ยุคกลางเป็นยคุ เชื่อมต่อระหว่างอารยธรรมคลาสสกิ (ยุคโบราณ) กับยคุ ใหม่ (ระหว่างปี ค.ศ. 500 – 1500) แบ่งออกเปน็ 3 ชว่ งเวลา คอื 1. ยคุ กลางตอนต้น (ค.ศ. 500 – 1050) 2. ยคุ กลางตอนกลาง (ค.ศ. 1050 – 1270) 3. ยคุ กลางตอนปลาย (ค.ศ. 1270 – 1500)
ยคุ กลางตอนตน้ ยคุ กลางตอนต้น เรียกอกี อยา่ งหนง่ึ วา่ “ยคุ มดื ” (Dark Age) เนอื่ งจาก ค.ก้าวหน้าของอารยธรรมคลาสสกิ /อารยธรรมกรกี -โรมนั ไดห้ ยดุ ชะงกั ลงในดินแดนยุโรป ตต. พรอ้ มกับการลม่ สลายของ จักรวรรดิโรมัน ตต. ท้งั นเี้ พราะถกู อนารยชนเชอ้ื สายเยอรมันนกิ เข้ารกุ รานทาให้ - บ้านเมืองวนุ่ วาย - การคา้ ซบเซาเพราะถนนถกู ตดั ขาด
- มีโจรผู้รา้ ยออกปล้นสะดม - บรรดาชา่ งฝีมือกลายเปน็ คนวา่ งงาน - ชาวเมืองอพยพหลบหนีไปอยูต่ ามชนบท ** ส่งผลทาใหศ้ ิลปวทิ ยาการต่างๆ ไม่ไดร้ ับ ความสนใจอีกตอ่ ไป
ลักษณะเด่นของยคุ กลางตอนตน้ 1. คนส่วนใหญไ่ มค่ อ่ ยรู้หนงั สอื แตเ่ รียนรู้วชิ าการตา่ งๆ ด้วยของจริง หรอื การฝกึ ทักษะ คือ การดู การฟงั และการฝึกวิชาชพี 2. คริสต์ศาสนามีสว่ นในการสรา้ งความเป็นอนั หนึ่งอนั เดยี วกนั รวมทั้งมีอทิ ธิพลเหนือสงั คมและความเชอ่ื ของผู้คนสมัยน้ัน ทง้ั น้ี เพราะพระเปน็ กลุ่มเดียวที่รหู้ นังสอื ดงั นั้นจงึ ทาหนา้ ทีเ่ ป็นผนู้ า ทางความคดิ และเผยแพรค่ วามรู้ให้แกค่ นในสังคม
3. สถาบนั ทีม่ บี ทบาทเดน่ ในการผสมผสานและพฒั นายคุ น้ี คือ พวกอนารยชน คริสตศ์ าสนา และระบอบศกั ดินาสวามิภกั ดิ์ (Feudalism)
อนารยชน คาว่า “อนารยชน” (Barbarians) เปน็ ชอ่ื ทโ่ี รมนั ใชเ้ รียกชนเผา่ เยอรมนั ท่ีมีวฒั นธรรมดอ้ ยกว่าโรมนั และพูดภาษาละตนิ ไมไ่ ด้ โดยมี ถน่ิ ฐานเดิมอยูบ่ รเิ วณยโุ รปเหนือแถบคาบสมทุ รสแกนดิเนเวยี ทะเล เหนอื ทะเลบอลตกิ และกระจายลงมาบรเิ วณแมน่ า้ ไรน์ และ แม่นา้ ดานูบ ซึง่ กลุ่มของอนารยชนท่สี าคญั ไดแ้ ก่
1. อนารยชนเยอรมัน มแี หลง่ กาเนิดในคาบสมุทรสแกนดิเนเวยี และ ทางตอนเหนือของเยอรมนีในระหวา่ ง 2000 – 1000 B.C. ก่อนที่เร่ิมอพยพลงมาทางใต้ ตอ./ต และ ตต./ต ซึ่งแบง่ ออกเป็น 2 กลุม่ ดังนี้
1. พวกเยอรมนั ตะวนั ตก ได้อพยพลงมาทางใตเ้ ขา้ มาแทนทพี่ วก เคลต์ และเข้ามาตง้ั ถนิ่ ฐานในบริเวณลมุ่ แม่น้าไรน์ เป็นท่รี ูจ้ ักกนั ในชอ่ื “เยอรมนี” ซง่ึ เป็นชือ่ ทีช่ าวโรมันใชเ้ รียกพวกอานารยชนทกุ สาขาทเี่ ข้ามา รกุ รานกรงุ โรม
2. พวกเยอรมันตะวนั ออก /พวกกอธ แบง่ ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 2.1 พวกวิสิกอธ ได้บกุ เข้ายึดครองภาคใต้ของฝร่ังเศส และ ภาคเหนือของสเปน ตอ่ มาในปี ค.ศ. 476 ได้เข้ายึดครองกรงุ โรม และเข้า ไปต้งั ถ่ินฐาน ปกครองสเปนร่วม 300 ปี กระทงั่ ถูกพวกมวั รท์ ี่นบั ถอื อิสลามจากแอฟรกิ าเหนือเข้ายึดครองในปี ค.ศ. 711 2.2 พวกออสโตรกอธ ได้เข้าไปตง้ั ถน่ิ ฐานใน ป.อิตาลี กระทงั่ ปี ค.ศ. 554 ถูกจกั รพรรดิจสั ติเนยี นแหง่ จักรวรรดิโรมนั ตอ. ยดึ แหลม อิตาลีกลบั ไปรวมเปน็ ดินแดนจักรวรรดโิ รมัน ตอ.
2. อนารยชนเผา่ ตา่ งๆ ทเ่ี ข้ารุกรานยุโรปตะวนั ตก 1. ฮน่ั เป็นอนารยชนจากทวปี เอเชียท่ีรกุ ไลพ่ วกกอธเขา้ ไปใน จกั รวรรดิโรมัน โดยมผี นู้ าคอื อัตตลิ า 2. ลอมบาร์ด ได้เข้ารุกรานอติ าลีในปี ค.ศ. 568 โดยยดึ ภาคเหนอื ของลมุ่ แมน่ า้ โปไว้ แล้วขยายอานาจลงไปทางตอนใตข้ อง แหลมอิตาลี และก่อตัง้ แคว้นลอมบารด์ ขี น้ึ
3. แองเกลิ และแซกซัน เขา้ ตั้งถิ่นฐานในบรเิ ทน และสถาปนา อาณาจกั รของตนขึ้น โดยใหช้ อื่ ว่า “England” ปจั จบุ นั คือ ป.อังกฤษ 4. แวนเดลิ มี “ไกเซอรกิ ” เป็นผนู้ า โดยเริ่มจากการรกุ รานเขา้ ไป ในแคว้นกอล ปจั จบุ นั คือ ป.ฝรง่ั เศส และเข้าไปต้งั ถิน่ ฐานในสเปน ต่อมาถูกพวกวิสกิ อธขบั ไล่ จงึ อพยพไปตง้ั ถิ่นฐานท่แี ควน้ เบอรก์ ันดีในฝรั่งเศส
5. เบอรก์ ันเดยี น ไดส้ ถาปนาอาณาจักรกอลทางภาคใต้ ตอ่ มาคือ แคว้นเบอรก์ ันดใี นฝรง่ั เศส 6. แฟรงก์ ไดเ้ ข้ามาต้ังถน่ิ ฐานอยู่บรเิ วณฝัง่ แม่นา้ ไรน์ ประมาณ คริสตศ์ ตวรรษที่ 1 แบง่ ออกเปน็ 2 กลมุ่ คอื - ซาเลียน แฟรงก์ ต้งั ถิน่ ฐานอยทู่ างเหนือ และไดป้ กครองฝรั่งเศส - ริปัวเรียน แฟรงก์ ตั้งถิ่นฐานอย่ทู างใต้
จกั รวรรดิโรมนั ตต. ภายใตก้ ารปกครองของพวกอนารยชน มีลกั ษณะดังน้ี 1. อาณาจักรแตกแยกออกเปน็ แคว้นเลก็ แควน้ น้อย มากกว่าจะรวม เป็นจักรวรรดเิ ดยี วกัน 2. พวกอนารยชนไมส่ รา้ งเมอื งเหมือนพวกกรกี -โรมนั แต่มวี ิถชี ีวติ แบบสังคมชนบท และประกอบอาชีพ เกษตรกรรม
3. พวกอนารยชนมักทาสงครามระหว่างกันอยตู่ ลอดเวลา จึงไม่มี เวลาทีจ่ ะทานุบารงุ ศิลปวฒั นธรรม ทาใหอ้ ารยธรรมกรีก-โรมันเสอ่ื มลง 4. พวกอนารยชนไมใ่ ช้กฎหมายท่ีเป็นเหตเุ ปน็ ผล หรอื เป็นแบบแผน การตัดสินลงโทษจงึ อา้ งอิงสิ่งศักด์สิ ทิ ธ์ิ และใช้การตอ่ สู้ หรือ สาบานตน 5. เศรษฐกจิ ซบเซา โดยมลี กั ษณะเปน็ เศรษฐกิจ แบบชมุ ชนแคบๆ และใช้วธิ กี ารแลกเปลยี่ นสนิ ค้า
การสถาปนาราชอาณาจักรแฟรงก์ พวกแฟรงกเ์ ข้ามาตัง้ ถน่ิ ฐานบรเิ วณลุ่มแม่นา้ ไรน์เมื่อประมาณ ค.ศ. 300 ต่อมาไดอ้ พยพไปอยูท่ างภาคเหนือของแควน้ กอล ซึง่ ปจั จุบนั คอื ป.เบลเยี่ยม และ เนเธอแลนด์ ทง้ั นพ้ี วกแฟรงก์ถอื ว่า เป็นอนารยชนทีส่ ามารถรวบรวมดินแดน ยโุ รป ตต. ให้เป็นปึกแผ่นได้อกี คร้ังหลงั จากการ ล่มสลายของจกั รวรรดิโรมัน ตต. โดยก่อต้ัง อาณาจักรภายใตก้ ารนาของ 2 ราชวงศ์ คอื
1. อาณาจักรเมโรแวงเจยี น ผู้กอ่ ตง้ั คอื กษตั ริยโ์ คลวสิ ได้สถาปนา ราชวงศเ์ มโรแวงเจียนขน้ึ ในปี ค.ศ. 481 สิ่งทเ่ี สรมิ อานาจของ K.โคลวิส คอื การเปลี่ยนมานบั ถือศาสนาคริสต์ เพราะทรงแตง่ งานกบั เจ้าหญิงที่ เป็นครสิ เตียน ทาใหพ้ ระองคไ์ ด้รับการสนบั สนนุ ทางการเมอื งจากพระ สนั ตะปาปาและชาวพืน้ เมือง อาณาจักรนม้ี ีปารีสเปน็ เมอื งหลวง และได้ขยายอาณาเขตไปครอบครอง ฝรง่ั เศส เบลเยี่ยม เนเธอรแ์ ลนด์ และบางส่วนของ เยอรมนี ตต.
ภายหลังโคลวสิ สิน้ พระชนม์ ราชวงศ์เมโรแวงเจยี นก็ค่อยๆ เสอื่ ม อานาจลง เน่อื งจากทายาทของโคลวสิ อ่อนแอ และประเพณที ่กี ษัตริย์ แบ่งดนิ แดนใหแ้ กโ่ อรสทกุ พระองค์ ทาใหอ้ าณาจักรแตกแยก เกดิ สงครามแย่งชิงกนั เอง ทาให้กษตั รยิ ์เมโรแวงเจยี นกลายเปน็ “กษตั ริย์ท่ไี มท่ าอะไร” หรอื “กษัตรยิ ์ทข่ี เ้ี กียจ” ในทีส่ ดุ อานาจก็ตกไปอยู่กบั สมหุ ราชมณเฑยี รหรือ เจ้ากรมวงั
2. อาณาจกั รคาโรแลงเจยี น สมหุ ราชมณเฑียรที่สาคัญมี 2 คน คือ เปแปงที่ 2 และ ชารล์ มารแ์ ตล ซง่ึ มฉี ายาว่า “ขุนฆอ้ น” สามารถรบ ชนะพวกมอสเลม็ (มสุ ลมิ ) ท่เี มอื งตรู ์ ในฝร่ังเศส ซึง่ เป็นการยุติการขยาย อานาจของพวกมุสลิมเขา้ ไปในยุโรปโดยสิน้ เชงิ ในปี ค.ศ. 732 เม่ือชารล์ มารแ์ ตล สิ้นพระชนม์ พวกขนุ นางได้ สถาปนาเปแปงที่ 3 ข้ึนเปน็ ปฐมกษตั รยิ ์ของราชวงศ์คา โรแลงเจยี น ในปี ค.ศ. 752
ภายหลงั เปแปงตอ้ งการการสนับสนนุ ทางการเมอื งจากฝ่ายศาสน จกั ร ดังนนั้ พระองคจ์ ึงเอาใจสนั ตะปาปาดว้ ยการยดึ ครองอาณาจักรทาง ภาคกลางของพวกลอมบาร์ด และนาไปถวายแก่สนั ตะปาปา เรยี กวา่ “การบริจาคท่ีของเปแปง” ตอ่ มาดนิ แดนนคี้ อื “นครรัฐสันตะปาปา” ซ่งึ มีผลสาคัญคือ เปน็ การเรม่ิ อานาจทางการเมืองของสันตะปาปา ในอิตาลีท่ยี าวนานถึงปี ค.ศ. 1870
หลงั จากเปแปงสนิ้ พระชนมใ์ นปี ค.ศ. 768 ทาใหโ้ อรส คือ พระเจ้า ชาร์เลอมาญ ได้ข้ึนเปน็ กษตั รยิ ์ และทรงเปน็ K. ท่ีรงอานภุ าพมากทสี่ ดุ ของราชวงศ์คาโรแลงเจียน ในปี ค.ศ. 800 พระองค์ไดร้ บั การสวมมงกุฎจากสนั ตะปาปา ที่ 3 เพอ่ื สถาปนาใหท้ รงเป็นจกั รพรรดริ าชอาณาจกั รโรมัน อันศักดสิ์ ทิ ธ์ิ ท่ีโบสถ์เซนตป์ ีเตอรใ์ นกรุงโรง ป.อิตาลี
ซึง่ เปน็ เหตุการณ์ทแี่ สดงให้เห็นวา่ ศาสน จกั รมีอานาจเหนืออาณาจกั ร และยังถือวา่ เปน็ การร้ือฟื้นจกั รวรรดโิ รมนั ตต. ขึ้นมาใหม่ โดย จักรพรรดเิ ยอรมัน หลงั จากนน้ั ชารเ์ ลอมาญได้กลบั มาฝรั่งเศส และสถาปนาเมอื ง เอก็ ซ์ ลา ชาแปล ขึ้นเป็น เมอื งหลวงใหม่ (ปัจจบุ นั คือเมอื งอาเคน ในป.เยอรมนี)
ผลงานเด่นของจกั รพรรดชิ าร์ เลอ มาญ มีดงั น้ี 1. สามารถรวบรวมยุโรป ตต. เขา้ มาอยู่ภายใต้ การปกครองเดียวกนั อยา่ งเป็นปึกแผน่ ไดส้ าเร็จ ทา ใหไ้ ดช้ ือ่ วา่ เปน็ K. ทเ่ี ข้มแขง็ ทส่ี ุดของยโุ รป ตต. 2. มีการกาหนดรูปแบบการใช้เงินเหรียญ และ กาหนดมาตราวดั 3. มกี ารส่งเสรมิ และฟื้นฟูการศกึ ษา
4. มกี ารฟ้นื ฟศู ิลปวิทยาคาโรแลงเจยี นข้ึนมาใหม่ คือ การผสมผสาน อารยธรรมคลาสสิกกับประเพณีของอนารยชน 5. วางระเบยี บการปกครองในยโุ รปขน้ึ มาใหม่ โดยมกี ารแบง่ เขต การปกครองภายในอาณาจกั รออกเป็น “County” มีผูด้ ูแล คือ Count , “Duchy” มผี ดู้ แู ล คอื Duke , “March” มีผดู้ แู ล คอื Marquis ซงึ่ กลายเป็นจุดกาเนิดของตาแหนง่ ขนุ นางยโุ รปทย่ี ังคงใชอ้ ยู่ในปัจจุบนั และ Kingdom มีผูด้ ูแล คอื King 6. มกี ารแบง่ กฎหมายออกเปน็ หมวดหมู่
การล่มสลายของราชอาณาจกั รชารเ์ ลอมาญ ภายหลงั จักรพรรดชิ ารเ์ ลอมาญสิ้นพระชนม์ พระเจา้ หลยุ ส์ผู้ใจบุญ ซ่งึ เปน็ พระราชโอรสไดท้ รงครองบลั ลังก์ สบื มา แต่เมื่อพระองค์สิน้ พระชนม์ลงในปี ค.ศ. 840 ก็ไดเ้ กิดสงคราม กลางเมอื งขึน้ ระหวา่ งโอรสทง้ั 3 พระองค์ เพ่ือแยง่ ชิงกันปกครองดินแดน อยา่ งไรกต็ ามสงครามน้ไี ด้ยตุ ิลงดว้ ยการทาสนธิสญั ญาแวรด์ งั ในปี ค.ศ. 843 โดยจกั รวรรดิถูกแบ่งเป็น 3 สว่ น คอื
1) หลยุ เดอะเยอรมนั ได้ครอบครองดนิ แดนฝ่ัง ตอ.ของแมน่ า้ ไรน์ ปัจจบุ นั คือ ภาค ตต. และ ตอนกลางของ ป.เยอรมนี 2) ชาร์ลเดอะบอลด์ ไดค้ รอบครองดินแดนทาง ตต. ของจักรวรรดิ ปัจจุบนั อยู่ใน ป.ฝรั่งเศส 3) โลแธร์ ได้ครอบครองตอนเหนือของอิตาลี และ ภาคกลางของจกั รวรรดิ ซึง่ ตอ่ มากค็ ือ แควน้ ลอแรน
ผลของสนธิสัญญาแวรด์ งั มีดงั น้ี 1. ทาใหจ้ ักรวรรดิคาโรแลงเจยี นของจกั รพรรดชิ าร์เลอมาญต้อง แตกแยก 2. เปน็ จดุ กาเนดิ ของ ป.เยอรมนี และ ป.ฝร่งั เศส ในเวลาต่อมา 3. ดินแดนลอแรน ซงึ่ ปกครองโดยโลแธรไ์ ดก้ ลายมาเปน็ ปญั หาที่มี การแยง่ ชิงกนั ระหวา่ งฝรัง่ เศสกบั เยอรมนี
ระบอบฟวิ ดัล เมือ่ จกั รวรรดขิ องจักรพรรดิชาร์เลอมาญเสอ่ื มลง ยโุ รปได้ถกู รุกรานอีกครั้งโดยพวกแมกยารจ์ ากเอเชีย, พวกมอสเลม็ จากแอฟรกิ า เหนือ และพวกนอร์สเมน หรือท่ีร้จู ักกันในนามพวกไวกงิ้ จาก สแกนดเิ นเวีย ซ่ึงผลของการรุกรานระลอกใหม่ทาใหบ้ รรดา K. และเจา้ ผูป้ กครองนครเล็กๆ ไม่สามารถใหค้ วามค้มุ ครองแก่ผ้ทู ่อี ยู่ใตก้ าร ปกครองได้ จงึ เกิดระบบการเมืองการปกครองใหม่ คอื ระบอบ ศักดนิ าสวามิภกั ด์ิ หรอื ระบอบฟวิ ดัล ซ่ึงเรม่ิ ตน้ ข้ึนทางภาคเหนือของ ป.ฝรั่งเศสเป็นครัง้ แรกในศตวรรษที่ 10 ตอ่ มากแ็ พร่หลายไปทวั่ ดนิ แดนยโุ รป ตต.
ความหมายและที่มาของคาวา่ “ระบอบฟวิ ดลั ” ระบอบฟวิ ดลั คือ ระบบความสัมพนั ธแ์ บบพง่ึ พากนั ระหว่าง (K.) หรือขนุ นาง หรอื ผ้ทู ี่มที ่ีดนิ จานวนมาก กบั ข้า (Vassal) หรอื ผ้ใู ช้ประโยชนใ์ นท่ีดิน โดยมที ดี่ นิ เป็นพนั ธะ แหง่ ความผูกพนั และภาระหนา้ ทที่ ีม่ ีตอ่ กนั ทั้งนเี้ จ้า (K.) ตอ้ งใหค้ วามคมุ้ ครองแก่ขา้ ซง่ึ ใชป้ ระโยชน์จากที่ดนิ
ทม่ี าของระบอบฟิวดัล สาเหตทุ ที่ าใหเ้ กดิ ระบอบฟิวดลั ขน้ึ ในยุโรปช่วงศตวรรษที่ 10 มดี ังน้ี 1. ยโุ รป ตต. ถูกพวกอนารยชนจากภายนอก คอื พวกนอรส์ เมนหรือ พวกไวกิง้ เขา้ รกุ ราน 2. ค.แตกแยกของจกั วรรดคิ าโรแลงเจยี น ทาให้กษัตริย์หรือรฐั บาลกลางอ่อนแอ ประชาชน จึงตอ้ งไปขอความคุ้มครองจากขุนนางแทนกษัตริย์
3. การคา้ ซบเซาทาให้ชนช้นั กลางหมดอานาจ ขุนนางกลับขึ้นมา มีอานาจแทน 4. ชาวนามีหนสี้ นิ มากจงึ โอนที่ดนิ ใหเ้ จา้ หนี้และยอมเช่าท่ดี ินผนื นั้น เพื่อทาประโยชน์ 5. การรับเอาแบอย่างมาจากประเพณีของเยอรมัน
สงั คมศกั ดนิ าสวามภิ ักดิ์ สังคมในยุคกลางจะแบง่ ชนชัน้ โดยยึดถอื บทบาทหน้าท่เี ปน็ เกณฑ์ ประกอบดว้ ย 1. กษัตริย์ จะเป็นเจ้าของทด่ี นิ ท้งั ประเทศแตเ่ พียงพระองคเ์ ดียวโดย นิตนิ ยั แตโ่ ดยพฤตนิ ยั แลว้ กลบั ทรงได้สทิ ธปิ ระโยชน์เฉพาะส่วนเลย้ี งชพี ของพระองคเ์ ทา่ นน้ั 2. ลอร์ดหรอื เจ้า คือ ขุนนางช้ันสงู ทข่ี น้ึ ตรงตอ่ กษัตริย์ ได้รบั อนญุ าตให้ใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ แต่ต้องสาบานวา่ จะ จงรักภักดตี ่อกษตั ริย์
3. ขนุ นางช้ันรองลงมา คอื ขนุ นางชน้ั ตา่ ท่ีถอื กรรมสทิ ธิท์ ่ีดนิ ต่อจาก ขนุ นางชน้ั สงู อกี ทอดหนึ่ง 4. นกั รบ มหี น้าที่รบปอ้ งกนั ดินแดนหรือทดี่ ินของเจ้าของท่ตี นสงั กดั อยู่ สว่ นเจ้าจะตอ้ งเลย้ี งดูนักรบ โดยนกั รบที่เกง่ จะไดร้ ับการประกอบพิธี แต่งตัง้ จากเจา้ ให้เปน็ อศั วิน 5. ทาสติดทีด่ ิน คือ สามัญชนทง้ั หลายท่ีเปน็ ชาวไร่ชาวนา ซ่ึงมาอยู่ อาศยั และทามาหากินบนทดี่ นิ ผนื ใดผนื หนง่ึ มานาน ทาสตดิ ที่ดนิ ถอื เปน็ ชน ชัน้ ลา่ งสุดของสงั คม เพราะทาสชนิดนี้ไมม่ ีอสิ รภาพ ซอื้ ขายไมไ่ ด้ และเมือ่ มี การเปลีย่ นเจ้าของ ทาสติดที่ดนิ ก็ยังคงอาศัยอยู่ท่ีเดมิ โดยที่เจ้าไมส่ ามารถ ขบั ไล่ออกไปได้
หน้าทีร่ ะหว่างลอร์ดกบั วสั ซัล แบง่ ออกเปน็ 2 กรณี คือ 1. หนา้ ที่ของวัสซลั ทม่ี ตี อ่ ลอร์ด มีดังนี้ 1) การเป็นทหารช่วยรบหรือจดั กองทัพเข้าสมทบกับกองทพั ของลอร์ดใน เวลาที่มสี งคราม 2) ต้องจ่ายเงินให้แกล่ อร์ดเปน็ คา่ รบั มรดกท่ดี นิ หรือ คา่ เช่าทีด่ ิน 3) ตอ้ งเป็นเจ้าภาพเล้ยี งตอ้ นรบั เวลาลอร์ด ไปเย่ียมเยียน
4) การให้ความชว่ ยเหลือทางการเงินกบั ลอร์ดที่เรียกว่า “Aids” เชน่ - ใช้จ่ายเพ่ือจัดทัพไปทาสงครามศาสนา/สงครามครูเสด - ใช้จ่ายเพือ่ ไถต่ วั ลอร์ดเมอ่ื ถูกจับไปเป็นเชลย - ใชจ้ า่ ยเพอ่ื จา่ ยแกบ่ ุตรชายของลอรด์ เมอื่ ได้รบั การแตง่ ตั้ง เป็นอศั วนิ - ใช้จ่ายเพือ่ จา่ ยในการแต่งงานลกู สาวคนโตของลอร์ด เปน็ ตน้
2. หน้าทขี่ องลอรด์ ท่มี ตี อ่ วสั ซัล มดี ังน้ี 1) รบั ผิดชอบต่อความมั่นคงปลอดภยั ในชวี ิต ทรัพยส์ นิ และครอบครวั ของวัสซลั 2) มหี น้าท่ีตดั สนิ คดีความและจัดกระบวนการยุติธรรม ใหก้ บั วสั ซัล
การเมอื งการปกครองในระบอบฟวิ ดลั ระบอบฟิวดัลเป็นระบบที่ขุนนางท้องถ่นิ มอี านาจอย่างแทจ้ รงิ ซ่งึ เป็น การกระจายอานาจจากส่วนกลางไปยังสว่ นภูมภิ าค หรอื จากกษตั ริยไ์ ปยัง ขุนนาง ท้ังนี้พวกเสรีชนได้มอบท่ีดนิ ใหแ้ กข่ ุนนางเพ่อื ขอความคุม้ ครองแทน การขอความคุ้มครองจากกษัตริยท์ ีอ่ ่อนแอ ซงึ่ เมอ่ื ขุนนางไดร้ ับมอบกรรมสทิ ธิ์ในที่ดินแลว้ มักจะไดร้ ับมอบหมายอานาจในการปกครองด้วย
บทบาทของสตรใี นยคุ กลาง ถา้ เปน็ ภรรยาเจา้ ของปราสาท จะได้รบั การยกยอ่ งมาก และมกั จะมี อิทธิพลมากทส่ี ดุ ในปราสาท ถา้ สามีไปสงครามก็ตอ้ งดแู ลผลประโยชน์ใน ที่ดนิ แทน ถ้าสามีตายกต็ อ้ งดแู ลจัดการเรอ่ื งต่างๆ จนกว่าจะมี สามีใหม่ หรอื ขออนญุ าตต่อเจา้ นายเป็นหญงิ ม่าย รวมทง้ั ทาหน้าทีจ่ ดั การทรพั ยส์ นิ โดยมีญาติสามี เปน็ ผชู้ ว่ ย
ลทั ธิวรี คติ เป็นแนวทางการประพฤติปฏิบัติของขุนนางหรอื ชนช้นั สูงทีเ่ กดิ ขนึ้ ใน ช่วงเวลาเจริญเตบิ โตสูงสดุ ของระบอบฟิวดัล ในศตวรรษท่ี 11 มกี ารเนน้ ถึง คณุ ธรรมของนักรบหรอื อศั วนิ ได้แก่ ความกลา้ หาญ ความซ่อื สตั ย์ และ ความจงรกั ภกั ดตี ่อลอร์ด นอกจากน้ลี ทั ธิวรี คตยิ งั เกี่ยวข้องกบั เร่ืองสาคัญ 3 เรอ่ื ง ไดแ้ ก่ สงคราม ศาสนา และสตรี กล่าวคือ อัศวนิ ต้องกลา้ หาญ ในสงคราม ให้การค้มุ ครองพทิ กั ษ์ศาสนา และสภุ าพอ่อนโยน ให้เกยี รติสภุ าพสตรี
บทบาทสาคัญของศาสนา ศาสนามีบทบาทเก่ยี วขอ้ งกับระบอบฟิวดลั เพราะการรบั มรดกของ K. นัน้ บุตรชายคนโตจะไดร้ บั เพยี งคนเดียว ทาใหบ้ ตุ รชายคนรอง ต้องหา ผลประโยชน์ทางอนื่ บางคนออกบวชและหาผลประโยชนจ์ ากการจัดทาท่ี ธรณีสงฆ์ ซึ่งมีผูถ้ วายผลประโยชน์แกว่ ัดมากมาย ทาให้พระกลายเปน็ ข้า ของขุนนางเจ้าของทด่ี ิน และเปน็ เจ้าของชาวนาผูท้ ่ีเช่าทาประโยชนใ์ นทด่ี ิน ในยุคกลางมกั มสี งครามแย่งสิทธิในทีด่ นิ อยเู่ สมอ โดยเฉพาะระหวา่ ง ขนุ นางด้วยกัน ดงั นัน้ สันตะปาปาจงึ ทรงประกาศใหม้ กี ารหยุดพักรบเปน็ การชว่ั คราว ได้แก่
1. ประกาศสันตสิ ขุ แหง่ พระผ้เู ป็นเจา้ คอื ให้การพทิ กั ษ์แกบ่ คุ คลและ สถานทบ่ี างแหง่ ยามท่มี ีสงคราม เชน่ โบสถ์ สานักชี เป็นตน้ 2. ประกาศระยะพกั รบเพอื่ พระผู้เปน็ เจ้า คอื การห้ามทาการรบ ตั้งแตพ่ ระอาทติ ยต์ กดินในวันพธุ ไปจนถงึ พระอาทติ ยข์ ึ้นในเช้าวนั จันทร์ รวมทั้งในวันเทศกาลสาคญั ทางศาสนาด้วย เช่น ครสิ ตม์ าส อสี เตอร์ เป็นต้น
การลงโทษทางศาสนา มาตรการสาคญั ทศี่ าสนจักรใช้ลงโทษผ้ทู ่ีไมป่ ฏิบัติตามคาสอนทาง ศาสนา มดี งั น้ี 1. การบัพพาชนียกรรม คอื การประกาศขบั ไล่บุคคลสาคญั เช่น กษัตริย์ หรือ นกั คิดคนสาคญั ให้เปน็ พวกนอกศาสนาหรอื พวกนอกรีต โดยไม่ให้ศาสนกิ ชนอน่ื เข้ามาคบหาดว้ ย และไม่อนญุ าต ให้ประกอบพธิ กี รรมทางศาสนาใดๆ
2. การอินเทอร์ดคิ คือ การประกาศว่าดนิ แดนใดดินแดนหนึ่ง เปน็ ดนิ แดนนอกศาสนา ห้ามประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และบางกรณี ตดั กลมุ่ ชนออกจากศาสนา ซึง่ ถอื วา่ เป็นการลงโทษท่รี นุ แรงทส่ี ุด ส่งผลให้ คนเกรงกลัว เช่ือฟังศาสนา และทาใหศ้ าสนาคริสต์ มั่นคงเปน็ ปกึ แผ่นอยู่ในยุคกลาง
การตัดสินคดแี ละการทาสงคราม การตดั สนิ คดใี นสมัยฟิวดัล จะกระทาโดยใชว้ ิธีการหนึง่ วธิ ีการใด ตอ่ ไปนี้ ไดแ้ ก่ การใหค้ ูพ่ พิ าทต่อส้กู นั เพ่อื ตดั สนิ ว่าใครแพ้หรอื ชนะ การ สืบพยานหรอื การปฏญิ าณตน และการพสิ จู นค์ วามบรสิ ุทธ์ิ โดยให้ลุยไฟ หรือหยบิ ก้อนหินร้อนๆ สงครามจะเกิดข้ึนเป็นปกตวิ สิ ยั ของสมยั กลาง บางคร้ังก็เป็นการต่อสู้ ระหวา่ งสองอาณาจกั ร หรอื กษตั ริย์ตอ้ งการลดอานาจ และปราบวสั ซลั ที่ทรยศ สงครามส่วนใหญจ่ ะเป็น สงครามเฉพาะคู่กรณี คือ ฟิวดลั ลอร์ด หรอื ระหว่าง ลอร์ดกับวสั ซลั เท่าน้ัน
ระบบแมเนอร/์ ระบบคฤหาสน์ ระบบแมนเนอรเ์ ป็นระบบเศรษฐกจิ ที่เกดิ ขนึ้ พร้อมกบั การปกครอง แบบฟิวดลั และถอื เป็นหน่วยเศรษฐกิจยุคกลาง ซึง่ สภาพทว่ั ไปของแม เนอร์ จะประกอบด้วย คฤหาสน์/ปราสาทของลอรด์ เป็นจดุ ศนู ย์กลาง ล้อมรอบดว้ ยกระทอ่ มของชาวนารวมกนั เป็นหมบู่ า้ น สว่ นรอบนอกหม่บู า้ น เป็นทงุ่ โลง่ สาหรบั การเกษตร ทงุ่ หญ้า และป่าไม้ นอกจากนย้ี งั เปน็ ระบบเศรษฐกิจแบบพง่ึ ตนเอง ซ่ึงมกี ารทา การเกษตรเปน็ หลัก ในแต่ละแมเนอรจ์ ะมีเนอ้ื ทอี่ ยา่ งนอ้ ยทีส่ ุด ตัง้ แต่ 300 เอเคอร์ขึ้นไปจนถึงพันๆ เอเคอร์
ลกั ษณะของการทาเกษตรในระบบแมเนอร์ มี 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) ระบบไรน่ า 3 แปลง คือ การแบง่ ที่ดินไรน่ าออกเป็น 3 แปลง โดยใชเ้ พาะปลูกพืชหมุนเวียน เพยี งคราวละ 2 แปลง ส่วนอกี แปลงหนง่ึ จะ ปลอ่ ยทงิ้ ไว้เพอ่ื ให้ดินฟนื้ ตวั 2) ระบบไรน่ าเปดิ โล่ง คือ การเพาะปลูกทีไ่ ม่มีร้วั กน้ั อาจมเี พียงคันดิน กองดิน หรือพมุ่ ไม้เรียงรายเปน็ แนวเขตเสมอื นเป็นร้ัว
ความเส่ือมของระบอบฟวิ ดลั ระบอบฟวิ ดลั เสื่อมลงภายหลงั คริสตศ์ ตวรรษท่ี 15 เนอ่ื งจาก K. เร่ิมมีอานาจมากขน้ึ จึงทาการรวมอานาจการปกครองเขา้ สู่ส่วนกลาง ปกครองในระบอบสมบรู ณาญาสิทธริ าชย์ และสามารถรวบรวมดนิ แดน เข้าเปน็ รฐั ชาติ ได้สาเร็จ นอกจากนย้ี ังมปี ัจจัยอืน่ ท่ที าใหร้ ะบอบฟวิ ดลั เสือ่ มลง ดงั น้ี 1. ขุนนางตายไปจานวนมาก เนอ่ื งจากไปรบในสงคราม ครเู สด ทาให้ K. มีอานาจมากขนึ้ เรอ่ื ยๆ
2. ความเจริญทางการค้า สง่ ผลให้ระบบแมเนอรเ์ ส่ือมลง ทาให้เกดิ เมืองใหมๆ่ และทาให้พ่อคา้ ที่ร่ารวยใหก้ ารสนบั สนุนอานาจทางการเมอื ง แก่ K. 3. ความสาเร็จในการผลติ กระสนุ ดนิ ปนื ทาใหอ้ ศั วินสวมเกราะและ ป้อมปราการหมดความหมาย 4. การเกดิ โรคระบาดในศตวรรษที่ 14 คอื กาฬโรค ทาให้ประชากรลดลง พวกทาสตดิ ที่ดิน จงึ หางานทาได้งา่ ยขน้ึ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162