Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 000 สรุปการฝึก RDF 65 (รวม)

000 สรุปการฝึก RDF 65 (รวม)

Published by godskolak, 2022-06-22 13:16:03

Description: 000 สรุปการฝึก RDF 65 (รวม)

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการฝกึ หนว่ ยพร้อมรบเคลือ่ นที่เรว็ ของ ทบ. หน้าท่ี 247 ของ 583 หนา้ Rapid Deployment Force (RDF) 2.9 พัน.บ.ฉก. ภาพ จำนวน หนว่ ย ข้อมูล หมายเหตุ ลำดบั สป. 1 คนั บรรจุในสว่ นสนบั สนุน 1 รถ สป.3 2.10 ร้อย.ขกท. : ไม่มี ภาพ จำนวน หนว่ ย ข้อมูล หมายเหตุ 2.11 ร้อย.สร. 7 ชดุ ชดุ วทิ ยุติดตัง้ บน ลำดบั สป. รถพยาบาล 1 ชดุ วิทยุ FM VRC745 28 เปล ประจำรถพยาบาล 7 2 เปลพบั ชนิดสะพายหลงั คัน คันละ 4 เปล 2.12 มว.ป.คปม. ภาพ จำนวน หน่วย ขอ้ มูล หมายเหตุ ลำดบั สป. 2 ระบบ งบประมาณการซ่อม ซ่อมบำรงุ 1 ชุดเรดาร์ (PAR-16) บำรุงเรดารก์ ำหนด ทตี่ ง้ั อาวุธยิง สนับสนุนระยะไกล (PAR-16) 2.13 ชดุ ควบคุมการสง่ กำลังและซ่อมบำรุง (ชค.สก./ซบร.) ลำดบั สป. ภาพ จำนวน หนว่ ย ข้อมูล หมายเหตุ 1 ชดุ วิทยุ Y 2980 HP 1 เครือ่ ง ชดุ วิทยุ Y 2980 HP

สรปุ ผลการฝึกหนว่ ยพรอ้ มรบเคล่ือนทเ่ี รว็ ของ ทบ. หน้าที่ 248 ของ 583 หน้า Rapid Deployment Force (RDF) 2.14 ชดุ ควบคุมการเคล่อื นย้าย (ชค.คย.) ลำดับ สป. ภาพ จำนวน หน่วย ขอ้ มูล หมายเหตุ 1 วิทยุ PRC 730 1 ชุด เป็นวทิ ยุส่ือสาร Manpad ปจั จบุ ัน ท่ีใชใ้ นหน่วย RDF หน่วยใช้ สามารถใช้โหมดความถี่ วิทยุ เขา้ รหสั หรอื ความถแ่ี บบ กา้ วกระโดดได้ PRC 77 หมายเหตุ พิจารณาดำเนินการตามความเร่งดว่ น ความเร่งด่วนแรก คือ การดำเนินการด้านเคร่อื งมือส่ือสาร ซ่งึ ถือเป็นเครอื่ งสำคัญในระบบการควบคุมบังคบั บัญชาหน่วย

ผนวก ประกอบการฝึกหน่วยพรอ้ มรบเคลื่อนท่เี รว็ ของ ทบ.ประจำปี 2565 ผนวก ก เอกสารอนมุ ตั ิการฝึก

สรปุ ผลการฝกึ หนว่ ยพรอ้ มรบเคลือ่ นที่เรว็ ของ ทบ. หน้าท่ี 250 ของ 583 หนา้ Rapid Deployment Force (RDF)

สรปุ ผลการฝกึ หนว่ ยพรอ้ มรบเคลือ่ นที่เรว็ ของ ทบ. หน้าท่ี 251 ของ 583 หนา้ Rapid Deployment Force (RDF)

สรปุ ผลการฝกึ หนว่ ยพรอ้ มรบเคลือ่ นที่เรว็ ของ ทบ. หน้าท่ี 252 ของ 583 หนา้ Rapid Deployment Force (RDF)

สรปุ ผลการฝกึ หนว่ ยพรอ้ มรบเคลือ่ นที่เรว็ ของ ทบ. หน้าท่ี 253 ของ 583 หนา้ Rapid Deployment Force (RDF)

สรปุ ผลการฝกึ หนว่ ยพรอ้ มรบเคลือ่ นที่เรว็ ของ ทบ. หน้าท่ี 254 ของ 583 หนา้ Rapid Deployment Force (RDF)

สรปุ ผลการฝกึ หนว่ ยพรอ้ มรบเคลือ่ นที่เรว็ ของ ทบ. หน้าท่ี 255 ของ 583 หนา้ Rapid Deployment Force (RDF)

สรปุ ผลการฝกึ หนว่ ยพรอ้ มรบเคลือ่ นที่เรว็ ของ ทบ. หน้าท่ี 256 ของ 583 หนา้ Rapid Deployment Force (RDF)

สรปุ ผลการฝกึ หนว่ ยพรอ้ มรบเคลือ่ นที่เรว็ ของ ทบ. หน้าท่ี 257 ของ 583 หนา้ Rapid Deployment Force (RDF)

สรปุ ผลการฝกึ หนว่ ยพรอ้ มรบเคลือ่ นที่เรว็ ของ ทบ. หน้าท่ี 258 ของ 583 หนา้ Rapid Deployment Force (RDF)

สรปุ ผลการฝกึ หนว่ ยพรอ้ มรบเคลือ่ นที่เรว็ ของ ทบ. หน้าท่ี 259 ของ 583 หนา้ Rapid Deployment Force (RDF)

สรปุ ผลการฝกึ หนว่ ยพรอ้ มรบเคลือ่ นที่เรว็ ของ ทบ. หน้าท่ี 260 ของ 583 หนา้ Rapid Deployment Force (RDF)

สรปุ ผลการฝึกหนว่ ยพรอ้ มรบเคลอ่ื นทเี่ ร็วของ ทบ. หนา้ ท่ี 261 ของ 583 หนา้ Rapid Deployment Force (RDF) ผนวก ข ระเบียบปฏิบตั ิประจำและเอกสารท่ีเกีย่ วข้อง 1. หลกั นิยมหน่วยพร้อมรบเคลอ่ื นทเี่ รว็ ของ ทบ. fffffjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjj สรุป 1. สภาพแวดลอมในการยุทธของ ทบ. และ กรม พรอ้ มรบเคล่ือนทเี่ รว็ ของ ทบ. 2. ผบู้ งั คบั บญั ชา, ฝา่ ยอํานวยการและส่ิงอํานวย ความสะดวกในการควบคมุ บังคับบัญชา 2.1 ผูบ้ งั คับบญั ชา 2.2 ฝ่ายอำนวยการ 2.3 ฝ่ายกจิ การพิเศษ 2.4 ส่งิ อาํ นวยความสะดวกในการควบคุมบังคบั บัญชา 2.5 การปฏิบัตงิ านของผู้บงั คับบัญชาและฝา่ ย อํานวยการ 3. การสนับสนนุ ทางการช่วยรบ 4. แนวความคิดในการใช้หน่วยรบ หนว่ ยสนับสนนุ การรบ และการยงิ สนบั สนุน 5. การยทุ ธดว้ ยวธิ รี ุก 6. การยทุ ธด้วยวธิ รี ับ 5.1 หลกั พ้นื ฐานการยุทธดว้ ยวธิ ีรุก 6.1 หลักพืน้ ฐานการยุทธดว้ ยวธิ รี บั - กลา่ วทว่ั ไป - กล่าวทวั่ ไป - วตั ถปุ ระสงค์ของการยทุ ธด้วยวธิ รี ุก - วัตถุประสงค์ของการยทุ ธดว้ ยวธิ ีรับ - การยุทธดว้ ยวิธรี ุกในระดบั ยุทธการและยทุ ธวธิ ี - ลักษณะของการยุทธด้วยวิธีรบั - การยทุ ธดว้ ยวธิ รี กุ ภายในโครงรางทางยุทธการ - แบบของการยุทธด้วยวธิ ีรบั - แบบของการดำเนินกลยทุ ธ - โครงร่างของการยุทธด้วยวธิ ีรบั - ลำดับข้นั ของการยุทธดว้ ยวิธีรุก - การดำเนนิ การในการปฏิบตั ิการยุทธด้วยวิธีรบั - ข้อพจิ ารณาในการวางแผนสำหรบั การยุทธด้วย - การวางแผนสำหรับการปฏบิ ัติการยุทธดว้ ยวธิ รี บั วิธรี ุก - การเตรยี มการสำหรับการยทุ ธดว้ ยวิธีรบั - การเตรยี มการสำหรบั การยุทธดว้ ยวธิ ีรุก - การปฏบิ ัติการยทุ ธด้วยวธิ ีรบั - การดำเนนิ การยุทธด้วยวิธีรุก - ผลกระทบของเทคโนโลยี - ผลกระทบของเทคโนโลยี 6.2 แนวความคิดในการปฏบิ ตั กิ ารยทุ ธดว้ ยวธิ ีรบั 5.2 แนวความคิดในการปฏิบตั กิ ารยุทธด้วยวิธรี ุก - กล่าวทวั่ ไป - กลา่ วท่วั ไป - แนวความคดิ ในการปฏบิ ตั ิการยทุ ธด้วยวธิ ีรบั - แนวความคิดในการปฏบิ ตั ิการยทุ ธดว้ ยวิธีรุก

สรปุ ผลการฝกึ หน่วยพร้อมรบเคลือ่ นท่เี ร็วของ ทบ. หนา้ ท่ี 262 ของ 583 หน้า Rapid Deployment Force (RDF) 2. ระเบยี บปฏบิ ตั ิประจำ (รปจ.) ของ หน่วยพร้อมรบเคล่อื นที่เร็วของ ทบ. fffffjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjj สรปุ 1. คำสง่ั หลกั 2. การเตรยี มการก่อนเข้าปฏบิ ัติการ (กลา่ วทั่วไป, การ เตรียมการดา้ น การข่าว/ยุทธการ/กำลังพล/การสง่ กำลังบำรุง/ ส่ือสาร/การเคลื่อนยา้ ยเขา้ พ้นื ท่กี อ่ กำลงั , สรุปเอกสารท่ีหนว่ ย จะตอ้ งเตรียมการ) 3. การจดั กำลงั ทางยุทธวธิ ี (กลา่ วทัว่ ไป, การจดั กำลงั หนว่ ยพร้อมรบเคลื่อนที่เรว็ , รายละเอยี ดการจัดกำลัง, การแบง่ มอบยานพาหนะในส่วนของ นขต.บก.ร.31 รอ., คำแนะนำใน การปฏิบัติ) 4. การเคลื่อนย้าย (กล่าวทั่วไป, การเคลอื่ นย้ายจากท่ตี ั้ง หน่วยไปพ้ืนทกี่ อ่ กำลัง, การเคล่ือนยา้ ยจากพ้นื ทก่ี ่อกำลงั ไปเข้า ทรี่ วมพล, การปฏิบตั ิการเคล่ือนยา้ ยของ นขต.บก.ร.31 รอ., ระเบียบปฏบิ ตั ิในระหวา่ งเคล่ือนย้ายดว้ ยยานยนต์ สำหรบั ทุก หน่วย) 5. การก่อกำลัง (กล่าวทวั่ ไป, การเคล่อื นยา้ ยจากทีต่ ้ังหน่วยไป พนื้ ที่ก่อกำลัง, การวางกำลงั ในพ้นื ทกี่ อ่ กำลงั , งานทจ่ี ะตอ้ ง ปฏิบัติในพ้ืนทกี่ อ่ กำลงั ) 6. การควบคมุ บังคบั บัญชา (กล่าวท่ัวไป, ที่บังคับการหลกั 11. การปอ้ งกันภัยทางอากาศ (กล่าวทั่วไป, ความหมาย, (ทก.หลกั หรอื ทก.หนา้ ), ที่บังคบั การหลัง (ทก.หลัง), ทีบ่ งั คับ การป้องกันภยั ทางอากาศโดย ร้อย.ปตอ.ผสม, การปอ้ งกนั ภัย การทางยทุ ธวธิ ี (ทก.ยทุ ธวิธี), ทบ่ี งั คับการสำรอง (ทก.สำรอง), ทางอากาศของแตล่ ะหนว่ ยทไ่ี ม่ใชห่ นว่ ย ปตอ., คำแนะนำใน การไปรบั คำสง่ั ยทุ ธการ, คำแนะนำในการปฏิบัตงิ านด้าน การปฏบิ ตั )ิ เอกสารของ ทก.กรม) 12. การปฏิบตั ิงานร่วมกบั อากาศยานปีกหมุน (กลา่ ว 7. กำลังพล (กลา่ วท่ัวไป, กำลัง เอกสาร และรายงาน, การสูญเสยี ทว่ั ไป, การควบคมุ และบงั คับบัญชา, การขา่ วกรอง, การ และการทดแทนกำลัง, การดำเนินกรรมวธิ กี ำลงั พล, เชลยศกึ , การ วางแผน, การปฏบิ ตั ,ิ รายละเอยี ดในการบรรทกุ , การส่งกำลงั ศพ และทะเบยี นศพ, วินยั กฎ ข้อบังคับ คำสงั่ , ขวญั และการ บำรงุ , กำลังพล) บริการกำลงั พล, แรงงานพลเรอื น, การจัดภายใน ทก.) 13. การยิงสนับสนนุ (ความมุ่งหมาย, การจดั ส่วนยงิ 8. การข่าว (กลา่ วทั่วไป, การรวบรวมและรายงานข่าวสาร ขา่ ว สนับสนนุ , หน้าที่และความรบั ผิดชอบ, ความรับผิดชอบในการ กรอง, การลาดตระเวนทางอากาศ, เชลยศกึ , เอกสาร และ วางแผน, ระบบหมายเลขเป้าหมาย, มาตรการประสานการยงิ ยทุ โธปกรณท์ ยี่ ดึ ได้, การต่อต้านขา่ วกรอง) สนับสนุน, การสนบั สนุนทางอากาศ, ชดุ โจมตที างอากาศร่วม) 9. ยทุ ธการ (กลา่ วทว่ั ไป, แผนและคำสั่ง, การรายงาน) 14. สอื่ สาร (กลา่ วทวั่ ไป, การรกั ษาความปลอดภัยทางการ 10. สง่ กำลงั บำรุง (กล่าวทั่วไป, พน้ื ทส่ี นบั สนุนของกรม, สือ่ สาร, ศูนยข์ ่าว, การเขยี นขา่ ว, การนำสาร, การส่อื สารทาง สาย, การส่ือสารทางวทิ ยุ, ทัศนสัญญาณ และเสยี งสัญญาณ, ขบวนสมั ภาระ, การสง่ กำลัง, การส่งกำลัง สป.1, การส่งกำลัง สงครามอิเลคทรอนกิ ส์ ระบบหมายเลขอ้างสาสน์ , การรายงาน สป.2/4, การสง่ กำลัง สป.3,การส่งกำลงั สป.5, สป.เบ็ดเตลด็ , ทตี่ ั้งเปน็ พกิ ดั ทตี่ อ้ งการรักษาความลับ, การส่งและรับข่าวท่ี สป.ที่ยึดได้, การขนสง่ , การซอ่ มบำรงุ , การบรกิ ารทาง กระทำเปน็ ประจำ, การปฏบิ ัตติ อ่ หน่วยสมทบ หนว่ ยสนับสนนุ การแพทย์, เบ็ดเตลด็ ) และหน่วยขึ้นควบคุมทางยุทธการ) 15. การแจกจ่าย

สรุปผลการฝกึ หน่วยพร้อมรบเคลอื่ นท่เี รว็ ของ ทบ. หน้าที่ 263 ของ 583 หน้า Rapid Deployment Force (RDF) 3. เอกสารแนะนำการใช้หนว่ ยพร้อมรบเคลื่อนทเ่ี รว็ ของ ทบ. fffffjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjjj สรุป 1. แนวทางการปฏบิ ัติการของหน่วยพร้อมรบ เคล่อื นที่เรว็ 1.1 กลา่ วท่ัวไป 1.2 ลำดบั การปฏิบตั ขิ องหน่วยในการเตรยี มการเขา้ ทำ การรบ 1.3 การปฏิบตั กิ ารรบของหน่วยพร้อมรบเคลือ่ นที่เร็ว 1.4 เอกสาร 1.5 งานการช่วยรบ 1.6 การตดิ ต่อส่ือสารกับหน่วยพรอ้ มรบเคลือ่ นท่ีเรว็ 2. การปฏบิ ตั กิ ารทางยุทธวิธี 2.1 กล่าวทั่วไป 2.2 ข้อจำกัดของหนว่ ยพรอ้ มรบเคลอื่ นท่เี รว็ ของ ทบ. 2.3 การปฏิบัติการทางยุทธวิธีของหนว่ ยพร้อมรบ เคลอื่ นทเี่ รว็ 2.4 สงิ่ ที่ต้องการสนบั สนุน 3. การปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศ 6. การสอ่ื สาร 3.1 กลา่ วทั่วไป 6.1 กล่าวทั่วไป 3.2 ขอ้ จำกดั ของหน่วยพร้อมรบเคลื่อนทีเ่ รว็ ของ ทบ. 3.3 ระบบอาวุธ ปตอ.ในอัตรา 6.2 ข้อจำกดั ของหน่วยพร้อมรบเคลอ่ื นท่เี ร็วของ ทบ. 3.4 ส่งิ ทีต่ อ้ งการสนบั สนนุ 6.3 ระบบการส่อื สารทมี่ อี ยู่ 4. การยงิ สนบั สนุน 6.4 สงิ่ ทต่ี ้องการรับการสนบั สนนุ 4.1 กลา่ วทัว่ ไป 4.2 ข้อจำกัดของหน่วยพรอ้ มรบเคลอ่ื นทเ่ี รว็ ของ ทบ. 7. ลำดับเหตุการณห์ ลกั 4.3 ระบบอาวธุ ยงิ สนบั สนุนในอตั รา 4.4 ส่งิ ทต่ี อ้ งการสนับสนนุ หรือตอ้ งการทราบ 7.1 สถานการณ์ปกติ 4.5 งานการชว่ ยรบ 7.2 เกดิ เหตุการณต์ ามแนวชายแดน 7.3 ฝ่ายตรงข้ามเคล่ือนย้ายกำลัง/มีแนวโน้มใช้ อว. 5. การสง่ กำลังบำรงุ 7.4 มีการใช้อาวุธตามแนวชายแดน 7.5 เหตุการณร์ นุ แรง ทบ.อนุมตั ใิ หใ้ ช้ ร้อย.คทร. 5.1 กลา่ วทวั่ ไป 7.6 ทบ.ส่ัง RDF เตรียมพรอ้ ม 5.2 ขอ้ จำกดั ของหนว่ ยพร้อมรบเคลอ่ื นที่เร็วของ ทบ. 7.7 ทบ.สัง่ RDF ขน้ึ ควบคุมกับ ทภ./เคลือ่ นยา้ ยกำลงั 5.3 ระบบการสง่ กำลงั บำรงุ ทม่ี อี ยปู่ ระกอบดว้ ย 7.8 การเคลอื่ นยา้ ยตามคำสง่ั 5.4 สงิ่ ทีต่ อ้ งการสนับสนุน 7.9 การเข้าพ้นื ทกี่ อ่ กำลงั 7.10 การปฏบิ ัติในพนื้ ทกี่ ่อกำลัง

สรุปผลการฝกึ หนว่ ยพร้อมรบเคลอื่ นทีเ่ ร็วของ ทบ. หน้าท่ี 264 ของ 583 หนา้ Rapid Deployment Force (RDF) ผนวก ค คำสง่ั พทิ ักษผ์ าเมอื ง 1-2 RDF – ทภ.3 (ทภ.3 ทบ.น้ำเงนิ )

(เพอื่ การฝกึ ) คำสัง่ พิทักษ์ผาเมอื ง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ทภ.๓ กองทัพบกนำ้ เงิน (เพ่อื การฝกึ )

ลบั มาก ชุดที่ ของ ชดุ (เพื่อการฝึก) หนา้ ๑ ของ ๑๓หนา้ -สำเนาคฉู่ บบั - แผนพทิ ักษผ์ าเมอื ง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ กองบัญชาการ กองทัพภาคท่ี ๓ ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อ.เมือง จว.พ.ล. พ.ค.๖๕ สธ.๐๐๒ แผนพิทกั ษ์ผาเมือง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ อา้ งถึง ๑.แผนเผชิญเหตุ-ทบ. ๒. แผนพิทกั ษน์ ำ้ เงิน –ทภ.๓ ๓. แผนปอ้ งกันชายแดนประจำปีของ ทภ.๓ ๔. แผนทป่ี ระเทศไทยมาตราส่วน๑: ๒๕๐,๐๐๐ ๕. พ.ร.บ.กฎอยั การศึก พ.ศ.๒๔๕๗ ๖. แผนเตรียมพรอ้ มแหง่ ชาติพ.ศ.๒๔๔๓ ๗. แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติพ.ศ.๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ ๘. แผนพัฒนากองทพั บกปี๒๕๕๕–๒๕๕๙ ๙. นโยบายการปฏิบตั ิการจิตวิทยาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๐–๒๕๔๔ การจดั เฉพาะกิจ : ผนวก ก ๑. สถานการณ์ ก. ข้าศกึ ๑) สถานการณ์ท่วั ไป ก) ประเทศฟ้า และประเทศขาว พยายามเข้ามามีบทบาทในบริเวณภาคพื้นแปซิฟิก เพื่อรักษา ผลประโยชน์ของทั้ง ๒ ประเทศ รวมถึงบริเวณภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นฐานกำลัง/พื้นที่สำคัญที่ มหาอำนาจทั้งสองต่างเข้ามามีบทบาทในพื้นท่ี ซึ่งประเทศฟ้า พยายามสร้างความสัมพันธ์กับประเทศในภูมิภาค เอเชีย อย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะความร่วมมือทางการทหารในภูมิภาค รวมถึงประเทศน้ำเงิน โดยเฉพาะในห้วงปี ๒๕๖๔ และ ๒๕๖๕ ไดม้ กี ารเพิม่ เตมิ การฝกึ ทางการทหารรว่ มกบั ประเทศน้ำเงนิ จำนวนมาก ในส่วนของประเทศขาว พยายามเข้ามามีบทบาทในพ้ืนที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยให้การสนับสนุน การช่วยเหลือและการส่งเสริมการ ลงทุนในภูมิที่ แก่กลุ่มประเทศในเครือข่าย โดยเฉพาะประเทศชมพู ที่มีการเข้าไปพัฒนาและส่งเสริมการลงทุน ใน ทุก ๆ ด้าน รวมถึงความร่วมมือด้านการทหาร เป็นอย่างมาก สำหรับการเข้ามามีบทบาทของ ประเทศฟ้า และ ลบั มาก (เพอ่ื การฝึก)

ลบั มาก ชุดที่ ของ ชุด (เพอ่ื การฝึก) หน้า ๒ ของ ๑๓หนา้ แผนพิทกั ษ์ผาเมือง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ประเทศขาว เพื่อรักษาเสถียรภาพและอำนาจทางการทหารและเป็นการรักษาผลประโยชน์ของประเทศในภูมิภาค ผา่ นประเทศตวั แทนในภูมิภาคท่ีให้การสนบั สนนุ ข) พื้นที่ ๓ หมู่บ้าน ประกอบด้วย บ.ใหม่, บ.กลาง และ บ.สว่าง เดิมตั้งอยู่ใน ต.ม่วงเจ็ดต้น กิ่ง อ.บ้าน โคก จว.อ.ต. ปัจจุบันตั้งอยู่ใน ต.บ่อเบี้ย อ.บ้านโคก จว.อ.ต.ทั้ง ๓ หมู่บ้าน เป็นหมู่บ้านขนาดเล็ก ตั้งอยู่บริเวณ พรมแดนประเทศน้ำเงิน – ซึ่งมีพื้นที่ทาบทับประมาณ ๒๓ ตร.กม. และมีประชากรประมาณ ๑,๑๐๐ คน เดิมไม่มี เจ้าหน้าทีข่ องประเทศน้ำเงินเข้าไปประจำการ เพราะเป็นเขตอิทธิพลของผู้กอ่ การรา้ ยคอมมวิ นิสต์ เมื่อสถานการณ์ การก่อการร้ายของคอมมิวนิสต์ได้เริ่มสงบลงในปี พ.ศ.๒๕๒๕ ประเทศน้ำเงิน โดยให้ พล.ม.๑ ได้เริ่มสร้างถนน เส้นทางสายยุทธศาสตร์ เพื่อความมั่นคงตามแนวชายแดน จาก อ.เวียงสา จว.น.น. ผ่าน บ.น้ำมวบ – บ.น้ำปี้ – บ. สาลี่ อ.สา จว.น.น. ถึง บ.บ่อเบี้ย อ.บ้านโคก จว.อ.ต. ถนนเส้นนี้จะตัดผ่านและเชือ่ ม ๓ หมู่บ้าน เข้าด้วยกัน ใน ลักษณะเป็นถนนวงแหวนตลอดแนว ขณะที่ดำเนินการก่อสร้างเส้นทางไปถึง กิ่วนกแซว ได้ถูกกำลังประเทศชมพู ดำเนินการขดั ขวาง จนเกิดการปะทะ โดยฝา่ ยชมพูเรม่ิ ต้นตอ่ สดู้ ว้ ยอาวธุ ก่อน และอ้างวา่ ประเทศน้ำเงนิ สร้างเส้นทาง รุกล้ำเข้าไปในพื้นที่ บ.ตาแสง บ.ใหญ่ เมืองปากลาย แขวงไซยะบุลี ซึ่งอยู่ในดินแดนของประเทศชมพู โดยทั้งสอง ฝ่ายต่างอ้างสทิ ธิเ์ หนอื หมู่บ้านดังกล่าว เนื่องจากยึดถือแผนท่ีคนละฉบับ จึงนำมาสู่ความขัดแย้งและเกิดการส้รู บขนึ้ เนื่องจากยึดถือแผนที่คนละฉบับ ทั้งสองประเทศได้พยายามเจรจาและหาแนวทางแก้ไขอย่างสันติวิธีอย่างต่อเนื่อง จนกระทงั่ ปี พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๕ แตผ่ ลการเจรจาไม่สัมฤทธิผ์ ล ค) ตั้งแต่ปี ๒๕๖๔ เป็นต้นมา ประเทศชมพู มีการพยายามปรับปรุงเส้นทาง เครือข่ายติดต่อสื่อสาร ปรับ พื้นที่เพื่อทำตลาดการค้า ก่อสร้างอาคารเรียนในพื้นที่พิพาท ๓ หมู่บ้าน เพิ่มมากขึ้น โดยร้องขอการสนับสนุนจาก ประเทศมหาอำนาจนอกภมู ิภาค ทัง้ นไี้ ด้รบั การสนับสนนุ จากประเทศขาว และประเทศสม้ ในการดำเนินการในพ้นื ที่ ง) เมื่อ ๑๖ พ.ย. ๖๔ รมว.กต.ชมพู แถลงต่อที่ประชุมสภาแห่งชาติชมพู ชุดที่ ๙ สมัยสามัญครั้งที่ ๒ ว่า ประเทศชมพู พร้อมเจรจาสำรวจและปักปนั เขตแดนกับประเทศนำ้ เงนิ จ) ต้นปี ๒๕๖๕ ประเทศชมพู มนี โยบายในการผลักดันประเดน็ การปักปันเขตแดนอย่างเป็นรูปธรรม และ ร้องขอการสนับสนุนจากประเทศมหาอำนาจนอกภูมิภาค ในการหนุนหลัง ระหว่างทำการเจรจาปักปันเขตแดนกับ ประเทศน้ำเงนิ ฉ) เมื่อปลาย เม.ย.๖๕ ประเทศชมพู ได้เรียกร้องการเจรจาปักปันเขตแดนต่อประเทศน้ำเงิน โดยอ้างผล จากการอ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่ทับซ้อนสามหมู่บ้านทางพฤตินัย ได้แก่การก่อสร้างต่าง ๆ ตลอดจนชุมชม ชาวชมพู ท่ี อาศัยในพื้นที่ รวมถึงการปฏิบัติการข่าวสารด้วยการชี้แจงเป็นลายลักษณ์อักษร และทางการทูต โดยได้รับการ สนบั สนนุ จาก ประเทศขาว และประเทศส้มในการรบั รองสถานภาพ ลบั มาก (เพ่ือการฝกึ )

ลบั มาก ชุดท่ี ของ ชุด (เพ่ือการฝึก) หนา้ ๓ ของ ๑๓หน้า แผนพิทกั ษ์ผาเมอื ง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ช) ประเทศน้ำเงิน ปฏิเสธข้อเรียกร้องและการแสดงสิทธิ์ของ ประเทศชมพู และตอบโต้ว่าการเข้ามา ดำเนินการในพื้นที่ของ ประเทศชมพู เป็นการละเมิดข้อตกลงในพื้นที่ทับซ้อน และเรียกร้องให้ยุติการดำเนินการใน พ้ืนที่ ส่งผลให้ท้ังสองประเทศไมส่ ามารถเจรจาตกลงกันได้ ซ) ประเทศชมพู ได้เพิ่มความพยายามในการปรับปรุงพัฒนาในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น และมีการพยามพัฒนา เส้นทาง จากบ้านใหม่ไปยังบ้านห้วยยาง และจากบ้านใหม่ไปยังช่องกิ่วนกแซว โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จาก ประเทศขาว ทั้งน้ีการดำเนินการดังกล่าวก่อให้เกิดการโต้แย้งของทั้งสองฝ่ายและมีแนวโน้มที่จะมีการใช้กำลงั เพอื่ แก้ปัญหาในพืน้ ทโ่ี ดย ประเทศชมพู ได้รับการสนับสนนุ ทางการทหารจาก ประเทศขาว ผ่าน ประเทศส้ม ๒) สถานการณเ์ ฉพาะ ก) ๗ พ.ค.๖๕ ประเทศชมพูได้พยามยามสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคเพิ่มเติม ตลอดจนสร้างอาคารและสิง่ ปลูกสร้างถาวรในบรเิ วณแนวชายแดน ข) ๙ พ.ค.๖๕ รัฐบาลประเทศน้ำเงนิ ไดด้ ำเนินการยนื่ หนังส่อื ประทว้ ง ค) ๑๑ พ.ค.๖๕ รัฐบาลประเทศชมพู ได้ยื่นหนังสือชี้แจงต่อประเทศน้ำเงินว่าการเข้าดำเนินการดังกล่าว เพ่อื อำนวยความสะดวกต่อประชาชนที่อาศยั ในพน้ื ที่ และยังคงยนื ยนั ทจี่ ะดำเนนิ การต่อไป ง) ๑๒ พ.ค.๖๕ รัฐบาลประเทศน้ำเงินปิดด่านชายแดน/ช่องทางผ่านแดนทุกช่องทางที่ติดต่อกับประเทศ ชมพู จ) ๑๓ พ.ค.๖๕ เจ้าหน้าท่ีประเทศน้ำเงนิ ได้ดำเนนิ การจบั กุมกลุ่มกองหลอนของประเทศชมพู ที่แทรกซึม เขา้ มาในพ้ืนท่ี ประมาณ ๒๐ คน ฉ) ๑๔ พ.ค.๖๕ กกล.ประเทศชมพู ได้ทำการเคลื่อนย้ายกำลัง ทหารประจำถิ่นจากเมืองทุ่งมีไชย แขวง ไชยบุรี เขา้ มาเพ่ิมเตมิ ในบรเิ วณพน้ื ที่ ช) ๑๕ พ.ค.๖๕ กกล.ผาเมือง(ตชด.)ปะทะกับ กกล.ประจำถิ่น ของประเทศชมพู การสร้างถนนถูกทหาร ประเทศชมพู ขัดขวางจนเกิดการปะทะ ซ) ๑๖ พ.ค.๖๕ ทภ.๓ โดย กกล.ผาเมือง ได้ทำการเจรจาให้หยุดการก่อสร้างและถอนกำลังดังกล่าวออก นอกพื้นที่แต่ไม่เป็นผล กกล.ประเทศชมพู ยังคงก่อสร้างและเพิ่มเติมกำลังอย่างต่อเนื่อง ทภ.๓ โดย กกล.ผาเมือง จงึ ส่ังให้ รอ้ ย.ม.คทร. กกล.ผาเมือง เข้าปฏิบัตกิ าร โดย รอ้ ย.ตชด.ยงั คงควบคมุ แนวการวางกำลงั ในพื้นที่ ด) ๑๘ พ.ค.๖๕ ร้อย.ม.คทร. เริ่มมีการปะทะ กับ กกล.ประจำถิ่นประเทศชมพู ตามแนวสกัดก้ัน สถานการณ์เรมิ่ รนุ แรงมากขน้ึ ร้อย.ม.คทร.สามารถผลกั ดันทหารประเทศชมพไู ดบ้ างส่วนและสมารถควบคุมช่องทาง มหาราช บริเวณ พิกัด 47Q QA 259296 ในส่วนของ ศปก.ทบ.ประเทศน้ำเงิน ตกลงใจสั่งให้หน่วย RDF เตรยี มพร้อม ลบั มาก (เพื่อการฝกึ )

ลบั มาก ชุดที่ ของ ชุด (เพอ่ื การฝึก) หนา้ ๔ ของ ๑๓หนา้ แผนพิทกั ษผ์ าเมือง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ต) ๒๒ พ.ค.๖๕ ประเทศชมพู เคลื่อนย้ายกำลัง ๑ กรม ร.(+) ดำเนินการเข้าตีและยึดที่หมายในพื้นที่ทับ ซ้อน และเข้าควบคุมภูมิประเทศสำคัญ บริเวณช่องมหาราช พิกัด 47Q QA 259295, ช่องห้วยยาง พิกัด 47Q QA 234298, ช่องอ่างเก็บน้ำห้วยยาง 47Q QA 221306, ช่องกิ่วนกแซว พิกัด 47Q QA 204312 ศปก.ทบ.สั่งหน่วย RDF ข้ึนควบคุมทางยทุ ธการ กบั ทภ.๓ และให้เคลือ่ นย้ายเขา้ พ้ืนที่กอ่ กำลงั ๓) ข้าศกึ : ผนวกข่าวกรอง ข. กำลังฝ่ายเรา ๑) ทบ.น้ำเงิน ก) เอาชนะและผลกั ดันกำลังขา้ ศึกเพ่อื ป้องกันการรุกลำ้ อธปิ ไตยบริเวณแนวชายแดนน้ำเงิน-ชมพู ข) เจตนารมณ์ของ ผบ.ทบ.น้ำเงิน (๑) ความมุง่ หมาย (ก) ปฏบิ ัติการทางทหารต่อข้าศึกทรี่ ุกล้ำดินแดนเพื่อเอาชนะให้ไดอ้ ย่างรวดเรว็ เด็ดขาด (ข) ดำรงความไดเ้ ปรียบทางยทุ ธการและยทุ ธวิธเี มอื่ ยตุ ิการรบ (๒) วิธีการ (ก) ใช้กำลังรบผสมเหล่าและงานการรบร่วมที่สนับสนุนการปฏิบัติของ ทบ. และระบบข่าวสาร ข่าวกรองที่จัดเตรยี มไว้ตงั้ แต่ในยามปกติ พร้อมดว้ ยเครอ่ื งมือดา้ นการขา่ วกรองที่มีให้เกดิ ประสทิ ธิภาพอยา่ งสูงสุดต่อ การปฏบิ ัตกิ าร (ข) ตรึงกำลังฝ่ายตรงข้ามบรเิ วณพืน้ ทีอ่ ื่น ๆ เพื่อป้องกันการเคลือ่ นย้ายกำลังมาเพิ่มเติมในบรเิ วณ พนื้ ท่ีทมี่ ีการส้รู บ (๓) ผลลัพธ์สุดท้ายที่ต้องการ : สามารถทำลายหรือขับไล่ข้าศึกออกไปได้โดยไม่ทำให้การสู้รบยืดเยื้อ รวมทง้ั สามารถสรา้ งสภาวะแวดล้อมท่ีเกอื้ กลู ตอ่ การเจรจาต่อรองในระดับรฐั บาลต่อไป ๒) ทอ.นำ้ เงิน ลาดตระเวนทางอากาศ ครองอากาศ ณ ตำบลและหว้ งเวลาท่ีกำหนดแ ละปฏิบัตกิ ารรบรว่ มกับ เหล่าทัพอน่ื ๓) ทภ.๑ ปอ้ งกนั พื้นท่ที างบกตามแนวชายแดนในเขตรบั ผิดชอบ และจดั พล.ร.๙ เป็นกองหนนุ ให้กบั ทบ. ๔) ทภ.๒ เตรียมกำลัง ๑ กรม ร.ฉก. เปน็ กองหนุนของ ทบ. ในการปฏิบัตขิ ั้นท่ี ๒ ๕) ทภ.๔ ป้องกันพน้ื ท่ีทางบกตามแนวชายแดนในเขตรบั ผดิ ชอบ ๖) นสศ. ปฏิบัติการพิเศษในพื้นที่ป้องกันระวังป้องกันเพื่อลดศักยภาพในการทำสงครามของฝ่ายตรงข้าม สนบั สนนุ การปฏิบัติของ ทภ. โดยมอบความเร่งดว่ นให้ ทภ.๓, ทภ.๑ และ ทภ.๔ ตามลำดับ ลบั มาก (เพือ่ การฝึก)

ลบั มาก ชุดที่ ของ ชดุ (เพ่อื การฝึก) หนา้ ๕ ของ ๑๓หน้า แผนพิทกั ษผ์ าเมอื ง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ๗) พล.ป. จัดกำลัง ๑ พัน.ปนร.๓๔ และ ร้อย.ป.คปม.(-) สนับสนุนอำนาจกำลังการยิง และการค้นหา เปา้ หมายโดยข้นึ สมทบกับ ทภ.๓ ในขนั้ ท่ี ๒ และพรอ้ มจัดเพ่มิ เติมได้อีก ๑ พนั .ปนร.๓๔ เม่อื เกดิ เหตุการณ์พร้อมกัน ๒ พ้ืนท่ี โดยมอบความเร่งดว่ นให้ ทภ.๓, ทภ.๑, และ ทภ.๔ ตามลำดับ ๘) นปอ. จัดกำลัง ๑ พัน.ปตอ.ผสม. และ จัด ศปภอ.ทบ. ประจำพน้ื ท่ี สย. โดยข้ึนสมทบกบั ทภ.๓ ในข้ันท่ี ๒ และพร้อมจัดอีก ๑ พนั .ปตอ.ผสม เม่อื เกิดเหตุการณ์พร้อมกัน ๒ พ้ืนที่ โดยมอบความเร่งด่วนให้ ทภ.๓, ทภ.๑ และ ทภ.๔ ตามลำดบั โดยแบง่ มอบกำลังให้กบั หนว่ ยตามสดั ส่วน ๙) ขกท.จัดกำลัง ๑ ร้อย.ขกท. สนับสนุนการปฏิบัติด้านข่าวกรอง การต่อต้านข่าวกรองและการสงคราม อิเลก็ ทรอนคิ ส์ โดยขึ้นสมทบกับ ทภ.ในขนั้ ที่ ๒ โดยมอบความเร่งด่วนให้ ทภ.๓, ทภ.๑ และ ทภ.๔ ๑๐) ศบบ. สนบั สนุนการปฏบิ ัตทิ างอากาศทัง้ ด้านยุทธการ และส่งกำลังบำรุงใหก้ บั หน่วย และจดั กำลัง ๑ ชุด ฮ. โจมตี สนับสนุนการโจมตีทางอากาศให้กับ ทภ. ในขั้นที่ ๒ และจัดกำลัง ๑ หน่วยบินปีกหมุน สนับสนุนการ เคล่อื นย้าย ร้อย.คทร. ของ ทภ. โดยมอบความเร่งดว่ นให้ ทภ.๓, ทภ.๑ และ ทภ.๔ ตามลำดบั ค. หน่วยสมทบและหนว่ ยแยก : ผนวก ก การจัดเฉพาะกจิ ๒. ภารกจิ ทภ.๓ ใช้กำลังเอาชนะ และผลักดันข้าศึก ซึ่งรุกล้ำดินแดนให้ออกนอกเขตประเทศน้ำเงินในพื้นที่รับผิดชอบ โดยเร็ว ใน ๐๖๐๑๐๐ มิ.ย. ๖๕ ขยายผลยึดครองภูมิประเทศสำคัญสถาปนาความมั่นคงบริเวณแนวชายแดน เพื่อ สร้างสภาวะทเ่ี กอ้ื กูลและสรา้ งความได้เปรยี บในการเจรจาต่อรองของหน่วยเหนอื ต่อไป ๓. การปฏบิ ัติ ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ : ผนวก ค ๑) เจตนารมณ์ของ มทภ.๓ ความมุ่งหมาย ต้องการเอาชนะกำลังข้าศึกที่รุกล้ำดินแดนโดยเร็ว จำกัดขอบเขตการสู้รบ ไม่ให้การรบ ยดื เย้อื และขยายตวั ออกไปเป็นสงครามขนาดใหญ่ วิธีการ โดยใช้กำลังผสมเหล่าที่จัดเตรียมไว้ปฏิบัติการอย่างรวดเร็ว รุนแรง และเด็ดขาด แสวงหาความ ริเริ่มทุกขั้นตอน พิจารณาใช้กำลังทางอากาศ และอาวุธการยิงสนับสนุนทั้งปวง สนับสนุนการปฏิบัติการของหน่วย ทางพ้นื ดนิ ให้มากที่สุด ในการเอาชนะ ผลักดัน และเข้ายึดภมู ิประเทศสำคัญเพ่ือยุติการรบ รวมท้ังเตรียมการเข้ายึด ท่หี มายสำคัญนอกประเทศ เพื่อให้ได้เปรยี บในการเจรจาต่อรองของหน่วยเหนอื ผลลัพธ์สุดท้ายที่ต้องการ คือ กำลังข้าศึกที่รุกล้ำดินแดนถูกผลักดันออกนอกเขตประเทศ โดยฝ่ายเรา สามารถสถาปนาความม่ันคงตามแนวชายแดนไว้ไดใ้ นเวลาทีเ่ รว็ ทีส่ ดุ กอ่ นที่ขา้ ศึกจะเพ่มิ เติมกำลงั ในระดบั ยทุ ธการ ลบั มาก (เพอื่ การฝกึ )

ลบั มาก ชุดที่ ของ ชดุ (เพือ่ การฝกึ ) หน้า ๖ ของ ๑๓หนา้ แผนพทิ กั ษ์ผาเมอื ง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ๒) ขนั้ การปฏิบัติ แบ่งออกเป็น ๒ ขั้นตอน คือ ก) ขั้นที่ ๑ ขั้นเตรียมการ ใช้กำลังป้องกันชายแดนประจำปี ของ ทภ.๓ ซึ่งปฏิบัติตามพันธกิจ ๔ ประการ ตงั้ แต่ยามปกติรวมท้ังใช้กำลังร้อย.คทร.ของ ทภ.๓ เพอ่ื ป้องกัน ขดั ขวาง และขับไลข่ ้าศึกให้ออกนอกประเทศน้ำเงิน หากมีการรกุ ลำ้ อธปิ ไตยดว้ ยกำลงั ไมเ่ กนิ ระดับกองร้อย หากไม่สามารถขบั ไล่ออกไปได้ให้ยบั ยั้งข้าศึกไว้ไม่ให้ขยายพื้นท่ี ออกไปได้ ข) ขั้นที่ ๒ ขั้นปฏิบัติการ เป็นการปฏิบัติเมื่อเกิดภัยคุกคาม ซึ่ง ทภ.๓ จะใช้กำลังตามการจัดเฉพาะกิจ เข้าปฏบิ ตั ิตามสถานการณด์ งั นี้ (๑) ใช้ กรม ร./กรม ม. เฉพาะกิจของ ทภ. หรือร้องขอ ทบ.ในการใช้ กรม ร.พร้อมรบเคลื่อนที่เร็วของ ทบ. เข้าปฏิบัติการเพื่อผลักดัน ขศ. ให้ออกไปโดยเร็ว แล้วสถาปนาความมั่นคง ณ พื้นที่ปฏิบัติการ เมื่อการสู้รบสงบลง ให้สง่ มอบพ้ืนทป่ี ฏบิ ตั กิ ารใหก้ ับหนว่ ยกองกำลงั ป้องกันชายแดนของ ศปก.ทภ.๓ ตอ่ ไป (๒) หาก กรม ร./ม.ฉก. ของ ทภ. หรือ หน่วยพร้อมรบเคลื่อนที่เร็วของ ทบ.ไม่สามารถผลักดันข้าศึกให้ ออกไปได้ ให้ยับยั้ง ขศ. ไว้มิให้ขยายพื้นที่ออกไป ทบ. อาจพิจารณาใช้กองหนุนของ ทบ. เข้าปฏิบัติการ โดยถ้า สถานการณ์เอื้ออำนวยให้รุกออกนอกประเทศ เข้ายึดที่หมายอย่างจำกัดเพื่อให้เกื้อกูลต่อการปฏิบัติของฝ่ายเรา หรือ เกอ้ื กลู ตอ่ การปฏบิ ตั เิ มื่อใช้แผนป้องกนั ประเทศ รวมทงั้ เก้อื กลู ต่อการเจรจาต่อรองของรัฐบาล ๓) การยงิ : ผนวก ง การยงิ สนับสนนุ ก) ขั้นเตรียมการ : ลำดับความเร่งด่วนในการยิงสนับสนุนให้กบั รอ้ ย.คทร. ของ ทภ.๓ ข) ขั้นปฏิบัติการ : ลำดับความเร่งด่วนในการยิงสนับสนุนให้กับ กรม ร./ม.ฉก. ของ ทภ.๓ หรือ หน่วยพร้อมรบเคลอ่ื นท่ีเรว็ ของ ทบ. ค) การป้องกันภัยทางอากาศ : ทภ.๓ ป้องกันภัยทางอากาศให้กับกรม ร./ม.ฉก.ของ ทภ.๓ หรือ หน่วยพร้อมรบเคลื่อนที่เร็วของ ทบ. ในขั้นปฏิบัติการ โดยใช้กำลังที่จัดเตรียมไว้สำหรบั เผชิญสถานการณ์ตัง้ แตย่ าม ปกติ สำหรับการ ปภอ. ในเขตหน้าของการสู้รบ ให้หนว่ ยพิจารณาใช้ทรัพยากรท่ีมี ข. ศปก.ทภ.๓ ๑) ขัน้ ที่ ๑ ข้ันเตรยี มการ ก) ดำเนินการวางแผน ควบคุม อำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล นขต.ทภ.๓ และหน่วยอื่น ๆ ที่ เกย่ี วขอ้ งในการปอ้ งกันชายแดนในพ้ืนท่ีรับผดิ ชอบของ ทภ.๓ ต้ังแต่ยามปกติ ข) ประสานแผนการปฏิบัตแิ ผนเผชิญเหตดุ ้านตะวันตกของ ทภ.๓ กบั ศปก.ทภ.๑, ๒, ศสอต.๓ และหนว่ ย อื่น ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องตามแผนฯ ใหม้ ีความเขา้ ใจและพรอ้ มสนับสนนุ การปฏบิ ัติต้ังแต่ยามปกติ ลบั มาก (เพือ่ การฝึก)

ลบั มาก ชดุ ท่ี ของ ชุด (เพ่อื การฝึก) หนา้ ๗ ของ ๑๓หนา้ แผนพทิ ักษ์ผาเมือง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ค) ส่งมอบ ร้อย.คทร.ของ ทภ.๓ ที่จัดเตรียมไว้ตั้งแต่ยามปกติขึ้นสมทบกับ กกล.ป้องกันชายแดนของ ศปก.ทภ.๓ (กกล.นเรศวร, กกล.ผาเมือง) รว่ มปฏบิ ตั ิการเมอื่ ได้รบั การร้องขอ ๒) ข้นั ที่ ๒ ขัน้ ปฏิบตั กิ าร ก) ควบคมุ อำนวยการ กรม ร./ม.ฉก.ของ ทภ.๓ และหนว่ ยที่ ทบ.มอบใหข้ ้นึ สมทบในการปฏิบตั ิการต่อ ที่ หมาย ข) ควบคุมบงั คับบัญชา และอำนวยการยุทธตอ่ กองหนุนของ ทบ.ทใี่ ชต้ ามแผน ค) เตรียมส่งมอบกำลังป้องกันชายแดนประจำปีให้กับ บก.กกล.ฉก.ร่วม ทภ.๓ เมื่อมีการประกาศใช้แผน ปอ้ งกันประเทศ ค. ทน.๓ : จัดกำลงั พลสนับสนุนการจัดต้ัง ศปก.ทภ.๓ เพ่ือปฏบิ ัตติ ามแผนป้องกันชายแดน และการปฏบิ ัติตามแผน เผชิญเหตแุ ละจัดต้ัง ทก.ยว.ศปก.ทภ.๓ ต้ังแตข่ ้ันการปฏิบตั ิ รวมท้ังสนบั สนุนกำลังพลเพ่ิมเติมในการจัดตั้ง บก.กกล.ฉก. รว่ ม ทภ.๓ เม่ือประกาศใช้แผนป้องกันประเทศในขั้นต่อไป ง. พล.ร.๔ ๑) ขน้ั ที่ ๑ ข้ันเตรียมการ ก) เตรียมและเสริมสร้างความพร้อมรบของหน่วยให้สามารถใช้กำลังให้ตามขั้นตอนการใช้กำลังของ ทบ. ให้พร้อมและติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชดิ ตัง้ แต่ยามปกติ ข) สง่ มอบ ร้อย.คทร./ร้อย.ป.เตรียมพรอ้ มของ ทภ.๓ (พล.ร.๔) รับผดิ ชอบให้กับ ศปก.ทภ.๓ เมื่อสง่ั ค) จดั เตรยี มหน่วย กรม ร.ฉก.ทภ.๓ (พล.ร.๔) ใหพ้ ร้อมปฏิบตั ิการในขนั้ ท่ี ๒ โดยส่งมอบให้ข้นึ ควบคมุ ทาง ยทุ ธการกบั กกล.ปอ้ งกันชายแดน เมื่อสั่ง ง) เตรียมจัดตั้ง ชุดประสานงาน กรม ร.ฉก.เพื่อเสนอแนะการใช้ กรม ร.ฉก.ทภ.๓ (พล.ร.๔) กรณีข้ึน ควบคมุ ทางยุทธการกับ กกล.ผาเมืองเมื่อส่งั ๒) ขั้นท่ี ๒ ข้ันปฏบิ ัตกิ าร ก) สง่ มอบ กรม ร.ฉก.ทภ.๓ (พล.ร.๔) ขึ้นควบคมุ ทางยทุ ธการกับ กกล.ป้องกันชายแดน ปฏิบตั ิการ เข้าตี ทม.ในวนั ต. เพ่อื ผลักดนั และขับไลข่ า้ ศึกให้ออกนอกเขตประเทศ ข) เสนอแนะการใช้ กรม ร.ฉก.ทภ.๓ (พล.ร.๔) กรณีขึน้ ควบคุมทางยทุ ธการกับ กกล.ผาเมือง ค) เตรยี มการปฏบิ ัตใิ นข้นั ป้องกนั ประเทศเมอื่ สั่ง จ. พล.ร.๗ ๑) ขั้นท่ี ๑ ขน้ั เตรียมการ ลบั มาก (เพ่ือการฝึก)

ลบั มาก ชุดท่ี ของ ชุด (เพ่อื การฝึก) หนา้ ๘ ของ ๑๓หนา้ แผนพิทกั ษผ์ าเมือง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ก) เตรียมและเสริมสร้างความพร้อมรบของหน่วยให้สามารถใช้กำลังให้ตามขั้นตอนการใช้กำลังของ ทบ. ให้พร้อมและตดิ ตามสถานการณ์อยา่ งใกลช้ ดิ ต้งั แตย่ ามปกติ ข) ส่งมอบ รอ้ ย.คทร./รอ้ ย.ป. เตรยี มพร้อมของ ทภ.๓ (พล.ร.๗) รับผดิ ชอบใหก้ บั ศปก.ทภ.๓ เม่ือสง่ั ค) จดั เตรยี มหนว่ ย กรม ร.ฉก.ทภ.๓ (พล.ร.๗) ใหพ้ รอ้ มปฏบิ ัตกิ ารในขน้ั ที่ ๒ โดยสง่ มอบใหข้ น้ึ ควบคุมทาง ยทุ ธการกับ กกล.ป้องกนั ชายแดน เมื่อส่งั ง) เตรียมจัดตั้ง ชุดประสานงาน กรม ร.ฉก. เพื่อเสนอแนะการใช้ กรม ร.ฉก.ทภ.๓ (พล.ร.๗) กรณีขึ้นควบคุม ทางยทุ ธการกบั กกล.ผาเมืองเม่ือสั่ง ๒) ขัน้ ท่ี ๒ ขั้นปฏิบตั ิการ ก) สง่ มอบ กรม ร.ฉก.ทภ.๓ (พล.ร.๗) ขน้ึ ควบคุมทางยุทธการกับ กกล.ปอ้ งกันชายแดน ปฏบิ ัติการ เข้าตี ทม. ในวนั ต. เพ่ือผลกั ดนั และขบั ไล่ข้าศึกให้ออกนอกเขตประเทศ ข) เสนอแนะการใช้ กรม ร.ฉก.ทภ.๓(พล.ร.๗) กรณีขึน้ ควบคุมทางยทุ ธการกบั กกล.ผาเมือง ค) เตรยี มการปฏบิ ัตใิ นข้ันป้องกันประเทศเม่ือส่ัง ฉ. พล.ม.๑ ๑) ขั้นที่ ๑ ข้ันเตรยี มการ ก) เตรียมและเสริมสร้างความพร้อมรบของหน่วยให้สามารถใช้กำลังให้ตามขั้นตอนการใช้กำลังของ ทบ. ให้ พร้อมและติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชดิ ต้ังแตย่ ามปกติ ข) ส่งมอบ ร้อย.คทร./ร้อย.ป. เตรยี มพรอ้ มของ ทภ.๓ (พล.ม.๑) รบั ผิดชอบให้กับ ศปก.ทภ.๓ เมือ่ สั่ง ค) จัดเตรียมหน่วย กรม ม.ฉก.ทภ.๓ (พล.ม.๑) ให้พร้อมปฏิบัติการในขั้นที่ ๒ โดยส่งมอบให้ขึ้นควบคุม ทางยุทธการกับ กกล.ป้องกันชายแดน เม่อื สง่ั ง) เตรียมจัดตั้ง ชุดประสานงาน กรม ม.ฉก. เพื่อเสนอแนะการใช้ กรม ม.ฉก.ทภ.๓(พล.ม.๑) กรณีขึ้นควบคุม ทางยทุ ธการกับ กกล.นเรศวรเม่อื สงั่ ๒) ขน้ั ที่ ๒ ขนั้ ปฏิบัตกิ าร ก) ส่งมอบ กรม ม.ฉก.ทภ.๓ (พล.ม.๑) ข้ึนควบคมุ ทางยทุ ธการกบั กกล.ป้องกนั ชายแดน ปฏิบัตกิ าร เข้าตี ทม. ในวัน ต. เพ่ือผลักดนั และขบั ไลข่ ้าศึกให้ออกนอกเขตประเทศ ข) เสนอแนะการใช้ กรม ม.ฉก.ทภ.๓ (พล.ม.๑) กรณขี ึน้ ควบคุมทางยุทธการกบั กกล.นเรศวร ค) เตรยี มการปฏบิ ตั ใิ นขั้นป้องกนั ประเทศเม่ือสั่ง ช. กกล.นเรศวร ๑) ขน้ั ที่ ๑ ข้ันเตรียมการ ลบั มาก (เพ่ือการฝกึ )

ลบั มาก ชุดท่ี ของ ชุด (เพอ่ื การฝกึ ) หน้า ๙ ของ ๑๓หน้า แผนพิทกั ษผ์ าเมอื ง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ก) สถาปนาความม่ันคงตามแนวชายแดนในเขตรับผิดชอบตามแผนป้องกนั ชายแดนประจำปี ข) ป้องกัน ขัดขวาง และขับไล่ข้าศึกให้ออกนอกเขตประเทศน้ำเงินในพื้นที่รับผิดชอบ โดยใช้กำลังป้องกัน ชายแดนประจำปี และกำลัง ร้อย.คทร.ของ ทภ.๓ ที่ได้รับมอบ หากไม่สามารถขับไล่ออกไปได้ให้ยับยั้งข้าศึกไว้มิให้ ขยายพ้ืนทย่ี ดึ ครองออกไป ค) เตรยี มรบั การข้นึ ควบคมุ ทางยทุ ธการ กรม.ร./ม.ฉก.ทภ.๓ ในขน้ั ที่ ๒ เมื่อสง่ั ๒) ข้ันท่ี ๒ ขัน้ ปฏบิ ัติการ ก) ควบคุมและอำนวยการยุทธ กรม.ร./ม.ฉก.ทภ.๓ เข้าตที ่ีหมายในวนั ต. เพื่อผลัดดันและขบั ไล่ข้าศึกให้ออก นอกประเทศ ข) ประสานการปฏิบัตกิ ับ ชดุ ประสานงาน กรม ม.ฉก. กรณี กรม ม.ฉก.ทภ.๓(พล.ม.๑) มาขึน้ ควบคุมทาง ยทุ ธการ ค) สถาปนาความมั่นคงของพนื้ ท่ีปฏบิ ตั ิการเมื่อการส้รู บยุตลิ ง และส่งมอบ กรม ร./ม.ฉก.ทภ.๓ ให้หน่วยตน้ สงั กดั ง) เตรยี มการปฏิบัติในขั้นป้องกันประเทศต่อไป เม่ือสั่ง ซ. กกล.ผาเมอื ง ๑) ขนั้ ที่ ๑ ขนั้ เตรยี มการ ก) สถาปนาความมั่นคงตามแนวชายแดนในเขตรับผดิ ชอบตามแผนป้องกันชายแดนประจำปี ข) ป้องกัน ขัดขวาง และขับไล่ข้าศึกให้ออกนอกเขตประเทศน้ำเงินในพื้นที่รับผิดชอบ โดยใช้กำลังป้องกัน ชายแดนประจำปี และกำลัง ร้อย.คทร.ของ ทภ.๓ ที่ได้รับมอบ หากไม่สามารถขับไล่ออกไปได้ให้ยับยั้งข้าศึกไว้มิให้ ขยายพน้ื ทย่ี ึดครองออกไป ค) เตรยี มรับการขน้ึ ควบคมุ ทางยทุ ธการ กรม.ร./ม.ฉก.ทภ.๓ หรอื หนว่ ยพรอ้ มรบเคลื่อนที่เร็วของ ทบ. ในขน้ั ที่ ๒ เมื่อสง่ั ๒) ข้ันท่ี ๒ ขั้นปฏบิ ัติการ ก) ควบคมุ และอำนวยการยุทธ กรม.ร./ม.ฉก.ทภ.๓ หรือหน่วยพร้อมรบเคลื่อนท่ีเร็วของ ทบ. เข้าตีท่ีหมายใน วนั ต. เพือ่ ผลักดันและขบั ไล่ข้าศึกใหอ้ อกนอกประเทศ ข) ประสานการปฏิบัติกับ ชุดประสานงาน กรม ร.ฉก. กรณี กรม ร.ฉก.ทภ.๓ (พล.ร.๔ หรือ พล.ร.๗) มาข้ึน ควบคุมทางยทุ ธการ ค) สถาปนาความมั่นคงของพื้นที่ปฏิบัติการเมื่อการสู้รบยุติลง และส่งมอบ กรม ร./ม.ฉก.ทภ.๓ ให้หน่วยตน้ สงั กัด หรอื หน่วยพร้อมรบเคลือ่ นท่เี รว็ ของ ทบ. ให้กับ ศปก.ทภ.๓ ลบั มาก (เพ่อื การฝึก)

ลบั มาก ชุดท่ี ของ ชุด (เพ่ือการฝกึ ) หน้า ๑๐ ของ ๑๓หนา้ แผนพิทักษผ์ าเมอื ง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ง) เตรียมการปฏิบตั ิในข้ันป้องกันประเทศต่อไป เม่ือสั่ง ด. หน่วยพร้อมรบเคลื่อนที่เร็วของ ทบ. ๑) ขน้ั ที่ ๑ ขน้ั เตรยี มการ ก) เตรยี มการข้นึ ควบคมุ ทางยุทธการ กับ กกล.ผาเมือง ข) เคลอื่ นย้ายเขา้ พ้ืนท่ีก่อกำลงั เม่อื ส่งั ๒) ขน้ั ที่ ๒ ข้นั ปฏบิ ัติการ ก) เข้าตีผ่านแนวการวางกำลังของ กกล.ผาเมือง (ร้อย.คทร.) ใน ๐๖๐๑๐๐ มิ.ย. ๖๕ เพื่อเอาชนะ และ ผลกั ดันกำลงั ฝ่ายตรงข้ามบรเิ วณ ทหี่ มาย ก, ข, ค ข) ผลักดันข้าศึกที่เหลือให้ออกนอกแนวชายแดน สถาปนาแนวชายแดนในเขตรับผิดชอบ ขยายผลยึดครอง ภูมิประเทศสำคญั ในพ้นื ที่ และเตรยี มส่งมอบพ้ืนที่ ให้กบั กกล.ผาเมอื ง (กรม.ม.ฉก.) ต่อไป ค) หลงั ส่งมอบพน้ื ท่ี ใหเ้ คล่ือนยา้ ยเขา้ พื้นทกี่ ่อกำลังและเตรียมการปฏิบัติต่อไป เมอื่ ส่ัง ต. พล.พฒั นา ๓ ๑) สนบั สนนุ การสถาปนาความมั่นคงตามแนวชายแดนตามแผนป้องกันชายแดนประจำปี ๒) ติดตามสถานการณ์อยา่ งต่อเน่ือง เตรียมการฟื้นฟูบูรณะส่ิงปลูกสร้างของฝ่ายทหาร และพลเรือนจากการสรู้ บ ๓) เตรียมการสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิต่อกำลงั ที่ใช้ในขั้นที่ ๒ เม่อื สงั่ ๔) เตรยี มสง่ มอบ ช.๓ ให้กับ ทภ.๓ เมอ่ื สง่ั ถ. บชร.๓ ๑) ขัน้ ที่ ๑ ข้นั เตรยี มการ ก) สนับสนุนการส่งกำลังบำรงุ ตามแผนปอ้ งกนั ชายแดน โดยให้ความเรง่ ดว่ นตอ่ หนว่ ยท่ีควบคุมอำนวยการ ยุทธ์เม่ือมีการใช้ รอ้ ย.คทร. ทภ.๓ ข) เตรยี มการสนับสนุนการสง่ กำลังบำรุง โดยการจัดต้ัง สย.บชร.๓ ในขน้ั ที่ ๒ ๒) ขน้ั ที่ ๒ ข้ันปฏบิ ตั ิการ ก) จัดต้ัง สย.บชร.๓ สนับสนนุ การส่งกำลงั บำรุงตอ่ หน่วยท่ใี ชป้ ฏิบัติการ ในขนั้ การใช้ กรม ร./ม.ฉก. ของ ทภ.๓ หรือกองหนนุ ของ ทบ. ทเ่ี ขา้ ปฏบิ ตั ิการและหน่วยสนับสนุนท่ี ทบ.มอบใหข้ ้นึ สมทบ ข) จดั ตง้ั สย.บชร.๓ เพิ่มเติมสนบั สนนุ การส่งกำลงั บำรงุ เมือ่ ส่งั ท. มทบ.๓๕, ๓๘, ๓๙ ๑) ขัน้ ที่ ๑ ขนั้ เตรยี มการ ลบั มาก (เพอื่ การฝึก)

ลบั มาก ชดุ ที่ ของ ชดุ (เพอ่ื การฝกึ ) หน้า ๑๑ ของ ๑๓หนา้ แผนพทิ ักษ์ผาเมอื ง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ก) สนับสนุนการสง่ กำลงั บำรงุ ตามแผนปอ้ งกันชายแดน และขน้ั การใช้ รอ้ ย.คทร.ของ ทภ.๓ ข) เตรียมการและเสริมสร้างความพร้อมในการสนบั สนนุ เมื่อมีการปฏบิ ตั ใิ นข้ันที่ ๒ ๒) ขัน้ ที่ ๒ ขนั้ ปฏบิ ัติการ ก) สนับสนุนการสง่ กำลงั บำรุงต่อหน่วยท่ีเขา้ ปฏบิ ัติการตามการจดั เฉพาะกจิ และสว่ นทเี่ พ่ิมเตมิ ในข้นั ท่ี ๒ ข) เตรยี มปฏบิ ัติภารกจิ อ่นื เมื่อส่งั น. พนั .ป.ระยะยิงไกล ๑) ข้ันเตรยี มการ ก) เตรยี มความพร้อมของกำลงั พลและยุทโธปกรณ์ให้พร้อม ข) ประสานการปฏบิ ตั ิตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง เช่น แผนการเคลอ่ื นยา้ ย, แผนการยิง เป็นตน้ ค) เคลอื่ นย้ายเข้าท่ีรวมพล ข้ันตน้ ตามเวลาท่กี ำหนด ๒) ขั้นปฏิบัติการ : เพิ่มเติมกำลังยิง ให้แก่ พัน ป.ชต. ของ กรม ร./ม.ฉก. ทภ.๓ หรือ หน่วยพร้อมรบเคลื่อนที่เร็ว ของ ทบ. ทเี่ ขา้ ปฏบิ ตั ิการโดยเฉพาะ บ. ศปภอ.ทบ.๓ ๑) ขนั้ ท่ี ๑ ขั้นเตรยี มการ ก) เตรียมความพร้อมด้านกำลังพล ยุทโธปกรณ์ ข่ายการติดต่อสื่อสารและกำหนดที่ตั้งเรดาร์ให้สามารถ ตรวจจบั ได้ครอบคลุมพ้ืนทีร่ ับผิดชอบ ข) ติดตามสถานการณ์และประสานการปฏบิ ัติอย่างใกลช้ ิดกับ ศปก.ทภ.๓ ค) ประสานการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิดเพื่อประสานการตรวจจับอากาศยานและการแจ้งเตือนภัย สร.ภูหมันขาวและ ศคร. ดอยอินทนนท์ ของกองทพั อากาศ ๒) ขัน้ ที่ ๒ ขั้นปฏิบตั ิการ ก) จดั ศปภอ.ทบ.๓ สย. เพ่อื ควบคุมการปฏิบัติการป้องกนั ภยั ทางอากาศ ข) จัดเรดาร์แจ้งเตือนภัยทางอากาศระดับต่ำ ๑ ระบบ เข้าปฏิบัติการในพื้นที่ ที่มีภัยคุกคามทางอากาศ เพือ่ แจ้งเตอื นการเคลื่อนไหวอากาศยานฝา่ ยข้าศกึ ใหแ้ กห่ น่วยอาวุธ ปตอ. ค) จดั เรดาร์แจ้งเตือนภัยทางอากาศระดับต่ำ เพิ่มเติมตามความเหมาะสมใหค้ รอบคลุมพ้ืนท่ีปฏิบัติการใน กรณีเกดิ เหตุการณข์ ้นึ มากกวา่ ๑ พน้ื ท่ี ป. พัน.ปตอ.ผสม ๑) ข้ันท่ี ๑ ขั้นเตรยี มการ ก) เตรยี มความพร้อมกำลงั พลยทุ โธปกรณ์ และพื้นที่ปฏบิ ตั กิ าร ลบั มาก (เพื่อการฝกึ )

ลบั มาก ชุดท่ี ของ ชดุ (เพื่อการฝกึ ) หนา้ ๑๒ ของ ๑๓หนา้ แผนพิทกั ษ์ผาเมอื ง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ข) ประสานการปฏบิ ัตกิ ับ ศปภอ.ทบ.๓ อย่างต่อเนอื่ ง ๒) ข้นั ท่ี ๒ ขัน้ ปฏิบัติการ ก) ข้นึ ควบคมุ ทางยทุ ธการในการป้องกนั ภัยทางอากาศ กบั ศปภอ.ทบ.๓ สย. ข) จัดร้อยปตอ. สนับสนุนการป้องกันภัยทางอากาศ ให้กับ กรม ร.ฉก./กรม ม.ฉก. ที่เข้าปฏิบัติการ ผลักดนั ข้าศึก ผ. รอ้ ย.ป.คปม. ๑) ขั้นเตรียมการ ก) เตรียมความพรอ้ มของกำลังพลและยุทโธปกรณ์ใหพ้ ร้อม ข) ประสานการปฏิบัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนการเคลื่อนย้าย, แผนการตรวจขับเป้าหมาย และที่ตั้ง ของส่วนตา่ งๆ ค) เคล่ือนยา้ ยเข้าทรี่ วมพล ขั้นตน้ ตามเวลาทก่ี ำหนด ๒) ขน้ั ปฏบิ ตั ิการ ก) ดำเนินการตรวจจับเปา้ หมาย ป.คปม., เปา้ หมายเคล่ือนท่ี ข) UAV ทำการลาดตระเวน และปรับการยิงตามท่กี ำหนด ฝ. ส.พัน.๒๓ ๑) ขั้นท่ี ๑ ขัน้ เตรียมการ ก) ปฏบิ ัติตามแผนปอ้ งกนั ชายแดนประจำปีของ ทภ.๓/ศปก.ทภ.๓ ข) เตรียมการสนับสนนุ ทางการส่ือสารต่อหนว่ ยที่เข้าปฏบิ ัติการในขั้นท่ี ๒ ๒) ขัน้ ที่ ๒ ขัน้ ปฏบิ ัติการ ก) ดำเนินการวางระบบการติดต่อสื่อสารในการควบคุมอำนวยการยุทธ์ระหว่าง ศปก.ทภ.๓ และหน่วยที่ ปฏบิ ัตกิ ารตามแผน ข) เตรียมปฏบิ ัตภิ ารกิจอน่ื ๆ เม่อื สั่ง พ. นรข.เขตเชียงราย : เตรียมปฏิบตั ภิ ารกจิ อืน่ ๆ ในขน้ั ที่ ๒ เพือ่ สนบั สนนุ การปฏบิ ัติการเมื่อสงั่ ฟ. บก.ตชด.ภาค ๓ ๑) สนบั สนุนการปฏิบัตติ ามแผนป้องกนั ชายแดนประจำปขี อง ทภ.๓ ด้วยกำลังทก่ี ำหนด ๒) เตรียมการสนบั สนนุ การปฏบิ ัติตามแผนเผชญิ เหตุในขั้นท่ี ๒ ม. กองหนุน ๑) กรม ร./ม. ฉก. ของ พล.ม.๑ ที่ไม่ได้รบั มอบภารกจิ จาก ศปก.ทภ.๓ ในพน้ื ท่ขี ดั แย้ง ลบั มาก (เพอื่ การฝกึ )

ลบั มาก ชุดที่ ของ ชดุ (เพ่อื การฝึก) หนา้ ๑๓ ของ ๑๓หน้า แผนพทิ กั ษผ์ าเมือง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ๒) กองหนนุ ของ ทบ. ซ่งึ มอบความเรง่ ดว่ นให้ ทภ.๓ ไดแ้ ก่ กรม ร.ฉก.ของ ทภ.๒ และ พล.ร.๙ ย. คำแนะนำในการประสาน ๑) แผนนีม้ ีผลในขน้ั เตรียมการเม่อื ไดร้ ับและให้ทำการฝึกซกั ซ้อมแผนเมอ่ื ได้รับมผี ลในขัน้ ปฏิบตั กิ ารเม่ือสั่ง ๒) วัน ต. คอื วันเรม่ิ ปฏิบตั ติ ามแผนในขน้ั ท่ี ๒ ประกาศโดย ทบ. ๓) การสมทบ การรบั การสมทบ และขึ้นควบคุมทางยุทธการเป็นผลเมื่อสัง่ ๔) แนวเขตแดนไม่เป็นขีดจำกัดต่อการปฏิบัติทางยุทธวิธี การรุกออกนอกประเทศจะต้องได้รับอนุมัติจาก ทบ. ก่อนเทา่ นัน้ ๕) ให้หน่วยที่ปฏิบัติตามแผนนีเ้ ตรยี มกำลัง และใช้กำลังป้องกันชายแดน ให้สอดคลอ้ งกับการปฏบิ ตั ติ ามแผนน้ี ๖) หาก กรม ร. หรอื กรม ม.ใด เปน็ หน่วยปฏบิ ัตภิ ารกิจป้องกนั ชายแดน และเปน็ หนว่ ยทจ่ี ะต้องจัดต้ัง กรม ร./ ม.ฉก.ของ ทภ.๓ ตามแผนน้ี ใหก้ องพลเตรยี มแผนการสับเปลยี่ นหรือแผนการวางกำลงั ใหม่เพ่ือให้ กรม ร./ม.ฉก.ทภ. ๓ สามารถปฏิบตั ภิ ารกิจได้โดยไม่ชกั ชา้ ๗) เมื่อการปฏิบัติตามแผนนี้จะต้องใช้กำลังของ กรม ร.ฉก.หรือ กรม ม.ฉก.ของ ทภ.๓ เข้าปฏิบัติการ ให้ทุก หนว่ ยเตรียมการปฏิบตั ิในขนั้ ท่ี ๓ (ขั้นปอ้ งกนั ประเทศ) ของแผนป้องกันประเทศของ ทภ.๓ ๘) ให้หน่วยที่ปฏิบัติตามแผนนี้ประสานแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยฝ่ายพลเรือน และแผนการ ปฏบิ ตั ิในพน้ื ทสี่ ว่ นหลงั ได้โดยตรง ๙) ทภ.๓ อาจประกาศใช้แผนขั้นที่ ๓ (ขั้นป้องกันประเทศ) ของแผนพิทักษ์น้ำเงิน - ทภ.๓ ต่อจากแผนป้องกัน ชายแดน โดยไม่ใชแ้ ผนน้ี หากภยั คุกคามเกินขดี ความสามารถของ กรม ร./ม.ฉก.ของ ทภ.๓ หรอื กองหนนุ ของ ทบ. ๑๐) ทภ.๓/ศปก.ทภ.๓ จะสั่งการเพ่มิ เตมิ นอกเหนอื จากแผนน้ตี ามสถานการณ์และตามความเหมาะสม ๔. การชว่ ยรบ : ผนวก จ กองกำลังผาเมืองจัดตั้งพื้นที่สนับสนุน ที่บริเวณ ร้อย.ตชด.ที่ ๓๑๔ ประกอบด้วย ตำบลส่งกำลัง , ตำบลจ่าย, ตำบลซ่อม และทพ่ี ยาบาลกองทัพ ๕. การบงั คบั บัญชาและการสื่อสาร ก. การบังคบั บญั ชา : ผนวก ฉ ๑) ทภ.๓/ศปก.ทภ.๓ และ กอ.รมน.ภาค ๓ ทต่ี ั้งคา่ ยสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช อ.เมือง จว.พ.ล. ๒) ทก.หลกั ที่ตง้ั ท่คี ่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อ.เมือง จว.พ.ล. ๓) ทก.ยว.ทภ.๓/ศปก.ทภ.๓ ทตี่ ้งั ที่เดียวกบั ทก.ยว.ผาเมอื ง บา้ นปางคอม ต.บ่อเบ้ยี อ.บ้านโคก จว.อ.ต. QA2016 ลบั มาก (เพือ่ การฝกึ )

ลบั มาก ชุดท่ี ของ ชดุ (เพื่อการฝกึ ) หนา้ ๑๔ ของ ๑๓หนา้ แผนพิทกั ษผ์ าเมอื ง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ข. การสอื่ สาร : ผนวก ช นสป. และ นปส.ศปก.ทภ.๓ ฉบับปจั จบุ ันมผี ลบังคบั ใช้ ตอบรับ: นำสาร (ลงชือ่ ) พล.ท. สาธิต พิธรตั น์ (สาธติ พธิ รตั น์) มทภ.๓/ผบ.ศปก.ทภ.๓ ผนวก ก การจัดเฉพาะกจิ ข ข่าวกรอง ค แนวความคดิ ในการปฏิบตั ิ ง การยิงสนบั สนุน จ การช่วยรบ ฉ การบงั คับบัญชา ช การสื่อสาร ซ การปฏบิ ตั ิการพิเศษ ด การแจกจ่าย เปน็ ค่ฉู บบั พ.อ. (กิตติพงศ์ ชนื่ ใจชน) ผอ.กยก.ทภ.๓/หน.ฝยก.กกล.ฉก.ร่วม ทภ.๓ พ.ค.๖๕ ลบั มาก (เพ่ือการฝึก)

ลบั มาก (เพื่อการฝึก) ชุดที่ ของ ชดุ หน้า ๑ ของ ๑ หนา้ ผนวก ก (การจัดเฉพาะกิจ) ประกอบแผนเผชญิ เหตุ-ทภ.๓ ๑. ข้นั ที่ ๑ ข้ันเตรยี มการ ก. กำลงั ปอ้ งกนั ชายแดนด้านตะวันออก ประจำปี : อนุผนวก ๑ ข. กำลงั ร้อย.คทร.ของ ทภ.๓ : อนผุ นวก ๒ ค. กำลังของ ทบ. : กำลงั ๑ ร้อย รพศ. และ ๑ รอ้ ย.จจ. ของ นสศ. และ หนว่ ยพร้อมรบเคลอ่ื นท่เี รว็ ของ ทบ. ปฏบิ ัติเมื่อสงั่ ๒. ขั้นท่ี ๒ ขั้นปฏิบัติการ ก. กำลงั ของ ทภ.๓ : ปฏิบตั ิเมอ่ื ส่ัง ๑) กรม ร.ฉก. ของ ทภ.๓ จดั จาก พล.ร.๔ : อนผุ นวก ๓ ๒) กรม ร.ฉก. ของ ทภ.๓ จดั จาก พล.ร.๗ : อนผุ นวก ๔ ๓) กรม ม.ฉก. ของ ทภ.๓ จดั จาก พล.ม.๑ : อนผุ นวก ๕ ข. กำลงั ของ ทบ. ทจี่ ะมอบให้กับ ทภ.๓ : ปฏบิ ตั เิ มื่อส่งั ๑) นสศ. : หน่วยเฉพาะกิจปฏบิ ัติการพิเศษ (ฉก.ปพ.) ประกอบดว้ ย ๒ รอ้ ย.รพศ., ๑ ร้อย.จจ., ๑ มว.ปพ., ๑ มว.ปจว.ฉก., ๑ ชดุ สอื่ สารทางยทุ ธวธิ ี ๒) พล.ป. : ๑ พัน.ปนร.๓๔ ขนาด ๑๕๕ มม. : ๑ รอ้ ย.ป.คปม.(-) - ๑ ชดุ เรดาร์กำหนดทีต่ ้งั ป. และ ค. (AN/TPQ36) - ๑ ชุดเรดาร์กำหนดทตี่ ั้งเปา้ หมายเคลอ่ื นที่ (BOR – A 550) - ชุด บ.ตรวจการณ์ขนาดเลก็ ควบคมุ ระยะไกล (UAV) ๓) นปอ. : ศปภอ.ทบ.๓ สย. : ๑ พัน.ปตอ .ผสม ๔) ขกท. : ๑ ร้อย.ขกท. ๕) ศบบ. : ๑ ชุด ฮ โจมตี หรอื ฮ.ตดิ อาวุธ : ๑ หนว่ ย บ. ปกี หมุน (สนบั สนุน รอ้ ย.คทร.ทภ.๓) ๖) หนว่ ยพร้อมรบเคลื่อนท่เี ร็วของ ทบ. : อนุผนวก ๖ ค. กองหนนุ ๑) กรม ร.ฉก.ทภ.๒ ๒) พล.ร.๙ ลบั มาก (เพือ่ การฝึก)

ลบั มาก (เพอื่ การฝึก) ชุดที่๖ ๖ของ ชดุ หน้า ๑ ของ ๑ หนา้ อนุผนวก ๑ (กำลงั ป้องกันชายแดนด้านตะวันออกประจำปี) ประกอบผนวก ก (การจดั เฉพาะกิจ) ประกอบแผนเผชิญเหตุ – ทภ.๓ ๑. กล่าวโดยทั่วไป : ทภ.๓/ศปก.ทภ.๓ จัดกำลังป้องกันชายแดนประจำปีทั้งด้านตะวันตก และ ตะวันออก ตามท่ี ทบ. ได้อนุมัติอัตรากำลังจากการประเมินค่าภัยคุกคาม ซึ่งกำลังในแต่ละปีจะมีความ ใกล้เคียงกัน เน่ืองจากภัยคุกคามคงยังไม่ลดลงในระยะอันใกล้นี้ โดยกำลังป้องกันชายแดน ได้แก่ กำลัง ของ พล.ร.๔, พล.ร.๗, พล.ม.๑, กรม.ทพ., ตชด. และหน่วยท่ีเก่ียวข้อง รวมท้ังยังมีกำลังตามแผนงาน รกั ษาความมั่นคงภายในของ กอ.รมน. และกำลงั ประชาชนทุกประเภทท่ีได้จัดต้ังไว้แล้ว ซึง่ กำลงั ทั้งหมด จะถกู ผนกึ กำลงั เพื่อใชใ้ นการป้องกันประเทศตามยุทธศาสตรต์ ่อส้เู บ็ดเสร็จ ๒. การจดั กำลงั : กำลงั ปอ้ งกันชายแดนด้านตะวนั ออกของ ทภ.๓ มีโครงสร้างการจดั กำลัง ดงั นี้ ทภ.๓/ศปก.ทภ.๓ กกล.นเรศวร กกล.ผาเมือง RDF กำลังอ่นื ๆ (รบั ผิดชอบ จว.ต.ก., จว.ม.ส.) (รับผิดชอบ จว.ช.ม., จว.ช.ร.) ๓. การประกอบกำลัง : ตามแผนป้องกนั ชายแดนประจำปขี อง ทภ.๓ ************************* ลบั มาก (เพ่ือการฝกึ )

ลบั มาก (เพอื่ การฝกึ ) ชุดที่๖ ของ ชุด หนา้ ๑ ของ ๑ หน้า อนผุ นวก ๒ (กำลังกองร้อยเตรยี มพร้อมของ ทภ.๓ (ประกอบผนวก ก (การจดั เฉพาะกิจ) ประกอบแผนเผชิญเหตุ – ทภ.๓ ๑. กล่าวโดยท่ัวไป : ทบ. ได้กำหนดให้ทุก ทภ. จัดเตรยี มหน่วยกำลังรบและหน่วยสนับสนุนการรบ ท่ีมคี วามพรอ้ มรบสูงสุด ระดบั กองรอ้ ย เพือ่ ใชเ้ ป็นกำลงั เผชญิ สถานการณ์ขัน้ ต้น ตามแผนของหนว่ ย ในการปฏิบัติภารกิจป้องกันประเทศ การรักษาความม่ันคงภายใน และการรักษาความสงบเรียบร้อย ภายในประเทศ โดยให้จดั กำลังจาก กรม ร., กรม ม. และ กรม ป. ทุกกรมๆ ละ ๑ กองรอ้ ย เพ่ือเป็น รอ้ ย.คทร.ของ ทภ. สำหรับ ทภ.๓ มี ๖ รอ้ ย.คทร. และ ๓ ร้อย.ป.เตรียมพรอ้ ม ซงึ่ จะใชก้ ำลังดังกลา่ ว ตามแผนป้องกันชายแดนประจำปี ในกรณเี กดิ สถานการณร์ ุนแรง ที่กำลงั ปอ้ งกนั ชายแดนไม่เพยี งพอ หรอื ใชต้ ามแผนเผชญิ เหตุในข้นั เตรียมการ โดย มทภ. มอี ำนาจส่ังใช้ รอ้ ย.คทร. ของแตล่ ะหน่วยไดไ้ ม่ เกนิ คร้ังละ ๑ เดอื น ๒. การจัดกำลงั กองร้อยเตรยี มพร้อมของ ทภ.๓ ก. พล.ร.๔ จัด กองร้อยเตรยี มพร้อม ทภ.๓ ดงั นี้ - ร.๔ จดั ๑ ร้อย.คทร. - ร.๑๔ จดั ๑ ร้อย.คทร. - ป.๔ จดั ๑ กองร้อย ป. เตรียมพรอ้ ม ข. พล.ร.๗ จัด กองรอ้ ยเตรยี มพร้อม ทภ.๓ ดงั น้ี - ร.๗ จัด ๑ รอ้ ย.คทร. - ร.๑๗ จดั ๑ รอ้ ย.คทร. - ป.พัน.๗ หรือ ป.พนั .๑๗ จัด ๑ กองรอ้ ย ป. เตรียมพร้อม ค. พล.ม.๑ จดั กองรอ้ ยเตรยี มพรอ้ ม ทภ.๓ ดงั นี้ - ม.๒ จดั ๑ ร้อย.คทร. - ม.๓ จัด ๑ รอ้ ย.คทร. - ป.๒๐ จัด ๑ กองร้อย ป. เตรียมพร้อม ลบั มาก (เพ่ือการฝกึ )

ลบั มาก (เพอ่ื การฝึก) ชุดท่ี ๖ ของ ชุด หนา้ ๑ ของ ๑ หนา้ อนผุ นวก ๓ (กรม ร.ฉก.ของ ทภ.๓) ประกอบผนวก ก (การจดั เฉพาะกจิ ) ประกอบแผนเผชิญเหตุ – ทภ.๓ ๑. กล่าวโดยท่ัวไป : พล.ร.๔ เป็นหน่วยรับผิดชอบจัด กรม ร.ฉก. ของ ทภ.๓ เพื่อปฏิบัตติ ามแผนเผชิญ เหตุด้านตะวันออก ในขั้นตอนปฏิบัติการ การประกอบกำลังของหน่วยจำเป็น ต้องมีความอ่อนตัว มี ความสมบูรณ์ในตัวเองมีอำนาจกำลังรบรุนแรง สามารถทำการรบแตกหักและได้เปรียบต่อกำลังข้าศึก สำหรับการจัดสามารถเปล่ียนแปลงหน่วยรับผิดชอบได้ตามสถานการณ์ และตามความเหมาะสมในแต่ ละปี เน่ืองจากหน่วยต้องจัดกำลังป้องกันชายแดนประจำปีจำนวนมาก รวมท้ังจะพิจารณากำลังส่วนยิง สนับสนุนและส่วนอืน่ ๆ ท่จี ะได้รับจาก ทบ. เพิม่ เติม ๒. การจดั กำลัง : กรม ร.ฉก. ของ ทภ.๓ (พล.ร.๔) มีโครงสร้างการจดั กำลงั ดังน้ี กรม ร.ฉก. ทก.พล.ร.๔ - ทก.กรม ร.ฉก. - บก. และ รอ้ ย.บก. - ร้อย.ในอัตรา กรม ร.ฉก. - บก.และ รอ้ ย.บก.ป.๔ - พนั .ร.ฉก.ที่ ๑ - บก.และร้อย.บก.ม.พัน.๙, ๑ รอ้ ย.ถ. - พนั .ร.ฉก.ท่ี ๒ - บก.และรอ้ ย.บก.ช.พนั .๔,๑ ร้อย.ช.สนาม - พัน.ร.ฉก.ที่ ๓ - บก.และรอ้ ย.บก.ส.พัน.๔, ๑ ร้อย.ปฏบิ ัติการ - ป.พัน.๔ : ชต. สอื่ สาร - รอ้ ย.ปตอ. - บก.พัน.สร.๔ , ๑ ร้อย.สร.สนบั สนนุ - ๑ ร้อย.สร. - กอง/ร้อย.นขต.พล.ร.๔ - ๑ ชดุ สส. - ชดุ ฮ.โจมตี : ขน้ึ ควบคมุ ทางยุทธการ - ๑ มว.บ. - พนั .ปนร.๓๔ : ขึน้ สมทบ - ๑ มว.สห. - พันปตอ.ผสม (-) : ขึน้ สมทบ - ๑ มว.ซบร.สน. - ร้อย.คปม.: ขน้ึ สมทบ - ๑ มว.รยบ. - ๑ ชดุ ส่งกำลงั สป. - ๑ ชุด จดั การศพ ลบั มาก (เพอ่ื การฝึก)

ลบั มาก (เพ่ือการฝกึ ) ชดุ ท่ี ของ ชดุ หนา้ ๑ ของ ๑ หนา้ อนผุ นวก ๔ (กรม ร.ฉก.ของ ทภ.๓) ประกอบผนวก ก (การจัดเฉพาะกิจ) ประกอบแผนเผชญิ เหตุ–ทภ.๓ ๑. กล่าวโดยทั่วไป : พล.ร.๗ เป็นหน่วยรบั ผดิ ชอบจัด กรม ร.ฉก. ของ ทภ.๓ เพื่อปฏิบัติตามแผนเผชิญ เหตุด้านตะวันออก ในขั้นตอนปฏิบัติการ การประกอบกำลังของหน่วยจำเป็น ต้องมีความอ่อนตัว มี ความสมบูรณ์ในตัวเองมีอำนาจกำลังรบรุนแรง สามารถทำการรบแตกหักและได้เปรียบต่อกำลังข้าศึก สำหรับการจัดสามารถเปลี่ยนแปลงหน่วยรับผิดชอบได้ตามสถานการณ์ และตามความเหมาะสมในแต่ ละปี เน่ืองจากหน่วยต้องจัดกำลังป้องกันชายแดนประจำปีจำนวนมาก รวมท้ังจะพิจารณากำลังส่วนยิง สนบั สนนุ และสว่ นอน่ื ๆ ทจ่ี ะไดร้ บั จาก ทบ. เพิม่ เตมิ ๒. การจัดกำลัง : กรม ร.ฉก. ของ ทภ.๓ (พล.ร.๗) มโี ครงสรา้ งการจดั กำลัง ดังน้ี กรม ร.ฉก. ทก.พล.ร.๗ - ทก.กรม ร.ฉก. - บก. และ ร้อย.บก. - ร้อย.ในอตั รา กรม ร.ฉก. - บก.และร้อย.บก.ม.พนั .๙,๑ รอ้ ย.ถ. - พัน.ร.ฉก.ที่ ๑ - บก.และรอ้ ย.บก.ช.พัน.๔,๑ รอ้ ย.ช.สนาม - พนั .ร.ฉก.ที่ ๒ - บก.และรอ้ ย.บก.ส.พนั .๔,๑ ร้อย.ปฏิบตั กิ าร - พนั .ร.ฉก.ท่ี ๓ ส่อื สาร (-) - ป.พนั .๗ : ชต. - บก.และรอ้ ย.บก.พนั .สร.๒๓,ร้อย.สร.สนบั สนุน - รอ้ ย.ปตอ.ผสม - ร้อย.ซบร.สน.(พนั .ซบร.๒๓) (-) - ๑ รอ้ ย.สร. (พนั .สร.๒๓) - รอ้ ย.ขส.รยบ.(เบา) (พัน.ขส.๒๓) (-) - ๑ ชดุ สส. (ส.พัน.๔) - ร้อย.สบร.(พัน.สบร.๒๓) (-) - ๑ มว.บ.(รอ้ ย.บ.พล.ร.๔) - ร้อย.บ.พล.ร.๔ (-) - ๑ มว.สห.(รอ้ ย.สห.พล.ร.๔) - ร้อย.สห.พล.ร.๔ (-) - ๑ มว.ซบร.สน.(รอ้ ย.ซบร.สน.) - รอ้ ย.ลว.ไกล พล.ร.๔ (-) - ๑ มว.รยบ.(ร้อย.ขส.รยบ.(เบา)) - ชุด ฮ.โจมตี : ขึ้นควบคมุ ทางยทุ ธการ - ๑ ชดุ สง่ กำลงั สป.(ร้อย.สบร.) - พัน.ปนร.๓๔: ขึน้ สมทบ - ๑ ชดุ จดั การศพ (รอ้ ย.สบร.) - พนั .ปตอ.ผสม (-) : ข้ึนสมทบ - ร้อย.คปม.: ขนึ้ สมทบ หมายเหตุ ระหวา่ งการเสริมสรา้ งหนว่ ยของ พล.ร.๗ การสนบั สนนุ จาก พล.ร.๔, บชร.๓ หากไมส่ ามารถสนับสนนุ ได้ ศปก.ทภ.๓ จะขอรบั การสนับสนุนจาก ทบ. ลบั มาก (เพอ่ื การฝึก)

ลบั มาก (เพอื่ การฝึก) ชดุ ที่ ของ ชุด หน้า ๑ ของ ๑ หน้า อนผุ นวก ๕ (กรม ม.ฉก.ของ ทภ.๓) ประกอบผนวก ก (การจัดเฉพาะกจิ ) ประกอบแผนเผชิญเหตุ –ทภ.๓ ๑. กล่าวโดยทว่ั ไป : พล.ม.๑ เป็นหนว่ ยรับผิดชอบจัด กรม ม.ฉก. ของ ทภ.๓ เพอ่ื ปฏบิ ัติตามแผนเผชิญ เหตุด้านตะวันออก ในขั้นตอนปฏิบัติการ การประกอบกำลังของหน่วยจำเป็น ต้องมีความอ่อนตัว มี ความสมบูรณ์ในตัวเองมีอำนาจกำลังรบรุนแรง สามารถทำการรบแตกหักและได้เปรียบต่อกำลังข้าศึก สำหรับการจัดสามารถเปลี่ยนแปลงหน่วยรับผิดชอบได้ตามสถานการณ์ และตามความเหมาะสมในแต่ ละปี เนื่องจากหน่วยต้องจัดกำลังป้องกันชายแดนประจำปีจำนวนมาก รวมทั้งจะพิจารณากำลังส่วนยิง สนบั สนุนและส่วนอ่นื ๆ ท่จี ะได้รับจาก ทบ. เพิม่ เติม ๒. การจดั กำลัง : กรม ม.ฉก.ของ ทภ.๓ (พล.ม.๑) มีโครงสร้างการจัดกำลงั ดงั นี้ กรม ม.ฉก. ทก.พล.ม.๑ - ทก.กรม ม.ฉก. - บก. และ ร้อย.บก. - ร้อย.ในอัตรา กรม ม.ฉก. - บก.และ รอ้ ย.บก.ป.๒๑ - พนั .ม.ฉก.ท่ี ๑ - บก.และร้อย.บก.ม.พัน.๒๖ , ๑ รอ้ ย.ม. - พัน.ม.ฉก.ที่ ๒ - บก.และรอ้ ย.บก.ม.พัน.๒๘, ๑ ร้อย.ม. - พัน.ม.ฉก.ที่ ๓ - บก.และร้อย.บก.ช.พนั .๘,๑ รอ้ ย.ช.สนาม - ป.พนั .๒๐: ชต. - บก.และรอ้ ย.บก.ส.พนั .๑๑, ๑ ร้อย.ปฏิบัติการ - รอ้ ย.ปตอ. สื่อสาร - ๑ ร้อย.สร. - บก.พนั .สร.๘, ๑ รอ้ ย.สร.สนบั สนุน - ๑ ชุด สส. - กอง/รอ้ ย.นขต.พล.ม.๑ - ๑ มว.บ. - ชุด ฮ.โจมตี : ข้นึ ควบคมุ ทางยทุ ธการ - ๑ มว.สห. - พนั .ปนร.๓๔ : ข้ึนสมทบ - ๑ มว.ซบร.สน. - พัน ปตอ.ผสม (-) : ขึ้นสมทบ - ๑ มว.รยบ. - รอ้ ย.คปม.: ขนึ้ สมทบ - ๑ ชดุ ส่งกำลงั สป. - ๑ ชุด จัดการศพ ลบั มาก (เพือ่ การฝึก)

ลบั มาก (เพือ่ การฝกึ ) ชุดที่ ๖ ของ ชุด หนา้ ๑ ของ ๑ หน้า อนุผนวก ๖ (หนว่ ยพรอ้ มรบเคลอื่ นทีเ่ รว็ ของ ทบ.) ประกอบผนวก ก (การจัดเฉพาะกจิ ) ประกอบแผนเผชญิ เหตุ – ทภ.๓ ๑. กล่าวโดยทั่วไป : หน่วยพร้อมรบเคล่ือนที่เร็วของ ทบ. เป็นกองหนุนของ ทบ.ท่ีมอบให้ขึ้นควบคุม ทางยุทธการ ต่อ ศปก.ทภ.๓ เพื่อปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตุ ของ ทภ.๓ การประกอบกำลังของหน่วยมี ความอ่อนตัว มีความสมบูรณ์ในตัวเองมีอำนาจกำลงั รบรุนแรง สามารถทำการรบแตกหักและได้เปรียบ ตอ่ กำลังข้าศกึ ๒. การจดั กำลัง : หน่วยพร้อมรบเคลอ่ื นที่เร็วของ ทบ. มีโครงสร้างการจัดกำลงั ดงั นี้ หนว่ ยพร้อมรบเคลื่อนทเี่ รว็ ของ ทบ. - ร.๓๑ รอ. - ร.๓๑ พัน.๑ รอ. - ร.๓๑ พัน.๒ รอ. - ร.๓๑ พัน.๓ รอ. - ป.๑ พนั .๓๑ รอ. - ร้อย.ม.ลว. - ร้อย.ช.สนาม - ร้อย.ปตอ.(ผสม) - หนว่ ยบินเฉพาะกจิ - มว.ป.คปม. - รอ้ ย.ขกท. - ร้อย.สร. - ชดุ ควบคุมการเคลอ่ื นยา้ ย - ชุดควบคมุ การสง่ กำลังและซ่อมบำรงุ - นตต.(พล.ป) ลบั มาก (เพอื่ การฝกึ )

เพอ่ื การฝกึ ชดุ ที่ ของ ๗๕ ชุด หน้า ๑ ของ ๘ หน้า ผนวก ข (ขา่ วกรอง) ประกอบ แผนยุทธการพทิ กั ษ์ผาเมอื ง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ๑. กล่าวทวั่ ไป ก. สถานการณท์ ัว่ ไป ๑) ประเทศนำ้ เงินและประเทศชมพู ต้ังอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จากประวตั ิศาสตร์ประเทศ น้ำเงินกับประเทศชมพู เมื่อประมาณ ๒๐๐ ปีท่ีผ่านมาประเทศชมพูเป็นส่วนหน่ึงของประเทศน้ำเงินมาก่อน ต่อมาเม่ือประมาณ ๑๐๐ ปีก่อนถึงปัจจุบัน มีประเทศทางตะวันตกได้เข้ามารุกรานประเทศน้ำเงินและได้ขอ แบ่งแยกดินแดนของประเทศน้ำเงินบางส่วนไป ซ่ึงในส่วนน้ันก็คือประเทศชมพู และประเทศตะวนั ตกนั้นได้ทำ สนธิสัญญาการแบ่งเขตแนวชายแดนกับประเทศน้ำเงิน แต่การแบ่งแนวเขตแดนนั้นมีความสับสนในเร่ืองภูมิ ประเทศ กับความเป็นอยู่ของประชาชนที่อาศัยอยใู่ นพ้ืนที่น้ันมาก่อน ต่อมาประเทศจากตะวันตกได้ให้เอกราช แก่ประเทศชมพูในการปกครองตนเองเม่ือประมาณ ๕๐ ปีท่ีผ่านมา โดยประเทศชมพู พยายามอ้างหลักฐาน แผนท่ีตามสนธิสัญญา น้ำเงิน- ประเทศตะวันตก พ.ศ.๒๔๔๗ และ ปี ๒๔๕๐ (ค.ศ.๑๙๐๔ และ ๑๙๐๗) ขณะที่ประเทศน้ำเงิน ยึดถือเส้นเขตแดนตามแผนท่ี มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ชดุ L ๗๐๑๗ ทำให้ประเทศน้ำ เงนิ และประเทศชมพหู าข้อยุติในเรื่องเขตแดนไม่ได้ ซึ่งยงั คงเปน็ ปญั หาพื้นที่ทับซ้อนมาถึงปัจจุบนั ๒) พื้นที่ ๓ หมู่บ้าน ประกอบด้วย บ.ใหม่, บ.กลาง และ บ.สว่าง เดิมต้ังอยู่ใน ต.ม่วงเจ็ดต้น ก่ิง อ.บ้าน โคก จว.อ.ต. ปัจจุบันต้ังอยู่ใน ต.บ่อเบี้ย อ.บ้านโคก จว.อ.ต.ท้ัง ๓ หมู่บ้าน เป็นหมบู่ ้านขนาดเล็ก ต้งั อยู่บริเวณ พรมแดนประเทศน้ำเงิน – ซ่ึงมีพ้ืนท่ีทาบทับประมาณ ๒๓ ตร.กม. และมีประชากรประมาณ ๑,๑๐๐ คน เดิม ไม่มีเจ้าหน้าที่ของประเทศน้ำเงินเข้าไปประจำการ เพราะเป็นเขตอิทธิพลของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ เม่ือ สถานการณ์การก่อการร้ายของคอมมิวนิสต์ได้เร่ิมสงบลงในปี พ.ศ.๒๕๒๕ ประเทศน้ำเงิน โดยให้ พล.ม.๑ ได้ เริ่มสร้างถนนเส้นทางสายยุทธศาสตร์ เพ่ือความมั่นคงตามแนวชายแดน จาก อ.เวียงสา จว.น.น. ผ่าน บ.น้ำ มวบ – บ.น้ำป้ี – บ.สาลี่ อ.สา จว.น.น. ถึง บ.บ่อเบี้ย อ.บ้านโคก จว.อ.ต. ถนนเส้นน้ีจะตัดผ่านและเชื่อม ๓ หมู่บ้าน เข้าด้วยกัน ในลักษณะเป็นถนนวงแหวนตลอดแนว ขณะที่ดำเนินการก่อสร้างเส้นทางไปถึง กิ่วนก แซว ได้ถูกกำลังประเทศชมพดู ำเนนิ การขดั ขวาง จนเกิดการปะทะ โดยฝ่ายชมพเู ร่ิมตน้ ต่อสูด้ ้วยอาวุธก่อน และ อา้ งว่าประเทศนำ้ เงินสรา้ งเส้นทางรุกล้ำเข้าไปในพ้ืนท่ี บ.ตาแสง บ.ใหญ่ เมืองปากลาย แขวงไซยะบุลี ซงึ่ อยู่ใน ดินแดนของประเทศชมพู โดยท้ังสองฝ่ายต่างอ้างสิทธ์ิเหนือหมู่บ้านดังกล่าว เน่ืองจากยึดถือแผนท่ีคนละฉบับ จงึ นำมาสู่ความขัดแย้งและเกิดการสู้รบข้ึน เน่ืองจากยึดถือแผนท่ีคนละฉบับ ทั้งสองประเทศได้พยายามเจรจา และหาแนวทางแก้ไขอย่างสันติวิธีอย่างต่อเน่ือง จนกระทั่งปี พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๕ แต่ผลการเจรจาไม่สัมฤทธ์ิ ผล เพอื่ การฝึก

เพอื่ การฝึก ชดุ ที่ ของ ๗๕ ชุด หนา้ ๒ ของ ๘ หนา้ ผนวก ข (ข่าวกรอง) ประกอบแผนยุทธการพทิ ักษผ์ าเมือง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ๓) ต้ังแต่ปี ๒๕๖๔ เป็นต้นมา ประเทศชมพู มีการพยายามปรับปรุงเส้นทาง เครือข่ายติดต่อส่ือสาร ปรับพื้นท่ีเพ่ือทำตลาดการค้า ก่อสร้างอาคารเรียนในพ้ืนท่ีพิพาท ๓ หมู่บ้าน เพิ่มมากข้ึน โดยร้องขอการ สนับสนนุ จากประเทศมหาอำนาจนอกภมู ิภาค ทั้งนี้ได้รับการสนับสนุนจากประเทศขาว และประเทศส้มในการ ดำเนินการในพืน้ ท่ี ๔) เมอ่ื ๑๖ พ.ย. ๖๔ รมว.กต.ชมพู แถลงต่อที่ประชมุ สภาแห่งชาติชมพู ชุดท่ี ๙ สมัยสามัญคร้งั ที่ ๒ ว่า ประเทศชมพู พร้อมเจรจาสำรวจและปักปนั เขตแดนกบั ประเทศน้ำเงนิ ๕) ต้นปี ๒๕๖๕ ประเทศชมพู มีนโยบายในการผลักดันประเด็นการปักปันเขตแดนอย่างเป็นรูปธรรม และร้องขอการสนับสนุนจากประเทศมหาอำนาจนอกภูมิภาค ในการหนุนหลัง ระหว่างทำการเจรจาปักปนั เขต แดนกับประเทศน้ำเงนิ ๖) เมอ่ื ปลาย เม.ย.๖๕ ประเทศชมพู ไดเ้ รียกรอ้ งการเจรจาปักปนั เขตแดนต่อประเทศน้ำเงิน โดยอ้างผล จากการอ้างสิทธเ์ิ หนือพ้ืนท่ีทับซ้อนสามหมู่บา้ นทางพฤตินัย ได้แก่การก่อสร้างต่าง ๆ ตลอดจนชุมชม ชาวชมพู ท่ีอาศัยในพื้นที่ รวมถึงการปฏิบัติการข่าวสารด้วยการชี้แจงเป็นลายลักษณ์อักษร และทางการทูต โดยได้รับ การสนับสนุนจาก ประเทศขาว และประเทศสม้ ในการรบั รองสถานภาพ ๗) ประเทศน้ำเงิน ปฏิเสธข้อเรียกร้องและการแสดงสิทธ์ิของ ประเทศชมพู และตอบโต้ว่าการเข้ามา ดำเนินการในพ้ืนที่ของ ประเทศชมพู เป็นการละเมิดข้อตกลงในพื้นท่ีทับซ้อน และเรียกร้องให้ยุติการ ดำเนนิ การในพ้ืนที่ สง่ ผลใหท้ ง้ั สองประเทศไม่สามารถเจรจาตกลงกันได้ ๘) ประเทศชมพู ได้เพิ่มความพยายามในการปรับปรุงพัฒนาในพ้ืนที่เพิ่มมากข้ึน และมีการพยามพัฒนา เส้นทาง จากบ้านใหม่ไปยังบ้านห้วยยาง และจากบ้านใหม่ไปยังช่องก่ิวนกแซว โดยได้รับการสนับสนุน งบประมาณจาก ประเทศขาว ท้ังน้ีการดำเนินการดังกล่าวก่อให้เกิดการโต้แย้งของทั้งสองฝ่ายและมีแนวโน้มที่ จะมีการใช้กำลังเพ่ือแก้ปัญหาในพ้ืนที่โดย ประเทศชมพู ได้รับการสนับสนุนทางการทหารจาก ประเทศขาว ผา่ น ประเทศสม้ ข. สถานการณเ์ ฉพาะ (Road to crisis) ๑) สรุปสถานการณฝ์ า่ ยข้าศึก ก) สรุปการปฏบิ ัตขิ องฝ่ายข้าศกึ ในหว้ งเวลาทผ่ี า่ นมา (๑) การปฏิบัติทางพื้นดิน จากการลาดตระเวนทางอากาศของฝ่ายเรา และการรายงานข่าวกรอง จาก รพศ. กองทัพบกน้ำเงินได้กำหนดพื้นท่ีระวังป้องกันไว้ ข้อมูลยืนยันว่า กำลังฝ่ายข้าศึกที่เคล่ือนท่ีเข้า ประชิดแนวพรมแดน คอื พล.ร.๒ เพ่ือการฝกึ

เพอ่ื การฝึก ชุดที่ ของ ๗๕ ชดุ หน้า ๓ ของ ๘ หน้า ผนวก ข (ข่าวกรอง) ประกอบแผนยทุ ธการพทิ กั ษ์ผาเมือง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ (ก) ๗ พ.ค.๖๕ ประเทศชมพูได้พยามยามสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกและระบบ สาธารณปู โภคเพ่มิ เตมิ ตลอดจนสร้างอาคารและส่งิ ปลูกสร้างถาวรในบริเวณแนวชายแดน (ข) ๙ พ.ค.๖๕ รฐั บาลประเทศนำ้ เงนิ ไดด้ ำเนนิ การย่ืนหนงั สอื่ ประท้วง (ค) ๑๑ พ.ค.๖๕ รัฐบาลประเทศชมพู ได้ย่ืนหนังสือชี้แจงต่อประเทศน้ำเงินว่าการเข้า ดำเนินการดงั กล่าว เพ่อื อำนวยความสะดวกต่อประชาชนทอี่ าศยั ในพื้นที่ และยังคงยืนยันที่จะดำเนนิ การตอ่ ไป (ง) ๑๒ พ.ค.๖๕ รัฐบาลประเทศน้ำเงนิ ปิดด่านชายแดน/ชอ่ งทางผ่านแดนทกุ ช่องทางที่ติดต่อ กบั ประเทศชมพู (จ) ๑๓ พ.ค.๖๕ เจา้ หนา้ ทป่ี ระเทศน้ำเงนิ ได้ดำเนนิ การจบั กุมกลมุ่ กองหลอนของประเทศชมพู ท่แี ทรกซึมเขา้ มาในพน้ื ท่ี ประมาณ ๒๐ คน (ฉ) ๑๔ พ.ค.๖๕ กกล.ประเทศชมพู ได้ทำการเคลอื่ นย้ายกำลัง ทหารประจำถิ่นจากเมืองทงุ่ มี ไชย แขวง ไชยบรุ ี เข้ามาเพ่ิมเตมิ ในบริเวณพื้นที่ (ช) ๑๕ พ.ค.๖๕ กกล.ผาเมือง(ตชด.)ปะทะกับ กกล.ประจำถิ่น ของประเทศชมพู การสร้าง ถนนถกู ทหารประเทศชมพู ขัดขวางจนเกิดการปะทะ (ซ) ๑๖ พ.ค.๖๕ ทภ.๓ โดย กกล.ผาเมือง ได้ทำการเจรจาให้หยุดการก่อสร้างและถอนกำลัง ดังกล่าวออกนอกพ้ืนที่แต่ไม่เป็นผล กกล.ประเทศชมพู ยังคงก่อสร้างและเพ่ิมเติมกำลังอย่างต่อเน่ือง ทภ.๓ โดย กกล.ผาเมือง จึงสั่งให้ ร้อย.ม.คทร. กกล.ผาเมือง เข้าปฏิบัติการ โดย ร้อย.ตชด.ยังคงควบคุมแนวการวาง กำลังในพื้นที่ (ด) ๑๘ พ.ค.๖๕ รอ้ ย.ม.คทร. เรม่ิ มีการปะทะ กับ กกล.ประจำถ่ินประเทศชมพู ตามแนวสกัด ก้ันสถานการณ์เร่ิมรุนแรงมากข้ึน ร้อย.ม.คทร.สามารถผลักดันทหารประเทศชมพูได้บางส่วนและสมารถ ควบคุมช่องทางมหาราช บริเวณ พิกัด 47Q QA 259296 ในส่วนของ ศปก.ทบ.ประเทศน้ำเงิน ตกลงใจส่ังให้ หน่วย RDF เตรียมพรอ้ ม (ต) ๒๒ พ.ค.๖๕ ประเทศชมพู เคลื่อนย้ายกำลัง ๑ กรม ร.(+) ดำเนินการเขา้ ตีและยึดที่หมาย ในพื้นท่ีทับซ้อน และเข้าควบคุมภูมิประเทศสำคัญ บริเวณช่องมหาราช พิกัด 47Q QA 259295, ช่องห้วยยาง พิกัด 47Q QA 234298, ช่องอ่างเก็บน้ำห้วยยาง 47Q QA 221306, ช่องกิ่วนกแซว พิกัด 47Q QA 204312 ศปก.ทบ.สั่งหนว่ ย RDF ขนึ้ ควบคุมทางยทุ ธการ กับ ทภ.๓ และให้เคลอ่ื นยา้ ยเข้าพื้นท่กี ่อกำลงั (ถ) การวางกำลงั ของขา้ ศึก ((๑)) ๔ รอ้ ย ร. วางกำลงั อยใู่ นที่ม่นั หลัก เพอื่ การฝกึ

เพ่ือการฝึก ชดุ ที่ ของ ๗๕ ชดุ หน้า ๔ ของ ๘ หน้า ผนวก ข (ข่าวกรอง) ประกอบแผนยทุ ธการพิทกั ษ์ผาเมือง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ((๒)) ๔ รอ้ ย ร. วางกำลงั สนับสนุนในพื้นท่ตี ั้งรับแนวท่ีสอง ((๓)) ๑ พนั .ร. วางกำลงั ดา้ นหลงั อยู่ในแนวที่ ๓ ((๔)) รอ้ ย.ถ. , ร้อย.ปตอ. และ พนั .ป. เคลือ่ นย้ายกำลัง วางกำลงั ที่ตง้ั ยิง ((๕)) ยังไมป่ รากฏการใช้ นชค. ของฝ่ายข้าศกึ (๒) การปฏิบัติทางอากาศ : ปรากฏ ฮ. ฝ่ายตรงข้ามในเวลากลางวัน ๒ คร้ัง ทางบริเวณทิศ ตะวันออก บริเวณช่องมหาราช และ ช่องหมาหลง ในลักษณะบินต่ำ และใช้ความเร็วสูงยังไม่อาจยืนยันได้ว่า เป็น ฮ. โจมตีหรือไม่ท่ีผ่านมาได้ส่งกำลังพลของฝ่ายเราลาดตระเวนหน้าแนว ได้ยินเสียง ฮ. อย่างน้อย ๒ ลำ เหนอื บรเิ วณพ้ืนทด่ี งั กลา่ ว คาดวา่ ๑ ใน ๒ ลำนน้ั เป็น ฮ. ลำเลยี ง (MI17) ข) การช่วยรบ (๑) กำลังส่วนใหญ่ของฝายข้าศึกที่อยู่ในประเทศชมพู มีการสะสมสิ่งอุปกรณ์ จำนวนมากและมี การตงั้ ตำบลสง่ กำลังตา่ งๆ รวมถงึ การสรา้ งสนามบนิ ทหาร ใกล้แนวชายแดนเข้ามา (๒) ฝ่ายข้าศึกที่อยู่ในประเทศน้ำเงิน สามารถส่ง สป. จากส่วนหลังทางด้านประเทศชมพูได้ สะดวก เนื่องจากการปรับปรุงเส้นทางในพน้ื ทกี่ ่อนหน้านี้ ค) การเคลือ่ นย้ายกำลงั : (๑) ปัจจบุ ันยงั ไมม่ ีการเคลอื่ นยา้ ยกำลังเขา้ มาเพิ่มเตมิ (๒) มีการเตรยี มกำลังเพิ่มเติมระดับยุทธการ ง) ขีดความสามารถ และความล่อแหลม (๑) ขีดความสามารถ : (ก) เข้าตี : กำลังฝ่ายข้าศึกที่อยู่นอกประเทศ สามารถเข้าตีต่อฝ่ายเราด้วยกำลัง ๑ กองพล ทหารราบสนบั สนุนดว้ ย ป. และ ค. ในอัตรา ภายใน ๖๐ ช่ัวโมง (ข) ตั้งรับ : ฝ่ายข้าศึกใน พท. ปฏิบตั กิ ารของ กกล.นำ้ เงนิ มขี ีดความสามารถในการต้ังรบั ดว้ ย กำลัง ๔ กองรอ้ ย เพมิ่ เตมิ กำลังสนับสนนุ ด้วย ป. และ ค. จำนวนหน่งึ (ค) เพิ่มเติมกำลัง : เข้าสู่ พท. ปฏิบัติการของ กกล.น้ำเงิน ด้วยกำลัง ๑ พัน.ร. ได้ภายใน ๔๘ ช่ัวโมง และเพ่ิมเตมิ กำลังเขา้ ตตี อ่ แนวตา้ นทานของเรา ดว้ ยกำลงั ๓ กองพัน ภายในเวลา ๗๒ ชว่ั โมง (ง) การปฏิบัติทางลึก : ด้วยการซุ่มโจมตี, ตีโฉบฉวย, ก่อวินาศกรรม เข้าตีต่อท่ีหมายจำกัด และรบกวนการสง่ กำลังได้ตลอดพ้นื ทีป่ ฏบิ ตั กิ าร (๒) จุดอ่อน : กำลังพลของฝ่ายขา้ ศึกไม่เคยชินต่อภูมิอากาศที่ร้อนจัดและแห้งแล้ง ดังนั้น ในเวลา เพือ่ การฝกึ

เพือ่ การฝึก ชุดท่ี ของ ๗๕ ชุด หนา้ ๕ ของ ๘ หนา้ ผนวก ข (ข่าวกรอง) ประกอบแผนยุทธการพิทักษ์ผาเมือง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ กลางวันที่มีอุณหภูมิสูง จะเป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนย้ายดว้ ยเท้าของทหารราบ และการปฏิบัติงานอยู่ในยาน เกราะเป็นเวลานาน (๓) ความล่อแหลม : การเคลือ่ นกำลงั สว่ นใหญ่ เขา้ ตผี ่านแนวชายแดนของประเทศน้ำเงินนั้น แต่ ละกองพันมีเส้นทางบังคับ เพียง ๑ เส้นทาง ดังนั้น ยานยนต์ล้อในขบวนสัมภาระ และการช่วยรบต่างๆ จึง ล่อแหลมตอ่ การถูกทำลายจากฝา่ ยเรา จ) สรปุ แนวทางเคลอ่ื นทที่ ฝ่ี ่ายข้าศกึ น่าจะใช้ มีดังน้ี (๑) แนวทางท่ี ๑ จากแนวชายแดน บ.ใหม่ทุ่งมีไช – ช่องมหาราช - ตามแนวถนนหมายเลข ๑๑๒๓ – อ.บา้ นโคก (๒) แนวทางท่ี ๒ จากแนวชายแดง บ.ใหม่ทุ่งมีไช – ช่อง บ.ใหม่ – บ.บ่อเบ้ีย– ตามแนวถนน หมายเลข ๑๒๔๓ – บ.หว้ ยไผ่ – อ.บา้ นโคก (๓) แนวทางเคลื่อนท่ีที่ดีที่สุด คือ แนวทางเคล่ือนท่ีท่ี ๑ เนื่องจากเป็นระยะทางที่ส้ันและ เส้นทางเป็นถนนลาดยางเกือบตลอดทั้งเส้น มีสภาพสมบูรณ์ กว้างขวางสำหรับยานพาหนะ และตรงเข้าสู่ที่ หมายสามารถประสานกันระหว่างหน่วย ช่วยเหลือซ่ึงกันและกันได้ สำหรับแนวทางเคล่ือนที่ที่ ๒ เป็น แนวทางที่อ้อม และสภาพเส้นทางส่วนใหญ่เป็นถนนลูกรัง บางช่วงมีความลาดชั้น แคบ และคดเค้ียว มีความ เสย่ี งต่อการถกู โจมตี ๒. หวั ข้อขา่ วสาระสำคัญและความต้องการข่าวกรองอ่ืนๆ ก. หัวข้อข่าวสารสำคญั ๑) มีการเพิ่มเติมกำลังอีกหรือไม่, ถ้ามี มีการเคลื่อนย้ายอาวุธสนับสนุน เช่น ป., ค. และ จรวด ไปยัง พื้นทใี่ ดหรอื ไม่ ถ้ามีกระทำเมอื่ ใด, ทไ่ี หน ดว้ ยกำลังเทา่ ใด ให้เพง่ เล็งเปน็ พเิ ศษ ตอ่ กรม ร. ๒) มีการเพม่ิ เติมและเตรียมใช้กำลังทางอากาศหรือไม่ถ้ามใี ชท้ ่ีไหน, อย่างไร ๓) มกี ารส่งชดุ สืบขา่ ว หน่วย ลว. กองหลอน แทรกซมึ เข้ามาหาขา่ วดว้ ยวิธีการอย่างไร ให้เพ่งเลง็ การก่อ วินาศกรรม การจารกรรม การบ่อนทำลาย จะมีขนึ้ ในบริเวณใด ในสภาพใด ๔) มีการรบหน่วงเวลาหรือไม่ ถ้ามีมีการเคล่ือนย้ายอาวุธต่าง ๆ และ ป.อยู่ล้ำข้างหน้ามากหรือไม่ ถ้ามี ตั้งอยู่บรเิ วณไหน ชนดิ อะไร และขนาดของ ป.เท่าใด และเคลือ่ นยา้ ยเมอื่ เวลาใด ข. ตขอ. ๑) ฝ่ายข้าศึกจะเข้าตีด้วยกำลังขนาดใหญ่หรือไม่ ถ้าทำจะกระทำ เม่ือใด ที่ไหน ด้วยกำลังเท่าใด เพ่งเล็ง เปน็ พิเศษตอ่ เส้นหลกั เพอ่ื การฝกึ

เพอ่ื การฝกึ ชดุ ที่ ของ ๗๕ ชุด หนา้ ๖ ของ ๘ หน้า ผนวก ข (ข่าวกรอง) ประกอบแผนยทุ ธการพิทักษ์ผาเมือง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ๒) ใหร้ ายงานที่ต้งั การวางกำลงั และการประกอบกำลังของฝา่ ยข้าศึก ในพืน้ ทปี่ ฏบิ ัติการ ๓) ฝา่ ยขา้ ศึกมีมาตรการขา่ วกรอง และการต่อตา้ นข่าวกรองอยา่ งไร ๔) ฝา่ ยขา้ ศกึ จะใชอ้ าวธุ เคมี-ชวี ะ หรือไม่ และเป็นสารอะไรจะใช้เมื่อใด อย่างไร ทไ่ี หน ๕) มกี ารใช้ ปตอ.ของข้าศึกหรอื ไม่ ๖) ทต่ี ง้ั ศูนยก์ ารสอื่ สารและเครอื่ งมอื อิเล็กทรอนิกส์ ๓. คำสงั่ และคำขอข่าวสาร ก. คำสั่งให้หนว่ ยขึน้ สมทบและหน่วยรอง : ตาม ผนวก ก ข. รายงานทันทเี ม่อื ได้รับข่าวสารตอ่ ไปนี้ ๑) ท่ีต้ัง การวางกำลังและการประกอบกำลัง รวมทั้งการปฏิบัติที่สำคัญ ที่มีผลการะทบต่อภารกิจของ ฝา่ ยเรา ๒) ท่ตี ง้ั ท่ีบงั คับการและทีต่ งั้ การตดิ ตอ่ สือ่ สารของฝา่ ยขา้ ศึก ๓) ทต่ี ัง้ อาวุธยิงสนับสนนุ ของฝ่ายขา้ ศกึ ๔) ที่ตง้ั เครือ่ งกดี ขวางและสนามทนุ่ ระเบิด ของฝา่ ยขา้ ศกึ ๕) การใช้หรอื การฝึกใช้สารเคมหี รือแกส๊ พิษ ของฝา่ ยข้าศึก ๖) ความเคลื่อนไหว การปฏิบัติท่ีสำคญั และท่าทขี องฝา่ ยข้าศกึ ท่ีมผี ลการะทบต่อการปฏิบตั ขิ องฝ่ายเรา ๔. มาตรการในการดำเนนิ การตอ่ กำลังพล เอกสารและยุทโธปกรณข์ องขา้ ศกึ ก. เชลยศึกทีถ่ ูกจบั กมุ หรือมอบตวั : ใหด้ ำเนนิ การตามข้ันตอนดงั นี้ ๑) ตรวจค้น เพือ่ ยดึ อาวุธและเอกสาร (ยกเวน้ สงิ่ ของทีเ่ ป็นทรพั ยส์ นิ ส่วนตวั ) ๒) แยกประเภทออกเปน็ นายทหาร นายสบิ พลทหาร พลเรือน เปน็ ตน้ ๓) ซักถาม เพื่อให้ได้ขา่ วสารที่เป็นประโยชน์ ทางยุทธ์วธิ ีทันที ๔) รายงานการจับกมุ หรือมอบตวั พรอ้ มขา่ วสารทส่ี ำคัญเทา่ ทท่ี ำได้ ส่งตามสายงานมายงั หนว่ ยเหนือ ในลักษณะรายงานด่วน ๕) ยุทโธปกรณ์ทย่ี ดึ ได้ ยทุ ธภัณฑส์ ำหรบั สงครามอเิ ล็กทรอนิกส์ของฝ่ายขา้ ศึก จะต้องระมัดระวงั รกั ษา และรายงานไปยังฝ่ายการข่าว ข. เอกสารทีย่ ดึ ได้ ๑) เอกสารทตี่ ิดตัวมาพร้อมกับฝ่ายขา้ ศกึ ใหห้ นว่ ยพจิ ารณาใช้ประโยชน์โดยทันที แลว้ ติดปา้ ยเอกสาร นำสง่ ตามสายงาน พร้อมกบั ตัวเชลยศึก เพอ่ื การฝกึ

เพอ่ื การฝกึ ชดุ ท่ี ของ ๗๕ ชดุ หน้า ๗ ของ ๘ หน้า ผนวก ข (ขา่ วกรอง) ประกอบแผนยุทธการพิทักษ์ผาเมือง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ ๒) เอกสารที่ยึดได้ พรอ้ มอปุ กรณห์ รือยุทโธปกรณ์ ใหห้ นว่ ยพิจารณาใช้ประโยชนโ์ ดยทนั ทีแล้วติดปา้ ย เอกสาร นำสง่ ตามสายงานพร้อมอุปกรณ์ หรือยุทโธปกรณ์ ๓) เอกสารทย่ี ึดได้ ในลักษณะอน่ื ๆ ใหอ้ ยู่ในการพิจารณาของ นายทหารฝ่ายการข่าว ของหนว่ ยในการ ดำเนนิ การรายงานและนำสง่ มอบ ๕. เอกสารและยุทธภัณฑ์ทีต่ ้องการ ก. การขอรับการสนับสนนุ ภาพถ่ายทางอากาศ ให้ขอผ่าน กกล. ล่วงหนา้ ไมน่ อ้ ย กว่า ๗ วัน ข. การแจกจ่าย แผนท่ี จะทำการแจกจา่ ยเฉพาะหนว่ ยทมี่ ีมแี ผนท่ีใน อจย. และพิจารณาตามความจำเป็น ของหนว่ ย ค. เคร่อื งมือพเิ ศษอื่นใด ท่ีหน่วยพจิ ารณาว่า มีความจำเป็นและจะเป็นผลดี ต่อการปฏิบัติ ภารกิจอยา่ งยิ่ง ใหร้ ายงานตามสายการบงั คบั บญั ชา เพื่อพจิ ารณาต่อไป ง. ใหร้ ายงานทันที เม่ือตรวจพบวา่ มีการละเมดิ รปจ. ปรากฏการสญู หาย หรอื การรว่ั ไหลเอกสารสำคัญของ ทางราชการ ๖. การต่อต้านข่าวกรอง ก. ทกุ หน่วยประสานการใช้เครือ่ งบินทหารบก โดยผา่ นทาง ศปย. กกล. เพอ่ื ลดจำนวนเคร่อื งบินในอากาศ เหนือพน้ื ท่ีในเขตของ กกล. ใหเ้ หลอื เทา่ ทีจ่ ำเป็น ข. ให้ปฏิบัติตามระเบยี บว่าด้วย การรักษาความปลอดภัยแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๑๗ และระเบียบการรกั ษาความ ปลอดภัยแห่งชาติเก่ียวกับการสือ่ สาร พ.ศ.๒๕๒๕ ระเบียบว่าดว้ ยการรกั ษาความลบั ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยเคร่งครัด ค. หาข่าวสารพฤติกรรม การเคล่ือนไหวของข้าศึก ในบริเวณพื้นท่ีรบั ผดิ ชอบ ง. กำหนดมาตรการป้องกนั การก่อวินาศกรรม ต่อทตี่ งั้ หน่วยและบริเวณสาธารณปู โภค ที่มีความจำเป็นต่อ การปฏบิ ตั กิ ารทางทหาร จ. ดำเนินการพราง การซ่อนเร้นท่ีต้ังท่ีบังคับการ ศูนย์สื่อสารท่ีตั้งอาวุธยิงสนับสนุน ที่ต้ังทางการส่งกำลัง ตา่ งๆ ในพืน้ ท่ปี ฏิบตั ิการ โดยมีการพัฒนาและดำรงรักษามาตรการพรางอยา่ งต่อเนอ่ื ง ฉ. ปฏบิ ตั ิงานขา่ วลับ เพือ่ ตดิ ตามความเคลอื่ นไหวของกลุ่มบุคคลที่มีพฤตกิ รรม สนบั สนนุ ฝ่ายข้าศึก ๗. การรายงาน ก. ข่าวสารใดทีม่ ีความสำคัญให้รายงานไปยงั หน่วยเหนือทันที ด้วยเครื่องมอื สื่อสารที่เร็วทส่ี ดุ ข. ข่าวสารใดที่มีความสำคัญเร่งด่วน และต้องปฏิบัติการโดยทันที ให้รายงานตามสายการบังคับบัญชา เพือ่ การฝึก

เพื่อการฝึก ชุดท่ี ของ ๗๕ ชดุ หน้า ๘ ของ ๘ หนา้ ผนวก ข (ขา่ วกรอง) ประกอบแผนยุทธการพทิ กั ษ์ผาเมือง ๑-๒ RDF – ทภ.๓ พรอ้ มกับให้ ทภ.๑ กองทัพบกน้ำเงิน และหน่วยข้างเคียง เป็นผู้รับทราบไปด้วย เพื่อความรวดเร็ว และลดงาน ดา้ นธรุ การ ค. ขา่ วที่หนว่ ยเหนือใหต้ รวจสอบ ต้องถือเปน็ ความเร่งด่วนสำคญั ทตี่ ้องปฏบิ ัติโดยเรว็ และรายงานผลการ ตรวจสอบใหท้ ราบ ง. การแจกจ่าย ๑) ขา่ วดว่ นใหใ้ ช้เครอ่ื งมือติดตอ่ ส่ือสารทเี่ ร็วและปลอดภยั ท่ีสดุ ๒) การกระจายขา่ วสารให้แก่สว่ นราชการอนื่ ทเ่ี ก่ียวข้อง กระทำเท่าทจี่ ำเป็น ๘. เบ็ดเตลด็ ก. ในสภาพการปัจจุบัน ความต้องการข่าวสารของผู้บังคับบัญชาเป็นไปในลักษณะที่มีความเร่งด่วน และ ข้อมูลทุกอย่างของฝ่ายข้าศึกอย่างกว้างขวาง เพื่อการวิเคราะห์และยืนยันสถานการณ์ให้กระจ่างยิ่งข้ึน ฉะน้ัน ใหห้ นว่ ย ต่างๆ แจ้งเตอื นกำลังพลในเรอื่ งการรายงานข่าวสารทกุ ดา้ นท่ีตรวจพบให้กบั ผบู้ งั คับบัญชาทราบ ข. ไม่อนุญาตให้ผู้ส่ือข่าวสงครามเข้าไปในเขตหน้า ของ กกล.น้ำเงิน การให้สัมภาษณ์ หรือให้ข่าวใด ๆ เกย่ี วกบั ประเทศเพือ่ นบา้ นและสถานการณส์ ้รู บ ให้อยู่ในความดูแลของ ฝา่ ยกิจการพลเรอื น กกล. ค. การชว่ ยเหลือประชาชนในพ้ืนท่ี ให้ประสานกับงานข่าวเพอื่ สร้างประชาชน ให้เป็นแหลง่ ขา่ วควบคูก่ นั ไป ดว้ ย ง. ขอใหท้ ุกหน่วยมกี ารประสานงานดา้ นการขา่ ว ในระหวา่ งหน่วยตา่ งๆ อยา่ งกว่างขวางและเปน็ สิ่งอนั พงึ ประสงค์ โดยระบตุ วั ผ้ปู ฏบิ ัติอยา่ งแนช่ ัด และจำกัดใหร้ ู้เทา่ ทจี่ ำเป็น อนุผนวก : ๑. วิเคราะหพ์ ืน้ ท่ปี ฏิบตั ิการ ๒. แผน่ บรวิ ารสถานการณ์ข้าศึก ๓. ทำเนยี บกำลงั รบ ๔. ประมาณการขา่ วกรอง (เว้น) ๕. แผนการ ลว. และเฝา้ ตรวจสนามรบ (เวน้ ) ๖.แผนการตอ่ ตา้ นขา่ วกรอง เพื่อการฝึก

(เพ่ือการฝกึ ) ชดุ ท่ี ของ ชดุ หนา้ ๑ ของ ๓๑ หนา้ อนผุ นวก ๑ (วเิ คราะหพ์ ้ืนที่ปฏิบตั ิการ) ประกอบ ผนวก ข (ขา่ วกรอง) ประกอบ แผนพิทักษ์ผาเมอื ง ๑- ๒ RDF –ทภ.๓ อา้ งถึง : แผนทป่ี ระเทศไทยมาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวาง อ.ฟากทา่ ๕๑๔๔-๑, บ.น้ำมวบ ๕๑๔๕-๑ , บ.นาหน่ำ ๕๑๔๔-๒ , บ.นาขมุ ๕๒๔๔-๖ , บ.วังสัมพันธ์ ๕๒๔๕-๓ บ.บ่อเบ้ีย ๕๒๔๕-๖ ๑. ความมุ่งหมายและขอ้ จำกัด ก. ความมงุ่ หมาย เพ่ือวิเคราะห์พื้นทปี่ ฏิบตั กิ ารในเขตพื้นท่ี อ.บา้ นโคก ให้ไดร้ บั ทราบขอ้ มลู บรเิ วณ แนวชายแดน และช่องทางสำคัญต่าง ๆ ท่ีติดต่อกับประเทศชมพู ซึ่งล่อแหลมต่อสถานการณ์ที่อาจจะ เกดิ ผลกระทบตอ่ ความมน่ั คงตามแนวชายแดน ในบรเิ วณพื้นทด่ี ังกลา่ ว เพ่ือใหห้ นว่ ยเหนือและหน่วยรอง ใช้ประโยชน์ในการวางแผนป้องกันประเทศต่อไป ข. ข้อจำกัด วิเคราะห์พื้นที่ปฏิบัติการที่เป็นข้อมูลพื้นฐานการปฏิบัติการทางทหารในการสำรวจ และรวบรวมข้อมูล กระทำได้ในเวลาจำกัดและจำกัดด้วยเครื่องมือที่มีอยู่สำรวจเฉพาะทางพ้ืนดิน ใน กรณีท่ีอาจจะเกิดการรุกล้ำอธิปไตยเข้ามาในบริเวณพื้นท่ีแนวชายแดน ซ่ึงมีโอกาสที่จะเกิดการรุกล้ำ อธปิ ไตย คือ.- ๑) ราษฎรประเทศเพ่อื นบ้านหลบหนเี ข้ามาในพื้นที่ ๒) ขบวนการตอ่ ต้านชมพู ติดอาวธุ , กองโจรตามแนวชายแดนของประเทศเพอ่ื นบา้ นเขา้ มาใน พ้ืนที่ ๓) กำลงั ทหารของประเทศเพ่ือนบา้ นไล่ตดิ ตามขบวนการต่อต้านชมพู ติดอาวธุ เขา้ มาในพน้ื ท่ี ๔) กำลงั ทหารประเทศเพอื่ นบา้ นมีเจตนารุกลำ้ เข้ามาในพน้ื ท่ี เพือ่ ควบคมุ ภูมิประเทศทส่ี ำคัญ ในฝ่ังประเทศน้ำเงิน ๕) ขบวนการค้ายาเสพตดิ , ของหนภี าษแี ละการลกั ลอบสง่ มอบของตามชอ่ งทางตา่ ง ๆ ๒. ลกั ษณะทว่ั ไปของพืน้ ทปี่ ฏิบัติการ ก. อากาศประจำถน่ิ และลมฟ้าอากาศ ๑) อากาศประจำถิน่ ลกั ษณะอากาศทั่วไป ภูมอิ ากาศจัดอยู่ในภมู อิ ากาศแบบฝนเมืองรอ้ นเฉพาะ ฤดู โดยมีชว่ งฝนสลบั กับช่วงอากาศแห้งแล้งแตกตา่ งกนั ชัดเจน และเนื่องจากภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็น ภูเขาและท่ีสงู จงึ ทำให้อากาศรอ้ นจดั ในฤดรู ้อนและหนาวจดั ในฤดหู นาว สว่ นในฤดฝู นจะ ไดร้ ับอิทธพิ ล จากลมมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต้พัดปกคลมุ พื้นท่ี ประกอบกับมีรอ่ งความกดอากาศต่ำ พาดผา่ นทำใหฝ้ นตก ชกุ โดยแบง่ ฤดกู าลออกเป็น ๓ ฤดู คือ ก) ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือน มิ.ย. ถึงเดือน ก.ย. ซ่ึงเป็นลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดไอน้ำจาก ทะเลเข้าสู่ประเทศไทย ทำให้มีอากาศชุ่มช่ืนมีฝนตกชุกในเดือน ก.ค. ถึงเดือน ส.ค. โดยเฉพาะเดือน (เพื่อการฝกึ )

(เพ่อื การฝึก) ชดุ ท่ี ของ ชดุ หนา้ ๒ ของ ๓๑ หนา้ อนผุ นวก ๑ (วเิ คราะห์พ้ืนท่ีปฏิบัตกิ าร) ประกอบ ผนวก ข (ขา่ วกรอง) ประกอบ แผนพิทักษ์ผาเมอื ง ๑- ๒ RDF –ทภ.๓ ส.ค.จะมีฝนตกชุกท่ีสุด อุณหภูมิเฉลี่ย ๓๗ องศาเซลเซียส และปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย ประมาณ ๒๒๐ - ๒๗๐ มลิ ลิเมตร ข) ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือน ต.ค. ถึงเดือน ก.พ. โดยจะมีความกดอากาศสูงจากประเทศจีน แผล่ งมาทางใต้เข้ามาปกคลมุ ประเทศไทยตอนบนทำให้ลมมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนอื พดั ปกคลุมประเทศ ไทยลักษณะดังกล่าวจะส่งผลให้มีอากาศหนาวเย็นกับมีหมอกในตอนเช้าและจะมีอากาศหนาวถึง หนาวจัด ในบริเวณยอดดอย และหบุ เขาในหว้ งเดอื น ธ.ค. – ม.ค. อณุ หภมู เิ ฉลยี่ ๑๕ องศาเซลเซียส ค) ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน มี.ค. ถึงเดือน พ.ค. อากาศร้อนอบอ้าวในตอนกลางวันและจะมีฟ้า หลัวเกิดข้ึนโดยทั่วไป ในห้วงเดือน มี.ค.และ เม.ย. จะมีอากาศร้อนอบอ้าว และแห้งแล้ง โดยเฉพาะ เดือน เม.ย. จะมีอากาศร้อนจัดอุณหภูมิสูงสุดประมาณ ๔๐ - ๔๓ องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ย ๓๗ องศาเซลเซยี ส ๒) สภาพลมฟา้ อากาศ ก) ฝน เริ่มต้ังแต่เดือน มิ.ย. ถึงเดือน ก.ย. ซ่ึงมีอากาศชุ่มช่ืนมีฝนตกชุกในเดือน ก.ค. ถึง เดือน ส.ค. โดยเฉพาะเดือน ส.ค.จะมีฝนตกชุกท่ีสุด ปริมาณน้ำฝนเฉล่ีย ประมาณ ๒๒๐ - ๒๗๐ มลิ ลิเมตร ข) เมฆ ในฤดูฝนและฤดหู นาวจะมเี มฆหนาปกคลมุ พน้ื ที่โดยทว่ั ไป โดยเฉพาะบริเวณเทอื กเขา จะมีเมฆปกคลมุ ตลอดท้ังวัน จำนวนเมฆเฉล่ียประมาณ ๘ ส่วน ของจำนวนเมฆในท้องฟ้า ๑๐ ส่วน ในสว่ นฤดูร้อนท้องฟา้ โปรง่ มีเมฆเป็นบางส่วน ค) หมอก ในฤดูหนาวและฤดูฝน จะมีหมอกลงจัดในตอนเช้า ทัศนวิสัยจำกัดสามารถตรวจ การณ์ได้ประมาณ ๓๐๐ - ๕๐๐ เมตร แต่เมอื่ หมอกจางหายในตอนสายและห้วงบ่าย จะมีทศั นวิสยั ดขี ้ึน สามารถตรวจการณ์ได้ดี ประมาณ ๓ - ๕ กม. สำหรบั ในฤดูร้อนทศั นวิสัยไมจ่ ำกัดตอ่ การตรวจการณ์ ง) ลม ในห้วงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเข้าสู่ฤดูหนาวในช่วงเดือน ต.ค. ส่วนมากจะเป็นลมฝ่าย ตะวันออกและต้ังแต่เดือน พ .ย.เป็นต้น ไปลมฝ่ายตะวัน ออกจะเปลี่ยนทิศเป็นลมม รสุม ตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทย และจะมีกำลังแรงเป็นระยะ ๆ ในช่วงที่มีบริเวณความกด อากาศสูงจากประเทศจีน แผ่ปกคลุมในประเทศไทย ในบางคร้ังจะมีลมกรรโชกแรงและ มีลักษณะ ท้องฟา้ คะนองตามมาด้วย จ) อุณหภูมิ ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและท่ีสูง บางส่วนเป็นป่าทึบและป่าโปร่ง ภูเขา ส่วนใหญ่เป็นภูเขาหิน และภูเขาดินจึงทำให้มีอากาศร้อนและหนาวจัดในฤดูหนาว อุณหภูมิสูงสุดเฉล่ีย ๓๕ - ๓๘ องศาเซลเซยี ส อณุ หภมู ิตำ่ สุดเฉลีย่ ๓ - ๘ องศาเซลเซยี ส (เพ่อื การฝกึ )


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook