Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยกลุ่มสาระฯคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2563

วิจัยกลุ่มสาระฯคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2563

Published by pavarisa.1450, 2021-05-09 08:07:08

Description: วิจัยกลุ่มสาระฯคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

การศึกษาประสทิ ธผิ ลการจัดการเรยี นรูร้ ายวชิ าคณติ ศาสตร์ โดยใช้กระบวนการชมุ นุมการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ของกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ. 2563

การศกึ ษาประสิทธิผลการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าคณติ ศาสตร์ โดยใช้กระบวนการชมุ นมุ การเรยี นร้ทู างวชิ าชีพของกลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

ก กิตติกรรมประกาศ ง า น วิ จั ย ก า ร พั ฒ น า ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ข อ ง ค รู ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ คณิตศาสตร์ โดยใชก้ ระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ฉบับน้ีสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ความกรุณา จากท่านผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ หัวหน้ากลุ่มบริหารงาน คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ท่ีกรุณาให้ความคาปรึกษาแนะนาในทางถูกตอ้ ง ตอลดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วย ความละเอยี ดถี่ถ้วน ผวู้ ิจยั รสู้ ึกซาบซ่งึ เปน็ อย่างสูง จงึ ขอกราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสงู ไว้ ณ โอกาสน้ี ด้วย ขอขอบคุณคณะครูกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชียงใหม่ทุกท่าน ท่ีร่วมกันวิพากย์ สร้างเครื่องมือ ร่วมถึงการแก้ไขปัญหา ในกระบวนการชุมชนการ เรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) ทุกสัปดาห์เป็นอยา่ งดียิ่ง ตลอดจน การสังเกต การนเิ ทศ และการสะท้อนผลการสอน เพอื่ เปน็ แนวทางในการจัดการเรียนรตู้ ่อไป ครกู ลมุ่ สาระคณิตศาสตร์

ข ชอื่ เรอื่ ง : การศึกษาประสิทธิผลการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าคณติ ศาสตร์ โดยใช้กระบวนการ ชมุ นุมการเรียนร้ทู างวชิ าชีพ ของกล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ โรงเรียนราช ผู้วจิ ัย : ประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ สงั กัด : ครูกลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ บทคดั ย่อ การศึกษาประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการชุมนุมการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชียงใหม่ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการชุมชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ของโรงเรียนราชประชานุ- เคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ 2) เพอ่ื เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรายวิชาคณิตศาสตรร์ ะหว่าง ปีการศึกษา 2562 กับปีการศึกษา 2563 3) เพื่อสารวจความพึงพอใจต่อการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์พ้ืนฐาน กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 นักเรียนโรงเรียนราช ประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ จานวน 820 คน ปีการศึกษา 2563 โดยดาเนินการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน คาบละ 50 นาที และกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) คาบละ 50 นาที จานวน 2 คาบต่อสัปดาห์ พบว่าประสิทธิผลการ จัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ พัฒนาการ ด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ โดยการนิเทศการสอน ครูกลุ่ม สาระคณิตศาสตร์ พบว่า ครั้งที่ 1 มีค่าเฉลี่ยพัฒนาการด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู กลุ่มสาระคณติ ศาสตร์ อย่ทู ี่ 83.33 อยู่ในระดับคณุ ภาพ ดี ครั้งท่ี 2 มีค่าเฉลี่ยพฒั นาการด้านคุณภาพ การจดั การเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ อยูท่ ่ี 85.42 อยใู่ นระดับคุณภาพ ดี ครง้ั ที่ 3 มี ค่าเฉล่ียพัฒนาการด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ อยู่ที่ 87.03 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างปีการศึกษา 2562 กับปีการศึกษา 2563 พบว่าร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในภาพรวม มี ผลสัมฤทธิ์ของปกี ารศึกษา 2563 สงู กวา่ ปีการศึกษา 2562 อยู่ รอ้ ยละ 20.75 ความพึงพอใจต่อการ เรยี นรรู้ ายวิชาคณิตศาสตร์พืน้ ฐาน กลมุ่ สาระคณิตศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จากการ

ค สารวจความพึงพอใจของนกั เรยี นโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 ตอ่ การเรยี นรรู้ ายวชิ าคณติ ศาสตร์ พ้ืนฐาน จานวน 10 ข้อ พบว่ามีระดับความพึงพอใจเฉลี่ยอยูท่ ่ี 2.92 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเกี่ยวกับ ความพึงพอใจ 0.3 ระดบั ความพงึ พออยใู่ นระดับคุณภาพ มาก

สารบญั ค กติ ติกรรมประกาศ หน้า บทคดั ย่อ ก สารบญั ข สารบญั ตาราง ค สารบญั ภาพ จ บทท่ี 1 บทนา ฉ 1 1. ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา 1 3 2. วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย 4 3. สมมติฐานของการวจิ ยั 4 4. ขอบเขตของการวิจยั 6 5. นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 6 6. ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รับ 6 7. ระยะเวลาการดาเนนิ งาน 7 8. กรอบแนวคิดของการวจิ ัย 8 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กย่ี วข้อง 8 1. แนวคิดทฤษฎเี กีย่ วกับการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาด้วยกระบวนการชมุ ชน การเรียนร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) 11 2. แนวคดิ ทฤษฎีเก่ียวกบั เทคนิคการจดั การเรยี นรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) 13 3. แนวคดิ ทฤษฎเี ก่ียวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 15 4. งานวิจยั ทเี่ กีย่ วขอ้ ง 17 บทท่ี 3 วิธีการดาเนินการวจิ ยั 17 ขน้ั ตอนที่ 1 ศึกษาประสิทธผิ ลการจดั การเรยี นรู้รายวิชาคณิตศาสตรโ์ ดยใช้ กระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning 19 Community : PLC) ของโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ ขน้ั ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ 23 ระหวา่ งปีการศึกษา 2562 กับปกี ารศึกษา 2563 ขัน้ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อการเรยี นร้รู ายวิชาคณิตศาสตร์

สารบญั (ตอ่ ) ง บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู หนา้ 1. สญั ลักษณท์ ี่ใชใ้ นการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 26 2. ลาดับข้ันตอนในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 26 3. ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู 26 27 บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 32 สรปุ ผล 32 อภิปรายผล 32 ข้อเสนอแนะ 34 35 เอกสารอา้ งอิง 38 ภาคผนวก - คณะผู้จดั ทา - แบบประเมินความพึงพอใจ - แบบนิเทศการจดั การเรียนการสอน

สารบัญตาราง จ ตารางท่ี 1 พัฒนาการด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระ หน้า คณิตศาสตร์ 27 ตารางท่ี 2 การเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธร์ิ อ้ ยละของนกั เรยี นท่มี ผี ลการเรยี นใน 28 ภาพรวมระหวา่ งปีการศกึ ษา 2562 กับ ปกี ารศึกษา 2563 29 ตารางท่ี 3 การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธร์ิ ้อยละของนกั เรียนทม่ี ีผลการเรียน 2.00 30 ขนึ้ ไป ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2562 กบั ปีการศึกษา 2563 31 ตารางที่ 4 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์รอ้ ยละของนักเรียนที่มีผลการเรียน 3.00 ขึน้ ไประหวา่ งปีการศกึ ษา 2562 กับ ปกี ารศึกษา 2563 ตารางท่ี 5 วิเคราะห์ความพงึ พอใจของนักเรียนโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ต่อการเรยี นรู้รายวชิ าคณิตศาสตร์พนื้ ฐาน

สารบญั ภาพ ฉ ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ ของการวจิ ัย หน้า 7

1 บทที่ 1 บทนำ 1. ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปัญหำ คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญย่ิงต่อความสาเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องจาก คณิตศาสตรช์ ่วยให้มนษุ ย์มีความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ คิดอยา่ งมีเหตุผล เปน็ ระบบมีแบบแผน สามารถ วิเคราะห์ ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปญั หาไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม และสามารถนาไปใช้ในชวี ิตจรงิ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ คณิตศาสตร์ยังเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาด้วยคณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อื่น ๆ อันเป็น รากฐาน ในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติให้มีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ ทัดเทยี ม กับนานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตร์จงึ จาเป็นตอ้ งมีการพฒั นาอย่างตอ่ เน่อื ง เพอื่ ใหท้ นั สมัย และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคมและความรู้ทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้า อย่างรวดเร็วในยุคโลกาภิวัตน์ จึงได้กาหนดตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ที่จัดทาข้ึน ซ่ึงมีการคานึงถึงการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะท่ีจาเป็นสาหรับ การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เป็นสาคัญ น่ันคือ การเตรียมผู้เรียนให้มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยี การส่ือสารและ การรว่ มมอื ซงึ่ จะสง่ ผลให้ผู้เรยี นรเู้ ทา่ ทนั การเปลยี่ นแปลงของระบบเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม และ สภาพแวดลอ้ ม สามารถแข่งขันและ อยรู่ ่วมกบั ประชาคมโลกได้ ทัง้ นี้การจดั การเรยี นรู้คณิตศาสตร์ท่ี ประสบความสาเร็จนั้นจะต้องเตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมที่จะเรยี นรู้ส่ิงต่าง ๆ พร้อมที่จะประกอบ อาชพี เม่ือจบการศึกษา หรอื สามารถศกึ ษาตอ่ ในระดบั ที่สูงขนึ้ ดงั นนั้ สถานศึกษาควรจัดการเรียนรู้ให้ เหมาะสมตามศกั ยภาพของผูเ้ รียน (กระทรวงการศกึ ษาธกิ าร, 2560) พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 (กระทรวงการศึกษาธิการ, 2542) ไดบ้ ัญญตั ิ ของแนวทางการจัดการศกึ ษาหมวด 4 ตามมาตรา 22 ไวว้ า่ การจดั การศกึ ษาต้องยดึ หลกั วา่ ผเู้ รยี นทกุ คนมคี วามสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถอื ว่าผเู้ รียนมีความสาคญั ท่ีสดุ กระบวนการจัดการ ศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ต้องจัดเนื้อหาสาระ กิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์นน้ั ไดก้ ล่าวถงึ หลักการที่สาคญั ดังนี้ 1) เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาเพื่อ ความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและ เยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็น

2 สากล 2) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ 3) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น 4) เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีมี โครงสร้างยืดหยุ่นทัง้ ดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้ 5) เปน็ หลักสตู รการศึกษาท่ีเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ และ 6) เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตาม อัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ และ ไดก้ ลา่ วถึง วสิ ยั ทัศน์ มงุ่ พัฒนา มุ่งฝึกฝนให้ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์ คดิ อย่างมเี หตผุ ล เปน็ ระบบ มีแบบแผน สามารถคดิ วิเคราะห์ปญั หา และสถานการณ์ไดอ้ ย่างถี่ถว้ นรอบคอบ และเป็นเคร่ืองมือใน การศึกษาศาสตร์อื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้องเป็นประโยชน์ในการดารงชีวิต ทาให้เป็นคนท่ีสมบูรณ์ คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น สามารถอยู่กับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข และกล่าวถึงสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๕ ประการ คือ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต และความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ปัจจุบันครูกล่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชียงใหม่ มีกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามความถนัดของตนเอง ครูส่วนใหญ่ยังคงใช้วิธีการ สอนแบบบรรยาย โดยไม่คานงึ ถึงความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลของผู้เรยี น ทาให้นกั เรียนที่เรียนร้ไู ด้เร็ว สามารถเข้าใจเนื้อหาได้ง่าย ส่วนผู้เรียนที่เรียนรู้ช้าหรือฟังบรรยายไม่ทันหรือไม่เข้าใจเนื้อหาท่ี บรรยายก็จะเกิดความเบ่ือหน่าย ไม่อยากเรียน เมื่อต้องเรียนเรื่องใหม่จะยิ่งประสบปัญหามากขึ้น เพราะขาดความรู้ความเข้าใจในเร่ืองเดิมท่ีเป็นพืน้ ฐาน ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่าลง และ จะมเี จตคติท่ีไมด่ ตี ่อการเรียนคณิตศาสตรใ์ นทีส่ ุด และไม่ชอบเรยี นรายวิชาคณติ ศาสตร์ จากรายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษากล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตรข์ องนกั เรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ากว่าค่า เป้าหมายที่กาหนดไว้ตดิ ตอ่ กันหลายปีการศึกษา เชน่ ปีการศกึ ษา 2562 ได้ต้ังค่าเป้าหมายผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของนักเรียนร้อยละ 65 นกั เรียนทาได้ ร้อยละ 46.33 ซึ่งต่ากว่าเกณฑ์ทตี่ ้ังไว้ถงึ -18.67 เปน็ ต้น และปกี ารศึกษา 2563 ได้ตงั้ คา่ เปา้ หมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนรอ้ ยละ 65 จาก ข้อมลู ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนที่ปรากฏในปกี ารศึกษา 2562 นั้น ถอื เป็นปญั หาในการจดั การเรยี นการ สอนเป็นอย่างย่ิง และจากการสอบถามนักเรียน พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ชอบเรียนในรายวิชา คณิตศาสตร์ เนอ่ื งจากมีความคดิ ในด้านลบตอ่ รายวิชา คิดวา่ วชิ าคณติ ศาสตร์เป็นวชิ าทย่ี าก เข้าใจยาก และคิด วิเคราะห์ แกไ้ ขปัญหา ยาก ส่งผลในนักเรยี นเกิดเจตคตใิ นทางลบต่อวชิ าคณติ ศาสตร์ สง่ ผลให้ นกั เรยี นเกิดความเบื่อหน่ายในการเรียน ไมอ่ ยากเรียน หนีเรียน และไม่ทางานที่ครสู ่ังในสาเร็จ ดังนน้ั ครผู ู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตรจ์ ึงต้องหาแนวทางปรับปรุงและพฒั นากระบวนการเรียนรู้ ให้เกิดประสทิ ธภิ าพสงู สดุ เพอ่ื ช่วยในการพัฒนาและแก้ปญั หาอยา่ งเร่งดว่ น

3 จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จึงได้หาแนวทางการการพฒั นา กระบวนการจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการชุมชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) เพื่อให้ครูผู้สอนได้ร่วมกัน วิเคราะห์ถึงปัญหา วิธิและกระบวนการในการพัฒนาท่ีหลากหลาย ในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนในช้ันเรียนใหม้ ีประสิทธิ สร้างความตระหนักถึงทกั ษะการคิดของนักเรยี น หาวิธีการท่ีแปลกใหม่ และกระตุ้นในนักเรียนมีความสนใจ มีเจคติท่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ เสริมทักษะการเรียนอย่าง สนุกสนาน และสรา้ งบรรยากาศในช้ันเรียนในเกดิ การเรียนรู้ ฉะน้ันการนานวัตกรรมตา่ ง ๆ มาช่วยใน การเรียนการสอนน่าจะสามารถแกป้ ญั หาในการเรยี นการสอนได้ ซง่ึ นวัตกรรมหมายถึง เทคนคิ วิธีการ ส่อื วสั ดุ อปุ กรณ์ หรือสิง่ ประดิษฐต์ ่าง ๆ ทนี่ ามาใช้ในกระบวนการศกึ ษาแล้วสามารถพฒั นาการเรียน การสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ได้ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้น ผเู้ รยี นเป็นสาคญั ผเู้ รยี นได้เรยี นรูก้ ระบวนการต่าง ๆ รว่ มกับการผลติ ผลงาน ซ่ึงมีความคิดสร้างสรรค์ ที่หลากหลายและสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจาวัน โดยผู้วิจัยสนใจนากระบวนการชุมชนการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ตามความถนัดของครูสอน เพ่ือ ก่อให้เกิดความสมบูรณ์ในตัวเอง ลักษณะของชุดกิจกรรมจะแตกต่างกันไปตามวัตถปุ ระสงค์ของการ สร้าง เพ่ือให้ผู้ใช้บรรลุเป้าหมายการเรยี นท่ีวางไว้อยา่ งมีประสิทธิภาพ จากนั้นนาผลการจัดการเรียน การสอนในชัน้ มาวิเคราะหร์ ่วมกนั ในกลุ่มโดยกระบวนการชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) เพื่อร่วมกันส่งเสริม พัฒนา ผู้เรียนให้เกิดความเปล่ียนแปลง พฤติกรรมการเรียนรู้ ทกั ษะการคดิ เจตคติทด่ี ี ต่อวชิ าคณิตศาสตร์ 2. วัตถปุ ระสงค์กำรวิจยั การวิจยั ในครัง้ น้มี วี ัตถปุ ระสงค์การวิจยั 2 ข้อ ดังน้ี 1. เพื่อศึกษาประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการชุมชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ของโรงเรียนราชประชานุ- เคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างปีการศึกษา 2562 กบั ปีการศึกษา 2563 3. เพ่ือสารวจความพึงพอใจตอ่ การเรยี นรู้รายวชิ าคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน กลมุ่ สาระคณิตศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

4 3. สมมติฐำนของกำรวิจัย การวจิ ัยในครัง้ นี้มสี มมติฐานของการวจิ ยั 2 ขอ้ ดังน้ี 1. ผลสัมฤทธร์ิ ายวิชาคณิตศาสตร์ของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ หลงั ใชก้ ระบวนการชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) สงู กว่าก่อน เรยี น 2. ผลสมั ฤทธิ์รายวชิ าคณิตศาสตร์ของปีการศกึ ษา 2563 สูงกว่าปีการศึกษา 2562 4. ขอบเขตของกำรวิจยั 4.1 ขอบเขตด้ำนประชำกร 1) นักเรียนโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ จานวน 820 คน ดังนี้ นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 จานวน 7 คน นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 2 จานวน 15 คน นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 9 คน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 จานวน 12 คน นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จานวน 19 คน นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 จานวน 15 คน นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 จานวน 140 คน นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 จานวน 127 คน นกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 122 คน นกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 จานวน 141 คน นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 จานวน 117 คน นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 จานวน 96 คน 2) ครูผสู้ อนรายวชิ าคณิตศาสตร์โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ จานวน 9 คน โดยกาหนดดงั นี้ นางสาวเตชินี หอมนาน จดั การเรยี นรู้รายวชิ าคณิตศาสตรพ์ น้ื ฐาน ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 นางสาวฐติ ริ ัตน์ โปง่ อนิ ทนะ จัดการเรยี นรรู้ ายวชิ าคณิตศาสตรพ์ นื้ ฐาน ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 นางสมพร อิน่ ใจ จัดการเรียนรู้รายวชิ าคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน ระดับช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 นางวิไลวรรณ รยิ ะนา จัดการเรียนรูร้ ายวิชาคณิตศาสตรพ์ น้ื ฐาน ระดับช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 – 5

5 นางสาวจรญิ ญา เทพอินทร์ จดั การเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์พนื้ ฐาน ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 และ ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 นางสาวปวรศิ า กา๋ วงคว์ ิน จัดการเรยี นรู้รายวิชาคณิตศาสตรพ์ นื้ ฐาน ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 - 6 นางสาวรักชนก วงษซ์ ื่อ จดั การเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตรพ์ น้ื ฐาน ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 นางสาวสกาวนภา แสนใหม่ จัดการเรียนรู้รายวชิ าคณติ ศาสตรพ์ ้นื ฐาน ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 นางสาวศศวิ มิ ล คาดเี จรญิ จัดการเรยี นรู้รายวชิ าคณิตศาสตรพ์ น้ื ฐาน ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 4.2 ขอบเขตดำ้ นเนือ้ หำ 1. การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการศึกษาการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้ กระบวนการชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ของโรงเรยี น ราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่เรียนรายวิชา คณิตศาสตร์พน้ื ฐาน โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ 4.3 ขอบเขตดำ้ นตัวแปรท่ศี กึ ษำ ตัวแปรต้น คือ กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ตัวแปรตาม คือ ผลการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ในองค์ประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการ พัฒนาการด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ และความพึงพอใจใน รายวิชาคณติ ศาสตร์พื้นฐาน 4.4 ขอบเขตด้ำนเวลำ การวิจัยครัง้ นีด้ าเนนิ การปกี ารศกึ ษา 2563 โดยดาเนินการจัดกจิ กรรมการเรยี นการ สอน คาบละ 50 นาที และกิจกรรมชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) คาบละ 50 นาที จานวน 2 คาบตอ่ สัปดาห์

6 5. นิยำมศัพทเ์ ฉพำะ 1. ประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้ หมายถึง ผลการจัดการเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการ ชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) มีในองค์ประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการ ผลการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน และความพึงพอใจต่อการเรียนรู้รายวิชา คณติ ศาสตร์ 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คะแนนเฉล่ียการเรียนการสอนรายวิชา คณติ ศาสตรพ์ ื้นฐานของปกี ารศกึ ษา 2563 1.2 ผลการจัดการเรียนรู้ในช้ันเรียน หมายถึง ผลการประเมินการจัดการเรียน การสอนในชั้นเรียนของครผู ู้สอน ประกอบด้วย การจัดการเรยี นการสอน การบริหารจัดการชั้นเรยี น และการพฒั นาตนเอง พฒั นาวชิ าชพี 1.3 ความพึงพอใจตอ่ การเรียนรรู้ ายวิชาคณิตศาสตร์ หมายถึง คะแนนท่ีได้จากการ ประเมินความร้สู กึ ในทางทดี่ ีต่อการเรยี นของนักเรียน 2. กระบวนการชุมขนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ หมายถึง การร่วมกลุ่มของครูผู้สอนและ บุคลากรทางการศึกษาในลักษณะของชุมชนทางวิชาชีพที่มีเป้าหมายเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติ การถอดบทเรียนและการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันอย่าง ต่อเน่ือง ซง่ึ ชุมชนแห่งการเรียนรูม้ ีลกั ษณะเฉพาะดงั นี้ (ขน้ั ตอนการดาเนนิ การ PLC) 2.1) การแลกเปลี่ยนวิสยั ทัศน์ของผรู้ ่วมวชิ าชีพและผทู้ ีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 2.2) มวี ัฒนธรรมการร่วมพลงั เป็นการร่วมมือรว่ มพลงั ของผบู้ รหิ ารและครผู ูส้ อน 2.3) เป็นการให้ความสาคัญต่อการเรียนรู้ของนักเรียน หรือผลการเรียนรู้ของ นกั เรยี น 2.4) มกี ารสะทอ้ นความคิดดว้ ยสุนทรยี สนทนา 6. ประโยชน์ทคี่ ำดวำ่ จะไดร้ ับ 1. ได้วิธีการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ โดยใชก้ ระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ 2. ครผู สู้ อนได้พัฒนากลยทุ ธ์ เทคนคิ การสอนท่ีเหมาะสมกบั ศักยภาพและบริบทของผู้เรียน ในแต่ละสถานการณ์ 7. ระยะเวลำกำรดำเนนิ งำน เร่ิมตน้ วันท่ี 1 กรกฎาคม 2563 สิ้นสดุ วันท่ี 31 มนี าคม 2564

7 8. กรอบแนวคิดของกำรวจิ ัย ตวั แปรตำม ตัวแปรต้น ประสทิ ธิผลการจัดการเรยี นรูร้ ายวชิ า คณติ ศาสตร์ ประกอบด้วย การจดั การเรียนรู้ โดยกระบวนการชุมชน 1. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional 2. พฒั นาการด้านคุณภาพการจัดการ เรยี นการสอนของครูกลุ่มสาระ Learning Community : PLC) คณติ ศาสตร์ 3. ความพงึ พอใจตอ่ การเรียนร้รู ายวิชา คณติ ศาสตร์ ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดของการวิจัย

8 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กีย่ วขอ้ ง งานวิจัยเร่ือง การศึกษาประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้ กระบวนการชมุ นมุ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุ- เคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสาร ตารา และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องโดยมีรายละเอยี ด ดงั น้ี 1. แนวคิดทฤษฎเี กยี่ วกับการพฒั นาคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทาง วิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) 2. แนวคิดทฤษฎเี กี่ยวกับเทคนิคการจัดการเรยี นรู้แบบรว่ มมอื (Cooperative Learning) 3. แนวคิดทฤษฎเี กยี่ วกบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 4. งานวิจยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง 1. แนวคิดทฤษฎีเก่ียวกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) 1.ความหมายของชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) DuFour (2010 : 9 - 14) กล่าวว่า ชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพเป็นการรวมกลุ่มบุคคล ที่มีเป้าหมายเดียวกัน และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นที่แต่ละคนให้ความสนใจเกี่ยวกับ การ พัฒนาทางการศึกษาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเพื่อให้เกิดการสืบเสาะแสวงหาความรู้ และพฒั นาการทางานอย่าง ต่อเนื่อง Bulkley และ Hick (2005 : 21) กลา่ ววา่ ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี ของโรงเรียนเปน็ ลักษณะของปฏสิ ัมพันธ์ทด่ี ีตอ่ เนือ่ งระหว่างครูผู้สอนเกีย่ วกบั การปฏิบัติงานการเรียนการสอน รวมทงั้ การเรยี นรขู้ องครูผสู้ อนและนกั เรยี น วจารณ์ พานิช (2555 : 139) กล่าวว่า การรวมตวั กนั ของครูในโรงเรียนเพ่ือแลกเปลี่ยน เรยี นรู้วิธีการจัดการเรียนรูใ้ หศ้ ิษยไ์ ดท้ กั ษะ เพอ่ื การดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 โดยท่ผี ู้บรหิ ารโรงเรียน คณะกรรมการโรงเรียน ผู้บริหาร เขตพ้ืนท่ีการศึกษาและผู้บริหารการศึกษา ระดับประเทศ เข้ารวม จัดระบบสนับสนุน ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อเนื่อง เป็นการพัฒนาวิธีการเรียนรู้ของศิษย์อยา่ ง ต่อเนื่อง เป็นวงจรไม่รู้จบ น่ันคือการ \"พัฒนาคุณภาพต่อเน่ือง\" (CQ - Continuous quality improvement) กระบวนการตอ่ เนื่องทีค่ รูและนักการศกึ ษาทางานรว่ มกนั ในวงจรของการร่วมกนั ต้ัง

9 คาถามและการทาวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพื่อบรรลุผลการเรียนรู้ท่ีดีข้ึนของนักเรียน โดยมีความเชื่อว่า หัวใจของการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนให้ดีขึ้น อยู่ท่ีการเรียนรู้ที่ฝังอยู่ในการทางานของครูและ นักการศึกษา สรุ ปคว ามหมายของ ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( Professional Learning Community : PLC) หมายถึง การรวมตัว รว่ มมือร่วมใจ และรว่ มเรยี นรรู้ ่วมกนั ของครู ผูบ้ ริหาร และ นักการศึกษา บนพื้นฐาน ความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร มีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมาย และภารกิจ รว่ มกัน โดยทางานร่วมกนั แบบทมี การเรยี นรทู้ ่ีมีครูเปน็ ผนู้ าร่วมกนั และผูบ้ รหิ ารเป็นผู้ดูแลสนบั สนุนสู่ การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพเปลี่ยนแปลงคุณภาพตนเอง สู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ความสาเร็จหรือประสิทธิผลของผู้เรียนเป็นสาคัญและความสุขของการทางานร่วมกันของสมาชิกใน ชมุ ชนการเรยี นรู้ 2. ความสาคัญชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) ความสาคัญชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มีพัฒนาการมาจากกลยุทธ์ระดับองค์กรที่ มุ่งเน้นให้องค์กรมีการปรับตัวต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่เกิดข้ึนอย่างรวดเร็วโดยเริ่ม พฒั นาจากแนวคดิ องค์กรแหง่ การเรียนรู้และปรับประยกุ ต์ให้มีความสอดคล้องกับบรบิ ทของโรงเรียน และการเรียนรู้ร่วมกันในทางวิชาชีพท่ีมีหน้างานสาคัญ คือความรับผิดชอบการเรียนรู้ของผู้เรียน ร่วมกันเป็นสาคัญ จากการศึกษาหลายโรงเรียนในประเทศสหรัฐอเมริกาดาเนินการในรูปแบบ PLC พบวา่ เกดิ ผลดีทางวิชาชพี ครู และผู้เรียนที่มุง่ พัฒนาการของผู้เรียนเปน็ สาคญั มผี ลสรปุ ใน 2 ประเด็น ดงั น้ี ประเด็นที่ 1 ผลดีต่อครูผู้สอน คือ เพ่ิมความรู้สึกผูกพันต่อพันธกิจและเป้าหมายของ โรงเรยี น โดยเพิ่มความกระตือรอื ร้นที่จะปฏิบตั ิให้บรรลุพนั ธกจิ และเป้าหมาย โดยอาศยั ความร่วมมือ จากทีมการเรยี นรู้ ประเดน็ ท่ี 2 ผลดตี ่อผ้เู รยี น คอื เพ่มิ ศักยภาพจากการเรยี นรู้ตามความสนใจ สามารถลด อตั ราการตกซ้าช้ันและจานวนชนั้ เรยี นท่ีซะลอการจัดการเรยี นรู้ให้น้อยลง 3. เป้าหมายของการสร้างชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี 1) เพื่อสร้างการเรียนรู้ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง และเป็นเครื่องมือในการพัฒนาอย่าง ตอ่ เน่อื งและยงั่ ยืน 2) เพ่ือสรา้ งการเปลย่ี นแปลงโดยเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิงานจริงของครู พฒั นาวชิ าชพี ครู ดว้ ยการพฒั นาผเู้ รียน ตลอดจนเปน็ การทบทวนการปฏบิ ัติงานของครทู ม่ี ีผลตอ่ การเรยี นรู้ของผูเ้ รยี น 3) เพื่อสร้างการทางานร่วมกันของครูแบบกัลยาณมิตร ร่วมมือรวมพลังของทุกฝ่ายใน การพัฒนาผู้เรียน แลกเปล่ียนเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และร่วมมือกันปพัฒนาวิธกี าร ทางานของครู

10 4. กลยุทธ์ในการจัดการและใช้ชมุ ชนแหง่ การเรยี นทางรูว้ ชิ าชพี (PLC) 4.1 การศึกษาปัญหา กาหนดเป้าหมาย อภิปราย สะทอ้ นผล แลกเปลี่ยนกับบุคคลอื่น ๆ เพ่อื กาหนดวธิ ีการดาเนินการ โดยพิจารณาและสะทอ้ นผลในประเด็นต่อไปนี้ 1) หลกั การท่ีสรา้ งแรงจูงใจในการปฏิบตั ิ 2) การเร่ิมดาเนนิ การลงมอื ปฏบิ ตั ิ 3) การออกแบบเครอ่ื งมอื ตรวจสอบหลักฐานของการเรยี นรู้ 4) การวางแผนด้วยความร่วมมือ (Plan Cooperatively) สมาชิกของกลุ่มกาหนด สารสนเทศทีต่ ้องใช้ในการดาเนินการ 4.2 การวิเคราะหก์ ารจัดการเรยี นรู้ โดยหาวิธีการทีจ่ ะทาให้ประสบผลสาเรจ็ สูงสดุ 1) ทดสอบข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการสอนหลังจากได้มีการจัดเตรียมต้นแบบท่ีเปน็ การวางแผนระยะยาว 2) จดั ให้มีช่วงเวลาของการช้ีแนะ โดยเน้นการนาไปใชใ้ นชน้ั เรียน 3) ให้เวลาสาหรับครูท่ีมีความยุ่งยากในการสังเกตกรณ์ปฏิบัติในช้ันเรียนของครูที่ สร้างบรรยากาศในการเรียนรอู้ ย่างประสบผลสาเรจ็ 5. ขน้ั ตอนการสรา้ งชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี ขั้นตอนที่ 1 ระบปุ ญั หา ระบุปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน/การทางานของครู ที่ เกิดข้ึนใน สถานศึกษา ขัน้ ตอนที่ 2 วเิ คราะหส์ าเหตุของปัญหา วเิ คราะหส์ าเหตุของปญั หาทเี่ กดิ ข้ึน วา่ เกดิ ขนึ้ จากสาเหตุท่เี กิดขน้ึ โดยมีปัจจัยใดเข้า มาเกยี่ วขอ้ ง มแี นวโน้มของปญั หาอย่างไร และมีผลกระทบใดทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ขั้นตอนท่ี 3 ระดมความคดิ เพ่อื นาเสนอวธิ แี ก้ปญั หา ระดมความคิดเพื่อหาวิธีแก้ปัญหาจากประสบกรณ์และผลการวิจัยท่ีสามารถอ้างองิ ได้ แล้วนาเสนอผลการระดมความคิด เมื่อนาเสนอเสรจ็ สิ้น ดาเนินการอภปิ รายสรปุ และเลือกวธิ ีการ แก้ปัญหาที่เหมาะสม ขน้ั ตอนที่ 4 ทดลองใช้วธิ ีแกป้ ัญหา นาวิธีแก้ปัญหาที่ได้จากการระดมความคิด ไปทดลองใช้ในการเรียนการสอนในช้ัน เรียน ใในการทางาน โดยร่วมกันสังเกต การสอนและเก็บข้อมูล หรือเก็บข้อมูลจากการทดลองใช้ใน การทางาน

11 ข้นั ตอนที่ 5 สรุปผลวธิ ีการแก้ปัญหา อภิปรายผลท่ีเกิดข้ึนจากการทดลองใช้ นาเสนอผลการสังเกตการสอนและ เสนอแนะวธิ ีการปรบั ปรุงแก้ไข แลว้ จึง สรุปผลวิธี การแก้ปัญหาที่ให้ผลดีต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน /การทางาน แล้วทาการ แบ่งปนั ประสบการณก์ ับชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพอ่นื 6. วธิ ีการและเทคนิคการเรยี นรู้ท่ีสดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนสู่ PLC 1) การออกแบบและจัดการเรียนร้ผู ่านกจิ กรรมการเรยี นรู้ 2) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญให้มีความหลากหลายตามสภาพ ผเู้ รยี นตามความสนใจและศกั ยภาพของ ผูเ้ รียน และเนน้ ผเู้ รียนเปน็ รายบุคคล 3) การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ทใ่ี ห้นกั เรียนลงมือปฏิบัติ เช่น โครงงาน Active Learning 4) การกระตนุ้ การเรยี นรู้ของผ้เู รียน โดยเน้นทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ การต้ังคาถาม 5) การจดั การเรยี นการสอนโดยใชส้ อ่ื และเทคโนโลยี 6) การจดั การเรยี นการสอนแบบบูรณาการเชื่อมโยงกลุ่มสาระ 7) การประเมินตามสภาพจริง และให้ข้อมูลย้อนกลับและติดตามผล รวมทั้งการ ชว่ ยเหลือนกั เรยี น 2.แนวคิดทฤษฎเี กย่ี วกบั เทคนคิ การจดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมือ (Cooperative Learning) 1.ความหมายของการเรยี นรแู้ บบรว่ มมือ สลาวิน (Slavin 1987, หน้า 4) กล่าวว่า การเรียนรู้แบบร่วมมือ หมายถึง วิธีการสอนอีก แบบหน่งึ ซึ่งกาหนดใหน้ กั เรียนทม่ี ีความสามารถต่างกนั ทางานรวมกันปนื กลมุ่ เลก็ ๆ โดยปกติจะมี 4 คน เปน็ นกั เรียนทีเ่ รียนเก่ง 1 คน เรยี นปานกลาง 2 คน และเรียนออ่ น 1 คน การทอสอบแบง่ เปน็ 2 ตอน ตอนแรกหาคา่ เฉล่ียของทั้งกลุ่มสว่ นครงั้ ท่ี 2 พิจารณาคะแนนทดสอบเปน็ รายบคุ คล การเรียนรู้ แบบร่วมมือเป็นการเรียนรู้ที่นักเรียนต้องเรียนร่วมกันรับผิดชอบงานของกลุ่มร่วมกันโดยที่กลุ่มจะ ประสบความสาเร็จได้เม่ือสมาชิกทุกคนได้เรียนรู้บรรลุตามจุดมุ่งพมายชนเดียวกัน นั่นคือการเรียน เป็นกลมุ่ หรือเป็นทมี อยา่ งมีประสิทธภิ าพ วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2543, หน้า 38) ใด้กล่าวถึงความหมายการเรียนรู้แบนร่วมมือไว้ว่า การเรียนรู้แบบร่วมมือเป็นวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการจัดสภาพแวดล้อมทางการ เรียนให้แก่ผู้เรียนได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ แต่ระกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกที่มีความรู้ ความสามารถตกต่างกัน โดยที่แต่ละคนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการเรียนรู้และในความสาเร็จของ กลุ่ม ท้ังโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นการแบ่งปันทรัพยากรการเรียนรู้รวมทั้งการเป็นกาลังใจแก่

12 กนั และกัน คนที่เรยี นเก่งจะช่วยเหลือคนทีอ่ ่อนกว่า สมาชิกในกลุ่มไมเ่ พยี งแต่รบั ผิดชอบตอ่ การเรียน ของตนเท่านั้น หากแต่จะต้องร่วมรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของเพอื่ นสมาชิกกคนในกลุ่ม ความสาเร็จ ของแต่ละบคุ คลคอื ความสาเรจ็ ของกลมุ่ อาภรณ์ ใจเท่ียง (2546, หนา้ 121) กลา่ ววา่ เป็นการจดั จกรรมการเรียนรู้ท่ีผ้เู รยี นมีความรู้ ความสามารถต่างกัน ได้ร่วมมือกนั ทางานกลุ่มด้วยความตั้งใจและเต็มใจรับผิดชอบในบทบาทหนา้ ที่ ในกลุ่มของตนทาใหง้ านของกลุ่มดาเนินไปสู่เปา้ หมายของงานได้ สุวิทย์ มูลคา และอรทัย มูลคา (2545, หน้า 134) การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ท่ีจัดให้ผู้เรียนได้รวมมือและช่วยเหลือกันในการเรียนรู้ โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนท่ีมี ความสามารถต่างกันออกเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ซ่ึงเป็นลักษณะการรวมกลุ่มที่มีโตรงสร้างชัดเจน มีการ ทางานรว่ มกนั มีการแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ มีการช่วยหลืองหาอาศัยซ่ึงกนั และกนั มคี วามรบั ผิดชอบ ร่วมกันทั้งในส่วนตนและส่วนรวม เพื่อให้ตนองและสมาชิกทุกคนในกลุ่มประสบความสาเร็จตาม เปา้ หมายทก่ี าหนดไว้ ริมสรัตน์ สุนทรโรจน์ (2549, หน้า 45) การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ หมายถึง วิธีการ จดั การเรียนรูท้ ี่เน้นการสอนทจ่ี ดั สภาพแวดลอ้ มการเรียนรูใ้ ห้แก่ผู้เรียนได้เรียนรรู้ ่วมกนั เปน็ กลุ่มเล็ก ๆ แต่ละกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกกลมุ่ ท่ีมีความสามารถต่างกนั โดยและคนมีสว่ นรว่ มอย่างแท้จริงในการ เรียนรูแ้ ละในความสาเรจ็ ของกลุ่มทง้ั โดยการเลาเปล่ยี นความคิดเหน็ การแบง่ ปนั นลการเรียนรู้รวมทั้ง เปน็ กาลงั ใจกนั และกนั คนท่ีเรียนเกง่ จะชว่ ยคนทีเ่ รยี นอ่อน ทิศนา แขมมณี (2550) ให้ความหมายว่า การเรียนรู้แบบร่วมมือ หมายถึง การเรียนท่ีมี วตั ถปุ ระสงค์ ใหผ้ ้เู รยี นเกดิ การเรียนรู้ในเรอ่ื งทศ่ี กึ ษาอย่างมากที่สดุ โดยอาศัยการรว่ มมือกันช่วยเหลือ กนั และแลกเปล่ียนความร้กู ัน ระหวา่ งกลุ่มเรยี นดว้ ยกัน ความตกตา่ งของรูปแบบแต่ละรูปแบบจะอยู่ ท่ีเทคนิคในการศึกษา เน้ือหาสาระและวิธีการเสริมแรงและการใหร้ างวลั เปน็ ประการสาคญั จากความหมายที่กล่าวมาข้างตันสรุปได้ว่า การเรียนบบร่วมมือ เป็นการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนท่ียึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ สมาชิกในกลุ่มมีความ แตกต่างกนั แตเ่ ปา้ หมายในการเรียนรว่ มกนั สมาชิกในกลุม่ มีบทบาทที่ชัดเจนในการเรยี น หรอื การทา กิจกรรมอย่างเท่าเทียมกันและได้เรียนรู้ไปพร้อม ๆ กัน ภายในกลุ่มมีปฏิสัมพันธ์กันและกันอย่างเท้ จริง ได้พัฒนาทักษะความร่วมมอื ในการทางานกลุ่ม สามารถสื่อสารกันและร่วมกนั ปฏิบัติงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย สมาชิกในกลุ่มมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ตรวจสอบผลงาน ขณะเดียวกันก็ต้อง

13 ช่วยกันรับผิดชอบการเรียนรู้ในงานทุกขั้นตอนของสมาชิกกลุ่ม ซ่ึงนักเรียนจะบรรลุถึงเปีาหมายของ การเรียนรู้ได้ ต่อเมือสมาชิกคนอ่ืน ๆ ในกลุ่มไปถึงเป้าหมายเช่นเดียวกัน ดังน้ันนักเรียนจึงต้อง ช่วยเหลือและสนับสนนุ เพ่ือนทุกคนในกลุ่มให้ประสบผลสาเร็จและบรรลุเป้าหมายร่วมกัน โดยแต่ละ คนมสี ่วนร่วมอยา่ งแทจ้ ริงในการเรยี นรแู้ ละในความสาเรจ็ ของกลุ่ม ทั้งโดยการเลกเปลย่ี นความคดิ เห็น การ แบ่งปันทรัพยากรการเสียนรู้ รวมท้ังเป็นกาลังใจกันและกัน คนที่เรียนเก่งจะช่วยคนที่เรยี นอ่อน เมื่อกล่มุ บรรลุเป้าหมายทกุ คนกจ็ ะรูส้ กึ ประสบความสาเรจ็ และมคี วามภาคภมู ใิ จรว่ มกัน แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบรว่ มมอื ชัยวัฒน์ สทุ ธิรตั น์ (2555, หน้า 186) กลา่ ว ว่า ไม่ว่าเทคนิคใดก็ตามจะมีลาดับข้ันตอนในการเรียนที่คล้ายกันคือ ข้ันเตรียม ข้ันสอน ข้ันทางาน กลุ่ม ข้ันตรวจสอบผลงาน ขั้นสรุปและประเมินผล ซ่ึงในท่ีน้ีจะอธิบายขั้นตอนการจัดการเรยี นรู้แบบ รา่ มมือไวต้ งั น้ี 1. ขั้นเตรยี มการ อาภรณ์ ใจเทีย่ ง (2550,หนา้ 122) อธบิ ายว่า ผู้สอนชแ้ี จงจุดประสงค์ของ บทเรียน แนะนา ทกั ษะในการเรียนร่วมกนั ละจดั ลุ่มแบ่งเป็นกลุ่มยอ่ ยก สุ่มละ 2 - 6 คน โดยสมาชิกมี ความสามารถ 3. แนวคดิ ทฤษฎีเกี่ยวกับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นเปน็ ตัวแปรหน่ึงท่ีสามารถแสดงใหเ้ ห็นถึงผลการจัดการเรียนรทู้ ีเ่ กิด ข้ึนกับผูเ้ รยี น ประเดน็ ท่นี าเสนอดงั น้ี 1. ความหมายของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น มีนกั การศึกษากล่าวให้ความหมายของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นไวห้ ลายท่านดังนี้ เยาวดี วบิ ูลย์ศรี (2549 หนา้ 16) กลา่ วว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู้ ทักษะ และสมรรถภาพด้านต่าง ทางวิชาการที่ผู้เรียนได้เรยี นรมู้ าในอดีต รวมถึงความสามารถของบุคคลอนั เกิดจากการเรียนการสอน เป็นการเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรม และประสบการณก์ ารเรียนรูท้ ่เี กดิ จากการ ฝึกฝนอบรมหรือจากการสอน สมนึก ภัททิยธนี (2551 หน้า 73-79) กล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความสามารถทางการเรียนของนักเรยี นโดยวัดได้จากการวดั ความสามารถความรู้ความเข้าใจ ทักษะ ทางการเรยี นของนกั เรยี นทไ่ี ดจ้ ากการทาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นหลังเรยี น สรุปได้ว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความรู้ความสามารถหรือความสาเร็จของ บุคคลที่ได้รับจากการฝึกฝน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากการเรียนการสอน ซึ่งวัดได้จากการทา

14 แบบทตสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แล้วแปลผลจากคะแนนท่ไี ด้ เปน็ ความสามารถทางการเรียน ของนักเรยี น 2. ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิใ์ นการเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement Test) เป็นเครื่องมืออย่าง หนึ่งทีใ่ ชว้ ัดพัฒนาการความสาเร็จภายหลงั จากการเรยี นส้นิ สดุ ลง มหี ลายประเภทดงั น้ี เยาวดี วิบูลย์ศรี (2551: 14) และสมนึก ภัททิยชนี (2551หน้า 73-97) กล่าวว่า ลักษณะ ของแบบทดสอบผลสัมฤทธม์ิ ีทั้งท่เี ป็นข้อเขยี น และทเี่ ป็นภาคปฏบิ ตั ิ แบง่ เปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1) แบบทดสอบผลสัมฤทธมิ์ าตรฐาน และ 2) แบบทดสอบผลสมั ฤทธ์ทิ ค่ี รสู ร้างขึ้น สมนีก ภัททิยชนี (2551 หน้า 73-79) กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี นประเภทที่ครูสร้างมหี ลายแบบ แตน่ ิยมใชม้ ี 6 แบบดังนี้ 1. ข้อสอบอัตนัยหรือความเรียง (Subjective or Essay Test) เป็นข้อสอบที่มี เฉพาะคาถาม แล้วให้นักเรียนเขียนตอบอย่างเสรี เขียนบรรยายตามความรแู้ ละขอ้ คิดเห็นของแต่ละ คน 2. ข้อสอบแบนกาถกู ผดิ (True - False Test) เปน็ ข้อสอบแบบเลือกตอบทีม่ ี 2 ตัวเลือก แต่ละตัวเลือกตังกล่าวเป็นแบบคงท่ี และมีความหมายตรงกันข้าม เช่น ถูก - ผิด ใช่ - ไมใ่ ช่ จริง - ไมจ่ รงิ เหมือนกัน - ตา่ งกนั เป็นตนั 3. ข้อสอบแบบเดิมคา (Completion Test) เปน็ ขอ้ สอบที่ประกอบด้วยประโยค หรอื ขอ้ ความทย่ี งั ไมส่ มบรู ณ์ แลว้ ใหผ้ ตู้ อบเติมคาหรือประโยคหรือขอ้ ความลงไปในชอ่ งว่างท่เี ว้นไว้น้ัน เพ่อื ให้มีขอ้ ความทีส่ มบรู ณแ์ ละถกู ตอ้ ง 4. ข้อสอบแบบตอบสั้น ๆ (Short Answer Test) ข้อสอบประเภทนี้คล้ายกับ ข้อสอบแบบเดิมคา แต่แดกต่างกนั ท่ีข้อสอบแบบตอบส้ัน เขียนเป็นประโยดคาถามที่สมบรู ณ์แล้วให้ ผตู้ อบเขยี นตอบ คาตอบทต่ี ้องการจะสนั้ และกะทดั รัด ได้ใจความสมบูรณ์ ไมใ่ ช่เปน็ การบรรยายแบบ ข้อสอบความเรียงหรอื อตั นยั 5. ข้อสอบแบบจับคู่ (Matching Test) เป็นข้อสอบเลือกตอบชนิดหนึ่งโดยมีคา หรือข้อความแยกออกจากกันเป็น 2 ชุด แล้วให้ผู้เลือกตอบเลือกจับคู่รา แต่ละข้อความในชุดหนึ่ง (ตัวยืน) จะคู่กับคาหรือข้อความใดในอีกชุดหนึ่ง (ตัวเลือก ซึ่งมีความสัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหน่ึง ตามท่ผี ู้ออกขอ้ สอบกาหนดไว้ 6. ข้อสอบแบบเลอื กตอบ (Multiple Choice Test) ลกั ษณะท่ัวไป คาถามแบบ เลอื กตอบโดยทว่ั ไปจะประกอบดว้ ย 2 ตอน คือ ตอนนาหรือคาถาม (Stem) กับตัวเลอื ก (Choice) ใน ตอนเลือกนี้จะปะกอบด้วยตัวเลือกท่ีเป็นคาตอบถูกและตัวเลือกที่เป็นตัวลวง ปกติจะมีคาถามท่ี กาหนดให้นักเรียนพิจารณา แล้วหาตัวเลือกที่ถูกต้องมากที่สุดเพียงตัวเดียวจากตัวสวงอ่ืน ๆ และ

15 คาถามแบบเลือกตอบท่ีดี นิยมใช้ตัวเลือกที่ใกล้เคียงกัน ดูเผิน ๆ จะเห็นว่าทุกตัวเลือกถูกหมด แต่ ความจริงมีน้าหนักถูกมากน้อยตา่ งกัน ดังน้ัน การท่ีครูผู้สอนจะเลือกออกข้อสอบประเภทใดน้ัน ต้อง พิจารณาข้อดี ข้อจากัด ความเหมาะสมของแบบทดสอบกบั เนอ้ื หาหรือจดุ ประสงคใ์ นการเรยี นรู้ สรุปได้ว่า ลักษณะของแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์มีหลายประเภทท้งั ท่ีเปน็ ข้อเขียน และทเ่ี ป็น ภาคปฏิบัติ ในการวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยเลือกใช้แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบเลือกตอบ (Multiple Choice Test) เป็นเคร่ืองมืออย่างหนงึ่ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจยั 4. งานวิจัยทีเ่ กย่ี วข้อง ธัญญา แนวดง (2561 : 2) ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยร่วมกับเทคนิค Think - Pair – Share ที่มีต่อมโนทัศน์และความสามารถในการให้หตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 2 การวจิ ยั คร้ังน้ีมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อเปรียบเทยี บมโนทัศนท์ างคณิตศาสตร์ เรอื่ งความ เท่ากนั ทุกประการ และความสามารถในการใหเ้ หตุผลทางคณิศาสตร์ ของนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบอุปนัยร่วมกับเทคนิค Think - Pair - Shareกับเกณฑ์ร้อยละ 70 ซ่ึง เป็นแผนการวิจัยแบบศึกษากลุ่มเดียว วัตหลังการทดลองคร้ังเตียว โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คร้ังน้ีได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2561 โรงเรียนกรอกสมบรู ณ์ วิทยาคม จานวน 18 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยร่วมกับเทคนิค Think - Pair-Share จานวน 6 แผน แบบทต สอบวัฒนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ความเท่ากันทุกประการ ท่ีมีค่าความเชื่อม่ันเท่ากับ 0.85 และ แบบทดสอบวัดความสมารถในการใหเ้ หตุผลทางคณติ ศาสตร์ท่มี ีค่าความเช่ือม่ันเท่ากบั 0.89 สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ คาเฉลี่ย คาส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที่แบบกลุ่ม ตัวอย่างเดียว ผลการวจิ ยั พบวา่ 1. มนทัศน์ทางคณศิ าสตร์ เร่ือง ความเท่ากันทกุ ประการ ของนกั เรียน ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 ทไ่ี ด้รับการจดั การเรยี นรแู้ บบอุปนัยร่วมกบั เทคนิค Think- Par - Share สงู กว่า เกณฑ์ร้อยละ70 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 2. ความสามารถในการให้เหตุผลทาง คณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ันมัยยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยร่วมกับเทตนิค Think - Pair - Share สงู กว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 70 อย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั 0.05 อุไรวรรณ ปานทโชติ (2561 : 2) การพัฒนากิจกรรมการเรยี นรู้ที่ส่งเสริมความสามารถใน การแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ตามข้นั ตอนของโพลยารว่ มกบั เทคนคิ เพือ่ นคูค่ ิดวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนา กิจกรรมการเรียนร้ทู ่ีส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ตามขั้นตอนของโพลยา

16 ร่วมกบั เทคนคิ เพอื่ นคคู่ ิด เพอ่ื เปรียบเทยี บความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณติ ศาสตร์ หลงั การจัด กิจกรรมการเรียนร้ทู ่ีส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ตามข้ันตอนของโพลยา รว่ มกบั เทคนิคเพือ่ นคู่คิด กบั เกณฑแ์ ละเพอื่ ศึกษาเจตคติตอ่ วิชาคณิตศาสตร์ หลงั จักิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีส่งเสรมิ ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ตามชนั้ ตอนของโพลยารว่ มกับเทคนิคเพื่อน คู่คิด ประชากรเป็นนักเรียนโรงเรียนไกรวิทยาจานวน 86 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวจิ ัย ได้แก่แบบวัด ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ แบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล โดยการทดสอบค่าท่ี (One Sample test) วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานผลการวิจัยปรากฏดังนี้1) การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความสามารถในการ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยาร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิด จานวน 10 กิจกรรม 5 สาระการเรียนรู้ 2 นักเรียนท่ีร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ตามช้ันตอนของโพลยาร่วมกับเทคนิคเพ่ือนคู่คิด มีความสามารถในการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ สูงกวา่ เกณฑ์อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 นกั เรียนทรี่ ว่ มกิจกรรมการเรยี นร้ทู ่ี ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยารว่ มกับเทคนิคเพ่ือนคิด มเี จตคตติ ่อวชิ าคณิศาสตรโ์ ดยรวมอยใู่ นระดับมาก สุภาวดี ศรีธรรมศาสน์(2551 : 75) ศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5E ท่ีเน้นพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผลการวิจัยพบว่านักเรียน จานวนร้อยละ 56.67 ได้คะแนนความคิดสร้างสรรค์ทางคณิศาสตร์ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไปต่ากว่า เกณฑ์ท่ีกาหนดไว้คือนักเรียนจานวนร้อยละ70ได้คะแนนดวามคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ต้ังแต่ ร้อยละ50 ขึ้นไปนักเรียนจานวนร้อยละ 73.33 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตั้งแต่ร้อยละ70 ข้ึนไปซ่ึง ผ่านเกณฑท์ ก่ี าหนดไว้

17 บทท่ี 3 วิธีการดาเนนิ การวจิ ัย การวิจัยเรื่อง การศึกษาประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการชุมนุมการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ 31 โดยมขี ั้นตอนในการดาเนนิ การวจิ ยั แบ่งเปน็ 3 ขัน้ ตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้ กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ของ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ข้ันตอนท่ี 2 ผลการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นรายวิชาคณิตศาสตร์ระหว่าง ปกี ารศกึ ษา 2562 กบั ปกี ารศึกษา 2563 ขั้นตอนท่ี 3 ความพึงพอใจต่อการเรียนรรู้ ายวิชาคณิตศาสตร์ ซึง่ การดาเนนิ การวจิ ัยทง้ั 3 ขั้นตอน ผู้วจิ ัยแสดงรายละเอยี ดเรียงลาดับการนาเสนอในแต่ละ ขัน้ ตอนโดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ 1. จดุ ประสงค์ 2. กลมุ่ เป้าหมาย 3. เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 4. การเก็บรวบรวมข้อมลู 5. การจัดกระทากบั ข้อมลู และวเิ คราะหข์ อ้ มูล 6. สถติ ิที่ใช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล ขน้ั ตอนที่ 1 ศึกษาประสทิ ธิผลการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาคณิตศาสตรโ์ ดยใชก้ ระบวนการ ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ของโรงเรียนราช ประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ 1.1 จุดประสงค์ เพ่ือศึกษาประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิ ตศาสตร์ โ ดยใช้กระบว น ก าร ชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ของโรงเรยี นราชประชา นเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ 1.2 กลุ่มเปา้ หมาย ครูกล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ จานวน 9 คน

18 1.3 เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 1.3.1 แผนการจดั การเรียนการสอนในช้นั เรียน สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชว้ี ัดของ หลักสตู รแกนกลาง 1.3.2 แบบนเิ ทศการจัดการเรียนการสอนของครู เพอื่ ศกึ ษาและประเมินการจัดการ เรยี นการสอนในชั้นเรียนของครูผู้สอน 1.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล 1.4.1 ผู้วิจัยและกลุ่มเป้าหมายร่วมกันวิเคราะห์ ศึกษา การจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) 1.4.2 ผูว้ ิจัยศกึ ษาและวิเคราะห์แผนการจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียน สอดคล้อง กับมาตรฐาน ตวั ช้ีวัดของหลักสตู รแกนกลาง 1.4.3 ผู้วิจัยออกแบบนิเทศการจัดการเรียนการสอนของครู เพ่ือศึกษาและประเมนิ การจัดการเรยี นการสอนในชั้นเรยี นของครูผ้สู อน 1.5 การจัดกระทากบั ขอ้ มลู และวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผูว้ ิจยั ดาเนนิ การวิเคราะห์ข้อมูล โดยนาคะแนนการนเิ ทศการจัดการเรยี นการสอนใน ชั้นเรยี น มาวเิ คราะห์โดยวธิ ีวิเคราะห์เนอื้ หา (Content Analysis) และนามาสร้างขอ้ สรปุ 1.6 สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล 1) ความเที่ ยงตรง (Validity) ของเครื่ องมื อโดยใช้ วิ ธี การหาค่ าดั ชนี ความสอดคลอ้ ง (Item Objective Congruence : IOC) จากสตู ร (สมบัติ ทา้ ยเรอื คา, 2555, น.111) ดงั นี้ IOC =  R N เมื่อ IOC แทน ดชั นคี วามสอดคลอ้ งระหวา่ งจุดประสงคก์ บั ขอ้ คาถาม  R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชย่ี วชาญทั้งหมด N แทน จานวนผู้เชย่ี วชาญ 2) รอ้ ยละ (Percentage) คานวณจากสตู ร ดังน้ี P  x 100 n เมอื่ P แทน รอ้ ยละ x แทน จานวนหรือเหตุการณ์ที่สนใจ n แทน จานวนท่ศี กึ ษา

19 ข้ันตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างปี การศกึ ษา 2562 กบั ปกี ารศกึ ษา 2563 2.1 จุดประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างปีการศึกษา 2562 กบั ปกี ารศึกษา 2563 2.2 กลุ่มเป้าหมาย 2.2.1 นักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 820 คน ดงั น้ี นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 จานวน 7 คน นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 2 จานวน 15 คน นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 จานวน 9 คน นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 จานวน 12 คน นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5 จานวน 19 คน นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 จานวน 15 คน นักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 จานวน 140 คน นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 จานวน 127 คน นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 จานวน 122 คน นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 จานวน 141 คน นักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 117 คน นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 จานวน 96 คน 2.2.2 ครูผู้สอนรายวิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชยี งใหม่ จานวน 9 คน โดยกาหนดดังน้ี นางสาวเตชินี หอมนาน จัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 นางสาวฐติ ิรัตน์ โป่งอนิ ทนะ จัดการเรยี นรรู้ ายวชิ าคณิตศาสตร์พนื้ ฐาน ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 2 นางสมพร อิ่นใจ จดั การเรียนรู้รายวชิ าคณิตศาสตรพ์ น้ื ฐาน ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 นางวไิ ลวรรณ รยิ ะนา จัดการเรยี นร้รู ายวชิ าคณิตศาสตรพ์ ืน้ ฐาน ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 – 5

20 นางสาวจริญญา เทพอนิ ทร์ จัดการเรยี นรรู้ ายวิชาคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 และ ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 นางสาวปวริศา กา๋ วงค์วนิ จัดการเรยี นรรู้ ายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 – 6 นางสาวรักชนก วงษซ์ ่ือ จดั การเรียนรรู้ ายวิชาคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 นางสาวสกาวนภา แสนใหม่ จัดการเรยี นร้รู ายวชิ าคณิตศาสตรพ์ ืน้ ฐาน ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 นางสาวศศวิ ิมล คาดีเจริญ จัดการเรยี นรู้รายวชิ าคณิตศาสตร์พื้นฐาน ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 2.3 เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 2.3.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี น ประเภททคี่ รสู ร้างมีหลายแบบ แต่ท่นี ยิ มใช้มี 6 แบบดังนี้ 1) ข้อสอบอัตนัยหรือความเรียง (Subjective or Essey test) เป็นข้อสอบท่ีมี เฉพาะคาถาม แล้วให้นักเรียนเขียนตอบอย่างเสรี เขียนบรรยายตามความรู้และเขียนข้อคิดเห็นของ แต่ละคน 2) ข้อสอบแบบกาถูก-ผิด (True-false test) คือข้อสอบแบบเลือกตอบท่ีมี 2 ตัวเลือกแต่ตัวเลือกดังกล่าวเป็นแบบคงท่ีและมคี วามหมายตรงกันข้าม เช่น ถูก-ผิด ใช่-ไม่ใช่ จริง-ไม่ จริง เหมือนกนั -ตา่ งกนั เป็นต้น 3) ข้อสอบแบบเติมคา (Completion test) เป็นข้อสอบท่ีประกอบด้วยประโยค หรือข้อความท่ียังไม่สมบูรณ์แล้วให้ตอบเติมคาหรือประโยค หรือข้อความลงในช่องว่างที่เว้นไว้นั้น เพอ่ื ให้มใี จความสมบูรณ์และถกู ตอ้ ง 4) ข้อสอบแบบตอบสั้นๆ (Short answer test) เป็นข้อสอบที่คล้ายกับข้อสอบ แบบเติมคา แต่แตกต่างกันที่ข้อสอบแบบตอบสั้นๆเขียนเป็นประโยคคาถามสมบูรณ์ (ข้อสอบเติมคา เป็นประโยคหรือข้อความที่ยังไม่สมบูรณ์) แล้วให้ผู้ตอบเขียนตอบ คาตอบท่ีต้องการจะส้ันและ กะทัดรัดได้ใจความสมบูรณไ์ ม่ใช่เป็นการบรรยายแบบขอ้ สอบอตั นยั หรอื ความเรยี ง 5) ขอ้ สอบแบบจับคู่ (Matching test) เปน็ ขอ้ สอบแบบเลอื กตอบชนดิ หน่ึงโดยมี คา่ หรือข้อความแยกออกจากกนั เป็น 2 ดแล้วใหผ้ ตู้ อบเลอื กจบั คูว่ ่าแต่ละข้อความในชดุ หนึง่ จะคู่กับคา หรอื ข้อความใดในอกี ชดุ หน่ึงซง่ึ มีความสมั พันธ์กันอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงตามที่ผอู้ อกขอ้ สอบกาหนดไว้

21 6) ข้อสอบแบบเลือกตอบ (Multiple choice test) คาถามแบบเลือกตอบ โดยทั่วไปจะประกอบด้วย 2 ตอน คือ ตอนนาหรือคาถาม (Stem) กับตอนเลือก (Choice) ในตอน เลือกน้ันจะประกอบด้วยตัวเลือกที่เป็นคาตอบถูกและตัวเลือกลวง ปกติจะมีคาถามท่ีกาหนดให้ พิจารณา แล้วหาตัวเลือกที่ถูกต้องมากที่สุดเพียงตัวเลือกเดียวจากตัวเลือกอื่น ๆ และคาถามแบบ เลือกตอบที่ดนี ยิ มใช้ตัวเลอื กทใ่ี กลเ้ คยี งกัน ดังน้ันในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น จึงเป็นวิธีการวัดประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ซึ่งมีการสร้างแบบทดสอบหลากหลายได้แก่ ข้อสอบอัตนัยหรือความเรียง ข้อสอบแบบกาถูกกาผิด ข้อสอบแบบเติมคา ข้อสอบแบบตอบสั้นๆ ข้อสอบแบบจับคู่ และข้อสอบ แบบเลือกตอบ ในการวิจัยคร้ังนี้ผู้วิจัยสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบเลือกตอบ เน่ืองจากเป็นแบบทดสอบท่ีสามารถวดั พฤติกรรมท้ัง 6 ด้านได้แก่ ด้านความรู้ ด้านความเข้าใจ ด้าน การนาไปใช้ ด้านการวเิ คราะห์ ดา้ นการสงั เคราะห์และดา้ นการประเมนิ คา่ 2.3.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ มขี ั้นตอนการการ สรา้ งและหาคุณภาพ ดงั น้ี 1) ศึกษาตารา เอกสาร และงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการสร้างแบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และวิธีตรวจสอบหาคุณภาพของแบบทดสอบ เพื่อเป็นแนวทางในการจัดทา แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นรายวิชาคณติ ศาสตร์ 2) วิเคราะห์เน้ือหา จุดประสงค์การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด รายวิชาคณติ ศาสตร์ เพอื่ นาเนอื้ หามาสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 3) สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนรายวชิ าคณิตศาสตร์ แบบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ 4 ตวั เลือก โดยครอบคลมุ เน้อื หาและจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 4) นาร่างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สร้างเสนอต่อหัวหน้ากลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เพ่ือตรวจสอบความถูกต้อง และเหมาะสมตามหลักการของการจัดทา แบบทดสอบ แล้วนามาปรบั ปรุงแกไ้ ขตามคาชี้แนะ 5) นากระดาษคาตอบของนักเรียนมาตรวจให้คะแนน โดยข้อใดตอบถูกให้ 1 คะแนน ขอ้ ใดตอบผิดให้ 0 คะแนน รวมคะแนนแต่ละคนแลว้ นามาวิเคราะห์ข้อสอบเปน็ รายข้อ เพอ่ื นามาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (P) ค่าอานาจจาแนก (r) และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ภายหลังการวิเคราะห์พบว่าค่าความยากง่ายเท่ากับ 0.20 – 0.70 ค่า อานาจจาแนกเท่ากับ 0.20 – 0.70 และค่าความเช่อื มัน่ เท่ากบั 0.86 6) จัดทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ ฉบับ สมบรู ณ์ เพ่อื นาไปใช้กับกลุม่ ตวั อย่างตอ่ ไป

22 2.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 2.4.1 ผวู้ จิ ยั ดาเนินการทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) โดยใชแ้ บบทดสอบวัดผล สัมฤทธทิ์ างการเรียนทีผ่ วู้ จิ ัยสรา้ งขนึ้ คือ แบบทดสอบสอบกอ่ น 2.4.2 ผวู้ จิ ัยดาเนินการสอนด้วยตนเอง ตามแผนการจดั การเรียนรู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 2.4.3 ผูว้ ิจัยดาเนินการทดสอบหลังเรียน (Post -test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผล สัมฤทธ์ิทางการเรยี นฉบบั เดียวกันกับท่ใี ช้ในการทดสอบกอ่ นเรียน 2.5 การจัดกระทากบั ข้อมูลและวเิ คราะหข์ ้อมลู ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล โดยคะแนนมาก่อนเรียนและหลังเรียนมา เปรียบเทียบเพื่อหาผลต่าง และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างปี การศึกษา 2562 กบั ปกี ารศกึ ษา 2563 มาวิเคราะหโ์ ดยวธิ ีวเิ คราะห์เน้ือหา (Content Analysis) และ นามาสรา้ งขอ้ สรปุ 2.6 สถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1) ความเที่ยงตรง (Validity) ของเครื่องมือโดยใช้วิธีการหาค่าดัชนี ความสอดคล้อง (Item Objective Congruence : IOC) จากสูตร (สมบัติ ท้ายเรอื คา, 2555, น.111) ดงั น้ี IOC =  R N เม่ือ IOC แทน คา่ ดชั นคี วามสอดคล้อง  R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผเู้ ชีย่ วชาญทัง้ หมด N แทน จานวนผู้เชย่ี วชาญ 2) รอ้ ยละ (Percentage) คานวณจากสูตร ดังน้ี P  x 100 n เม่อื P แทน รอ้ ยละ x แทน จานวนหรอื เหตุการณ์ท่ีสนใจ n แทน จานวนท่ีศึกษา

23 3) ค่าเฉลี่ย (Mean) โดยใช้สูตร ดังน้ี (บุญชม ศรสี ะอาด, 2553, น.102) = X n เมื่อ  แทน ค่าเฉลีย่  X แทน ผลรวมทัง้ หมดของคะแนน n แทน จานวนคนทั้งหมด 4) ค่าดัชนีความยากงา่ ย (P) P= R N เมื่อ P แทน คา่ ดัชนีความยากง่าย R แทน จานวนนกั เรยี นทท่ี าข้อสอบถูก N แทน จานวนคนทงั้ หมดที่ทาข้อสอบ 5) ค่าอานาจจาแนก (r) r = RH  RL n เมอ่ื r แทน ค่าอานาจจาแนก RH แทน จานวนนักเรียนทต่ี อบถูกในกล่มุ สูง RL แทน จานวนนกั เรยี นทต่ี อบถกู ในกลมุ่ ตา่ n แทน จานวนนกั เรยี นในกลุ่มสูงหรือกล่มุ ตา่ ขน้ั ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจตอ่ การเรยี นรรู้ ายวิชาคณิตศาสตร์ 3.1 จดุ ประสงค์ เพื่อสารวจความพึงพอใจต่อการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน กลุ่มสาระ คณติ ศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ 3.2 กลุม่ เป้าหมาย ครูและนักเรียนที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ ของ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ โดยสุ่มแบบเจาะจง จานวน 100 คน 3.3 เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 3.3.1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจเพ่ือเป็นกรอบในการสร้าง คาถาม

24 3.3.2 สรา้ งแบบสอบถามความพึงพอใจโดยใชข้ อ้ คาถามแบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) กาหนดค่าคะแนนเป็น 5 ระดบั ตามวธิ ขี องลเิ คริ ์ท (Likert) และกาหนดเกณฑ์มาทา ข้อมูลในการประเมินดังนี้ คา่ เฉลย่ี ระดบั ความพงึ พอใจ คา่ เฉลี่ย 4.50 – 5.00 หมายถงึ ระดับความพึงพอใจมากทีส่ ดุ คา่ เฉลี่ย 3.50 – 4.49 หมายถึง ระดับความพึงพอใจมาก คา่ เฉลย่ี 2.50 – 3.49 หมายถงึ ระดับความพึงพอใจปานกลาง คา่ เฉล่ีย 1.50 – 2.49 หมายถึง ระดับความพึงพอใจนอ้ ย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถึง ระดับความพึงพอใจน้อยทีส่ ดุ จานวน 10 ข้อคาถาม ซ่ึงประกอบดว้ ยความคิดเห็นเก่ียวกบั ด้านการออกแบบและ การจดั รปู แบบด้านคณุ ภาพของเนื้อหา ระดบั ความพงึ พอใจโดยภาพรวม 3.3.3 นาแบบสอบถามความพงึ พอใจเสนอผู้เชย่ี วชาญ เพื่อตรวจความถกู ตอ้ งและ เหมาะสมของแบบสอบถาม แลว้ ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะทีไ่ ดจ้ ากผู้เชย่ี วชาญ 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผู้วิจัยดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล เลือกกลุ่มเป้าหมายโดยการสุ่มแบบ เจาะจง จานวน 100 คน ให้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ซึ่งมีข้อคาถามแบบมาตราส่วน ประมาณคา่ (Rating Scale) กาหนดคา่ คะแนนเปน็ 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert) และกาหนด เกณฑป์ ระเมนิ จานวน 10 ข้อ ประกอบดว้ ยความคดิ เหน็ เกย่ี วกับดา้ นการออกแบบและการจัดรูปแบบ ดา้ นคณุ ภาพของเน้อื หา ระดบั ความพึงพอใจโดยภาพรวม 3.5 การจัดกระทากบั ขอ้ มูลและวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนาข้อมูลจากแบบสอบถามความพึงพอใจ มาวิเคราะหโ์ ดยวธิ วี ิเคราะห์เนอ้ื หา (Content Analysis) และนามาสร้างขอ้ สรุปผลการประเมิน 3.6 สถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล 1) ความเที่ยงตรง (Validity) ของประเด็นการสนทนากลุ่ม เกี่ยวกับการประเมิน รปู แบบระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารงานกจิ การนกั เรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ ผู้วิจัยดาเนินการวเิ คราะห์คานวณโดยใช้วธิ ีการหาค่าดชั นคี วามสอดคลอ้ ง (Item Objective Congruence : IOC) จากสูตร (สมบตั ิ ทา้ ยเรือคา, 2555, น.111) ดังนี้ IOC =  R N เม่ือ IOC แทน ดชั นีความสอดคล้องระหวา่ งจุดประสงคก์ ับขอ้ คาถาม

25  R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด N แทน จานวนผู้เชย่ี วชาญ 2) รอ้ ยละ (Percentage) คานวณจากสตู ร ดังนี้ P  x 100 n เมอื่ P แทน ร้อยละ x แทน จานวนหรอื เหตุการณท์ ่ีสนใจ n แทน จานวนท่ศี กึ ษา

26 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเรื่อง การศึกษาประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการชุมนุมการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ โดยผู้วจิ ยั ไดเ้ สนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดังนี้ 1. สญั ลักษณ์ท่ีใช้ในการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู 2. ลาดับขนั้ ตอนในการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 3. ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู 1. สญั ลักษณ์ท่ีใชใ้ นการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู N แทน จานวนประชากร n แทน จานวนกลมุ่ ตวั อย่าง % แทน ร้อยละ (Percentage) ������ แทน ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ������ แทน ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน P แทน ค่าความยากง่าย IOC แทน คา่ ดัชนคี วามสอดคล้อง (Item Objective Congruency Index) r แทน คา่ อานาจจาแนก 2. ลาดบั ข้ันตอนในการนาเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล การวิจัยเร่ือง การศึกษาประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้ กระบวนการชุมนุมการเรยี นรู้ทางวิชาชพี ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ โดยผ้วู ิจยั ไดเ้ สนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล ดงั นี้ ข้ันตอนที่ 1 ศึกษาประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการ ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ของโรงเรยี นราชประชา นุ-เคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ขั้นตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างปี การศึกษา 2562 กับปีการศึกษา 2563 ขัน้ ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจต่อการเรยี นรรู้ ายวชิ าคณติ ศาสตร์

27 3. ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ขั้นตอนท่ี 1 ศึกษาประสทิ ธิผลการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาคณิตศาสตรโ์ ดยใช้กระบวนการ ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ของโรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ ตารางที่ 1 พฒั นาการดา้ นคุณภาพการจัดการเรยี นการสอนของครูกลุ่มสาระคณติ ศาสตร์ จากตารางท่ี 1 พฒั นาการด้านคณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอนของครกู ลมุ่ สาระคณติ ศาสตร์ โดยการนิเทศการสอน ครกู ลุ่มสาระคณติ ศาสตร์ พบวา่ คร้งั ท่ี 1 มีค่าเฉล่ียพฒั นาการด้านคุณภาพการ จัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ อยู่ท่ี 83.33 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ครั้งท่ี 2 มี ค่าเฉลี่ยพัฒนาการด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ อยู่ท่ี 85.42 อยใู่ นระดับคุณภาพ ดี ครงั้ ที่ 3 มีค่าเฉล่ยี พัฒนาการด้านคุณภาพการจดั การเรยี นการสอนของครูกลุ่ม สาระคณิตศาสตร์ อยทู่ ่ี 87.03 อยู่ในระดบั คุณภาพ ดี การจัดการเรยี นการสอนมกี ารจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ มกี ารจดั การเรียน ท่ีรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนได้คิด และลงมือปฏิบัติจริง แต่ควรใช้ภาษาในการสื่อสารและสร้างบรรยากาศการ เรียนรใู้ ห้น่าสนใจ ใช้น้าสียงทกี่ ระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นเกิดความสนใจในการเรยี นการสอนวชิ าคณิตศาสตร์มี การใช้สื่อในการเรียนการสอน ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถาม หรือแสดงความคิดเห็นให้มากขึ้นให้ นักเรียนเกิดn ควรใช้กระบวนการกลุ่มเข้ามาช่วยกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้มากย่ิงขึ้นเพ่ือให้ นักเรยี นมีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ วชิ าคณติ ศาสตร์

28 ขั้นตอนท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ระหวา่ งปี การศกึ ษา 2562 กบั ปีการศกึ ษา 2563 ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ร้อยละของนักเรียนท่ีมีผลการเรียนในภาพรวม ระหว่างปกี ารศึกษา 2562 กับ ปกี ารศกึ ษา 2563 ปกี ารศึกษา 2562 2563 ผลต่าง รอ้ ยละของผลสัมฤทธิ์ 46.33 67.08 +20.75 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรียนเฉลีย่ รวม 90.00 80.00 70.00 60.00 50.00 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00 2563 2562 จากตารางและกราฟ พบวา่ ร้อยละของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนใน ภาพรวม มีผลสมั ฤทธข์ิ องปีการศึกษา 2563 สงู กวา่ ปีการศึกษา 2562 อยู่ ร้อยละ 20.75

29 ตารางท่ี 3 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิร้อยละของนักเรียนท่ีมีผลการเรียน 2.00 ข้ึนไป ระหว่างปกี ารศกึ ษา 2562 กบั ปกี ารศกึ ษา 2563 ปกี ารศึกษา 2562 2563 ผลตา่ ง รอ้ ยละของผลสัมฤทธ์ิ 66.70 86.07 +19.37 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียน รอ้ ยละของนักเรียนทมี่ ผี ลการเรียน 2.00 ขน้ึ ไป 90.00 80.00 70.00 60.00 50.00 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00 2562 2563 จากตารางและกราฟ พบว่า ร้อยละของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี นระดบั 2.00 ขน้ึ ไปมีผลสัมฤทธข์ิ องปกี ารศกึ ษา 2563 สูงกว่า ปกี ารศึกษา 2562 อยู่ ร้อยละ 19.37

30 ตารางท่ี 4 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียน 3.00 ข้ึนไป ระหว่างปกี ารศึกษา 2562 กบั ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2562 2563 ผลตา่ ง รอ้ ยละของผลสัมฤทธิ์ 30.99 52.48 +21.49 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี น ร้อยละของนักเรยี นท่ีมีผลการเรยี น 3.00 ข้นึ ไป 60.00 50.00 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00 2562 2563 จากตารางและกราฟ พบว่า ร้อยละของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั เรยี นระดับ 3.00 ข้นึ ไปมีผลสมั ฤทธข์ิ องปกี ารศึกษา 2563 สงู กว่า ปกี ารศึกษา 2562 อยู่ ร้อยละ 21.49

31 ขน้ั ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ การเรียนรรู้ ายวชิ าคณิตศาสตร์ ตารางที่ 5 วเิ คราะห์ความพึงพอใจของนกั เรยี นโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ตอ่ การ เรียนรู้รายวิชาคณติ ศาสตร์พน้ื ฐาน จากตารางที่ 5 จากการสารวจความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ตอ่ การเรียนรรู้ ายวิชาคณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน จานวน 10 ขอ้ พบวา่ มีระดับความพึงพอใจเฉลยี่ อยทู่ ่ี 2.92 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเก่ียวกบั ความพึงพอใจ 0.3 ระดับความพงึ พออยใู่ นระดบั คุณภาพ มาก

32 บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผล 1. ประสทิ ธผิ ลการจดั การเรียนร้รู ายวชิ าคณิตศาสตรโ์ ดยใช้กระบวนการชมุ ชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ของโรงเรียนราชประชานุ- เคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ พัฒนาการด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระ คณิตศาสตร์ โดยการนิเทศการสอน ครูกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ พบว่า ครั้งที่ 1 มีค่าเฉลี่ยพัฒนาการ ด้านคุณภาพการจัดการเรยี นการสอนของครกู ลุ่มสาระคณิตศาสตร์ อยู่ที่ 83.33 อยู่ในระดับคณุ ภาพ ดี ครั้งท่ี 2 มีค่าเฉล่ียพัฒนาการด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ อยู่ที่ 85.42 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี คร้ังที่ 3 มีค่าเฉล่ียพัฒนาการด้านคุณภาพการจัดการเรียนการ สอนของครูกลุ่มสาระคณติ ศาสตร์ อย่ทู ี่ 87.03 อย่ใู นระดับคุณภาพ ดี 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนรายวิชาคณติ ศาสตรร์ ะหว่างปีการศึกษา 2562 กับปี การศกึ ษา 2563 พบว่าร้อยละของผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั เรยี นในภาพรวม มีผลสัมฤทธข์ิ องปี การศกึ ษา 2563 สงู กวา่ ปกี ารศึกษา 2562 อยู่ รอ้ ยละ 20.75 3. ความพงึ พอใจต่อการเรียนรรู้ ายวิชาคณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน กลุ่มสาระคณติ ศาสตร์ โรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ 31 จากการสารวจความพึงพอใจของนักเรยี นโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตอ่ การเรยี นรู้รายวิชาคณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน จานวน 10 ข้อ พบว่ามรี ะดับความพงึ พอใจเฉลย่ี อยู่ที่ 2.92 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานเกย่ี วกับความพึงพอใจ 0.3 ระดับความพึงพออยูใ่ นระดบั คณุ ภาพ มาก อภปิ รายผล 1. จากการนากระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ของโรงเรียนราชประชานุ-เคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อพัฒนาการด้าน คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ โดยการนิเทศการสอน ครูกลุ่มสาระ คณติ ศาสตร์ พบวา่ การจัดการเรยี นการสอนโดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย ทเี่ น้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั มกี าร จัดการเรียนท่ีรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนได้คิด และลงมือปฏิบัติจริง แต่ควรใช้ภาษาในการส่ือสารและสร้าง บรรยากาศการเรียนรู้ให้น่าสนใจ ใช้น้าสียงท่ีกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์มีการใช้สื่อในการเรียนการสอน ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถาม หรือแสดงความ

33 คิดเห็นใหม้ ากข้ึนใหน้ ักเรียนเกิดn ควรใช้กระบวนการกลมุ่ เข้ามาช่วยกระตุน้ ให้นกั เรยี นเกดิ การเรียนรู้ มากยงิ่ ขึ้นเพือ่ ใหน้ กั เรียนมเี จตคติที่ดตี ่อวิชาคณิตศาสตร์ โดยเทคนิคเดียวกบั ทิศนา แขมมณี (2550) ใหค้ วามหมายว่า การเรียนรูแ้ บบร่วมมือ หมายถึง การเรยี นที่มีวตั ถุประสงค์ ใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ ในเรื่องท่ีศึกษาอย่างมากที่สุด โดยอาศัยการร่วมมือกันช่วยเหลือกันและแลกเปล่ียนความรู้กัน ระหว่างกลุ่มเรยี นด้วยกัน ความตกต่างของรูปแบบแต่ละรูปแบบจะอยู่ที่เทคนิคในการศึกษา เน้ือหา สาระและวิธีการเสริมแรงและการให้รางวัลเป็นประการสาคัญ การเรียนบบร่วมมือ เป็นการจัด กจิ กรรมการเรียนการสอนที่ยดึ ผู้เรยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง โดยแบง่ นักเรียนเปน็ กลุม่ เล็ก ๆ สมาชิกในกลุ่มมี ความแตกต่างกันแต่เป้าหมายในการเรียนร่วมกัน สมาชิกในกลุ่มมีบทบาทที่ชัดเจนในการเรียน หรือ การทากิจกรรมอย่างเท่าเทียมกันและได้เรียนรู้ไปพร้อม ๆ กัน ภายในกลุ่มมีปฏิสัมพันธ์กันและกัน อยา่ งเท้จริง ไดพ้ ัฒนาทกั ษะความรว่ มมือในการทางานกล่มุ สามารถสอ่ื สารกันและร่วมกนั ปฏบิ ัติงาน ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย สมาชิกในกลุ่มมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ตรวจสอบผลงาน ขณะเดียวกัน กต็ ้องช่วยกันรับผิดชอบการเรยี นรู้ในงานทุกข้นั ตอนของสมาชิกกลุ่ม ซ่งึ นักเรียนจะบรรลุถงึ เปีาหมาย ของการเรียนรู้ได้ ต่อเมือสมาชิกคนอ่ืน ๆ ในกลุ่มไปถึงเป้าหมายเช่นเดียวกัน ดังนั้นนักเรียนจึงต้อง ช่วยเหลือและสนับสนนุ เพ่ือนทุกคนในกลุ่มให้ประสบผลสาเร็จและบรรลุเป้าหมายร่วมกนั โดยแต่ละ คนมสี ่วนรว่ มอย่างแทจ้ ริงในการเรยี นรแู้ ละในความสาเร็จของกลุ่ม ทั้งโดยการเลกเปลี่ยนความคิดเห็น การ แบ่งปันทรัพยากรการเสียนรู้ รวมท้ังเป็นกาลังใจกนั และกัน คนท่ีเรียนเก่งจะช่วยคนทเี่ รียนอ่อน เม่ือกลุ่มบรรลุเป้าหมายทุกคนก็จะรู้สึกประสบความสาเร็จและมีความภาคภูมิใจร่วมกัน ทาให้มี พัฒนาการด้าน คณุ ภาพการจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระคณติ ศาสตร์ทเ่ี พ่ิมขึ้น 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างปีการศึกษา 2562 กับปีการศึกษา 2563 รอ้ ยละของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรยี นในภาพรวม มีผลสมั ฤทธิ์ของปกี ารศึกษา 2563 สูงกว่า ปีการศึกษา 2562 อยู่ ร้อยละ 20.75 ร้อยละของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนระดบั 2.00 ขึ้นไปมีผลสัมฤทธ์ิของปีการศึกษา 2563 สูงกว่า ปีการศึกษา 2562 อยู่ ร้อยละ 19.37 ร้อยละ ของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนระดับ 3.00 ขึ้นไปมผี ลสมั ฤทธิ์ของปีการศึกษา 2563 สงู กว่า ปีการศกึ ษา 2562 อยู่ รอ้ ยละ 21.49 3. จากจากการสารวจ ความพึงพอใจต่อการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน กลุ่มสาระ คณิตศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จานวน 10 ข้อ พบว่ามีระดับความพงึ พอใจเฉลย่ี อย่ทู ี่ 2.92 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานเกีย่ วกบั ความพึงพอใจ 0.3 ระดบั ความพงึ พออยใู่ นระดบั คณุ ภาพ มาก

34 ข้อที่ 1 ถูกต้องตามหลกั วิชาการ และทันต่อเหตุการณ์ ร้อยละ 2.82 ระดบั ความพึงพอใจมาก ข้อท่ี 2 ครบถ้วน เพยี งพอท่ีจะเป็นพน้ื ฐานในการสร้างองค์ความรู้ใหม่ รอ้ ยละ 2.92 ระดับความพึงพอใจมาก ข้อที่ 3 ชดั เจน เข้าใจง่าย ร้อยละ 2.94 ระดบั ความพงึ พอใจมาก ข้อท่ี 4 เหมาะสมและสอดคล้องกับ เนื้อหา ความสนใจ ความสามารถของผู้เรียน ร้อยละ 2.97 ระดับความพึงพอใจมาก ข้อท่ี 5 สอดคลอ้ งกบั กิจกรรมการเรยี นการสอน รอ้ ยละ 2.96 ระดับความพึงพอใจมาก ข้อที่ 6 เหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมของห้องเรียนและโรงเรียน ร้อยละ 2.91 ระดับความพึงพอใจมาก ข้อท่ี 7 วิธีการวัด และเครอื่ งมอื วดั สอดคล้องกบั พฤตกิ รรมผู้เรยี น ร้อยละ 2.91 ระดับความพึงพอใจมาก ขอ้ ท่ี 8 วธิ กี าร วดั และเคร่อื งมอื วัดมีความสอดคล้องกับธรรมชาติของวิชา ร้อยละ 2.93 ระดับความพึงพอใจมาก ขอ้ ท่ี 9 วิธีการวดั และเครื่องมอื วดั สอดคล้องกับขั้นตอนและกระบวนการเรียนรู้ในกิจกรรม ร้อยละ 2.93 ระดบั ความพงึ พอใจมาก ข้อที่ 10 เกณฑก์ ารประเมนิ ผลมีความสอดคล้องกับระดับความสามารถของ ผู้เรียน ร้อยละ 2.95 ระดับความพึงพอใจมาก นักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ เหมาะสมและ สอดคล้องกับเนื้อหา ความสนใจ ความสามารถของผู้เรียน นักเรียนมีความพึงพอใจน้อยท่ีสุด คือ ถกู ตอ้ งตามหลกั วิชาการ และทนั ต่อเหตุการณ์ ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในการนาํ ผลการวจิ ยั ไปใช้ 1) จากขอ้ คน้ พบปัญหาดา้ นการจดั การเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์ เพอ่ื ใช้ ในการปรับปรงุ การจดั การเรียนการสอนของครูกลามสาระคณติ ศาสตร์ ให้ตรงกับความถนัดและความ ต้องการของผู้เรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ ต่อไป เช่น ใช้ภาษาในการส่ือสารและสร้างบรรยากาศการ เรยี นรใู้ หน้ า่ สนใจ ใชน้ า้ สยี งที่กระต้นุ ให้นกั เรยี นเกดิ ความสนใจในการเรยี นการสอนวิชาคณิตศาสตร์มี การใช้สื่อในการเรียนการสอน ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถาม หรือแสดงความคิดเห็นให้มากขึ้นให้ นักเรียนเกิดn ควรใช้กระบวนการกลุ่มเข้ามาช่วยกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้มากย่ิงข้ึนเพ่ือให้ นกั เรยี นมีเจตคตทิ ่ีดตี อ่ วิชาคณิตศาสตร์

35 เอกสารอา้ งอิง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2542). พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติพ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. ณฐั พงศ์ ศรีภูงา. (2553). การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าทศั นศลิ ปโ์ ดยใชร้ ปู แบบการสอนแบบ ซปิ ปาของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1. Journal of Education Graduate Studies Research, ปที ี่ 6 (ฉบับที่ 1), 178. สบื คน้ จาก http://newtdcthailis.or.th/docview. aspx?tdcid=245455. ตรีทพิ ย์ ชัยประทุม. (2554). ผลการจดั การเรยี นรกู้ ลมุ่ สาระทศั นศิลป์ เรอ่ื ง สนกุ กับงานปน้ั ของ นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 โดยใชร้ ูปแบบการสอนซิปปาโมเดล. Journal of Education Graduate Studies Research, ปีที่ 7 (ฉบับที่ 2), 38. สบื ค้นจาก http://newtdc thailis.or.th/docview.aspx?tdcid=2454689. ทิศนา แขมณ.ี (2553). ศาสตรก์ ารสอน องคค์ วามรู้เพ่อื การจัดกระบวนการเรยี นรู้ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . รุง่ รวี วงศ์ษา. (2555). การศึกษาทัศนคติของนกั เรยี นทไ่ี มร่ ะบายสีพนื้ หลงั ของรปู ภาพ ของนกั เรยี น ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2/1 โรงเรยี นปรนิ ส์รอยแยลส์วิทยาลยั . สบื คน้ 17 มีนาคม 2563, จาก https://academic prc.ac.th/TeacherResearchResearchDetail.php?ID=922. วรรณกิ า เสนไสย. (2556). ผลการจัดการเรยี นรู้สาระทัศนศลิ ป์ หน่วยการเรยี นรู้ เรอื่ ง งานศลิ ปกรรม ทป่ี รากฏ ในพระธาตุนาดนู ของนกั เรียนชน้ั มยั มศกึ ษาปฐี 1 โดยใช้รูปแบบการสอน ซปิ ปา โมเดล(CIPPA MODEL) (ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต).ขอนแก่น. มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น สืบค้นจาก https://ednet.kku.ac.th/frm-kuvo2.php. วรวิทย์ สินธรุ ะหัส. (2553). การศึกษาเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นเรือ่ งลายไทย ของนกั เรยี น ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5 และความพงึ พอใจของนักเรยี นทีม่ ีตอ่ วิธีสอนแบบซิปปา (ปรญิ ญา การศึกษามหาบัณฑติ ). กรงุ เทพฯ. มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ. สบื คน้ จาก http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art Ed/Worawit S.pdf สมเกยี รติ ศรีรุ่งเรอื ง. (2555). การพฒั นาทักษะกระบวนการกลมุ่ และผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น เร่ือง การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษา และพลศึกษา โดยใชร้ ูปแบบการเรยี นรู้แบบซิปปา (CIPPA Model) ของนกั เรียนช้ัน

36 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4. วารสารศกึ ษาศาสตร.์ ปีที่ 35 (ฉบับท่ี 3), 65. สืบค้นจาก https://so02.tci-thaja.org/index.php/EDKKUI/article/view/50448 สุคนธ์ สนิ ธพานนท์และคณะ. (2554). วธิ ีสอนตามแนวปฏิรปู การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพของ เยาวชน. กรุงเทพฯ: 9199 เทคนคิ พริน้ ตง้ิ นทิ าน. สภุ าพร ธนะชานันท.์ (2544). “รายงานการวจิ ยั ฉบับที่ 66 ปจั จยั ทม่ี ีผลต่อวนิ ยั ในตนเองของนสิ ิต ปรญิ ญาตรมี หาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ”. สถาบันวิจัยพฤตกิ รรมศาสตร์. มหาวทิ ยาลัย ศรีนครินทรวโิ รฒ. สุชลี า เพชรแกว้ . (2554). การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ความคิดสรา้ งสรรค์และความพึง พอใจต่อวิชาศลิ ปะพืน้ ฐาน ระหวา่ งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบซปิ ปากับแบบปกติ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1. วารสารมหาวิทยาลยั นครพนม, ปีท่ี 2 (ฉบบั ที่ 1), 72 สืบค้นจาก https://www.npu.ac.th/npujourd/files_research/9/2-1_10.pdf ศรีศกั ร วัลลโิ ภดม. (2556). แนวคิดและแนวทางการศึกษาศิลปะในกระแสการเปลย่ี นแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม วารสารมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์, 4 (1), 1. สืบคน้ จาก หรือ http://www.ubu.ac.th/web/files up/08f2014060909083282.pdf อมรรัตน์ พจนา. (2555). การศกึ ษาผลสมั ฤทธิ์และทักษะการเรยี นรู้วชิ าศลิ ปะ เรื่องเทคนคิ การวาด ภาพสนี ้าโดยการใช้รปู แบบการสอนซปิ ปาโมเดล ของนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน พระซองสามัคควี ทิ ยา (ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ ). ขอนแกน่ . มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. สบื คน้ จาก https://tdc.thailis.or.th/tdc/search_result.php อษุ า ขนุ ทอง. (2550). การเปรยี บเทียบทกั ษะการวาดภาพเชงิ สรา้ งสรรค์และเจตคติตอ่ การวาดภาพ เชิงสร้างสรรค์ ของนักเรยี นช่วงช้ันที่ 1 ทีเ่ รียนรตู้ ามรูปแบบซนิ เนคติกสก์ บั ตามรปู แบบซิป ปา (วิทยานพิ นธ)์ . พระนครศรีอยธุ ยา. มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา. สืบคน้ จาก http://164.115.28.48/?page=result serch&record id=10363347 อสรู ย์ ปราบอรพิ ่าย. (2555). จากใจครูสอนศิลปะน้าประสบการณ์สู่บทเรียน. สบื ค้น 27 มีนาคม 2563, จาก หรือ https://www.thairath.co.th/content/242106 อดิศร ศิร.ิ (2543). การพัฒนากจิ กรรมการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยใชโ้ มเดล ซปิ ปา ส้าหรับวชิ าชีววิทยาในระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์) บณั ฑิตวทิ ยาลัย: มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

37 Botton, Leslie. (1974). \"Developmental Grop Work with Adolescent\" London: University of London Press, Ltd. Thorndike, Edward Lee. (1975). Connectionism Theory. University of London.

38 ภาคผนวก

157 คณะผจู้ ัดทำวจิ ัย ที่ปรกึ ษำ ผ้อู านวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ นายอดิศร แดงเรือน รองผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ นายวเิ ศษ ฟองตา รองผอู้ านวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ นายธัชพล รกั งาน รองผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ นางสุภัสสร ศรีสวัสดิ์ รองผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ นางผ่องรวี จนั ทร์สม คณะผจู้ ัดทำ ครู คศ.1 นางสาวปวรศิ า กา๋ วงค์วนิ ครู คศ.1 นางสาวรักชนก วงษ์ซอ่ื ครู นายธนพัฒน์ อิศรางกลุ ณ อยธุ ยา ครูผูช้ ่วย นางสาวศศวิ มิ ล คาดเี จริญ ครูผูช้ ่วย นางสาวจันจริ า ธนนั ชยั พนักงานราชการ นางสมพร อ่นิ ใจ พนกั งานราชการ นางสาวจริญญา เทพอินทร์ พนกั งานราชการ นางสาวสกาวนภา แสนใหม่ พนักงานราชการ นางสาวเตชนิ ี หอมนาน พนกั งานราชการ นางสาวฐติ ิรัตน์ โป่งอินทนะ พนกั งานราชการ นางวไิ ลวรรณ รยิ ะนา

แบบประเมินความพึงพอใจของนกั เรยี น การจัดการเรียนรขู้ องครูกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ องคป์ ระกอบ ระดบั ความพึงพอใจ เนอ้ื หา ดมี าก ดี ควรปรับปรุง (ระบุ) 1. ถกู ตอ้ งตามหลักวิชาการ และทันตอ่ เหตกุ ารณ์ 2. ครบถ้วน เพยี งพอที่จะเป็นพื้นฐานในการสรา้ งองค์ ความรใู้ หม่ 3. ชดั เจน เข้าใจงา่ ย สือ่ การเรยี นการสอน 1. เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับเนื้อหา ความสนใจ ความสามารถของผ้เู รยี น 2. สอดคล้องกบั กจิ กรรมการเรยี นการสอน 3. เหมาะสมกับสภาพแวดลอ้ มของหอ้ งเรียนและ โรงเรยี น การวดั ผลและประเมินผล 1. วธิ กี ารวดั และเครือ่ งมือวัดสอดคลอ้ งกับพฤติกรรม ผ้เู รยี น 2. วิธีการวัดและเครือ่ งมอื วัดมีความสอดคล้องกับ ธรรมชาตขิ องวิชา 3. วิธีการวัดและเครื่องมือวดั สอดคล้องกบั ข้ันตอนและ กระบวนการเรยี นรู้ในกจิ กรรม 4. เกณฑ์การประเมนิ ผลมคี วามสอดคล้องกับระดบั ความสามารถของผู้เรียน คา่ เฉลีย่ คา่ S.D. เกณฑก์ ารประเมนิ ระดับความพงึ พอใจ 0.00 - 1.00 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจ อยู่ในระดับ น้อย 1.01 - 2..00 หมายถึง มีความพึงพอใจ อย่ใู นระดับ ปานกลาง 2.01 - 3.00 หมายถึง มคี วามพึงพอใจ อยูใ่ นระดับ มาก

คำสัง่ โรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ท่ี 103 /๒๕๖3 เรอื่ ง แตง่ ตั้งคณะกรรมกำรดำเนนิ กิจกรรมชุมชนแหง่ กำรเรียนรูท้ ำงวิชำชีพ (Professional Learning Community : PLC) สกู่ ำรพฒั นำคณุ ภำพผเู้ รียน โรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ ปกี ำรศึกษำ 2563 ……………………………………………….. ด้วยสำนักงำนคณะกรรกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร ได้กำหนดให้ทุกโรงเรียนพัฒนำ คุณภำพกำรจัดกำรสอนของครู ด้วยกระบวนกำรขับเคล่ือนชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ (Professional Learning Community : PLC) ซึ่งเป็นกำรรวมตัวกันของคณะครู เพื่อให้เกิดกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำกประสบกำรณ์กำรทำหน้ำที่สู่กำรวิพำกษเ์ ติมเต็ม ทบทวน ปรบั ปรุงพัฒนำงำน ไปสูก่ ำรเรียนรู้เพื่อเพ่ิมพูนทักษะ แห่งศตวรรษที่ ๒๑ ของครูผู้สอนต้องให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยที่ครูออกแบบกำรกำรเรียนรู้และอำนวย ควำมสะดวกในกำรเรียนรู้ แบบใช้ปัญหำเป็นฐำน เพ่ือให้กำรดำเนินกำรให้เกิดประสิทธิภำพและประสิทธิผล แกส่ ถำนศึกษำให้มำกที่สุด เปน็ ไปด้วยควำมเรียบร้อย โรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ จึงแต่งตั้งคณะทำงำนกำรดำเนินกำรงำนกิจกรรม ชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ (Professional Learning Community : PLC) สู่กำรพัฒนำคุณภำพผู้เรียน ดงั ต่อไปน้ี 1. ฝ่ำยบริหำร ประกอบด้วย 1.1 นำงวิลำวัลย์ ปำลี ผอู้ ำนวยกำรโรงเรียน 1.2 นำยวิเศษ ฟองตำ รองผอู้ ำนวยกำรโรงเรียน มหี น้ำท่ี ประสำนงำนให้คำปรึกษำ แนะนำ นเิ ทศ กำกับ ตดิ ตำม กำรปฏิบัติกิจกรรม PLC : ชมุ ชนแห่งกำรเรียนรู้ ทำงวชิ ำชพี สู่กำรพัฒนำคุณภำพผเู้ รียนของบุคลำกรในโรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์ 31 ตำมกลุ่มบริหำรงำนและ กลุม่ งำนให้ดำเนนิ งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและประสิทธผิ ล 2. ผู้ชว่ ยผู้อำนวยกำร ประกอบด้วย ๒.1 นำงสำววรี ์รัศม์ิ สิทธพิ พิ ฒั นำนนั ท์ กลุ่มบริหำรงำนอำนวยกำร ๒.2 นำงสำวรตั ติกำล ยศสุข กลุ่มบริหำรงำนวิชำกำร กลมุ่ นโยบำยวิชำกำร ๒.3 นำงสำวณัฐธนญั ำ บญุ ถึง กลมุ่ บริหำรงำนส่งเสริมวิชำกำร ๒.4 นำงสำวปัณชดำ ไชยมงคล กลุม่ บริหำรงำนวนิ ัยนักเรียน ๒.5 นำยนกิ ร ไชยบตุ ร //๒.๖ นำยศรี...............


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook