กรณีศกึ ษา เอกสารอา้ งองิ สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,254 8 ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:สง่ เสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ นุ ),สนพ.สมาคม,2545
เนือ้ หา (คาบท4ี่ 7-48) วิ ธี ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร จั ด ซื้ อ ( Procedure inpurchasing) การจดั ซอื้ วสั ดเุ พอื่ นามาใชใ้ นการผลติ และการดาเนินงานของธรุ กจิ เป็ นภารกิ จ ที่ ต ้ อ ง ป ฏิ บั ติ อ ย่ า ง ต่ อ เ น่ื อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น ช่ ว ง ห นึ่ ง ๆ จะเกี่ยวพันกับการจดั ซือ้ หลาย ๆ รายการแต่ละรายมีความแตกต่างใน ดา้ นคุณสมบตั ริ าคาจานวน แหล่งขายการปฏบิ ตั กิ ารจดั ซอื้ มีหลายขนั้ ตอน แ ต่ ล ะ ขั้ น ต อ น มี เ อ ก ส า ร ที่ เ กี่ ย ว ข ้ อ ง จ า น ว น ม า ก ด ้ ว ย เ ห ตุ นี้ ก า ร จั ด ซื้ อ จึ ง ต ้ อ ง ใ ช ้ แ ร ง ง า น เ ว ล า แ ล ะ ต ้ น ทุ น สู ง ก า ร จั ด ร ะ บ บ ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ส่ั ง ซื้อ อ ย่ า ง มี ประสทิ ธภิ าพจะชว่ ยใหก้ ารจดั ซอื้ ดาเนินไปดว้ ยความคล่องตวั และถกู ตอ้ งเหม าะสม ระบบปฏิบัติในการจัดซือ้ ข องแต่ละกิจการย่อมแตกต่างกันไป แ ต่ โ ด ย ท่ั ว ไ ป ร ะ บ บ ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร จั ด ซื้ อ ที่ ส ม บู ร ณ์ จ ะ ป ร ะ ก อ บ ด ้ ว ย ข้ั น ต อ น พื้ น ฐ า น ดั ง นี้ (อา้ งจากจลุ ศริ ศิ รงี ามผ่อง, 2536, หนา้ 6-7) 1. รับ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ์ ใ บ ข อ ใ ห ้ ซื้ อ ( Purchase Requisition) ซงึ่ จะวเิ คราะหถ์ งึ ประเภทของสงิ่ ของและ จานวนทซี่ อื้ 2. ศกึ ษาถงึ สภาตลาด แหล่งทจี่ ะจดั ซอื้ และผขู้ าย 3. ส่ ง ใ บ ข อ ใ ห ้ เ ส น อ ร า ค า ( Request for Quotations)ไปยงั ผขู้ ายหลาบ ๆ แหล่ง 4. รบั และวเิ คราะหใ์ บขอใหเ้ สนอราคาจากผขู้ าย 5. เลอื กผขู้ ายทเี่ สนอราคาและเงอื่ นไขตา่ งๆ ทดี่ ที สี่ ดุ 6. คานวณราคาของสงิ่ ของทจี่ ะสง่ั ซอื้ ใหถ้ กู ตอ้ ง 7. ส่งใบสง่ั ซอื้ (Purchase Order)ไปยงั ผูข้ ายทตี่ อ้ งการจะซอื้
8. ตดิ ตามผลใหเ้ ป็ นไปตามทไี่ ดต้ ดิ ตอ่ หรอื ตามสญั ญา 9. วิ เ ค ร า ะ ห ์ ร า ย ง า น ก า ร รั บ ร อ ง ข อ ง 10. วเิ คราะหแ์ ละตรวจสอบใบกากบั สนิ คา้ (Invoice)ของผขู้ ายเพอื่ การจา่ ยเงนิ กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบที่ 47-48) เทคนิคการสอนแบบระดมความคดิ ขน้ั ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 24 ขน้ั เรา้ ความสนใจ กล่มุ ใดมเี ทคนิคการนาเสนอเนือ้ หาไดเ้ ป็ นทชี่ นื่ ชอบของเพอื่ นรบั คะแน นโบนัส 5 คะแนน ขน้ั กจิ กรรม 1. ครใู หน้ ักเรยี นศกึ ษาคน้ ควา้ กรณีศกึ ษาเกยี่ วกบั ขอ้ มลู ทดี่ จี ากแหล่งควา มรตู ้ า่ ง ๆ 2. ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4-5 คน แตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั สรุปความรูท้ ตี่ นเองไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ มา 3. แตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมานาเสนอใหเ้ พอื่ นฟังหนา้ ชนั้ เรยี น
4. ครสู รปุ เนือ้ หาและประเด็นสาคญั จากการนาเสนอของนักเรยี น และอธบิ ายเพมิ่ เตมิ อกี ครง้ั หนึ่ง เพอื่ ความเขา้ ใจยงิ่ ขนึ้ ขน้ั สรุป ครสู รปุ ประเด็นสาคญั จากการนาเสนอของนักเรยี นและอธบิ ายเพมิ่ เตมิ อี กครง้ั เพอื่ ความเขา้ ใจยงิ่ ขนึ้ ขน้ั การวดั ผลและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื แบบบนั ทกึ การนาเสนอ วธิ วี ดั สงั เกตการนาเสนอ เกณฑก์ ารประเมนิ นาเสนอไดถ้ กู ตอ้ งตรงประเด็น 80% ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ - กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน อนิ เตอรเ์น็ต เอกสารอา้ งองิ สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,254 8 ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยเู คชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:ส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ ุน),สนพ.สมาคม,2545
วทิ ยาลยั เทคโนโลยหี าดใหญอ่ านวยวทิ ย ์ สปั ดาหท์ ี่ 13 คาบที่ 49-52 ท-ป-น 2-2-3 เวลา 4 คาบ 220 นาที รหสั วชิ า 30215-2102 วชิ า การจดั การการผลติ หน่วยที่ 4 ชอื่ หน่วย การจดั ซอื้ และระบบคลงั สนิ คา้
รายการสอน ตน้ ทนุ การสง่ั ซอื้ และสนิ คา้ คงเหลอื หนา้ ทขี่ องหน่วยงานการจดั ซอื้ สาระสาคญั สนิ คา้ คงเหลอื (Inventory) หมายถงึ สนิ ทรพั ยไ์ มห่ มุนเวยี นซง่ึ ประกอบดว้ ย (1) สนิ คา้ สาเรจ็ รปู ทถี่ อื ไวเ้ พอื่ ขายตามลกั ษณะการประกอบธรุ กจิ ตามปกตขิ องกจิ การ (2) งานหรอื สนิ คา้ ระหวา่ งทาทอี่ ย่ใู นระหวา่ งกระบวนการผลติ เพอื่ ใหเ้ ป็ นสนิ คา้ สาเ รจ็ รปู เพอื่ ขาย (3) วตั ถดุ บิ หรอื วสั ดทุ มี่ ไี วเ้ พอื่ ใชใ้ นกระบวนการผลติ สนิ คา้ หรอื ใหบ้ รกิ าร คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค ์ นักเรยี นมกี ารพฒั นาดา้ นสตปิ ัญญา ผเู้ รยี นรจู ้ กั คดิ วเิ คราะหแ์ ละแกป้ ัญหาได ้ สมรรถนะประจาหน่วย 41 อธบิ ายภารกจิ การจดั ซอื้ 42 ปฏบิ ตั กิ ลยทุ ธก์ ารจดั ซอื้ 43 ใฝ่ หาความรหู ้ มน่ั ศกึ ษาเล่าเรยี นทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 413 บอกตน้ ทุนการสง่ั ซอื้ และสนิ คา้ คงเหลอื ไดถ้ กู ตอ้ ง 414 อธบิ ายหนา้ ทขี่ องหน่วยงานการจดั ซอื้ ไดถ้ กู ตอ้ ง 431 มุ่งม่นั ตง้ั ใจเพยี รพยายามในการศกึ ษาและปฏบิ ตั งิ าน
เนือ้ หา (คาบที่ 49-50) สนิ คา้ คงเหลอื สนิ คา้ คงเหลอื หมายถงึ สนิ ทรพั ยซ์ ง่ึ มลี กั ษณะใดลกั ษณะหน่ึงดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ถอื ไวเ้ พอื่ ขายตามลกั ษณะการประกอบธรุ กจิ ตามปกตขิ องกจิ การ 2. อยใู่ นระหวา่ งกระบวนการผลติ เพอื่ ใหเ้ ป็ นสนิ คา้ สาเรจ็ รปู เพอื่ ขาย 3. อยใู่ นรปู ของวตั ถดุ บิ หรอื วสั ดทุ มี่ ไี วเ้ พอื่ ใชใ้ นกระบวนการผลติ สนิ คา้ หรอื ใหบ้ รกิ าร สิ น ค ้า ค ง เห ลื อ ร ว ม ถึ ง สิ น ค ้า ที่ ซื้อ แ ล ะ ถื อ ไ ว ้เพื่ อ ข า ย เช่ น สนิ คา้ ทผี่ ูค้ า้ ปลกี ซอื้ และถอื ไวเ้ พอื่ ขาย หรอื ที่ ดิ น แ ล ะ อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย ์ อื่ น ที่ ถื อ ไ ว ้ เ พื่ อ ข า ย สินคา้ คงเหลือรวมถึงสินคา้ สาเร็จรูปที่ผลิต สินคา้ ระหว่างผลิต วตั ถุดิบ และวสั ดุทีถ่ อื ไวเ้ พื่อรอทจี่ ะใชใ้ นกระบวนการผลติ และในกรณีทเี่ ป็ นกจิ การ ใ ห้ บ ริ ก า ร สนิ คา้ คงเหลอื จะรวมถงึ ตน้ ทุนงานใหบ้ รกิ ารส่วนทกี่ จิ การยงั ไมไ่ ดร้ บั รเู ้ ป็ นราย ได ้ การวดั มูลคา่ สนิ คา้ คงเหลอื สนิ คา้ คงเหลอื ตอ้ งวดั มลู คา่ ดว้ ยราคาทนุ หรอื มลู คา่ สทุ ธทิ จี่ ะไดร้ บั แลว้ แต่มลู คา่ ใดจะตา่ กว่า ตน้ ทุนของสนิ คา้ คงเหลอื ตน้ ทนุ ของสนิ คา้ คงเหลอื ตอ้ งประกอบดว้ ยตน้ ทนุ ทง้ั หมดในการซอื้ ตน้ ทุนแปลงสภาพและตน้ ทุน อน่ื ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ เพอื่ ใหส้ นิ คา้ คงเหลอื นั้นอยใู่ นสถานทแี่ ละอยู่ในสภาพทเี่ ป็ นอยใู่ นปัจ จบุ นั ตน้ ทนุ ในการซอื้
ตน้ ทนุ ในการซอื้ ของสนิ คา้ คงเหลอื ประกอบดว้ ย ราคาซอื้ อากรขาเขา้ และภาษอี น่ื (สทุ ธจิ ากจานวน ทกี่ จิ การจะไดร้ บั คนื ในภายหลงั จากหน่วยงานทมี่ หี นา้ ทจี่ ดั เกบ็ ภาษ)ี รวมทง้ั คา่ ขนสง่ ค่าขนถา่ ย และ ตน้ ทุนอน่ื ๆ ซงึ่ เกยี่ วขอ้ งโดยตรงกบั การไดม้ าซงึ่ สนิ คา้ สาเรจ็ รปู วตั ถดุ บิ และบรกิ าร ในการคานวณ ตน้ ทนุ ในการซอื้ สนิ คา้ ใหน้ าสว่ นลดการคา้ เงนิ ทไี่ ดร้ บั คนื และรายการอน่ื ๆ ทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั มาหกั ออก ตน้ ทุนแปลงสภาพ ตน้ ทนุ แปลงสภาพของสนิ คา้ คงเหลอื หมายถงึ ตน้ ทนุ การผลติ ทใี่ ชใ้ นการแปลงสภาพวตั ถดุ บิ ทางตรงใหเ้ ป็ นสนิ คา้ สาเรจ็ รปู ตน้ ทุนแปลงสภาพ ประกอบดว้ ย คา่ แรงงานทางตรง ค่าใชจ้ า่ ย การผลติ คงที่ และคา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ ผนั แปร คา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ คงที่ คอื ตน้ ทนุ การผลติ ทางออ้ มที่ เกดิ ขนึ้ ในการผลติ โดยไมส่ มั พนั ธก์ บั ปรมิ าณการผลติ เชน่ คา่ เสอื่ มราคา และคา่ บารงุ รกั ษาอาคาร โรงงานและอปุ กรณโ์ รงงาน และตน้ ทุนเกยี่ วกบั ฝ่ ายจดั การโรงงานและการบรหิ ารโรงงาน เป็ นตน้ สว่ นค่าใชจ้ า่ ยการผลติ ผนั แปร คอื ตน้ ทนุ การผลติ ทางออ้ มทผี่ นั แปรโดยตรงหรอื ค่อนขา้ งจะผนั แปร โดยตรงกบั ปรมิ าณการผลติ เชน่ วตั ถดุ บิ ทางออ้ ม และคา่ แรงงานทางออ้ ม เป็ นตน้ กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบที่ 49-50) เทคนิคการสอนแบบนาเสนอหน้าชนั้ เรยี น ขนั้ ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 25 ขน้ั เรา้ ความสนใจ ใหน้ ักเรยี นยกตวั อย่างธรุ กจิ ทมี่ สี นิ คา้ คงคลงั เพอื่ รบั คะแนนโบนัส 1 คะแนน
ขน้ั กจิ กรรม 1. ครทู บทวนเนือ้ หาเดมิ จากคาบทแี่ ลว้ เพอื่ นาเขา้ ส่บู ทเรยี น 2. ครูใหน้ กั เรยี นรว่ มทากจิ กรรรมในชน้ั เรยี น แตล่ ะคนคดิ ธรุ กจิ ทตี่ นสนใจและควรมสี นิ คา้ คงคลงั หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด 3. ครสู มุ่ เลขที่ ออกมานาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น (จานวน 10 คน) 4. ครสู รปุ และอธบิ ายเนือ้ หาจากการนาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี นของนักเรยี น ขนั้ สรุป ครสู รปุ ประเด็นสาคญั จากการนาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี นของนักเรยี น ขนั้ การวดั ผลและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื การตอบคาถาม วธิ วี ดั การยกตวั อย่างประกอบ เกณฑก์ ารประเมนิ ยกตวั อยา่ งประกอบไดถ้ กู ตอ้ ง 80% ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ - กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน นิตยสาร เอกสารอา้ งองิ สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,254 8
ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:ส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ นุ ),สนพ.สมาคม,2545
เนือ้ หา (คาบที่ 51-52) แนวคดิ การดาเนินการของฝ่ ายจดั ซอื้ ในปัจจบุ นั ควรมี 10 เรอื่ งดงั นี้ 1 . ฝ่ า ย จั ด ซื้ อ ตอ้ งสามารถประสานสมั พนั ธท์ ง้ั ภายใน (หน่วยงานแผนกในองคก์ ร) และภาย นอกบรษิ ัท (คู่คา้ /ลูกคา้ ) เพื่อสรา้ งภาพลกั ษณ์ของฝ่ ายจดั ซอื้ จดั หาที่ดี พ ยายาม ให ้เกิด ขึ้น อย่างส ม ดุ ล แล ะส าม ารถ ป ระส าน งาน ได ้ทุ ก ส่วน ปรบั ลดบทบาทมาเป็ นที่ปรกึ ษาและช่วยอานวยความสะดวกในการจดั หา มากกว่าการเป็ นผคู้ วบคมุ กฎกตกิ าหรอื บงั คบั ใชก้ ารจดั หาทรพั ยากร 2 . ฝ่ า ย จั ด ซื้ อ ต ้ อ ง ห า วิ ธี ใ น ก า ร ล ด ต ้ น ทุ น ค่ า ใ ช ้ จ่ า ย โดยการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในดา้ นวตั ถดุ บิ หาแหลง่ วตั ถดุ บิ ทมี่ คี ณุ ภาพดใี นราค าที่เหมาะสม ไม่เน้นใชว้ ิธีกดลดตน้ ทุนจากซพั พ ลายเออรอ์ ย่างเดียว ควรคานึงถงึ ในดา้ นของซพั พลายเออรโ์ ดยใชป้ ระสทิ ธภิ าพในการจดั ส่งมาปร ะก อบ เ พิ่ ม เ ติ ม ไมค่ วรเนน้ การบบี ลดราคากบั ชพั พลายเออรจ์ นเกดิ ความไมเ่ ป็ นธรรม 3 . ฝ่ า ย จั ด ซื้ อ ต อ้ งมีมุ ม ม องแล ะวิธีคิด ใน ด ้าน ป ระสิท ธิภ าพ ซัพ พ ล ายเออรม์ าก ขึ้น โ ด ย อ า จ ใ ช ้ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ใ น เ รื่ อ ง ตอ้ งทาไดด้ กี วา่ (Better) ตน้ ทุนถกู กว่า (Cheaper) ซอื้ ไดเ้ รว็ กวา่ (Faster) และมคี วามเชอื่ ถอื ไวว้ างใจไดม้ ากกว่า (More Reliability) 4 . ฝ่ า ย จั ด ซื้ อ ตอ้ งทราบถงึ ปัญหาจากพฤตกิ รรมการสง่ั ซอื้ ของตนทที่ าใหเ้ กดิ ค่าใชจ้ า่ ยเชน่ ก า ร ส่ัง ซื้อ แ บ บ เร่ง ด่ ว น ก า ร ไ ม่ มี แ ผ น ง า น ร ะย ะย า ว ใ น ก า ร ส่ัง ซื้อ ห รือ ก า ร ป รับ เป ลี่ ย น เ ว ล า ใ น ก า ร จั ด ส่ ง ซ่ึ ง ไ ม่ ว่ า จ ะ เป็ น ใ ห ้ ส่ ง เ ร็ ว ห รื อ ช ้ า ล ้ ว น แ ล ้ ว แ ต่ เ ป็ น ต ้ น ทุ น ทั้ ง สิ้ น ซง่ึ เมอื่ ซพั พลายเออรเ์กดิ คา่ ใชจ้ า่ ยสดุ ทา้ ยค่าใชจ้ า่ ยเหลา่ น้ันกจ็ ะถกู ผลกั มาที่ ผซู้ อื้ 5.ฝ่ ายจัดซือ้ ตอ้ งกาหนดวิธีเลือกซพั พลายเออร ์ อาจใชห้ ลัก Supply Positioning
Model ซึ่งเป็ น เค รื่อ งมื อ ใน ก า รวิเค รา ะห ์แ ย ก แ ย ะสิน ค ้า แ ล ะบ ริก า ร เพอื่ กาหนดยทุ ธศาสตรใ์ นการจดั ซอื้ เพอื่ ใชว้ างแผนการทางานทง้ั ภายในบรษิ ั ทและในซพั พลายเชนใหม้ ีความต่อเน่ือง หาดูว่าการดาเนินงานของเราเอง เป็ นตน้ เหตุที่ทาใหซ้ พั พลายเออรม์ ีตน้ ทุนที่เพิ่มขึน้ หรอื ไม่ โดยฝ่ ายจดั ซอื้ ต ้ อ ง พิ จ า ร ณ า ต น เ อ ง ใ ห ้ ไ ด ้ ว่ า ในมุมมองของซพั พลายเออรม์ ีมุมมองต่อเราอย่างไรอาจใชห้ ลกั Supplier Preferencing Model มามองกลบั หาความสมั พนั ธท์ มี่ ซี งึ่ ทาใหฝ้ ่ ายจดั ซอื้ รวู ้ ่าซพั พลายเออ ร ์ คิ ด ห รื อ ม อ ง ฝ่ า ย จั ด ซื้ อ อ ย่ า ง ไ ร เ ช่ น เ ร า เ ป็ น บ ริ ษั ท ที่ น่ า ส น ใ จ ห รื อ น่ า ค บ เ พี ย ง ไ ห น อ ย่ า ง ไ ร ค วรพิ จารณ าใน ห ล าย ด ้าน ไม่ ว่าจะเป็ น ชื่อ เสีย ง ข น าด ข อ งบ ริษัท ย อ ด ก า ร ส่ั ง ซื้ อ ค ว า ม ถ่ี ใ น ก า ร ติ ด ต่ อ ส ม่ า เ ส ม อ เ พี ย ง ใ ด การเงนิ มรี ะบบการชาระเงนิ อยา่ งไร อธั ยาศยั ไมตรที มี่ ใี นการตดิ ตอ่ เป็ นตน้ 6.ฝ่ ายจดั ซอื้ ตอ้ งนาแนวคดิ ทางการตลาดมาใชช้ ว่ ยใหม้ ากขนึ้ เพอื่ ใหฝ้ ่ ายจดั ซอื้ สามารถพจิ ารณาและบรหิ ารจดั การทางการตลาดไดด้ กี ว่าคู่ แขง่ ขนั อาจใชเ้ ครอื่ งมอื Market Management Matrix ทชี่ ว่ ยจดั ซอื้ รวู ้ ่าควรตอ้ งทาอะไรอย่างไรกบั ใครเชน่ ตอ้ งสรา้ งพนั ธมติ รธรุ กจิ กบั ซพั พลายเออรร์ ายใดในระดบั ใด จะตอ้ งเพมิ่ ธรุ กจิ ใหช้ พั พลายเออรรายใดใหม้ คี วามสามารถอยไู่ ดเ้ พอื่ เป็ นทางเ ลอื ก ควรตอ้ งเพมิ่ ความระมดั ระวงั ในการสง่ั สนิ คา้ ตวั ใด ควรตอ้ งเปลยี่ นซพั พลายเออรร์ ายใดเมอื่ ใด ควรประเมนิ ประสทิ ธภิ าพชพั พลายเออรเ์พอื่ จดั แบง่ กลมุ่ และหาวธิ จี ดั การซพั พลายเออรแ์ ตล่ ะรายใหเ้ หมาะสม 7 . ฝ่ า ย จั ด ซื้ อ ตอ้ งเขา้ ไปสงั เกตการณแ์ ละการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ซพั พลายเออรใ์ นบางเรอื่ งเ ช่ น ก า ร เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ล ด ต ้ น ทุ น ควรอธบิ ายใหซ้ พั พลายเออรเ์ขา้ ใจถงึ ปัญหาและความจาเป็ นทจี่ ะตอ้ งมกี ารทา ร า ค า ใ ห ้ ต่ า ล ง (Cost Down) โดยเขา้ ใจในหลกั ทวี่ ่าหากมคี ่แู ข่งขนั ทสี่ ามารถทาตน้ ทุนไดถ้ ูกกว่า
ซั พ พ ล า ย เ อ อ ร ์ เ ดิ ม ทางฝ่ ายจัดซอื้ บรษิ ัทก็จะตอ้ งปรบั การส่ังซอื้ จากแหล่งที่มีราคาถูกกว่า เพอื่ ใหต้ น้ ทุนการผลติ ของบรษิ ทั ฝ่ ายจดั ซอื้ มมี ูลค่าทตี่ ่าและสามารถแข่งขนั ไ ดใ้ นตลาดต่อไป อาจมีการเขา้ ไปสังเกตการณ์บรษิ ัทซพั พ ลายเออร ์ วิเคราะหก์ ระบวนการไปถึงวิธีการผลิต การใชเ้ ทคโนโลยี วิธีการทางาน เ ป็ น ต ้ น เ พื่ อ ช่ ว ย ห า วิ ธี ที่ จ ะ ล ด ต ้ น ทุ น บางครง้ั ในฐานะคนนอกเมอื่ เขา้ ไปดกู ็จะมองเห็นปัญหาของตน้ ทุนทเี่ กดิ ขนึ้ ดี ก ว่ า ฝ่ า ย ที่ ท า ม า ต่ อ เ น่ื อ ง จ น คุ้ น ชิ น และทาการใหข้ อ้ แนะนาและเสนอแนวทางปรบั ปรงุ ลดตน้ ทุนตอ่ ไป 8. ฝ่ ายจดั ซอื้ ตอ้ งเรมิ่ นาเอาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) เขา้ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานกระบวนการจดั ซอื้ เพอื่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพทดี่ ขี นึ้ ก า ร ใ ช ้ ร ะ บ บ ดั ง ก ล่ า ว เ ช่ น ระบบบรหิ ารความตอ้ งการทรพั ยากร (MRP), ระบบบรหิ ารความตอ้ งการในก ารผลิต (MRP II) หรอื ระบบบรหิ ารทรพั ยากรในองคก์ ร (ERP) เป็ นตน้ เพื่ อ จ ะท า ให ้อ งค ์ก ร มี ข ้อ มู ล ใน ก า ร ป ร ะม ว ล ผ ล ที่ ถู ก ต ้อ ง ร ว ด เร็ว และความน่าเชอ่ื ถอื เพื่อใหก้ ารตดิ ตามความตอ้ งการขององคก์ รทง้ั ในเรอื่ ง วัต ถุ ดิ บ เค รื่อ ง มื อ อุ ป ก ร ณ์ วัต ถุ ส า เร็จ รู ป ร ว ม ถึ ง เรื่อ ง ก า ร เงิน โดยนาขอ้ มูลที่เก็บไวม้ าทาการวางกลยุทธใ์ นการจดั ซอื้ ในทุกระดบั เช่น ร ะ ดั บ ป ฏิ บั ติ ก า ร ร ะ ดั บ บ ริ ห า ร แ ล ะ ร ะ ดั บ อ ง ค ์ ก ร ธุ ร กิ จ ใ ช ้วิเค ร า ะห ์ก ร ะบ ว น ก า ร ท า ง า น แ ล ะป ร ะ เมิ น ผ ล ใ น ก า ร ท า ง า น ใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจปรบั ปรงุ การทางานในครงั้ ตอ่ ไป 9.ฝ่ ายจดั ซอื้ ตอ้ งมีการทาวิจยั วดั ประสิทธิภาพการจดั ซอื้ อย่างต่อเนื่อง ภ า ย ห ลั ง จ า ก ที่ มี ก า ร ท า ง า น จั ด ซื้ อ ไ ป สั ก ร ะ ย ะ ห นึ่ ง แนวคดิ และรูปแบบระบบการทางานอาจไม่สามารถสนับสนุนหรอื สอดคลอ้ งกั บ ส ภ า พ ปั จ จุ บั น ห รือ สิ่ ง แ ว ด ล ้อ ม ภ า ย น อ ก ที่ เป ล่ี ย น แ ป ล ง ไ ป ดงั น้ันควรตอ้ งมกี ารกาหนดแผนวจิ ยั ในเรอื่ งการจดั ซอื้ เพอื่ ใหส้ ามารถสะทอ้ น ก า ร ท า ง า น ใ น อ ง ค์ ก ร
ใหเ้ ห็นถงึ สภาพปญั หาการจดั ซอื้ เพอื่ สรา้ งแบบจาลองในการจดั ซอื้ ทเี่ หมาะสม กบั การทางานตอ่ ไป 1 0 .ฝ่ า ย จัด ซื้อ ต ้อ ง มี น โ ย บ า ย ที่ เกี่ ย ว กั บ สัง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล ้อ ม ใ น ปั จ จุ บั น ก ร ะ แ ส สิ่ ง แ ว ด ล ้อ ม เป็ น เรื่อ ง ที่ มั ก ถู ก น า ม า ก ล่ า ว ถึ ง ดั ง น้ั น ฝ่ า ย จัด ซื้อ ค ว ร ต ้อ ง น า เรื่อ ง นี้ ม า ป ร ะ ก อ บ ก า ร พิ จ า ร ณ า ควรใหค้ วามสาคญั กบั ซพั พลายเออรท์ รี่ บั ผดิ ชอบต่อสงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม (C orporate Social Responsibility: CSR) ต้ั ง แ ต่ ต ้ น น้ า ถึ ง ป ล า ย น้ า อ า จ ดู จ า ก ม า ต ร ฐ า น ที่ มี ป ร ะ ก อ บ เ ช่ น ISO เ ป็ น ต ้ น ซ่ึ ง ก า ร เ ลื อ ก ซั พ พ ล า ย เ อ อ ร ์ ที่ มี CSR ดี กจ้ ะเป็ นการแสดงความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมสรา้ งภาพต่อเนื่องทดี่ ใี หก้ บั สนิ คา้ และบรกิ ารของเรา จะเห็นว่าจากการนาเอาภารกจิ งานทง้ั 10 เรอื่ ง จะชว่ ยใหเ้ ราสามาร ถทาการจดั ซอื้ จดั หาทรพั ยากรทดี่ ี มคี วามสามารถในการสรา้ งประ สทิ ธภิ าพในการแข่งขนั ขององคก์ รได้ กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบที่ 51-52) เทคนิคการสอนกระบวนการปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม,วธิ กี ารสอน3R8C ขนั้ ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 26 ขน้ั เรา้ ความสนใจ นักเรยี นตอบคาถามไดถ้ กู ตอ้ ง คนที่ 1-3 จะไดค้ ะแนนพเิ ศษเพมิ่ คนละ 2 คะแนน (Critical Thinking and Problem Solving : มที กั ษะในการคดิ วเิ คราะห ์ การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และแกไ้ ขปัญหาได)้ ขนั้ กจิ กรรม 1. ครทู บทวนเนือ้ หาเดมิ จากคาบทแี่ ลว้ เพอื่ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น แจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู ้
2. ใหน้ ักเรยี นแบ่งกลมุ่ ละ 5-6 คน จากน้ันใหน้ ักเรยี นใชเ้ ครอื่ งมอื สอื่ สารทสี่ ามารถใชอ้ นิ เตอรเ์น็ตไดใ้ นการสบื ค ้ นขอ้ มลู โดยครใู หเ้ วลา 30 นาทใี นการศกึ ษาหาความรู ้ ตามหวั ขอ้ ทไี่ ดร้ บั จากนั้นใหน้ ักเรยี นคอยใส่ใจหาความรใู ้ หก้ บั ตวั เอง 3. นักเรยี นรว่ มกนั ผลติ ชนิ้ งานมากลมุ่ ละ 1 ชนิ้ ในการจดั ทา Mind Mappingตามขอ้ แนะนาและคณุ สมบตั ขิ องหนา้ ทฝี่ ่ ายจดั ซอื้ 4.นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนอชนิ้ งานของกลมุ่ ตนเองทไี่ ดร้ ว่ มกนั คดิ ภายในกล่มุ 5ครสู รปุ เนือ้ หาและประเด็นสาคญั เพมิ่ เตมิ อกี ครง้ั หน่ึง เพอื่ ความเขา้ ใจยงิ่ ขนึ้ ขน้ั สรุป ครสู รปุ ประเด็นสาคญั จากการนาเสนอของนักเรยี นและอธบิ ายเพมิ่ เตมิ อี กครง้ั เพอื่ ความเขา้ ใจยงิ่ ขนึ้ ขนั้ การวดั ผลและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื การสมุ่ ตอบคาถาม วธิ วี ดั การตอบคาถาม เกณฑก์ ารประเมนิ ความถกู ตอ้ งตรงประเด็น 80% ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ - กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน อนิ เตอรเ์น็ต,หอ้ งสมดุ เอกสารอา้ งองิ
สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,254 8 ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:ส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ ุน),สนพ.สมาคม,2545
วทิ ยาลยั เทคโนโลยหี าดใหญอ่ านวยวทิ ย ์ สปั ดาหท์ ี่ 14 คาบที่ 53-56 ท-ป-น 2-2-3 เวลา 4 คาบ 220 นาที รหสั วชิ า 30215-2102 วชิ า การจดั การการผลติ หน่วยที่ 4 ชอื่ หน่วย การจดั ซอื้ และระบบคลงั สนิ คา้ รายการสอน ปัญหาการหาขนาดในการสง่ั ซอื้ อย่างประหยดั การควบคมุ วสั ดคุ งคลงั สาระสาคญั EOQ ระบบขนาดการสง่ั ซอื้ ทปี่ ระหยดั (Economic Order Quantity) วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั 2 ประการคอื 1.สามารถบรกิ ารลกู คา้ ในปรมิ าณทเี่ พยี งพอ และทนั ต่อความตอ้ งการ เพอื่ สรา้ งยอดขาย และรกั ษาระดบั สว่ นแบง่ ตลาดไว ้ 2.สามารถลดระดบั การลงทุนในสนิ คา้ คงคลงั ใหต้ ่าสดุ เพอื่ ใหต้ น้ ทุนการ ผลติ ตา่ ลง คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค ์ นักเรยี นมกี ารพฒั นาดา้ นสตปิ ัญญา ผเู้ รยี นรจู ้ กั คดิ วเิ คราะหแ์ ละแกป้ ัญหาได ้ สมรรถนะประจาหน่วย 41 อธบิ ายภารกจิ การจดั ซอื้ 42 ปฏบิ ตั กิ ลยทุ ธก์ ารจดั ซอื้ 43 ใฝ่ หาความรหู ้ มน่ั ศกึ ษาเล่าเรยี นทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 421 เขยี นปัญหาการหาขนาดในการสง่ั ซอื้ อยา่ งประหยดั ไดถ้ กู ตอ้ ง
422 เขยี นการควบคมุ วสั ดคุ งคลงั ไดถ้ กู ตอ้ ง 431 มงุ่ มน่ั ตง้ั ใจเพยี รพยายามในการศกึ ษาและปฏบิ ตั งิ าน เนือ้ หา (คาบท5ี่ 3-54) EOQ ระบบขนาดการสง่ั ซอื้ ทปี่ ระหยดั (Economic Order Quantity) วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั 2 ประการคอื 1.สามารถบรกิ ารลกู คา้ ในปรมิ าณทเี่ พยี งพอ และทนั ตอ่ ความตอ้ งการ เพอื่ สรา้ งยอดขาย และรกั ษาระดบั สว่ นแบ่งตลาดไว ้ 2.สามารถลดระดบั การลงทนุ ในสนิ คา้ คงคลงั ใหต้ ่่าสดุ เพอื่ ใหต้ น้ ทุนการ ผลติ ตา่่ ลง ตามหลกั การการจดั ซอื้ ทดี่ ที สี่ ดุ (Best Buy) เป็ นจดุ เรมิ่ ตน้ ของ การบรหิ ารสนิ คา้ คงคลงั – คณุ สมบตั ทิ ตี่ รงตามความตอ้ งการ – ปรมิ าณ เพยี งพอ – ราคาเหมาะสม – ทนั เวลาทตี่ อ้ งการ – น่าส่งยงั สถานทที่ ถี่ กู ตอ้ ง – โดยซอื้ จากผูข้ ายทไี่ วว้ างใจได ้ ตน้ ทนุ ของสนิ คา้ คงคลงั (Inventory Cost) 1. คา่ ใชจ้ า่ ยในการสง่ั ซอื้ 2. คา่ ใชจ้ า่ ยในการเกบ็ รกั ษา 3. คา่ ใชจ้ า่ ยเนื่องจากสนิ คา้ ขาดแคลน 4. คา่ ใชจ้ า่ ยในการตดิ ตงั้ เครอื่ งจกั รใหม่ ระบบการสง่ั ซอื้ ทปี่ ระหยดั • ระบบการสง่ั ซอื้ ทปี่ ระหยดั • ปรมิ าณการสง่ั ซอื้ ทปี่ ระหยดั (Economic Order Quality) หรอื EOQ จะเหมาะสา่ หรบั การประยกุ ต ์ กบั สนิ คา้ คงคลงั ทสี่ ง่ั ซอื้ เป็ นครงั้ ๆ
โดยไมไ่ ดด้ า่ เนิน งานหรอื จดั ส่งอย่าง ตอ่ เน่ือง ซงึ่ เราจะพจิ ารณาการเปรยี บเทยี บตน้ ทนุ การสง่ั ซอื้ และตน้ ทุนการเกบ็ รกั ษา ขนาดการสง่ั ซอื้ ทปี่ ระหยดั ทอี่ ปุ สงคค์ งที่ และสนิ คา้ คงคลงั ไมข่ าดมอื โดยมสี มมตฐิ านทกี่ าหนดเป็ นขอบเขตไวว้ า่ 1.ทราบปรมิ าณอปุ สงคอ์ ยา่ งชดั เจนและอปุ สงคค์ งที่ 2. ไดร้ บั สนิ คา้ ทสี่ ง่ั ซอื้ พรอ้ มกนั ทงั้ หมด 3. รอบเวลาในการสง่ั ซอื้ ซงึ่ เป็ นชว่ งเวลาตง้ั แตส่ ง่ั ซอื้ จนไดร้ บั สนิ คา้ คงที่ 4. ตน้ ทนุ การเกบ็ รกั ษาสนิ คา้ และตน้ ทนุ การสง่ั ซอื้ สนิ คา้ คงที่ 5. ราคาทสี่ ง่ั ซอื้ คงที่ 6. ไมม่ สี ภาวะของขาดมอื EOQ Model ประโยชนข์ อง EOQ 1.ท า ให ้กิจ ก รรม ส าม ารถ เผ ชิญ กับ ค วาม ผัน แ ป รข อ ง Demand ได ้ โ ด ย ไ ม่ ท า ใ ห ้ เ กิ ด ปั ญ ห า ก า ร ข า ด Stock o ชว่ ยลดตน้ ทนุ สนิ คา้ เนื่องจากการสง่ั ซอื้ ในปรมิ าณมาก 2.ชว่ ยประหยดั ตน้ ทนุ การสง่ั ซอื้ 3.กระบวนการผลติ ดาเนินไปอยา่ งสม่าเสมอ ไม่หยดุ ชะงกั ขอ้ จ่ากดั ของ EOQ
1.ความตอ้ งการสนิ คา้ มปี รมิ าณแน่นอน 2.ระยะเวลาในสง่ั ซอื้ จนกระท่งั ไดร้ บั สนิ คา้ (Lead Time) มรี ะยะเวลาแน่นอน 3.ตน้ ทุนในการสง่ั ซอื้ สนิ คา้ คงที่ 4.ราคาสนิ คา้ ตอ่ หน่วยคงที่ 5.ไมม่ กี ารสง่ คนื สนิ คา้ 6.ไมม่ ี Discount มาเกยี่ วขอ้ ง 7.การสง่ั ซอื้ ทุกครงั้ จะไดร้ บั สนิ คา้ โดยการจดั ส่งเพยี งครง้ั เดยี ว 8.สนิ คา้ ไม่มกี ารขาด Stock EOQ ตอ้ งคานึงถงึ 1.ต ้น ทุ น ใ น ก า ร ส่ัง ซื้อ (Ordering Cost) เช่ น ก า ร อ อ ก ใ บ ส่ัง ซื้อ การตดิ ตาม งานกบั Suppliers 2.ตน้ ทุนการเก็บรกั ษา (Holding Cost ) เชน่ ค่าประกนั ภยั สนิ คา้ ค่าเชา่ โกดงั สนิ คา้ 3.อตั ราการใชส้ ินคา้ หรอื การซอื้ ซา้ (Reorder Point) คานวณจากการ พยากรณ์ และ Lead Time ดว้ ย 4.Reorder Point เป็ นการตดั สินใจว่าจะทาการส่งั ซอื้ อีก เมื่อไหร่ ซงึ่ อาจ ตอ้ งมีการเผื่อ Safety Stock ไวร้ ะดับหน่ึง เพื่อไม่ใชเ้ กิดการขาดแคลน วตั ถดุ บิ ในการผลติ ขนาดการสง่ั ซอื้ ทปี่ ระหยดั ทอี่ ปุ สงคค์ งทแี่ ละสนิ คา้ คงคลงั ไมข่ าดมอื • บรษิ ทั แห่งหน่ึงตอ้ งการซอื้ สนิ คา้ A ปีละ 4800 ชนิ้ ค่าใชจ้ า่ ยใน การสง่ั ซอื้ เท่ากบั 40 บาท/ครง้ั ราคาสนิ คา้ ตอ่ หน่วยเทา่ กบั 100 บาท
และมคี ่าใชจ้ า่ ยในการเก็บรกั ษาสนิ คา้ เทา่ กบั 25% ตอ่ ปี ของราคาสนิ คา้ จงคานวณ EOQ กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบที่ 53-54) เทคนิคการสอนแบบระดมความคดิ ขนั้ ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 27 ขน้ั เรา้ ความสนใจ กล่มุ ใดมเี ทคนิคการนาเสนอเนือ้ หาไดเ้ ป็ นทชี่ น่ื ชอบของเพอื่ นรบั คะแน นโบนัส 5 คะแนน
ขนั้ กจิ กรรม 1. ครใู หน้ ักเรยี นศกึ ษาคน้ ควา้ เรอื่ งเนือ้ หาในเรอื่ ง EOQ ระบบขนาดการสง่ั ซอื้ ทปี่ ระหยดั (Economic Order Quantity)ล่วงหนา้ จากแหลง่ ความรตู ้ า่ ง ๆ 2. ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลุม่ ละ 4-5 คน ชว่ ยกนั ระดมความคดิ ใหค้ วามรว่ มมอื กนั ภายในกลมุ่ แตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั สรุปความรูท้ ตี่ นเองไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ มา 3. แตล่ ะกล่มุ ส่งตวั แทนออกมานาเสนอใหเ้ พอื่ นฟังหนา้ ชน้ั เรยี น 4. ครสู รปุ เนือ้ หาและประเด็นสาคญั จากการนาเสนอของนักเรยี น และอธบิ ายเพมิ่ เตมิ อกี ครงั้ หน่ึง เพอื่ ความเขา้ ใจยงิ่ ขนึ้ ขน้ั สรุป ครสู รปุ ประเด็นสาคญั จากการนาเสนอของนักเรยี นและอธบิ ายเพมิ่ เตมิ อี กครง้ั เพอื่ ความเขา้ ใจยงิ่ ขนึ้ ขน้ั การวดั ผลและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื แบบบนั ทกึ การนาเสนอ วธิ วี ดั สงั เกตการนาเสนอ เกณฑก์ ารประเมนิ นาเสนอไดถ้ กู ตอ้ งตรงประเด็น 80% ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ - - กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน อนิ เตอรเ์น็ต,หอ้ งสมดุ
เอกสารอา้ งองิ สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,254 8 ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยเู คชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:ส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ ุน),สนพ.สมาคม,2545
เนือ้ หา (คาบที่ (55-56) การควบคุมสนิ คา้ คงคลงั ก า ร ค ว บ คุ ม สิ น ค้ า ค ง ค ลั ง ( Inventory control) ถอื ไดว้ า่ เป็ นหวั ใจในการบรหิ ารจดั การคลงั สนิ คา้ โดยการทางานเชอ่ื มตอ่ กบั ร ะบบ อื่น ๆ ควบคุมและตรวจเช็คการไหลเวียนของสินคา้ ภายในคลงั เช่น สิน ค ้ารายก ารใด จาห น่ ายได ้ดีห รือ ไม่ มีสิน ค ้าเห ลือป ริม าณ เท่ าไร ท า ใ ห ้ สิ น ค ้ า ไ ม่ จ ม ค ลั ง สิ น ค ้ า นอกจากนีย้ งั สามารถเชอื่ มโยงขอ้ มูลกบั หน่วยงานภายนอกทเี่ กยี่ วขอ้ ง เชน่ ข ้ อ มู ล ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ข า ย จ า ก ร ้ า น ค ้ า ป ลี ก ต่ า ง ๆ จะถูกส่งเขา้ กระบวนการผลติ เพอื่ เพมิ่ ปรมิ าณการผลติ ในชว่ งทีต่ อ้ งมีการส่ง เ ส ริ ม ก า ร ข าย ในขณะทคี่ ลงั สนิ คา้ ตอ้ งไดร้ บั ขอ้ มูลและเตรยี มพืน้ ทีใ่ นการเก็บสารองสนิ คา้ ซง่ึ ทาใหก้ ิจกรรมภายในคลงั สินคา้ เป็ นไปอย่างราบรนื่ และมีประสิทธภิ าพ ปั จ จุ บั น ไ ด ้ มี ก า ร น า ร ะ บ บ Dynamic slotting ที่ใชก้ ับคลังสินคา้ ห รอื ศูนยก์ ระจายสินคา้ ที่มีสินคา้ หลากหลายชนิ ด (Product diversification) และมีอตั ราการรบั และส่งสินคา้ (Turn over rate) ในปรมิ าณที่สูง ระบบจะทาการจดั เก็บสนิ คา้ ที่มีอตั รา Turn over สูง ไ ว ้ ใ น ส่ ว น ห น้ า ข อ ง ค ลั ง สิ น ค ้ า ที่ อ ยู่ ติ ด กั บ Shipping dock ส า ห รับ สิ น ค ้า ที่ มี อัต ร า Turn over ต่ า ก็ จ ะถู ก จัด เก็ บ ไ ก ล อ อ ก ไ ป โปรแกรมจะประมวลผลการจากสถิติ Turn over ข องสินคา้ ในทุก ๆ ช่ ว ง เ ว ล า ที่ ก า ห น ด และกาหนดตาแหน่งการจดั เกบ็ สนิ คา้ แต่ละชนิดทเี่ หมาะสมเพอื่ ลดเวลาในการ หยบิ สนิ คา้ ลดพนื้ ทแี่ ละเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการใชง้ าน Mobile network ร ะ บ บ Mobile network อนุญาตใหผ้ ูใ้ ชห้ รอื ผูเ้ กยี่ วขอ้ งเฉพาะสามารถตดิ ต่อส่งผ่านขอ้ มูลเชอ่ื มต่อ ระหว่างอุปกรณต์ ่าง ๆ ทีใ่ ชภ้ ายในคลงั สนิ คา้ โดยใชเ้ ทคโนโลยีไรส้ าย เชน่ เค รื่อ ง อ่ า น บ า ร โ์ ค ้ด แ บ บ พ ก พ า ( Portable barcode) ห รือ PDA
น อ ก จ า ก นี้ ยั ง ช่ ว ย ส นั บ ส นุ น กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ภายในคลงั สนิ คา้ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากขนึ้ ดว้ ย เชน่ ในระบบการหยบิ สนิ คา้ ในบางครงั้ ขณ ะที่พนักงานกาลงั หยิบสินคา้ อาจจะมี Order ใหม่เขา้ มา ระบบจะทาการตรวจสอบว่าพนักงานคนนั้นสามารถหยบิ สนิ คา้ ภายใน Order ใหม่ไดห้ รอื ไม่ พรอ้ มทงั้ ตรวจสอบค่าดชั นีประสทิ ธภิ าพ (ระยะเวลา, ระยะทาง ห รื อ ค่ า ใ ช ้ จ่ า ย ใ น ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ห ยิ บ สิ น ค ้ า ทั้ ง ห ม ด ) ถ ้า ผ ล ข อ ง จ า ก ก า ร ป ร ะ ม ว ล ผ ล พ บ ว่ า ค า ส่ั ง ซื้อ ห รือ Order ให ม่ที่เขา้ หากส่งใหพ้ นักงานหยิบสินคา้ คนน้ันไม่ขัดแยง้ กับเงื่อนไข แ ล ะ ค่ า ดั ช นี ป ร ะ ภ า พ เ พิ่ ม ขึ้ น ระบบก็จะส่งขอ้ มูลและแทรกรายการของสินคา้ ที่จะหยิบภายใน Order ใ ห ม่ ไ ป ยั ง เ ค รื่ อ ง PDA ข อ ง พ นั ก ง า น ห ยิ บ สิ น ค ้ า ห รื อ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ข์ น า ด เ ล็ ก ที่ ติ ด ต้ั ง อ ยู่ กั บ ร ถ ฟ อ ร ค์ ลิ ฟ ท ์ ซงึ่ ทาใหเ้ จา้ หนา้ ที่สามารถหยบิ สนิ คา้ ไดท้ นั ทีทางานไดอ้ ย่างต่อเนื่องและมี ประสทิ ธภิ าพมากขนึ้ กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบที่ 55-56) กระบวนการปฏบิ ตั ิ ขนั้ ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 28 ขนั้ เรา้ ความสนใจ นักเรยี นคนไหนทาเสรจ็ 10 คนแรก จะไดค้ ะแนนพเิ ศษ คนละ 1 คะแนน ขน้ั กจิ กรรม 1. ครแู จง้ จะประสงคก์ ารเรยี นรู ้
2. นาเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยการทบทวนเนือ้ หาเกา่ จากคาบทแี่ ลว้ 3. ใหน้ กั เรยี นจบั คู่ ศกึ ษาเอาใจใส่เนือ้ หาและศกึ ษากรณีตวั อยา่ ง ดว้ ยความตงั้ ใจ มคี วามสามคั คี 4. ครสู มุ่ ใหน้ ักเรยี นจานวน 5 คน ออกมานาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น ขนั้ สรุปผล ครสู รปุ เนือ้ หาอกี ครงั้ แลว้ ใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ เนือ้ หาลงในสมุดเพอื่ ความเ ขา้ ใจยงิ่ ขนึ้ ขนั้ การวดั ผลประเมนิ ผล เครอื่ งมอื วดั สงั เกตการทางาน วธิ กี ารวดั การนาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น/ตรวจแบบฝึ กหดั เกณฑก์ ารวดั กระบวนการวเิ คราะห ์ ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ - กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน กรณีศกึ ษา เอกสารอา้ งองิ สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยเู คชน่ั ,254 8 ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยเู คชน่ั ,2545
ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:ส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ ุน),สนพ.สมาคม,2545 วทิ ยาลยั เทคโนโลยหี าดใหญอ่ านวยวทิ ย ์
สปั ดาหท์ ี่ 15 คาบที่ 57-60 ท-ป-น 2-2-3 เวลา 4 คาบ 220 นาที รหสั วชิ า 30215-2102 วชิ า การจดั การการผลติ หน่วยที่ 5 ชอื่ หน่วย การควบคมุ คณุ ภาพ ความปลอดภยั และสงิ่ แวดลอ้ ม รายการสอน ความสาคญั ของคณุ ภาพ องคก์ รระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยการมาตรฐาน สาระสาคญั ความสาคญั ของคณุ ภาพ 1. สรา้ งความพงึ พอใจใหก้ บั ลกู คา้ 2. ลดตน้ ทนุ 3. ส่งมอบไดต้ ามกาหนด 4. ยกระดบั ความตอ้ งการของสนิ คา้ 5. สรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี นึ้ แนวคดิ ของการควบคมุ คณุ ภาพ 1. ขนั้ นโยบาย 2. ขนั้ การออกแบบทางวศิ วกรรม 3. ขนั้ การผลติ 4. ขน้ั การใชง้ านภาคสนาม คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค ์ นักเรยี นมกี ารพฒั นาดา้ นสตปิ ัญญา ผเู้ รยี นรจู ้ กั คดิ วเิ คราะหแ์ ละแกป้ ัญหาได ้ สมรรถนะประจาหน่วย 51 อธบิ ายการควบคมุ คณุ ภาพ 52 เขยี นสง่ิ แวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการทางาน
53 ใฝ่ หาความรหู ้ มน่ั ศกึ ษาเล่าเรยี นทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 511 บอกความสาคญั ของคณุ ภาพไดถ้ กู ตอ้ ง 512 อธบิ ายแนวคดิ เรอื่ งการควบคมุ คณุ ภาพไดถ้ กู ตอ้ ง 531 มงุ่ ม่นั ตง้ั ใจเพยี รพยายามในการศกึ ษาและปฏบิ ตั งิ าน
เนือ้ หา (คาบที่ 57-58) 1.ความหมายและความสาคญั ของคุณภาพ คณุ ภาพ (Quality) มคี วามหมายในหลายมติ ิ มผี กู้ ลา่ วถงึ และเรยี นรกู ้ นั มาเป็ นเวลา นาน คณุ ภาพ มกั หมายถงึ คณุ ภาพของสนิ คา้ หรอื การผลติ สนิ คา้ ไดต้ ามขอ้ กาหนด (Speci fication) ของสนิ คา้ ทผี่ ูผ้ ลติ กาหนดให ้ คณุ ภาพของสนิ คา้ หรอื บรกิ าร ถอื เป็ นปัจจยั สาคญั ประการหนึ่งทที่ าใหอ้ งคก์ ารประสบความสาเรจ็ ทางธรุ กจิ หา กองคก์ ารสามารถผลติ สนิ คา้ หรอื ใหบ้ รกิ ารทมี่ คี ณุ ภาพสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของลกุ คา้ สรา้ งความพงึ พอใจใหแ้ กล่ กู คา้ และมคี วามมงุ่ มน่ั ทจี่ ะทาให ้ มคี ณุ ภาพเหนือความคาดหวงั ของลกู คา้ องคก์ ารนั้นยอ่ มประสบความสาเรจ็ คณุ ภาพสามารถเปลย่ี นแปลงและพฒั นาไดอ้ ยู่เสมอ ววิ ฒั นาการเกยี่ วกบั คุ ณภาพเป็ นสงิ่ ทเี่ กดิ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนื่องและไม่มที สี่ นิ้ สดุ นับแตก่ ารปฏวิ ตั อิ ตุ สา หกรรมในยุโรป ชว่ งครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 18 ไดเ้ กดิ การจดั การดา้ นคณุ ภาพยุ คใหม่ คอื เปลยี่ นจากการผลติ ทใี่ ชแ้ รงงานคนมาเป็ นการใชเ้ ครอื่ งจกั รและก ารผลติ ในปรมิ าณมาก (Mass Production) คณุ ภาพสนิ คา้ จงึ เป็ นสงิ่ จาเ ป็ นเพราะคณุ ภาพมคี วามเกยี่ วขอ้ งกบั ตน้ ทุนการผลติ หนา้ ทกี่ ารใชง้ านและ คณุ ลกั ษณะของสนิ คา้ และบรกิ าร ซงึ่ มผี ลตอ่ ธรุ กจิ และลกู คา้ ในขณะเดยี วกนั คณุ ภาพ จงึ หมายถงึ การดาเนินงานใหเ้ ป็ นไปตามขอ้ กาหนดทตี่ อ้ งการ โ ดยสรา้ งความพงึ พอใจใหก้ บั ลกู คา้ และมตี น้ ทุนการดาเนินงานทเี่ หมาะสม ความสาคญั ของคณุ ภาพ 1. สรา้ งความพอใจใหก้ บั ลกู คา้ (Customer Satisfaction) เหตผุ ลสาคญั ทที่ าใหล้ กู คา้ เลอื กซอื้ หรอื ใชบ้ รกิ าร คอื ความพงึ พอใจ 2. ลดคน้ ทุน ผผู้ ลติ ถอื วา่ ตน้ ทนุ เป็ นปัจจยั สาคญั สาหรบั การดาเนินธรุ กจิ ตน้ ทุ นคณุ ภาพ หมายถงึ การลดลงของคา่ ใชจ้ า่ ยและความสญู เสยี ในกระบวนกา
รผลติ ยอ่ มกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกาไรในระดบั ทนี่ ่าพอใจแกอ่ งคก์ าร 3. สง่ มอบไดต้ ามกาหนด ในกระบวนการผลติ ทมี่ คี ณุ ภาพ จะสามารถผลติ สนิ คา้ และบรกิ ารทมี่ คี ณุ สมบตั ติ ามทตี่ อ้ งการ 4. ยกระดบั ความตอ้ งการของลกู คา้ ลกู คา้ จะยอมจา่ ยเพอื่ สงิ่ ทดี่ กี วา่ และพงึ พอ ใจกว่าโดยไม่จาเป็ นวา่ จะตอ้ งตง้ั ราคาถกู หรอื แพงเสมอไป 5. คณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี นึ้ การผลติ ทมี่ คี ณุ ภาพ ไมม่ ปี ัญหาและของเสยี ในกระบว นการ จะทาใหพ้ นกั งานทางานไดส้ ะดวก มขี วญั กาลงั ใจ 2.แนวคดิ ในการพฒั นาคุณภาพ แนวคดิ เกยี่ วกบั คณุ ภาพ ไดม้ กี ารพฒั นานับแตย่ ุคหลงั สงครามโล กครง้ั ที่ 2 คณุ ภาพไดพ้ ฒั นาเปลย่ี นแปลงไดอ้ ยา่ งมากมาย โดยเฉพาะในป ระเทศญปี่ ่ นุ และสหรฐั อเมรกิ า จากความหมายของคาวา่ คณุ ภาพ ไดม้ กี ารพั ฒนาและคดิ คน้ แนวทางการดาเนินงานเพอื่ ไปสคู่ ณุ ภาพในหลายระดบั มคี าศั พทซ์ ง่ึ เราควรทาความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การพฒั นาคณุ ภาพดงั ต่อไปนี้ 1. การควบคมุ คณุ ภาพ (Quality Control) หรอื QC 2. การประกนั คณุ ภาพ (Quality Assurance) หรอื QA 3. การบรหิ ารคณุ ภาพ (Quality Management) หรอื QM 3.มาตรฐานคณุ ภาพสากล มาตรฐานสากลทเี่ ป็ นทนี่ ิยมใชก้ นั อย่างกวา้ งขวางท่วั โลก มดี งั ตอ่ ไ ปนี ้ 1. มาตรฐานอตุ สาหกรรมญปี่ ่ นุ 2. มาตรฐานอเมรกิ นั 3. มาตรฐานสากลของกลมุ่ สหภาพยโุ รป 4.รางวลั แหง่ คณุ ภาพ รางวลั แห่งคณุ ภาพทมี่ ชี อื่ เสยี งในระดบั นานาชาติ ไดแ้ ก่ 1. รางวลั เดมงิ่ (Deming Prize) เป็ นรางวลั ทตี่ งั้ ชอื่ เพอื่ เป็ นเกยี รตแิ กป่ รามาจ
ารยค์ นสาคญั ดา้ นคณุ ภาพ 2. รางวลั คณุ ภาพแห่งชาติ มลั คมั บาลรจิ (Malcolm Baldrige National Quality Award) เป็ นรางวลั แห่งคณุ ภาพทกี่ อ่ ตง้ั ในปี ค.ศ. 1987 เกณฑแ์ ละขน้ั ตอนในการตดั สนิ รางวลั แบ่งออกเป็ น 7 หมวดดว้ ยกนั คอื 1. ภาวะผนู้ า 2. การวางแผนเชงิ กลยุทธ ์ 3. การมุง่ เนน้ ลกู คา้ และการตลาด 4. สารสนเทศและการวเิ คราะห ์ 5. การม่งุ เนน้ ทรพั ยากรบคุ คล 6. การจดั กระบวนการ 7. ผลลพั ธท์ างธรุ กจิ กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบท5ี่ 7-58) กระบวนความรูค้ วามเขา้ ใจ (ระดมสมอง) ขน้ั ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 29 ขนั้ เรา้ ความสนใจ ครพู ดู ชกั จงู เพอื่ ดงึ ดดู ความสนใจนักเรยี นเพอื่ เขา้ สเู่ นือ้ หา ขนั้ กจิ กรรม 1. ครใู หน้ ักเรยี นศกึ ษาประโยชนข์ องการจดั ทาระบบจากแหล่งการเรยี นรตู ้ ่ าง ๆ มากอ่ นลว่ งหนา้
2. ครูใหน้ กั เรยี นในหอ้ งจบั คูก่ นั และผลดั กนั ตงั้ คาถาม - ตอบ คนละ 5 คาถาม และแต่ละคูเ่ ลอื กคาถามเพอื่ ออกมาถามเพอื่ นหน้าชนั้ เรยี นคู่ละ 3 คาถาม 3. ครอู ธบิ ายเนือ้ หาเพมิ่ เตมิ อกี ครงั้ 4. นักเรยี นบนั ทกึ เนือ้ หาลงสมดุ ขนั้ สรุปผล ครสู รปุ เนือ้ หาจากการตอบคาถามของนักเรยี นอกี ครงั้ เพอื่ ความเขา้ ใจยิ่ งขนึ ้ ขน้ั การวดั ผลประเมนิ ผล เครอื่ งมอื วดั แบบฝึ กหดั วธิ กี ารวดั การนาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น เกณฑก์ ารวดั ความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ - กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน อนิ เตอรเ์น็ต เอกสารอา้ งองิ สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยเู คชน่ั ,254 8
ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:ส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ นุ ),สนพ.สมาคม,2545
เนือ้ หา (คาบที่ 59-60) แนวคดิ เกยี่ วกบั การควบคมุ คณุ ภาพ องคก์ ารธรุ กจิ จะสามารถอยรู่ อดและพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ไดต้ อ้ งมผี ลติ ภณั ฑท์ สี่ ามารถสนองความตอ้ งการของกลมุ่ เป้ าหมายคอื ลกู คา้ ของตนทง้ั ในดา้ น ปรมิ าณและคณุ ภาพ โดยการควบคมุ คณุ ภาพทุกขนั้ ตอนของการดาเนินงานคอื 1. ขน้ั นโยบาย จะตอ้ งสามารถกาหนดระดบั มาตรฐานของคณุ ภาพทเี่ หมาะส มสาหรบั กลมุ่ เป้ าหมายขององคก์ าร นโยบาย คอื แนวทางระดบั ผบู้ รหิ ารกลมุ่ หน่ึงพงึ กระทาโดยแสดงเป็ นขอ้ ความของหลกั การเ ป็ นการจดั เตรยี มแนวทางตา่ ง ๆ สาหรบั ถอื ปฏบิ ตั ิ 2. ขนั้ การออกแบบทางวศิ วกรรม จะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลา ดหรอื ผบู้ รโิ ภคทไี่ ดจ้ ากการวจิ ยั หรอื ศกึ ษามาแลว้ (Research & Development/R&D) 3. ขนั้ การผลติ จะตอ้ งมกี ารควบคมุ ตง้ั แต่วตั ถดุ บิ กระบวนการผลติ ตลอดสาย งานไปจนถงึ การ ตรวจนับบรรจหุ บี ห่อใหเ้ ป็ นไปตามนโยบาย และมาตรฐานทไี่ ดก้ าหนดไวท้ างวศิ วกรรม 4. ขน้ั การใชง้ านภาคสนาม การเปิ ดหบี ห่อผลติ ภณั ฑอ์ อกมาใชห้ รอื การตดิ ตั้ ง อาจมผี ลตอ่ คณุ ภาพของสายการดาเนินงาน ดงั น้ันจงึ จาเป็ นตอ้ งทาใหก้ ารรบั รองคณุ ภาพและการทาหนา้ ทขี่ องผลติ ภณั ฑเ์ ป็ นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล สรุปแนวคดิ ของการควบคมุ คณุ ภาพ 1. ขน้ั นโยบาย 2. ขนั้ การออกแบบทางวศิ วกรรม 3. ขน้ั การผลติ 4. ขน้ั การใชง้ านภาคสนาม การจดั การคุณภาพ คอื การจดั การองคก์ รและกจิ กรรมต่างๆ ใหเ้ ป็ นไปตามมาตรฐานทกี่ าหนดไว ้
ทง้ั นีโ้ ดยมกี ารกาหนดวตั ถปุ ระสงคห์ ลกั เพอื่ ใหผ้ ลติ ภณั ฑม์ คี ณุ ภาพตรงตามม าตรฐานหรอื ขอ้ กาหนด โดยมตี น้ ทนุ ตา่ และตอบสนองความตอ้ งการ ความพอใจของผบู ้ รโิ ภค กจิ กรรมการจดั การคณุ ภาพ ประกอบไปดว้ ยกจิ กรรมดงั ตอ่ ไปนี้ 1. จดั องคก์ ร และบคุ ลากร และ สง่ิ อานวยความสะดวกตา่ งๆ ใหม้ คี วามพรอ้ ม เพอื่ ใหก้ จิ กรรมจดั การคณุ ภาพเป็ นไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. กาหนดวธิ ตี รวจสอบ และวเิ คราะหผ์ ลติ ภณั ฑท์ มี่ คี วามแมน่ ยา สะดวก รวดเรว็ เชอื่ ถอื ได ้ เพอื่ ใหก้ ารควบคมุ คณุ ภาพอย่ใู นมาตรฐานทกี่ าหนด 3. ดาเนินการควบคมุ คณุ ภาพ ปัจจยั การผลติ การดาเนินการผลติ และผลติ ภณั ฑข์ น้ั สดุ ทา้ ยใหอ้ ย่ใู นระดบั ทกี่ าหนด 4. วางแผนดา้ นงบประมาณ และแผนงานควบคมุ คณุ ภาพ 5. รว่ มในการพฒั นา และออกแบบผลติ ภณั ฑว์ เิ คราะหค์ ณุ สมบตั แิ ละคณุ ลกั กษณะของสนิ คา้ ดาเนิ นการป้ องกนั การผลติ สนิ คา้ ดว้ ยคณุ ภาพ 6.สรา้ งสภาพแวดลอ้ มและวฒั นธรรมการทางานทดี่ ี 7.รวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะหข์ อ้ มลู เกยี่ วขอ้ งกบั การดาเนินงานดา้ นคณุ ภาพทง้ั ข ององคก์ รเอง และหน่วยงานนอก เพอื่ เป็ นการปรบั ปรงุ ผลติ ภณั ฑ ์ 8.ดาเนินการแกไ้ ขเมอื่ สภาพการผลติ ทอี่ าจกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายโดยการป รบั ปรงุ กระบวนการผลติ รวมไปถงึ ปัจจยั การผลติ ตา่ งๆ 9.รายงานผลดา้ นคณุ ภาพใหอ้ งคก์ ร และผเู้ กยี่ วขอ้ งไดท้ ราบ จากการจดั การคณุ ภาพขา้ งตน้ นี้ สามารถจดั เขา้ ได ้ 5หมู่ดว้ ยกนั คอื 1. การวางแผน ไดแ้ ก่ กจิ กรรมเกยี่ วกบั การกาหนดนโยบายดา้ นคณุ ภาพ การวางแผนงานและประมาณเกยี่ วกบั การจดั การคณุ ภาพ 2. การจดั องคก์ ร ไดแ้ กก่ จิ กรรมการจดั องคก์ รดา้ นคณุ ภาพ ซง่ึ จะรวมไปกจิ กรรมดา้ นการออกแบบควบคมุ คณุ ภาพในขน้ั ตอนตา่ งๆ ดว้ ย 3. การจดั บคุ ลากร ไดแ้ กก่ จิ กรรมการจดั ตารางและภาระงานแกพ่ นักงาน รวมไปถงึ การจดั ฝึ กอบรมและจงู ใจการทางานแกพ่ นักงาน 4. การสง่ั การ ไดแ้ ก่ การจดั ซอื้ การดาเนินงานการผลติ การตรวจสอบ และประเมนิ ผลงานคณุ ภาพ
5. การควบคมุ ไดแ้ กก่ ารควบคมุ คณุ ภาพในระหว่างการผลติ โดยใชแ้ ผนภมู ิ ควบคมุ รวมทง้ั การควบคมุ ตน้ ทนุ คณุ ภาพและการรายงานผลงานดา้ นคณุ ภาพใหผ้ ูเ้ กยี่ วขอ้ งทราบ หลกั การบรหิ ารคณุ ภาพ (Quality Management Principle) การพฒั นาหลกั การบรหิ ารคณุ ภาพ 8 หลกั เป็ นหลกั การบรหิ ารทผี่ ูบ้ รหิ ารองคก์ ารจาเป็ นตอ้ งทาความเขา้ ใจ เพอื่ นามาตรฐานไปประยุกตใ์ ชอ้ ยา่ งเขา้ ใจและประสบผลสาเรจ็ ในการดาเนินง านทกี่ วา้ งขวางทใี่ ชเ้ ป็ นแนวทางปฏบิ ตั งิ านภายในองคก์ าร โดยมจี ดุ ม่งุ หมายทจี่ ดุ มงุ่ หมายทจี่ ะปรบั ปรงุ สมรรถนะขององคก์ ารอย่างต่อเนื่อ งในระยะยาวโดยเนน้ ทคี่ วามตอ้ งการของลกู คา้ และผเู้ กยี่ วขอ้ งอนื่ ๆ หลกั การบรหิ ารคุณภาพมี 8 หลกั ดงั นี้ หลกั การที่ 1 การใหค้ วามสาคญั กบั ลกู คา้ (Customer Focus) หลกั การที่ 2 ความเป็ นผนู้ า (Leadership) หลกั การที่ 3 การมสี ว่ นรว่ มของบคุ ลากร (Involvement of People) หลกั การที่ 4 การดาเนินงานเชงิ กระบวนการ (Process Approach) หลกั การที่ 5 การบรหิ ารทเี่ ป็ นระบบ (System Approach to Management) หลกั การที่ 6 การปรบั ปรงุ อยา่ งตอเน่ือง (Continual Improvement) หลกั การที่ 7 การตดั สนิ ใจบนพนื้ ฐานของความเป็ นจรงิ (Factual Approach to Decision Making) หลกั การที่ 8 ความสมั พนั ธก์ บั ผขู้ ายเพอื่ ประโยชนร์ ม่ กนั (Mutually Beneficial Supplier Relationship)
หลกั การที่ 1 การใหค้ วามสาคญั กบั ลูกคา้ (Customer Focus) องคก์ ารตอ้ งพงึ่ พาลกู คา้ ดงั นั้น องคก์ ารจงึ ตอ้ งทาความเขา้ ใจกบั ความตอ้ งการของลกู คา้ ทงั้ ในปัจจบุ นั และอน าคต และตอ้ งพยายามดาเนินการใหบ้ รรลคุ วามตอ้ งการของลกู คา้ รวมทงั้ พยายามทาใหเ้ หนือความคาดหวงั ของลกู คา้ องคก์ ารในสภาพปจั จบุ นั อย่ใู นสภาวะทตี่ อ้ งแขง่ ขนั กนั สงู จงึ ตอ้ งมกี ารปรบั ตวั เ องใหม้ าก โดยใหค้ วามสาคญั ตอ่ ลกู คา้ มากขนึ้ จงึ ตอ้ งสรา้ งความเขา้ ใจโดยรบั เอาขอ้ กาหนดของลกู คา้ มาปรบั ใหเ้ ป็ นขอ้ กาห นดขององคก์ ารเพอื่ ดาเนินการใหเ้ ป็ นไปตามขอ้ กาหนดนนั้ และพยายามปรบั ปรงุ ใหด้ ขี นึ้ อยา่ งต่อเน่ือง ทาใหส้ ามารถสรา้ งผลงานไดเ้ กนิ ความคาดหวงั ของลกู คา้ หรอื มากกว่าคแู่ ขง่ ในธรุ กจิ ประเภทเดยี วกนั ได ้ ดงั น้ัน การกาหนดวตั ถปุ ระสงคก์ ารบรหิ ารกระบวนการการจดั การองคก์ ารจงึ มุ่งเป็ น การตอบสนองลกู คา้ หลกั การที่ 2 ความเป็ นผูน้ า (Leadership) ผูน้ าขององคก์ ารควรมคี วามมุ่งม่นั ทจี่ ะพฒั นาองคก์ ารอยา่ งชดั เจน และควรสรา้ งบรรยากาศของการทางาน ทจี่ ะเออื้ อานวยใหบ้ คุ ลากรมสี ว่ นรว่ มในการดาเนินงาน เพอื่ ใหบ้ รรลผุ ลตามเป้ าหมายขององคก์ าร หนา้ ทขี่ องผูน้ าในองคก์ ารกค็ อื การจดั ทาแนวทางการดาเนินงานและวตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ ารใหช้ ดั เจนและเ ป็ นอนั หน่ึงอนั เดยี วกนั พรอ้ มทง้ั มกี ารเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธแ์ ละสรา้ งบรรยากาศสภาพแวดลอ้ มในอ งคก์ ารโดยใหพ้ นักงานมสี ่วนรว่ มซง่ึ จะเป็ นการสรา้ งความเต็มใจและความพอใ จในการทางานของพนักงานเหล่านั้น หลกั การที่ 3 การมสี ่วนรว่ มของบคุ ลากร (Involvement of People) บุคลากรทกุ ระดบั คอื หวั ใจขององคก์ าร การทบี่ คุ ลากรเขา้ มามสี ่วนรว่ มในองคก์ าร จะทาใหท้ ุกคนไดใ้ ชค้ วามสามารถใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวมมากทสี่ ดุ ในกา
รจดั ทาระบบบรหิ ารคณุ ภาพ องคก์ ารควรกาหนดบทบาทของพนักงานทุกระดบั ชน้ั ในองคก์ ารใหไ้ ดเ้ ขา้ มา มสี ว่ นรว่ มในการจดั ทา เชน่ งานจดั เตรยี มการอบรม งานตรวจสอบ งานปรบั ปรงุ ส่วนบทบาทจะมากนอ้ ยแค่ไหนนั้น คงขนึ้ อยู่กบั ระดบั งานความรบั ผดิ ชอบและความสามารถเพอื่ ใหไ้ ดใ้ ชค้ วามสา มารถของพนักงานแตล่ ะคนทมี่ อี ยอู่ ยา่ งเต็มทใี่ หเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อองคก์ าร หลกั การที่ 4 การดาเนินงานงานเชงิ กระบวนการ (Process Approach) การบรหิ ารกจิ กรรมและทรพั ยากรเชงิ กระบวนการ จะทาใหไ้ ดผ้ ลลพั ธอ์ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพการนาระบบบรหิ ารคณุ ภาพไปใชด้ าเ นินการ ควรพจิ ารณาในเชงิ กระบวนการคอื มปี ัจจยั นาเขา้ (Input) มกี จิ กรรมการดาเนินงานทตี่ อ่ เนื่องกนั อยา่ งเป็ นระบบ มผี ลลพั ธท์ ไี่ ด ้ (Output) ออกมาซง่ึ มมี ลู คา่ เพมิ่ ขนึ้ จากปัจจยั ป้ อนเขา้ ทง้ั นีเ้ พอื่ ใหส้ ามารถควบคมุ กระบวนการและประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของกระบวนก ารน้ันไดเ้ มอื่ เกดิ ปัญหากน็ ากลบั มาวเิ คราะหใ์ หมใ่ นเชงิ กระบวนการเพอื่ คน้ หา สาเหตแุ ละประเด็นทจี่ ะแกไ้ ขปรบั ปรงุ ใหด้ ขี นึ้ หลกั การที่ 5 การบรหิ ารทเี่ ป็ นระบบ (System Approach to Management) การทไี่ ดร้ ะบุ ทาความเขา้ ใจ และจดั การกระบวนการตา่ งๆ อย่างเป็ นระบบ จะชว่ ยใหอ้ งคก์ ารบรรลเุ ป้ าหมายอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลและประสทิ ธภิ าพ ซงึ่ ทาใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคต์ ามตอ้ งการการเชอ่ื มโยงสมั พนั ธก์ นั ของกระบวน การตา่ งๆ จะกอ่ ใหเ้ กดิ เป็ นระบบขนึ้ ซง่ึ ตอ้ งมกี ารสง่ ผา่ นถงึ กนั และกนั ทง้ั ผลผลติ และขอ้ มลู ขา่ วสาร เมอื่ มกี ารกาหนดวตั ถปุ ระสงคค์ ณุ ภาพแลว้ จงึ จะสามารถกระจายวตั ถปุ ระสงคด์ งั กลา่ วน้ันไดเ้ พอื่ ใหม้ กี ารควบคมุ แตล่ ะกระ บวนการ หลกั การที่ 6 การปรบั ปรุงอยา่ งตอ่ เนื่อง (Continual Improvement)
การปรบั ปรงุ สมรรถนะโดยรวมขององคก์ ารอยา่ งตอ่ เน่ือง ควรถอื เป็ นเป้ าหมายถาวรขององคก์ าร องคก์ ารจะตอ้ งมกี ารปรบั ปรงุ อย่างต่อเนื่องเป็ นนโยบายและกาหนดเป็ นวตั ถปุ ระสงคถ์ าวร ไมใ่ ชเ่ ป็ นการรณรงคเ์ ฉพาะชว่ งใดชว่ งหน่ึงเทา่ น้ัน การปรบั ปรงุ อย่างตอ่ เนื่องจะสามารถสรา้ งความพงึ พอใจใหก้ บั ลกู คา้ ไดม้ ากขึ้ นเรอื่ ยๆ หลกั การที่ 7 การตดั สนิ ใจบนพนื้ ฐานของขอ้ เท็จจรงิ (Factual Approach to Decision Making) การตดั สนิ ใจอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล มพี นื้ ฐานจากการวเิ คราะหข์ อ้ มูลตา่ งๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งในองคก์ าร การตดั สนิ ใจและการวเิ คราะหจ์ ะตอ้ งใชข้ อ้ มลู และขา่ วสารทเี่ ป็ นขอ้ เท็จจรงิ ตอ้ งมรี ะบบการเก็บขอ้ มลู ขา่ วสารทชี่ ดั เจน เพอื่ การวเิ คราะหแ์ ละเสนอตดั สนิ ใจทงั้ ลกู คา้ ผสู้ ่งมอบ ฝ่ ายบรหิ าร และพนักงาน หลกั การที่ 8 ความสมั พนั ธก์ บั ผูข้ ายเพอื่ ประโยชนร์ ว่ มกนั (Mutually Beneficial Supplier Relationship) องคก์ ารและผขู้ าย/ผใู้ หบ้ รกิ าร ตอ้ งพงึ่ พาอาศยั ซง่ึ กนั และกนั การทอี่ งคก์ ารมคี วามสมั พนั ธก์ บั ผขู้ ายเพอื่ ประโยชนร์ ว่ มกนั จะชว่ ยเพมิ่ ความสามารถในการสรา้ งคณุ คา่ รว่ มกนั ของสองฝ่ ายเน่ืองจากในว งการธรุ กจิ จะตอ้ งมคี วามเกยี่ วโยงพงึ่ พากนั กบั ผสู้ ่งมอบ ดงั น้ันจงึ ตอ้ งวดั หาความสมั พนั ธข์ ององคก์ ารกบั ผสู้ ่งมอบ ทง้ั ทางดา้ นบวกและดา้ นลบใหเ้ หมาะสม เพราะถา้ มคี วามผกู พนั เป็ นกรณีพเิ ศษในลกั ษณะใดลกั ษณะหน่ึง ไมว่ า่ จะดว้ ยความสมั พนั ธส์ ว่ นตวั หรอื ความสมั พนั ธใ์ นเชงิ การมผี ลประโยชนร์ ่ วมกนั ในทางมชิ อบกต็ าม โอกาสทอี่ งคก์ ารจะไดร้ บั สนิ คา้ หรอื บรกิ ารใหต้ ามทกี่ าหนดไวร้ อ้ ยเปอรเ์ซน็ ต ์ กจ็ ะนอ้ ยลง
กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบท5ี่ 9-60) กระบวนการปฏบิ ตั แิ ละกจิ กรรมหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ขน้ั ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 30 ขน้ั เรา้ ความสนใจ ครเู ล่าเรอื่ งการบรหิ ารแบบฟอรม์ ตา่ งๆใหน้ ักเรยี นฟัง ขน้ั กจิ กรรม 1. ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู ้ 2. นาเขา้ สบู่ ทเรยี น ทบทวนความรเู ้ ดมิ จากคาบทแี่ ลว้ 3. ใหน้ กั เรยี นระดมความคดิ และรว่ มรบั ฟั งระหว่างกนั ครูสุ่มตอบคาถาม 4. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ เนือ้ หาอกี ครงั้ นักเรยี นบนั ทกึ ลงสมดุ ขน้ั สรุปผล ครสู รปุ เนือ้ หาอกี ครงั้ แลว้ ใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ เนือ้ หาลงสมดุ เพอื่ ความเขา้ ใ จยงิ่ ขนึ้ ขนั้ การวดั ผลประเมนิ ผล เครอื่ งมอื วดั การตอบคาถาม วธิ กี ารวดั การตอบคาถามของนักเรยี น เกณฑก์ ารวดั ความถกู ตอ้ งของขอ้ มูล
ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ - กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน อนิ เตอรเ์น็ต เอกสารอา้ งองิ สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยเู คชน่ั ,254 8 ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยเู คชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:สง่ เสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ นุ ),สนพ.สมาคม,2545
วทิ ยาลยั เทคโนโลยหี าดใหญอ่ านวยวทิ ย ์ สปั ดาหท์ 1ี่ 6 คาบที่ 61-64 ท-ป-น 2-2-3 เวลา 4 คาบ 220 นาที รหสั วชิ า 30215-2102 วชิ า การจดั การการผลติ หน่วยที่ 5 ชอื่ หน่วย การควบคมุ คณุ ภาพ ความปลอดภยั และสงิ่ แวดลอ้ ม รายการสอน องคก์ รระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยการมาตรฐาน ปัจจยั สงิ่ แวดลอ้ มการทางาน สาระสาคญั ความหมายของ ISO 9000 ISO 9000 คอื มาตรฐานสากลสาหรบั ระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพอนั เกยี่ วกบั การจดั
การทางดา้ นคณุ ภาพและการประกนั คณุ ภาพ อนั เกยี่ วกบั การจดั การทางดา้ นคณุ ภาพและการประกนั คณุ ภาพ และเป็ นระบบบรหิ ารประกนั คณุ ภาพเทา่ เทยี มกนั ระหวา่ งองคก์ รตา่ ง ๆ และประเทศตา่ ง ๆ ISO 9000 จั ด ท า ฉ บั บ แ ร ก ใ น ปี ค . ศ . 1987 (ส า ห รั บ ก า ร ป รั บ ป รุ ง จ ะ ก ร ะ ท า ทุ ก 5 ปี ถ ้ า ท า ไ ด ้ ) ไ ด ้ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง ค ร้ั ง แ ร ก แ ล ้ ว คื อ ฉ บั บ ปี ค . ศ . 1994 แล ะได ้มีก ารป รบั ป รุงอีก เป็ น ค รงั้ ที่ 2 ใน ปี ค .ศ . 2000 เล ข “9000” เป็ นเลขiหสั ของมาตรฐานชดุ นี้ คือ นับตงั้ แต่ ค.ศ.1947 (ปี ที่จดั ตง้ั ISO ) หน่ วยงาน ISO ไดจ้ ดั ทามาตรฐานต่าง ๆไวม้ ากมายจนถึงปี ค.ศ. 1987 (ปี ที่จดั ทามาตรฐานชุดนี้) ไดจ้ ดั ทามาถึงเลข 9000 พอดี จึงนาเอาเลข 9000 ม า เ ป็ น ร หั ส ต า ม ม า ต ร ฐ า น ชุ ด นี้ เ รี ย ก ว่ า “ มาตรฐานระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพ ISO 9000” สงิ่ แวดลอ้ มทอี่ ยู่รอบ ๆ ตวั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านในขณะทางาน ไดแ้ ก่ เสยี งดงั ความรอ้ น ความสน่ั สะเทอื น แสงสว่าง ความกดดนั บรรยากาศ ตลอดจนเครอื่ งมอื เครอื่ งจกั ร อปุ กรณต์ า่ งๆ รวมทง้ั บรเิ วณสถานทที่ างาน สง่ิ แวดลอ้ มการทางาน หมายถงึ สงิ่ ตา่ งๆ ทอี่ ยลู่ อ้ มรอบตวั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านในขณะทที่ างาน เชน่ เพอื่ นรว่ มงานเครอื่ งจกั ร อปุ กรณต์ ่างๆอากาศทหี่ ายใจ เสยี ง แสงสวา่ ง ความรอ้ น สารเคมี และรวมถงึ เชอื้ โรคตา่ งๆ ดว้ ย คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค ์ นักเรยี นมกี ารพฒั นาดา้ นสตปิ ัญญา ผเู้ รยี นรจู ้ กั คดิ วเิ คราะหแ์ ละแกป้ ัญหาได ้ สมรรถนะประจาหน่วย 51 อธบิ ายการควบคมุ คณุ ภาพ 52 เขยี นสงิ่ แวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการทางาน 53 ใฝ่ หาความรหู ้ มน่ั ศกึ ษาเล่าเรยี นทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 513 อธบิ ายองคก์ รระหว่างประเทศวา่ ดว้ ยการมาตรฐานไดถ้ กู ตอ้ ง
514 อธบิ ายปัจจยั สงิ่ แวดลอ้ มการทางานไดถ้ กู ตอ้ ง 531 มุง่ ม่นั ตงั้ ใจเพยี รพยายามในการศกึ ษาและปฏบิ ตั งิ าน เนือ้ หา (คาบที่ 61-62)
โครงสรา้ งของมาตรฐาน ISO 9000 : 2000 องคก์ รระหว่างประเทศ ว่าดว้ ยมาตรฐาน หรอื ISO (International Organization for Standrdizaton) ได ป้ ระก าศใช ม้ าต รฐาน ระบ บ ก ารบ ริห ารงาน คุณ ภ าพ ISO 9000 ฉบบั แกไ้ ขเมื่อวนั ที่ 15 ธนั วาคม 2543 โดยโครงสรา้ งใหม่ของมาตรฐาน ISO 9000 : 2000 ประกอบดว้ ยมาตรฐานหลกั 3 ฉบบั คอื 1. ISO 9000 เ ป็ น ฉ บั บ ใ ห ้ ห ลั ก ก า ร พื้ น ฐ า น ของระบบการบรหิ ารงานคณุ ภาพ และใหน้ ิยามศพั ทท์ เี่ กยี่ วขอ้ ง 2. ISO 9001 เป็ นอนุ กรมที่รวม ISO 9001, ISO 9000 และ ISO 9003 ปี 1994 เ ข ้ า ไ ว ้ ด ้ ว ย กั น รวมทงั้ ยงั ใหเ้ ห็นถึง ความสามารถในการทาตามความตอ้ งการของลูกคา้ และกฎหมายทเี่ กยี่ วขอ้ ง และนาหลกั การของการบรหิ ารคุณภาพ (Quality Management Principles - QMP) มาใช ้ 3. ISO 9004 เ ป็ น ฉ บั บ ที่ ป รั บ ป รุ ง ISO 9004 - 1 : 1994 เพอื่ ใหแ้ นวทางในการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลและเพมิ่ ศกั ยภาพ ใน การพัฒ นาปรบั ปรุง นอกเห นื อจากข อ้ กาห นดใน ISO 9000 : 2000 น อ ก จ า ก อ นุ ก ร ม ย่ อ ย 3 ฉ บั บ แ ล ้ ว ISO 9000 : 2000 ยั ง มี เ ล ข อ นุ ก ร ม ที่ เ กี่ ย ว ข ้ อ ง อี ก 1 ฉ บั บ คื อ ISO 19011 ซงึ่ เป็ นมาตรฐานทใี่ ชเ้ ป็ นแนวทางในการตรวจประเมนิ ระบบการบรหิ ารงานคุ ณภาพ และระบบการจดั การสง่ิ แวดลอ้ มซงึ่ คาดว่ามาตรฐาน ISO 9000, ISO 9001 และ ISO 9004 ฉบบั ปี 2000 ISOไดจ้ ดั พมิ พป์ ระกาศ ใชเ้ มอื่ วนั ที่ 15 ธนั วาคม 2543 ที่ผ่านมา โดยมาตรฐานท้ัง 3 ฉบับ ISO ไดพ้ ิมพเ์ ป็ น 3 ภาษา คอื ภาษาองั กฤษ ภาษาฝรง่ั เศส และภาษารสั เซยี 4. ISO 10011 ห รื อ ISO 19011 เป็ นอนุกรมทมี่ เี นือ้ หาสาระเกยี่ วกบั มาตรฐานผูต้ รวจประเมนิ วตั ถุประสงคท์ ตี่ อ้ งจดั ทามาตรฐาน ISO 9001: 2000 - ช่วย ให ้ลูก ค ้ามีค วาม ม่ัน ใจใน คุ ณ ภ าพ ข อ งสิน ค ้า ผ ลิต ภัณ ฑ ์ และบรกิ ารทไี่ ดร้ บั - เกดิ ระบบบรหิ ารงานเป็ นลายลกั ษณอ์ กั ษรและเกดิ ประสทิ ธผิ ล
- สามารถควบคมุ กระบวนการดาเนินธรุ กจิ ไดค้ รบวงจรตง้ั แต่ตน้ จนจบ - สรา้ งความมน่ั ใจใหแ้ กผ่ ูบ้ รหิ ารวา่ สามารถบรรลตุ ามความตอ้ งการของลู กคา้ ได ้ - เกดิ การปรบั ปรงุ และพฒั นาระบบการปฏบิ ตั งิ านใหเ้ กดิ ประสทิ ธผิ ลยงิ่ ขนึ้ ซงึ่ เป็ นพนื้ ฐานในการสรา้ งระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพโดยส่วนรวม - ช่ ว ย ล ด ค ว า ม สู ญ เสี ย จ า ก ก า ร ด า เนิ น ง า น ที่ ไ ม่ มี คุ ณ ภ า ร พ ทาใหป้ ระหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย ประโยชนข์ องมาตรฐาน ISO 9001: 2000 1.ประโยชนต์ อ่ พนักงาน - มสี ่วนรว่ มในการดาเนินงานระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพและเกดิ ความพอใจในก ารปฎบิ ตั งิ าน - มจี ติ สานึกในเรอื่ งของคณุ ภาพมากขนึ้ - การปฏบิ ตั งิ านมรี ะเบยี บ และมขี อบเขตงานทชี่ ดั เจน - พฒั นาการทางานเป็ นทมี หรอื เป็ นกล่มุ 2.ประโยชนต์ อ่ องคก์ รหรอื บรษิ ทั - พั ฒ น า ก า ร จั ด อ ง ค ์ ก ร ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ก า ร ผ ลิ ต ตลอดจนการใหบ้ รกิ ารใหเ้ ป็ นไปอย่างมรี ะบบและมปี ระสทิ ธภิ าพ - ท า ใ ห ้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ เ ป็ น ที่ น่ า เ ชื่ อ ไ ด ้ และไดร้ บั การยอมรบั ทงั้ ตลาดในประเทศและต่างประเทศ - ขจดั ปัญหาขอ้ โตแ้ ยง้ และการกดี กนั ทางการคา้ ระหว่างประเทศ - ภ า พ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง อ ง ค ์ ก ร ดี เป็ นทยี่ อมรบั ว่าเป็ นองคก์ รทมี่ รี ะบบบรหิ ารไดม้ าตรฐานระดบั โลก - ชว่ ยประหยดั ตน้ ทุนในการดาเนินงานซง่ึ เกดิ จากการทางานทมี่ รี ะบบมปี ระสทิ ธภิ าพ 3.ประโยชนต์ ่อผซู้ อื้ หรอื ผบู้ รโิ ภค - ชว่ ยใหม้ ่นั ใจในคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ ์ และหรอื การบรกิ าร - มี ค ว า ม ส ะ ด ว ก ป ร ะ ห ยั ด เ ว ล า แ ล ะ ค่ า ใ ช ้ จ่ า ย โดยไมต่ อ้ งตรวจสอบคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑซ์ า้
- ง่ายต่อการคน้ หารายชอ่ื ขององคก์ รที่ไดร้ บั รองคุณภาพ มอก. / ISO 9000 เ พ ร า ะ ห น่ ว ย รั บ ร อ ง จะจดั ทารายชอ่ื ผูท้ ไี่ ดร้ บั รองการเผยแพรเ่ ป็ นปัจจบุ นั - ไ ด ้ รับ ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง น้ั น ใ น ด ้ า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย และการใชง้ านโดยหน่วยรบั รองในฐานะผูใ้ หก้ ารรบั รองจะเป็ นผูต้ รวจสอบ ประเมนิ และตดิ ตามผลของโรงงานทไี่ ดร้ บั รองระบบคณุ ภาพอยา่ งสม่าเสมอ ส รุ ป ก า รน า ระบ บ ม า ใช จ้ ะช่ว ย ให ้ส า ม ารถ พัฒ น า บุ ค ค ล าก ร แ ล ะ เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร บ ริห า ร จั ด ก า ร ภ า ย ใ น อ ง ค ์ก ร สามารถลดค่าใชจ้ ่ายและตน้ ทุนในการผลิต ตลอดจนความสูญเสียต่าง ๆ อันเกิดจากการผลิต ช่วยสรา้ งจิตสานึ กในการทางานใหก้ ับพนักงาน ส ร ้ า ง ก า ร ท า ง า น ที่ มี ร ะ บ บ มี แ น ว ป ฏิ บั ติ ที่ ชั ด เ จ น สามารถควบคมุ และตรวจสอบไดง้ ่ายขน้ั และทสี่ าคญั คอื สามารถเพมิ่ ผลผลติ แ ละสรา้ งภาพลกั ษณท์ ดี่ แี กอ่ งคก์ ร นับเป็ นประกาศเกยี รตคิ ณุ อกี ทางหนึ่งดว้ ย ขน้ั ตอนการดาเนินงานสู่ระบบบรหิ ารคณุ ภาพ ISO 9001:2000 การที่องคก์ ารจะไดร้ บั การรบั รองระบบบรหิ ารคุณ ภาพ ISO 9001:2000 ตอ้ งดาเนินการเป็ นขน้ั ตอน ดงั นี้ ขนั้ ตอนที่ 1 การเตรยี มการและศกึ ษา ร ะ บ บ บ ริ ห า ร คุ ณ ภ า พ ISO 9 0 0 1 เป็ นระบบซงึ่ ทุกหน่วยงานในองคก์ ารจะตอ้ งมสี ่วนรว่ มในการนาเอาระบบไปปร ะ ยุ ก ต ์ ใ ช ้ ใ น อ ง ค ์ ก า ร บุคลากรทุกคนจงึ มคี วามสาคญั ต่อความสาเรจ็ ของระบบโดยเฉพาะอย่างยงิ่ ผู้ บ ริห า รระดับ สู งต ้อ งมีค วา ม มุ่ งม่ัน ใน ก า รน าระบ บ ม า ใช ใ้ น อ งค ก์ า ร แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง โ ด ย กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ทผี่ ูบ้ รหิ ารตอ้ งเตรยี มและดาเนินการดงั นี้ 1. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดาเนินการ ISO 9000 2. จดั ตง้ั ผูป้ ระสานงานคุณภาพหรอื ตวั แทนฝ่ ายบรหิ ารดา้ นคุณภาพ ( Quality Management Representative : QMR) 3. จดั ตงั้ คณะทางานในหน่วยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ (Working Party)
4. จดั งบประมาณสาหรบั ค่าใชจ้ า่ ยทจี่ ะเกดิ ขนึ้ 5. จดั ใหม้ กี ารศกึ ษา ฝึ กอบรมและเรยี นรู ้ ทงั้ ความรดู ้ า้ นมาตรฐานระบบบรหิ ารคณุ ภาพ ISO9001:2000 และความรใู ้ น หนา้ ทที่ ไี่ ดร้ บั มอบหมาย ขนั้ ตอนที่ 2 การทบทวนสถานะระบบงานปัจจบุ นั องคก์ ารตอ้ งตรวจสอบเพื่อประเมินสถานะปัจจุบันขององคก์ าร โ ด ย เ ที ย บ กั บ ข ้ อ ก า ห น ด ข อ ง ม า ต ร ฐ า น ISO 9000:2000 เพอื่ จะไดท้ ราบวา่ สภาพการดาเนินงานปัจจบุ นั นั้นมคี วามสอดค ลอ้ งกบั ขอ้ กาหนดอย่างไรบา้ ง มีการดาเนินการเป็ นกระบวนการหรอื ไม่ ถา้ ไม่สอดคลอ้ งควรปรบั ปรุงใหส้ อดคลอ้ งกบั ขอ้ กาหนด โดยกจิ กรรมต่างๆ ทอี่ าจเกดิ ขนึ้ อาจมดี งั นี้ 1. กาหนดนโยบายคณุ ภาพ ซง่ึ สามารถนาไปปฏบิ ตั ทิ าใหส้ าเรจ็ และประเมนิ ค่าได ้ 2. จดั ทาวตั ถปุ ระสงคค์ ณุ ภาพ 3. กาหนดขอบเขตของหน่วยงานหรอื กระบวนการตามผงั องคก์ ารใหช้ ั ดเจน 4. วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บขอ้ กาหนด เพอื่ ตรวจสอบสง่ิ ทมี่ อี ยูก่ บั สง่ิ ทขี่ าดไป 5. จดั ทาแผนการดาเนินงานทแี่ สดงถงึ ขนั้ ตอน กจิ กรรม ระยะเวลา และผูร้ บั ผดิ ชอบ ขนั้ ตอนที่ 3 การจดั ทาเอกสารระบบบรหิ ารงานคุณภาพ 1. จดั ทาเอกสาระบบคณุ ภาพ ดงั หวั ขอ้ ตอ่ ไปนี้ (1) นโยบายคณุ ภาพ (Quality Policy) และวตั ถปุ ระสงคค์ ณุ ภาพ (Quality Objectives) (2) ผงั โครงสรา้ งองคก์ าร (Organization Chart) (3) กาหนดอานาจหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ (Job Description/Job Specification) (4) ค่มู อื คณุ ภาพ ระเบยี บปฏบิ ตั งิ าน วธิ ปี ฏบิ ตั งิ าน และเอกสารสนับสนุน
2. ตรวจสอบ ทบทวน และอนุมตั เิ อกสารกอ่ นนาไปใช ้ ขนั้ ตอนที่ 4 การปฏบิ ตั งิ านตามระบบบรหิ ารคณุ ภาพ ก า ร น า ร ะ บ บ บ ริห า ร ง า น คุ ณ ภ า พ ไ ป ป ฏิ บั ติ นั้ น เ รีย ก ว่ า “ก า ร ติ ด ต้ั ง ร ะ บ บ บ ริ ห า ร คุ ณ ภ า พ ” คอื องคก์ ารจะตอ้ งนาเอาเอกสารระบบบรหิ ารงานคุณภาพทไี่ ดจ้ ดั ทาขนึ้ ไปใช ้ จรงิ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธผิ ล โดยมขี นั้ ตอนตา่ งๆ ดงั นี้ 1. สอนและฝึ กอบรมพนักงาน จดั ใหม้ ีการฝึ กอบรม หรอื ประชมุ ชแี้ จง ทาความเขา้ ใจกบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทเี่ กยี่ วขอ้ งทกุ ส่วนใหท้ ราบรายละเอยี ดขอ้ กาห น ด ขั้ น ต อ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข ้ อ ง แ ล ะ เห ตุ ผ ล ที่ ต ้อ ง ป ฏิ บั ติ ต า ม เอ ก ส า ร ต่ า ง ๆ ใ น ร ะ บ บ คุ ณ ภ า พ รวมทง้ั ปลุกจติ สานึกบุคลากรใหเ้ ชอ่ื ม่นั ในระบบคุณภาพและซกั ซอ้ มความเข ้ าใจในการปฏบิ ตั งิ านตามระบบ 2. ประกาศใชร้ ะบบบรหิ ารงานคุณภาพ ประกาศใชเ้ อกสารท้ังหมด ห รื อ บ า ง ส่ ว น ที่ พ ร ้ อ ม เ พื่ อ ท ด ล อ ง ป ฏิ บั ติ จะไดท้ ราบถงึ ปัญหาและขอ้ ขดั ขอ้ งต่างๆ สาหรบั นาไปปรบั ปรงุ ต่อไป 3. บนั ทกึ ผลการปฏบิ ตั งิ าน หลงั จากทไี่ ดป้ ฏบิ ตั ติ ามทเี่ ขยี นเอกสารไว ้ ผูป้ ฏบิ ตั จิ ะตอ้ งแจง้ หวั หนา้ หน่วยงานถงึ ผลกรดาเนินงานตามเอกสารทงั้ ในแง่ ประสทิ ธผิ ลและประสทิ ธภิ าพ รวมทงั้ ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ แกไ้ ขเอกสาร 4. ป รั บ ป รุ ง แ ก ้ ไ ข ถ ้ า จ า เ ป็ น หากจาเป็ นอาจตอ้ งมกี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ขเอกสารใหส้ ามารถนาไปปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ และมปี ระสทิ ธผิ ล ขน้ั ตอนที่ 5 การตรวจตดิ ตามคณุ ภาพภายใน มกี ารคดั เลอื กพนักงานเป็ นทมี ตรวจตดิ ตามคณุ ภาพภายใน (Internal Quality Auditor) โ ด ย คั ด เลื อ ก จ า ก ห ล า ย ห น่ ว ย ง า น ใ น อ ง ค ์ก า ร เพราะการตรวจตดิ ตามคุณภาพภายในตอ้ งตรวจทุกหน่วยงานบุคคลทเี่ ป็ นผู้ ต ร ว จ ต ้ อ ง มี ค ว า ม เ ป็ น อิ ส ร ะ จ า ก ห น่ ว ย ง า น ที่ ต น ไ ป ต ร ว จ คอื ไม่ตรวจหน่วยงานทตี่ นสงั กดั อยู่หลกั สูตรทอี่ บรมอาจอบรมโดย QMR หรื อ ที่ ป รึ ก ษ า ผู้ มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ อ ย่ า ง ดี แ ล ้ ว หรอื อาจสง่ ทมี ตรวจตดิ ตามคณุ ภาพภายในไปอบรมหลกั สูตรการเป็ นผูต้ รวจ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223