชว่ ยหลงั จากประชุมเสร็จสิ้น เจ้าหน้าท่ีงานวิเคราะห์และส่ือสารความเสี่ยง กองสาธารณสุข ฉกุ เฉิน ในฐานะเลขานกุ ารคณะทางานฯ ดาเนนิ การรวบรวมเอกสารที่เกีย่ วขอ้ ง ประกอบด้วย 1. หนงั สืออนมุ ตั ิจดั ประชุม 2. หนงั สอื เชญิ ประชุม 3.วาระการประชมุ 4.ใบลงทะเบยี น 5.ใบรบั รองการจัดประชุม เพ่ือดาเนนิ การทาเรอ่ื งเบกิ จ่ายคา่ ใชจ้ ่ายสาหรับใชใ้ นการจดั การประชมุ 5. เจ้าหน้าท่ีงานวิเคราะห์และส่ือสารความเส่ียง กองสาธารณสุขฉุกเฉิน ดาเนินการทาหนังสือ นาส่งพร้อมทั้งแนบเอกสารประกอบการพิจารณาเบิกจ่ายให้งานการเงินและบัญชี กองสาธารณสุขฉุกเฉิน ตรวจสอบความถูกตอ้ ง และดาเนินการตอ่ ไป มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 226

กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ มาตรฐานขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน รหสั SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หน้า 1/....... แก้ไขครั้งที่ 0 เร่ือง การดาเนินงานสอื่ สารความเสี่ยง และประชาสัมพันธ์ ประกาศใชว้ นั ท่ี .............. กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ 8. มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Performance Standard) ๘.1 วางแผน ประเมินความพรอ้ มของทีมสาหรบั การดาเนนิ งานตามแผนโครงการตามแผนปฏิบัตริ าชการ ประจาปี ๘.2 กาหนดมาตรการแนวทางและแผนงานในการปรับปรงุ งาน/แก้ไขปญั หา การกาหนดวธิ ีการปรับปรุง งาน ๘.3 ประชมุ สรปุ ผลการดาเนินงานตามแผนโครงการ/ภารกจิ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย ประจาทุกสัปดาห์น ๑ คร้ัง หรอื กรณีเร่งดว่ น ๘.4 สรุปปัญหาและอุปสรรค เพอื่ นาไปพฒั นาแก้ไขให้มีประสทิ ธภิ าพย่งิ ข้ึน 9. การตดิ ตามประเมนิ ผล (Measurement and Evaluation) ๙.1 ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน (Work Procedure) กลมุ่ พฒั นาระบบการแพทย์ฉกุ เฉิน ๙.2 หนงั สือราชการภายในและภายนอก ๙.3 แผนปฏิบัติราชการ ประจาปี ๙.4 คารับรองและการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการตามคารับรองการปฏบิ ัติราชการของกองสาธารณสุข ฉกุ เฉนิ สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ๙.5 เคร่อื งมอื อุปกรณแ์ ละอปุ กรณ์ ได้แก่ - เครอื่ งมือส่อื สาร ไดแ้ ก่ แฟกซ์ ไปรษณยี ์อิเล็กทรอนิกส์ วิทยุ โทรศพั ท์ ฯลฯ - เคร่ืองมือสาหรับการติดตามข่าวสาร ได้แก่ คอมพิวเตอรพ์ รอ้ มสญั ญาณอนิ เตอร์เนต็ โทรทัศน์ - เครือ่ งมือสาหรบั การประสานงานหนว่ ยปฏบิ ตั กิ าร เชน่ สานักงานสาธารณสุขจังหวดั โรงพยาบาลสังกดั กระทรวงสาธารณสุข หนว่ ยงานระดบั กรมสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและหนว่ ยสนับสนนุ อื่น ๆ เปน็ ต้น 10. แบบฟอรม์ (Form) เอกสารที่อ้างอิงและทเ่ี กย่ี วข้อง ๑๐.1 แบบฟอร์มการมอบหมายงานตามภารกิจโครงสร้างหน่วยงาน ๑๐.2 แบบฟอร์มคารับรองและการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคารับรองการปฏบิ ัติราชการ ๑๐.3 แบบฟอรม์ บนั ทึกการปฏิบัตงิ าน ๑๐.4 แบบฟอร์มแผนงานโครงการ ๑๐.5 แบบฟอรม์ แบบสรุปผลการดาเนนิ งานโครงการ 10.6 แบบฟอร์มร้องขอสนับสนุนยาและเวชภณั ฑ์ มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 227

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน มาตรฐานขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน รหัส SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หนา้ 1/....... แก้ไขครง้ั ท่ี 0 เรอื่ ง การดาเนินงานส่อื สารความเส่ียง และประชาสมั พันธ์ ประกาศใช้วนั ท่ี .............. กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน 11. การควบคมุ การบันทกึ (Control of Records) ช่ือเอกสาร ผรู้ บั ผิดชอบ สถานทีจ่ ัดเก็บ ระยะเวลา วธิ กี ารจัดเกบ็ - หนงั สือแจง้ เวยี น เจา้ หนา้ ท่ีงานวิเคราะห์ ห้องปฏบิ ัติงานวเิ คราะห์ ๕ ปี - แฟม้ แยกปีงบประมาณ และสอ่ื สารความเส่ยี ง และส่ือสารความเสย่ี ง ๕ ปี - เครอ่ื งมอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ - หนงั สืออนุมตั ิประชมุ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ - ตู้เก็บเอกสาร/คมู่ อื เจา้ หนา้ ทง่ี านวิเคราะห์ สานักงานปลัดกระทรวง ๕ ปี - ระบบจดั เกบ็ ไฟลเ์ ทคโนโลยี - หนงั สอื เชิญประชุม และสอ่ื สารความเสยี่ ง สาธารณสุข โครงข่ายอินเตอร์เน็ต/ออนไลน์ ๕ ปี - เอกสารรายงานการ เจ้าหน้าทง่ี านวิเคราะห์ ห้องปฏบิ ัตงิ านวิเคราะห์ - แฟม้ แยกปีงบประมาณ ประชุม และสอ่ื สารความเสี่ยง และสอ่ื สารความเสีย่ ง ๕ ปี - เครอ่ื งมอื อิเล็กทรอนิกส์ กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ - ตเู้ ก็บเอกสาร/คมู่ อื - คมู่ อื ตา่ ง ๆ เจา้ หน้าที่งานวเิ คราะห์ สานักงานปลดั กระทรวง ๕ ปี - ระบบจดั เก็บไฟลเ์ ทคโนโลยี และสื่อสารความเสย่ี ง สาธารณสุข โครงขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต/ออนไลน์ - แผนงานโครงการ เจ้าหน้าที่งานวเิ คราะห์ หอ้ งปฏิบตั ิงานวิเคราะห์ - แฟม้ แยกปงี บประมาณ และสือ่ สารความเส่ยี ง และสอ่ื สารความเสี่ยง - เครื่องมืออเิ ล็กทรอนิกส์ กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ - ตเู้ กบ็ เอกสาร/คมู่ ือ เจา้ หน้าทงี่ านวเิ คราะห์ สานกั งานปลดั กระทรวง - ระบบจดั เก็บไฟลเ์ ทคโนโลยี และสอ่ื สารความเสย่ี ง สาธารณสุข โครงข่ายอินเตอร์เนต็ /ออนไลน์ ห้องปฏบิ ัตงิ านวิเคราะห์ - แฟ้มแยกปงี บประมาณ และสื่อสารความเสย่ี ง - เครื่องมืออิเล็กทรอนกิ ส์ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ - ตเู้ ก็บเอกสาร/คมู่ อื สานกั งานปลัดกระทรวง - ระบบจดั เกบ็ ไฟลเ์ ทคโนโลยี สาธารณสขุ โครงขา่ ยอนิ เตอร์เนต็ /ออนไลน์ หอ้ งปฏบิ ตั งิ านวเิ คราะห์ - แฟม้ แยกปงี บประมาณ และสื่อสารความเส่ียง - เคร่อื งมอื อเิ ล็กทรอนิกส์ กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ - ตเู้ ก็บเอกสาร/คมู่ อื สานกั งานปลดั กระทรวง - ระบบจดั เก็บไฟลเ์ ทคโนโลยี สาธารณสขุ โครงขา่ ยอนิ เตอร์เนต็ /ออนไลน์ หอ้ งปฏบิ ตั งิ านวเิ คราะห์ - แฟ้มแยกปงี บประมาณ และสอ่ื สารความเส่ยี ง - เครอ่ื งมอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน - ตู้เก็บเอกสาร/คมู่ อื สานักงานปลัดกระทรวง - ระบบจดั เก็บไฟลเ์ ทคโนโลยี โครงข่ายอินเตอรเ์ น็ต/ออนไลน์ มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 228

กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน มาตรฐานขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน รหสั SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หนา้ 1/....... แกไ้ ขครง้ั ที่ 0 เร่ือง การดาเนนิ งานสอ่ื สารความเสี่ยง และประชาสมั พนั ธ์ ประกาศใชว้ ันที่ .............. กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน สาธารณสุข - ข้อมลู การดาเนนิ งาน เจ้าหนา้ ทง่ี านวิเคราะห์ ห้องปฏิบัตงิ านวิเคราะห์ ๕ ปี - แฟ้มแยกปีงบประมาณ สื่อสารความเสย่ี งและ และสื่อสารความเสี่ยง และสอื่ สารความเส่ียง - เคร่อื งมืออิเล็กทรอนิกส์ ประชาสมั พันธ์ กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน - ตู้เกบ็ เอกสาร/คมู่ ือ สานกั งานปลัดกระทรวง - ระบบจัดเกบ็ ไฟลเ์ ทคโนโลยี สาธารณสุข โครงขา่ ยอินเตอรเ์ น็ต/ออนไลน์ - แผนปฏบิ ัตกิ ารดาเนินงาน เจา้ หนา้ ทีง่ านวเิ คราะห์ ห้องปฏบิ ตั งิ านวิเคราะห์ ๕ ปี - แฟ้มแยกปงี บประมาณ สอ่ื สารความเสี่ยงและ และสอื่ สารความเสย่ี ง และส่อื สารความเสี่ยง - เครอ่ื งมืออเิ ล็กทรอนิกส์ ประชาสมั พนั ธ์ กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ - ตู้เก็บเอกสาร/คมู่ อื สานักงานปลดั กระทรวง - ระบบจดั เก็บไฟลเ์ ทคโนโลยี สาธารณสุข โครงข่ายอนิ เตอรเ์ นต็ /ออนไลน์ - คาสงั่ แต่งต้งั คณะทางานฯ เจ้าหนา้ ทีง่ านวิเคราะห์ ห้องปฏิบัตงิ านวิเคราะห์ ๕ ปี - แฟม้ แยกปีงบประมาณ และส่อื สารความเสย่ี ง และสื่อสารความเส่ียง - เครื่องมอื อิเล็กทรอนกิ ส์ กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ - ตเู้ กบ็ เอกสาร/คมู่ อื สานักงานปลัดกระทรวง - ระบบจัดเกบ็ ไฟลเ์ ทคโนโลยี สาธารณสุข โครงข่ายอนิ เตอร์เนต็ /ออนไลน์ - หนังสือแจง้ คาส่งั เจา้ หนา้ ท่งี านวเิ คราะห์ หอ้ งปฏิบตั งิ านวเิ คราะห์ ๕ ปี - แฟม้ แยกปีงบประมาณ คณะทางานฯ และสอื่ สารความเสย่ี ง และสอ่ื สารความเสย่ี ง - เครอ่ื งมืออเิ ล็กทรอนิกส์ กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน - ตู้เกบ็ เอกสาร/คมู่ ือ สานักงานปลัดกระทรวง - ระบบจดั เก็บไฟลเ์ ทคโนโลยี สาธารณสขุ โครงขา่ ยอินเตอร์เนต็ /ออนไลน์ - หนังสือแจ้งช่ือผแู้ ทน เจา้ หน้าที่งานวเิ คราะห์ หอ้ งปฏิบัตงิ านวเิ คราะห์ ๕ ปี - แฟม้ แยกปีงบประมาณ และสอ่ื สารความเสยี่ ง และส่ือสารความเสย่ี ง - เครอ่ื งมอื อิเลก็ ทรอนิกส์ กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ - ตู้เก็บเอกสาร/คมู่ ือ สานักงานปลดั กระทรวง - ระบบจดั เก็บไฟลเ์ ทคโนโลยี สาธารณสุข โครงขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ /ออนไลน์ 12. บันทึกการแกไ้ ขเอกสาร แก้ไขคร้ังที่ รายละเอยี ด เดอื น ปี มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 229

กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน มาตรฐานขั้นตอนการปฏบิ ตั ิงาน รหสั SOP - RC - 01 (Standard Operation Procedure) หนา้ 1/....... แก้ไขครั้งท่ี 0 เร่อื ง การดาเนินงานสือ่ สารความเส่ียง และประชาสมั พันธ์ ประกาศใช้วนั ท่ี .............. กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน 12.1 รายละเอียด ผู้จัดทา ผู้ทบทวน ผู้อนุมตั ิ ผู้อนมุ ตั ิ ผู้จดั ทา ผู้ทบทวน รายละเอียดการแก้ไข 12.2 บนั ทกึ การแกไ้ ข (คร้งั ต่อไป) วนั เดือน ปี แกไ้ ขครั้งท่ี 13. ภาคผนวก - ไมม่ ี มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 230

มาตรฐานการปฏิบัติงาน รหัส SOP-RTI-001 (Standard of Operation: SOPs) กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ งานพฒั นาระบบความปลอดภัยทางถนน งานพฒั นาระบบความปลอดภัยทางถนน เร่ือง การดาเนินงานป้องกนั และลด หนา้ /13 อุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาล แก้ไขครง้ั ท่ี (ปใี หม่/สงกรานต)์ กระทรวงสาธารณสขุ ประกาศใช้ ผูจ้ ัดทา ผ้ตู รวจสอบ/ทบทวน ผู้อนุมัติ …………………………………… ..…..……………..….…………. ....……………..……………… (นางสาวนติ ยา คณติ สาร) (นางสรุ ีรัตน์ ใจดี) (นายแพทยว์ ทิ รู ย์ อนนั กุล) นกั วิชาการสาธารณสุขปฏบิ ตั ิการ ผูอานวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉนิ ………/………/……… รองผูอานวยการกองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน …….…/………/..…… ………/………/…..… …………………………………… (นางสาวพรสุดา คาเหลอื ง) นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั ิการ ………/………/……… 1. วตั ถปุ ระสงค (Objective) 1.เพ่ือเป็นแผนงานในการดาเนินงานป้องกันและลดการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาล (ปใี หม่/สงกรานต์) 2.เพื่อพัฒนาระบบรายงานข้อมูลการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนให้มีประสิทธิภาพและ สามารถบูรณาการข้อมลู ร่วมกบั หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง 2. ขอบเขต (Scope) เป็นแผนการปฏิบัติงานป้องกันและลดอุบัติเหตุรวมถึงการบริหารจัดการข้อมูลในช่วงเทศกาล (ปีใหม่/ สงกรานต์) 3. หนา้ ทคี่ วามรับผิดชอบ (Responsibilities) ๑) ผู้บริหารกระทรวง ๑.๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานในการแถลงข่าวประจาวันตาม วนั ที่ คณะกรรมการอานวยการความปลอดภัยทางถนนกาหนด มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 231

มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน รหัส SOP-RTI-001 (Standard of Operation: SOPs) กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ งานพัฒนาระบบความปลอดภัยทางถนน งานพฒั นาระบบความปลอดภยั ทางถนน เรือ่ ง การดาเนนิ งานปอ้ งกนั และลด หนา้ /13 อุบตั เิ หตุทางถนนในชว่ งเทศกาล แกไ้ ขคร้งั ที่ (ปใี หม่/สงกรานต)์ กระทรวงสาธารณสขุ ประกาศใช้ ๑.๒ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสขุ เป็น หัวหน้าคณะ และปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นรองหัวหน้าคณะ มีอธิบดีกรมควบคุมโรคเป็นเลขาฯ ออกตรวจ เยี่ยมการดาเนินงานในสว่ นภมู ิภาค เพือ่ ใหก้ าลังใจแก่เจา้ หน้าท่ีที่ปฏบิ ตั งิ านในโรงพยาบาล และจุดตรวจ/บริการ ๑.๓ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงสาธารณสุข อธิบดีกรมควบคุม โรค ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ซ่ึงเป็นคณะกรรมการ ศูนย์อานวยการฯ เข้ารว่ มในพิธีเปิด/ปิด ศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารรว่ มฯ ศนู ย์อานวยการความปลอดภัยทางถนนกาหนด ๑.๔ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ติดตาม กากับ การดาเนินงานของจังหวัดใน เขตท่รี ับผิดชอบ ๒) กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน ๒.๑ แจ้งแนวทางการดาเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนของกระทรวง สาธารณสุขใหก้ ับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ๒.๒ แจ้งการกาหนดค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้กับหน่วยบริการให้กับ หน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง ๒.๓ ประสานการดาเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนของหน่วยงานต่างๆ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ และศูนยอ์ านวยการความปลอดภัยทางถนน ๒.๔ เปิดศูนยป์ ฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุข ช่วงเทศกาล (ปีใหม่/สงกรานต์) ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ณ สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ๒.๕ ร่วมเป็นศูนย์กลางประสานและติดตามข้อมูลเพ่ือความสมบูรณ์ของข้อมูล เพ่ือนาเสนอผูบ้ ริหารกระทรวงสาธารณสขุ ทุกวันในชว่ งเทศกาล เวลา 09.00 น ทกุ วนั 2.6 วางแผนการออกตรวจเย่ียมและร่วมทีมตรวจเยี่ยมการดาเนินงานในส่วนภูมิภาค กับผู้บรหิ ารกระทรวงสาธารณสขุ ๓) กองป้องกนั การบาดเจบ็ ๓.๑ วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปภาพรวมของสถานการณ์อุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาล (ปีใหม/่ สงกรานต)์ พรอ้ มข้อเสนอแนะ ๓.๒ ประสานเตรียมข้อมูลให้กับผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุขในวันกระทรวง สาธารณสขุ เปน็ ประธานแถลงข่าว ณ ศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนน ๓.๓ รว่ มทมี ตรวจเยี่ยมการดาเนนิ งานในสว่ นภูมภิ าคกบั ผ้บู ริหารกระทรวงสาธารณสุข 3.4 จัดทีมสอบสวนกรณีเกิดอุบัติเหตุรายใหญ่ตาม Criteria ของกองระบาดวิทยา ในช่วงเทศกาลปีใหม่/สงกรานต์ โดยประสานงานกับทีมของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดพ้ืนท่ีเกิดเหตุ และกอง ระบาดวิทยา (ใหก้ ารสนบั สนุนทางดา้ นวิชาการ) และสง่ รายงาน ผา่ นทาง e-mail address: [email protected] 3.5 สนบั สนนุ วิชาการด้านการสอบสวนอบุ ัติเหตใุ ห้กับสานักงานป้องกนั ควบคุมโรคและจงั หวัด มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 232

มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน รหสั SOP-RTI-001 (Standard of Operation: SOPs) กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน งานพัฒนาระบบความปลอดภัยทางถนน งานพฒั นาระบบความปลอดภยั ทางถนน เรื่อง การดาเนินงานป้องกันและลด หนา้ /13 อุบตั ิเหตทุ างถนนในช่วงเทศกาล แก้ไขคร้งั ที่ (ปีใหม/่ สงกรานต)์ กระทรวงสาธารณสุข ประกาศใช้ 3.6 รวบรวม วิเคราะห์ และรายงานผลการสอบสวนอุบัตเิ หตหุ มูท่ พ่ี ืน้ ทรี่ ายงาน ๔) สานักงานปอ้ งกันควบคุมโรคที่1-12 และ สถาบนั ปอ้ งกันควบคมุ โรคเขตเมอื ง ๔.๑ ให้ตรวจเตือน/ประชาสัมพันธ์ และบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุม เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.๒๕๕๑ ในช่วงเทศกาล (ปีใหม่/สงกรานต์) และประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กาหนดสถานท่ีหรือบริเวณห้ามบริโภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์บนทาง พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยห้ามผู้ใดบริโภคเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์บนทางเท้าในขณะขับข่ีหรือในขณะโดยสารอยู่ในรถ หรือบนรถ แก่สถานประกอบการ ร้านค้า หรือ ประชาชนทั่วไป ในช่วงก่อนเทศกาลและในช่วงเทศกาล หากพ้ืนท่ีพบการกระทาผิด ให้ดาเนินคดีอย่างเฉียบขาด และรายงานข้อมูลต่อศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนนระดับจังหวัดและสาเนาส่งมายังสานักงาน คณะกรรมการควบคุมเคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ 4.2 วเิ คราะห์ข้อมูลสถานการณ์ประจาวนั เสนอผูบ้ รหิ ารและผทู้ เ่ี ก่ียวข้อง ๔.3 จัดทีมสอบสวนกรณีเกิดอุบัติเหตุรายใหญ่ตาม Criteria ของกองระบาดวิทยา ในช่วง 7 วันอันตราย โดยประสานงานกับทีมของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดพ้ืนท่ีเกิดเหตุ และส่งรายงาน ผา่ นทาง e-mail address : [email protected]) สานกั ระบาดวิทยา ๖) สานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ กรมควบคุมโรค ๖.๑ รับแจ้งเร่ืองร้องเรียนกรณีประชาชนพบเห็นผู้กระทาผิด เก่ียวกับการขายและดื่ม เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในสถานที่หรือบริเวณดังต่อไปน้ี ๑) วัดหรือสถานท่ีปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา ๒) สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ และร้านขายยา ๓) สถานท่ีราชการ ๔) สถานศึกษา ๕) สถานีบริการ น้ามัน เชื้อเพลิง ๖) สวนสาธารณะของทางราชการ ๗) การดื่มสุราในรถบนทางสาธารณะ รวมถึงเวลาห้ามขาย การเร่ ขายและการโฆษณาส่งเสริมการขาย โดยโทรศัพท์แจ้งได้ท่ีศูนย์ร้องเรียนบุหร่ีและสุรา สานักงานคณะกรรมการ ควบคมุ เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ กรมควบคุมโรค หมายเลข ๐ ๒๕๙๐ ๓๓๔๒ ๖.๒ จัดทีมออกตรวจ/เตือนบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมเคร่ืองดื่ม แอลกอฮอล์ พ.ศ.๒๕๕๑ ในช่วงเทศกาล (ปีใหม่/สงกรานต์) ๖.๓ ประชาสัมพันธ์ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรื่องการกาหนดสถานท่ีหรือบริเวณ ห้ามบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์บนทาง พ.ศ. ๒๕๕๕ ห้ามผู้ใดบริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในขณะขับขี่หรือขณะ โดยสารอยูใ่ นรถ หรือบนรถ 6.4 จัดทาแนวทางลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่/สงกรานต์ โดยอาสาสมัคร สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) และรวบรวม วิเคราะห์ พร้อมทั้งรายงานผลการดาเนินงานตรวจคัดกรองคนเมาสุรา ณ ดา่ นชมุ ชน โดยอาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมู่บ้าน (อสม.) 6.5 รวบรวมผลการดาเนินงานของสานักงานป้องกนั ควบคุมโรคประจาวนั เสนอผู้บริหาร 7.) ศนู ยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร 7.1 เตรียมความพร้อมและบริหารจัดการช่องทางการจัดส่งข้อมูลผ่านหน้าเว็บไซต์ กระทรวงสาธารณสขุ ใหส้ ามารถดาเนนิ การได้อยา่ งตอ่ เนือ่ งในชว่ งเทศกาล (ปีใหม/่ สงกรานต)์ มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 233

มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน รหสั SOP-RTI-001 (Standard of Operation: SOPs) กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน งานพฒั นาระบบความปลอดภยั ทางถนน งานพฒั นาระบบความปลอดภยั ทางถนน เรอ่ื ง การดาเนินงานปอ้ งกันและลด หน้า /13 อบุ ตั เิ หตุทางถนนในชว่ งเทศกาล แก้ไขคร้ังที่ (ปใี หม่/สงกรานต์) กระทรวงสาธารณสขุ ประกาศใช้ ขอ้ มลู ในชว่ งเทศกาล 7.2 รว่ มเตรียมความพร้อมระบบประมวลผลข้อมูลและรว่ มออกแบบระบบรายงานข้อมูล 7.3 ร่วมเป็นศูนย์กลางบริหารจัดการระบบการประมวลผลข้อมูลรวมทั้งระบบรายงาน 8) สถาบนั การแพทยฉ์ ุกเฉินแหง่ ชาติ 8.๑ ประสานการจัดระบบการช่วยเหลอื ผปู้ ระสบเหตฉุ ุกเฉิน โดยใช้เรอื และอากาศยาน 8.2 เป็นศูนย์กลางรวบรวมและจัดส่งข้อมูลการออกปฏิบัติการให้บริการการแพทย์ ฉกุ เฉนิ (EMS) จากระบบสารสนเทศ (ITEMS) สง่ ใหศ้ ูนย์ปฏิบตั ิการทุกวนั ในชว่ งเทศกาลปีใหม/่ สงกรานต์ 9) สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด โรงพยาบาล (รพศ./รพท./รพช.) โรงพยาบาลเอกชน 9.๑ นาข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนของปีที่ผ่านมาวิเคราะห์ เพื่อหาสาเหตุ พฤติกรรมเส่ียง จุดเส่ียง ท่ีเกิดข้ึนในพื้นท่ี เพ่ือช้ีประเด็น/สะท้อนปัญหาให้กับศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนนในระดับ จงั หวัด/อาเภอ ร่วมวางแผน บูรณาการแก้ไขปัญหา และออกมาตรการในระดับพ้ืนที่อย่างครอบคลุม ตามบทบาท ด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ 9.2 รวบรวมและส่งข้อมูลผู้บาดเจ็บ ท้ังผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน และผู้เสียชีวิต ของ โรงพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในจังหวัด ตามแบบรายงาน ช่วงเวลา และช่องทางท่ีกาหนดและประสานความ ร่วมมอื ในการรายงานผลการปฏิบตั ิงานใหก้ ับศูนย์ปฏิบตั ิการป้องกนั และแก้ไขปัญหาอุบัติเหตทุ างถนนระดับอาเภอ และจงั หวัด 9.๓ ร่วมประชาสัมพันธ์รณรงค์ส่งเสริมความปลอดภัยกับหน่วยงานในพ้ืนท่ีตาม มาตรการหลัก และมาตรการเน้นหนกั ทก่ี าหนด 9.๔ สนับสนุน/ผลักดันให้พ้ืนท่ีในชุมชนต้ังด่านชุมชน /จุดสกัดกั้นในช่วงเทศกาล และ ให้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมูบ่ ้าน (อสม.) สารวจกลุ่มคนท่มี ีพฤติกรรมเสี่ยงในพื้นท่อี ยา่ งใกล้ชิด รวมทง้ั คัด กรอง คนเมาสุรา ณ ด่านชุมชน /จุดตรวจ /จุดบริการประชาชนในพื้นท่ี ตามนโยบายของแต่ละพ้ืนท่ี หรือ อาจ พิจารณาจัดทีมออกตรวจเตือน/ประชาสัมพันธ์ พระราชบัญญัติควบคุมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ พ.ศ.๒๕๕๑ ให้กับ สถานประกอบการ ร้านค้าและประชาชนทว่ั ไป ในช่วงกอ่ นเทศกาลและช่วงเทศกาล เพื่อเป็นการป้องปรามไม่ให้มี การกระทาผิด หากพบเห็นการกระทาผิดให้รายงานข้อมูลต่อศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนอาเภอและ จงั หวัด เพ่อื นาขอ้ มูลมาวิเคราะห์ และนาเสนอต่อหน่วยงานที่รับผิดชอบตอ่ ไป) 9.๕ ให้สานักงานสาธารณสุขทุกจังหวัด สนับสนุนการปฏิบัติงานของชุดปฏิบัติการ ฉกุ เฉินเบือ้ งต้นขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ (เทศบาล และองค์การบรหิ ารส่วนตาบล) โดย ๑) แจ้งให้โรงพยาบาลทุกแห่งในจังหวัด ฝึกทักษะให้กับบุคลากรขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่ข้ึนทะเบียนระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ด้านการช่วยเหลือผู้ป่วยอุบัติเหตุทางถนนและผู้ป่วย ฉุกเฉินในห้องอุบัติเหตุและฉกุ เฉิน รวมท้ังกาหนดใหผ้ ู้ฝกึ ทกั ษะได้มสี ่วนร่วมออกปฏิบตั ิงานกับชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน ของโรงพยาบาล เพอ่ื ให้บริการผูป้ ว่ ย ณ จุดเกิดเหตุ ๒) ประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพื้นที่ท่ีจัด “ชุดปฏิบัติการ ฉุกเฉิน” ส่งบคุ ลากรทข่ี ึ้นทะเบียนระบบการแพทย์ฉุกเฉินแล้ว เข้ารับการฝึกทักษะในโรงพยาบาลในเขตปกครองท่ี มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน (Standard of Operation: SOPs) 234

มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน รหสั SOP-RTI-001 (Standard of Operation: SOPs) กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน งานพฒั นาระบบความปลอดภัยทางถนน งานพฒั นาระบบความปลอดภยั ทางถนน เร่อื ง การดาเนินงานป้องกันและลด หนา้ /13 อบุ ัตเิ หตุทางถนนในชว่ งเทศกาล แกไ้ ขคร้ังท่ี (ปีใหม่/สงกรานต)์ กระทรวงสาธารณสุข ประกาศใช้ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้ังอยู่ โดยกาหนดวัน เวลา จานวนผู้ฝกึ ทักษะ ตามความเหมาะสม ทั้งน้ีเพ่ือใหผ้ ู้เข้ารับ การฝกึ ทักษะมีความเช่อื มนั่ ในการปฏิบตั ิหนา้ ที่ ๓) แจ้งศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ ให้ตรวจเช็คความพร้อมการออกปฏิบัติงาน ช่วยเหลือผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุ ของทุกชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน รวมทั้งชุดปฏิบัติการฉุกเฉินในสังกัดขององค์กร ปกครองสว่ นท้องถนิ่ ตามเวลาและทางช่องทางการสอ่ื สารท่ีกาหนดภายในจงั หวดั 9.๖ ใหโ้ รงพยาบาลเตรยี มความพร้อมดังน้ี ๑) เตรียมความพร้อมของหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) ของทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนในเรอ่ื งหน่วยบรกิ ารทุกระดบั (ALS, ILS, BLS และ FR) ๒) เตรียมความพร้อมศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ (หมายเลขโทรศัพท์ ๑๖๖๙) ทง้ั ทางโทรศัพท์พ้ืนฐาน โทรศพั ทเ์ คล่อื นท่ี โทรสาร วิทยสุ ่ือสารคมนาคม ระบบ VHF/FM HF/SSB และ Internet ให้สามารถติดต่อประสานงานระหว่างส่วนกลางกับจังหวัด และการติดต่อระหว่างเครือข่ายสถานบริการในแต่ละ จงั หวัดได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ระบบสารสนเทศ รวมทั้งขอความรว่ มมือจากมลู นธิ ิ/อาสาสมัคร ๓) เตรียมความพร้อมทั้งทีมแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าท่ี และอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงใน ER, OR, ICU ให้สามารถพร้อมรับผู้บาดเจ็บ หากเกิดอุบัติเหตุหมู่ อุบัติเหตุที่มีความรุนแรง ได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง รวมท้ังประสานและเตรียมความพร้อมการรับ และส่งต่อของสถานพยาบาล ในเครือขา่ ย (Referral System) ๔) ในเส้นทางถนนสายหลักท่ีมีจุดตรวจ /จุดบริการอยู่ห่างกันมาก จังหวัดอาจ พิจารณาให้โรงพยาบาลบนเส้นทางหลวงจัดหน่วยบริการ BLS/ ALS อยู่ประจาบริเวณเส้นทางหลวง ตามความเหมาะสม เพอ่ื ใหก้ ารดแู ล รกั ษาพยาบาล ในกรณีเจบ็ ปว่ ย 4. เอกสารอา้ งอิง (Reference) - แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ ปี พ.ศ. 2558 - คาจากดั ความการเก็บข้อมูลผู้บาดเจ็บและเสยี ชีวิตจากการจราจรทางถนน ในช่วงเทศกาล (ปีใหม/่ สงกรานต)์ กระทรวงสาธารณสขุ - นิยามข้อมูลอบุ ัตเิ หตุ ศนู ยอ์ านวยการความปลอดภัยทางถนน - WHO, 2009; GLOBAL STATUS REPORT ON ROAD SAFETY TIME FOR ACTION - แบบรายงาน ปภ.บอ. 4 5. คาศพั ท์และคานิยาม (Term and Definition) 5.1 นิยามขอ้ มูลอบุ ัตเิ หตุ อุบัติเหตุจราจรหมายถึงการบาดเจ็บและเสียชีวิตใดๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับพาหนะทุกชนิดจาก การจราจรทางถนน ที่ออกแบบหรือถูกใช้สาหรับการ นาส่งบุคคลหรือส่ิงของ จากท่ีหนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง (รหัส ICD10 = V01-V89) มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 235

มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน รหสั SOP-RTI-001 (Standard of Operation: SOPs) กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน งานพัฒนาระบบความปลอดภัยทางถนน งานพฒั นาระบบความปลอดภัยทางถนน เรือ่ ง การดาเนนิ งานป้องกนั และลด หน้า /13 อบุ ัตเิ หตุทางถนนในชว่ งเทศกาล แก้ไขครงั้ ท่ี (ปใี หม่/สงกรานต)์ กระทรวงสาธารณสขุ ประกาศใช้ ผู้บาดเจ็บ หมายถึง ผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจรทางถนน ไม่ว่าเป็นผู้เดินเท้า (รวมทั้งอยู่ใน อิรยิ าบถอื่น) ขบั ขห่ี รือโดยสารทม่ี ารบั บรกิ ารท่ีโรงพยาบาล (ท้งั ของรัฐ และเอกชน) ผู้ท่ีเสียชีวิต หมายถึง ผู้ที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางถนนต้ังแต่เวลาท่ีเกิดเหตุถึง ๓๐ วัน หลังเกิดเหตุรวมถึงการเสียชีวิตที่จุดเกิดเหตุ ระหว่างนาส่งรพ. ที่ห้องฉุกเฉิน ระหว่างส่งต่อ (Refer) กรณี Admit เสียชวี ิตในตกึ ผู้ป่วยภายใน ๒๔ ชม และเสียชีวิตในตกึ ผ้ปู ่วยหลัง ๒๔ ชม. จนถึง ๓๐ วนั หลังเกดิ เหตุ วนั ทมี่ าถงึ รพ. หมายถงึ วนั ทผ่ี บู้ าดเจ็บมารบั การรกั ษาทโ่ี รงพยาบาล เวลาท่ีมาถึง รพ หมายถึง เวลาที่มาถึงโรงพยาบาล ถ้าไม่ทราบใหป้ ระมาณเวลาทีใ่ กล้เคยี ง วันที่เกิดเหตุ หมายถงึ วันท่ีผบู้ าดเจ็บ/ผู้เสยี ชวี ิต ประสบอบุ ัติเหตุ เวลาทเี่ กดิ เหตุ หมายถึง เวลาทเ่ี กดิ อุบัตเิ หตจุ ริง ถา้ ไมท่ ราบให้ประมาณเวลาท่ีใกล้เคยี ง คานาหนา้ ชื่อ หมายถงึ คานาหน้าช่อื ผไู้ ดร้ บั บาดเจ็บหรือเสียชีวติ ช่ือ–สกุล หมายถึงการลงช่ือ-สกุล โดยไม่ต้องใส่คานาหน้าชื่อ หรือกรณีไม%ทราบชื่อ ให้ลงว่า ไมท่ ราบช่ือ เลขประจาตัว หมายถึง กรณีคนไทยใส่ 13 หลัก กรณี ต่างชาติให้ใส่เลขตามบัตรแรงงานต่าง ด่าวหรือพาสปอรต์ หรือบตั รประจาตัวอ่ืน ๆ (ถ้าไม่มีให้ใส 0) สัญชาติ หมายถึง ไทย กรณี ต่างชาติ (รวมต่างด่าว) เพ่ิมให้เลือก Drop Down เป็นประเทศ อาเซียน และอน่ื ๆ สถานะของผบู้ าดเจบ็ - คนเดนิ เท้า ผู้บาดเจบ็ หรอื เสียชวี ิตจากการจราจรทางถนน ทใ่ี ชถ้ นน แตไ่ ม่ใช้ผู้ขบั ขี่ หรอื ผู้โดยสาร - ผู้ขับขี่ = ผู้บาดเจบ็ หรือเสยี ชีวติ จากการจราจรทางถนนท่เี ป็นผู้ขบั ข่ียานพาหนะ - ผู้โดยสาร = ผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวติ จากการจราจรทางถนน อยู่ในยานพาหนะที่ไม่ใช้ผู้ขับขี่ - ไม่ทราบ = กรณีไม่เข้าท้ังสามข้อข้างบน เช่น พบศพข้างถนน หรือ ไม่มีกิจกรรมในการใช้ ถนนหรือผู้นาส่งไมส่ ามารถระบุได้ พฤตกิ รรมเสี่ยง เชน่ ขับรถเร็ว ประมาท เมาสุรา ไมส่ วมหมวก ฯลฯ 5.2 อุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาล หมายถึง อุบัติเหตุจากจราจรทางถนนในช่วงรณรงค์ของเทศกาล ตั้งแต่เวลา 00.01-24.00 น. ทุกวัน เฉพาะกรณีที่มีผู้เสียชีวิต และ/หรือผู้บาดเจ็บที่นอนพักรักษาตัวใน โรงพยาบาล (Admit) และเป็นอุบัติเหตุท่ีเกิดจากการใช้ยานพาหนะต่อไปนี้เพ่ือการจราจรหรือขนส่ง ได้แก่ รถยนต์น่ังส่วนบุคคล รถแท็กซี่ รถจักรยานยนต์ รถสามล้อเคร่ือง รถกระบะ รถตู้ รถโดยสารประจาทางและไม่ ประจาทาง รถบรรทุกทุกประเภท รถจักรยาน รถจักรยานสามล้อ รถเพื่อการเกษตร รถที่ใชเ้ คร่ืองยนต์การเกษตร มาดดั แปลง รถสกายแลบ เปน็ ตน้ รวมทงั้ อุบัตเิ หตุกรณรี ถไฟชนกับรถยนต์ กรณีชาวต่างชาติที่เข้าเมืองหรือมีถิ่นฐานในประเทศไทยโดยถูกต้องตามกฎหมาย ประสบ อบุ ตั ิเหตุทางถนนในช่วงเทศกาล และเสยี ชวี ติ หรือบาดเจบ็ (Admit) ใหน้ ับเป็นผปู้ ระสบอุบัติเหตทุ างถนนด้วย มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 236

มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน รหสั SOP-RTI-001 (Standard of Operation: SOPs) กองสาธารณสุขฉุกเฉิน งานพฒั นาระบบความปลอดภยั ทางถนน งานพัฒนาระบบความปลอดภยั ทางถนน เร่อื ง การดาเนนิ งานป้องกนั และลด หน้า /13 อุบตั เิ หตทุ างถนนในช่วงเทศกาล แกไ้ ขครั้งท่ี (ปใี หม่/สงกรานต์) กระทรวงสาธารณสุข ประกาศใช้ กรณีแรงงานต่างด้าวท่ีได้จดทะเบียนกับกระทรวงแรงงานถูกต้องตามกฎหมาย ประสบ อุบตั ิเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลและเสียชวี ิตหรือบาดเจ็บ (Admit) ให้นับเปน็ ผปู้ ระสบอบุ ตั เิ หตุ กรณีชาวต่างชาติ หรือแรงงานต่างด้าว ลักลอบเข้าเมืองโดยไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ประสบ อบุ ตั ิเหตุทางถนนในชว่ งเทศกาลและเสียชวี ิตหรือบาดเจบ็ Admit ให้นับเปน็ ผปู้ ระสบอบุ ตั ิเหตุ กรณีอุบัติเหตุเกิดบนถนนทางดว่ นพิเศษแห่งประเทศไทย ให้นบั เป็นอุบัตเิ หตุ ทางถนนในความ รับผิดชอบของกองบังคบั การตารวจจราจรในกรุงเทพมหานคร 5.2.1 ผูเ้ สียชวี ติ 5.2.1.1 ผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ณ จุดเกิดเหตุ และผู้เสียชีวิตที่โรงพยาบาลต้ังแต่เวลา 00.01 - 24.00 น. ทกุ วนั (7 วันอันตราย) ในชว่ งรณรงค์ป้องกันอบุ ัตเิ หตุทางถนนช่วงเทศกาล กรณีการอุบัติเหตุทางถนน แล้วผู้ประสบเหตุตกลงไปในน้า แล้วเสียชีวิตเน่ืองจากจมน้าให้ นับเปน็ ผ้เู สียชีวิตจากอบุ ตั ิเหตทุ างถนนดว้ ย 5.2.1.2 ผู้เสยี ชีวิตจากอบุ ัติเหตุทางถนนกรณีบาดเจบ็ ในชว่ งรณรงค์แล้วต่อมาเสียชวี ติ ตง้ั แต่ เกิดเหตุถึง 30 วนั หมายถึง ผู้บาดเจ็บทเ่ี กิดอบุ ัตเิ หตุในช่วงรณรงค์ แล้วต่อมาเสยี ชีวิตนบั ต้ังแต่เกดิ เหตถุ งึ 30 วัน ให้นับเป็นผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในช่วงรณรงค์ของเทศกาลด้วย อ้างอิง: WHO, 2009; GLOBAL STATUS REPORT ON ROAD SAFETY TIME FOR ACTION 5.2.2 ผบู้ าดเจบ็ ในช่วงเทศกาล หมายถึง ผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจรทางถนน ไม่ว่าเป็นผู้เดินเท้า (รวมท้ังอยู่ในอิริยาบถอื่น) ขับขี่หรือโดยสารท่ีมารับบริการท่ีโรงพยาบาล (ท้ังของรัฐ และเอกชน) ต้ังแต่เวลา 00.01 - 24.00 น. ทุกวัน (7 วนั อันตราย) ในช่วงรณรงคป์ อ้ งกันอุบตั ิเหตุทางถนนช่วงเทศกาล หมายเหตุ กรณีผู้บาดเจ็บนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล (Admit) ในระหว่างช่วงรณรงค์ แต่เกิด อบุ ตั ิเหตกุ ่อนชว่ งรณรงค์ ไมน่ บั เป็นผ้บู าดเจ็บจากอุบัตเิ หตทุ างถนนในช่วงรณรงค์ 5.2.3 คนในพื้นท่ี หมายถงึ ผู้ที่ประสบอุบตั ิเหตุอยูภ่ ายในเขตอาเภอทีต่ นเองพกั อาศยั 5.2.4 คนนอกพ้ืนท่ี (ในเขตจังหวัด) หมายถึง ผู้ที่ประสบอุบัติเหตุอยู่นอกเขตอาเภอ ที่ตนเองพักอาศัย แตอ่ ยใู่ นเขตจังหวดั 5.2.5 คนนอกพน้ื ท่ี (นอกเขตจังหวัด) หมายถงึ ผ้ทู ่ีประสบอบุ ตั เิ หตุอยูน่ อกเขตจังหวัด ท่ีตนพกั อาศยั 5.2.6 ถนน หมายถึง ถนนสาธารณะท่ีใชส้ ญั จร ประกอบดว้ ย (1) ถนนทางหลวง คือ ถนนทอี่ ยู่ในความรับผดิ ชอบของกรมทางหลวง (2) ถนนทางหลวงชนบท คือ ถนนที่อย่ใู นความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท (3) ถนนเทศบาล/ในเมือง คือ ถนนที่อย่ใู นความรับผดิ ชอบของเทศบาล (4) ถนน อบต./หมู่บา้ น คอื ถนนท่ีอยู่ในความรับผดิ ชอบของ อบต. และ/หรือถนน ทีช่ าวบา้ น ใชส้ ญั จรไป-มาเป็นประจา เชน่ ถนนลูกรงั / ลาดยาง / คอนกรตี ฯลฯ (5) ถนน อบจ. คือ ถนนท่ีอยู่ในความรบั ผดิ ชอบของ อบจ. มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 237

มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน รหัส SOP-RTI-001 (Standard of Operation: SOPs) กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน งานพฒั นาระบบความปลอดภัยทางถนน งานพฒั นาระบบความปลอดภัยทางถนน เรอ่ื ง การดาเนนิ งานปอ้ งกนั และลด หนา้ /13 อุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาล แก้ไขครง้ั ที่ (ปีใหม่/สงกรานต์) กระทรวงสาธารณสขุ ประกาศใช้ (6) ถนนอนื่ ๆ คือ ถนนทไ่ี ม่ใชถ่ นนตามข้อ 1–5 อาทิ ถนนชลประทาน ถนนในความรับผดิ ชอบ ของกรมอทุ ยาน สัตว์ปา่ และพนั ธพุ์ ืช ฯลฯ ทั้งนี้ กรณีประเภทถนนอ่ืนๆ ให้จังหวดั และกองบังคับการตารวจนครบาล ระบุประเภท ของถนนอ่ืนๆ ลงในระบบรายงานข้อมลู อุบัติเหตทุ างถนนดว้ ย 5.2.7 สาเหตกุ ารเกิดอบุ ตั ิเหตุ ประกอบดว้ ย 1) ขบั รถเร็วเกนิ กาหนด 2) ฝา่ ฝืนสญั ญาณไฟจราจร 3) ฝ่าฝนื เครื่องหมายจราจร 4) ตดั หนา้ กระชนั้ ชิด 5) แซงรถผดิ กฎหมาย 6) เมาสรุ า 7) เสพสารเสพตดิ 8) หลับใน 9) บรรทุกเกินอตั รา 10) มสี ่ิงกีดขวางบนถนน 11) ทศั นวิสัยไม่ดี 12) แซงรถผดิ กฎหมาย 13) ใช้ โทรศพั ทเ์ คลอื่ นที่ขณะขับรถ 14) ขบั รถย้อนศร หมายเหตุ: เน่ืองจากกรณี 1) มอเตอร์ไซค์ไม่ปลอดภัย 2) ไม่มีใบขับข่ี 3) อื่นๆ ไม่ใช่สาเหตุการ เกิดอุบัติเหตุ ศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนน ได้ดาเนินการปิดการรายงานตามแบบ ปภ.บอ.3 โดย สามารถรายงานได้ในแบบรายงาน ปภ.บอ. 4 แบบรายงานข้อมูลผู้ประสบเหตุกรณีพฤติกรรมเส่ียงของการเกิด อุบัตเิ หตุ 5.2.8 พฤติกรรมเสี่ยง ประกอบด้วย 1) ขับรถเร็วเกินกาหนด 2) ฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร 3) ฝ่าฝืน เครอ่ื งหมายจราจร 4) ตดั หน้ากระชัน้ ชิด 5) แซงผิดฎหมาย 6) เมาสุรา 7) เสพสารเสพติด 8) หลบั ใน 9) บรรทุก เกินอัตรา 10) มีส่ิงกดี ขวางบนถนน 11) ทศั นวิสัยไม่ดี 12)ไมม่ ีใบขบั ขี่ 13) มอเตอรไ์ ซค์ไม่ปลอดภยั 14) แซงรถ ผิดกฎหมาย (ที่คับแคบ,ท่ีห้ามแซง) 15) ใช้โทรศัพท์เคลื่อนท่ี ขณะขับรถ 16) ขับรถย้อนศร 17) อ่ืนๆ 18) ไม่สวมหมวกนิรภัย 19) ไม่คาดเข็มขัด 20)ไม่มีความผดิ ตามมาตรการ 5.2.9 ประเภทรถ ประกอบด้วย 1) รถมอเตอร์ไซค์ 2) รถปิคอัพ 3) รถเก๋ง/รถแท็กซี่ 4) รถตู้ 5) รถ โดยสาร 4 ลอ้ ขึน้ ไป 6) รถโดยสาร 6 ล้อขึ้นไป 7) SUV 8) รถเพื่อการเกษตร 9) อน่ื ๆ มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 238

มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน รหสั SOP-RTI-001 (Standard of Operation: SOPs) กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ งานพัฒนาระบบความปลอดภัยทางถนน งานพัฒนาระบบความปลอดภยั ทางถนน เรอื่ ง การดาเนนิ งานป้องกนั และลด หนา้ /13 อุบตั ิเหตทุ างถนนในชว่ งเทศกาล แกไ้ ขครั้งท่ี (ปีใหม่/สงกรานต์) กระทรวงสาธารณสุข ประกาศใช้ 6. ผังงาน (Flow) รายละเอยี ดการดาเนนิ งาน ระยะเวลา ผรู้ บั ผดิ ชอบ ขน้ั ตอนการดาเนินงาน - กลุ่มงานพัฒนาระบบความ ก่อนช่วง 7 วัน ปลอดภัยทางถนนประชุมเตรียม อนั ตราย กสธฉ. การเตรยี มความ ความพร้อมการดาเนินงานช่วง กปจ.คร. พรอ้ ม เท ศ ก า ล ร่ ว ม ห น่ ว ย ง า น ที่ กอ่ นชว่ ง 7 วัน เก่ียวข้อง อนั ตราย กสธฉ. แกไ้ ข -ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม ก า ร ร่ า ง แ ผ น ก า ร กปจ.คร. การดาเนนิ งาน ดาเนินงานช่วงเทศกาล(ปีใหม่/ ก่อนชว่ ง 7 วัน ในชว่ งเทศกาล สงกรานต์) คณะอนุกรรมการ อนั ตราย กสธฉ. ถดั ไป ศูนย์อานวยการความปลอดภัย กปจ.คร. ทางถนน ณ กรมป้องกันและ การดาเนนิ งาน บรรเทาสารณภัย กสธฉ. - ประชุมเตรียมความพร้อมการ กปจ.คร. ดาเนินงานในช่วงเทศกาล เช่น ออกหนังสอื ส่งั การแจ้งไปยงั พ้ืนที่ - ประชุมทางไกล VDO Conference ก่อนช่วง 7 วัน ชี้แจงการดาเนินงานช่วงเทศกาล อันตราย (ปใี หม่/สงกรานต)์ - โรงพยาบาลและหน่วยงานใน 7 วนั อนั ตราย สังกัดก ระท รวงสาธารณ สุข ร า ย ง า น ข้ อ มู ล ผู้ บ า ด เจ็ บ แ ล ะ เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ผ่านระบบ PHER Accident/ IS Online/ IS Win - กลุ่มงานพัฒนาระบบความ 7 วนั อนั ตราย กสธฉ. ปลอดภัยทางถนนจัดเวรเพ่ือให้ 7 วนั อันตราย ศูนยเ์ ทคฯ ค า ป รึ ก ษ า แ ล ะ แ ก้ ไข ปั ญ ห า ก า ร กปจ.คร. รายงานข้อมูลผ่านระบบ PHER Accident/ IS Online/ IS Win กสธฉ. กปจ.คร. -จดั ทาสรปุ ขอ้ มลู ประจาวันเสนอต่อ ผู้บริหารและเข้าร่วมประชุมศูนย์ อานวยการความปลอดภัยทางถนน ช่วง 7 วนั อนั ตราย มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 239

มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน รหัส SOP-RTI-001 (Standard of Operation: SOPs) กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน งานพฒั นาระบบความปลอดภัยทางถนน งานพฒั นาระบบความปลอดภัยทางถนน เรือ่ ง การดาเนนิ งานปอ้ งกนั และลด หน้า /13 อบุ ตั เิ หตทุ างถนนในช่วงเทศกาล แก้ไขคร้งั ท่ี (ปีใหม่/สงกรานต)์ กระทรวงสาธารณสขุ ประกาศใช้ ข้นั ตอนการดาเนินงาน รายละเอยี ดการดาเนินงาน ระยะเวลา ผู้รับ การดาเนนิ งานหลังชว่ งเทศกาล ผิดชอบ - แจ้งปรับปรุงข้อมูลผู้บาดเจ็บ หลังช่วงเทศกาล และเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทาง 7 วันอนั ตราย กสธฉ. ถนนย้อนหลัง 30 วันในระบบ ร า ย ง า น PHER Accident/ IS Online/IS Win และให้คาแนะนา และแกไ้ ขปญั หาระบบรายงาน - จัดป ระชุมถอ ดบ ท เรียน ก าร หลงั ชว่ งเทศกาล กสธฉ ดาเนินงานในช่วงเทศกาล หากมี 7 วนั อันตราย กปจ.คร. ก ารแก้ไข/ป รับ เปล่ียน ใน แน ว ทางการดาเนินงาน/ระบบรายงาน ข้อมูล จะนามาปรับปรุงแก้ไขการ ดาเนนิ งานในเทศกาลถดั ไป 7. ข้ันตอนการปฏบิ ัติ (Procedure) 7.1 การเตรียมการ กระทรวงสาธารณสุข กองสาธารณสุขฉุกเฉิน โดยกลุ่มงานพัฒนาระบบความ ปลอดภัยทางถนนประชุมเตรียมความพร้อมการดาเนินงานช่วงเทศกาลร่วมหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และร่วมประชุม ร่างแผนการดาเนินงานช่วงเทศกาล (ปีใหม่/สงกรานต์) คณะอนุกรรมการศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนน ณ กรมปอ้ งกันและบรรเทาสารณภยั กอ่ นชว่ งรณรงค์เข้มขน้ (7วันอันตราย) 7.2 การดาเนินงาน ประชุมเตรียมความพร้อมการดาเนินงานในช่วงเทศกาล เชน่ ออกหนังสอื ส่ังการแจ้ง ไปยังหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขท่ีเกี่ยวข้องกับการดาเนินงานในช่วงเทศกาลดังกล่าว และประชุม ทางไกลผ่านระบบ VDO Conference เพ่ือชี้แจงการดาเนินงานช่วงเทศกาล (ปีใหม่/สงกรานต์) ก่อนช่วงการ ณรงค์เข้มข้น (7 วันอันตราย) ให้สอดคล้องกับแผนบูรณาการป้องกันและลดอุบัติเหตุในช่วงเทศกาล (ปีใหม่/ สงกรานต)์ โรงพยาบาลและหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข รายงานข้อมูลผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจาก อบุ ัตเิ หตุทางถนนผา่ นระบบ PHER Accident/ IS Online/ IS Win ในช่วงรณรงค์เข้มขน้ (7 วันอันตราย) จัดเวรเพ่ือให้คาปรกึ ษาและแก้ไขปญั หาการรายงานขอ้ มูลผา่ น ระบบ PHER Accident/IS Online/IS Win จัดทาสรุปข้อมูลประจาวันเสนอต่อผู้บริหารเข้าร่วมประชุมศูนย์ อานวยการความปลอดภยั ทางถนนช่วง 7 วนั อนั ตราย 7.3 การดาเนินการหลังช่วงเทศกาล (7 วันอันตราย) กองสาธารณสุขฉุกเฉิน โดยกลุ่มงานพัฒนาระบบ ความปลอดภัยทางถนน ออกหนังสือแจ้งปรับปรุงขอ้ มูลผู้บาดเจ็บและเสยี ชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนย้อนหลัง 30 วัน มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 240

มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน รหัส SOP-RTI-001 (Standard of Operation: SOPs) กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน งานพฒั นาระบบความปลอดภยั ทางถนน งานพัฒนาระบบความปลอดภัยทางถนน เร่ือง การดาเนินงานป้องกันและลด หนา้ /13 อบุ ัตเิ หตทุ างถนนในชว่ งเทศกาล แกไ้ ขครั้งท่ี (ปีใหม่/สงกรานต)์ กระทรวงสาธารณสุข ประกาศใช้ หลังช่วงเทศกาล (7 วันอันตราย) ในระบบรายงาน PHER Accident/IS Online/IS Win และให้คาแนะนาและแก้ไข ปญั หาระบบรายงาน กองสาธารณสุขฉุกเฉินร่วมกับกองป้องกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค จัดประชุมถอดบทเรยี นการ ดาเนินงานในช่วงเทศกาล หากมีการแก้ไข/ปรับเปลี่ยนในแนวทางการดาเนินงาน/ระบบรายงานข้อมูล และนามา ปรบั ปรงุ แกไ้ ขการดาเนินงานในเทศกาลถดั ไป 8. มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Performance Standard) 8.1 มาตรฐานแผนการดาเนนิ งาน:แผนบรู ณาการป้องกนั และลดอุบตั เิ หตทุ างถนนช่วงเทศกาล (ปีใหม/่ สงกรานต)์ ศนู ย์อานวยการความปลอดภยั ทางถนน กระทรวงมหาดไทย 8.2 มาตรฐานขอ้ มูล:ระบบรายงานข้อมูล PHER Accident /IS Online (Injury surveillance) /IS WIN รายงานขอ้ มูล และมีการบูรณาการข้อมูลรว่ มกับหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง 9. การตดิ ตามประเมินผล (Measurement and Evaluation) 9.1 ผู้รับผดิ ชอบในการติดตามประเมินผล: ผู้อานวยการกองสาธารณสุขฉกุ เฉิน 9.2 วธิ ีการติดตามประเมินผล 9.2.1โรงพยาบาลทกุ แหง่ ในสงั กัดกระทรวงสาธารณสุข บนั ทึกข้อมูลข้อมลู ผู้บาดเจบ็ เสียชีวิตจาก อบุ ตั ิเหตทุ างถนนในช่วงเทศกาล (ปใี หม่/สงกรานต์) ผ่านระบบ PHER Accident / IS Online (Injury surveillance)/ IS WIN 9.2.2 ร่วมวเิ คราะหม์ าตรการแนวทางการดาเนนิ งานในช่วงเทศกาลป้องกนั และลดอบุ ตั เิ หตุทางถนน ช่วงเทศกาล (ปใี หม่/สงกรานต)์ กบั หน่วยงานในสังกดั กระทรวงสาธารณสขุ และหนว่ ยงานท่ี เกย่ี วข้อง 9.2.3 ลงตรวจเยี่ยมพ้ืนที่ โรงพยาบาล สถานบริการ และดา่ นชมุ ชน ร่วมกบั หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้องในชว่ ง เทศกาล (ปีใหม/่ สงกรานต)์ 9.3 ตวั ช้วี ดั 9.3.1มีมาตรฐานการดาเนนิ งานและแนวทางการปฏิบตั ิงานในช่วงเทศกาล (ปีใหม/่ สงกรานต)์ 9.3.2พัฒนาระบบข้อมูลและระบบรายงานช่วงเทศกาลให้มีประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัติงาน ดา้ นความถูกต้อง คณุ ภาพขอ้ มูลและการประมวลผลของระบบ 9.3.3วิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการขับเคลื่อนการดาเนินงาน ด้านการป้องกัน และลดการบาดเจ็บจากอบุ ัตเิ หตทุ างถนน กระทรวงสาธารณสขุ มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 241

มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน รหสั SOP-RTI-001 (Standard of Operation: SOPs) กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน งานพฒั นาระบบความปลอดภัยทางถนน งานพัฒนาระบบความปลอดภยั ทางถนน เร่ือง การดาเนินงานปอ้ งกนั และลด หน้า /13 อุบัติเหตุทางถนนในชว่ งเทศกาล แกไ้ ขครงั้ ท่ี (ปีใหม่/สงกรานต)์ กระทรวงสาธารณสุข ประกาศใช้ 10.แบบฟอร์มท่ใี ช้ (Form) 10.1 แบบฟอรม์ 10.1.1 รายงานขอ้ มูลอบุ ตั ิเหตุชว่ งเทศกาล (ปใี หม/่ สงกรานต์) one page ประจาวัน ข้อมลู ท้งั ประเทศ และข้อมลู รายเขต จาก ระบบรายงาน PHER Accident 10.1.2 ขอ้ มูลจากระบบรายงาน IS Online (Injury surveillance) 10.1.3 ข้อมลู จากระบบรายงาน IS WIN 11.การควบคมุ บันทกึ คุณภาพ (Control of Record) ลาดับ ชอ่ื เอกสาร ผ้รู บั ผดิ ชอบ สถานท่จี ัดเก็บ ระยะเวลา ที่ กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ จดั เก็บ กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ 1ปี 1 แผนการดาเนนิ งานช่วงเทศกาล กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ กระทรวงสาธารณสขุ ศูนยอ์ านวยการความ 1ปี ปลอดภยั ทางถนน 1ปี 2 แผนบรู ณาการป้องกันและลดอบุ ัตเิ หตุ กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ ในชว่ งเทศกาล (ปีใหม/่ สงกรานต)์ 3 มาตรการชว่ ยเหลือหลงั เกิดอุบัตเิ หตุ 12. บันทึกการแกไ้ ขเอกสาร เดือน ปี แกไ้ ขครัง้ ท่ี รายละเอียด 1 พฤษภาคม 00 เร่มิ ใชฉ้ บับจรงิ ตามรปู แบบ SOP โดยมี 13 หัวข้อ 2561 กันยายน 2561 00 ทบทวนเอกสารประจาปี มกราคม 2564 00 ทบทวนเอกสารประจาป2ี 564 13.ภาคผนวก - ไม่มี มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 242


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook