Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard of Operation SOPs_2564

รวมมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard of Operation SOPs_2564

Published by ub.pheoc, 2022-01-26 01:36:57

Description: รวมมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard of Operation SOPs_12.07.64_final

Search

Read the Text Version

มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) กลมุ่ พฒั นาระบบการแพทย์ฉกุ เฉิน

มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน รหสั : SOP-ECS-01 (Standard of operation : SOP) หน้า กลุ่มพัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉิน แก้ไขคร้งั ท่ี งานพัฒนาระบบการแพทยฉ์ กุ เฉินในภาวะปกติ ประกาศใช้ กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน และงานพัฒนาระบบการแพทยฉ์ กุ เฉินด้าน ผู้จดั ทา สาธารณภยั กลุ่มพัฒนาระบบ การแพทย์ฉุกเฉนิ ผตู้ รวจสอบ/ทบทวน ผูอ้ นุมตั ิ (นายประกจิ สาระเทพ) (นายวทิ ูรย์ อนันกลุ ) นายแพทย์ชานาญด้านเวชกรรมปอ้ งกัน ผ้อู านวยการกองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน ๑.วัตถุประสงค์ เพ่ือให้การปฏิบัติหน้าท่ีและความรับผิดชอบของกลุ่มพั ฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน กองสาธารณสุขฉุกเฉิน เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ ตามภารกิจมอบหมายหน้าที่และความ รับผิดชอบการปฏิบัตงิ านของเจ้าหนา้ ที่ในกลมุ่ พฒั นาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉิน กองสาธารณสุขฉุกเฉิน เป็นไปอย่างมี ประสิทธภิ าพและบรรลุผลตามท่กี าหนดไว้ ๒.ขอบเขต 1) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ สารวจ รวบรวมข้อมูลทางวิชาการเบื้องต้นท่ีไม่ซับซ้อนเก่ียวกับงานด้านการ พฒั นาแนวทางและรูปแบบในการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินในภาวะปกติและดา้ นสาธารณภยั 2) ร่วมพัฒนาองค์ความรู้ คณุ ภาพมาตรฐานงานดา้ นพฒั นาระบบการแพทย์ฉุกเฉินในภาวะปกติและด้าน สาธารณภัย ร่วมดาเนินการวางแผนการทางานของหน่วยงานหรือโครงการเพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปตาม เป้าหมายผลสัมฤทธทิ์ ี่กาหนด 3) ขบั เคลื่อนนโยบายพัฒนาระบบปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล (Pre-Hospital care) ให้ มีประสิทธิภาพ และท่ัวถึง พัฒนาระบบบริการห้องฉุกเฉิน (ER) ของโรงพยาบาลต่างๆ ให้มีมาตรฐานตาม ECS คุณภาพ โดยร่วมมือกับกรมการแพทย์ พร้อมท้ังพัฒนาระบบบริการ Interfacility Emergency care (Refer) ใหม้ ีคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกระดบั อย่างทั่วถงึ 4) ประสาน สนับสนุนการทางานร่วมกันกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความรว่ มมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กาหนดไว้ 5) วางแผนการจัดประชุม ฝึกอบรมและสัมมนาต่าง ๆ กับหน่วยงานท้ังภายในและภายนอกทีมงานหรือ หน่วยงาน เพ่ือหาแนวทางในการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกระดับอย่าง ทัว่ ถงึ และบรหิ ารจดั การโครงการเพื่อใหบ้ รรลุผลตามเป้าหมาย และสอดคล้องกบั ภารกจิ กลุม่ งาน 6) ตดิ ตามผลการศกึ ษา วิเคราะห์ งานดา้ นพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินเพ่ือนามาใช้ในการปฏิบัติงานให้ เหมาะสมกบั สถานการณ์ต่างๆ 7) ควบคมุ ดูแล กากับ ตดิ ตาม งานตัวชว้ี ดั ตามคารับรองการปฏบิ ตั ิราชการประจาปี จดั ทำ ณ วันที่ 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 243

มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน รหสั : SOP-ECS-01 (Standard of operation : SOP) หนา้ กลุม่ พัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉนิ แก้ไขคร้ังที่ งานพฒั นาระบบการแพทย์ฉุกเฉนิ ในภาวะปกติ ประกาศใช้ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ และงานพฒั นาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉนิ ด้าน ผูจ้ ดั ทา สาธารณภัย กลุ่มพัฒนาระบบ การแพทย์ฉกุ เฉนิ ผู้ตรวจสอบ/ทบทวน ผอู้ นมุ ตั ิ (นายประกจิ สาระเทพ) (นายวิทูรย์ อนนั กลุ ) นายแพทย์ชานาญดา้ นเวชกรรมปอ้ งกัน ผู้อานวยการกองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน 8) การสนับสนุนทีมปฏิบัติการในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข และร่วมพัฒนา ระบบกลไก ให้เกิดศูนย์ประสานงานการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency Care Coordination Center) ในส่วนของ กระทรวง สาธารณสขุ 9) จัดทาฐานขอ้ มูลเบ้อื งต้นท่ีเกี่ยวข้องกับงานพฒั นาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉินด้านสาธารณภยั 10) ปฏิบตั ิหนา้ ท่ใี นกล่มุ ปฏบิ ัติการในกรณีทเี่ ปดิ ศูนยป์ ฏิบตั ิการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสขุ 11) ส่งเสริมศักยภาพและการมีส่วนร่วม ของกลไกในการขับเคล่ือนระบบการแพทย์ฉุกเฉินให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการจัดการเน้นการสร้างความร่วมมือ และการเชื่อมโยงเครือข่ายที่เน้นพื้นท่ีเป็นหลัก เช่น เขตบริการสขุ ภาพ สสจ. โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ เป็นต้น 12) พฒั นาระบบบรู ณาการการเตรียมพรอ้ มด้านการแพทยแ์ ละการสาธารณสุขให้เปน็ เอกภาพและมี ประสทิ ธภิ าพด้วยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องสามารถลดความสูญเสียของประชาชนในพื้นท่ีประสบ ภยั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 13) การสร้างภาคีเครอื ขา่ ยการดาเนนิ งานการแพทย์ฉุกเฉิน 14) ส่งเสริมใหบ้ คุ ลากรด้านการแพทย์และสาธารณสขุ มคี วามตระหนักถึงความปลอดภัย มีการสรา้ ง วัฒนธรรมความปลอดภัย รวมถึงการพฒั นาศักยภาพบุคลากร 15) เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงานทุกภาคส่วน ในการประสานงานและสนับสนุนแผน เตรียมพร้อมด้านการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ 16) จัดทาแผนการและร่วมการฝึกซ้อมแผนแบบบูรณาการเครือข่ายร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องอย่าง ตอ่ เนอ่ื ง 17) ประสานการปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการแพทย์ฉุกเฉนิ กับหน่วยงานอน่ื ท่เี ก่ยี วข้อง 18) ปฏบิ ตั ิงานอ่ืนๆตามท่ไี ด้รับมอบมาย จัดทำ ณ วันที่ 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 244

มาตรฐานการปฏิบัติงาน รหสั : SOP-ECS-01 (Standard of operation : SOP) หน้า กลุ่มพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน แก้ไขครงั้ ท่ี งานพัฒนาระบบการแพทยฉ์ กุ เฉนิ ในภาวะปกติ ประกาศใช้ กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ และงานพฒั นาระบบการแพทย์ฉกุ เฉินดา้ น ผูจ้ ดั ทา สาธารณภยั กลมุ่ พัฒนาระบบ การแพทยฉ์ ุกเฉนิ ผตู้ รวจสอบ/ทบทวน ผ้อู นมุ ัติ (นายประกจิ สาระเทพ) (นายวิทรู ย์ อนันกุล) นายแพทยช์ านาญดา้ นเวชกรรมปอ้ งกัน ผู้อานวยการกองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ ๓. หน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ เจา้ หนา้ ที่กลุ่มพัฒนาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉนิ มหี น้าท่ีดงั น้ี 1) ติดเครอื่ งหมายสัญลกั ษณ์ หรืออ่ืนๆ ตามทก่ี าหนด เพ่อื แสดงตน 2) ทบทวนหน้าที่ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าท่ีและปฏิบัติงานตามขอบเขตท่ีได้รับมอบหมายอย่างเต็ม กาลังความสามารถ 3) ทาความเข้าใจโครงสร้างองค์กร และแผนงานองค์กรเพ่ือนามาพัฒนาเช่ือมโยงกับภารกิจกลุ่มงาน อย่างเปน็ ระบบ 4) รับฟังการสรุปงานจากผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้ารวมถึงการรับฟังความเห็นจากสมาชิกในกลุ่มงาน อยา่ งเหมาะสม 5) ร่วมบริหารจดั องคก์ ร การมอบหมายงาน ให้คาปรึกษาแนะนา แก่ทีมท่ีทางานเพื่อการดาเนินงานตาม แผนท่กี าหนดร่วมกนั 6) วางแผนการพฒั นาระบบการแพทย์ฉุกเฉินในภาวะปกติและด้านสาธารณภัยร่วมกับทีมผู้บริหารอย่าง ต่อเนอ่ื ง 7) ประชมุ สรุปผลการดาเนนิ งานตามแผนโครงการเพอื่ ต่อยอดและพัฒนาให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น 8) อานวยการภารกิจของส่วนงานอื่น ๆ หรือภารกิจอ่ืน หน่วยงานอ่ืน ๆ ให้เป็นไปตามแนวทางปฏิบัติ และบรรลตุ ามทก่ี าหนด 9) ประสานงานดา้ นระบบการแพทย์ฉกุ เฉินกับหน่วยงานทุกภาคส่วนท่เี ก่ยี วข้อง 10) ประเมนิ ความพร้อมของทมี เพ่ือเพมิ่ ศักยภาพของบุคลากรและผลงานขององค์กรอย่างมีคุณภาพและ เกิดประโยชนส์ งู สุดตอ่ หน่วยงาน 11) บรหิ ารจัดการโครงการเพอ่ื ใหบ้ รรลุผลตามเปา้ หมาย และสอดคลอ้ งกับภารกิจกลุ่มงาน 12) รายงานปญั หาและอุปสรรคตอ่ ผ้บู ังคบั บญั ชา (ถ้าม)ี จัดทำ ณ วันท่ี 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 245

มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน รหสั : SOP-ECS-01 (Standard of operation : SOP) หน้า กลุม่ พัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉนิ แกไ้ ขครั้งที่ งานพฒั นาระบบการแพทย์ฉกุ เฉินในภาวะปกติ ประกาศใช้ กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ และงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉนิ ด้าน ผู้จดั ทา สาธารณภัย กล่มุ พัฒนาระบบ การแพทย์ฉุกเฉิน ผู้ตรวจสอบ/ทบทวน ผอู้ นมุ ตั ิ (นายประกิจ สาระเทพ) (นายวทิ รู ย์ อนันกุล) นายแพทย์ชานาญด้านเวชกรรมป้องกัน ผู้อานวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉนิ 4. เอกสารอ้างอิง 1) โครงสรา้ งองค์กร 2) คาสัง่ มอบหมายหนา้ ที่ 3) ขั้นตอนการทางาน กรณีการควบคมุ ความเสีย่ งของโครงการ 4) เอกสารสรุปผลการดาเนนิ งานประจาปงี บประมาณ (รูปแบบแฟ้ม) 5. คาศัพทแ์ ละคานยิ าม นิยามศัพท์เก่ียวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินเป็นการรวบรวมคาและความหมาย ท่ีมีและใช้เก่ียวข้องใน ระบบการแพทย์ฉุกเฉินโดยเฉพาะ เพื่อให้ความหมายส่ือสารสร้างความเข้าใจในความหมายของคาต่างๆ ท่ีมีใช้ใน ระบบการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศไทย สาหรับบุคลากร ผู้ปฏิบัติการ และผู้เก่ียวข้อง ตลอดจนประชาชนทั่วไป ให้มีความเข้าใจถูกต้องตรงกัน สนับสนุนการดาเนินงานการจัดบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ให้บริการแก่ ประชาชนผ้เู จ็บปว่ ยฉกุ เฉนิ ให้มีประสิทธภิ าพ ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency Medical System) หมายถึง ระบบต่างๆ เกี่ยวกับการแพทย์ ฉุกเฉนิ การแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency Medicine) หมายถึง การปฏิบัติการฉุกเฉิน การศึกษา การฝึกอบรม การคน้ คว้า การวิจัย การป้องกันการเจ็บปว่ ยทเี่ กิดข้ึนฉกุ เฉนิ และเกยี่ วกับการประเมนิ การจัดการ การตอบสนองภาวะฉุกเฉินในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน หมายถึง การตอบสนองหรือระบบปฏิบัติการ การแพทย์ฉกุ เฉินประกอบดว้ ย 3 ภารกจิ หลักการตอบสนองที่มีความสอดรับกันด้วยกระบวนการคุณภาพ คือ 1) ระบบ การบริการนาส่งผู้ป่วยก่อนถึงรพ. (Pre hospital care) 2) ระบบการรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินในโรงพยาบาลและเครือข่าย การส่งต่อ (In hospital care and inter hospital care) 3) ระบบการเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์สาธารณภัย (Disaster management) มาตรฐานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน หมายถึง“ระบบการแพทย์ฉุกเฉินที่บุคคลเข้าถึงได้อย่างท่ัวถึงและเท่าเทียมมี คุณภาพ ท้งั ในภาวะปกติและสาธารณภยั ” โดยไดร้ บั การชว่ ยเหลอื และรักษาพยาบาลทมี่ ีประสทิ ธภิ าพและ ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ จดั ทำ ณ วันท่ี 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 246

มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน รหสั : SOP-ECS-01 (Standard of operation : SOP) หน้า กล่มุ พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน แกไ้ ขครั้งท่ี งานพฒั นาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉินในภาวะปกติ ประกาศใช้ กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ และงานพัฒนาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉนิ ด้าน ผจู้ ดั ทา สาธารณภยั กลมุ่ พัฒนาระบบ การแพทยฉ์ กุ เฉนิ ผตู้ รวจสอบ/ทบทวน ผู้อนุมตั ิ (นายประกจิ สาระเทพ) (นายวทิ รู ย์ อนนั กุล) นายแพทย์ชานาญดา้ นเวชกรรมปอ้ งกัน ผูอ้ านวยการกองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน ผู้ป่วยฉุกเฉิน (Emergency Patient) หมายถึง บุคคลซ่ึงได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการป่วยกะทันหันซ่ึง เป็นภยันตรายต่อการดา รงชีวิตหรือการทา งานของอวัยวะสาคัญ จา เป็นต้องได้รับการประเมิน การจัดการและ การบาบัดรกั ษาอยา่ งทนั ทว่ งทเี พือ่ ป้องกันการเสียชวี ิตหรืออาการรุนแรงข้ึนของการบาดเจบ็ หรืออาการปว่ ยนัน้ สถานพยาบาล (Medical Care Facility) หมายถึง สถานพยาบาลของรัฐ รวมถึงสถานพยาบาลใน กากับของรัฐ สถานพยาบาลของสภากาชาดไทย สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลและ สถานพยาบาลอ่ืนตามท่ีรฐั มนตรปี ระกาศกาหนด หน่วยปฏิบัติการ (Emergency Operation Division) หมายถึง หน่วยงานหรือองค์กรที่ปฏิบัติการ ฉุกเฉิน ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติกระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทยกรม ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย สานักงานตารวจแห่งชาติ สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั โรงพยาบาลรัฐหรือเอกชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล สถานพยาบาล องค์กรเอกชน มูลนิธิองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน รัฐวิสาหกจิ องค์การมหาชน และหนว่ ยงานอื่นๆท่ปี ฏบิ ัติการฉกุ เฉิน เปน็ ต้น ผู้ปฏิบัติการ(Emergency Medical Personnel) หมายถึง บุคคลซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับการแพทย์ ฉุกเฉินตามที่คณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินกาหนด ให้รวมถึงบุคคลใดท่ีปฏิบัติการฉุกเฉิน นับตั้งแต่บุคคลผู้พบ เหน็ เหตกุ ารณ์ผชู้ ว่ ยเหลือ ตลอดจนผปู้ ระกอบวชิ าชีพด้านการแพทย์และสาธารณสุข ที่เกย่ี วขอ้ งกับผู้ป่วยฉุกเฉนิ ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ (Dispatch Center : DC) หมายถึง ศูนย์หรือหน่วยปฏิบัติการที่มีระบบ เครือข่ายการสื่อสารและความเหมาะสมของทรัพยากรในพ้ืนท่ี มีหน้าท่ีรับแจ้งเหตุจากประชาชนโดยตรงรับแจ้ง ผ่านศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉินอื่น หรือรับแจ้งเหตุฉุกเฉินจากแหล่งอ่ืน เกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เพ่ือสื่อสาร ประสานการช่วยเหลือแนะนาการช่วยเหลือเบ้ืองต้นแก่ผู้ป่วย และหรือผู้พบผู้ป่วยฉุกเฉิน ส่ังการและกากับ การปฏิบัติการของหน่วยปฏิบัติการ บันทึกข้อมูลการรับแจ้งเหตุและส่ังการประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน ต่างๆเกย่ี วกับการปฏิบัติการการแพทย์ฉกุ เฉนิ ปฏิบัติการฉุกเฉินก่อนโรงพยาบาล (Pre-hospital Emergency Medical Care) หมายถึงการ ปฏิบัติการฉกุ เฉนิ ต้งั แตท่ ี่เกิดเหตรุ ะหว่างการนาสง่ จนถงึ สถานพยาบาลท่เี หมาะสม ปฏิบัติการฉุกเฉินในโรงพยาบาล(Hospital Emergency Medical Care) หมายถึงการปฏิบัติการ ฉุกเฉินในหอ้ งฉกุ เฉนิ ของสถานพยาบาลโดยนับตง้ั แต่การรบั ผ้ปู ่วยตอ่ จากการปฏิบัติการฉุกเฉินก่อนโรงพยาบาลจน ผปู้ ่วยพน้ ภาวะฉกุ เฉิน ตามศักยภาพของสถานพยาบาล จดั ทำ ณ วันที่ 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 247

มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน รหัส : SOP-ECS-01 (Standard of operation : SOP) หนา้ กล่มุ พัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉนิ แก้ไขครง้ั ท่ี งานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินในภาวะปกติ ประกาศใช้ กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน และงานพฒั นาระบบการแพทย์ฉกุ เฉินดา้ น ผจู้ ดั ทา สาธารณภัย กลุ่มพัฒนาระบบ การแพทย์ฉุกเฉนิ ผู้ตรวจสอบ/ทบทวน ผู้อนมุ ัติ (นายประกจิ สาระเทพ) (นายวิทูรย์ อนนั กลุ ) นายแพทยช์ านาญด้านเวชกรรมปอ้ งกนั ผู้อานวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน 6. ผงั งาน ขน้ั ตอน เอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ผังการขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ าน ผู้รบั ผดิ ชอบ คารับรองและการประเมินผลการปฏิบตั ิ ราชการตามคารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการ รบั คำสง่ั จำกผู้บังคบั บญั ชำ กสธฉ.สป. แผนปฏบิ ติราชการ ประจาปี วิเคราะหส์ ถานการณ์หรอื ภารกจิ ที่ไดร้ ับมอบหมาย/หน้าทีค่ วาม รบั ผิดชอบรวมถงึ นโยบายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง จดั ทาโครงการ แผนปฏบิ ัตริ าชการ ประจาปี : บนั ทึกข้ออนมุ ัติจดั ทาโครงการ : โครงการตามแนวทางการเขียนโครงการ โครงการของกลมุ่ พฒั นาระบบการแพทย์ ฉุกเฉิน เสนอเพอ่ื ขออนมุ ัติ ดาเนนิ การตามภารกิจแผนงาน จดั ทำ ณ วันท่ี 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard of Operation: SOPs) 248

มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน รหัส : SOP-ECS-01 (Standard of operation : SOP) หนา้ กลมุ่ พัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉิน แกไ้ ขครัง้ ที่ งานพฒั นาระบบการแพทย์ฉกุ เฉินในภาวะปกติ ประกาศใช้ กองสาธารณสุขฉุกเฉิน และงานพฒั นาระบบการแพทย์ฉุกเฉินด้าน ผ้จู ดั ทา สาธารณภยั กลุม่ พัฒนาระบบ การแพทย์ฉุกเฉิน ผตู้ รวจสอบ/ทบทวน ผูอ้ นมุ ัติ (นายประกิจ สาระเทพ) (นายวิทูรย์ อนันกุล) นายแพทยช์ านาญดา้ นเวชกรรมปอ้ งกนั ผูอ้ านวยการกองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน 7. ขั้นตอนปฏบิ ตั งิ าน สถานทป่ี ฏิบตั งิ าน อปุ กรณ์/เอกสารท่ี รายละเอียดของข้นั ตอนการปฏิบัติงาน เก่ยี วข้อง ลาดับและข้ันตอนการปฏบิ ตั ิงาน ผูร้ บั ผดิ ชอบ คารับรองและการ ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติ -รบั คาสง่ั จากผูบ้ ังคบั บัญชา หัวหนา้ กล่มุ /หัวหน้า กสธฉ. ราชการตามคารบั รองการ งาน กสธฉ. ปฏิบตั ริ าชการ กสธฉ.สป. -รับคาสั่งมอบหมายงานจาก เจ้าหนา้ ท่ีกลมุ่ พัฒนา กสธฉ. แผนปฏบิ ัติราชการ หัวหน้ากล่มุ /หวั หน้างาน ระบบการแพทย์ กสธฉ. ประจาปี ฉุกเฉิน -วเิ คราะหส์ ถานการณ์หรือภารกิจ เจ้าหน้าทกี่ ล่มุ พฒั นา กสธฉ. ที่ไดร้ บั มอบหมาย/หน้าทค่ี วาม ระบบการแพทย์ รับผดิ ชอบรวมถึงนโยบายที่ ฉุกเฉิน เกยี่ วขอ้ ง -จดั ทาโครงการ เจ้าหนา้ ที่กลมุ่ พัฒนา : บนั ทึกข้ออนุมตั ิจัดทาโครงการ ระบบการแพทย์ : โครงการตามแนวทางการเขียน ฉุกเฉนิ โครงการของกลุ่มพัฒนาระบบ การแพทยฉ์ ุกเฉนิ เจ้าหน้าทก่ี ลมุ่ พัฒนา -งานอ่ืน ๆ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ระบบการแพทย์ : ดาเนนิ การได้ทนั ที ฉุกเฉนิ : ประสานหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง จัดทำ ณ วันที่ 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 249

มาตรฐานการปฏิบัติงาน รหสั : SOP-ECS-01 (Standard of operation : SOP) หน้า กลมุ่ พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉนิ แก้ไขครัง้ ท่ี งานพฒั นาระบบการแพทย์ฉุกเฉินในภาวะปกติ ประกาศใช้ กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ และงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉินด้าน ผู้จัดทา สาธารณภัย กลุ่มพัฒนาระบบ การแพทยฉ์ กุ เฉนิ ผ้ตู รวจสอบ/ทบทวน ผ้อู นมุ ตั ิ (นายประกิจ สาระเทพ) (นายวทิ ูรย์ อนันกลุ ) นายแพทยช์ านาญดา้ นเวชกรรมปอ้ งกนั ผอู้ านวยการกองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน 8. มาตรฐานการปฏิบัติงาน 1) วางแผน ประเมินความพร้อมของทีมสาหรับการดาเนินงานตามแผนโครงการตามแผนปฏิบัติราชการ ประจาปี 2) กาหนดมาตรการแนวทางและแผนงานในการปรับปรุงงาน/แกไ้ ขปญั หา การกาหนดวธิ ีการปรับปรุงงาน 3) ประชุมสรปุ ผลการดาเนินงานตามแผนโครงการ/ภารกจิ ทีไ่ ด้รับมอบหมาย ประจาทุกวนั พธุ 1 ช่วั โมง 4) สรปุ ปัญหาและอุปสรรค เพอ่ื นาไปพฒั นาแก้ไขให้มีประสทิ ธภิ าพยิ่งขน้ึ 9. การติดตามประเมนิ ผล 1) ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน (Work Procedure) กล่มุ พัฒนาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉิน 2) หนังสอื ราชการภายในและภายนอก 3) แผนปฏิบัตริ าชการ ประจาปี 4) คารับรองและการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการ กสธฉ.สป. 5) เครอื่ งมืออปุ กรณ์และอุปกรณ์ ได้แก่ - เคร่อื งมือสอ่ื สาร ไดแ้ ก่ แฟกซ์ ไปรษณีย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ วิทยุ โทรศัพท์ ฯลฯ - เครอ่ื งมือสาหรบั การติดตามข่าวสาร ไดแ้ ก่ คอมพิวเตอร์พร้อมสญั ญาณอนิ เตอร์เน็ต โทรทศั น์ - เครื่องมือสาหรบั การประสานงานหนว่ ยปฏบิ ตั กิ าร เช่น สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัด โรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข หน่วยงานระดบั กรมสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ และหน่วยสนับสนุนอื่น ๆ เปน็ ต้น จัดทำ ณ วันที่ 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard of Operation: SOPs) 250

มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน รหัส : SOP-ECS-01 (Standard of operation : SOP) หนา้ กลุม่ พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉนิ แก้ไขครงั้ ท่ี งานพฒั นาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉินในภาวะปกติ ประกาศใช้ กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ และงานพฒั นาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉินด้าน ผูจ้ ดั ทา สาธารณภัย กลมุ่ พัฒนาระบบ การแพทย์ฉุกเฉิน ผู้ตรวจสอบ/ทบทวน ผู้อนมุ ัติ (นายประกจิ สาระเทพ) (นายวทิ ูรย์ อนนั กุล) นายแพทยช์ านาญด้านเวชกรรมป้องกัน ผู้อานวยการกองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน 10. แบบฟอร์ม เอกสารที่อ้างอิงและท่ีเก่ยี วข้อง 1) แบบ ECS 001 : แบบฟอรม์ การมอบหมายงานตามภารกิจโครงสร้างหน่วยงาน 2) แบบ ECS 002 : แบบฟอร์มคารบั รองและการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการ 3) แบบ ECS 003 : แบบฟอรม์ บนั ทึกการปฏิบัติงาน 4) แบบ ECS 004 : แบบฟอรม์ แผนงานโครงการ 5) แบบ ECS 005 : แบบฟอรม์ แบบสรุปผลการดาเนนิ งานโครงการ 11. การควบคมุ การบนั ทึก ช่อื เอกสาร ผูร้ ับผิดชอบ สถานทีจ่ ดั เก็บ ระยะเวลา วธิ กี ารจดั เกบ็ - หนงั สอื แจ้งเวยี น เจา้ หนา้ ทีก่ ลุ่ม หอ้ งปฏิบัติงานกลุ่มพฒั นา 10 ปี - แฟม้ แยกปงี บประมาณ - หนังสือเชิญประชุม - เอกสารรายงานการ พัฒนาระบบ ระบบการแพทย์ฉุกเฉนิ - เคร่อื งมืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ ประชมุ - คู่มอื ตา่ ง ๆ การแพทย์ฉกุ เฉิน กสธฉ.สป. - ต้เู กบ็ เอกสาร/ค่มู ือ - แผนงานโครงการ - ข้อมูลการสนบั สนนุ ทีม : งานพัฒนาระบบ - ระบบจดั เกบ็ ไฟล์ ปฏบิ ัติการ - แผนปฏิบตั ิการระบบ การแพทย์ฉุกเฉินใน เทคโนโลยโี ครงข่าย การแพทย์ฉุกเฉนิ - ขอ้ มลู /ทะเบยี นการ ภาวะปกติ อินเตอรเ์ น็ต/ออนไลน์ ประสานงาน - ขอ้ มลู ราชการทุกช้นั : งานพฒั นาระบบ ความลบั การแพทยฉ์ ุกเฉิน ด้านสาธารณภัย จดั ทำ ณ วันที่ 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 251

มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน รหัส : SOP-ECS-01 (Standard of operation : SOP) หน้า กลมุ่ พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน แกไ้ ขครงั้ ที่ งานพฒั นาระบบการแพทย์ฉกุ เฉินในภาวะปกติ ประกาศใช้ กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน และงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉนิ ดา้ น ผ้จู ดั ทา สาธารณภัย กลมุ่ พัฒนาระบบ การแพทยฉ์ กุ เฉนิ ผู้ตรวจสอบ/ทบทวน ผอู้ นมุ ตั ิ (นายประกิจ สาระเทพ) (นายวทิ รู ย์ อนันกลุ ) นายแพทย์ชานาญด้านเวชกรรมป้องกัน ผอู้ านวยการกองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน 12. ตารางบันทกึ การแก้ไข แกไ้ ขคร้งั ท่ี ประวตั กิ ารแก้ไข วนั /เดือน/ปี จัดทำ ณ วันท่ี 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 252

มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน รหสั : SOP-OPS-01 (Standard of operation : SOP) หน้า สว่ นปฏิบัตกิ าร (Operation) แกไ้ ขคร้ังท่ี กลมุ่ พัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉนิ ประกาศใช้ กองสาธารณสุขฉุกเฉิน งานพฒั นาระบบการแพทยฉ์ กุ เฉนิ ในภาวะปกติ ผ้จู ัดทา และงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉนิ ดา้ น กลุ่มพัฒนาระบบ การแพทย์ฉกุ เฉนิ สาธารณภยั ผตู้ รวจสอบ/ทบทวน ผู้อนุมตั ิ (นายประกจิ สาระเทพ) (นายวิทรู ย์ อนันกุล) นายแพทยช์ านาญด้านเวชกรรมป้องกัน ผูอ้ านวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน ๑.วัตถุประสงค์ เพ่ือใหป้ ฏิบัติการตอบโต้สาธารณภัย เกี่ยวกับการปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุข การเฝ้าระวัง สอบสวน ควบคุมโรค การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต อนามัยสิ่งแวดล้อม การประสานงานด้าน การแพทยแ์ ละสาธารณสุข เป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๒.ขอบเขต 1) ทีมประสานงานปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุข จัดระบบการประสานส่ังการกับทีม ปฏบิ ตั กิ ารตา่ งๆ ในพืน้ ทีท่ รี่ บั ผิดชอบท้งั ในระดบั จังหวดั เขต และประเทศ ประสานฝา่ ยสนับสนุนทีมทั้งภายในและ ภายนอกพื้นทที่ ี่รบั ผิดชอบ 2) ติดตามผลการปฏบิ ตั งิ านของทีมควบคุมโรค เก่ียวกับปัจจัยของการระบาด ได้อย่างถูกต้อง ทันการณ์ ควบคุมการระบาดของโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพและดาเนินการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน ควบคุมโรคเชิงรุก ตลอด 24 ชั่วโมง กรณีมีการจัดต้ังศนู ย์พักพงิ ชัว่ คราวและบรหิ ารจัดการในระดับจังหวดั 3) ตดิ ตามผลการปฏิบัติงานของทมี สขุ ภาพจิต เก่ียวกับการจัดทีมดาเนินการ วางแผนช่วยเหลือ เยียวยา ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินทางด้านจิตใจ การเฝ้าระวังภาวะเครียดของผู้ประสบภัย และทีมเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานตามระยะ และเฝา้ ระวงั ป้องกนั ไมใ่ หเ้ กดิ การฆ่าตัวตายในรายทีม่ ีอาการรนุ แรง 4) ติดตามผลการปฏิบัติงานของทีมอนามัยและส่ิงแวดล้อม เก่ียวกับการจัดทีมดาเนินการประเมินด้าน สุขาภบิ าล สงิ่ แวดลอ้ มและความปลอดภยั ดา้ นอาหาร น้า ขยะ และพาหะนาโรค ในพืน้ ทเี่ กิดสาธารณภัย 5) ติดตามผลการปฏิบตั งิ านของทมี ในการจัดทีมดาเนินการประเมนิ ดา้ นความเสยี หาย การฟื้นฟูระบบน้า ไฟฟ้า ประปา บาบัดน้าเสีย ใหม้ คี วามปลอดภยั และสามารถใช้ได้เปน็ ปกตติ ามาตรฐานทกี่ าหนด 6) ติดตามผลการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการด้านการแพทย์ในพื้นที่ เก่ียวกับการจัดทีมปฏิบัติการด้าน การรักษาพยาบาลพร้อมออกปฏิบัติการในพ้ืนท่ีเกิดเหตุการณ์ จัดบริการสถานบริการรวมทั้งการลาเลียงขนย้าย ผู้ป่วยวิกฤต การสนับสนุนช่วยเหลือด้านการแพทย์แก่หน่วยอ่ืนตามที่รับมอบหมาย ภายใต้การสั่งการของศูนย์ บัญชาการเหตุการณ์ จดั ทา ณ วนั ท่ี 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 253

มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน รหสั : SOP-OPS-01 (Standard of operation : SOP) หนา้ ส่วนปฏบิ ตั กิ าร (Operation) แก้ไขคร้ังท่ี กลุม่ พัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉิน ประกาศใช้ กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ งานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉนิ ในภาวะปกติ ผ้จู ัดทา และงานพฒั นาระบบการแพทย์ฉุกเฉินดา้ น กลมุ่ พัฒนาระบบ การแพทย์ฉกุ เฉนิ สาธารณภัย ผูต้ รวจสอบ/ทบทวน ผู้อนมุ ตั ิ (นายประกจิ สาระเทพ) (นายวิทูรย์ อนันกลุ ) นายแพทย์ชานาญด้านเวชกรรมป้องกัน ผู้อานวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน ๓. หนา้ ทคี่ วามรบั ผิดชอบ 1) ผบู้ รหิ ารกองสาธารณสุขฉุกเฉนิ ลงนามอนุมัติใชเ้ อกสาร 2) หวั หนา้ ส่วนปฏิบตั กิ าร นายแพทย์เชีย่ วชาญ/นายแพทย์ชานาญการพิเศษ/หวั หนา้ สว่ นปฏบิ ตั กิ ารตามผงั โครงสรา้ ง ICS 3) ทีมสว่ นปฏบิ ัติการ (Operations Section : OS) ผูป้ ฏบิ ัติงานตามขัน้ ตอนและเอกสารฉบับน้ี 4) ทมี ปฏบิ ตั กิ ารด้านการแพทยใ์ นพ้นื ท่ี ผู้ตรวจเขตสขุ ภาพ/นายแพทย์สาธารณสขุ จังหวัด/ผู้อานวยการโรงพยาบาลในพืน้ ท่ี หมายเหตุ : การกาหนดชื่อของผูร้ ับผดิ ชอบใหป้ รบั ตามโครงสร้างของแตล่ ะหนว่ ยงานหรอื ตามความเหมาะสมของ ภารกจิ เหตกุ ารณ์ หัวหน้าส่วนปฏิบัติการ (Operation Section Chief : OSC) เป็นสมาชิกของทีมปฏิบัติการ (General Staff) มีหน้าที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการในภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการเหตุการณ์ ดาเนินการตาม Incident Action Plan (IAP) ประสานงานและสนบั สนนุ การดาเนินงานดา้ นปฏบิ ัติการ หัวหน้าสว่ นปฏบิ ตั ิการ (Operation Section Chief : OSC) มหี นา้ ท่ดี งั นี้ 1) ทบทวนหน้าท่ีความรบั ผดิ ชอบของเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุข 2) รายงานตัวแก่ผ้บู ญั ชาการเหตกุ ารณ์ ณ สถานท่ีทก่ี าหนด เพ่อื รบั มอบหมายงาน 3) ตดิ เครือ่ งหมายสญั ลักษณ์ หรืออ่นื ๆ ตามทกี่ าหนด เพื่อแสดงตน 4) ทาความเข้าใจโครงสร้างองค์กร 5) รบั ฟงั การสรปุ งานจากผู้บญั ชาการเหตุการณ์หรอื หัวหนา้ สว่ นปฏบิ ตั กิ ารคนปจั จุบัน (ถา้ มี) 6) จัดองค์กร มอบหมายงานให้คาปรึกษาแนะนา แก่ทีมท่ีทางานด้านปฏิบัติการด้านการแพทย์และ สาธารณสุข 7) วางแผน IAP รว่ มกับทมี ผ้บู รหิ ารสถานการณด์ ้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุข จัดทา ณ วนั ที่ 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน (Standard of Operation: SOPs) 254

มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน รหสั : SOP-OPS-01 (Standard of operation : SOP) หนา้ ส่วนปฏบิ ตั ิการ (Operation) แกไ้ ขคร้ังที่ กล่มุ พัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉนิ ประกาศใช้ กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน งานพฒั นาระบบการแพทย์ฉกุ เฉินในภาวะปกติ ผู้จดั ทา และงานพัฒนาระบบการแพทยฉ์ กุ เฉนิ ด้าน กลุม่ พัฒนาระบบ การแพทย์ฉกุ เฉิน สาธารณภัย ผตู้ รวจสอบ/ทบทวน ผ้อู นุมตั ิ (นายประกิจ สาระเทพ) (นายวิทูรย์ อนันกุล) นายแพทย์ชานาญด้านเวชกรรมปอ้ งกนั ผู้อานวยการกองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ 8) ประชมุ สรปุ สถานการณ์ความพร้อมและทบทวนแนวทางปฏบิ ัติการ 9) อานวยการดา้ นการปฏิบัติการให้เป็นไปตามแนวทางปฏิบตั ิ 10) ประสานงานด้านการปฏบิ ัติการกับหัวหน้าส่วนทเี่ กี่ยวข้อง 11) ประเมนิ ความพร้อมของทีมปฏิบตั ิการดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ 12) รายงานสถานการณ์ด้านการปฏิบัติการและเหตุการณ์พิเศษต่อทีมบริหารด้านการแพทย์และ สาธารณสขุ 13) จัดทาบันทกึ ผลของการปฏิบตั ิงาน หมายเหตุ : ผ้บู งั คับบัญชา : Incident Commander ผู้ใต้บังคบั บญั ชา : - ทมี ประสานงานรกั ษาพยาบาล - ทีมควบคมุ โรค - ทีมสุขภาพจิต - ทีมอนามัยและสิ่งแวดลอ้ ม - ทีมปฏิบัติการดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ระดบั จังหวัด/เขต/กระทรวง สว่ น หน้าที่ ทีมประสานงานรักษาพยาบาล 1.ประสานกับทีมปฏิบัติการด้านการแพทย์ในพื้นท่ีปฏิบัติการตามแผนฯ ผ่าน ช่องทางที่กาหนดไว้ เช่น โทรศัพท์ วิทยุสื่อสาร Fax. แบบบันทึกการปฏิบัติ (ตามแบบฟอรม์ ) 2.ประสานการสง่ ตอ่ ผ้ปู ่วยจากพน้ื ท่ที ี่ประสบภัยไปโรงพยาบาลในพืน้ ทอ่ี น่ื 3.ประสานทีมจากอาเภอหรือจังหวัดพื้นท่ีอื่นการเข้าช่วยเหลือและปฏิบัติการ ในพน้ื ท่ปี ระสบภัย ทมี ควบคุมโรค 1. วเิ คราะห์สถานการณ์และผลการดาเนินงานด้านการควบคุมโรคของพื้นที่ที่ ประสบภัย 2.ทาแนวทางการดาเนินงานดา้ นการควบคุมโรคใหแ้ กพ่ ้ืนที่ที่ประสบภัย จัดทา ณ วันที่ 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 255

มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน รหสั : SOP-OPS-01 (Standard of operation : SOP) หนา้ ส่วนปฏบิ ัติการ (Operation) แก้ไขคร้งั ที่ กลมุ่ พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ประกาศใช้ กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน งานพัฒนาระบบการแพทยฉ์ กุ เฉินในภาวะปกติ ผูจ้ ดั ทา และงานพฒั นาระบบการแพทยฉ์ กุ เฉินดา้ น กลมุ่ พัฒนาระบบ การแพทยฉ์ ุกเฉนิ สาธารณภัย ผตู้ รวจสอบ/ทบทวน ผูอ้ นุมตั ิ (นายประกิจ สาระเทพ) (นายวิทรู ย์ อนันกุล) นายแพทยช์ านาญดา้ นเวชกรรมป้องกนั ผู้อานวยการกองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ สว่ น หนา้ ท่ี 3. ใหก้ ารสนับสนนุ ด้านวชิ าการ ทมี งาน อุปกรณต์ ่างๆ ตามทไ่ี ด้รบั การร้องขอ จากพื้นที่ทปี่ ระสบภัย ทีมสขุ ภาพจิต 1. วิเคราะห์สถานการณ์และผลการดาเนินงานด้านจิตเวชของพื้นที่ประสบภัย 2. ทาแนวทางการดาเนินงานด้านจติ เวช ใหแ้ ก่พนื้ ท่ีทปี่ ระสบภยั 3. ให้การสนับสนุนด้านวิชาการ ทีมงาน อุปกรณ์ต่างๆ ตามที่ได้รับการ้องขอ จากพื้นทีท่ ่ีประสบภยั ทีมอนามัยและสงิ่ แวดลอ้ ม 1. วิเคราะห์สถานการณ์และผลการดาเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของ พืน้ ทปี่ ระสบภัย 2. ทาแนวทางการดาเนินงานด้านอนามัยและส่ิงแวดล้อม ให้แก่พื้นท่ีท่ี ประสบภยั ทีมปฏิบัติการด้านการแพทย์ กากับดูแลการปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขในพื้นท่ีที่ประสบภัยทุก และสาธารณสุข จังหวัด/เขต/ระดบั กระทรวง 4. เอกสารอา้ งอิง 1) ผังโครงสรา้ งตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) 2) คาส่ังมอบหมายหน้าที่ 3) แผนเตรยี มความพร้อมและการสนับสนนุ ทีมปฏบิ ตั ิการ (Operation Section) ไปยังพื้นท่ี 4) ทะเบียนข้อมูลทีมปฏิบัติการ (Operation Section) ท่ีใหก้ ารสนับสนุน 5) แบบฟอร์มผลการปฏิบตั งิ านของกลมุ่ ภารกจิ ปฏิบัติการ (Operation Section) 6) แนวปฏบิ ตั ใิ นการสนบั สนุนทีมปฏิบัติการฉุกเฉนิ ทางการแพทย์ (Medical Emergency Response Team : MERT) ในภาวะฉกุ เฉนิ หรือภัยพบิ ัติ จัดทา ณ วันที่ 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 256

มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน รหัส : SOP-OPS-01 (Standard of operation : SOP) หนา้ ส่วนปฏบิ ัตกิ าร (Operation) แก้ไขครัง้ ท่ี กลุม่ พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉนิ ประกาศใช้ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน งานพฒั นาระบบการแพทยฉ์ กุ เฉนิ ในภาวะปกติ ผู้จดั ทา และงานพฒั นาระบบการแพทย์ฉุกเฉินดา้ น กลุม่ พัฒนาระบบ การแพทยฉ์ ุกเฉิน สาธารณภยั ผตู้ รวจสอบ/ทบทวน ผอู้ นุมัติ (นายประกิจ สาระเทพ) (นายวิทูรย์ อนันกุล) นายแพทยช์ านาญด้านเวชกรรมป้องกัน ผ้อู านวยการกองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ 5. คาศัพทแ์ ละคานยิ าม กลุ่มภารกิจปฏิบัติการ (Operation section) คือ กลุ่มที่มีหน้าท่ีประเมินความต้องการของทีม ปฏิบัติการทางการแพทย์ ประสานงาน วางแผน เตรียมความพร้อมของทีมปฏิบัติการ พร้อมให้การสนับสนุนทีม ปฏิบัติการเมื่อได้รับการร้องขอ ควบคุมระบบการปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉิน และจัดทารายงานผลการปฏิบัติงาน เสนอผบู้ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ คือ ระบบทีใ่ ชเ้ พือ่ การสั่งการ ควบคุม และประสานงานความร่วมมือของ แต่ละหนว่ ยงานในการบริหารสถานการณ์ฉกุ เฉนิ ระดับเขตและกระทรวง คอื สว่ นการทางานเช่ือมโยงระหว่างระดับเขตและระดับกระทรวง IC ของระดับ จังหวัดซึ่งเป็นหัวหน้าทีมปฏิบัติการด้านการแพทย์ในพื้นท่ี (Area Medical Operation Team) ของส่วน ปฏบิ ตั ิการ (Operation Section) ระดับเขต จะรับคาส่ังจากหัวหน้าส่วนปฏิบัติการ (Operation Section Chief) ระดับเขต และสั่งการไปยังหน่วยปฏิบัติการระดับจังหวัดภายใต้สายการบังคับบัญชา ส่วน IC ระดับเขตจะไม่ สามารถสง่ั การโดยตรงไปยังหนว่ ยปฏบิ ัติการระดับจงั หวดั ได้ ตอ้ งสั่งการผา่ น IC ระดบั จงั หวัดเทา่ นนั้ MERT (Medical Emergency Response Team) คือ เป็นชุดด้านการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อรองรับการปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุภัยพิบัติ ทีม MERT เป็นชุดปฏิบัติการที่มีศักยภาพสูง มีความ คลอ่ งตัวทัง้ ดา้ นบคุ ลากร เคร่ืองมือ วัสดุอุปกรณ์ สามารถออกเดินทางไปปฏิบัติภารกิจได้เม่ือได้รับการร้องขอหรือ ส่ังการจากผู้บังคับบัญชา ภายใน 6–12 ช่ัวโมง MERT 1 ทีม มีบุคลากร 14-16 นาย ประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล/นายสิบพยาบาล พลเปล เภสัชกร/เจ้าหน้าที่เภสัชกร นายทหารส่งกาลัง ช่างซ่อม และ พลขับ พร้อมดว้ ยยานพาหนะ จดั ทา ณ วันท่ี 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 257

มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน รหัส : SOP-OPS-01 (Standard of operation : SOP) หนา้ สว่ นปฏิบตั กิ าร (Operation) แกไ้ ขคร้งั ท่ี กลุ่มพัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉิน ประกาศใช้ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ งานพฒั นาระบบการแพทยฉ์ กุ เฉินในภาวะปกติ ผจู้ ดั ทา และงานพัฒนาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉนิ ดา้ น กลมุ่ พัฒนาระบบ การแพทยฉ์ ุกเฉนิ สาธารณภยั ผู้ตรวจสอบ/ทบทวน ผ้อู นมุ ตั ิ (นายประกิจ สาระเทพ) (นายวทิ รู ย์ อนันกุล) นายแพทย์ชานาญด้านเวชกรรมป้องกัน ผ้อู านวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉนิ ทีมปฏบิ ตั ิการฉุกเฉินทางการแพทยเคลื่อนท่เี รว็ ระดบั อาเภอ (Mini Medical Emergency Response Team: Mini MERT ) คอื ทมี ปฏิบัติการฉกุ เฉินทางการแพทย ในภาวะภัยพิบัติ ระดับอาเภอ เปนทีมเคลื่อนท่ีออก ตวั ไดเรว็ ประกอบดวย ทมี ละ 5-6 คน คือ แพทย 1), พยาบาล (2), ผูชวยเหลอื และ/หรือ พนักงานขับรถ ทีไ่ ดรบั การอบรมพ้นื ฐานอาสาสมคั รกูชีพ (2-3) ที่พรอมออกปฏิบัตกิ ารช่วยเหลือทีมแพทย์ในพื้นท่ี เพอ่ื ดูแลผปู้ ว่ ยในพืน้ ที่ ของตน และทาหนา้ ทอี่ ื่นตามท่ไี ดรับมอบหมาย ในการชว่ ยเหลือพน้ื ท่ปี ระสบภัยของตนเอง และใกล้เคียง ทีม MCATT : Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team คือ (ทีมให้การช่วยเหลือ เยยี วยาจติ ใจผู้ประสบภาวะวิกฤต) หมายถงึ ทมี สหวชิ าชพี ที่ใหก้ ารชว่ ยเหลือทางด้านจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต ได แก แพทย์ พยาบาลจิตเวช เภสชั กร นกั จิตวิทยา นกั สังคมสงเคราะห์ นักวิชาการสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานด้าน สขุ ภาพจติ และผู้ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ทมี เฝ้าระวงั สอบสวนเคลื่อนทีเ่ ร็ว (Surveillance and Rapid Response Team : SRRT) คือ ทีมระดับ อาเภอที่มีคุณภาพ หมายถึง ทีม SRRT ระดับอาเภอ ท่ีปฏิบัติการด้านการเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรค เบอื้ งต้นไดตามมาตรฐานทสี่ อดคลองกับกฎอนามัยระหว่างประเทศ ทมี ปฏิบัตกิ ารดา้ นอนามัยส่ิงแวดลอ้ ม (Special Environmental Health Response Team: SEhRT) คือ ทมี ให้การช่วยเหลือการจดั การและควบคุมสง่ิ แวดล้อมทเี่ ป็นหรอื อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ เพ่ือให้ เกิดความสมดุลของระบบนิเวศน์ระหว่างมนุษย์และส่ิงแวดล้อม อันจะส่งผลให้มนุษย์มีความเป็นอยู่ที่ดีทั้งทาง ร่างกาย จิตใจ และสังคม ทีมวิศวกรฉุกเฉิน (Meldical Supportive Emergency Response Team : MSERT) คือ ทีมให้การ ช่วยเหลือและจัดทาแผนป้องกันต้ังแต่ก่อนน้าท่วม ระหว่างน้าท่วม และการฟื้นฟูหลังน้าลด โดยวิเคราะห์ความ เสี่ยงของชุมชน ให้คาแนะนาประชาชนในการเตรียมพร้อมล่วงหน้า ทั้งการย้ายอุปกรณ์ไฟฟ้าให้ปลอดภัยเพื่อ ปอ้ งกันไฟดดู จดั ทา ณ วันท่ี 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 258

มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน รหัส : SOP-OPS-01 (Standard of operation : SOP) หนา้ สว่ นปฏบิ ตั กิ าร (Operation) แก้ไขครง้ั ที่ กล่มุ พัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉนิ ประกาศใช้ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ งานพฒั นาระบบการแพทยฉ์ กุ เฉนิ ในภาวะปกติ ผจู้ ดั ทา และงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉินด้าน กล่มุ พัฒนาระบบ การแพทยฉ์ กุ เฉิน สาธารณภัย ผู้ตรวจสอบ/ทบทวน ผ้อู นมุ ตั ิ (นายประกิจ สาระเทพ) (นายวิทูรย์ อนันกลุ ) นายแพทย์ชานาญดา้ นเวชกรรมปอ้ งกัน ผอู้ านวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน 6. ผังงาน ผงั การปฏิบตั งิ านส่วนปฏิบตั ิการ คาสั่งเปิดศนู ย์ ICS war room รับคาสั่ง พรอ้ มวเิ คราะหข์ ้อมูล+สถานการณ์ ร่วมกับส่วนวางแผนสถานการณ์ หาขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ตรวจสอบความพร้อมของทมี ปฏิบตั ิการดา้ นการแพทย์ และสาธารณสขุ และข้อจากัดในการปฏบิ ตั ิการ การ สนบั สนนุ ทีมในพ้ืนท่ี / ภาพจังหวัด+จัดทาแผน ความรนุ แรงระดับ 1-2 ความรนุ แรงระดับ 3 ความรนุ แรงระดบั 4 ประสานและติดตามระดับจงั หวดั ประสานและติดตามระดบั เขต ประสานและตดิ ตามระดบั กระทรวง 1. การจดั ทมี EMS ตามแผนฯ 1.การจัดทมี ปฏิบัตกิ ารดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข การประสานระดับกระทรวง กรม สว่ นกลางที่ 2. การจดั ทมี ปฏบิ ัติการแพทยแ์ ละสาธารณสุขในพืน้ ที่ ในพื้นท่ี และนอกเขตจงั หวดั (ภายใน6ชม.) เก่ยี วขอ้ งในเรือ่ งความพร้อมขอสนับสนนุ ทมี 3. สถานการณ์ในพน้ื ท่รี วมถงึ กรณีรอ้ งขอความ 2. กรณตี งั้ ศนู ย์พกั พงิ การบรกิ ารรักษาผู้ปว่ ย ปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ หรือ ชว่ ยเหลอื และการจัด รพ.สนามทเ่ี ปดิ บริการไมไ่ ด้ อื่น ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 3. ประเมินสถานการณแ์ ละการให้ความ ช่วยเหลือกรณเี กดิ การรอ้ งขอความชว่ ยเหลอื จัดทา ณ วันที่ 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 259

มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน รหัส : SOP-OPS-01 (Standard of operation : SOP) หน้า ส่วนปฏิบตั ิการ (Operation) แก้ไขครัง้ ท่ี กลมุ่ พัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉิน ประกาศใช้ กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ งานพฒั นาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉนิ ในภาวะปกติ ผจู้ ดั ทา และงานพัฒนาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉนิ ดา้ น กล่มุ พัฒนาระบบ การแพทย์ฉุกเฉิน สาธารณภัย ผูต้ รวจสอบ/ทบทวน ผอู้ นุมัติ (นายประกิจ สาระเทพ) (นายวิทูรย์ อนนั กลุ ) นายแพทย์ชานาญดา้ นเวชกรรมปอ้ งกนั ผู้อานวยการกองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ ผังการปฏิบัติงานสว่ นปฏบิ ัติการ (ตอ่ ) บันทึกการปฏิบตั ติ าม แบบฟอร์ม รายงานสถานการณ์ แจง้ สรุปสถานการณ์และข้นั ตอนการดาเนินการกับศนู ย์ ICS พจิ ารณากาหนดแผนปฏบิ ตั ิให้กบั ทมี ปฏบิ ตั ิการใน พนื้ ที่อยา่ งตอ่ เนือ่ ง รายงานความคบื หนาใหแ้ ก่ ICS อยา่ งสม่าเสมอหรอื ตามที่มีการกาหนดไว้ ประเมนิ สถานการณ์อยา่ งต่อเน่ือง/พิจารณาการ ยกเลกิ /ถอนกาลังทีมปฏบิ ัตกิ าร ไม่ใช่ ใช่ เขา้ สรู่ ะบบปกติ จดั ทา ณ วนั ท่ี 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 260

มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน รหสั : SOP-OPS-01 (Standard of operation : SOP) หนา้ สว่ นปฏิบตั ิการ (Operation) แกไ้ ขคร้ังที่ กล่มุ พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ประกาศใช้ กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน งานพัฒนาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉนิ ในภาวะปกติ ผู้จดั ทา และงานพัฒนาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉินด้าน กลมุ่ พัฒนาระบบ การแพทยฉ์ กุ เฉนิ สาธารณภยั ผู้ตรวจสอบ/ทบทวน ผอู้ นมุ ตั ิ (นายประกิจ สาระเทพ) (นายวิทรู ย์ อนนั กลุ ) นายแพทย์ชานาญด้านเวชกรรมป้องกัน ผูอ้ านวยการกองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน 7. ข้นั ตอนปฏบิ ัติงาน ผู้รบั ผดิ ชอบ สถานที่ อปุ กรณ/์ รายละเอียดของขน้ั ตอนการปฏบิ ัติงาน ปฏิบตั ิงาน เอกสารท่ี หวั หน้าสว่ นปฏบิ ัตกิ าร เกีย่ วข้อง ลาดับและขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงาน หนว่ ยงาน หวั หนา้ ทมี ปฏิบตั กิ ารดา้ น สว่ นกลาง -รบั คาสง่ั จากผ้บู ัญชาการณเ์ หตุการณม์ อบหมายผู้ประสานทีม การแพทย์และสาธารณสขุ หน่วยงาน ปฏบิ ัตกิ ารด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุข ประสานทีมปฏบิ ตั ิการด้าน สว่ นกลาง -รับคาสัง่ มอบหมายงานจากหัวหนา้ ส่วนปฏบิ ัตกิ ารพรอ้ ม การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ วิเคราะห์ข้อมูล+สถานการณ์รว่ มกับส่วนวางแผน (โดยประเมิน ทมี ปฏบิ ตั กิ ารดา้ น หนว่ ยงาน แบบรายงาน ตามความรุนแรงสาธารณภัย) การแพทย์และสาธารณสุข สว่ นกลาง ตดิ ตาม -ตรวจสอบความพร้อมของทีมปฏบิ ตั ิการด้านการแพทยแ์ ละ ทีมปฏบิ ัติการดา้ น สถานการณ์ สาธารณสุข และข้อจากัดในการปฏิบตั ิการ การสนบั สนนุ ทีมใน การแพทยแ์ ละสาธารณสุข หน่วยงาน แบบรายงาน พืน้ ท่เี กิดเหต/ุ ภาพจงั หวัด+จัดทาแผน สว่ นกลาง ตดิ ตาม -ประสานกับทีมปฏิบตั ิการด้านการแพทยใ์ นพื้นทใ่ี หป้ ฏิบัติตาม หวั หนา้ ทีมปฏิบตั ิการด้าน แผนฯ ส่ังการกบั ทีมปฏิบัตกิ ารผ่านชอ่ งทางของเขตบรกิ าร การแพทย์และสาธารณสขุ สถานการณ์ สขุ ภาพทุกเขตและ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดทกุ จงั หวัด ประสานทีมปฏบิ ตั ิการดา้ น การแพทย์และสาธารณสุข หนว่ ยงาน แบบรายงาน -แจ้งสรปุ สถานการณ์และข้ันตอนการดาเนินการกบั ทมี ผบู้ รหิ าร ส่วนกลาง ตดิ ตาม สว่ นกลาง สถานการณ์ และผลการ ดาเนินงาน จดั ทา ณ วันท่ี 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 261

มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน รหสั : SOP-OPS-01 (Standard of operation : SOP) หนา้ สว่ นปฏิบตั ิการ (Operation) แก้ไขคร้ังท่ี กลุ่มพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ประกาศใช้ กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน งานพัฒนาระบบการแพทยฉ์ ุกเฉินในภาวะปกติ ผู้จดั ทา และงานพฒั นาระบบการแพทยฉ์ กุ เฉินดา้ น กลมุ่ พัฒนาระบบ การแพทย์ฉุกเฉิน สาธารณภัย ผ้ตู รวจสอบ/ทบทวน ผอู้ นมุ ัติ (นายประกิจ สาระเทพ) (นายวิทูรย์ อนันกุล) นายแพทยช์ านาญดา้ นเวชกรรมปอ้ งกนั ผ้อู านวยการกองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน 8. มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน 1) วางแผน ประเมินความพร้อมของทีมสาหรับการให้การสนับสนุนทีมปฏิบัติการด้านการแพทย์และ สาธารณสุข 2) กาหนดมาตรการแนวทางและแผนงานในการปรับปรงุ งาน/แก้ไขปญั หา การกาหนดวิธีการปรับปรุงงาน 3) ประชมุ แผนภารกิจท่ีไดร้ ับมอบหมายทันที/สัปดาห์ละ 1-2 คร้งั (กรณีเปดิ ศนู ยป์ ฏิบตั ิการ EOC ต้อง ประชุมทุกวนั ) 4) สรุปปัญหาและอุปสรรค รายงานต่อผู้บญั ชาการเหตุการณ์เพ่ือนาไปพัฒนาแก้ไขใหม้ ีประสทิ ธภิ าพย่งิ ข้ึน 5) ตดิ ตามข้อมลู ผลการปฏิบัตงิ านของทมี ปฏิบัติการในพนื้ ทอ่ี ย่างเรง่ ด่วน เพือ่ การรายงานผลตอ่ ผู้ บญั ชาการเหตกุ ารณ์ประกอบเปน็ ข้อมลู พิจารณาการตดั สินใจ 6) แนวทางประสานงานระหว่างหนว่ ยงานและภาคเี ครือข่ายทกุ ระดับอย่างมีประสิทธภิ าพ เพ่ือผลการ ปฏิบัตติ ามแผนงานที่บรรลุและมปี ระสิทธภิ าพ 7) ศึกษา วเิ คราะห์ องคค์ วามรู้และพัฒนาศักยภาพของทีมอย่างสม่าเสมอ 9. การตดิ ตามประเมนิ ผล 1) ขนั้ ตอนการปฏบิ ัตงิ าน (Work Procedure) ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข 2) หนงั สือราชการภายในและภายนอก 3) แนวทางการประสานงานระหว่างเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกองคก์ ร 4) รายงานสรุปผลการดาเนนิ งานประจาปีงบประมาณ 5) เครือ่ งมืออุปกรณแ์ ละอุปกรณ์ ไดแ้ ก่ - เคร่ืองมือส่อื สาร ได้แก่ แฟกซ์ ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ วิทยุ โทรศัพท์ ฯลฯ - เครื่องมือสาหรับการติดตามข่าวสาร ได้แก่ คอมพวิ เตอรพ์ รอ้ มสญั ญาณอินเตอร์เน็ต โทรทศั น์ - เครอื่ งมือสาหรับการประสานงานหนว่ ยปฏบิ ัติการ เชน่ สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั โรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ หน่วยงานระดบั กรมสงั กดั กระทรวงสาธารณสุขและหนว่ ยสนบั สนนุ อ่ืน ๆ เป็นตน้ จัดทา ณ วนั ท่ี 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 262

มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน รหัส : SOP-OPS-01 (Standard of operation : SOP) หน้า สว่ นปฏิบัตกิ าร (Operation) แกไ้ ขครัง้ ที่ กลมุ่ พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ประกาศใช้ กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ งานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉนิ ในภาวะปกติ ผจู้ ัดทา และงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉนิ ดา้ น กลมุ่ พัฒนาระบบ การแพทย์ฉุกเฉิน สาธารณภยั ผตู้ รวจสอบ/ทบทวน ผ้อู นมุ ตั ิ (นายประกจิ สาระเทพ) (นายวิทรู ย์ อนนั กลุ ) นายแพทย์ชานาญดา้ นเวชกรรมป้องกัน ผูอ้ านวยการกองสาธารณสุขฉกุ เฉิน 10. แบบฟอรม์ เอกสารทีอ่ า้ งองิ และทเ่ี กี่ยวข้อง 1) แบบ OPS 001 : การมอบหมายงาน 2) แบบ OPS 002 : แผนด้านการแพทย์และสาธารณสุข 3) แบบ OPS 003 : ทาเนยี บบุคลากรเพื่อการตดิ ต่อประสานงานระดับจังหวัด 4) แบบ OPS 004 : แบบฟอรม์ ผลการปฏบิ ัตงิ านของกลุ่มภารกจิ ปฏบิ ตั ิการ (Operation Section) 5) แบบ OPS 004 : แผนจัดการด้านสาธารณภยั ทเ่ี กย่ี วข้อง 11. การควบคุมการบนั ทึก ชือ่ เอกสาร ผู้รับผิดชอบ สถานท่จี ัดเกบ็ ระยะเวลา วิธีการจดั เก็บ - หนังสือแจง้ เวยี น เจ้าหนา้ ที่กล่มุ พฒั นา ห้องปฏิบัติงานกลุ่ม 10 ปี - แฟ้มแยกปงี บประมาณ พัฒนาระบบ - หนังสอื เชิญประชุม ระบบการแพทย์ฉุกเฉนิ การแพทย์ฉุกเฉิน - เครือ่ งมืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ กสธฉ.สป. - เอกสารรายงานการ : งานพฒั นาระบบ - ตเู้ ก็บเอกสาร/ค่มู ือ ประชุม การแพทยฉ์ ุกเฉนิ ในภาวะ - ระบบจดั เก็บไฟล์ - คมู่ อื ตา่ ง ๆ ปกติ เทคโนโลยโี ครงข่าย - แผนงานโครงการ : งานพัฒนาระบบ อินเตอร์เน็ต/ออนไลน์ - ขอ้ มลู การสนับสนุนทีม การแพทยฉ์ กุ เฉนิ ดา้ นสา ปฏิบตั ิการ ธารณภัย - แผนปฏบิ ัตกิ ารระบบ การแพทย์ฉุกเฉิน - ข้อมลู /ทะเบยี นการ ประสานงาน - ขอ้ มูลราชการทุกช้นั ความลบั จดั ทา ณ วนั ที่ 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 263

มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน รหสั : SOP-OPS-01 (Standard of operation : SOP) หน้า สว่ นปฏิบตั กิ าร (Operation) แก้ไขครั้งท่ี กลุม่ พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ประกาศใช้ กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน งานพัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉนิ ในภาวะปกติ ผจู้ ัดทา และงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉินดา้ น กล่มุ พัฒนาระบบ การแพทย์ฉุกเฉนิ สาธารณภัย ผตู้ รวจสอบ/ทบทวน ผ้อู นุมตั ิ (นายประกิจ สาระเทพ) (นายวทิ รู ย์ อนนั กุล) นายแพทย์ชานาญด้านเวชกรรมป้องกัน ผู้อานวยการกองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ 12. ตารางบันทึกการแกไ้ ข แก้ไขครงั้ ท่ี ประวตั ิการแก้ไข วัน/เดือน/ปี จดั ทา ณ วนั ท่ี 27 มกราคม 2564 มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 264

มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard of Operation: SOPs) กลุ่มพฒั นาความร่วมมือระหวา่ ง ประเทศด้านการจดั การภาวะฉุกเฉิน ทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ

มาตรฐานการปฏิบัติงาน SOP-NT-01 (Standard of Operation: SOPs) ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ กลุ่มพัฒนาความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศฯ กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ เร่ือง ขั้นตอน/กระบวนการสร้างความร่วมมือเครือข่ายและ หนา้ / 7 สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์ แกไ้ ขครง้ั ที่ และสาธารณสุขระดับภมู ภิ าคอาเซียนและนานาประเทศ ประกาศใช้ ผจู ัดทํา ผตู รวจสอบ/ทบทวน ผูอนมุ ัติ ..…..……………..….…………. ....……………..……………… (นางวจิ ิตตรา จันทะคุณ) นกั วิชาการสาธารณสุขปฏิบตั ิการ (นายประกิจ สาระเทพ) (นายวิทูรย์ อนันกุล) ………/………/……… รองผูอาํ นวยการกองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ ผูอาํ นวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉนิ …….…/………/..…… ………/………/…..… มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 265

มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน SOP-NT-01 (Standard of Operation: SOPs) ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ กลุ่มพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศฯ กองสาธารณสุขฉุกเฉิน เร่ือง ขั้นตอน/กระบวนการสร้างความร่วมมือเครือข่ายและ หน้า / 7 สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์ แก้ไขครัง้ ที่ และสาธารณสุขระดบั ภมู ิภาคอาเซยี นและนานาประเทศ ประกาศใช้ ๑. วตั ถปุ ระสงค์ (Objective) วัตถุประสงคห์ ลัก เพื่อให้กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้แทนของกระทรวง สาธารณสุข ทั้งทางวิชาการและการปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉิน รวมท้ังการจัดการภัยพิบัติด้านสาธารณสุข ในระดบั อาเซยี นและนานาชาติ วตั ถุประสงค์เฉพาะ ๒.๑ เพื่อสนับสนุนให้เกิดการบริหารจัดการและแนวทางการปฏิบัติการด้านการแพทย์ฉุกเฉินใน ภาวะภัยพิบัติของประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน ให้มีมาตรฐานที่ใกล้เคียงกันและเป็นที่ ยอมรับในระดบั นานาชาติ ๒.๒ เพอ่ื พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการช่วยเหลือด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และการจัดการภัย พบิ ัตทิ างการแพทย์และสาธารณสุข ทั้งดา้ นการแลกเปลี่ยนทางวชิ าการ ข้อมูลสารสนเทศ และการปฏบิ ัติการฉุกเฉนิ ๒.๓ เพื่อพัฒนาบุคลากรด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์และ สาธารณสุขของภูมิภาคอาเซยี น ให้มศี กั ยภาพในการเตรียมความพรอ้ มสาหรบั สถานการณ์ฉกุ เฉนิ ๒. ขอบเขต (Scope) กองสาธารณสุขฉุกเฉิน กระทรวงสาธารณสุข ได้ดาเนินโครงการความร่วมมือทางด้านวิชาการ ร่วมกับองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศของญ่ีปุ่น (Japan International Cooperation Agency: JICA) ภายใต้ชื่อโครงการ “The Project for Strengthening the ASEAN Regional Capacity on Disaster Health Management (ARCH Project)” ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้มแข็งในระดับภูมิภาคอาเซียนด้านการ จัดการภัยพิบัติทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยผู้บริหารระดับสูงของทั้งสองหน่วยงานได้มีการลงนามร่วมกัน ในบันทึกการหารือ (Record of Discussion) ภายใต้โครงการฯเรียบร้อยแล้ว เม่ือวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ และได้เริ่มต้นดาเนินโครงการอย่างเป็นทางการ ท้ังนี้ โครงการดังกล่าวมีระยะเวลาการดาเนินงาน ๓ ปี (ระหว่าง ปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ – ๒๕๖๒) ต่อมาได้มีการลงนาม เพื่อต่อสัญญาการดาเนินโครงการถึงวันท่ี 31 มีนาคม 2564 ซึ่งในระหว่างช่วงเวลาขยายโครงการ กระทรวงสาธารณสุข สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ และคณะ ผู้เชี่ยวชาญญี่ปุ่นภายใต้โครงการ ARCH Project ได้หารือร่วมกัน พิจารณาแล้วเห็นถึงประโยชน์ที่ได้จาก โครงการฯ ซ่ึงมีกจิ กรรมดา้ นการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพและความรู้ทางดา้ นเวชศาสตร์ภัยพบิ ัติท่ีตอบสนองต่อปฏิญญา ผู้นาอาเซียนว่าด้วยการบริหารจัดการการแพทย์ฉุกเฉินในภาวะภัยพิบัติอีกทั้งยังเป็นการกระชับความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศสมาชิกในอาเซียนในด้านการบริหารจัดการภัยพิบัติจึงได้จัดทาร่างคาขอความร่วมมือฯ เสนอให้มี การขยายโครงการ ARCH Project ระยะท่ีสอง ซ่งึ มรี ะยะเวลา 5 ปีตัง้ แตเ่ ดอื น เมษายน 2565 – มีนาคม 2569 มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 266

มาตรฐานการปฏิบัติงาน SOP-NT-01 (Standard of Operation: SOPs) ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ กลุ่มพฒั นาความรว่ มมือระหว่างประเทศฯ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ เร่ือง ขั้นตอน/กระบวนการสร้างความร่วมมือเครือข่ายและ หน้า / 7 สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์ แกไ้ ขครั้งที่ และสาธารณสขุ ระดับภมู ภิ าคอาเซียนและนานาประเทศ ประกาศใช้ ๓. ความรับผิดชอบ (Responsibility) ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ งานสง่ เสรมิ และพัฒนาความ 1) ศกึ ษา รวบรวม ประสานขอ้ มูลการดาเนินงานพัฒนาความร่วมมอื เครือข่ายและ ร่วมมือระหว่างประเทศ สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์และสาธารณสุข กลุ่มพัฒนาความร่วมมือ ระดับภูมิภาคอาเซียนและนานาประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 2) ประสานงานภายในและภายนอกกองสาธารณสุขฉุกเฉินเพื่อเตรียมความการ ระหว่างประเทศฯ ดาเนนิ งานพัฒนาความร่วมมือเครอื ขา่ ยและสรา้ งความเขม้ แข็งด้านการจัดการ ภัยพิบัติทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับภูมิภาคอาเซียนและนานา ประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖4 3) ดาเนนิ การจัดประชุมตามแผนงานทก่ี าหนด 4) สรุปการประชุม/ประสาน ติดตาม รวบรวมข้อมูลเพื่อดาเนินงานในส่วนท่ี เก่ียวข้องตอ่ ไป 5) รวบรวมขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากการดาเนินงานเสนอผบู้ ริหารท่เี กี่ยวข้อง 6) ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ๔. เอกสารอา้ งองิ (Reference) งานอาเซียน และแหล่งข้อมูลจากต่างประเทศ เช่น UNOCHA THAiLAND สหประชาชาติ Website FEMA และข้อมลู จาก WHO ปที ่ี 2562 และ 2563 เป็นตน้ ๕. คาศพั ท์และคานิยาม (Term and Definition) สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations : ASEAN) หรือประชาคมอาเซียน เป็นเป้าหมายการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา และ บรูไน เพ่ือเพิ่ม อานาจต่อรองและขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวที ระหว่างประเทศ รวมถึงให้อาเซียนมีความ แข็งแกร่ง มีภูมติ ้านทานทด่ี ี ในการรบั มอื กบั ปญั หาใหม่ ๆ ระดับโลก Japan International Cooperation Agency (JICA) หมายถึง องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ แห่งญ่ีปุ่น เป็นหน่วยงานของรัฐบาลญ่ีปุ่น จัดต้ังข้ึนในปี พ.ศ. 2517 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศของญ่ีปุ่นในด้านต่าง ๆ โดยการให้ความช่วยเหลือแก่ต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการ พฒั นาบุคลากร มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard of Operation: SOPs) 267

มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน SOP-NT-01 (Standard of Operation: SOPs) ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ กลมุ่ พฒั นาความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศฯ กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ เร่ือง ขั้นตอน/กระบวนการสร้างความร่วมมือเครือข่ายและ หนา้ / 7 สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์ แก้ไขครัง้ ท่ี และสาธารณสขุ ระดบั ภูมิภาคอาเซียนและนานาประเทศ ประกาศใช้ การประชุมสัมมนา (Meeting) หมายถึง การประชุมสัมมนาของกลุ่มบุคคลหรือองค์กร บริษัทหรือ เครือขา่ ยเดียวกนั เพ่ือแลกเปลีย่ นข้อมูลและทากจิ กรรมร่วมกัน โดยมกี ารวางแผนและเตรียมการล่วงหน้า เช่นการ ประชุมประจาปี การประชุมคณะกรรมการ การจัดประชุมขนาดใหญ่นานาชาติ (CONVENTION) หมายถึง เป็นการประชุมท่ีเน้นเน้ือหาทาง วิชาการ และมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของบุคคลในสายอาชีพเดียวกัน หรือสายงานสัมพันธ์กัน มีจานวนผู้เข้าร่วม ประชุมตง้ั แต่ 100 คน ไปจนถึงกว่าหมนื่ คน มกี ารจัดหมุนเวยี นไปตามประเทศหรือภูมิภาคต่างๆ โดยมีระยะเวลา ต้งั แต่ 1 ปี – 8 ปี ภัยพิบัติ (Disasters) หมายถึง ปรากฎการณ์ทางนิเวศน์วิทยาขนาดใหญ่ท่ีเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน (และมี ผลกระทบตอ่ ชุมชน)จนทาใหต้ ้องการความชว่ ยเหลือจากภายนอก ๖. ผงั งาน (Flow Chart) ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน รายละเอียดการ ระยะเวลา ผูร้ บั ผิดชอบ ดาเนินงาน เดอื น ส.ค. 63 1. ศกึ ษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมลู การประชุมต่าง ๆ (7 – 14 วัน) งานสง่ เสรมิ ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศเป็นผู้จดั โดยมี ศึกษา คน้ คว้า รวบรวม และพัฒนา เนอื้ หาทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั บทบาทของกอง ข้อมลู ตาม Website ใน เดอื น ส.ค. – ความร่วมมือ ประเทศ และต่างประเทศ ก.ย. 63 ระหว่าง 2. วิเคราะห์ขอ้ มลู และเสนอผบู้ รหิ ารให้ตัดสนิ ใจ ประเทศ กลุม่ เพื่อจดั ทาโครงการ/แผนงาน รายละเอียดการประชุม (7 – 14 วนั ) พัฒนาความ และงบประมาณ รว่ มมือระหวา่ ง 3. จดั ทาโครงการเพ่ือขออนุมัติ เดอื น ต.ค. 63 ประเทศฯ โครงการพัฒนาความ (7 – 14 วนั ) งานสง่ เสริม รว่ มมือเครือข่ายและสร้าง และพัฒนา ความเขม้ แข็งด้านการ ความรว่ มมอื ระหวา่ ง ประเทศ กลุ่ม พฒั นาความ รว่ มมือระหวา่ ง ประเทศฯ งานส่งเสริม และพัฒนา ความรว่ มมอื มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard of Operation: SOPs) 268

มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน SOP-NT-01 (Standard of Operation: SOPs) ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ กลุม่ พัฒนาความรว่ มมอื ระหว่างประเทศฯ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ เรื่อง ขั้นตอน/กระบวนการสร้างความร่วมมือเครือข่ายและ หนา้ / 7 สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์ แกไ้ ขครง้ั ท่ี และสาธารณสุขระดบั ภมู ภิ าคอาเซยี นและนานาประเทศ ประกาศใช้ ข้ันตอนการดาเนินงาน รายละเอียดการ ระยะเวลา ผูร้ ับผดิ ชอบ ดาเนินงาน 4. ดาเนนิ งาน/จดั ประชุมความร่วมมอื เครือขา่ ย ระหวา่ ง และสรา้ งความเขม้ แขง็ ด้านการจัดการภัยพบิ ัติ จดั การภยั พิบัตทิ าง ประเทศ กลุ่ม ทางการแพทย์และสาธารณสุขระดบั ภมู ิภาค การแพทย์และ พัฒนาความ อาเซยี นและนานาประเทศ ปีงบประมาณ สาธารณสุขระดับภมู ิภาค รว่ มมอื ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๖4 ตามท่ีกาหนด อาเซยี นและนานา ประเทศฯ ประเทศ ปีงบประมาณ 5. สรปุ การประชุม/ประสาน ตดิ ตาม รวบรวม พ.ศ. ๒๕๖4 เดือน ต.ค. 63 งานสง่ เสรมิ ข้อมูลเพ่อื ดาเนนิ งานในส่วนท่ีเก่ยี วข้องเสนอ ประชมุ ความรว่ มมือ – ก.ย. 64 และพัฒนา ผู้บริหารทเี่ ก่ียวข้อง เครอื ข่ายและสรา้ งความ ความรว่ มมอื เข้มแข็งดา้ นการจัดการ ระหว่าง 6. สรุปโครงการเม่ือสน้ิ งบประมาณส่งงานแผน ภยั พิบัตทิ างการแพทย์ ประเทศ กลุ่ม และประเมนิ ผลของกอง และสาธารณสุขระดับ พฒั นาความ ภูมิภาคอาเซยี นและ รว่ มมือระหวา่ ง นานาประเทศ ประเทศฯ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 3 วนั หลงั เสร็จ งานส่งเสรมิ สรปุ การประชุม สนิ้ การประชุม และพฒั นา สรุปผลโครงการตาม ความร่วมมอื แบบฟอร์มที่กาหนด ระหวา่ ง ประเทศ กล่มุ พฒั นาความ รว่ มมือระหวา่ ง ประเทศฯ 7 วัน หลังจาก งานสง่ เสรมิ ไดร้ บั หนังสอื และพฒั นา สรปุ โครงการ ความรว่ มมอื จากงานแผนฯ ระหว่าง ประเทศ กลมุ่ พฒั นาความ ร่วมมอื ระหว่าง ประเทศฯ มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 269

มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน SOP-NT-01 (Standard of Operation: SOPs) ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ กลุ่มพัฒนาความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศฯ กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ เรื่อง ขั้นตอน/กระบวนการสร้างความร่วมมือเครือข่ายและ หน้า / 7 สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์ แก้ไขคร้งั ท่ี และสาธารณสขุ ระดบั ภมู ิภาคอาเซยี นและนานาประเทศ ประกาศใช้ 7. ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ (Procedure) 7.1 ศึกษา รวบรวม ประสานข้อมูลการดาเนินงานพัฒนาความร่วมมือเครือข่ายและสร้างความเข้มแข็ง ดา้ นการจัดการภัยพบิ ตั ทิ างการแพทยแ์ ละสาธารณสุขระดับภูมภิ าคอาเซียนและนานาประเทศ 7.2 ประสานงานภายในและภายนอกกองสาธารณสุขฉุกเฉินเพ่ือเตรียมความการดาเนินงานพัฒนาความ ร่วมมือเครือข่ายและสร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับภูมิภาค อาเซียนและนานาประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖4 7.3 ดาเนินการจดั ประชมุ ตามแผนงานท่กี าหนด 7.4 สรุปการประชมุ /ประสาน ตดิ ตาม รวบรวมข้อมลู เพื่อดาเนนิ งานในสว่ นท่ีเกีย่ วขอ้ งต่อไป 7.5 รวบรวมข้อมูลท่ไี ดจ้ ากการดาเนินงานเสนอผู้บริหารทเี่ ก่ียวขอ้ ง 7.6 ปฏบิ ัตงิ านอื่น ๆ ตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย 8. มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Performance Standard) 8.1 มาตรฐานระยะเวลา : การดาเนินงานเป็นไปตามระยะเวลาท่กี าหนด 8.2 มาตรฐานเชงิ คุณภาพ : มขี อ้ มูลประกอบการดาเนินงานพัฒนาความร่วมมือเครือข่ายและสร้างความ เข้มแข็งด้านการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับภูมิภาคอาเซียนและนานาประเทศที่ครบถ้วน รวดเรว็ และทนั เวลา 9. การติดตามประเมินผล (Measurement and Evaluation) 9.1 ผู้รับผิดชอบในการติดตามประเมินผล : หัวหน้ากลุ่มพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศการจัดการ ภาวะฉุกเฉนิ ดา้ นการแพทย์และสาธารณสุข 9.2 วิธีการติดตามประเมินผล : สามารถดาเนินงานตามโครงการ/แผนงาน และบรรลุวัตถุประสงค์ และ ทันเวลา ทีก่ าหนดไว้ และเสนอต่อผู้อานวยการกองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ 10. แบบฟอร์มท่ใี ช้ (Form) 10.1 แบบฟอร์ม 10.1.1 ทะเบียนเอกสาร 10.2 เอกสารสนบั สนนุ อนื่ ๆ 11. การควบคมุ การบันทกึ (Control of Record) ลาดบั ท่ี ชื่อเอกสาร ผู้รับผดิ ชอบ สถานท่ีจดั เกบ็ ระยะเวลา จดั เกบ็ มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard of Operation: SOPs) 270

มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน SOP-NT-01 (Standard of Operation: SOPs) ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ กลมุ่ พฒั นาความร่วมมือระหว่างประเทศฯ กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน เรื่อง ขั้นตอน/กระบวนการสร้างความร่วมมือเครือข่ายและ หนา้ / 7 สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์ แก้ไขครงั้ ท่ี และสาธารณสุขระดับภูมภิ าคอาเซียนและนานาประเทศ ประกาศใช้ 12. บันทึกการแกไ้ ขเอกสาร เดอื น ปี แก้ไขครง้ั ที่ รายละเอียด 12.1 รายละเอียด ผู้จดั ทา ผู้ทบทวน ผู้อนุมตั ิ ผูจ้ ัดทา ผ้ทู บทวน ผอู้ นุมตั ิ นางวิจติ ตรา จนั ทะคุณ นางวจิ ิตตรา จนั ทะคุณ นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏบิ ัติการ นกั วิชาการสาธารณสุขปฏิบตั ิการ 12.2 บนั ทึกการแกไ้ ข รายละเอียดการแก้ไข วันเดอื นปี แกไ้ ขครัง้ ท่ี 13. ภาคผนวก มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard of Operation: SOPs) 271


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook