Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์เพิ่มเติม2-62

แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์เพิ่มเติม2-62

Published by Kru.WIJITTA UMPAIJIT, 2020-03-22 02:26:45

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์เพิ่มเติม2-62 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้
งานและพลังงาน
โมเมนตัมและการชน
การเคลื่อนที่แบบโค้ง
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ ว๓๑๒๐๖ ฟิสิกสเ์ พม่ิ เตมิ ๒ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ จดั ทำโดย นางสาววิจิตตา อำไพจิตต์ ครูชำนาญการ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต ๔

ส่วนราชการ บันทกึ ข้อความ ที่ โรงเรียนธรรมศาสตรค์ ลองหลวงวทิ ยาคม วนั ท่ี ๒๔ ตุลาคม 2562 เร่ือง ขออนญุ าตใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนคลองหลวงวทิ ยาคม ตามที่ ข้าพเจ้านางสาววิจิตตา อำไพจิตต์ ตำแหน่งครู กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ได้รับ มอบหมายใหป้ ฏบิ ัติงานสอนในรายวิชาฟิสกิ ส์เพิม่ เติม ๒ รหสั วชิ า ว 3120๖ ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียน ท่ี ๒ ปีการศึกษา 2562 นั้น ผู้สอนได้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด คำอธิบายรายวิชา สู่การจัดทำ โครงสรา้ งรายวชิ าและแผนการจัดการเรียนร้รู ายวิชาท่ีสอดคลอ้ งกับหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนธรรมศาสตร์คลอง หลวงวิทยาคม พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงขออนุญาตใช้แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์เพิม่ เติม ๒ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เพือ่ ดำเนนิ การจัดการเรียนการสอนตอ่ ไป จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ ลงช่อื ..........วิจติ ตา ความคิดเหน็ หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ( นางสาววจิ ติ ตา อำไพจิตต์) เห็นควรอนุญาต ☐ไมเ่ หน็ ควรอนุญาต …………………… ลงชอ่ื ............................................ (นางอุษณีษ์ บุญทัศโร) ความคิดเห็นรองผ้อู ำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ เห็นควรอนุญาต ☐ไม่เห็นควรอนุญาต …………………… ลงช่ือ............................................ ( นายอดุ มทรพั ย์ ใจดี ) ผ้ชู ว่ ยผ้อู ำนวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการ ความคิดเห็นผอู้ ำนวยโรงเรียน ............................................................................................................................................................................. ☐ ยงั ไม่สมบูรณ/์ ตอ้ งปรบั ปรุง อนุญาตใหใ้ ช้แผนการจดั การเรยี นรู้ในการจดั การเรยี นการสอน ว่าที่รอ้ ยตรี ( เรงิ ฤทธ์ิ ผดงุ พันธุ์ ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นธรรมศาสตรค์ ลองหลวงวทิ ยาคม ๒๔ ตุลาคม 2562

แผนการจดั การเรยี นรู้ รหสั วิชา ว31206 รายวชิ า ฟสิ กิ ส์เพ่ิมเติม 2 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 นางสาววจิ ิตตา อำไพจิตต์ ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

คำนำ โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม ได้ใช้หลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และได้ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาอยา่ งต่อเนอ่ื ง ในปีการศึกษา 2561 ได้นำข้อเสนอแนะจากการประเมินหลักสูตรและนำนโยบายต่าง ๆ ของรัฐบาลมาปรับปรุง เป็นหลักสูตร โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560) เพ่อื ใชเ้ ปน็ กรอบและทิศทางในการจัดการเรยี นการสอน และเป็นการนำหลกั สูตรไปสู่การปฏิบัติ อย่างมีประสทิ ธิภาพ การจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้รายวิชา ฟิสิกส์ เพิ่มเติม 2 รหัสวิชา ว 31206 ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เลม่ นี้ ได้จัดทำตามหลกั สตู รโรงเรียนธรรมศาสตรค์ ลองหลวง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ซึ่งข้าพเจ้าได้วิเคราะห์มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ คำอธิบายรายวชิ า โครงสรา้ งรายวชิ า เพื่อจัดทำหน่วยการเรยี นรู้ และแผนการจัดการ เรียนรเู้ ปน็ รายชว่ั โมง มีการออกแบบการการเรยี นรูด้ ้วยเทคนิค วธิ ีการสอนอยา่ งหลากหลายเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ มี การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ท้ังด้านความรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และสมารถนะหลัก เพ่ือพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นใหบ้ รรลุเป้าหมายของหลกั สตู ร วิจิตตา ( นางสาววจิ ติ ตา อำไพจติ ต์ ) ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ

สารบัญ หนา้ คำนำ 1 สารบัญ 2 4 ตอนท่ี 1 การวิเคราะหห์ ลักสูตร 4 แบบการวิเคราะหเ์ พอื่ จัดทำคำอธบิ ายรายวิชา 6 คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน/เพิ่มเตมิ 9 มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั /ผลการเรียน 9 โครงสรา้ งรายวิชา 9 การวัดและประเมินผล สื่อการเรยี นรู้ 10 แหล่งเรียนรู้ 11 19 ตอนที่ 2 การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้และแผนการจดั การเรียนรู้ 25 หน่วยการเรียนท่ี 1 เรื่อง งานและพลงั งาน 33 หน่วยการเรยี นท่ี 2 เรือ่ ง โมเมนตัมและการชน 41 หนว่ ยการเรียนท่ี 3 เร่อื ง การเคล่ือนทแี่ บบโค้ง 46 หน่วยการเรยี นที่ 4 เรื่อง การเคลอ่ื นทีแ่ บบฮารม์ อนิกอยา่ งงา่ ย 51 55 แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 1 แรงและงาน 59 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 งานเนอ่ื งจากแรงไมค่ งตัว 63 แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 3 งานของแรงทท่ี ำมุมกับแนวการเคล่ือนท่ี 68 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 การหางานจากพนื้ ที่ใต้กราฟ 73 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 พลังงานจลน์ 1 78 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 พลงั งานจลน์ 2 84 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 7 พลงั งานศักย์ 1 90 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 8 พลังงานศกั ย์ 2 94 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 9 กฏการอนรุ กั ษ์พลังงาน 1 99 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 10 กฏการอนรุ ักษ์พลังงาน 2 105 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 11 กำลัง 1 แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 12 กำลัง 2 แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 13 เครือ่ งกล แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 14 โมเมนตัม

สารบัญ (ต่อ) หน้า 109 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 15 แรงกบั การเปลย่ี นแปลงสภาพการเคลอื่ นที่ 113 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 16 แรงและการเปลย่ี นแปลงโมเมนตมั 117 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 17 การดลและแรงดล 1 121 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 18 การดลและแรงดล 2 125 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 การชนในหนึ่งมติ ิ 129 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 20 กฏการอนุรักษ์โมเมนตมั 133 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 21 การชนในสองมติ ิ 138 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 22 การระเบดิ 142 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23 การระเบิด 2 146 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 24 การเคล่อื นทแ่ี บบโปรเจคไทล์ 151 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 25 การเคลอ่ื นทีแ่ บบโปรเจคไทล์ 2 156 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 26 การเคล่อื นทแี่ บบโปรเจคไทล์ 3 162 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 27 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ 4 168 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 28 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ 5 173 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 29 การเคลอ่ื นท่ีแบบวงกลม 178 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 30 การเคลอื่ นที่แบบวงกลม 2 183 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 31 การเคลื่อนที่แบบวงกลม 3 188 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 32 การเคลือ่ นท่ีแบบวงกลม 4 193 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 33 การเคลื่อนที่แบบวงกลม 5 198 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 34 การเคลอ่ื นที่แบบวงกลม 5 205 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 35 การเคลื่อนท่ีแบบคาบ 211 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 36 การเคลื่อนท่ีแบบคาบ 2 217 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 37 เงาของวตั ถุที่เคล่อื นท่ีเป็นวงกลมสมำ่ เสมอ 222 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 38 การแกวง่ ของลูกตุ้มนาฬิกาอยา่ งง่าย 227 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 39 การแกวง่ ของลกู ตุ้มนาฬกิ าอยา่ งงา่ ย 2 231 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 40 การสนั่ พอ้ ง *********************

1 ตอนท่ี 1 การวิเคราะห์หลักสูตร

2 แบบการวิเคราะหเ์ พือ่ จดั ทำคำอธิบายรายวชิ า รหสั วชิ า ว31206 ชื่อรายวิชา ฟิสกิ ส์เพิม่ เติม 2 กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 2 หน่วยกิต เวลา 80 ช่ัวโมง/ภาคเรียน ผสู้ อน นางสาววจิ ติ ตา อำไพจิตต์ โรงเรยี นธรรมศาสตร์คลองหลวงวทิ ยาคม สาระการเรียนรู้ K กระบวนการ/ คำกรยิ า P ผลการเรยี นรู้ ระดบั เนอ้ื หา คณุ ลักษณะฯ A สมรรถนะ C ความรู้ สบื ค้น ใฝเ่ รียนรู้ 1. ความสามารถใน 1. วเิ คราะห์ และคำนวณงานของ ความจำ งานแรงคงตวั อธบิ าย การสอ่ื สาร แรงคงตัว จากสมการและพนื้ ท่ใี ต้ ความเข้าใจ งานของแรงไมค่ งตัว คำนวณ ความซื่อสัตย์ กราฟความสัมพันธ์ ระหวา่ งแรง วิเคราะห์ พื้นทใี่ ต้กราฟระหว่างแรงกับ วเิ คราะห์ ใฝ่เรยี นรู้ 1. ความสามารถใน กบั ตำแหนง่ รวมทั้งอธิบายและ ตำแหน่ง มงุ่ ม่นั ในการ การสือ่ สาร คำนวณกำลงั เฉลยี่ ความจำ กำลังและกำลงั เฉลย่ี อธิบาย ทำงาน 2. ความสามารถใน 2. อธิบายและคำนวณพลงั งาน ความเข้าใจ พลงั งานจลน์ คำนวณ การใช้ทกั ษะชีวติ จลน์ พลงั งานศักย์ พลงั งานกล นำไปใช้ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งงานของ ทดลอง ความซ่อื สตั ย์ ทดลองหาความสมั พันธ์ระหวา่ ง วเิ คราะห์ แรงลัพธ์กับพลงั งานจลน์ เขยี นกราฟ ใฝ่เรียนรู้ 1.ความสามารถใน งานกับพลงั งานจลน์ ความ ทฤษฎบี ทงาน-พลังงานจลน์ ตคี วามหมาย ม่งุ ม่ันในการ การสื่อสาร สมั พันธร์ ะหว่างงานกบั พลังงาน ความจำ พลงั งานศกั ย์โนม้ ถ่วง ขอ้ มูลและลง ทำงาน 2.ความสามารถใน ศักยโ์ นม้ ถว่ ง ความสัมพันธ์ ความเขา้ ใจ ความสัมพันธ์ระหวา่ งงานกับ ขอ้ สรปุ การแกป้ ัญหา ระหว่างขนาดของแรงท่ีใชด้ ึง วิเคราะห์ พลงั งานศักย์โน้มถ่วง สปรงิ กับระยะทสี่ ปริงยืดออกและ พลงั งานศกั ยย์ ืดหยนุ่ อธบิ าย ความสมั พนั ธ์ ระหว่างงานกับ ความสมั พนั ธ์ระหว่างขนาด จำแนก พลงั งานศักย์ยืดหยุน่ รวมท้ัง ของแรงทใี่ ชด้ ึงสปรงิ กับระยะ วิเคราะห์ อธิบายความสมั พันธร์ ะหวา่ งงาน ทีส่ ปริงยดื ออก และ คำนวณ ของแรงลพั ธ์ และพลงั งานจลน์ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างงานกับ ประยุกต์ และคำนวณงานท่ีเกดิ ขึน้ จาก พลังงานศักยย์ ดื หยุน่ แรงลัพธ์ พลังงานกล 3. อธบิ ายกฎการอนุรกั ษพ์ ลงั งาน กฎการอนรุ ักษพ์ ลงั งานกล กล รวมท้ังวเิ คราะหแ์ ละคำนวณ ปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การ เคล่อื นท่ขี องวตั ถใุ นสถานการณ์ ตา่ ง ๆ โดยใช้กฎการอนรุ ักษ์ พลังงานกล 4. อธบิ ายการทำงาน ความเข้าใจ เครอ่ื งกลอย่างง่าย อธบิ าย ความซื่อสัตย์ 1. ความสามารถใน ประสิทธิภาพและการไดเ้ ปรียบ นำไปใช้ การได้เปรยี บเชงิ กล คำนวณ ใฝ่เรยี นรู้ การสือ่ สาร เชิงกลของเคร่อื งกลอยา่ งง่ายบาง วิเคราะห์ ประสทิ ธิภาพของเครื่องกล มุ่งมนั่ ในการ ชนิดโดยใช้ความรเู้ รอ่ื งงานและ อยา่ งงา่ ย ทำงาน สมดุลกล รวมทั้งคำนวณ ประสทิ ธภิ าพและการได้เปรียบ เชงิ กล

3 สาระการเรยี นรู้ K กระบวนการ/ คำกรยิ า P ผลการเรียนรู้ ระดบั เนื้อหา คณุ ลกั ษณะฯ A สมรรถนะ C ความรู้ อธิบาย 5. อธบิ ายและคำนวณโมเมนตัม ความเข้าใจ โมเมนตมั ของวตั ถุ เขียนกราฟ ใฝเ่ รยี นรู้ 1. ความสามารถใน ของวตั ถุและ การดลจากสมการ นำไปใช้ ความสมั พันธ์ระหว่างแรงกบั คำนวณ มงุ่ มั่นในการ การส่อื สาร และพนื้ ที่ใตก้ ราฟความสมั พนั ธ์ วิเคราะห์ การเปลย่ี นโมเมนตัม วเิ คราะห์ ทำงาน 2. ความสามารถใน ระหว่างแรงลัพธ์กบั เวลา รวมทัง้ แรงดลและการดล กราฟ การแก้ปญั หา อธิบายความสมั พันธร์ ะหว่างแรง ความจำ พ้ืนทใี่ ตก้ ราฟความสัมพนั ธ์ ความซ่ือสัตย์ ดลกบั โมเมนตัม ความเข้าใจ ระหวา่ งแรงลพั ธ์กบั เวลา อธบิ าย ใฝเ่ รยี นรู้ 1. ความสามารถใน 6.ทดลองอธบิ าย และคำนวณ วเิ คราะห์ กฎการอนรุ กั ษโ์ มเมนตัม ทดลอง มุ่งมน่ั ในการ การส่อื สาร ปริมาณต่าง ๆ ที่เก่ียวกับการชน การชนของวตั ถุในหนงึ่ มติ ิ คำนวณ ทำงาน 2. ความสามารถใน ของวตั ถุในหนง่ึ มิตทิ ัง้ แบบ การชนแบบยืดหยุ่นและการ ประยกุ ต์ การแก้ปญั หา ยืดหยุ่น ไมย่ ดื หย่นุ และการดดี ชนแบบไมย่ ืดหยุน่ ความซอ่ื สตั ย์ 3. ความสามารถใน ตวั แยกจากกนั ในหนึง่ มติ ซิ ง่ึ ทดลอง ใฝเ่ รยี นรู้ การใช้ทักษะชวี ิต เปน็ ไปตามกฎการอนรุ ักษ์ ความจำ การเคลอ่ื นทีแ่ บบโปรเจคไทล์ อธบิ าย ม่งุ มัน่ ในการ โมเมนตัม ความเข้าใจ ความสัมพันธร์ ะหว่างการ วเิ คราะห์ ทำงาน 1. ความสามารถใน 7. อธบิ าย วิเคราะห์ และคำนวณ นำไปใช้ กระจดั ในแนวระดบั กบั การ คำนวณ การสอ่ื สาร ปริมาณตา่ ง ๆ ท่เี กี่ยวข้องกับการ วิเคราะห์ กระจดั ในแนวด่งิ 2. ความสามารถใน เคล่อื นทแี่ บบโพรเจกไทลแ์ ละ การแก้ปัญหา ทดลองการเคลอ่ื นที่แบบโพรเจก 3. ความสามารถใน ไทล์ การใช้ทกั ษะชีวติ 1. ความสามารถใน 8. ทดลองและอธิบาย ความจำ ความสัมพนั ธ์เกยี่ วกบั คาบ ทดลอง ความซื่อสัตย์ การส่อื สาร ความสัมพันธร์ ะหว่าง แรงสู่ ความเขา้ ใจ แรงสศู่ ูนยก์ ลาง รัศมีของการ อธบิ าย ใฝเ่ รียนรู้ 2. ความสามารถใน ศูนย์กลาง รศั มขี องการเคล่ือนท่ี นำไปใช้ เคลอ่ื นทีแ่ บบวงกลม คำนวณ มุ่งมั่นในการ การแกป้ ัญหา อัตราเร็วเชิงเสน้ อัตราเรว็ เชิงมมุ วเิ คราะห์ แรงสูศ่ ูนยก์ ลาง ความเร่งสู่ ประยุกต์ ทำงาน 3. ความสามารถใน และมวลของวัตถุในการเคลื่อนท่ี ศนู ย์กลาง การใชท้ กั ษะชีวติ แบบวงกลมในระนาบ ระดับ ความจำ ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง ทดลอง ความซื่อสตั ย์ รวมทงั้ คำนวณปริมาณต่างๆท่ี ความเข้าใจ อตั ราเร็วเชิงเส้นกบั อตั ราเรว็ อธิบาย ใฝ่เรียนรู้ 1. ความสามารถใน เกย่ี วข้องและประยกุ ต์ใช้ความรู้ นำไปใช้อ เชิงมุม คำนวณ มุ่งมน่ั ในการ การสอ่ื สาร การเคล่ือนทีแ่ บบวงกลมในการ ทำงาน 2. ความสามารถใน อธิบายการโคจรของดาวเทยี ม ความเข้าใจ การเคลื่อนทแ่ี บบฮาร์มอนิก อธบิ าย การใชท้ กั ษะชวี ติ 9. ทดลองและอธบิ ายการ อย่างงา่ ย ความซอ่ื สตั ย์ เคลอ่ื นทีแ่ บบฮารมอ์ นกิ อยา่ ง แรงกับการสนั่ ของมวลติด ใฝเ่ รยี นรู้ 1. ความสามารถใน ง่ายของวตั ถุตดิ ปลายสปริงและ ปลายสปรงิ และการแกวง่ ของ มุ่งมน่ั ในการ การสือ่ สาร ลูกตมุ้ อยา่ งงา่ ยรวมท้งั คำนวณ ลูกต้มุ อย่างงา่ ย ทำงาน ปริมาณตา่ งๆที่เก่ียวขอ้ ง ความถี่ธรรมชาติของวัตถุ 10. อธิบายความถ่ธี รรมชาตขิ อง การเกดิ การสน่ั พ้อง วัตถแุ ละการเกดิ การสัน่ พ้อง

4 คำอธบิ ายรายวิชา รหสั วชิ า ว31206 ช่ือรายวิชา ฟิสิกสเ์ พม่ิ เตมิ 2 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 2 หนว่ ยกติ เวลา 80 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น ผูส้ อน นางสาววิจติ ตา อำไพจติ ต์ โรงเรยี นธรรมศาสตรค์ ลองหลวงวิทยาคม ศึกษา สืบค้นและอธิบาย หลักการของกลศาสตรในเรื่อง งานของแรงคงตัว กำลังเฉลี่ย พลังงานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานกล กฎการอนุรักษ์พลังงานกล การทำงาน ประสิทธิภาพและการได้เปรียบเชิงกลของ เครื่องกลอย่างง่าย โมเมนตัมของวัตถุและการดล ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดลกับโมเมนตัม การชนของวัตถุใน หนึ่งมิติ กฎการอนุรักษ์โมเมนตัม การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทล์ การเคลือ่ นทแี่ บบวงกลม ปรมิ าณทเ่ี ก่ียวข้องกับการเคลื่อนท่แี บบวงกลม การเคลือ่ นท่ีแบบฮาร์มอนิ กอยา่ งงา่ ย ปรมิ าณท่ีเกีย่ วข้องกับการเคลื่อนท่ีแบบฮาร์มอนกิ อย่างงา่ ย แรงกบั การส่ันของมวลติดปลายสริงและ ลกู ตมุ้ อยา่ งง่าย ความถธ่ี รรมชาตแิ ละการส่ันพอ้ ง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มี ความสามารถในการตัดสนิ ใจ มที กั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รวมทง้ั ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ในด้านการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้และนำความรูไ้ ปใช้ในชีวิตของ ตนเอง มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. วิเคราะห์ และคำนวณงานของแรงคงตัว จากสมการและพ้ืนที่ใตก้ ราฟความสมั พนั ธ์ ระหว่างแรงกบั ตำแหนง่ รวมทง้ั อธบิ ายและ คำนวณกำลงั เฉล่ยี 2. อธิบายและคำนวณพลังงานจลน์ พลงั งานศักย์ พลงั งานกล ทดลองหาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งงานกบั พลังงานจลน์ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งงานกับพลงั งานศักย์โน้มถว่ ง ความสัมพนั ธร์ ะหว่างขนาดของแรงทใี่ ชด้ งึ สปริง กับระยะทสี่ ปริงยดื ออกและความสัมพันธ์ ระหวา่ งงานกับพลังงานศกั ยย์ ดื หย่นุ รวมทง้ั อธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างงานของแรงลัพธ์ และพลงั งานจลน์ และคำนวณงานทีเ่ กิดข้ึนจากแรงลัพธ์ 3. อธบิ ายกฎการอนรุ ักษพ์ ลงั งานกลรวมท้งั วิเคราะห์และคำนวณปริมาณต่างๆ ที่เกย่ี วข้องกบั การ เคล่อื นท่ีของวัตถุในสถานการณต์ ่างๆ โดยใชก้ ฎการอนุรักษพ์ ลังงานกล 4. อธิบายการทำงานประสทิ ธิภาพและการได้ เปรียบเชิงกลของเครอ่ื งกลอยา่ งงา่ ยบางชนดิ โดยใชค้ วามรู้ เรอ่ื งงานและสมดุลกลรวมท้งั คำนวณประสิทธภิ าพและการได้เปรียบเชงิ กล 5. อธิบายและคำนวณโมเมนตมั ของวัตถแุ ละการดล จากสมการและพื้นทีใ่ ต้กราฟความสัมพนั ธ์ระหว่าง แรงลพั ธก์ ับเวลา รวมทงั้ อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งแรงดลกับโมเมนตมั 6. ทดลองอธบิ ายและคำนวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวกับการชนของวัตถุในหนึ่งมิติทั้งแบบยืดหยุ่น ไม่ ยดื หยุ่นและการดดี ตวั แยกจากกนั ในหนง่ึ มิติซ่งึ เปน็ ไปตามกฎการอนรุ ักษ์ โมเมนตัม

5 7. อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกบั การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์และทดลอง การเคลอื่ นที่แบบโพรเจกไทล์ 8. ทดลองและอธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่าง แรงสู่ศนู ย์กลางรัศมีของการเคลอ่ื นที่ อัตราเรว็ เชงิ เสน้ อตั ราเรว็ เชิงมมุ และมวลของวตั ถใุ นการเคลือ่ นทแี่ บบวงกลมในระนาบ ระดับรวมท้งั คำนวณปริมาณตา่ งๆ ท่ี เก่ยี วข้องและประยุกตใ์ ชค้ วามร้กู ารเคลอื่ นท่ีแบบวงกลมในการอธิบายการโคจรของดาวเทียม 9. ทดลองและอธิบายการเคลื่อนท่ีแบบฮารม์อนกิ อยา่ งง่ายของวตั ถุติดปลายสปรงิ และลกู ต้มุ อยา่ งงา่ ย รวมทงั้ คำนวณปริมาณต่างๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง 10. อธิบายความถี่ธรรมชาติของวัตถุและการเกิดการส่ันพ้อง รวม 10 ผลการเรยี นรู้

6 โครงสรา้ งรายวชิ า รหัสวชิ า ว31206 ช่อื รายวชิ า ฟิสิกส์เพม่ิ เตมิ 2 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ผู้สอน นางสาววิจติ ตา อำไพจติ ต์ จำนวน 2 หนว่ ยกติ เวลา 80 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น โรงเรยี นธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม ลำดบั ชื่อหนว่ ย ผลการเรียนรู้ สาระคำคญั เวลา น้ำหนกั ที่ การเรียนรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน 1. วิเคราะห์ และคำนวณงานของแรงคงตัว -งานของแรงทีก่ ระทำตอ่ วตั ถหุ าไดจ้ ากผลคูณของ 1 งานและ จากสมการและพื้นทใ่ี ต้กราฟความสมั พันธ์ 20 25 พลังงาน ระหว่างแรงกับตำแหน่ง รวมทง้ั อธบิ ายและ คำนวณกำลังเฉลย่ี ขนาดของแรงและขนาดของการกระจัดกบั โคไซน์ ของมุมระหวา่ งแรงกบั การกระจดั ตามสมการ ������ = ������∆������ ������������������������ หรือ หางานได้จากพ้ืนท่ีใต้กราฟ ระหว่างแรงในแนวการเคลือ่ นท่กี ับตำแหน่ง โดยแรงที่ กระทำอาจเปน็ แรงคงตวั หรอื ไมค่ งตัวก็ได้ -งานท่ีทำได้ในหน่ึงหนว่ ยเวลา เรียกว่า กำลังเฉลย่ี ดังสมการ ������ = ������������ และพลังงานศักย์ยดื หย่นุ หาได้จาก ������������������ = 1 ������������2 2 -พลงั งานกลเป็นผลรวมของพลังงานจลนแ์ ละพลงั งาน ศกั ย์ตามสมการ ������ = ������������ + ������������ 2. อธบิ ายและคำนวณพลงั งานจลน์ -พลังงานเป็นความสามารถในการทำงาน พลงั งานศักย์ พลงั งานกล ทดลองหาความ สมั พนั ธร์ ะหว่างงานกับพลงั งานจลน์ -พลงั งานจลนเ์ ปน็ พลังงานท่วี ตั ถุกำลังเคลอ่ื นที่ หาได้ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างงานกับพลังงานศกั ย์ โน้มถว่ ง ความสัมพันธร์ ะหวา่ งขนาดของแรง จากสมการ ������������ = 1 ������������2 ทีใ่ ชด้ งึ สปรงิ กบั ระยะที่สปรงิ ยดื ออกและ 2 ความสัมพันธ์ ระหวา่ งงานกบั พลงั งานศักย์ -พลงั งานศกั ย์เป็นพลังงานท่ีเกย่ี วขอ้ งกับตำแหน่งหรือ ยดื หยุ่น รวมท้ัง อธบิ ายความสัมพนั ธ์ ระหว่างงานของแรงลัพธ์ และพลังงานจลน์ รูปรา่ งของวัตถุแบง่ ออกเปน็ พลงั งานศักย์โน้มถว่ ง หาได้ และคำนวณงานท่ีเกดิ ข้ึนจาก แรงลัพธ์ จากสมการ ������������ = ������������ℎ - แรงทที่ ำใหเ้ กดิ งานโดยงานของแรงน้ันไมข่ น้ึ กับ เส้นทางการเคล่ือนท่ี เช่น แรงโน้มถ่วงและแรงสปริง เรยี กวา่ แรงอนรุ กั ษ์ - งานและพลงั งานมคี วามสมั พนั ธ์กัน โดยงานของแรง ลัพธเ์ ท่ากบั พลงั งานจลนข์ องวตั ถทุ ีเ่ ปล่ียนไป ตามทฤษฎี บทงานพลังงานจลน์ เขียนแทนไดด้ ้วยสมการ ������ = ∆������������ 3. อธบิ ายกฎการอนุรักษพ์ ลงั งานกล รวมทง้ั -ถา้ งานท่ีเกิดขนึ้ กบั วตั ถุเป็นงานเน่ืองจากแรงอนรุ ักษ์ วเิ คราะห์และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี เท่านนั้ พลงั งานกลของวัตถุจะคงตัวซงึ่ เปน็ ไปตาม เก่ียวขอ้ งกบั การเคล่อื นท่ขี องวัตถใุ น กฎการอนรุ ักษพ์ ลงั งานกล เขยี นแทนได้ด้วย สถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้กฎการอนรุ ักษ์ สมการ Ek + Ep = คา่ คงตวั โดยท่ี พลังงานศกั ย์ พลงั งานกล อาจเปล่ยี นเปน็ พลังงานจลน์ -กฎการอนรุ ักษพ์ ลงั งานกล ใช้วเิ คราะห์การเคลอื่ นท่ี ต่าง ๆ เช่น การเคลอ่ื นทข่ี องวตั ถุท่ีตดิ สปรงิ การเคลอ่ื นทภ่ี ายใตส้ นามโน้มถว่ งของโลก

7 ลำดบั ช่อื หนว่ ย ผลการเรยี นรู้ สาระคำคัญ เวลา น้ำหนัก ที่ การเรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน งานและ 4. อธิบายการทำงานประสทิ ธภิ าพและการ -การทำงานของเคร่อื งกลอยา่ งง่าย ได้แก่ คาน รอก พน้ื พลังงาน ได้ เปรยี บเชิงกลของเครอื่ งกลอยา่ งงา่ ยบาง เอยี ง ลม่ิ สกรู และ ล้อกับเพลา ใชห้ ลกั ของงานและ ชนิด โดยใช้ความรู้เรื่องงานและสมดลุ กล สมดุลกลประกอบการพิจารณาประสทิ ธิภาพ และการ รวมทงั้ คำนวณประสิทธิภาพและการ ได้เปรยี บเชงิ กลของเคร่อื งกลอย่างงา่ ย ประสิทธภิ าพ ไดเ้ ปรยี บเชิงกล คำนวณไดจ้ ากสมการ Efficiency =������������������������ x 100% ������������������ การได้เปรยี บเชิงกลคำนวณไดจ้ ากสมการ ������. ������. = ������������������������ = ������������������������ 20 25 ������������������ ������������������ 2 โมเมนตัม 5. อธบิ ายและคำนวณโมเมนตัมของวัตถแุ ละ - วัตถุที่เคลอ่ื นท่ีจะมีโมเมนตมั ซง่ึ เป็นปริมาณเวกเตอรม์ ี และการชน การดลจากสมการและพืน้ ทใ่ี ต้กราฟ คา่ เท่ากับผลคณู ระหวา่ งมวลและความเร็วของวัตถุ ความสัมพันธ์ระหวา่ งแรงลัพธก์ บั เวลา ดงั สมการ ���⃑��� = ���������⃑��� รวมทง้ั อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างแรงดล - เมอ่ื มแี รงลัพธก์ ระทำต่อวัตถุจะทำใหโ้ มเมนตัมของวัตถุ กบั โมเมนตัม เปล่ียนไป โดยแรงลพั ธ์เทา่ กบั อัตราการเปล่ียนแปลง โมเมนตมั ของวตั ถุ - แรงลพั ธ์ทก่ี ระทำต่อวตั ถใุ นเวลาส้นั ๆ เรยี กว่า แรงดล โดยผลคูณของแรงดลกบั เวลา เรียกวา่ การดล ตามสมการ ���⃑��� = (∑������������=1 ���⃑���������)∆������ ซง่ึ การดล อาจหา ได้จากพนื้ ทีใ่ ต้กราฟระหว่างแรงดลกับเวลา 6.ทดลองอธบิ ายและคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ - ในการชนกนั ของวัตถแุ ละการดีดตวั ออกจากกันของ ท่เี กย่ี วกบั การชนของวตั ถุในหนง่ึ มติ ิทงั้ แบบ วัตถุในหนึ่งมติ ิ เม่ือไม่มแี รงภายนอกมากระทำ โมเมนตมั ยืดหย่นุ ไมย่ ดื หยุน่ และการดดี ตัวแยกจาก ของระบบมคี ่าคงตัวซงึ่ เป็นไปตามกฎการอนรุ ักษ์ กนั ในหน่งึ มิตซิ ่ึงเปน็ ไปตามกฎการอนุรกั ษ์ โมเมนตัม เขยี นแทนได้ดว้ ยสมการ ���⃑⃑⃑���⃑������ = ⃑���⃑���⃑⃑���⃑��� โมเมนตมั โดย ⃑���⃑⃑���⃑������เปน็ โมเมนตัมของระบบก่อนชน และ ⃑���⃑���⃑⃑���⃑��� เป็นโมเมนตมั ของระบบหลังชน - ในการชนกันของวตั ถุ พลงั งานจลน์ของระบบอาจคง ตัวหรือไม่คงตวั กไ็ ด้ การชนทพ่ี ลังงานจลน์ของระบบคง ตวั เปน็ การชนแบบยดื หยุ่น สว่ นการชนทพ่ี ลงั งานจลน์ ของระบบไม่คงตวั เป็นการชนแบบไมย่ ืดหยุ่น 3 การ 7. อธิบาย วเิ คราะห์ และคำนวณปริมาณ -การเคลอื่ นท่ีแนวโค้งพาราโบลาภายใตส้ นามโน้มถว่ ง 20 25 เคลื่อนท่ี ตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับการเคล่อื นทแ่ี บบ โดยไมค่ ดิ แรงต้านของอากาศเป็นการเคล่ือนที่แบบ แบบโค้ง โพรเจกไทล์และทดลองการเคลื่อนท่แี บบ โพรเจกไทล์ วัตถมุ กี ารเปลี่ยนตำแหนง่ ในแนวดิ่งและ โพรเจกไทล์ แนวระดับพรอ้ มกันและเป็นอสิ ระตอ่ กัน สำหรับการ เคล่ือนทใ่ี นแนวดิง่ เป็นการเคลอ่ื นท่ที ีม่ แี รงโน้มถว่ ง กระทำจึงมีความเรว็ ไม่คงตวั ปรมิ าณต่าง ๆ มี ความสมั พันธต์ ามสมการ ������������ = ������������ + ������������������ 1 ������������ = ������������������ + 2 ������������������ ⌈������������ + ������������ ⌉ ������������ = 2 ������ ���������2��� = ���������2��� + 2������������������������������ ส่วนการเคล่ือนที่ในแนวระดบั ไม่มแี รงกระทำจงึ มี ความเร็วคงตวั ตำแหนง่ ความเร็ว และเวลา มี ความสัมพนั ธ์ตามสมการ ������������ = ������������������

8 ลำดบั ชื่อหน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระคำคญั เวลา น้ำหนัก ที่ การเรยี นรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน 3 การ 8. ทดลองและอธิบายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง -วตั ถทุ ีเ่ คลอ่ื นที่เปน็ วงกลมหรือสว่ นของวงกลม เรียกวา่ เคลือ่ นที่ แรงสูศ่ นู ยก์ ลาง รัศมขี องการเคลอ่ื นที่ วัตถนุ ้ันมกี ารเคล่ือนทีแ่ บบวงกลม ซงึ่ มี แรงลพั ธ์ที่ แนวโคง้ อตั ราเร็วเชงิ เส้นอัตราเร็วเชงิ มุม และมวล กระทำกับวัตถุในทศิ เขา้ สูศ่ นู ย์กลาง เรยี กวา่ แรงสู่ ของวัตถุในการเคลือ่ นทแ่ี บบวงกลมใน ศนู ย์กลาง ทำใหเ้ กิดความเร่งสูศ่ ูนยก์ ลางท่มี ขี นาด ระนาบ ระดับรวมทัง้ คำนวณปริมาณตา่ งๆที่ สัมพนั ธก์ บั รัศมขี องการเคล่ือนท่แี ละอตั ราเรว็ เชงิ เสน้ เกี่ยวขอ้ งและประยุกตใ์ ช้ความรูก้ ารเคล่อื นที่ ของวัตถุ ซ่งึ แรงสศู่ นู ยก์ ลาง คำนวณไดจ้ ากสมการ แบบวงกลมในการอธิบายการโคจรของ ������������ = ������������2 นอกจากนี้การเคล่ือนท่แี บบวงกลมยัง ดาวเทียม ������ สามารถอธบิ ายไดด้ ้วยอตั ราเร็วเชงิ มมุ ซง่ึ มคี วามสมั พนั ธ์ กับอัตราเร็วเชงิ เส้นตามสมการ ������ = ������������ และแรงสศู่ ูนย์กลางมคี วามสัมพันธ์กบั อัตราเรว็ เชงิ มุม ตามสมการ ������������ = ������������2������ -ดาวเทยี มที่โคจรในแนววงกลมรอบโลกมีแรงดงึ ดูดทโ่ี ลก กระทำตอ่ ดาวเทยี มเป็นแรงสศู่ นู ย์กลาง ดาวเทียมทีม่ วี ง โคจรคา้ งฟา้ ในระนาบของเสน้ ศนู ยส์ ูตรมคี าบการโคจร เท่ากับคาบการหมนุ รอบตัวเองของโลก หรอื มอี ัตราเร็ว เชงิ มุมเท่ากับอตั ราเร็วเชงิ มุมของตำแหน่ง 4 เคลื่อนท่ี 9. ทดลองและอธิบายการเคล่ือนทแี่ บบฮาร์ - การเคลือ่ นท่แี บบฮาร์มอนกิ อยา่ งงา่ ยเปน็ การเคล่อื นที่ 20 25 แบบฮารม์อ มอนกิ อยา่ งง่าย ของวัตถุติดปลายสปริงและ ของวตั ถุท่กี ลับไปกลบั มาซ้ำรอยเดิมผ่านตำแหนง่ สมดุล นกิ อย่าง ลกู ตมุ้ อยา่ งงา่ ย รวมทั้งคำนวณปริมาณต่างๆ โดยมคี าบและแอมพลจิ ูดคงตวั และมกี ารกระจัดจาก งา่ ย ที่เก่ียวขอ้ ง ตำแหนง่ สมดุลทเ่ี วลาใด ๆ เป็นฟงั กช์ ันแบบไซน์ โดย ปรมิ าณต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง มคี วามสมั พนั ธต์ ามสมการ ������ = ������������������������(������������ + ∅) ������ = ������������������������������(������������ + ∅) ������ = ±ω√������2 − ������2 ������ = −������������2������������������(������������ + ∅) ������ = −������2������ - การสนั่ ของวัตถตุ ิดปลายสปริง และการแกวง่ ของ ลกู ตุ้มอย่างง่ายเปน็ การเคลอ่ื นท่ีแบบฮารม์ อนิกอยา่ งงา่ ย ท่มี ีขนาดของความเรง่ แปรผันตรงกบั ขนาดของการ กระจัดจากตำแหน่งสมดลุ แต่มที ศิ ทางตรงข้าม โดยมี คาบการส่นั ของวัตถุทีต่ ิดอย่ทู ปี่ ลายสปรงิ และคาบการ แกว่งของลกู ตมุ้ ตามสมการ 10. อธิบายความถี่ธรรมชาตขิ องวัตถุและการ ������ = 2������√������������ และ ������ = 2������√������������ เกดิ การสนั่ พ้อง เมือ่ ดึงวัตถุทีต่ ดิ ปลายสปรงิ ออกจากตำแหนง่ สมดลุ แลว้ ปล่อยใหส้ นั่ วัตถจุ ะสนั่ ดว้ ยความถ่ีเฉพาะตวั รวม การดงึ ลกู ต้มุ ออกจากแนวด่ิงแล้วปล่อยใหแ้ กว่ง ลกู ตุม้ จะแกวง่ ด้วยความถเ่ี ฉพาะตัวเช่นกัน ความถท่ี มี่ คี ่าเฉพาะตัวนี้ เรียกว่า ความถีธ่ รรมชาติ เมอื่ กระตนุ้ ใหว้ ัตถุสัน่ ดว้ ยความถ่ที ่ีมีคา่ เทา่ กบั ความถธี่ รรมชาตขิ องวัตถจุ ะทำให้วัตถสุ น่ั ด้วย แอมพลิจดู เพม่ิ ข้นึ เรียกวา่ การสัน่ พอ้ ง 80 100

9 4. การวัดและประเมนิ ผล 4.1 การประเมนิ ระหวา่ งภาคและปลายภาค อัตราสว่ น 70 : 30 4.1.1 การประเมินระหวา่ งภาค 70 คะแนน - ประเมนิ ก่อนสอบกลางภาค 20 คะแนน - ประเมินกลางภาค 20 คะแนน - ประเมินหลงั สอบกลางภาค 20 คะแนน - ประเมนิ โครงงาน OCOP 10 คะแนน ( บรู ณาการ ) 4.1.2 การประเมนิ ปลายภาค 30 คะแนน 4.2 การประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 4.3 การประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน 5. สอื่ การเรียนรู้ 1) เอกสารประกอบการสอน รายวชิ าฟิสิกส์เพ่มิ เตมิ 2 ระดบั ชน้ั ม.4 2) หนังสือเรยี นรายวิชาฟสิ ิกส์เพมิ่ เตมิ เลม่ 2 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 3) สือ่ power point เรื่อง งานและพลังงาน 4) ส่อื power point เรื่อง โมเมนตัมและการชน 5) สือ่ power point เรื่อง การเคล่ือนที่แบบโคง้ 6) ส่ือ power point เรื่อง การเคล่อื นท่ีแบบฮารม์ อนกิ อยา่ งงา่ ย 6. แหล่งเรยี นรู้ 1) แหลง่ เรยี นรจู้ ากอนิ เทอร์เน็ต YouTube 2) สวนสนกุ ดรีมเวลิ ด์

10 ตอนท่ี 2 การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรยี นรู้

11 หน่วยการเรยี นที่ 1 เรอ่ื ง งานและพลังงาน รหัสวิชา ว 31206 ชื่อรายวิชา ฟิสิกสเ์ พมิ่ เติม 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 2.0 หนว่ ยกิต เวลา 14 ชั่วโมง ผูส้ อน นางสาววิจิตตา อำไพจติ ต์ โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวทิ ยาคม 1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้ สาระท่ี 1 เขา้ ใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ปรมิ าณและกระบวนการวดั การเคลอ่ื นทแี่ นวตรง แรงและกฎการ เคลือ่ นทขี่ องนิวตนั กฎความโนม้ ถว่ งสากล แรงเสียดทานสมดุลกลของวัตถุ งาน และกฎการอนรุ กั ษ์พลงั งานกล โม เมนตัมและกฎการอนรุ กั ษ์ โมเมนตมั การเคล่อื นทแ่ี นวโค้ง รวมทงั้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1. วิเคราะห์ และคำนวณงานของแรงคงตัว จากสมการและพื้นที่ใต้กราฟความสัมพันธ์ ระหว่างแรงกับ ตำแหนง่ รวมทั้งอธบิ ายและ คำนวณกำลงั เฉล่ีย 2. อธิบายและคำนวณพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานกล ทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างงานกับ พลงั งานจลน์ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างงานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง ความสัมพันธ์ระหวา่ งขนาดของแรงที่ใชด้ ึง สปริง กับระยะที่สปริงยืดออกและความสัมพันธ์ ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ยืดหยุ่น รวมทั้ง อธิบายความสัมพันธ์ ระหวา่ งงานของแรงลัพธ์ และพลังงานจลน์ และคำนวณงานที่เกดิ ขน้ึ จากแรงลัพธ์ 3. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลังงานกลรวมทั้ง วิเคราะห์และคำนวณปริมาณต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการ เคลอ่ื นทีข่ องวัตถใุ นสถานการณต์ า่ งๆโดยใชก้ ฎการอนรุ กั ษ์พลังงานกล 4. อธบิ ายการทำงานประสิทธิภาพและการได้ เปรียบเชงิ กลของเคร่ืองกลอยา่ งงา่ ยบางชนดิ โดยใชค้ วามรู้ เรอ่ื งงานและสมดุลกลรวมทัง้ คำนวณประสิทธภิ าพและการได้เปรียบเชิงกล 2. สาระสำคญั งานของแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถุหาได้จากผลคณู ของขนาดของแรงและขนาดของการกระจดั กับโคไซน์ ของมุมระหว่างแรงกับการกระจัด ตามสมการ W = Fs cosӨ หรือคำนวณหางานได้จากพื้นที่ใต้กราฟระหว่าง แรงและการกระจัด 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง งานของแรงที่กระทำตอ่ วตั ถุหาได้จากผลคูณของขนาดของแรงและขนาดของการกระจัดกบั โคไซน์ของมุม ระหว่างแรงกับการกระจัด ตามสมการ W = Fs cosӨ หรือหางานได้จากพื้นที่ใต้กราฟระหวา่ งแรงในแนวการ

12 เคลื่อนที่กับตำแหน่งโดยแรงที่กระทำอาจเป็นแรงคงตวั หรือไม่คงตัวก็ได้ งานที่ทำได้ในหนึง่ หน่วยเวลา เรียกวา่ กำลงั เฉลยี่ พลงั งานเปน็ ความสามารถในการทำงาน พลังงานจลน์เปน็ พลังงานของวตั ถุที่กำลงั เคลื่อนท่ีคำนวณได้ จากสมการ Ek=mv2 พลังงานศกั ยเ์ ปน็ พลังงานท่เี กีย่ วข้องกบั ตำแหนง่ หรอื รปู ร่างของวตั ถุ แบง่ ออกเป็นพลังงาน ศักย์โนม้ ถ่วง คำนวณได้จากสมการ Ep= mgh และพลังงานศักย์ยดื หยุ่น คำนวณได้ ถ้างานที่เกดิ ขึน้ กบั วัตถเุ ป็น งานเน่ืองจากแรงอนุรกั ษ์เท่าน้ัน พลังงานกลของวัตถุจะคงตัวซึง่ เปน็ ไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงานกล เขียนแทน ได้ด้วยสมการ Ek + Ep = ค่าคงตัวโดยท่ีพลงั งานศกั ยอ์ าจเปลีย่ นเปน็ พลังงานจลน์ กฎการอนุรักษ์พลังงานกลใช้วิเคราะห์การเคลื่อนที่ต่าง ๆ เช่น การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ติดสปริงการ เคลือ่ นท่ภี ายใตส้ นามโน้มถ่วงของโลกการทำงานของเครือ่ งกลอยา่ งงา่ ย ได้แก่ คาน รอกพ้นื เอยี ง ลิม่ สกรู และล้อ กับเพลา ใช้หลักของงานและสมดุลกลประกอบการพิจารณาประสิทธิภาพและการได้เปรียบเชิงกลของเครื่องกล อยา่ งง่าย 4. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี นและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มีวินยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. มีจิตวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ความสนใจใฝ่รู้ มุ่งมั่น 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ในการทำงาน 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 5. ชน้ิ งานหรือภาระงาน - ใบงาน - แบบฝึกทักษะ - แบบทดสอบ - กจิ กรรมทดลอง

13 6. การวดั และประเมินผล รายการวดั วิธีวดั เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ 6.1 การประเมนิ ชนิ้ งาน/ ใบงาน ผ่านเกณฑ์ในระดับ แบบฝึกหัดเพิ่มเติม ดี ขึน้ ไป ภาระงาน แบบประเมิน - - ใบงาน ตรวจใบงาน 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ผ่านเกณฑ์ในระดับ - แบบฝกึ หดั เพิ่มเติม ตรวจแบบฝกึ หดั ใบงาน ดี ขน้ึ ไป แบบฝกึ ทกั ษะ - ทำการทดลองและนำเสนอ บันทึกผลการทดลอง ข้อคำถามอตั นัย ผา่ นเกณฑ์ในระดับ การเขียนกราฟ รายงานการ ดี ขึ้นไป ผลการทดลอง แบบบนั ทึกสมรรณนะสำคัญ ทดลอง ของผ้เู รยี น ดา้ น ผา่ นเกณฑ์การ -ความสามารถในการสื่อสาร ประเมินในระดับ ดี 6.2 การประเมินกอ่ นเรยี น -ความสามารถในการคิด ขน้ึ ไป -ความสามารถในการใช้ 1. ทดสอบก่อนเรยี น 1. ใชแ้ บบทดสอบก่อนเรยี น เทคโนโลยี ผ่านเกณฑ์ ได้คะแนนร้อยละ 6.3 การประเมนิ ระหวา่ งเรยี น แบบสังเกตพฤตกิ รรม 70 ประกอบดว้ ย - ด้านความรู้ 1) แตง่ กายถกู ระเบยี บ 2) เขา้ เรยี นตรงเวลา . ใบงาน ใชต้ รวจคำตอบใบงาน 3) มีอปุ กรณ์การเรียนพรอ้ ม 4) ทำงานเสร็จตรงตรามเวลา - ด้านกระบวนการ 5) ผลงานผา่ นตามเกณฑ์ . แบบฝึกทักษะ ใช้ตรวจแบบฝึกทกั ษะ 1. แบบทดสอบปรนยั ข้อคำถามอัตนยั - ด้านสมรรณนะสำคัญของ ตรวจแบบฝึกทักษะ โดยนำมา ผูเ้ รยี น ประเมนิ รว่ มกับการ ใช้แบบบนั ทกึ สมรรณนะสำคญั ของผู้เรียน ด้าน -ความสามารถในการส่ือสาร -ความสามารถในการคิด -ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึง สังเกตพฤตกิ รรมในชนั้ เรยี น โดย ประสงค์ ใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรม มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นใน การทำงาน 6.4 การประเมินหลังเรยี น 1.ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน 1. ทดสอบหลังเรยี น

14 7. กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ เรื่องที่ ชือ่ เรื่อง วิธีสอน/เทคนคิ การสอน เวลา (ชว่ั โมง) 1 แรงและงาน การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 4 2 งานของแรงท่ที ำมุมกบั แนวการ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 2 เคล่ือนท่ี 2 4 3 การหางานจากพ้ืนท่ีใตก้ ราฟ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 4 4 4 พลงั งานจลน์ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) +ทดลอง 4 2 5 พลังงานศกั ย์ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) +ทดลอง 26 6 กฎการอนุรักษ์พลังงาน การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 7 กำลัง การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 8 เครือ่ งกล การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) รวม 8. สือ่ การเรียนร/ู้ แหลง่ เรียนรู้ สือ่ การเรยี นรู้ 1) เอกสารประกอบบทเรยี น เร่อื ง งานและพลังงาน 2) หนงั สือเรยี นรายวชิ าฟิสิกสเ์ พิ่มเตมิ เลม่ 2 ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 3) สอ่ื power point เร่อื ง งานและพลงั งาน แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ ประกอบ หน่วยการเรียนรู้ เรอ่ื ง งานและพลงั งาน รถไฟตีลงั กา วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ กิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=24M- lXfRJtA&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKsZTr&index=348 วิชาฟสิ ิกส์ - บทเรียน งานและกำลัง https://www.youtube.com/watch?v=nMOCxIl_nsc&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKW Gk&index=7 วชิ าฟสิ กิ ส์ - บทเรยี น เคร่ืองกล https://www.youtube.com/watch?v=rZL4pHlcluk&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKW Gk&index=14 วิชาฟสิ ิกส์ - บทเรียน พลังงานศักย์ https://www.youtube.com/watch?v=pEh0hcu- YhM&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKWGk&index=25 แรงเสียดทาน วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ กิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=AqPNYNJkLkY&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvK sZTr&index=205

15 การชดเชยแรงเสยี ดทาน วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสิกส์) https://www.youtube.com/watch?v=KT1rjEY32KU&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKs ZTr&index=207 วชิ าฟสิ ิกส์ - บทเรียน พลังงานจลน์ https://www.youtube.com/watch?v=0RtvC8HKnCk&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yK WGk&index=28 วชิ าฟสิ กิ ส์ - บทเรียน การประยกุ ต์เรื่องพลงั งาน อนรุ ักษ์พลังงาน https://www.youtube.com/watch?v=IoAK9tKZsxo&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKW Gk&index=29 วชิ าฟสิ ิกส์ - บทเรียน อนรุ ักษพ์ ลังงาน https://www.youtube.com/watch?v=cjyBelnP4Zk&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKW Gk&index=57 การใช้งานจริงของ สกรู วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสกิ ส์ https://www.youtube.com/watch?v=mkBcxYYMiP8&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvK sZTr&index=190 การใช้งานจริงของพ้นื เอียง วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ กิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=04PKkGUD0jI&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKs ZTr&index=191 การทำงานของล้อและเพลา วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ กิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=GZfPaFaCL7Y&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKs ZTr&index=192 ค้อนงดั ตะปู วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสิกส์) https://www.youtube.com/watch?v=8NV5d0bQQ78&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426Qv KsZTr&index=193 ใชค้ านงัดยกวัตถุข้ึนในแนวดิ่ง วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสิกส์) https://www.youtube.com/watch?v=i2ouh2oCnP8&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvK sZTr&index=194 การใช้งานของรอกเด่ียวเคลื่อนที่ วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ กิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=GiOtvlgbFUE&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKs ZTr&index=195 การใช้งานของรอกเด่ียวตายตัว วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสิกส์) https://www.youtube.com/watch?v=3CCSRjEjOOg&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKs ZTr&index=196 วชิ าฟสิ กิ ส์ - กจิ กรรม กฎของฮกุ https://www.youtube.com/watch?v=3WCeXgclb7w&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yK WGk&index=82

16 แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ที่ 1 งานและพลงั งาน ผลการเรียนรู้ 1. วิเคราะห์ และคำนวณงานของแรงคงตัว จากสมการและพื้นที่ใต้กราฟความสัมพันธ์ ระหว่างแรงกบั ตำแหนง่ รวมท้งั อธบิ ายและ คำนวณกำลังเฉล่ยี 2. อธิบายและคำนวณพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานกล ทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างงานกับ พลังงานจลน์ ความสัมพันธร์ ะหว่างงานกับพลงั งานศักย์โน้มถ่วง ความสัมพนั ธร์ ะหว่างขนาดของแรงท่ีใชด้ งึ สปริง กับระยะที่สปริงยืดออกและความสัมพันธ์ ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ยืดหยุ่น รวมทั้ง อธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างงานของแรงลพั ธ์ และพลังงานจลน์ และคำนวณงานท่เี กดิ ขน้ึ จากแรงลพั ธ์ 3. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลังงานกลรวมทั้ง วิเคราะห์และคำนวณปริมาณต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการ เคลือ่ นท่ีของวตั ถุในสถานการณ์ตา่ งๆโดยใช้กฎการอนรุ ักษ์พลังงานกล 4. อธิบายการทำงานประสิทธิภาพและการได้ เปรียบเชงิ กลของเคร่อื งกลอยา่ งงา่ ยบางชนดิ โดยใชค้ วามรู้ เร่อื งงานและสมดลุ กลรวมท้ัง คำนวณประสิทธิภาพและการได้เปรยี บเชิงกล รายการประเมิน 1. แบบทดสอบ เรอื่ ง งานและพลงั งาน 2. แบบฝึกหัด และใบงาน 3. การทดลองหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งงานกับพลงั งาน

17 เกณฑก์ ารประเมินระดับคณุ ภาพ รายการประเมิน 4 (ดมี าก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรบั ปรุง) 3 (ด)ี 2 (พอใช)้ 1.แบบทดสอบ คำตอบถกู แสดงวิธีคดิ ได้ คำตอบถูก แสดงวิธคี ิดได้ เหตผุ ลหรือการคำนวณ แสดงวิธีคิดเล็กนอ้ ย แต่ และสรุปคำตอบได้ ถูกต้อง แตไ่ มไ่ ดใ้ ส่หนว่ ย ผิดพลาด แตม่ ีแนวทางที่ ยังไม่ไดค้ ำตอบ ถูกตอ้ ง ชัดเจน หรือสรปุ คำตอบ จะไดค้ ำตอบ 2.บนั ทกึ ผลการ ในรายงานผลการทดลอง ในรายงานผลการทดลอง ในรายงานผลการทดลอง ในรายงานผลการทดลอง ทดลอง มีการอธิบายผลการ แสดงใหเ้ หน็ ว่านกั เรียนมี มีการแสดงผลการทดลอง มีการแสดงผลการทดลอง ทดลองได้ชัดเจน มกี ารใช้ ความเขา้ ใจใจผลการ การสรุปผลยงั ไมส่ มบรู ณ์ ขาดการสรปุ ผล หรือไม่ ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ทดลองและรู้ว่าจะอธิบาย หรอื มกี ารสรปุ ผล แต่สรุป สมบูรณ์ หรอื สบั สน หรอื จากการทดลองอ่ืนๆ ผลการทดลองน้นั อย่างไร หลงั จากถกู ถามคำถาม ประกอบคำอธิบาย 3. การเขียนกราฟ เขยี นกราฟได้อยา่ ง เขยี นกราฟไดอ้ ย่าง เขยี นกราฟไดอ้ ยา่ ง เขยี นกราฟได้อย่าง ถกู ต้อง สมบูรณ์ครบถ้วน ถูกต้อง ขาดองคป์ ระกอบ ถูกตอ้ ง ขาดองค์ ถูกต้อง ขาดองค์ประกอบ ทุกองคป์ ระกอบ กราฟไป 1 องคป์ ระกอบ ประกอบของกราฟไป 2 กราฟมากกว่า 2 องค์ประกอบ องคป์ ระกอบ 4.ทำการทดลอง การทดลองที่ใช้แสดงให้ การทดลองทใ่ี ช้แสดงให้ การทดลองทใ่ี ช้แสดงให้ การทดลองทใี่ ช้แสดงให้ เห็นว่านักเรยี นได้มกี าร เหน็ วา่ นักเรยี นได้นำ เห็นวา่ นกั เรยี นไดใ้ ช้ เหน็ ว่านักเรียนสามารถ วิเคราะห์ปญั หาและ ความคิดกระบวนการทาง กระบวนการทาง ทำการทดลองไดเ้ ม่อื ออกแบบการทดลองได้ วิทยาศาสตร์มาใชใ้ นการ วิทยาศาสตร์ แต่ ได้รับความช่วยเหลอื จาก ดว้ ยตนเองและสามารถ ทดลองโดยมกี ารควบคุม จำเปน็ ต้องช่วยในการ ครู ทำการทดลองไดอ้ ยา่ ง ตวั แปรต่างๆ ควบคุมตัวแปร เหมาะสม 5.การนำเสนอผล การพูดนำเสนอทำได้ การพดู นำเสนอไดร้ ับการ การพดู นำเสนอทำได้ การพดู นำเสนอทำไดห้ ลัง การทดลอง อยา่ งชดั เจน ถูกตอ้ ง ผูฟ้ งั จัดเตรยี มด้วยความชว่ ย หลงั จากไดร้ ับการสอน ได้รบั การสอนจากครู ใหค้ วามสนใจ มที ่าทาง เหลือบางประการจากครู จากครู มกี ารใชท้ ่าทาง นำ้ เสยี ง และการสบ แต่มกี ารนำเสนอผลการ นำ้ เสยี ง และการสบ สายตาผู้ฟังดีมาก ทดลอง การพูดมเี หตุ มี สายตาผฟู้ งั ผล และใชท้ ่าทาง ประกอบนำ้ เสียงและการ สบตาผฟู้ งั ทำไดด้ ี

18 เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค(์ A) ในการจดั การเรยี นการสอนในรายวิชา ว31206 ฟสิ กิ ส์เพิ่มเติม 2 ดงั น้ี 1. มวี นิ ัย หมายถึง 1) แตง่ กายถูกระเบียบของโรงเรียน 2) เขา้ เรยี นตรงเวลา 2. ใฝเ่ รยี นรู้ หมายถึง มคี วามพร้อมด้านอุปกรณ์การเรยี น 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน หมายถงึ 1) ทำงานเสร็จตรงตรามเวลา 2) ผลสำเร็จของงานผ่านตามเกณฑ์ วธิ ีการประเมนิ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คะแนน ความหมาย เกณฑ์การผ่าน การประเมิน การสังเกต แบบสังเกต ปฏบิ ัตไิ ด้ 5 ข้อ 10 ดมี าก ระดับคะแนน พฤตกิ รรม ปฏิบัติได้ 4 ข้อ 8 ดี 8 ขึน้ ไป ปฏิบัติได้ 3 ขอ้ 6 พอใช้ ปฏิบตั ิได้ 0-2 ข้อ 0-4 ปรับปรงุ รายการประเมนิ 4 ระดบั คุณภาพ 1 (ดีมาก) 32 (ปรับปรุง) รายการพฤตกิ รรม สมรรถนะสำคัญ (ด)ี (พอใช)้ 1. มีการปรกึ ษาและวางแผนรว่ มกนั กอ่ นทำงาน 2. มกี ารแบง่ หนา้ ทอ่ี ยา่ งเหมาะสมและสมาชิกทำตาม มพี ฤติกรรม มพี ฤติกรรม มีพฤติกรรม มีพฤติกรรม หน้าทท่ี ุกคน ต้ังแต่ 8 ขอ้ ต้งั แต่ 5-7 ข้อ ตง้ั แต่ 4-2 ขอ้ นอ้ ยกว่า 2 3. มีการปฏบิ ตั ิงานตามขน้ั ตอน 4. มีการใหค้ วามช่วยเหลอื กัน ข้อ 5. ผลงานเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ทีก่ ำหนด 6. ผลงานเสรจ็ ทนั ตามกำหนดเวลา 7. ผลงานมีความคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์ 8. ผลงานแสดงถึงการนำความรทู้ ี่ได้มาประยุกต์ใช้ 9. สามารถใหค้ ำแนะนำกล่มุ อ่ืนได้ 10. การจดั วสั ดุ อุปกรณ์ เรียบร้อย หลงั เลิกปฏบิ ตั ิงาน คะแนนตัดสินระดับคุณภาพ คุณภาพ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี คะแนน 9-10 หมายถึง ดี คะแนน 6-8 หมายถึง ปานกลาง ระดับ 2 หมายถงึ มีพฤติกรรมในระดบั ปานกลาง คะแนน 0-5 หมายถงึ ปรับปรุง ระดบั 1 หมายถงึ มีพฤตกิ รรมในระดบั ปรับปรุง เกณฑก์ ารผ่านร้อยละ 60 (6 คะแนน)

19 หนว่ ยการเรียนที่ 2 เรือ่ ง โมเมนตมั และการชน รหสั วิชา ว 31206 ช่ือรายวชิ า ฟสิ ิกสเ์ พมิ่ เตมิ 2 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน 2.0 หน่วยกติ เวลา 20 ชว่ั โมง ผสู้ อน นางสาววจิ ิตตา อำไพจติ ต์ โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวทิ ยาคม 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 1 เขา้ ใจธรรมชาติทางฟสิ ิกส์ปริมาณและกระบวนการวดั การเคลอื่ นทแี่ นวตรง แรงและกฎการ เคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทานสมดุลกลของวัตถุ งาน และกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนรุ กั ษโ์ มเมนตมั การเคลือ่ นที่แนวโค้ง รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ 5. อธิบายและคำนวณโมเมนตัมของวัตถุและการดลจากสมการและพื้นที่ใต้กราฟความสัมพนั ธ์ระหว่าง แรงลพั ธก์ บั เวลารวมทงั้ อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งแรงดลกบั โมเมนตัม 6.ทดลองอธิบาย และคำนวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวกับการชนของวัตถุในหนึ่งมิติทั้งแบบ ยืดหยุ่นไม่ ยดื หยุน่ และการดีดตวั แยกจากกัน ในหนึ่งมติ ซิ งึ่ เป็นไปตามกฎการอนรุ ักษ์ โมเมนตัม 2. สาระสำคญั วัตถทุ เ่ี คลือ่ นท่ีจะมีโมเมนตมั ซง่ึ เป็นปริมาณเวกเตอร์มีคา่ เท่ากับผลคูณระหว่างมวลและความเร็วของวัตถุ ดังสมการ p = mv เมื่อมีแรงลัพธ์กระทำต่อวัตถุจะทำให้โมเมนตัมของวัตถุเปลี่ยนไป โดยแรงลัพธ์เท่ากับ อัตราการเปล่ียนโม เมนตัมของวัตถุในการชนกันของวัตถแุ ละการดีดตัวออกจากกนั ของวัตถุในหนึง่ มติ ิ เมอ่ื ไม่มแี รง ภายนอกมากระทำ โมเมนตัมของระบบมคี า่ คงตัวซง่ึ เปน็ ไปตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตมั 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง โมเมนตัม หมายถงึ ความสามารถในการเคล่ือนทขี่ องวตั ถุ ซง่ึ มีค่าเท่ากบั ผลคูณระหว่างมวลและความเร็ว ของวัตถุ มวลเป็นปริมาณสเกลาร์แต่ความเร็วเป็นปริมาณเวกเตอร์ เมื่อนำปริมาณทั้งสองเข้าคูณด้วยกัน ถือว่า ปริมาณใหม่เป็นปริมาณเวกเตอร์เสมอ ฉะนั้นโมเมนตัมจึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ คือมีทั้งขนาดและทิศทาง โมเมนตัม = มวล × ความเร็ว กฎการอนุรักษโ์ มเมนตัม และการชน โมเมนตัมมีสมบัติพิเศษนั่นก็คือจะถูกอนุรักษ์อยู่เสมอ (ไม่เพิ่มขึ้น และในขณะเดียวกันก็ไม่ลดหายไป) แม้แต่ในการชน พลังงานจลน์น้นั จะไม่ถกู อนรุ กั ษ์ในการชน ถา้ การชนนนั้ เปน็ การชนแบบไมย่ ืดหยุ่น เนื่องจากการ คงตัวของโมเมนตมั ทก่ี ล่าวมาแล้ว จึงทำใหส้ ามารถนำไปคำนวณความเร็วทีไ่ มท่ ราบคา่ ภายหลังการชนได้

20 ปัญหาในวิชาฟิสิกส์ที่จะต้องใช้ความจริงที่กล่าวมานี้ ก็คือการชนกันของสองอนุภาค โดยผลรวมของ โมเมนตมั ก่อนการชนจะต้องเท่ากับผลรวมของโมเมนตัมหลงั การชนเสมอ 4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 3. มีวินัย 2. ความสามารถในการคดิ 4. มีจิตวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ความสนใจใฝ่รู้ มุ่งมั่น 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา ในการทำงาน 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 5. ช้ินงานหรอื ภาระงาน - ใบงาน - แบบฝึกทักษะ - แบบทดสอบ - กจิ กรรมทดลอง

21 6. การวดั และประเมินผล รายการวัด วธิ ีวัด เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ในระดบั 6.1 การประเมินช้นิ งาน/ ใบงาน ดี ขึ้นไป แบบฝึกหัดเพิม่ เตมิ ภาระงาน แบบประเมนิ - ผ่านเกณฑ์ - ใบงาน ตรวจใบงาน 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ในระดับดี ข้ึนไป ผา่ นเกณฑ์ - แบบฝกึ หัดเพิ่มเติม ตรวจแบบฝึกหัด ใบงาน ในระดับ ดี ขึน้ ไป แบบฝึกทกั ษะ - ทำการทดลองและนำเสนอ บนั ทึกผลการทดลอง ขอ้ คำถามอัตนยั ผ่านเกณฑ์ การเขยี นกราฟ รายงานการ ในระดับ ดี ขึ้นไป ผลการทดลอง แบบบนั ทกึ สมรรณนะสำคญั ทดลอง ของผเู้ รยี น ด้าน ผา่ นเกณฑ์ -ความสามารถในการส่อื สาร ได้คะแนนร้อยละ 6.2 การประเมินก่อนเรียน -ความสามารถในการคดิ 70 -ความสามารถในการใช้ 1. ทดสอบก่อนเรยี น 1. ใชแ้ บบทดสอบก่อนเรยี น เทคโนโลยี 6.3 การประเมินระหวา่ งเรียน แบบสงั เกตพฤติกรรม ประกอบดว้ ย - ด้านความรู้ 1) แตง่ กายถกู ระเบยี บ 2) เข้าเรียนตรงเวลา . ใบงาน ใช้ตรวจคำตอบใบงาน 3) มีอุปกรณ์การเรียนพรอ้ ม 4) ทำงานเสรจ็ ตรงตรามเวลา - ดา้ นกระบวนการ 5) ผลงานผา่ นตามเกณฑ์ . แบบฝึกทกั ษะ ใช้ตรวจแบบฝึกทกั ษะ 1. แบบทดสอบปรนยั ขอ้ คำถามอัตนัย - ด้านสมรรณนะสำคัญของ ตรวจแบบฝกึ ทกั ษะ ผูเ้ รยี น โดยนำมาประเมินร่วมกบั การ ใช้แบบบันทึกสมรรณนะสำคัญ ของผเู้ รียน ด้าน -ความสามารถในการสื่อสาร -ความสามารถในการคดิ -ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ สังเกตพฤตกิ รรมในช้ันเรยี น โดย ประสงค์ ใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรม มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นใน การทำงาน 6.4 การประเมนิ หลังเรยี น 1.ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน 1. ทดสอบหลงั เรยี น

22 7. กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้ เรือ่ งที่ ชื่อเรอื่ ง วิธีสอน/เทคนคิ การสอน เวลา (ชว่ั โมง) 1 โมเมนตมั การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 2 2 แรงกบั การเปลย่ี นสภาพการเคล่อื นที่ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2 2 3 แรงและการเปลยี่ นโมเมนตัม การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 2 2 4 การดลและแรงดล การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2 2 5 การชนในหนง่ึ มติ ิ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E)และทดลอง 2 2 6 กฎการอนุรักษ์โมเมนตัม การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2 20 7 การชนในสองมติ ิ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 8 การชนในสองมติ ิ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E)และทดลอง 9 การระเบิด การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E)และทดลอง 10 โมเมนตัมเชงิ มมุ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) รวม 8. สอ่ื การเรียนร้/ู แหลง่ เรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ 1) เอกสารประกอบบทเรยี น เร่อื ง โมเมนตัมและการชน 2) หนังสือเรียนรายวชิ าฟิสิกส์เพ่ิมเตมิ เล่ม 2 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 3) สื่อ power point เรื่อง โมเมนตมั และการชน แหลง่ เรียนร้อู อนไลน์ ประกอบ หนว่ ยการเรียนรู้ เรือ่ ง โมเมนตมั และการชน การเคลอื่ นไหวของการสาธติ โมเมนตมั วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ ิกส์) https://www.youtube.com/watch?v=UoAOI7R484o&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvK sZTr&index=188 การตกของไข่บนพืน้ แขง็ และตกบนฟองน้ำ วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสกิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=GzBqxcYvrXY&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKs ZTr&index=189 วิชาฟสิ ิกส์ - สารคดี ฟิสิกสข์ องอาวธุ ปนื ลูกกระสนุ ปนื และการเคลอ่ื นที่ https://www.youtube.com/watch?v=J1lw7hciD- s&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKWGk&index=2 วิชาฟสิ ิกส์ - บทเรียน การประยกุ ตเ์ รื่องกฏการเคลอ่ื นที่ https://www.youtube.com/watch?v=amYnqgH4LkU&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yK WGk&index=54

23 แบบประเมินช้นิ งาน/ภาระงาน ท่ี 2 โมเมนตัมและการชน ตัวชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ 5. อธบิ ายและคำนวณโมเมนตมั ของวัตถแุ ละการดลจากสมการและพนื้ ทใ่ี ต้กราฟความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง แรงลพั ธ์กบั เวลารวมทง้ั อธบิ ายความสมั พันธ์ระหว่างแรงดลกับ โมเมนตัม 6.ทดลองอธิบาย และคำนวณปรมิ าณตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วกับการชนของวตั ถใุ นหนึ่งมิตทิ ั้งแบบ ยืดหยุ่นไม่ ยดื หยนุ่ และการดดี ตัวแยกจากกัน ในหนง่ึ มิติซ่งึ เป็นไปตามกฎการอนรุ กั ษ์ โมเมนตมั รายการประเมนิ 1. แบบทดสอบประจำบท 2. แบบฝึกหัด และใบงาน 3. การทดลอง เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คุณภาพ รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ 1.แบบทดสอบ 2.บนั ทกึ ผลการ 4 (ดมี าก) 3 (ด)ี 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรงุ ) ทดลอง คำตอบถูก แสดงวิธคี ิดได้ คำตอบถูก แสดงวธิ คี ดิ ได้ เหตุผลหรอื การคำนวณ แสดงวธิ ีคดิ เลก็ นอ้ ย แตย่ ัง 3. การเขยี นกราฟ และสรุปคำตอบไดถ้ ูกต้อง ไมไ่ ดค้ ำตอบ 4.ทำการทดลอง ชัดเจน ถูกต้อง แตไ่ ม่ไดใ้ ส่หน่วยหรือ ผดิ พลาด แต่มีแนวทางทีจ่ ะได้ ในรายงานผลการทดลองมี ในรายงานผลการทดลองมี 5. การนำเสนอผล การอธบิ ายผลการทดลองได้ สรปุ คำตอบ คำตอบ การแสดงผลการทดลอง ขาด การทดลอง ชดั เจน มกี ารใชข้ อ้ มูลจาก การสรปุ ผล หรือไมส่ มบูรณ์ แหลง่ ต่างๆ หรือจากการ ในรายงานผลการทดลอง ในรายงานผลการทดลองมี หรอื สบั สน ทดลองอน่ื ๆ ประกอบ คำอธบิ าย แสดงใหเ้ หน็ วา่ นกั เรยี นมี การแสดงผลการทดลองการ เขียนกราฟได้อยา่ งถูกตอ้ ง สมบูรณ์ครบถ้วนทกุ ความเข้าใจใจผลการทดลอง สรุปผลยงั ไมส่ มบูรณ์ หรือมี องค์ประกอบ การทดลองทใี่ ชแ้ สดงใหเ้ หน็ และรู้ว่าจะอธบิ ายผลการ การสรุปผล แต่สรุปหลงั จาก วา่ นักเรียนไดม้ กี ารวเิ คราะห์ ปัญหาและออกแบบการ ทดลองนน้ั อยา่ งไร ถูกถามคำถาม ทดลองไดด้ ้วยตนเองและ สามารถทำการทดลองได้ เขยี นกราฟได้อยา่ งถกู ต้อง เขยี นกราฟไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง เขียนกราฟไดอ้ ย่างถกู ต้อง อย่างเหมาะสม ขาดองค์ประกอบกราฟไป 1 ขาดองค์ ประกอบของกราฟ ขาดองค์ประกอบกราฟ การพูดนำเสนอทำได้อย่าง องคป์ ระกอบ ไป 2 องค์ประกอบ มากกวา่ 2 องค์ประกอบ ชัดเจน ถกู ต้อง ผู้ฟงั ใหค้ วาม การทดลองที่ใช้แสดงให้เหน็ การทดลองทใ่ี ชแ้ สดงให้เหน็ การทดลองท่ใี ชแ้ สดงใหเ้ ห็น สนใจ มที า่ ทาง นำ้ เสยี ง และ ว่านกั เรียนไดน้ ำความคิด วา่ นกั เรียนไดใ้ ชก้ ระบวนการ ว่านกั เรียนสามารถทำการ การสบสายตาผู้ฟังดีมาก กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์ แต่ ทดลองได้เมื่อไดร้ บั ความ มาใชใ้ นการทดลองโดยมีการ จำเป็นตอ้ งชว่ ยในการควบคุม ช่วยเหลอื จากครู ควบคุมตัวแปรตา่ งๆ ตัวแปร การพดู นำเสนอได้รับการ การพูดนำเสนอทำไดห้ ลงั จาก การพดู นำเสนอทำได้หลัง จดั เตรียมด้วยความชว่ ย ไดร้ ับการสอนจากครู มกี ารใช้ ไดร้ บั การสอนจากครู เหลอื บางประการจากครู แต่ ทา่ ทาง นำ้ เสยี ง และการสบ มกี ารนำเสนอผลการทดลอง สายตาผู้ฟงั การพดู มเี หตุ มีผล และใช้ ทา่ ทางประกอบน้ำเสียงและ การสบตาผูฟ้ งั ทำไดด้ ี

24 เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค(์ A) ในการจดั การเรยี นการสอนในรายวิชา ว31206 ฟสิ กิ ส์เพิ่มเติม 2 ดงั น้ี 1. มวี นิ ัย หมายถึง 1) แตง่ กายถูกระเบียบของโรงเรียน 2) เขา้ เรยี นตรงเวลา 2. ใฝเ่ รยี นรู้ หมายถึง มคี วามพร้อมด้านอุปกรณ์การเรยี น 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน หมายถงึ 1) ทำงานเสร็จตรงตรามเวลา 2) ผลสำเร็จของงานผ่านตามเกณฑ์ วธิ ีการประเมนิ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คะแนน ความหมาย เกณฑ์การผ่าน การประเมิน การสังเกต แบบสังเกต ปฏบิ ัตไิ ด้ 5 ข้อ 10 ดมี าก ระดับคะแนน พฤตกิ รรม ปฏิบัติได้ 4 ข้อ 8 ดี 8 ขึน้ ไป ปฏิบัติได้ 3 ขอ้ 6 พอใช้ ปฏิบตั ิได้ 0-2 ข้อ 0-4 ปรับปรงุ รายการประเมนิ 4 ระดบั คุณภาพ 1 (ดีมาก) 32 (ปรับปรุง) รายการพฤตกิ รรม สมรรถนะสำคัญ (ด)ี (พอใช)้ 1. มีการปรกึ ษาและวางแผนรว่ มกนั กอ่ นทำงาน 2. มกี ารแบง่ หนา้ ทอ่ี ยา่ งเหมาะสมและสมาชิกทำตาม มพี ฤติกรรม มพี ฤติกรรม มีพฤติกรรม มีพฤติกรรม หน้าทท่ี ุกคน ต้ังแต่ 8 ขอ้ ต้งั แต่ 5-7 ข้อ ตง้ั แต่ 4-2 ขอ้ นอ้ ยกว่า 2 3. มีการปฏบิ ตั ิงานตามขน้ั ตอน 4. มีการใหค้ วามช่วยเหลอื กัน ข้อ 5. ผลงานเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ทีก่ ำหนด 6. ผลงานเสรจ็ ทนั ตามกำหนดเวลา 7. ผลงานมีความคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์ 8. ผลงานแสดงถึงการนำความรทู้ ี่ได้มาประยุกต์ใช้ 9. สามารถใหค้ ำแนะนำกล่มุ อ่ืนได้ 10. การจดั วสั ดุ อุปกรณ์ เรียบร้อย หลงั เลิกปฏบิ ตั ิงาน คะแนนตัดสินระดับคุณภาพ คุณภาพ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี คะแนน 9-10 หมายถึง ดี คะแนน 6-8 หมายถึง ปานกลาง ระดับ 2 หมายถงึ มีพฤติกรรมในระดบั ปานกลาง คะแนน 0-5 หมายถงึ ปรับปรุง ระดบั 1 หมายถงึ มีพฤตกิ รรมในระดบั ปรับปรุง เกณฑก์ ารผ่านร้อยละ 60 (6 คะแนน)

25 หน่วยการเรยี นท่ี 3 เรื่อง การเคลอ่ื นที่แนวโค้ง รหัสวชิ า ว 31206 ช่ือรายวชิ า ฟสิ กิ สเ์ พ่มิ เติม 2 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 2.0 หน่วยกติ เวลา 22 ช่ัวโมง ผ้สู อน นางสาววจิ ิตตา อำไพจิตต์ โรงเรยี นธรรมศาสตรค์ ลองหลวงวิทยาคม 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ สาระท่ี 1 เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนท่แี นวตรง แรงและกฎการ เคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทานสมดุลกลของวัตถุ งาน และกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตมั และกฎการอนรุ กั ษ์โมเมนตัม การเคลอ่ื นทแ่ี นวโค้ง รวมท้งั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรียนรู้ 7. อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกบั การเคลื่อนทีแ่ บบโพรเจกไทล์และทดลอง การเคล่ือนทแี่ บบโพรเจกไทล์ 8. ทดลองและอธิบายความสัมพันธร์ ะหว่าง แรงสู่ศูนยก์ ลาง รศั มีของการเคลือ่ นที่ อัตราเรว็ เชิงเส้น อัตรา เรว็ เชิงมมุ และมวลของวตั ถใุ นการเคลื่อนท่ีแบบวงกลมในระนาบ ระดบั รวมท้งั คำนวณปรมิ าณต่างๆ ที่ เกีย่ วข้องและประยกุ ต์ใช้ความรูก้ ารเคลอื่ นทแ่ี บบวงกลมในการอธิบายการโคจรของดาวเทยี ม 2. สาระสำคญั การเคลอ่ื นท่ีแบบโปรเจกไตล(์ Motion of a Projectile) คอื การเคลอ่ื นทีข่ องวตั ถุเป็นแนวโคง้ ในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่อย่างเสรีด้วยแรงโน้มถ่วงคงที่ เช่น วัตถุเคลื่อนที่ไปในอากาศภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก ทางเดินของวตั ถจุ ะเป็นรปู พาราโบลา การเคล่อื นที่แบบวงกลม(Circular motion) หมายถงึ การเคล่อื นที่ของวัตถเุ ป็นวงกลมรอบศนู ยก์ ลาง เกดิ ข้นึ เนอื่ งจากวัตถุท่ีกำลงั เคลอ่ื นท่จี ะเดนิ ทางเป็นเสน้ ตรงเสมอ แต่ขณะน้นั มแี รงดงึ วัตถุเขา้ สู่ศนู ยก์ ลางของ วงกลม เรียกวา่ แรงเข้าสศู่ นู ยก์ ลางการเคลอ่ื นที่(Centripetal Force)จงึ ทำให้วตั ถุเคลอ่ื นที่เป็นวงกลมรอบ ศนู ยก์ ลาง

26 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง การเคล่ือนทแ่ี นวโคง้ พาราโบลาภายใต้สนามโน้มถ่วง โดยไมค่ ดิ แรงตา้ นของอากาศเป็นการเคล่ือนที่แบบ โพรเจกไทล์ วัตถุมีการเปลย่ี นตำแหนง่ ในแนวดิง่ และแนวระดบั พรอ้ มกันและเปน็ อิสระตอ่ กัน สำหรบั การเคลอ่ื นท่ี ในแนวดิ่งเป็นการเคลื่อนที่ที่มีแรงโน้มถ่วงกระทำจึงมีความเร็วไม่คงตัว ปริมาณต่าง ๆ มีความสัมพันธ์ ตามสมการ ������������ = ������������ + ������������������ 1 ������������ = ������������������ + 2 ������������������ ⌈������������ + ������������ ⌉ ������������ = 2 ������ ���������2��� = ���������2��� + 2������������������������������ ส่วนการเคลื่อนที่ในแนวระดับไม่มีแรงกระทำจึงมีความเร็วคงตัว ตำแหน่ง ความเร็ว และเวลา มี ความสมั พนั ธ์ตามสมการ Δx = uxt วตั ถทุ ี่เคลอื่ นทเ่ี ปน็ วงกลมหรือสว่ นของวงกลม เรียกว่า วตั ถุนั้นมีการเคลือ่ นทแ่ี บบวงกลม ซ่งึ มี แรงลัพธ์ที่ กระทำกับวัตถใุ นทศิ เข้าสู่ศูนย์กลาง เรียกว่า แรงสู่ศูนย์กลาง ทำให้เกิดความเร่งสูศ่ ูนย์กลางที่มีขนาดสมั พนั ธ์กบั รศั มีของการเคล่ือนท่ีและอตั ราเร็วเชงิ เส้นของวัตถซุ ง่ึ แรงส่ศู ูนย์กลางคำนวณไดจ้ ากสมการ ������������ = ������������2 ������ นอกจากนี้การเคลื่อนที่แบบวงกลมยังสามารถอธิบายได้ด้วยอัตราเร็วเชิงมุม ซึ่งมีความสัมพันธ์กับ อัตราเร็วเชิงเส้นตามสมการ v = ωr และแรงสู่ศูนย์กลางมีความสัมพันธ์กับอัตราเร็วเชิงมุมตามสมการ Fc = mω2r ดาวเทยี มทโี่ คจรในแนววงกลมรอบโลกมแี รงดงึ ดดู ที่โลกกระทำต่อดาวเทียมเปน็ แรงส่ศู ูนยก์ ลาง ดาวเทยี ม ที่มีวงโคจรค้างฟ้าในระนาบของเส้นศูนย์สูตรมีคาบการโคจรเท่ากับคาบการหมุนรอบตัวเองของโลก หรือมี อัตราเรว็ เชิงมมุ เทา่ กบั อัตราเร็วเชิงมุมของตำแหน่ง

27 4. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี นและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี ินัย 2. ความสามารถในการคิด 2. มีจิตวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ความสนใจใฝ่รู้ มุ่งม่ัน 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา ในการทำงาน 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 5. ช้ินงานหรอื ภาระงาน - ใบงาน - แบบฝึกทกั ษะ - แบบทดสอบ - กิจกรรมทดลอง

28 6. การวดั และประเมินผล รายการวัด วธิ ีวัด เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ในระดบั 6.1 การประเมินช้นิ งาน/ ใบงาน ดี ขึ้นไป แบบฝึกหัดเพิม่ เตมิ ภาระงาน แบบประเมนิ - ผ่านเกณฑ์ - ใบงาน ตรวจใบงาน 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ในระดับดี ข้ึนไป ผา่ นเกณฑ์ - แบบฝกึ หัดเพิ่มเติม ตรวจแบบฝึกหัด ใบงาน ในระดับ ดี ขึน้ ไป แบบฝึกทกั ษะ - ทำการทดลองและนำเสนอ บนั ทึกผลการทดลอง ขอ้ คำถามอัตนยั ผ่านเกณฑ์ การเขยี นกราฟ รายงานการ ในระดับ ดี ขนึ้ ไป ผลการทดลอง แบบบนั ทกึ สมรรณนะสำคญั ทดลอง ของผเู้ รยี น ด้าน ผา่ นเกณฑ์ -ความสามารถในการส่อื สาร ได้คะแนนร้อยละ 6.2 การประเมินก่อนเรียน -ความสามารถในการคดิ 70 -ความสามารถในการใช้ 1. ทดสอบก่อนเรยี น 1. ใชแ้ บบทดสอบก่อนเรยี น เทคโนโลยี 6.3 การประเมินระหวา่ งเรียน แบบสงั เกตพฤติกรรม ประกอบดว้ ย - ด้านความรู้ 1) แตง่ กายถกู ระเบยี บ 2) เข้าเรียนตรงเวลา . ใบงาน ใช้ตรวจคำตอบใบงาน 3) มีอุปกรณ์การเรียนพรอ้ ม 4) ทำงานเสรจ็ ตรงตรามเวลา - ดา้ นกระบวนการ 5) ผลงานผา่ นตามเกณฑ์ . แบบฝึกทกั ษะ ใช้ตรวจแบบฝึกทกั ษะ 1. แบบทดสอบปรนยั ขอ้ คำถามอัตนัย - ด้านสมรรณนะสำคัญของ ตรวจแบบฝกึ ทกั ษะ ผูเ้ รยี น โดยนำมาประเมินร่วมกบั การ ใช้แบบบันทึกสมรรณนะสำคัญ ของผเู้ รียน ด้าน -ความสามารถในการสื่อสาร -ความสามารถในการคดิ -ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ สังเกตพฤตกิ รรมในช้ันเรยี น โดย ประสงค์ ใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรม มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นใน การทำงาน 6.4 การประเมนิ หลังเรยี น 1.ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน 1. ทดสอบหลงั เรยี น

29 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ เรือ่ งท่ี ชื่อเร่อื ง วิธสี อน/เทคนคิ การสอน เวลา (ช่วั โมง) 1 การเคลอ่ื นทีแ่ บบโปรเจคไทล์ 1 การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 2 2 การเคลอ่ื นทีแ่ บบโปรเจคไทล์ 2 การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2 2 3 การเคลอื่ นท่แี บบโปรเจคไทล์ 3 การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2 2 4 การเคลอ่ื นทแ่ี บบโปรเจคไทล์ 4 การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 2 2 5 การเคลื่อนทแ่ี บบโปรเจคไทล์ 5 การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2 2 6 การเคล่ือนทแ่ี บบวงกลม 1 การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2 2 7 อัตราเร็วเชิงมมุ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 22 8 การเคล่อื นที่แบบวงกลม 2 การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 9 แรงสู่ศูนย์กลาง การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 10 วงกลมในแนวระดบั การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 11 วงกลมในแนวด่งิ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) รวม 8. สื่อการเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ 1) เอกสารประกอบบทเรยี น เร่ือง การเคล่อื นท่ีแนวโคง้ 2) หนงั สอื เรียนรายวิชาฟิสกิ ส์เพ่มิ เตมิ เล่ม 2 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 3) ส่ือ power point เรอ่ื ง การเคล่ือนที่แนวโค้ง แหลง่ เรยี นรู้ประกอบ หนว่ ยการเรยี นรู้ เรอื่ ง การเคลอ่ื นท่ีแนวโค้ง รถไฟตลี งั กา วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ กิ ส)์ https://www.youtube.com/watch?v=24M- lXfRJtA&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKsZTr&index=348 การเหวย่ี งแปน้ ไม้ท่ีมถี ว้ ยพลาสตกิ บรรจนุ ำ้ วางอยู่ วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ กิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=Ity1- VGAO6Q&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKsZTr&index=347 การเคลื่อนทแ่ี บบวงกลมในแนวระดบั วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ กิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=BjLD0sjBnWk&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKsZTr &index=321 วชิ าฟิสกิ ส์ - กจิ กรรม กิจกรรมการเคลอ่ื นท่แี บบโพรเจกไตล์ https://www.youtube.com/watch?v=od9YE7GYIIU&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKWGk &index=64

30 การเคลอื่ นทข่ี องเหรยี ญท่ีตกในแนวดิ่งกับแนวโค้ง วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ กิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=kHVUInzFB9k&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKsZTr &index=351 การเคาะไมบ้ รรทดั ใหเ้ หรยี ญทง้ั สองเคลอ่ื นที่ วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสิกส์ https://www.youtube.com/watch?v=TokqXX- zkgo&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKsZTr&index=211 การเคลอ่ื นทแ่ี บบโพรเจคไทลข์ องลกู บาสเกตบอลโดยให้ระบุ vector แนวด่งิ และราบ วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ ิกส์) https://www.youtube.com/watch?v=NfkpJHxuRFE&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKsZTr &index=242 แรงทีก่ ระทำตอ่ ลกู กลมโลหะขณะท่ใี นแนววงกลม วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสกิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=5W3OqOiyJKk&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKsZT r&index=200 ลกู กลมโลหะเคลอื่ นที่ไปตามรางโค้งวงกลม วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสกิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=JroPglDU7zc&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKsZTr &index=201 ความโค้งของสายนำ้ ทถี่ กู ฉีดออกจากทอ่ กรณไี ม่มแี รงตา้ นอากาศกับกรณีมีแรงต้านอากาศ วิทยาศาสตร์ ม.4-6 https://www.youtube.com/watch?v=7cpCf6OO3ls&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKsZTr &index=202 การท่มุ น้ำหนัก วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสกิ ส)์ https://www.youtube.com/watch?v=9tQyeiw16Ko&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKsZT r&index=203 การพงุ แหลน วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ ิกส์) https://www.youtube.com/watch?v=Lc5Zv3VmaNI&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKsZT r&index=204 วิชาฟิสกิ ส์ - บทเรียน การเคลอ่ื นทีแ่ บบวงกลมและการประยกุ ต์ https://www.youtube.com/watch?v=mRu1z5N- axs&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKWGk&index=26 วชิ าฟิสกิ ส์ - สารคดี ฟสิ ิกส์ของสเก็ตลีลา https://www.youtube.com/watch?v=bLP4DEvXtzY&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKWGk &index=35 วิชาฟิสิกส์ - บทเรียน การเคลอ่ื นท่ีแบบโพรเจกไทล์ https://www.youtube.com/watch?v=JYLIj1H0o10&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKWGk&i ndex=55 วชิ าฟสิ ิกส์ - บทเรยี น การเคลือ่ นท่ีแบบวงกลม https://www.youtube.com/watch?v=Pyj76ESdILw&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKWGk& index=56 การเคลอื่ นทขี่ องลกู เหล็กทรงกลมทถ่ี ูกปลอ่ ยใหก้ ลง้ิ ไปตามรางในแนวด่งิ วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ ิกส์) https://www.youtube.com/watch?v=hZ3KtGQuzso&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET4

31 แบบประเมนิ ช้ินงาน/ภาระงาน ท่ี 3 การเคลื่อนท่แี นวโค้ง ตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรู้ 7. อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกบั การเคลื่อนทีแ่ บบโพรเจกไทล์และทดลอง การเคลื่อนทแี่ บบโพรเจกไทล์ 8. ทดลองและอธิบายความสัมพันธร์ ะหวา่ ง แรงสูศ่ นู ยก์ ลาง รัศมีของการเคลื่อนที่ อัตราเร็วเชิงเส้น อตั ราเร็วเชิงมมุ และมวลของวตั ถุในการเคลื่อนที่แบบวงกลมในระนาบ ระดับรวมทั้งคำนวณปริมาณต่างๆ ทเ่ี กยี่ วข้องและประยกุ ต์ใชค้ วามรกู้ ารเคล่อื นที่แบบวงกลมในการอธิบายการโคจรของดาวเทียม รายการประเมิน 1. แบบทดสอบ เรื่อง การเคลือ่ นท่ีในแนวโคง้ 2. ทำการทดลองและนำเสนอผลการทดลอง เรอื่ ง แรงสูศ่ ูนยก์ ลาง เกณฑก์ ารประเมินระดับคณุ ภาพ รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ 1.แบบทดสอบ 2.บนั ทกึ ผลการ 4 (ดมี าก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรงุ ) ทดลอง คำตอบถูก แสดงวธิ คี ดิ ได้ คำตอบถกู แสดงวธิ คี ดิ ได้ เหตุผลหรือการคำนวณ แสดงวิธีคดิ เล็กนอ้ ย แตย่ งั 3. การเขยี นกราฟ และสรุปคำตอบไดถ้ ูกต้อง ไม่ไดค้ ำตอบ 4.ทำการทดลอง ชัดเจน ถูกต้อง แต่ไม่ได้ใส่หน่วยหรอื ผดิ พลาด แต่มแี นวทางที่จะได้ ในรายงานผลการทดลองมี ในรายงานผลการทดลองมี 6. การนำเสนอผล การอธบิ ายผลการทดลองได้ สรปุ คำตอบ คำตอบ การแสดงผลการทดลอง ขาด การทดลอง ชัดเจน มกี ารใช้ขอ้ มลู จาก การสรปุ ผล หรือไมส่ มบรู ณ์ แหลง่ ตา่ งๆ หรอื จากการ ในรายงานผลการทดลอง ในรายงานผลการทดลองมี หรอื สับสน ทดลองอืน่ ๆ ประกอบ คำอธิบาย แสดงใหเ้ หน็ ว่านักเรียนมี การแสดงผลการทดลองการ เขียนกราฟไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง สมบรู ณ์ครบถ้วนทุก ความเขา้ ใจใจผลการทดลอง สรุปผลยงั ไม่สมบูรณ์ หรือมี องค์ประกอบ การทดลองที่ใช้แสดงใหเ้ หน็ และรู้วา่ จะอธิบายผลการ การสรุปผล แต่สรปุ หลังจาก วา่ นักเรยี นได้มกี ารวิเคราะห์ ปัญหาและออกแบบการ ทดลองนน้ั อย่างไร ถกู ถามคำถาม ทดลองไดด้ ว้ ยตนเองและ สามารถทำการทดลองได้ เขยี นกราฟไดอ้ ย่างถกู ต้อง เขยี นกราฟไดอ้ ย่างถกู ต้อง เขยี นกราฟได้อย่างถกู ต้อง อยา่ งเหมาะสม ขาดองค์ประกอบกราฟไป 1 ขาดองค์ ประกอบของกราฟ ขาดองคป์ ระกอบกราฟ การพูดนำเสนอทำไดอ้ ย่าง องค์ประกอบ ไป 2 องคป์ ระกอบ มากกว่า 2 องค์ประกอบ ชดั เจน ถกู ตอ้ ง ผูฟ้ งั ใหค้ วาม การทดลองทใ่ี ชแ้ สดงใหเ้ หน็ การทดลองที่ใช้แสดงใหเ้ หน็ การทดลองที่ใชแ้ สดงให้เหน็ สนใจ มีท่าทาง น้ำเสยี ง และ ว่านกั เรียนไดน้ ำความคดิ ว่านกั เรยี นได้ใชก้ ระบวนการ วา่ นักเรยี นสามารถทำการ การสบสายตาผฟู้ งั ดีมาก กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์ แต่ ทดลองไดเ้ มื่อไดร้ บั ความ มาใชใ้ นการทดลองโดยมีการ จำเป็นตอ้ งชว่ ยในการควบคมุ ช่วยเหลอื จากครู ควบคมุ ตวั แปรตา่ งๆ ตัวแปร การพูดนำเสนอได้รับการ การพูดนำเสนอทำได้หลงั จาก การพูดนำเสนอทำได้หลัง จัดเตรียมด้วยความช่วย ได้รบั การสอนจากครู มกี ารใช้ ไดร้ ับการสอนจากครู เหลือบางประการจากครู แต่ ท่าทาง นำ้ เสยี ง และการสบ มกี ารนำเสนอผลการทดลอง สายตาผฟู้ งั การพูดมเี หตุ มีผล และใช้ ทา่ ทางประกอบนำ้ เสยี งและ การสบตาผ้ฟู ังทำไดด้ ี

32 เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค(์ A) ในการจดั การเรยี นการสอนในรายวิชา ว31206 ฟิสกิ ส์เพิ่มเติม 2 ดงั น้ี 1. มวี นิ ัย หมายถึง 1) แตง่ กายถูกระเบียบของโรงเรียน 2) เขา้ เรยี นตรงเวลา 2. ใฝเ่ รยี นรู้ หมายถึง มคี วามพร้อมด้านอุปกรณ์การเรยี น 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน หมายถงึ 1) ทำงานเสร็จตรงตรามเวลา 2) ผลสำเร็จของงานผ่านตามเกณฑ์ วิธีการประเมนิ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คะแนน ความหมาย เกณฑ์การผ่าน การประเมิน การสังเกต แบบสังเกต ปฏบิ ัตไิ ด้ 5 ข้อ 10 ดมี าก ระดับคะแนน พฤตกิ รรม ปฏิบัติได้ 4 ข้อ 8 ดี 8 ขึน้ ไป ปฏิบัติได้ 3 ขอ้ 6 พอใช้ ปฏิบตั ิได้ 0-2 ข้อ 0-4 ปรับปรงุ รายการประเมนิ 4 ระดบั คุณภาพ 1 (ดีมาก) 32 (ปรับปรุง) รายการพฤตกิ รรม สมรรถนะสำคัญ (ด)ี (พอใช้) 1. มีการปรกึ ษาและวางแผนรว่ มกนั กอ่ นทำงาน 2. มกี ารแบง่ หนา้ ทอ่ี ยา่ งเหมาะสมและสมาชิกทำตาม มพี ฤติกรรม มพี ฤติกรรม มีพฤติกรรม มีพฤติกรรม หน้าทท่ี ุกคน ต้ังแต่ 8 ขอ้ ต้งั แต่ 5-7 ข้อ ตง้ั แต่ 4-2 ขอ้ นอ้ ยกว่า 2 3. มีการปฏบิ ตั ิงานตามขน้ั ตอน 4. มกี ารใหค้ วามช่วยเหลอื กัน ข้อ 5. ผลงานเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ทีก่ ำหนด 6. ผลงานเสรจ็ ทนั ตามกำหนดเวลา 7. ผลงานมีความคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์ 8. ผลงานแสดงถึงการนำความรทู้ ี่ได้มาประยุกต์ใช้ 9. สามารถใหค้ ำแนะนำกล่มุ อ่ืนได้ 10. การจัดวสั ดุ อุปกรณ์ เรียบร้อย หลงั เลิกปฏบิ ตั ิงาน คะแนนตดั สินระดับคุณภาพ คุณภาพ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ดี คะแนน 9-10 หมายถึง ดี คะแนน 6-8 หมายถึง ปานกลาง ระดับ 2 หมายถงึ มีพฤติกรรมในระดับ ปานกลาง คะแนน 0-5 หมายถงึ ปรับปรุง ระดบั 1 หมายถงึ มีพฤตกิ รรมในระดับ ปรับปรุง เกณฑก์ ารผ่านร้อยละ 60 (6 คะแนน)

33 หน่วยการเรียนที่ 4 เร่อื ง การเคลอ่ื นทแ่ี บบฮารม์ อร์นกิ อยา่ งงา่ ย รหัสวิชา ว 31206 ชื่อรายวิชา ฟสิ ิกส์เพิ่มเตมิ 2 กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน 2.0 หน่วยกิต เวลา 22 ชว่ั โมง ผสู้ อน นางสาววิจิตตา อำไพจติ ต์ โรงเรยี นธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 2 เข้าใจการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและการได้ยิน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแสง รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ 9. ทดลองและอธบิ ายการเคล่ือนท่แี บบฮารม์อนกิ อยา่ งงา่ ยของวัตถุติดปลายสปรงิ และลูกตมุ้ อย่างง่าย รวมท้งั คำนวณปริมาณต่างๆ ทีเ่ ก่ยี วข้อง 10. อธิบายความถธี่ รรมชาติของวัตถุและการเกิดการสัน่ พอ้ ง 2. สาระสำคัญ การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (simple harmonic motion, SHM) เป็นการเคลื่อนที่กลับไป กลับมาซำ้ ทางเดิม โดยผ่านตำแหนง่ สมดุล และคาบของการเคลอื่ นที่คงตัว โดยท่กี ราฟการกระจัดกบั เวลาอยู่ในรูป ของฟงั กช์ ันไซน์หรือโคไซนเ์ ช่น การเคล่อื นทแี่ บบสนั่ การแกว่งของลูกตมุ้ นาฬิกา การเคล่ือนท่ีของวัตถุตดิ สปริง 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง การเคลอื่ นทแ่ี บบฮารม์ อนกิ อย่างง่ายเปน็ การเคลอ่ื นท่ขี องวตั ถทุ ี่กลบั ไปกลบั มาซำ้ รอยเดมิ ผา่ น ตำแหน่งสมดุล โดยมีคาบและแอมพลิจูดคงตัว และมีการกระจัดจากตำแหน่งสมดุลที่เวลาใด ๆ เป็น ฟังก์ชันแบบไซน์ โดยปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง มคี วามสัมพันธต์ ามสมการ ������ = ������������������������(������������ + ∅) ������ = ������������������������������(������������ + ∅) ������ = ±ω√������2 − ������2 ������ = −������������2������������������(������������ + ∅) ������ = −������2������ การสั่นของวตั ถตุ ดิ ปลายสปรงิ และการแกวง่ ของลูกตมุ้ อย่างง่ายเปน็ การเคลอื่ นท่แี บบฮารม์ อนิก

34 อย่างง่ายที่มีขนาดของความเร่งแปรผันตรงกับขนาดของการกระจัดจากตำแหนง่ สมดุล แต่มีทิศทางตรง ข้าม โดยมีคาบการสั่นของวัตถุที่ติดอยู่ที่ปลายสปริง และคาบการแกว่งของลูกตุ้มตามสมการ ������ = 2������√������������ และ ������ = 2������√������������ เมอ่ื ดงึ วัตถุท่ตี ิดปลายสปรงิ ออกจากตำแหนง่ สมดุลแล้วปลอ่ ยให้สั่นวัตถจุ ะสั่นด้วยความถี่เฉพาะตวั การดึง ลกู ตมุ้ ออกจากแนวดิง่ แล้วปล่อยใหแ้ กวง่ ลกู ตมุ้ จะแกวง่ ดว้ ยความถีเ่ ฉพาะตวั เช่นกัน ความถท่ี ี่มีค่าเฉพาะตวั นี้ เรียกวา่ ความถี่ธรรมชาติ เม่อื กระตนุ้ ให้วัตถุส่นั ดว้ ยความถีท่ ี่มีคา่ เทา่ กบั ความถี่ธรรมชาติของวตั ถจุ ะทำใหว้ ัตถสุ ่ันดว้ ยแอมพลิจูด เพิ่มขึ้นเรียกวา่ การสนั่ พ้อง 4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี นและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มีวินัย 2. ความสามารถในการคิด 2. มีจิตวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ความสนใจใฝ่รู้ มุ่งมั่น 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา ในการทำงาน 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน - ใบงาน - แบบฝกึ ทักษะ - แบบทดสอบ - กจิ กรรมทดลอง

35 6. การวดั และประเมนิ ผล รายการวัด วิธีวัด เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ ผ่านเกณฑ์ในระดบั 6.1 การประเมินชิ้นงาน/ ใบงาน ดี ขนึ้ ไป แบบฝึกหัดเพม่ิ เตมิ ภาระงาน แบบประเมนิ - ผา่ นเกณฑ์ - ใบงาน ตรวจใบงาน 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ในระดบั ดี ขน้ึ ไป ผา่ นเกณฑ์ - แบบฝึกหดั เพิ่มเตมิ ตรวจแบบฝกึ หัด ใบงาน ในระดับ ดี ขนึ้ ไป แบบฝกึ ทักษะ - ทำการทดลองและนำเสนอ บันทกึ ผลการทดลอง ขอ้ คำถามอัตนัย ผา่ นเกณฑ์ การเขียนกราฟ รายงานการ ในระดบั ดี ขน้ึ ไป ผลการทดลอง แบบบันทึกสมรรณนะสำคญั ทดลอง ของผเู้ รียน ดา้ น ผ่านเกณฑ์ -ความสามารถในการส่ือสาร ได้คะแนน 6.2 การประเมนิ กอ่ นเรียน -ความสามารถในการคดิ ร้อยละ 70 -ความสามารถในการใช้ 1. ทดสอบก่อนเรียน 1. ใช้แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เทคโนโลยี 6.3 การประเมนิ ระหว่างเรียน แบบสงั เกตพฤติกรรม ประกอบด้วย - ด้านความรู้ 1) แต่งกายถกู ระเบยี บ 2) เขา้ เรียนตรงเวลา . ใบงาน ใชต้ รวจคำตอบใบงาน 3) มีอุปกรณ์การเรยี นพร้อม 4) ทำงานเสรจ็ ตรงตรามเวลา - ดา้ นกระบวนการ 5) ผลงานผา่ นตามเกณฑ์ . แบบฝึกทักษะ ใชต้ รวจแบบฝึกทกั ษะ 1. แบบทดสอบปรนยั ขอ้ คำถามอัตนัย - ด้านสมรรณนะสำคัญของ ตรวจแบบฝกึ ทกั ษะ ผูเ้ รยี น โดยนำมาประเมนิ รว่ มกับการ ใช้แบบบันทึกสมรรณนะสำคัญ ของผู้เรยี น ด้าน -ความสามารถในการสื่อสาร -ความสามารถในการคดิ -ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ด้านคุณลักษณะอันพงึ สังเกตพฤติกรรมในช้นั เรียน โดย ประสงค์ ใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรม มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นใน การทำงาน 6.4 การประเมินหลงั เรยี น 1.ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น 1. ทดสอบหลงั เรียน

36 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ วิธสี อน/เทคนิคการสอน เวลา (ชั่วโมง) เรื่องที่ ช่อื เร่อื ง การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 2 1 การเคลื่อนทแี่ บบฮาร์มอนกิ อย่างง่าย 1 การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 2 2 การเคลอื่ นท่แี บบฮารม์ อนกิ อยา่ งงา่ ย 2 การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2 3 กราฟฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2 4 การส่นั ของสปริง การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2 5 การแกว่งของลกู ตุ้มอย่างง่าย 1 การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 2 6 การแกวง่ ของลูกตุ้มอยา่ งง่าย 2 2 7 ความถีธ่ รรมชาตแิ ละการส่นั พอ้ ง 14 รวม 8. สอื่ การเรียนรู/้ แหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1) เอกสารประกอบบทเรยี น เรื่อง การเคลือ่ นทแี่ บบฮารม์ อนิกอยา่ งง่าย 2) หนังสอื เรียนรายวชิ าฟสิ กิ สเ์ พิม่ เติม เลม่ 3 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 3) สือ่ power point เรือ่ ง การเคลอื่ นที่แบบฮารม์ อนกิ อย่างงา่ ย แหล่งเรียนรปู้ ระกอบหนว่ ยการเรยี นรู้ เรื่อง การเคลอ่ื นท่แี บบฮารโ์ มนิกอย่างงา่ ย การเคลื่อนทแ่ี บบฮารม์ อนกิ อย่างงา่ ย วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสิกส์) https://www.youtube.com/watch?v=eRfVsFwUq5M&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKsZ Tr&index=236 การแกวง่ ของลกู ตุม้ ขณะเสน้ เชอื กเอยี งทำมุมเอยี งกับแนวด่ิง วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ ิกส์) https://www.youtube.com/watch?v=3LXOYkPSyYA&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKsZT r&index=198 วชิ าฟสิ กิ ส์ - กิจกรรม การแกวง่ ลกู ตมุ้ อยา่ งง่าย https://www.youtube.com/watch?v=5DQLkkMzL6c&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKWG k&index=63 วชิ าฟสิ กิ ส์ - กิจกรรม การเคล่ือนทแี่ บบฮอร์มอนกิ อยา่ งงา่ ย https://www.youtube.com/watch?v=WtPDOlM0taY&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKWG k&index=65 วชิ าฟสิ กิ ส์ - กิจกรรม ลกู ตมุ้ กายภาพ https://www.youtube.com/watch?v=VNB7dtmCt_o&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKWG k&index=66

37 วิชาฟสิ กิ ส์ - บทเรยี น การแกวง่ ของวตั ถุ https://www.youtube.com/watch?v=Yi_nmSZXhHk&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKWG k&index=98 วชิ าฟสิ กิ ส์ - บทเรียน การเคลือ่ นที่แบบฮาร์มอนิกอย่างงา่ ย https://www.youtube.com/watch?v=N6GrbcGDre4&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKWGk &index=27 คลน่ื ตามขวางของลวงสปรงิ ที่ปลายข้างหนึ่งของสปรงิ ถกู ตรึงไว้ วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ ิกส)์ https://www.youtube.com/watch?v=9FJvqM- _2aw&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426QvKsZTr&index=117

38 แบบประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน ท่ี 4 การเคลอ่ื นท่แี บบฮาร์มอนกิ อยา่ งงา่ ย ตัวช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้ 9. ทดลองและอธิบายการเคลอื่ นท่ีแบบฮารมอ์ นิกอย่างงา่ ยของวัตถุตดิ ปลายสปริงและลูกต้มุ อยา่ งงา่ ย รวมทั้งคำนวณปรมิ าณตา่ งๆ ที่เก่ยี วข้อง 10. อธบิ ายความถธี่ รรมชาติของวัตถแุ ละการเกิดการสั่นพอ้ ง รายการประเมนิ 1. แบบทดสอบ เรอ่ื ง การเคลื่อนท่แี บบฮาร์มอนิกอย่างง่าย 2. ทำการทดลองและนำเสนอผลการทดลอง เรื่อง การเคลอ่ื นที่แบบฮาร์มอนกิ อยา่ งง่าย เกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ 1.แบบทดสอบ 2.บันทกึ ผลการ 4 (ดมี าก) 3 (ด)ี 2 (พอใช)้ 1 (ปรบั ปรงุ ) ทดลอง คำตอบถูก แสดงวธิ ีคดิ ได้ คำตอบถกู แสดงวิธีคิดได้ เหตผุ ลหรอื การคำนวณ แสดงวิธีคดิ เล็กน้อย แต่ยัง 3. การเขยี นกราฟ และสรปุ คำตอบไดถ้ กู ตอ้ ง ไมไ่ ด้คำตอบ 4.ทำการทดลอง ชัดเจน ถกู ตอ้ ง แตไ่ ม่ไดใ้ สห่ น่วยหรอื ผดิ พลาด แตม่ แี นวทางทจ่ี ะได้ ในรายงานผลการทดลองมี ในรายงานผลการทดลองมี 7. การนำเสนอผล การอธิบายผลการทดลองได้ สรุปคำตอบ คำตอบ การแสดงผลการทดลอง ขาด การทดลอง ชัดเจน มีการใชข้ ้อมลู จาก การสรุปผล หรอื ไม่สมบูรณ์ แหลง่ ตา่ งๆ หรอื จากการ ในรายงานผลการทดลอง ในรายงานผลการทดลองมี หรอื สับสน ทดลองอ่ืนๆ ประกอบ คำอธบิ าย แสดงให้เหน็ ว่านักเรียนมี การแสดงผลการทดลองการ เขียนกราฟได้อยา่ งถูกต้อง สมบรู ณค์ รบถ้วนทกุ ความเขา้ ใจใจผลการทดลอง สรปุ ผลยังไมส่ มบรู ณ์ หรอื มี องคป์ ระกอบ การทดลองทีใ่ ช้แสดงให้เห็น และร้วู ่าจะอธิบายผลการ การสรุปผล แต่สรปุ หลังจาก วา่ นกั เรยี นได้มกี ารวเิ คราะห์ ปัญหาและออกแบบการ ทดลองนนั้ อยา่ งไร ถกู ถามคำถาม ทดลองไดด้ ้วยตนเองและ สามารถทำการทดลองได้ เขยี นกราฟได้อยา่ งถูกตอ้ ง เขยี นกราฟไดอ้ ย่างถกู ต้อง เขียนกราฟไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง อยา่ งเหมาะสม ขาดองค์ประกอบกราฟไป 1 ขาดองค์ ประกอบของกราฟ ขาดองค์ประกอบกราฟ การพูดนำเสนอทำได้อย่าง องคป์ ระกอบ ไป 2 องค์ประกอบ มากกว่า 2 องคป์ ระกอบ ชัดเจน ถูกต้อง ผู้ฟังให้ความ การทดลองท่ใี ช้แสดงให้เห็น การทดลองท่ใี ช้แสดงใหเ้ หน็ การทดลองทใี่ ช้แสดงให้เหน็ สนใจ มีท่าทาง นำ้ เสยี ง และ วา่ นักเรียนไดน้ ำความคดิ ว่านักเรียนได้ใช้กระบวนการ ว่านักเรยี นสามารถทำการ การสบสาย ตาผ้ฟู ังดมี าก กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ แต่ ทดลองไดเ้ มื่อได้รับความ มาใชใ้ นการทดลองโดยมกี าร จำเปน็ ต้องชว่ ยในการควบคุม ช่วยเหลอื จากครู ควบคมุ ตัวแปรตา่ งๆ ตัวแปร การพดู นำเสนอได้รบั การ การพูดนำเสนอทำไดห้ ลงั จาก การพดู นำเสนอทำได้หลัง จัดเตรียมดว้ ยความชว่ ย ไดร้ บั การสอนจากครู มกี ารใช้ ได้รบั การสอนจากครู เหลอื บางประการจากครู แต่ ทา่ ทาง นำ้ เสยี ง และการสบ มกี ารนำเสนอผลการทดลอง สายตาผู้ฟัง การพูดมีเหตุ มีผล และใช้ ทา่ ทางประกอบนำ้ เสยี งและ การสบตาผฟู้ งั ทำไดด้ ี

39 เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค(์ A) ในการจดั การเรยี นการสอนในรายวิชา ว31206 ฟิสกิ ส์เพิ่มเติม 2 ดงั น้ี 1. มวี นิ ัย หมายถึง 1) แตง่ กายถูกระเบียบของโรงเรียน 2) เขา้ เรยี นตรงเวลา 2. ใฝเ่ รยี นรู้ หมายถึง มคี วามพร้อมด้านอุปกรณ์การเรยี น 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน หมายถงึ 1) ทำงานเสร็จตรงตรามเวลา 2) ผลสำเร็จของงานผ่านตามเกณฑ์ วิธีการประเมนิ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คะแนน ความหมาย เกณฑ์การผ่าน การประเมิน การสังเกต แบบสังเกต ปฏบิ ัตไิ ด้ 5 ข้อ 10 ดมี าก ระดับคะแนน พฤตกิ รรม ปฏิบัติได้ 4 ข้อ 8 ดี 8 ขึน้ ไป ปฏิบัติได้ 3 ขอ้ 6 พอใช้ ปฏิบตั ิได้ 0-2 ข้อ 0-4 ปรับปรงุ รายการประเมนิ 4 ระดบั คุณภาพ 1 (ดีมาก) 32 (ปรับปรุง) รายการพฤตกิ รรม สมรรถนะสำคัญ (ด)ี (พอใช้) 1. มีการปรกึ ษาและวางแผนรว่ มกนั กอ่ นทำงาน 2. มกี ารแบง่ หนา้ ทอ่ี ยา่ งเหมาะสมและสมาชิกทำตาม มพี ฤติกรรม มพี ฤติกรรม มีพฤติกรรม มีพฤติกรรม หน้าทท่ี ุกคน ต้ังแต่ 8 ขอ้ ต้งั แต่ 5-7 ข้อ ตง้ั แต่ 4-2 ขอ้ นอ้ ยกว่า 2 3. มีการปฏบิ ตั ิงานตามขน้ั ตอน 4. มกี ารใหค้ วามช่วยเหลอื กัน ข้อ 5. ผลงานเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ทีก่ ำหนด 6. ผลงานเสรจ็ ทนั ตามกำหนดเวลา 7. ผลงานมีความคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์ 8. ผลงานแสดงถึงการนำความรทู้ ี่ได้มาประยุกต์ใช้ 9. สามารถใหค้ ำแนะนำกล่มุ อ่ืนได้ 10. การจัดวสั ดุ อุปกรณ์ เรียบร้อย หลงั เลิกปฏบิ ตั ิงาน คะแนนตดั สินระดับคุณภาพ คุณภาพ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ดี คะแนน 9-10 หมายถึง ดี คะแนน 6-8 หมายถึง ปานกลาง ระดับ 2 หมายถงึ มีพฤติกรรมในระดับ ปานกลาง คะแนน 0-5 หมายถงึ ปรับปรุง ระดบั 1 หมายถงึ มีพฤตกิ รรมในระดับ ปรับปรุง เกณฑก์ ารผ่านร้อยละ 60 (6 คะแนน)

40 แผนการจดั การเรยี นรู้

หน่วยการเรยี นรู้ งานและพลังงาน หนา้ 41 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 งานและพลงั งาน เรอ่ื ง แรงและงาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว31206 ช่อื รายวชิ า ฟิสิกสเ์ พ่ิมเติม 2 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรยี น 2 ชว่ั โมง ผสู้ อน นางสาววิจิตตา อำไพจติ ต์ โรงเรยี นธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้ สาระที่ 1 เข้าใจธรรมชาตทิ างฟิสิกส์ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลอื่ นทแ่ี นวตรง แรงและกฎการ เคลอื่ นทขี่ องนิวตนั กฎความโนม้ ถว่ งสากล แรงเสียดทานสมดลุ กลของวตั ถุ งาน และกฎการอนุรักษพ์ ลงั งานกล โมเมนตัมและกฎการอนรุ กั ษ์ โมเมนตมั การเคลอ่ื นทแี่ นวโค้ง รวมท้ังนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ 1. วิเคราะห์ และคำนวณงานของแรงคงตวั จากสมการและพื้นที่ใต้กราฟความสัมพันธ์ ระหว่างแรงกับ ตำแหน่ง รวมทั้งอธบิ ายและ คำนวณกำลงั เฉล่ีย 2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด งานเกดิ จากการออกแรงที่ทำใหว้ ัตถุเคลอ่ื นที่ไปตามแนวแรง นัน่ คอื งานมคี า่ เท่ากับแรงคณู กับระยะทาง ที่วัตถุเคลื่อนที่ หรือ W = Fs ซึ่งถ้าทิศของแรงกระทำและทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุไม่ได้อยู่ในแนวเดียวกันต้อง แตกแรงใหม้ าอยู่ในแนวเดยี วกับการเคลอื่ นทโ่ี ดยใช้ตรีโกณมติ ิ W = Fs cosӨ วิธใี นการคำนวณหางานคือหาผล คูณของการกระจัดกับองค์ประกอบของแรงในทิศเดียวกับการกระจดั หรอื ผลคูณของแรงกับองค์ประกอบของการ กระจัดในทิศเดียวกับแรง ส่วนการหางานใต้กราฟกรณีแรงกระทำมีค่าคงตัวหาได้จากพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้า กรณแี รงมีขนาดเพ่มิ ขึ้นอยา่ งสม่ำเสมอหาได้จากพ้นื ทีข่ องสามเหล่ียมมุมฉาก กรณที ่แี รงมีขนาดไม่สม่ำเสมอหาได้ จากผลรวมของพืน้ ท่ีของสีเ่ หลยี่ มผืนผา้ เล็ก ๆ 3. สมรรถนะ 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคดิ 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความรู้ 1) ความหมายของงานในวชิ าฟสิ ิกส์ 2) ความหมายของงานทม่ี คี า่ เป็นบวก เป็นลบ หรอื เปน็ ศนู ย์งานแรงคงตัว

หน่วยการเรยี นรู้ งานและพลงั งาน หนา้ 42 4.2 ทักษะ/กระบวนการ 1) บอกความหมายของงานในวชิ าฟิสิกส์ 2) บอกความหมายของงานท่ีมคี ่าเป็นบวก เป็นลบ หรือเปน็ ศนู ย์ 4.3 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1) มวี นิ ยั 2) มีจิตวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ความสนใจใฝ่รู้ ม่งุ ม่นั ในการทำงาน 5. ช้ินงานหรือภาระงานทแ่ี สดงผลการเรยี นรู้ เกณฑ์ แบบฝึกหัด ผ่านเกณฑใ์ นระดับดี ขน้ึ ไป ร้อยละ60 ของคะแนนตอบคำถาม 6. การประเมิน ผา่ นเกณฑ์ในระดบั ดี ขึ้นไป วธิ ีการ เคร่ืองมือ ผา่ นเกณฑ์ในระดบั ดี ขึ้นไป 1. ตรวจแบบฝกึ หัดเพม่ิ เตมิ แบบฝึกหดั เพ่มิ เติม 2. ตรวจแบบฝึก เพอ่ื บันทกึ แบบฝกึ ทักษะ ขอ้ คำถามอตั นัย สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ด้าน เพือ่ วดั ความสามารถในการส่อื สาร ความคิด และการส่ือสาร ไดแ้ ก่ การอธิบาย การเขียน 3. สงั เกต สัมภาษณ์ บันทกึ แบบสังเกตพฤติกรรม มีวินยั ใฝ่ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ มี เรียนรู้ และมุ่งม่ันในการทำงาน วนิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมั่นใน การทำงาน 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ขนั้ สร้างความสนใจ (15 นาท)ี 1.1 สำรวจรายชอื่ นักเรียน ประเมนิ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ไดแ่ ก่ การมีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ 1.2 ครูแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรแู้ ละการวดั ผลประเมนิ ผลด้าน KPA 1.3 ครแู ละนกั เรียนตกลงหลกั เกณฑ์การวัดผลและการให้คะแนนในส่วนต่างๆ ร่วมกัน และ ตกลงเกยี่ วกบั หลกั การ ขอ้ ปฏิบตั แิ ละกฎระเบยี บในการเรียนการ สอนในห้องเรียน 1.4 นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน 1.5 ให้นักเรยี นยกกล่องจากพื้นขน้ึ บนโตะ๊ เรยี น 1.6 ครูนำเขา้ สู่บทเรียน โดยนำเสนอภาพน่ิง ทีม่ ีคำถามเกย่ี วกบั งานในทางฟสิ ิกส์คอื อะไร ใหน้ ักเรยี นทง้ั หมดรว่ มกนั ยกตัวอย่างการเคลือ่ นยา้ ยวัตถุ รว่ มกันอภปิ รายถึงองค์ประกอบของงาน รวมทงั้ ผลท่ีจะ เกดิ ขึ้นจากการทำงาน

หนว่ ยการเรียนรู้ งานและพลงั งาน หนา้ 43 1.7 นกั เรยี นร่วมกนั ต้ังคำถามเก่ียวกบั สิ่งทตี่ ้องการเรียนรู้ แลว้ บันทึกเป็นขอบเขตและ เปา้ หมายท่ีตอ้ งการเรียนรู้ 2. ข้นั สำรวจและค้นหา (60 นาท)ี 2.1 แบง่ นักเรยี นเป็นกลุม่ ละประมาณ 6 คน 2.2 นกั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันสบื คน้ เรอื่ งเก่ียวกับ งานในทางฟิสกิ ส์ ให้ครอบคลุมตาม แนวทางในใบงาน และขอบเขตเปา้ หมายทกี่ ำหนดไว้ 2.3 นกั เรยี นแต่ละกลุ่มอภปิ รายรว่ มกนั เก่ยี วกบั งานในทางฟสิ ิกส์ 3. ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรุป (45 นาท)ี 3.1 นกั เรียนแต่ละกลมุ่ นำเสนอผลการสืบคน้ และศกึ ษางานในทางฟสิ กิ ส์ 3.2 นักเรยี นแต่ละกลุ่มได้ผลการสืบคน้ และศึกษาเหมือนกนั หรอื ตา่ งกันอยา่ งไร เพราะเหตใุ ด 3.3 นกั เรียนทงั้ หมดร่วมกันสรุปผลจากการสบื คน้ และศกึ ษางาน 4. ขั้นขยายความรู้ (90 นาท)ี 4.1 นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ แกป้ ญั หาโจทยเ์ รื่องงาน จากสถานการณโ์ จทยใ์ นใบงาน 4.2 นกั เรยี นแต่ละกล่มุ แก้ปัญหาโจทยเ์ รอ่ื งงาน ในแบบฝกึ หัดท้ายบท 4.3 นกั เรยี นแต่ละกลุม่ ร่วมกันสรุปผลการสืบค้นและการศกึ ษาเรอ่ื งงานในทางฟิสกิ ส์ 5. ขน้ั ประเมินผล (30 นาท)ี 5.1 ใหน้ ักเรียนแต่ละคนยอ้ นกลับไปอ่านบนั ทึกประสบการณเ์ ดมิ ส่งิ ท่ีต้องการรู้ และ ขอบเขตเป้าหมาย แล้วพดู และบันทกึ สง่ิ ทไ่ี ด้เรยี นรู้ และตรวจสอบวา่ ไดเ้ รยี นรูต้ ามที่ตงั้ เป้าหมายครบถว้ นหรอื ไม่ เพียงใด ถา้ ยงั ไม่ครบถว้ นจะทำอยา่ งไรตอ่ ไป (อาจสอบถามใหค้ รูอธิบายเพิ่มเตมิ สอบถามให้เพ่ือนอธบิ าย หรือ วางแผนสืบคน้ เพ่มิ เตมิ ) 5.2 ให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบวัดความรเู้ รื่อง งาน ผา่ นแอพพลเิ คชั่น Plickers โดยครูเฉลย และอธบิ ายคำตอบเพ่มิ เติม และนำข้อมลู ไปปรบั ปรุงและพัฒนาแนวการสอนและสอื่ เพื่อการเรียนรตู้ อ่ ไป 5.3 ใหน้ กั เรยี นบันทึกหลังเรยี น 5.4 ครูใหค้ ะแนนจติ วิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์การให้คะแนน สมุดบนั ทกึ รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไมเ่ พียงพอใชว้ ิธสี มั ภาษณเ์ พม่ิ เตมิ

หนว่ ยการเรยี นรู้ งานและพลังงาน หน้า 44 8. ส่อื การเรยี นร้/ู แหลง่ เรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรียนการเรยี นรพู้ ืน้ ฐานและเพิ่มเติมฟิสิกส์ เล่ม 1 2) เอกสารประกอบบทเรียน เรอ่ื ง งานและพลังงาน 3) ฟิสิกส์ บทนำ.ppt 4) ป้ายโค้ดคำตอบแบบตวั เลอื กสำหรบั สแกนด้วยกล้องมอื ถอื ผา่ นโปรแกรม Plickers 5) คอมพวิ เตอรพ์ ร้อมฐานข้อมลู โปรแกรม Plickers โทรศัพท์มอื ถอื ท่ีลงแอพพลเิ คชัน Plickers 6) ไฟลน์ ำเสนอเร่ือง งานและพลงั งาน MS Powerpoint 7) เครอ่ื งฉายโปรเจคเตอร์ 8) กล่อง ลัง หรอื วัตถสุ ำหรับสถานการณน์ ำเข้าส่บู ทเรยี น 8.2 แหลง่ เรยี นรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) Internet 3) ภาพการเคล่อื นที่ การเกิดงาน 4) Clip VDO เก่ียวกับงานและพลงั งาน วิชาฟิสกิ ส์ - บทเรียน งานและกำลงั https://www.youtube.com/watch?v=nMOCxIl_nsc&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNm L2d7v11yKWGk&index=7


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook