เอกสารอา้ งอิง บรษิ ทั ยนู ลิ เี วอร์ ประเทศไทย. 2563. ยูนลิ เี วอรป์ ระกาศแผนเพือ่ ตอ่ สกู้ ับการเปลย่ี นแปลงทาง สภาพภมู ิอากาศ. แหล่งทม่ี า: https://www.unilever.co.th/news/news-and-features/2020/ unilever-sets-out-new-actions-to-fight-climate-change.html, กนั ยายน 2563. บริษัท เอสซจี ี เคมิคอลส์ จำ�กัด. 2561. เศรษฐกจิ หมุนเวียน ตอนท่ี 2 – ตัวอยา่ งธรุ กิจและ อตุ สาหกรรมทีก่ �ำ ลังสรา้ งการเปล่ียนแปลง. แหลม่ ที่มา: https://www.allaroundplastics.com/ article/sustainability/2069, กันยายน 2563. ปางอุบล อำ�นวยสทิ ธ.์ิ 2560. Circular Economy: พลกิ วิกฤติทรัพยากรด้วยระบบเศรษฐกจิ ใหม.่ แหล่งทม่ี า: https://www.scbeic.com/th/detail/product/3831, กนั ยายน 2563. สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมส่งิ ทอ. 2562. เศรษฐกิจหมนุ เวียนกับอตุ สาหกรรมสิ่งทอไทย. แหลง่ ทม่ี า: https://www.thaitextile.org/th/insign/downloadcmssrc.preview.212.html, กันยายน 2563. สำ�นักงานท่ีปรกึ ษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจ�ำ สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบรสั เซลส์. 2557. “นโยบายระบบเศรษฐกจิ แบบหมนุ เวียน. รายงานผลการศกึ ษาวิเคราะหข์ อ้ มูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยโุ รปประกอบขอ้ เสนอแนะนโยบาย ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม ของประเทศไทย, สำ�นกั งานทีป่ รกึ ษาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ประจ�ำ สถานเอกอัครราชทตู ณ กรุง บรสั เซลส. สำ�นกั งานมาตรฐานผลติ ภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม. 2562. แนวทางการใชห้ ลกั เศรษฐกิจหมนุ เวยี นใน องคก์ ร. สำ�นกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม, กรุงเทพมหานคร. ส�ำ นกั งานสภานโยบายการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) 2562. ข้อเสนอ BCG in Action : The New Sustainable Growth Engine (Bio-Circular-Green Economy) โมเดลเศรษฐกจิ ส่กู ารพฒั นาทีย่ ่งั ยืน. ส�ำ นักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมแห่งชาต,ิ กรงุ เทพมหานคร. ไทยพบั ลิก้า. 2561. Circular Economy: the Future We Create เรยี นรูป้ ระสบการณ์ ระดบั โลก. แหล่งทมี่ า: https://thaipublica.org/2018/07/scg-circular-economy-the-fu- ture-we-create/, กันยายน 2563. MASCI. 2563. ไอเอสโอพฒั นามาตรฐานเพอื่ เศรษฐกจิ หมุนเวียน. แหลง่ ท่ีมา: https://www. masci.or.th/iso-and-circular-economy/, กนั ยายน 2563. WBCSD. 2017. BUSINESS MODEL. แหลง่ ทมี่ า: http://docs.wbcsd.org/2017/CE/Cas- eStudy_mjunction.pdf, กนั ยายน 2563. 101
บทที่ 8 โมเดลธุรกิจหมุนเวียน (Circular Business Model) 102
วิชาโมเดลธุรกิจหมุนเวียน (Circular Business Model) เป็นการอธิบายให้นักศึกษา ได้เข้าใจ พน้ื ฐาน และองคป์ ระกอบ ของ Business Model เบอ้ื งตน้ เพอื่ ทจ่ี ะเชอ่ื มโยงกบั แนวทางทภี่ าคธรุ กจิ เลอื ก น�ำไปประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติ รวมท้ังยกตัวอย่างในชีวิตจริงให้นักศึกษาเกิดความรู้สึกอยากที่จะเรียนรู้ เพ่ิมเติม และอยากใช้ศักยภาพของวิชาชีพท่ีตนเองเรียน มาสร้างโอกาสให้กับธุรกิจหมุนเวียน (Circular Business) ในอนาคต หลังจากเริ่มต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรมหลังสงครามโลก เกิดการลดลงของทรัพยากร อันเน่ืองมา จากพฒั นาการในการดำ� รงชวี ติ ของมนษุ ยท์ ม่ี กี ารผลติ สง่ิ ของและใชบ้ รกิ ารเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ อยา่ งตอ่ เนื่อง โดยใช้วิธีน�ำทรัพยากรใหม่ข้ึนมาเป็นวัตถุดิบเพ่ิมข้ึนตามแรงผลักดันของการขยายตัวของประชากร และความต้องการใช้สินคา้ และบรกิ ารต่อหัวท่ีสงู ขน้ึ ส่วนของวัสดสุ นิ คา้ ทถี่ ูกใช้ไปแลว้ ยังมสี ัดสว่ นในการ จัดการให้เกิดการวนกลับมาใชใ้ หมไ่ มถ่ ึงสิบเปอรเ์ ซน็ ต์ ซ่ึงนับวา่ น้อยมาก ถา้ เรายงั ปลอ่ ยใหอ้ ตั ราการใชท้ รพั ยากรยงั คงเปน็ อยอู่ ยา่ งน้ี ในอนาคตอนั ใกล้ เราอาจจะไมเ่ หลอื ทรพั ยากร เพียงพอกับความต้องการที่จะใช้สำ� หรับคนรุ่นใหม่ในอนาคต และจะเป็นเหตุให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจและ สังคมตามมา 103
เพอ่ื ใหก้ จิ กรรมในการเลอื กใชท้ รพั ยากรมปี ระสทิ ธภิ าพ และเพยี งพอใหก้ บั คนรนุ่ ถดั ไป เราจำ� เปน็ ท่ี จะตอ้ งสรา้ งกลไกทยี่ ง่ั ยนื ในการขบั ดนั กระบวนการนำ� ทรพั ยากรกลบั มาใชใ้ หม่ ในรปู แบบตา่ งๆใหม้ จี ำ� นวน มากพอ และมแี รงจงู ใจใหก้ บั ผปู้ ระกอบการ รวมทงั้ ผทู้ ม่ี สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง ยนิ ดที จ่ี ะทำ� หนา้ ทแี่ ละมสี ว่ นรว่ มใน กระบวนการ ทงั้ น้ี โมเดลธรุ กจิ หมนุ เวยี น จะเปน็ เครอ่ื งมอื ชว่ ยใหผ้ ปู้ ระกอบการ หรอื ผทู้ มี่ สี ว่ นรว่ ม สามารถ สรา้ งให้เกิดกลไกท่คี รบถ้วน สามารถประยกุ ตใ์ ชใ้ นธรุ กจิ ได้อยา่ งต่อเนอ่ื ง แนวทางของทางเลือกต่างๆที่เก่ียวข้องกับธุรกิจหมุนเวียน เพ่ือความย่ังยืนด้านส่ิงแวดล้อม ได้แก่ การรีไซเคิล, การใช้พลังงานสะอาด, การปรับเปล่ียนโครงสร้างต้นทุนที่สามารถควบคุมจากภายใน และ การลดปญั หามลพิษหรืออันตรายจากผลผลิต ซง่ึ ผ้ปู ระกอบการสามารถเลอื กท่จี ะท�ำหวั ข้อใดๆ ตามความ เหมาะสม ตามศักยภาพและบุคลากรทีอ่ งคก์ รนนั้ มอี ยู่ เพื่อท�ำความเขา้ ใจเบื้องต้น นักศึกษาสามารถเขา้ ถึงความรทู้ ่เี ก่ียวขอ้ งได้ดงั น้ี 1. พัฒนาการของการใช้ โมเดลธุรกิจ ในดา้ นทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั สิ่งแวดลอ้ ม 2. Business Model (โมเดลธุรกิจ) หลกั การ ในการชว่ ยให้พิจารณาภาพรวมได้ครบถ้วน 3. Business Model Canvas (แผนผังโมเดลธุรกิจ) เครื่องมือ ที่ช่วยให้การพิจารณา มีระบบ และแบบแผน 4. Value Proposition Canvas (แผนผังคุณค่าการส่งมอบสินค้าและบริการ) เครื่องมือ ท่ีเป็น หวั ข้อหลักในการพิจารณาแรงขบั เคล่อื นของกระบวนการ 104
พัฒนาการของการประยุกต์ใช้โมเดลธุรกิจ เริ่มต้นจากการหาวิธีประกอบกิจการท่ีให้ผลก�ำไรที่ดี โดดเด่น เป็นผู้น�ำทางธุรกิจ ซึ่งต่อมาพบว่า ถ้าไม่ค�ำนึงถึงความยั่งยืน โมเดลธุรกิจที่ได้ อาจไม่ตอบโจทย์ ของความอย่รู อดในระยะยาวได้ จึงต้องปรับโมเดลธุรกจิ โดยให้ความส�ำคญั กับคณุ ค่าระยะยาว และใชก้ าร บรหิ ารเชงิ รกุ เพอ่ื จะไดแ้ นวทางการทำ� ธรุ กจิ ทยี่ งั่ ยนื ตอ่ จากนน้ั เมอ่ื คำ� นงึ ถงึ การทำ� ธรุ กจิ ตอ่ เนอื่ งระยะยาว ในภาวะท่กี ำ� ลงั จะเกิดความขาดแคลนปจั จัยหลกั ดา้ นทรัพยากรในอนาคต ท�ำให้เกดิ ความจำ� เปน็ ทีจ่ ะตอ้ ง ควบคมุ ให้การใช้ทรพั ยากรมีประสิทธภิ าพสงู สดุ ไมว่ ่าจะดว้ ยการลด สร้างวัฏจกั ร หมนุ เวียนทรัพยากรให้ ช้าลง เพิ่มความเข้มขน้ ในการหมุนเวยี น และลดความหลากหลายของทรัพยากรที่ใช้ จนได้แนวทางท่เี ป็น รปู แบบของเศรษฐกิจหมนุ เวยี น ทีส่ รา้ งความยั่งยนื อยา่ งแท้จรงิ โมเดลธุรกจิ หมนุ เวยี น เป็นวิธกี ารดำ� เนินธุรกจิ ท่เี ก่ียวข้องกับการหมนุ เวยี นทรัพยากร ชว่ ยใหธ้ รุ กจิ อยู่รอดได้ มีผลก�ำไรตามควร โดยสอดรับกับยุทธศาสตร์ขององค์กร ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการสร้างมูลค่า เพิ่ม การใชท้ รพั ยากรอย่างมีประสทิ ธิภาพ โดยใหม้ ูลคา่ ทางเศรษฐกจิ ต่อคุณสมบตั ทิ ีด่ ีต่อสิง่ แวดล้อมซึ่งฝัง อยใู่ นสินค้าและบริการ การสร้างโมเดลธุรกิจดังกล่าว สามารถใช้เครื่องมือท่ีเรียกว่า Business Model Canvas เป็น แนวทางในการพิจารณาภาพรวมของมิติต่างๆทางธุรกิจ โดยมีการค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมผ่านกิจกรรมของ การใชท้ รัพยากรอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพสงู สุด เทา่ ทจ่ี ะทำ� ได้ 105
โมเดลธรุ กจิ หมนุ เวยี น เป็นการประยุกตใ์ ชโ้ มเดลธุรกจิ กบั เรอ่ื งของเศรษฐกจิ หมนุ เวียน เพือ่ สร้าง ใหธ้ ุรกจิ เกดิ มูลคา่ เพ่มิ ด้วยการใชเ้ คร่อื งมอื ท่ีเรียกว่า แผนผงั โมเดลธรุ กิจ (Business Model Canvas) ช่วย ในการพจิ ารณากรอบความคิดในมิตทิ ส่ี �ำคญั ต่างๆ ดังนี้ 1. คณุ คา่ ทีส่ ่งมอบผลิตภณั ฑ์และบรกิ าร (Value Proposition) 2. วธิ กี ารสง่ มอบคณุ ค่าของสนิ คา้ และบริการ 3. รปู แบบของรายได้ ทจี่ ะตอ้ งเช่อื มโยงกบั การส่งมอบคณุ ค่าของสินค้าและบริการทก่ี ำ� หนดไว้ โดยเงื่อนไขส�ำคัญท่ีจะท�ำให้กรอบความคิดข้างต้นประสบความส�ำเร็จ จะต้องมีองค์ประกอบการ ใช้ทรพั ยากรอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ซ่งึ ใชห้ ลักของเศรษฐกิจหมุนเวียนในรปู แบบต่างๆที่ไดก้ ลา่ วมาแลว้ เช่น การลด, การหมุนเวียนวัตถุดิบ, การใช้พลังงานสะอาด, ฯลฯ และสร้างผลประกอบการของธุรกิจให้มีผล กำ� ไรทีด่ ี ไมเ่ ป็นปัญหากับส่ิงแวดลอ้ ม และท�ำใหส้ งั คมอย่รู ว่ มกนั อยา่ งมีความสุข 106
Business Model Canvas ล�ำดับของการพิจารณาการพิจารณาใส่เนื้อหาในตาราง โดยมากจะเร่ิมจากการก�ำหนดกลุ่มลูกค้า จากนัน้ กจ็ ะใช้ Value Proposition Canvas มาช่วยก�ำหนดตัวสนิ คา้ และบริการ ตามมาดว้ ยการแยกทีม งานท่ีเป็นฝ่ายขายและขนส่ง ให้พิจารณาเร่ืองการเลือกช่องทางการส่งมอบสินค้าและบริการ รวมท้ังการ จัดการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าเพื่อขยายฐานลูกค้าและรับข้อมูลความพึงพอใจหรือข้อปรับปรุงที่เป็น มมุ มองจากลูกคา้ สว่ นฝา่ ยผลติ และบญั ชี จะกำ� หนดกจิ กรรมหลกั รวมทงั้ กำ� หนดทรพั ยากรทตี่ อ้ งการ เพอ่ื ทำ� ใหส้ นิ คา้ และบริการทก่ี �ำหนด เกิดขึ้นได้อยา่ งมีคณุ ภาพและมีตน้ ทุนที่เหมาะสม จากนั้นทุกฝ่าย จะมารวมกันก�ำหนดรูปแบบของรายได้ และพันธมิตรหลัก ท่ีจะช่วยผลักดันให้เกิดธุรกิจ และทดลองประเมนิ ความเปน็ ไปไดข้ องธรุ กจิ โดยมกี ารปรับแกไ้ ขข้อมลู ต่างๆระหว่างพจิ ารณา จนไดผ้ ลที่ น่าพอใจ เพ่อื น�ำไปตดั สินใจดำ� เนนิ การจรงิ ต่อไป Value Proposition Canvas (แผนผงั คุณคา่ การสง่ มอบสินคา้ และบริการ) การกำ� หนดสนิ คา้ และบรกิ าร เปน็ ขนั้ ตอนทส่ี ำ� คญั มาก และใชท้ มี งานทรี่ บั ผดิ ชอบในการทำ� งาน จะ ตอ้ งมกี ารออกไปหาข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ พดู คยุ หรือแมแ้ ตท่ �ำการวจิ ัยตลาด โดยมุง่ เน้นที่จะหาวา่ สิ่ง ใดทธ่ี รุ กิจจะช่วยให้ภารกิจของลูกคา้ ประสบผลส�ำเรจ็ ไมว่ า่ จะเปน็ การแกป้ ัญหาท่ีลกู คา้ ประสบอยู่ หรือ ท�ำให้เกิดผลประโยชน์ส่วนเพ่ิม จากการใช้สินค้าและบริการของธุรกิจที่ก�ำลังพิจารณาอยู่นี้ โดยเช่ือมโยง กบั ความสามารถและทรัพยากรขององค์กร ในการจดั การสรา้ งธุรกจิ ใหม่ท่กี �ำลงั พิจารณา 107
เพอื่ ขยายความแนวคดิ ทวั่ ๆไปทมี่ หี ลายธรุ กจิ เลอื กใชส้ รา้ งโมเดลธรุ กจิ หมนุ เวยี น โดยพจิ ารณาจาก ความสามารถขององคก์ ร และทรพั ยากรทมี่ อี ยู่ วา่ เหมาะทจี่ ะใชห้ วั ขอ้ ใดเปน็ ตวั ขบั ดนั ธรุ กจิ ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ซึ่งอาจเลือกใช้หนง่ึ หรอื หลายโมเดลกไ็ ดข้ ึน้ อยกู่ ับทีมงานทพ่ี ิจารณา ตวั อย่างของธุรกิจที่เป็นท่รี จู้ กั กันในปจั จบุ ัน สามารถเป็นตัวแทนของแนวคดิ การประยุกต์ใช้โมเดล ธุรกจิ กับเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นได้ ส�ำหรับตัวอย่างใน Slide น้ี ใช้แนวคดิ ที่เปน็ Keyword ดังนี้ Regenerate, Share, Optimise, Loop, Virtualise, Exchange 108
ตวั อยา่ งนี้ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ถา้ ตอ้ งการตอ่ ยอดโมเดลธรุ กจิ เบยี รแ์ บบเดมิ ทมี่ เี ฉพาะกจิ กรรมการผลติ เบียร์โดยอาจไม่ใชน้ ำ้� เสยี หรือกากวตั ถดุ บิ ไปใช้งานตอ่ เมอ่ื ปรับโมเดลธุรกจิ ใหเ้ ป็น Circular Business Model กส็ ามารถท�ำได้ และชว่ ยขยายธุรกิจออก ไปมากมาย เปน็ การปลกู เห็ด การทำ� ปยุ๋ การเลยี้ งบอ่ ปลา และการท�ำเชอ้ื เพลงิ ได้ โดยใชข้ องเสียจากการ ผลติ เบียร์ มาทำ� ประโยชนต์ ่อเน่อื งได้ ในธุรกจิ เสอ้ื ผา้ เพอ่ื สงิ่ แวดลอ้ ม กม็ ีตวั อย่างของการผลิตชุดนกั เรยี นซง่ึ อยใู่ นวัยทเ่ี ตบิ โตเร็ว ชุดอาจ มีสภาพดีแต่ขนาดอาจจะเล็กไปเมื่อใช้ได้ไม่นานนัก ก็สามารถน�ำชุดนักเรียนใช้แล้วนั้น มาแก้ไขปรับปรุง แลว้ คุมคุณภาพ หรอื น�ำไปเปลย่ี นสภาพกลับไปเปน็ เส้นใย โดยทผ่ี ้ทู น่ี ำ� ชดุ นกั เรียนนน้ั ไปส่งที่ร้าน จะได้รับ ผลตอบแทนที่นา่ จงู ใจ ตัวอยา่ งการประยุกต์ใช้งาน Circular Business Model ในธรุ กจิ จรงิ (มีวีดโิ อประกอบ) 109
Moreloop เม่อื ขยะ ไมใ่ ชข่ ยะ เมอื่ ขยะไมใ่ ชข่ ยะ แตค่ อื แหลง่ ทรพั ยากร ปจั จบุ นั ทว่ั โลกผลติ ขยะรวมกนั ปลี ะกวา่ 2.12 พนั ลา้ นตนั แตท่ ำ� ไม มมุ มองทีม่ ีตอ่ ขยะของหนุ่มสาวค่นู จ้ี งึ ไมเ่ หมอื นใคร ยง่ิ ไป กวา่ นนั้ พวกเขายงั สรา้ งธรุ กจิ แนวคดิ ใหมท่ ม่ี สี ว่ นชว่ ย ไมใ่ ห้ โลกแบกรับภาระจากขยะที่นับวันจะมากข้ึน มารู้จัก Moreloop สตาร์ทอัพ ท่ีเร่ิมต้นจากค�ำว่า เศรษฐกิจ หมุนเวียน (Circular Economy) ที่มองว่า ‘ขยะไม่ใช่ขยะ’ และยังหมุนวียนไปสู่ผู้บริโภคได้อย่างคุ้มค่า กับ อมรพล หุวะนันทน์ และ รมลวรรณ วโิ รจน์ชัยยนั ต์ ผู้ร่วมกอ่ ต้งั Moreloop แพลตฟอรม์ รวบรวมเศษ ผ้าเหลือใชจ้ ากโรงงาน ที่จะให้ทกุ คนเขา้ ถงึ ทรพั ยากรได้อย่างคมุ้ ค่า ขยะเป็นแค่ความเหน็ หลุมฝงั กลบขยะ ถา้ เราแยกมนั ออก 100% มนั กค็ ือตลาดขายวัตถุดบิ ดีๆ น่ีเอง อมรพล หวะนันทน์ ธมลวรรณ วิโรจนช์ ัยยนั ต์ Up Cycling ขวดพลาสตกิ ทำ� เสอ้ื ผ้าได!้ แปรรูปเปน็ จีวร ลดขยะในชุมชน ตวั อยา่ งน้ี เปน็ ความรว่ มมอื ของพระสงฆ,์ สมาชกิ ชมุ ชน รว่ มกบั เอกชน ในการหาทางใชข้ วดพลาสตกิ ทีใ่ ช้ แล้วมาแปรรูปให้เป็นจีวร ด้วยความคิดที่จะแก้ปัญหา ขยะพลาสตกิ ไปพรอ้ มๆกบั สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ชมุ ขนใหเ้ กดิ ความแข็งแกร่งขน้ึ โยมคนนน้ั เลา่ ว่าพลาสติก 12 ใบ พระมหาประนอม รมมาลังกาโร ทำ� ได้เสอ้ื ยืด 1 ตวั อาตมาเลยคดิ ว่า ถ้าพลาสตกิ เอามา ท�ำเสอ้ื ยดื ได้ กต็ อ้ งท�ำจีวรได้สิ 110
Precious Plastic Bangkok พลาสติกคอื ทรัพยากรท่มี คี ณุ ค่า พลาสติกคือทรัพยากรท่ีมีคุณค่าสามารถใช้ซ�้ำ และรีไชเคิลได้ “คุณคิดว่าพลาสติกสามารถรีไซเคิลเป็น สนิ คา้ และสรา้ งมลู คา่ อะไรไดอ้ กี บา้ ง?” นคี่ อื สงิ่ ท่ี ดอมนิ กิ ภูวสวัสด์ิ จักรพงษ์ ไดเร็กเตอร์ของ Precious Plastic Bangkok องค์กรท่ีเคลื่อนไหวเร่ืองการรีไซเคิลพลาสติก ในระดับโลก ก�ำลังพยายามเปล่ียนแปลงความคิดของ คนไทยท่ีมตี อ่ พลาสตกิ ในเวลาน้ี เพราะการใชซ้ �ำ้ อย่างรู้คุณคา่ และรไี ซเคลิ กลับมาใชใ้ หม่ จะสามารถท�ำให้ เกดิ ความยง่ั ยืนได้ ดอมินกิ ภูวสวัสดิ์ จักรพงษ์ We can change people’s perception of plastic. Plastic doesn’t necessarily have to be trash. It’s actually incredibly valuable, too precious to be thrown away. ZeroMoment คิดเล็กๆ แต่เอฟเฟกตใ์ หญ่ ซูเปอร์มาร์เก็ต รูปแบบใหม่ ท่ีไม่ใช่แค่งดแจก ถุงพลาสติกเพ่ือลดขยะ แต่ต้องการจุดประกายแนวคิด หมุนเวียนภาชนะและบรรจุภัณฑ์ กลับมาใช้ให้คุ้ม ค่า น่ีคือความตั้งใจของ เม่ียว ฤดีชนก จงเสถียร คน ตัวเล็กๆ กับธุรกิจรักษ์โลก ZeroMoment Refillery ที่อยากมีส่วนร่วมในการปรับพฤติกรรม ให้ทุกคน “คดิ ก่อนใช้” ทไ่ี มย่ ากเกนิ ความพยายาม เราแคป่ รบั เปลีย่ นพฤตกิ รรม เพียงนิดเดียวเทา่ นนั้ ไมไ่ ด้ล�ำบากเหมอื นการเปลีย่ นอย่างอืน่ ๆ แคค่ วา้ ภาชนะออกมาด้วย ฤดีชนก จงเสถียร 111
How Michelin used business model innovation to create profitable sustainability outcomes The EFFITIRES contract proposes a price per kilometer to the carrier, after carrying out a personalized audit of the fleet. In the event that the contractual profits are not obtained, MICHELIN solutions undertakes to reimburse, on a pro rata basis, the unrealized benefits. The carrier must equip 70% of its fleet with a telematic installation and mount high energy efficient Michelin tires on these vehicles. 112
We’ve cracked the tricky problem of recycling black plastic bottles. Untilnow,black plastic bottles have been impossible to mechanically detect and sort for recycling. But we’ve developed a way of doing it. And we’re making the technology and ap- proach available to everybody. 113
SEAL Circular Economy Business Model ตวั อยา่ งเหลา่ นเี้ ปน็ บทเรยี นซง่ึ ไมไ่ ดก้ ลา่ วถงึ รายละเอยี ดของกระบวนการทำ� โมเดลธรุ กจิ แตเ่ ปน็ การ แสดงใหเ้ หน็ ถึงแรงบันดาลใจ และความมงุ่ มนั่ ของผู้ประกอบการ ทจ่ี ะผลักดันใหเ้ กิดธุรกิจซงึ่ มีพน้ื ฐานจาก เศรษฐกิจหมนุ เวียนท่ไี ด้กล่าวมาในบทเรยี นข้างตน้ นี้ 114
เอกสารอ้างอิง Circular Business Models : Defining a Concept and Framing an Emerging Research Field, By Julia L. K. Nußholz, October 2017 Organising for the Circular Economy, A workbook for developing Circular Business Models, By Jan Jonker, Ivo Kothman, Niels Faber, Naomi Montenegro Navarro, 2018 เอกสารประกอบการอา่ นเพ่มิ เติม Business Model Generation : A Handbook for Visionaries, Game Changers, and Challengers, by Alexander Osterwalder , Yves Pigneur, 2010 Business Model Generation Workbook สร้างโมเดลธรุ กจิ ...ง่ายนิดเดียว, By Miki Imazu, แปลโดย โยซุเกะ, 2561 115
บทที่ 9 นวัตกรรมประยุกต์ใช้การคิดเชิงออกแบบ ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Design Thinking for Circular Business) 116
วิชาการคดิ เชงิ ออกแบบส�ำหรับเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น (Design Thinking for Circular Business) เปน็ การอธบิ ายใหน้ กั ศึกษา ได้เข้าใจพ้ืนฐาน และองค์ประกอบ ของกระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบ เบื้องตน้ เพอ่ื ทจี่ ะเชอื่ มโยงกบั แนวทางทภ่ี าคธรุ กจิ เลอื กนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นทางปฏบิ ตั ิ รวมทงั้ ยกตวั อยา่ งในชวี ติ จรงิ ใหน้ กั ศกึ ษาเกดิ ความรสู้ กึ อยากทจี่ ะเรยี นรเู้ พม่ิ เตมิ และอยากใชศ้ กั ยภาพของวชิ าชพี ทตี่ นเองเรยี น มาสรา้ ง โอกาสใหก้ บั ธรุ กิจหมนุ เวียน (Circular Business) ในอนาคต ในอดีตเมื่อองค์กรใดต้องการที่จะสร้างนวัตกรรมไม่ว่าจะเป็นการออกแบบสินค้า หรือบริการใดๆ เราจะนกึ ถงึ การทจ่ี ะตอ้ งมบี คุ คลพเิ ศษ ทมี่ แี นวคดิ แตกตา่ งกบั บคุ คลทวั่ ไป และมคี วามเกง่ กาจทหี่ าคนเทยี บ ดว้ ยได้ยาก เป็นผ้คู ิดค้นนวัตกรรมใหมๆ่ ข้ึน ในปัจจุบัน มีผู้ศึกษาถึงระบบความคิดของบุคคลเหล่าน้ันแล้วรวบรวมกระบวนการคิดที่สามารถ ให้กลุ่มบุคคลไดๆก็ตามท่ีต้องการสร้างนวัตกรรม ใช้วิธีการเหล่านี้เป็นแนวทางการกระตุ้นให้บุคคลเหล่า นั้นสามารถสรา้ งนวัตกรรมได้ โดยมุง่ เน้นใหค้ ดิ ถึงความตอ้ งการทแ่ี ทจ้ ริงของลูกค้า, หาแนวทางแกป้ ญั หา ทล่ี ะเอยี ดและตอบโจทย์ และส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มของพนักงานในองคก์ ร ใหเ้ กิดความรูส้ กึ มคี ณุ คา่ ชว่ ย กันผลักดนั สงิ่ ใหม่ๆใหอ้ งค์กรประสบความส�ำเรจ็ เมื่อกล่าวถึงการสร้างนวัตกรรม อาจมีคนเข้าใจว่า เริ่มต้นจากการมีผู้คิดค้นบางสิ่งท่ีไม่เคยมี ให้ เกิดขน้ึ มากอ่ น ถา้ เป็นเร่ืองทีด่ ีจรงิ กจ็ ะมีคนยอมรบั และใช้นวตั กรรมเหลา่ นน้ั อย่างแพร่หลาย ซึง่ วิธกี ารน้ี กต็ อ้ งเสยี่ งกบั การทอ่ี าจไมม่ คี นยอมรบั และไมไ่ ดถ้ กู ใชง้ านแพรห่ ลายทง้ั ๆทเี่ ปน็ นวตั กรรมทเ่ี กดิ จากความคดิ ท่ีเย่ยี มยอด แตไ่ มไ่ ดต้ อบโจทยข์ องผู้ใชง้ านในเวลาน้ัน มผี ลใหค้ วามคิดท่ีเย่ยี มยอดน้นั สูญเปล่าไป กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) จึงมุ่งเน้นให้ผู้สร้างนวัตกรรม ต้ังเป้าไปที่การสร้าง นวัตกรรมทเ่ี นน้ การตอบสนองความต้องการของผใู้ ชเ้ ปน็ หลกั ไม่ยดึ ตดิ กับความร้สู ึกส่วนตัวของนวัตกร ท่ี ตอ้ งการสรา้ งนวตั กรรมเพอื่ สรา้ งความโดดเดน่ ใหก้ บั ตวั เองเปน็ หลกั ทำ� ใหก้ ารใชก้ ระบวนการน้ี เปน็ เรอ่ื งของ การสรา้ งโอกาสใหล้ กู คา้ ทไี่ ดส้ มั ผสั กบั นวตั กรรมทสี่ รา้ งขน้ึ รสู้ กึ ชอบและปลมื้ ทจี่ ะใชส้ นิ คา้ หรอื บรกิ ารทไี่ ดร้ บั 117
องคป์ ระกอบของกระบวนการคิดเชิงออกแบบ มอี ยู่ 5 ขน้ั ตอน ทค่ี รอบคลมุ การสร้างแรงบันดาล ใจ, กระตุ้นให้เกิดความคิดสรา้ งสรรค์ใหมๆ่ และกลไกการลงมอื ปฏบิ ตั ิ ใหเ้ กิดนวัตกรรมทใ่ี ช้งานได้จรงิ จุดเริ่มต้นที่ส�ำคัญคือขั้นตอน Empathize เป็นการเข้าถึงความต้องการของลูกค้า รับรู้ถึงพฤติกรรมของ ลูกคา้ เข้าใจปัญหาทเ่ี กิดขึ้นของลูกค้า จากน้ันก็จะเข้าสู่ข้ันตอน Define เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากขั้นตอนแรก มาแปลผลให้เกิด การกำ� หนดสง่ิ ท่ีลูกคา้ ตอ้ งการทช่ี ดั เจน และเฉพาะเจาะจง หลังจากนน้ั จะทำ� ขนั้ ตอน Ideate คือระดมสมองจากผู้ทเ่ี กยี่ วข้อง มาหาทางเลือกในการแก้ปัญหา แลว้ ท�ำการล�ำดับและเลอื กวา่ ทางเลอื กใดสามารถแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งตรงประเด็นและสร้างสรรค์ ขนั้ ตอนนคี้ วร มีตัวแทนของผู้ใช้งานหรือลูกค้า มีส่วนร่วมให้ความเห็นด้วย เพ่ือให้มั่นใจว่าส่ิงที่เลือกน้ัน เป็นส่ิงท่ีลูกค้า ต้องการจริงๆ เมือ่ หาทางเลอื กไดแ้ ล้ว ก็จะเข้าขนั้ ตอน Prototype คอื การสร้างตน้ แบบจากความคดิ ท่ไี ดน้ ัน้ ให้ เปน็ ตน้ แบบท่ีทำ� งานได้ เพอ่ื ประเมนิ วา่ ตน้ แบบทไี่ ด้ สามารถทำ� งานได้ตามท่อี อกแบบ และจะมตี น้ ทนุ ใน การผลิตจริงประมาณเท่าใด ขน้ั ตอนถดั ไป Test จะเป็นการน�ำตน้ แบบทไี่ ด้ ไปให้ลูกคา้ ทดลองใช้ และรับผลตอบรบั ถึงปญั หา และความพงึ พอใจ เพอ่ื นำ� ขอ้ มลู เหลา่ นนั้ มาปรบั ปรงุ ตน้ แบบชดุ ใหม่ หรอื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู การออกแบบสำ� หรบั ผลติ จริงตอ่ ไป เพือ่ ใหเ้ กิดการพัฒนาอย่างต่อเนอื่ ง หลังจากทีไ่ ด้ทดสอบกับลูกคา้ แล้ว อาจต้องกลับไปในข้ันตอน Empathize เริ่มต้นเข้าถึงลูกค้า ในกรณีที่พบว่า Prototype ไม่ตอบโจทย์เนื่องจากสถานการณ์ความ ต้องการของลูกค้าเปลี่ยนไป หรือในกรณีที่ต้องการขยายลูกค้ากลุ่มเป้าหมายใหม่ ซึ่งอาจมีความต้องการ ต่างจากกลมุ่ เป้าหมายเดิม แล้วกด็ ำ� เนนิ ขนั้ ตอนเปน็ วฏั จักรใหม่ต่อไป 118
ระหวา่ งการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ หรอื บรกิ าร ควรค�ำนงึ ถงึ ลักษณะของผลติ ภัณฑ์ทม่ี คี ุณประโยชน์ 5 ประการน้ี เพ่อื ให้มั่นใจว่า ผลงานทไี่ ด้มีคุณประโยชน์ทล่ี กู ค้าหรือผ้ใู ชง้ านได้รบั ครบทกุ มิติ ท้ังการใชง้ าน และการใช้สอย อันเป็นพื้นฐานที่ลูกค้า ใช้เป็นเกณฑ์ในการเปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ และบริการตา่ งๆ ท่ีมีอยู่ในตลาด เพอ่ื ใหผ้ ลงานทเี่ ปน็ ผลติ ภณั ฑ์ หรอื บรกิ าร เกดิ ความโดดเดน่ จนประสบความสำ� เรจ็ อยา่ งสงู นนั้ ควร คำ� นงึ ถงึ ปจั จยั ตา่ งๆทจี่ ะสง่ ผลตอ่ ประสบการณข์ องผใู้ ชง้ านดงั ทแ่ี สดงใน Slide นี้ ซงึ่ นยั ยะสำ� คญั ของแตล่ ะ ปจั จยั ตา่ งๆ นอกจากจะตอบสนองความตอ้ งการและประสบการณ์การใชง้ านแล้ว ยงั มีเรื่องของการทผี่ อู้ ยู่ 119
ใกลช้ ิดรอบขา้ ง หรือผอู้ ืน่ ที่ได้ปฏิสมั พนั ธก์ ับผู้ใช้งาน สามารถเกิดการรับร้ไู ดว้ า่ ผลติ ภัณฑ์ หรือบริการน้ัน นา่ ใชง้ านและอยากทจี่ ะมปี ระสบการณร์ ว่ ม ในการใช้ผลติ ภณั ฑ์ หรือบรกิ ารนั้นดว้ ย ปจั จยั เหลา่ นี้ จะสร้างความแตกต่างระหว่างผลงานที่มีอยู่ท่ัวๆไป กบั ผลงานท่ีประสบความสำ� เรจ็ สงู เพราะลกู คา้ จะมคี วามรสู้ กึ วา่ เงนิ ทจ่ี า่ ยไปนน้ั คมุ้ คา่ มากเมอ่ื แลกกบั การมโี อกาสไดใ้ ชง้ านผลติ ภณั ฑห์ รอื บรกิ ารนั้น เม่ือเราตอ้ งการประยุกต์ใช้ Design Thinking กบั เร่อื งของธรุ กจิ หมนุ เวยี น จะมีแนวทางเพมิ่ เติมท่ี จะเออ้ื อำ� นวย ใหผ้ ลของการออกแบบผลิตภณั ฑแ์ ละบรกิ ารนั้น สนับสนุนกระบวนการธุรกจิ หมนุ เวียน ไม่ วา่ จะเปน็ ดา้ นการออกแบบวสั ดุ หรอื ดา้ นการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ ตามรายละเอยี ดของตวั อยา่ งสำ� หรบั การ ออกแบบผลติ ภณั ฑพ์ ลาสตกิ ใน slide น้ี เพอื่ ใหม้ กี ารลดการใชว้ ตั ถดุ บิ และทรพั ยากรการผลติ , สง่ เสรมิ การ คัดแยกหลังการใช้งานให้ท�ำได้ง่ายและสามารถน�ำวัสดุกลับมาใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ ย่อยสลายใหเ้ หมาะสมและมปี ระสิทธภิ าพ 120
แนวโน้มของการออกแบบผลิตภัณฑ์ในปัจจุบันและอนาคต จะมุ่งเน้นการใช้ Circular Design สนับสนุนให้เกิด Circular Business โดยเลือกวิธีการต่างๆท่ีสอดคล้องกับความสามารถขององค์กรและ พันธมิตรทางธุรกิจท่ีเข้าถึงได้ ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบของการลดการใช้วัสดุใหม่ เพิ่มการใช้วัสดุ หมนุ เวียน หรือมีบริการยดื อายุการใชง้ านของผลิตภัณฑ์ เป็นต้น ตัวอย่างของการท�ำรองเท้าจากผืนหนังโดยไม่ต้องทิ้งเศษวัสดุ ด้วยการน�ำเศษวัสดุที่เหลือจากการ ตัดแบบ มาบดและข้ึนรูปเป็นส่วนล่างของรองเท้า เป็นการใช้วัสดุอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด คือไม่เหลือ เศษวัสดุทีต่ ้องทง้ิ ออกสภู่ ายนอกเลย ตวั อยา่ งผลงานเกา้ อพี้ ลาสตกิ ทท่ี ำ� จากวสั ดใุ ชแ้ ลว้ ไมม่ สี ารเคมที เ่ี ปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ ทนทาน และ ถอดซอ่ มไดง้ ่าย 121
ตวั อยา่ ง กลอ่ งขนส่งขวดไวน์ ทีท่ �ำจากเหด็ ซง่ึ วัสดยุ ่อยสลายได้ ตวั อยา่ ง การออกแบบชอ้ นและสอ้ ม ทที่ ำ� จากวสั ดชุ นดิ เดยี วและเปน็ ชนิ้ เดยี วกนั ไมต่ อ้ งใชข้ องหลาย ชน้ิ ทำ� ใหล้ ดการใชว้ สั ดุ และน�ำกลับมาใชใ้ หม่ได้ง่าย ตัวอยา่ งของ Food Packaging น้ี ทำ� จากวัสดยุ ่อยสลายได้ ชว่ ยให้การก�ำจัด ท�ำไดด้ ว้ ยการย่อย สลาย แตก่ ต็ อ้ งระมดั ระวงั ไมท่ งิ้ วสั ดยุ อ่ ยสลายนี้ ไปปะปนกบั วสั ดพุ ลาสตกิ ทส่ี ามารถนำ� ไปรไี ซเคลิ ได้ เพราะ จะทำ� ใหก้ ระบวนการรไี ซเคลิ วสั ดพุ ลาสตกิ เกดิ ความเสยี หาย ดงั นน้ั การเลอื กใชว้ สั ดยุ อ่ ยสลายน้ี จำ� เปน็ ตอ้ ง มวี ินัยของผูใ้ ช้งานรว่ มกับระบบการคดั แยกและจดั เก็บทแ่ี ข็งแกร่งเพียงพอ เพ่ือไม่ใหเ้ กดิ ความเสยี หายกบั ระบบหลักของการรไี ซเคลิ พลาสตกิ โดยรวม From Reef to Sunglass & Chairs Recycle Fish net http://www.remakehub.coremakeocean ตัวอย่างน้ี เป็นการน�ำขยะในทะเลที่เป็นตาข่ายจับปลาท่ีสูญหายอยู่ใต้ทะเล ซึ่งมีปริมาณมาก โดยมีกลุ่มธุรกิจหน่ึงมองเห็นโอกาส ได้หาทางรวบรวมตาข่ายจับปลาที่อยู่ใต้ทะเล รวมทั้งตาข่ายที่ถูกใช้ งานแล้วก่อนจะถูกน�ำไปทิ้งจากชาวประมง มาท�ำการแปรสภาพด้วยกระบวนการทางอุตสาหกรรม เพ่ือ เปลี่ยนตาขา่ ยทหี่ มดสภาพเหล่านี้ ให้กลายเป็นวตั ถุดิบคุณภาพสงู สำ� หรบั ใชท้ �ำกรอบแวน่ ตาแฟชน่ั , เกา้ อ้ี เฟอร์นิเจอร์พลาสติก, ฯลฯ เป็นตน้ 122
ตวั อย่างการประยุกตใ์ ช้งาน Design Thinking ในธุรกิจ (มวี ีดโิ อประกอบ) DoNotPay (ไม่ตอ้ งจา่ ย) ทนายความ AI Browder คนใบสง่ั ถงึ 30 ใบ เมอื่ ตอนอายุ 18 ปี เคา้ คดิ วา่ รฐั บาลไมไ่ ดแ้ คต่ อ้ งการลงโทษประชาชน แตม่ องวา่ น่คี ือแหล่งทำ� เงนิ ชน้ั ดี คนที่ไมอ่ ยากเสยี ค่าปรับก็ต้องทำ� การอุทธรณเ์ ขา้ มา แต่คนส่วนใหญ่ก็ไมม่ ี เงินพอจะจ้างทนายหรือไมอ่ ยากเสยี เวลาศกึ ษาข้อกฎหมาย Browder มองวา่ คนเหล่านี้มากกวา่ 80% ไม่ สามารถเขา้ ถึงความชว่ ยเหลือทางกฎหมายได้ “เขาจึงคิดวา่ ตอ้ งท�ำอะไรสกั อยา่ ง เพ่ือแกป้ ัญหาน้ี” นาย Joshua Browder อายุ 24 @2018 ผกู้ ่อตงั้ บริษทั สตารท์ อัพ DoNotPay \"The First Robot Lawyer\" (ทนายความหุ่นยนตต์ ัวแรก) 123
A piece(s) of paper “กระดาษหอ่ ของขวัญมอี ายกุ ารใช้งานสัน้ มาก ใครเห็นดว้ ย ยกมือข้ึน!” “กระดาษห่อของขวัญมีอายุการใช้งานส้ันมาก ใครเห็นดว้ ย ยกมือขึ้น!”แตจ่ ะดกี วา่ หรือไม่ถ้าในเทศกาล แห่งการมอบของขวัญท่ีก�ำลังจะมาถึง เราใช้กระดาษ ห่อของขวญั ทีใ่ ชไ้ ด้มากกว่าหน่งึ ครงั้ และเป็นไดม้ ากกว่า กระดาษหน่ึงแผ่น จากผู้ผลิตคิดเยอะอย่าง A piece(s) of paper สตูดิโอออกแบบกระดาษห่อของขวัญ ท่ี พยายามเพิ่มฟังก์ช่ันการใช้งานให้ได้นานและคุ้มค่า และอยากชวนทุกคนมาร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการใช้ ทรพั ยากรใหค้ ุ้มค่าไปดว้ ยกนั กระดาษหนงึ่ แผน่ ไม่ได้มีคา่ เทา่ กับหนึง่ แต่มคี ่ามากกว่านนั้ อย่ทู ี่เราจะใชซ้ ้ำ� หรอื ไม่ ธนเวทย์ สิริวฒั นธ์ นกลุ รดั นิน สุพฤฒิพานิชย์ La Rocca Studio “ถุงผา้ ในมือหรอื ทีเ่ กบ็ ไว้ในตู้ สามารถเปลย่ี นเปน็ เส้ือเทๆ่ ไดน้ ะ” ไอเดียมันๆ ที่สร้างมูลค่าเพ่ิมจากการมองเห็น คุณค่าของถุงผ้าไม่ใช้แล้ว โดย รุ่งโรจน์ จันทร์กระจ่าง เจ้าของร้านเส้ือผ้า La Rocca Studio ที่ชุบชีวิตใหม่ ใหถ้ ุงผ้ากลายเป็นเสือ้ เทๆ่ ท่ีมีเพยี งแคต่ วั เดียวแบบเดยี ว เทา่ นนั้ ในโลก ถา้ พรอ้ มจะเทไ่ ปกบั การเกบ็ ถงุ ผา้ ใบเกา่ มา เล่าใหมต่ ามหลกั เศรษฐกจิ หมุนเวียน เราใชว้ ัตถุดบิ ท่ีไมใ่ ชแ้ ล้ว รุ่งโรจน์ จนั ทรก์ ระจ่าง ทไ่ี มม่ คี ุณค่าแลว้ กลบั มาทำ� ให้มคี ุณค่าอกี คร้ังหนงึ่ 124
Cheww.co “ยาสีฟันและของใชใ้ นหอ้ งน�้ำ โดยยึดส่ิงแวดลอ้ มเป็นศนู ยก์ ลาง” “วันหนึ่งเราจะไม่สามารถออกแบบอะไรได้เลย ถ้าเราไม่เหลือ Materials ไม่เหลือ Resources จาก ธรรมชาติให้เราผลิต” ปัจจุบันขยะจากหลอดยาสีฟัน ในครวั เรือนมีมากถึง 1.5 ล้านล้านชนิ้ ต่อปี Cheww.co แบรนดย์ าสฟี นั เมด็ แบรนดแ์ รกของไทย โดย เกวลนิ ศกั ดิ์ สยามกุล จึงนำ� แนวคดิ Circular Thinking ที่ตัง้ ใจผลิต ยาสฟี ันและของใชใ้ นหอ้ งนำ�้ โดยยึดส่ิงแวดล้อมเปน็ ศนู ย์กลาง (Ecocentric Toiletries) เกวลนิ ศักด์สิ ยามกลุ วันหน่งึ เราจะไม่สามารถออกแบบอะไรไดเ้ ลย ถ้าเราไม่เหลอื Material ไม่เหลือ Resources จากธรรมชาติ ให้เราผลติ ซันไลต์ “ปฏวิ ัติพลาสติก ปี 2565 พลาสติกท่ีสามารถรีไซเคิลได้ 100%” ตัวอย่างนี้ เป็นแนวทางการ “ปฏิวัติ พลาสตกิ ” ของซนั ไลต์ ไดถ้ ูกวางไว้อยา่ งเปน็ ระบบ เร่ิมตั้งแต่สิงหาคม 2560 เปิดตัวบรรจุภัณฑ์ขวด ดไี ซนใ์ หม่ เปลยี่ นขวดพลาสตกิ HDPE จากขวดกลม ทบึ สเี หลอื งทใี่ ชม้ าอยา่ งยาวนาน เปน็ ขวด PET ขวด พลาสติกใสคุณภาพสูง ท่ีสามารถมองเห็นสีและ ปรมิ าณนำ�้ ยาลา้ งจานในขวดได้ชดั เจน พร้อมดีไซน์พเิ ศษรูปกลบี มะนาวเพ่ือการหยบิ จับกระชับมอื อีกท้งั สง่ ผลให้ลดใชพ้ ลาสติกไดถ้ งึ 274 ตนั ต่อปี เทยี บเท่ากบั ขวดซนั ไลตข์ นาด 150 มล. จำ� นวน 26 ล้านขวด มกราคม 2562 เปลย่ี นวัสดทุ ่ีใชท้ �ำขวดบรรจภุ ณั ฑ์ จากพลาสติกผลติ ใหม่ (Virgin Plastic) มาเปน็ พลาสตกิ รีไซเคิล 100% (Post-Consumer Recycled – PCR) เพอ่ื ลดการใช้พลาสตกิ ท่ีใชค้ ร้งั เดียวท้ิง (Single Use Plastic) ซึง่ นอกจากจะชว่ ยลดการใชพ้ ลาสติกครั้งเดยี วทิ้งไดถ้ ึง 277 ตนั ต่อปี ยงั ช่วยลดกา๊ ซ ทีท่ �ำใหเ้ กดิ ภาวะเรอื นกระจกได้ถึง 56% 125
โดยเปา้ หมายภายในสน้ิ ปี 2563 จะเปลยี่ นวสั ดทุ ใี่ ชท้ ำ� บรรจภุ ณั ฑแ์ กลลอน จากขวดพลาสตกิ HDPE เปน็ พลาสตกิ รไี ซเคลิ 100% และปี 2565 จะเปลยี่ นวสั ดทุ ใี่ ชท้ ำ� บรรจภุ ณั ฑถ์ งุ เตมิ ใหเ้ ปน็ พลาสตกิ ทสี่ ามารถ รีไซเคลิ ได้ 100% ซ่งึ เปน็ มิตรตอ่ สิ่งแวดล้อม Coca-Cola “Can now be recycled into the high quality plastic” The marine plastic bottle has been deve loped to show the transformational potential of revolutionary ‘enhanced recycling’ tech- nologies, which can recycle previously used plastics of any quality back to the high-qual- ity needed for food or drinks packaging. The sample bottle is the result of a part- nership between loniqa Technologies, Indorama Ventures, Mares Circulares (Circular Seas) and The Coca-Cola Company. Although enhanced recycling is still in its infancy, the partners produced the sample marine plastic bottle as a proof of concept for what the technology may achieve in time. 126
Wangwa Community PPP Plastics Rayong Model ชุมชนบ้านเอื้ออาทรระยอง (วังหว้า) เป็นชุมชนต้นแบบแนวราบของการเคหะแห่ง ชาติท่ีถือว่ามีมาตรฐานสูง มีผู้น�ำชุมชนที่เก่ง เป็นคนรุน่ ใหมไ่ ฟแรง คดิ จรงิ ทำ� จริง สามารถ เปล่ียนขยะเป็นรายได้เสริมให้กับผู้อยู่อาศัยใน ชมุ ชน ดว้ ยการจดั ตั้งกลมุ่ ตา่ ง ๆ ในชุมชน เพือ่ ใหท้ ุกคนได้มีสว่ นรว่ มในการท�ำกจิ กรรม จนยก ระดบั เปน็ ชมุ ชนตน้ แบบดา้ นการจดั การสงิ่ แวดลอ้ ม และเปน็ ชมุ ชนเขม้ แขง็ ทส่ี ามารถบรหิ ารจดั การตวั เอง ไดอ้ ย่างเปน็ รปู ธรรม สายณั ห์ รุ่งเร่ือง ผมเริม่ ตน้ โดยไปเคาะประตูทุกๆ บ้าน จนสุดทา้ ยกม็ คี น 50 คนมาร่วมด้วยกนั ผมศกึ ษาวิธีการจดั การและวธิ คี ดั แยกขยะดว้ ยตวั เองกอ่ น แลว้ ถึงคอ่ ยไปสอนอาสาสมคั ร โครงการนำ� ร่องเพ่ือการทดสอบต้นแบบถนนพลาสตกิ รีไซเคลิ ณ เอสซีจี จงั หวดั ระยอง การใช้งานและประโยชน์ • ใช้พลาสติกทดแทนยางมะตอย 8% ลดการเกิด • ชว่ ยลดปรมิ าณขยะพลาสตกิ ได้ 80,000 ตนั ตอ่ ปี กา๊ ชเรอื นกระจกจากการผลิตยางมะตอย (คดิ จากปรมิ าณการใชง้ านยางมะตอย1ลา้ นตนั ตอ่ ป)ี • ใช้ได้ท้ังยางมะตอยปกติและยางมะตอยสูตร • ถนนมคี วามแข็งแรงเพม่ิ ข้นึ 15-33% ผสมยางพารา • ชว่ ยต้านทานการกดั เซาะของน�ำ้ ได้ดยี ิ่งข้ึน • ค่าใช้จ่ายไม่เพิ่มข้ึน ใช้พลาสติกที่ไม่มีมูลค่า มีเพยี งคา่ จัดการบดยอ่ ยพลาสตกิ 127
ตัวอย่างเหล่าน้ีเป็นบทเรียนซ่ึงไม่ได้กล่าวถึงรายละเอียดของกระบวนการคิดเชิงออกแบบ แต่ เป็นการแสดงให้เห็นถึงแรงบันดาลใจ และความมุ่งมั่นของผู้ประกอบการ ท่ีจะผลักดันให้เกิดธุรกิจ หรือ การแกป้ ญั หาซึง่ มพี ้นื ฐานจากกระบวนการคิดเชงิ ออกแบบทไ่ี ด้กลา่ วมาในบทเรยี นขา้ งต้นน้ี เอกสารอา้ งอิง Handbook of Design Thinking, Christian Muller-Roterberg November, 2018 Plastics Strategic Research and Innovation Agenda in a Circular Economy, SUSCHEM (European Technology Platform for Sustainable Chemistry) Internet Sources : Specified in Presentation file เศรษฐกจิ หมนุ เวียนท่ที กุ คนควรร,ู้ TISTR เอกสารประกอบการอา่ นเพ่มิ เติม The Design Thinking Toolbox : A Guide to Mastering the Most Popular and Valuable Innovation Methods, Michael Lewrick , Patrick Link, Larry Leifer คูม่ ือการคิดเชิงออกแบบ The Design Thinking Playbook, Michael Lewrick, Patrick Link, Larry Leifer ผู้แปล: วญิ ญู กิ่งหริ ญั วฒั นา 128
129
บทที่ 10 วิถีชีวิตภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Lifestyle) 130
1. โลกในศตวรรษที่ 21 ต้องคกู่ ับแนวคิดเศรษฐกิจหมนุ เวียน โลกในศตวรรษท่ี 21 มีการปรบั เปลย่ี นอยา่ งรวดเร็วและรนุ แรง (Disruption) เดิมการผลติ สินค้า หนง่ึ ชนิ้ ถา้ คดิ แบบเสน้ ตรง (Linear Economy) ทต่ี ง้ั อยบู่ นพนื้ ฐานของ “การใชท้ รพั ยากร–ผลติ –ทงิ้ (Take- Make-Dispose) ซงึ่ ถา้ ประชากรโลกมเี พียง 1 ลา้ นคนเรอื่ งนี้อาจจะยังไมใ่ ชเ่ ร่ืองเรง่ ด่วน แตข่ ณะน้โี ลกเรา มีประชากรประมาณ 7,600 ล้านคนส่งผลใหค้ าดว่าในปี ค.ศ.2030 ความตอ้ งการใช้ทรพั ยากรของโลกจะ สงู ถงึ 3 เทา่ ของปรมิ าณทรพั ยากรทมี่ อี ยู่ สว่ นหนงึ่ เปน็ เพราะการเตบิ โตของภมู ภิ าคอาเซยี น ความตอ้ งการ บรโิ ภคจงึ สูงข้นึ พอๆ กบั ความตอ้ งการผลติ สินคา้ เพอื่ สรา้ งรายได้ ขณะท่ปี รมิ าณทรัพยากรทล่ี ดลงจนเรยี ก ได้วา่ หายากมากขึ้น นอกจากเรอื่ งของทรพั ยากรทลี่ ดลงแลว้ และความต้องการใช้ทรัพยากรท่สี ูงข้ึนยงั กอ่ ใหเ้ กดิ ขยะจำ� นวนมาก มกี ารพบวา่ คนไทย 1 คนจะสรา้ งขยะเฉลย่ี ถงึ วนั ละ 1.1 กโิ ลกรมั โดยมากกวา่ 60% ล้วนแตเ่ ป็นขยะท่สี ามารถนำ� กลับไปใช้เป็นทรพั ยากรใหมไ่ ด้ ขณะที่ปจั จุบนั สามารถน�ำขยะกลับมาใช้เป็น ทรัพยากรใหมไ่ ดเ้ พยี งแค่ 31% เทา่ น้นั สง่ ผลใหค้ นไทยเสียโอกาสในการน�ำขยะกลับมาเปน็ ทรัพยากรใหม่ เพอื่ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นจะสามารถชว่ ยแกไ้ ขปญั หานไ้ี ด้ เนอ่ื งจากเปน็ แนวคดิ ในการใช้ ทรพั ยากรเทา่ ทจ่ี ำ� เปน็ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ลดการเหลอื ทงิ้ ตง้ั แตก่ ารผลติ ไปจนถงึ สนิ คา้ หมดอายุ แต่ การจะท�ำใหแ้ นวคดิ ดงั กลา่ วสมบรู ณ์และยง่ั ยนื จำ� เป็นต้องอาศยั ความร่วมมือจากทุกภาคสว่ นไมว่ า่ จะเป็น องคก์ รชนั้ น�ำระดับโลก ภาครัฐ ภาคประชาสงั คม ผ้ปู ระกอบการ SME สตาร์ทอัพ ชมุ ชน ร่วมแลกเปลีย่ น มมุ มองและจดุ ประกายเพอื่ ชว่ ยกนั ขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นเพอ่ื สรา้ งการเตบิ โตอยา่ งสมดลุ ของธรุ กจิ คุณภาพชีวติ ลกู คา้ และอนาคตโลกที่ย่งั ยืน เนื่องจากขยะที่ก�ำจัดเท่าไหร่ก็ไม่มีวันหมดโลกจึงต้องน�ำแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) มาใช้นน่ั คอื เปลย่ี นจากขั้นตอนท่ีต้องไป Take ทรัพยากรธรรมชาติ ให้มาเปน็ Re-Material ซึ่งทรพั ยากรก็เอามาจากตัวสนิ ค้าทใ่ี ชแ้ ลว้ นน่ั เอง จาการเรียนรู้ในบทเรียนตน้ ๆ ของรายวชิ าน้ี อาจสรปุ ไดว้ า่ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นหมายถงึ ระบบทวี่ างแผนและออกแบบมาเพอ่ื คนื สภาพหรอื ใหช้ วี ติ ใหมแ่ กว่ สั ดตุ า่ ง ๆ ในวงจรชวี ติ ผลติ ภณั ฑ์ แทนทจี่ ะทง้ิ ไปเปน็ ขยะเมอื่ สน้ิ สดุ การบรโิ ภคโดยจะนำ� วสั ดทุ เ่ี ปน็ องคป์ ระกอบของ ผลิตภัณฑเ์ หล่านัน้ กลับมาสร้างคณุ คา่ ใหม่ หมนุ เวยี นเป็นวงจรตอ่ เน่ืองโดยไม่มขี องเสียหรอื เกิดของเสียให้ นอ้ ยทสี่ ุดเทา่ ท่ีจะสามารถท�ำได้ นอกจากน้ยี ังมุ่งเน้นการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม สรา้ ง ความสมดุลในการดงึ ทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใชง้ านใหม่ ควบคู่ไปกับการสรา้ งระบบและการออกแบบทมี่ ี ประสทิ ธิภาพเพอ่ื ลดผลกระทบภายนอกเชิงลบ เศรษฐกิจหมุนเวียนจะใช้พลังงานทดแทนหรือขจัดการใช้เคมีภัณฑ์ท่ีเป็นพิษซ่ึงเป็นอุปสรรคของ การน�ำวัสดุต่าง ๆ มาใช้อีกครั้ง รวมไปถึงการออกแบบวัสดุ ผลิตภัณฑ์ ระบบ และโมเดลทางธุรกิจใน รูปแบบใหม่ที่ต้องต่างไปจากเดิมเพื่อท�ำให้เกิดนวัตกรรม ในขณะที่ Linear Economy หรือเศรษฐกิจ เส้นตรง จะมีการดึงทรัพยากรธรรมชาติออกมาใช้ในจ�ำนวนมหาศาลก่อนจะน�ำทรัพยากรเหล่าน้ันมาผ่าน กระบวนการผลิตขายให้ลูกค้าได้น�ำไปใช้งาน ซึ่งเมื่อผลิตภัณฑ์หมดประโยชน์แล้วก็ท้ิงกลายเป็นขยะไป (เศรษฐกิจหมุนเวียนโอกาสใหม่ของธุรกิจเพือ่ ความย่ังยนื , 2561) 131
ทกุ ภาคสว่ นในสงั คมจงึ ตอ้ งรว่ มมอื ปฏวิ ตั โิ มเดลธรุ กจิ จากการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ แบบเสน้ ตรงมาสู่ รปู แบบเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นทน่ี ำ� ทรพั ยากรใชแ้ ลว้ กลบั มาผลติ ใชใ้ หม่ เพอ่ื แกว้ กิ ฤตการขาดแคลนทรพั ยากร ทก่ี ำ� ลงั เกดิ ขนึ้ เพอื่ การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื (Sustainable Development) จะไดเ้ กดิ ขน้ึ อยา่ งสมบรู ณใ์ นโลกแหง่ การเปล่ยี นแปลงต่อไป 2. ประชาชนจะมสี ว่ นร่วมในเศรษฐกิจหมนุ เวียนได้อยา่ งไร เนอื่ งจากเศรษฐกิจหมนุ เวยี นเปน็ ระบบเศรษฐกจิ ท่คี รอบคลุมทุกภาคส่วนของสังคม ตั้งแตต่ น้ ทาง อย่างกระบวนการผลิตสนิ ค้า การจำ� หนา่ ยจา่ ยแจกไปจนถงึ ปลายทางของผบู้ ริโภคและการจัดการของเสีย ที่เกิดขึ้น ดังนั้นประชาชนทุกคนจึงจ�ำเป็นจะต้องมีส่วนร่วมในการสร้างระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนครบท้ัง ระบบ เพ่อื นำ� ไปสู่ความยง่ั ยนื และสังคมใหม้ ีคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี เริ่มจากภาคการผลิตต้องค�ำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมท่ีจะตามมาไม่ว่าจะเป็นของเสียจาก กระบวนการผลิตในการน�ำมาหมุนเวียนใช้ การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ท่ีสามารถน�ำกลับมาหมุนเวียนเป็น วัตถุดิบการผลิตใหม่ได้ ไปจนถึงความรับผิดชอบต่อผู้บริโภคในเร่ืองของบรรจุภัณฑ์และปริมาณท่ีสัมพันธ์ กบั ราคาสนิ ค้าท่จี า่ ยไป บางคร้ังอาจมีข้อจ�ำกัดในเรื่องของการลงทุนเทคโนโลยีท่ีจะเข้ามาช่วยในการปรับเปลี่ยนการผลิต เพื่อให้สามารถน�ำทรัพยากรที่ใช้ไปแล้วน�ำกลับมาผลิตซ�้ำแทนทรัพยากรใหม่ได้ รวมถึงกระบวนการผลิต ทจ่ี ะต้องสะอาด นอกจากนั้นยังอาจส่งผลกระทบต่อตลาดแรงงานท่จี �ำนวนผ้ใู ช้แรงงานอาจตอ้ งลดลงเพอ่ื เปน็ การลดต้นทุน (ฝ่ายเศรษฐกิจและศนู ย์ข้อมูลหอการค้าไทย, 2561) ขณะที่ภาคธรุ กจิ ที่ท�ำหนา้ ทีก่ ระจายสินค้าไปยังผูบ้ ริโภค จะต้องค�ำนึงถงึ การรวบรวมบรรจุภณั ฑท์ ี่ สามารถน�ำกลับเข้าสู่กระบวนการผลิตใหม่กลับมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด เช่น บรรจุภัณฑ์ท่ีท�ำจากวัสดุ ประเภทแก้ว กระดาษ โลหะ หรือพลาสติก สามารถรวบรวมมาเปน็ วตั ถดุ บิ ในการผลิตสินคา้ ใหมไ่ ด้ และ บรรจภุ ัณฑ์บางชนดิ สามารถใช้ซำ้� ได้หลายคร้ัง เชน่ ขวดแกว้ ของน้าอัดลม สามารถใชซ้ า้ ได้ถึง 16-18 ครั้ง นบั วา่ เปน็ ตวั อยา่ งของภาคธรุ กจิ ทมี่ กั พบเหน็ มาตงั้ แตเ่ ดมิ ทา้ ยทสี่ ดุ คอื ปลายทางซง่ึ เปน็ สว่ นของผบู้ รโิ ภคที่ จำ� เปน็ ตอ้ งตระหนกั ถงึ ความรบั ผดิ ชอบในการพจิ ารณาเลอื กซอื้ สนิ คา้ ทเี่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ มหรอื สง่ ผลก ระทบต่อส่ิงแวดล้อมน้อยท่ีสุดด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภคเอง รวมถึงการเรียนรู้ถึงการคัด แยกขยะเพอื่ นำ� มาหมนุ เวยี นเขา้ สกู่ ระบวนการผลติ ใหม่ กจ็ ะเกดิ ประโยชนต์ อ่ ระบบเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นได้ ครบวงจร (เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น กรงุ เทพมหานครกบั ระบบเศรษฐกจิ เพือ่ ความยงั่ ยนื , 2561) จากขา้ งตน้ จะเหน็ ได้ว่าเศรษฐกจิ หมุนเวียน นั้นไม่ใชเ่ รอ่ื งใหมแ่ ต่เปน็ เร่ืองท่ีหลายประเทศที่พฒั นา แลว้ ท่วั โลกต่างใหค้ วามสำ� คญั มาโดยตลอด โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในยุคทีโ่ ลกกำ� ลงั เข้าสภู่ าวะโลกรอ้ น รวมถงึ ทรพั ยากรทม่ี กี ก็ ำ� ลงั ลดลงอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และใกลจ้ ะหมดไป ดงั นนั้ ทางเดยี วทจี่ ะสามารถชว่ ยใหท้ กุ ประเทศ สามารถอยรู่ อด มกี ารพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื นน้ั คงจะหนไี มพ่ น้ การนาเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นมาใชใ้ นการสรา้ งมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ควบคกู่ ับการยกระดบั คุณภาพชวี ิตที่ดีบนพนื้ ฐานของการอยรู่ ่วมกบั สิ่งแวดล้อมอย่างสมดลุ 132
อยา่ งไรกด็ แี มว้ า่ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นจะยงั ไมเ่ ปน็ ทแี่ พรห่ ลายในไทยมากนกั แตใ่ นปจั จบุ นั ทง้ั ภาครฐั และภาคเอกชนต่างให้ความสาคัญและพยายามน�ำแนวคิดดังกล่าวมาปรับใช้เพื่อการพัฒนาและยกระดับ องคก์ ร ซง่ึ ประโยชนท์ ไี่ ด้น้นั ไม่เพยี งแตจ่ ะชว่ ยสรา้ งมูลค่าทางเศรษฐกิจ แตย่ ังนบั ว่าเป็นอกี กลไกสาคญั ใน การลดปญั หาขยะและผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ซงึ่ เปน็ ปญั หาใหญท่ ท่ี งั้ ไทยและตา่ งประเทศตา่ งตอ้ งเผชญิ การทจ่ี ะนำ� เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นมาปรบั ใชใ้ นประเทศใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ นนั้ จำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ทจ่ี ะตอ้ งไดร้ บั ความรว่ มมอื จากทกุ หนว่ ยในระบบเศรษฐกจิ โดยในชว่ งแรกอาจเปน็ การผลกั ดนั และขบั เคลอื่ นโดยรฐั บาล ไม่ว่าจะเป็นการสร้างความตระหนักรู้และทัศนคติเชิงบวกแก่ประชาชน การให้แรงจูงใจ สิทธิประโยชน์ ต่าง ๆ แก่ภาคเอกชน รวมถงึ การพิจารณาข้อกฎหมาย ทไี่ มเ่ อ้อื ตอ่ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น ขณะทีภ่ าคธรุ กิจ และผบู้ รโิ ภคจะตอ้ งตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั และใหค้ วามรว่ มมอื อยา่ งสดุ ความสามารถเชน่ เดยี วกนั เพอื่ ให้ ประเทศไทยสามารถก้าวข้ามผ่านเศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่โอกาสทางการผลิตแบบใหม่ที่จะก่อให้เกิดระบบ เศรษฐกิจท่ีมีความย่ังยนื ไปพร้อมกบั การที่ชว่ ยลดผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดล้อม นบั จากนไ้ี ปเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นจงึ ไมใ่ ชเ่ รอื่ งไกลตวั อกี ตอ่ ไป โดยทท่ี กุ ภาคสว่ นจาเปน็ ตอ้ งศกึ ษาและ ปรบั ตัว เพ่อื เตรยี มความพร้อมใหไ้ ทยก้าวส่รู ะบบเศรษฐกิจหมุนเวยี นอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพต่อไป 3. ตวั อยา่ งกจิ กรรมในชีวติ ประจำ� วนั ของประชาชน เบอ้ื งตน้ ในชวี ติ ประจำ� วนั ของประชาชนทกุ คนตอ้ งเลอื กใชส้ นิ คา้ ทเี่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม เรามที าง เลือกท่ีเปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ มตงั้ แต่ต่นื นอน อาบน�้ำ ล้างจาน ซักเสอ้ื ผ้า ท�ำความสะอาดพน้ื รวมถงึ การ ใชอ้ ปุ กรณต์ า่ ง ๆ ในส�ำนักงาน ไมว่ ่าจะเป็นกระดาษ เครอ่ื งเขยี น นำ้� ยาลบคำ� ผิด เครือ่ งพิมพ์ เครือ่ งถา่ ย เอกสาร และอน่ื ๆ ตัวอยา่ งเชน่ กลมุ่ ผลติ ภัณฑท์ �ำความสะอาด เช่น สบู่ แชมพู ผงซกั ฟอก นำ�้ ยาล้างจาน น้ำ� ยาท�ำความสะอาด พน้ื ผวิ ที่ได้การรับรองฉลากเขียว จะสามารถยอ่ ยสลายทางชีวภาพได้เกอื บรอ้ ยเปอรเ์ ซ็นต์ ลดการตกคา้ ง ในแหลง่ นำ�้ ไมร่ ะคายเคอื งผวิ ไมม่ สี ว่ นประกอบทเี่ ปน็ สารอนั ตรายตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม ชว่ ยลดการ ปนเป้อื นของสารเคมลี งส่แู หล่งน�ำ้ จงึ ชว่ ยลดภาระและคา่ ใช้จา่ ยในการบำ� บัดนำ้� เสียด้วย เครอื่ งใชใ้ นส�ำนกั งาน เช่น เคร่อื งเรอื นเหลก็ มกี ารใช้สเี คลอื บทไี่ มเ่ ป็นอนั ตราย ปลอดสารฟอร์มั ลดไี ฮด์ และโลหะหนัก เคร่อื งเขยี น มกี ารใช้น�้ำหมึกหรือสที ่ีปลอดสารก่อมะเรง็ และโลหะหนัก น�้ำยาลบคำ� ผิด กจ็ ะไม่มสี ารเปน็ พษิ เช่น สารก่อมะเรง็ สารกดั กรอ่ น และไม่มสี ารทรี่ ะคายเคืองตอ่ สขุ ภาพ ผลติ ภณั ฑก์ ระดาษ เชน่ กระดาษอนามยั กระดาษพมิ พแ์ ละเขยี น ผลติ จากเยอื่ เวยี นทำ� ใหมไ่ มน่ อ้ ย กว่าร้อยละ 50 จึงลดการตดั ตน้ ไม้ และปลอดภัยจากสารอนั ตราย เช่น สารฟอกเยอื่ สารกนั เช้ือรา โลหะ หนกั เป็นตน้ รวมทั้งโรงงานผู้ผลติ ยงั มกี ารควบคมุ ปรมิ าณการใชน้ ำ�้ และไฟในกระบวนการผลิตอีกด้วย เคร่ืองปรับอากาศและตู้เย็น แบบประหยัดไฟ ไม่มีเสียงรบกวน ใช้สารก่อความเย็นที่ไม่ท�ำลาย โอโซนในชั้นบรรยากาศ ส่วนประกอบท่ีเป็นพลาสติกสามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และปลอดสารโลหะหนกั 133
เครื่องพิมพ์เคร่ืองถ่ายเอกสาร ต้องได้รับการออกแบบมาเพื่อสนับสนุนการ reduces, reuse, recycle ท้ังประหยัดไฟ ไม่มีเสียงรบกวน และควบคมุ การปลอ่ ยมลพษิ ได้แก่ ฝุน่ (Dust) โอโซน (Ozone) สารอนิ ทรยี ร์ ะเหยทง้ั หมด สไตรนี (Styrene) และเบนซนี (Benzene) ในขณะใชง้ านไมเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ ผใู้ ช้ งาน นอกจากนย้ี งั ใชต้ ลบั หมกึ และหมกึ ทป่ี ลอดสารอนั ตราย และโรงงานผผู้ ลติ ยงั มกี ารรบั คนื ซากผลติ ภณั ฑ์ ชว่ ยลดการทิ้งของเสียหรอื กำ� จัดไม่ถกู ตอ้ งด้วย นอกจากน้ันจากข้อมูลท่ีบริษัท เอ็นคิวเอ ที.เอ็น.(ไทยแลนด์) ได้จัดท�ำตัวอย่างกิจกรรมในชีวิต ประจ�ำวันของประชาชนในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมซ่ึงสามารถน�ำไปปรับใช้เพ่ือเป็นแนวทางน�ำไปสู่ วถิ ชี ีวิตตามแนวเศรษฐกจิ หมุนเวียนมดี ังนี้ (ท่ีมา: https://www.facebook.com/artnqa/) ตัวอย่างท่ี 1 การใช้ผา้ แทนกระดาษทชิ ชู เราใชก้ ระดาษทชิ ชู เชด็ มอื เชด็ หนา้ ปลี ะหลายลา้ นฟตุ ซงึ่ หมายถงึ การโคน่ ตน้ ไมล้ งจำ� นวนมหาศาล จงึ ตอ้ งชว่ ยกนั ลดการใชก้ ระดาษทชิ ชู ดว้ ยการวางผา้ เชด็ มือไวใ้ กลอ้ ่างล้างมอื และใชผ้ า้ เชด็ โตะ๊ แทนการใช้ กระดาษทิชชู่ ตวั อยา่ งที่ 2 การใชถ้ ุงพลาสตกิ ซ�ำ้ หลายๆ ครั้ง เป็นการประหยัดถุงพลาสติกได้ หากถุงพลาสติกสกปรกก็ให้ท�ำความสะอาด แล้วแขวนไว้ให้แห้ง เพ่อื สง่ กลบั เข้าโรงงานส�ำหรบั ผลิตใหม่ ตัวอย่างท่ี 3 การแยกเศษกระดาษจากขยะอ่นื หลกี เลยี่ งการทงิ้ เศษกระดาษ ลงในถงั เดยี วกบั ขยะอนื่ ๆ เพราะจะทำ� ใหก้ ระดาษเปรอะเปอ้ื นไขมนั และเศษอาหาร จะทำ� ใหเ้ ศษกระดาษน้ันนำ� ไปผลติ ใหม่อีกไมไ่ ด้ ตัวอยา่ งที่ 4 พงึ ระลกึ เสมอว่ามกี ระดาษบางชนดิ น�ำไปรีไซเคลิ ไม่ได้ กระดาษทีเ่ คลอื บดว้ ยขี้ผ้งึ กระดาษทเี่ ขา้ เลม่ ด้วยกรรมวิธพี เิ ศษ นติ ยสารต่าง ๆ ตลอดจนกระดาษ ท่ีถูกเปรอะเปอ้ื นดว้ ยกาวชนิดท่ไี มล่ ะลายน�้ำ ตวั อย่างที่ 5 แกไ้ ขปญั หาขยะกระดาษจากแหล่งสร้างขยะ เราสามารถแกไ้ ขปญั หาขยะกระดาษจากแหลง่ สรา้ งขยะ กระดาษทสี่ ำ� คญั กค็ อื หนงั สอื พมิ พ์ หนา้ ท่ี เป็นขยะกระดาษโดยผู้อ่านไม่ได้อ่าน ก็คือหน้าโฆษณาธุรกิจ ซ่ึงมีอยู่ฉบับละหลายๆ หน้าซ่ึงแม้ว่าเป็นสิ่ง จำ� เปน็ สำ� หรบั หนงั สอื พมิ พ์ แตค่ วรคำ� นงึ วา่ นน่ั คอื การทำ� ลายกระดาษสะอาด และสรา้ งขยะกระดาษใหเ้ กดิ ข้นึ จำ� นวน มหาศาลในแตล่ ะวัน ตวั อยา่ งที่ 6 เศษหญ้ามีประโยชน์ เศษหญ้าที่ถูกท้ิงอยู่บนสนามนั้นสามารถให้ประโยชน์ต่อสนามหญ้าได้มากเพราะในเศษหญ้านั้นมี ธาตุอาหารทมี่ คี ุณค่าเทยี บเท่ากับปยุ๋ ทีใ่ ช้ใส่หญา้ ทเี ดยี ว ตัวอยา่ งที่ 7 วิธตี ัดกงิ่ ไม้ วธิ กี ารตดั กงิ่ ก้านของต้นไม้ไม้พุ่มใบไม้ ควรตัดใหเ้ ป็นเศษเล็กน้อยเพ่อื ช่วยลดเศษขยะให้กับสวนได้ และยงั ชว่ ยให้เกิดการเน่าเปื่อยข้ึนกบั เศษใบไม้นน้ั เร็วขนึ้ ด้วย 134
ตัวอยา่ งที่ 8 ใชเ้ ศษหญ้าคลุมไม้ใหญ่ เศษหญา้ ทต่ี ดั จากสนามและสวนนัน้ สามารถน�ำไปคลุมตน้ ไม้ใหญไ่ ด้ การใชเ้ ศษหญา้ ปกคลมุ พชื ใน สวนจะช่วยในการก�ำจัดวัชพืชได้เพราะเศษหญ้าได้ นอกจากน้ีเมล็ดของวัชพืชที่ร่วงหล่นก็ไม่อาจหย่ังราก ทะลผุ า่ นเศษใบไมไ้ ดด้ ้วย ตัวอยา่ งที่ 9 ประโยชนข์ องพลาสติกในการช่วยถนอมอาหาร พลาสตกิ ทกุ ชนดิ หากถกู ไฟไหมจ้ ะกอ่ ใหเ้ กดิ มลพษิ ทางอากาศทเ่ี ปน็ อนั ตรายได้ มกี ารรณรงคใ์ หเ้ ลกิ ใชพ้ ลาสตกิ แตจ่ รงิ ๆ แลว้ พลาสตกิ ยงั คงมคี วามจำ� เปน็ ตอ่ ชวี ติ ประจำ� วนั โดยเฉพาะพลาสตกิ มปี ระโยชนใ์ น การถนอมอาหารใหส้ ดอยไู่ ดเ้ ป็นเวลานาน ๆ ตวั อย่างที่ 10 พลาสติกรีไซเคิล ปัจจุบันมบี รษิ ทั กว่า 200 แหง่ ในอุตสาหกรรมการผลิตพลาสตกิ ได้ท�ำการรีไซเคิลพลาสติกจ�ำนวน 20% จากขวดเครอื่ งดม่ื พลาสตกิ ทที่ ำ� จาก Poly-Ethylene-Terephthalate หรอื PET จะถกู นำ� ไปรไี ซเคลิ เปน็ ดา้ มเครอ่ื งจับไฟฟ้า กระเบ้อื งปพู นื้ เสน้ ใยสังเคราะหใ์ นหมอน ถุงนอน หรอื ใช้บเุ สื้อแจ็คเกต็ ตัวอยา่ งท่ี 11 ภาชนะพลาสตกิ ทใ่ี ส่นำ้� ผลไม้และนม ภาชนะพลาสตกิ ที่ใสน่ �้ำผลไมแ้ ละนมนั้นท�ำมาจากพลาสติกชนิด Polyethylene ทมี่ ีความเขม้ ขน้ มากเม่ือใชแ้ ล้วได้ถูกน�ำมารีไซเคลิ ท�ำเปน็ ท่อพลาสติก กระถางต้นไม้ เก้าอ้พี ลาสตกิ ตวั อยา่ งท่ี 12 วิธีเกบ็ ขวดแกว้ ท่ีใช้แลว้ ขวดแก้วทุกชนิดที่บรรจุของเมื่อใช้แล้วควรท�ำความสะอาด และแยกชนิดของแก้วและแยกสีของ แก้วดว้ ย ตัวอย่างท่ี 13 วิธีเก็บกระปอ๋ งอลูมเิ นยี มทีใ่ ช้แลว้ น�ำกระป๋องอลูมเิ นียมทีใ่ ช้แล้วมาบีใ้ ห้แบนก่อนท้ิง หรอื ขายแกค่ นรบั ซอ้ื เศษโลหะ ตวั อย่างที่ 14 น้�ำสะอาดมาจากน้ำ� ใตด้ นิ น�้ำสะอาดท่ีเราใช้ประโยชน์ดื่มกินส่วนใหญ่มาจากน้�ำใต้ดิน การท้ิงขยะบนพื้นผิวดินท�ำให้มีผลถึง นำ�้ ใตด้ ินเพราะนำ�้ ฝนจะชะความโสโครกซมึ ลงไปถงึ ชน้ั น้ำ� ใต้ดนิ ท�ำให้นำ้� ใตด้ ินเนา่ เสยี และเปน็ พิษได้ ตัวอยา่ งที่ 15 วิธลี า้ งรถยนตล์ า้ งรถยนต์ดว้ ยฟองน�้ำและใช้ถงั น�้ำ จะใชน้ ้�ำเพียง 15 แกลลอนแต่ถา้ ล้างดว้ ยสายยางจะต้องสญู เสยี น�้ำถึง 150 แกลลอน ตวั อยา่ งที่ 16 ดแู ลรักษารถด้วยการเปล่ยี นนำ้� มนั เครอื่ ง การดูแลรักษารถจะต้องท�ำอย่างสม�่ำเสมอได้แก่การเปลี่ยนน้�ำมันเคร่ืองตามระยะเวลาที่ระบุไว้ใน คู่มอื และทกุ ครั้งท่ีเปลยี่ นถา่ ยนำ้� มนั เคร่ือง ควรเปลยี่ นไส้กรองดว้ ย ตัวอยา่ งที่ 17 การรกั ษารถดว้ ยการเปล่ียนไสก้ รอง ไส้กรองอากาศท่ีสกปรกจะท�ำให้การไหลของอากาศท่ีสะอาดท�ำได้น้อยลงมีผลต่อการเผาไหม้ของ เครอ่ื งยนตด์ ้วย 135
ตวั อย่างท่ี 18 การรักษารถช่วยลดมลพิษ การดูแลรักษารถจะท�ำให้รถสามารถว่ิงได้เพิ่มข้ึนอีก10% ของจ�ำนวนไมล์ ซ่ึงเท่ากับสามารถลด ราคาเช้ือเพลิงลงได้ถึง 10% เช่นกัน การลดการใช้เชื้อเพลิงลงก็เท่ากับเป็นการช่วยลดมลพิษทางอากาศ ใหก้ บั โลกไดด้ ว้ ย ตวั อยา่ งท่ี 19 ยางรถยนตช์ ว่ ยประหยัดน�้ำมนั การเติมลมยางรถให้พอดีและขับรถตามขอ้ กำ� หนดความเรว็ จะชว่ ยในการประหยัดนำ�้ มนั ได้ ตวั อย่างท่ี 20 วธิ ีป้องกนั การรว่ั ไหลของน้ำ� มันเครอื่ ง การป้องกันการร่ัวไหลของน้�ำมันเคร่ืองจากตัวถัง รถยนต์สามารถท�ำได้ด้วยการปิดสลักเกลียวใน เคร่ืองยนต์ทุกตัวให้แน่นโดยเฉพาะในส่วนท่ีซ่ึง น้�ำมันเคร่ืองรั่วไหลออกไปได้ช่วยป้องกันการร่ัวไหลของ นำ้� มันเพ่อื ลดมลพิษ ใหก้ ับอากาศของเรา ตวั อยา่ งที่ 21 ควรเปลยี่ นนำ้� มันเคร่ืองเมอ่ื ไหร่ ควรเปล่ยี นน้�ำมันเครือ่ งเม่อื ขบั รถได้ทกุ ๆ ระยะ 3,000 - 4,000 ไมลแ์ ละควรเลอื กใช้ไสก้ รองทด่ี ี ที่สุดดว้ ย ตวั อย่างท่ี 22 การเพ่มิ ออกซเิ จนในนำ้� มัน วิธีการหน่ึงที่จะช่วยลดมลพิษให้กับรถยนต์ก็คือการเพ่ิมส่วนผสมของออกซิเจนในน�้ำมันซึ่งจะช่วย ลดปริมาณการเกิดก๊าซคารบ์ อนมอนอกไซดล์ งไดเ้ ปน็ จำ� นวนมาก ตวั อยา่ งที่ 23 อนั ตรายจากกา๊ ซเรดอน ก๊าซเรดอนเป็นก๊าซกัมมันตภาพรังสีมักพบแทรกอยู่ในดินและหินมีคุณสมบัติที่สามารถซึมผ่านมา บนผวิ ดนิ และกระจายออกสอู่ ากาศได้ โดยผา่ นทางรอยรา้ วและโพรงของคอนกรตี บลอ็ คตามทอ่ กา๊ ซเรดอน เปน็ กา๊ ซท่เี ป็นอันตรายต่อระบบทางเดนิ หายใจ ตวั อยา่ งที่ 24 พษิ ของก๊าซเรดอนต่อรา่ งกาย กา๊ ซเรดอนเปน็ อนั ตรายตอ่ เนอื้ เยอื่ ของปอดการไดร้ บั สารกมั มนั ตภาพรงั สจี ากกา๊ ซเรดอนเปน็ เวลา นานกวา่ 20 - 30 ปี จะท�ำใหเ้ กิดเปน็ มะเร็งท่ปี อดได้ ตวั อยา่ งที่ 25 วธิ ปี อ้ งกนั อันตรายจากกา๊ ซเรดอน การปอ้ งกันอนั ตรายจากกา๊ ซเรดอนท�ำได้โดย การไมส่ บู บหุ รี่ ในบา้ นหรือในห้องที่มอี ากาศถา่ ยเท ได้น้อย เปดิ หน้าตา่ งใหม้ ีการถา่ ยเทระหวา่ งอากาศภายในบ้านกบั อากาศนอกบา้ นทกุ ๆ วนั ตัวอยา่ งที่ 26 ปลูกต้นไม้ในหอ้ งช่วยลดมลพิษ การปลูกต้นไม้ในห้องโดยปลูกไม้กระถางผสมถ่าน กับดินถ่านจะเป็นตัวช่วยดูดซับสารมลพิษและ จุลนิ ทรียภ์ ายในหอ้ งได้ ตวั อยา่ งที่ 27 พษิ ภยั ของฝ่นุ ฝา้ ย ฝุ่นฝ้ายในโรงงานอุตสาหกรรมเป็นต้นเหตุของการเกิดโรคปอดอักเสบโดยฝุ่นฝ้ายจะเข้าไปท�ำให้ เกิดอาการแน่นหน้าอกและหัวใจ การป้องกันตนเองจากฝุ่นฝ้ายด้วยการใช้อุปกรณ์ป้องกันในการหายใจ จะดมี าก 136
ตัวอยา่ งท่ี 28 วิธีใชน้ �้ำยาทำ� ความสะอาดครัวเรือน มีสารเคมมี ากกว่า 63 ชนิดท่ีใช้เปน็ สว่ นผสมอยู่ในน�้ำยาท�ำความสะอาดครวั เรือน เช่น นำ�้ ยาถูพ้ืน น้ำ� ยาขดั ห้องน�ำ้ โปรดอา่ นคำ� แนะนำ� ในฉลากก่อนใช้ทกุ ครัง้ เพ่ือปอ้ งกนั ตัวเองให้พน้ จากพิษภัยอนั ตราย ตัวอย่างท่ี 29 เก้าอพ้ี ลาสตกิ รีไซเคิล เกา้ อ้พี ลาสตกิ ส่วนใหญผ่ ลิตขึน้ ใหม่จากพลาสตกิ ทใี่ ชแ้ ลว้ เช่น เก้าอีพ้ ลาสติกที่มขี นาดความยาว 6 ฟตุ น้ันท�ำมาจากถงั พลาสติกทใ่ี ชบ้ รรจนุ มเป็นจำ� นวนถึง 1,050 ใบ ตวั อยา่ งที่ 30 รกั ษาสิ่งแวดลอ้ มเร่มิ ต้นท่ใี กล้ตวั ในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมน้ันเราไม่จ�ำเป็นต้อง เดินทางไปจนถึงพ้ืนที่ป่าใหญ่เพ่ือปลูกป่าแต่เรา สามารถเรม่ิ ต้นอนุรักษส์ ่งิ แวดล้อมทถ่ี ูกท�ำลายได้ในพืน้ ท่ี ใกล้บ้านเราเอง ตวั อยา่ งท่ี 31 พืชทอ้ งถ่นิ มคี วามสำ� คญั ต่อสง่ิ แวดล้อม พืชด้ังเดิมของท้องถิ่นมีความส�ำคัญต่อระบบนิเวศวิทยาและมีความเหมาะสมกับสภาพอากาศ และดินมากกว่าพืชที่น�ำเข้ามาจากท่ีอื่น ๆ ดังน้ันเราจึงควรต้องช่วยกันป้องกันและอนุรักษ์พืชท้องถ่ินไว้ ไม่ให้สูญพันธ์ุ ตัวอย่างที่ 32 รถยนต์ผลิตคาร์บอนมอนนอกไซด์ ทุกๆ ปรี ถยนต์คนั หนึ่งๆ จะผลติ ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซดอ์ อกมาสูบ่ รรยากาศโลกไดใ้ นปริมาณที่ มนี �้ำหนกั เทา่ กบั ตวั รถเอง ตวั อยา่ งท่ี 33 นำ้� มนั ก๊าซโซลีนเผาไหม้เกิดเปน็ คาร์บอนไดออกไซด์ ทกุ ๆ แกลลอนของก๊าซโซลีนในรถยนต์ทถ่ี ูกเผาไหมจ้ ะท�ำใหเ้ กิดกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซดจ์ �ำนวนถึง 9000 กรมั กระจายขน้ึ สู่ชัน้ บรรยากาศโลก ตัวอยา่ งท่ี 34 ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก การเผาไหม้เช้ือเพลิงจากเชื้อเพลิงฟอสซิล เป็นสาเหตุสำ� คัญท่ีท�ำให้เกิดภาวะปรากฏการณ์เรือน กระจก หากสามารถเปลี่ยนไปใช้พลังงานจากแหลง่ อนื่ เช่นพลังงานแสงอาทติ ย์ก็จะช่วยลดอุณหภมู ิความ ร้อนทเี่ กิดข้นึ กบั โลกได้ ตัวอยา่ งท่ี 35 ผลิตภัณฑท์ ี่ใช้พลังงานแสงอาทติ ย์ ผลิตภัณฑ์ท่ีใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ที่แพร่หลายมากท่ีสุดคือเครื่องคิดเลขท่ีใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งในแต่ละปีผลติ ออกจำ� หนา่ ยถงึ กว่า 2,000,000 เครื่อง ตัวอยา่ งท่ี 36 การลดการใช้ส�ำคญั กวา่ การผลติ ใชใ้ หม่ การน�ำของท่ีใช้แล้วมาผลิตใช้ใหม่อาจไม่ใช่การแก้ปัญหาที่ส�ำคัญเพราะความส�ำคัญไม่ได้อยู่ที วิธี การนำ� พลาสตกิ ทใี่ ชแ้ ลว้ กลบั มาผลติ ใชใ้ หมไ่ ดอ้ กี แตส่ ำ� คญั ตรงทเ่ี ราควรจะหาวธิ ลี ดการใชพ้ ลาสตกิ ใหน้ อ้ ย ลงต่างหาก ตวั อย่างที่ 37 ผักปลอดสารพษิ เมื่อใดก็ตามที่ได้ลงมือท�ำสวนครัวด้วยตนเองเม่ือน้ันเราจึงจะเช่ือม่ันได้อย่างแน่นอนว่าเราก�ำลังมี โอกาสไดก้ นิ พืชผกั ทีป่ ลอดจากยาฆา่ แมลงแลว้ จริง ๆ 137
ตวั อย่างท่ี 38 สวนสาธารณะของเมอื ง สวนสาธารณะนอกจากจะช่วยรักษาพ้ืนที่สีเขียวแล้วยังท�ำให้มีพื้นที่โล่งว่างขึ้นในท่ามกลางตึก อาคารสงิ่ กอ่ สรา้ งทเี่ ตบิ โต อยา่ งแออดั ในเมอื งใหญส่ วนสาธารณะไมเ่ พยี งจะชว่ ยใหอ้ ากาศบรสิ ทุ ธแ์ิ ตย่ งั เปน็ สัญลักษณ์จากธรรมชาติให้ผู้คนได้ตระหนักว่าเมืองมิใช่เป็นที่ต้ังของถนน อาคารระฟ้าและรถยนต์เท่านั้น แตค่ วรจะเป็นทอี่ ยู่ของธรรมชาติด้วย ตัวอย่างที่ 39 ด่ืมน�้ำสะอาดให้หมดแกว้ ด่ืมน้�ำสะอาดให้หมดแก้วทุกครั้งอย่าเหลือท้ิงเพราะน้�ำสะอาดมีเหลืออยู่น้อยในโลกนี้และ กระบวนการท�ำน�ำ้ ให้สะอาดก็ตอ้ งเพม่ิ ค่าใช้จา่ ย ตัวอยา่ งท่ี 40 สมุนไพรแกก้ ล่ินอบั ในหอ้ งทม่ี กี ลน่ิ อบั ใหใ้ ชส้ มนุ ไพรแหง้ หรอื เครอื่ งหอมจาก ดอกไมแ้ หง้ หอ่ ดว้ ยเศษผา้ โปรง่ บาง แขวน ไว้ในหอ้ งทีม่ ีกลิ่นอบั จะชว่ ยให้หอ้ งหายจากกล่ินอบั ได้ ตัวอยา่ งที่ 41 ปิดเตาอบกอ่ นอาหารสกุ ทกุ คร้ังทปี่ รุงอาหารด้วยเตาอบให้ปดิ เตาอบกอ่ นอาหารสกุ ประมาณ 2 - 3 นาที เพราะความรอ้ น ในเตาอบจะยังคงมีอยอู่ ย่างเพียงพอทีจ่ ะทำ� ใหอ้ าหารสุก ตัวอย่างที่ 42 วิธดี ูแลรักษาพรม ดแู ลรกั ษาพรมทป่ี พู นื้ ใหส้ ะอาดดว้ ยการดดู ฝนุ่ อยา่ งสมำ่� เสมอและในการกำ� จดั กลนิ่ พรมกจ็ ะตอ้ งใช้ ผงเบกกิงโซดา (Baking Soda) โรยให้ทว่ั พน้ื พร แล้วทิ้งไว้ประมาณ 15 นาทจี ึงทำ� การดดู ฝนุ่ จะทำ� ใหพ้ รม ปลอดจากกลิ่นได้ ตัวอย่างท่ี 43 การท�ำความสะอาดเฟอรน์ เิ จอร์ การทำ� ความสะอาดเฟอรน์ เิ จอรท์ ำ� ไดด้ ว้ ยวธิ งี า่ ยๆ โดยใชผ้ า้ บาง ๆ ชบุ นำ้� สบบู่ ดิ ใหห้ มาดแลว้ ใชเ้ ชด็ ถูเฟอรน์ เิ จอร์จากน้ันใชผ้ า้ แห้งถซู ้�ำอกี คร้งั ตัวอยา่ งท่ี 44 กระดาษใชแ้ ล้วน�ำมาผลิตใช้ใหม่ การน�ำกระดาษทใ่ี ช้แล้วกลบั มาผลติ ใชใ้ หม่ ในจำ� นวนทกุ ๆ 1 ตนั น้นั เปน็ การชว่ ยอนุรักษ์ต้นไม้ ไดถ้ งึ 17 ต้น ตัวอยา่ งท่ี 45 หม่ันปัดฝุ่นจากหลอดไฟ ให้หม่ันปัดฝุ่นจากหลอดไฟเสมอๆ เพราะฝุ่นและความสกปรกบนส่วนท่ีเป็นแก้วจะช่วยลดความ สวา่ งของแสงท่ีส่องจากหลอดไฟลงไปถึง 33 เปอรเ์ ซน็ ตท์ ำ� ให้แสงจากหลอดไฟไมส่ วา่ งเท่าทีค่ วร ตวั อย่างที่ 46 คุณคา่ ของตน้ ไมท้ ม่ี ีอายกุ ว่า 50 ปี ต้นไม้ทุกต้นท่ีมีอายุมากกว่า 50 ปีข้ึนไปมีคุณ ค่าในการท�ำให้อากาศบริสุทธ์ิควบคุมการกัดเซาะ ผิวดินและน้�ำป่าปกป้องคุ้มครองชีวิตของสัตว์ป่าและสามารถควบคุมมลภาวะในอากาศได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพสูง ตัวอยา่ งที่ 47 ตน้ ไมด้ ูดซับก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ ตน้ ไมท้ อ่ี ยใู่ นสภาพสภาวะสมบรู ณส์ ามารถดดู ซบั กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดจ์ ากอากาศไดถ้ งึ 40 ปอนด์ ในเวลา 1 ปี 138
ตวั อย่างที่ 48 พลงั งานจากแก้วรีไซเคลิ พลังงานท่ีได้จากการน�ำแก้วท่ีใช้มาผลิตใช้ใหม่ 1 ใบนั้นเทียบได้เท่ากับพลังงานของหลอดไฟ 60 วตั ต์ ที่ส่องสวา่ งได้เปน็ เวลานานถึง 4 ช่ัวโมง ตัวอยา่ งท่ี 49 พลงั งานจากกระปอ๋ งรีไซเคิล พลังงานที่ได้จากการน�ำกระป๋องอลูมิเนียมที่ใช้แล้วมาผลิตใช้งานใหม่ 1 ใบนั้นเทียบเท่าได้กับ พลังงานแสงสวา่ งท่ใี ชก้ ับทวี ีเปน็ เวลานาน ถึง 3 ช่วั โมง ตวั อย่างท่ี 50 เวลาทีค่ วรรดน�้ำตน้ ไม้ การรดน�้ำต้นไม้ระหว่างเวลา 9 โมงเช้าจนถึง 5 โมงเย็นปริมาณน�้ำท่ีรดจะสูญเสียไปในการ ระเหยมากถึง 60% ของจ�ำนวนนำ้� ทีร่ ด ดังน้ันเวลาทีค่ วรรดน้ำ� ต้นไมท้ ด่ี ที ่สี ดุ คือเวลาหลงั 6 โมงเย็นหรอื กอ่ น 9 โมงเช้า ตวั อยา่ งท่ี 51 เงาตน้ ไมป้ ระหยัดพลังงาน เงาของต้นไม้ช่วยลดความต้องการ เคร่ืองปรับอากาศลงได้ถึง 50% และในฤดูร้อนต้นไม้จะ ท�ำให้เมืองเยน็ ลงถึง 15% ตวั อย่างท่ี 52 คุณท�ำอยา่ งไรกับใบไม้ทก่ี วาดแล้ว การเผาเศษใบไม้ทุกๆ 1 ต้นจะท�ำใหเ้ กดิ ก๊าซคารบ์ อนมอนอกไซดถ์ ึง 117 ปอนด์ ฝ่นุ 41 ปอนด์ และคารซ์ ิโนเจน 7 ปอนด์ หรือมากกว่าน้นั เศษใบไมท้ ่ีกวาดแลว้ ควรนำ� มาทำ� ปุย๋ หมกั หรอื สมุ ไวโ้ คนตน้ ไม้ เพ่ือใหย้ ่อยสลายเปน็ ปุ๋ยต่อไป ตัวอย่างที่ 53 หลอดไฟฟ้าประหยดั พลังงาน การใช้หลอดไฟฟ้าแบบประหยัดพลังงาน 1 หลอดแทนการใช้ หลอดไฟฟ้าแบบฟูลออเรสเซนต์ จะช่วยประหยัดพลังงานได้เป็นปริมาณเท่ากับถ่านหินหนัก 600 ปอนด์ ตลอดชั่วอายุของหลอดไฟฟ้า หลอดนน้ั ตวั อย่างท่ี 54 วธิ ีลดมลพิษจากรถยนต์ วิธีการหน่ึงท่ีจะช่วยลดมลพิษจากรถยนต์ก็คือการเพ่ิม ส่วนผสมของออกซิเจนในน้�ำมัน การเพิ่ม ออกซเิ จนในน้�ำมนั กเ็ พอื่ ช่วยลดปรมิ าณการเกดิ ของกา๊ ซคาร์บอนมอนอกไซด์ใหล้ ดน้อยลง ตวั อยา่ งที่ 55 ท�ำอย่างไรกบั น�ำ้ มันเครื่องทใ่ี ชแ้ ล้ว น�้ำมันเคร่ืองท่ีใช้แล้วจากรถยนต์จะก่อมลพิษให้เกิดกับแหล่งน้�ำและผิวดินได้ หากมีการก�ำจัดที่ ไม่เหมาะสมทุกครั้งที่เปล่ียนถ่ายน้�ำมันเคร่ืองให้ถ่ายเทน้�ำมันเคร่ืองท่ีใช้แล้วลงในภาชนะท่ีปิดฝาแล้ว ส่งคืนให้กบั สถานีบริการ ตวั อยา่ งท่ี 56 มลพิษจากเตาแก๊ส แหล่งมลพิษของอากาศในบ้านที่ส�ำคัญก็คือเตาแก๊สในห้องครัวที่ไม่มีช่องหรือระบบระบายอากาศ จะเป็นแหล่งสะสมของก๊าซไนโตรเจนออกไซด์และคาร์บอนมอนอกไซด์ท่ีเกิดจากเตาแก๊สสารมลพิษใน ห้องครวั จะลดลงไดด้ ้วยการ ระบายอากาศท่ีดี 139
ตวั อย่างท่ี 57 วธิ ปี ลูกตน้ ไมใ้ นอาคาร การปลูกต้นไม้ ไว้ในอาคาร วิธีการท่ีเหมาะสม คือ การปลูกลงในกระถาง ท่ีผสมถ่านกับดิน ไว้ ดว้ ยกัน ถ่านจะเปน็ ตัวช่วยดูดซบั สารมลพษิ และจลุ ินทรยี ์ได้ ตัวอย่างท่ี 58 ท�ำความสะอาดเครอ่ื งปรับอากาศในอาคารที่ติดต้ัง เครื่องปรับอากาศ จะต้องท�ำความสะอาด แผ่นกรองอากาศบ่อย ๆ และไม่ควรใช้ยาก�ำจัดกลิ่น หรือแอรเ์ ฟรชเชอเนอร์ ตัวอยา่ งที่ 59 ถอดรองเท้ากอ่ นเขา้ บา้ น ทกุ ครัง้ ก่อนจะเข้าบ้าน ตอ้ งถอดรองเทา้ ไว้ท่ีหน้าประตูบา้ น จะต้องไม่ใส่รองเทา้ เข้าบา้ น เพราะ พน้ื รองเท้าเป็นทีร่ วม ของสารพิษทั้งหลายท่ีเราไปเหยยี บยำ่� มาจากท่ีต่าง ๆ ตัวอย่างที่ 60 สัดสว่ นของก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ในอากาศ โดยสัดส่วนความสมดุล ของธรรมชาติจะมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อยู่เป็นประมาณ 0.03% ของบรรยากาศ กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดท์ ำ� หนา้ ทด่ี ดู ซบั พลงั งานจากดวงอาทติ ยไ์ วท้ ำ� ใหโ้ ลกมคี วามอบอนุ่ ทพ่ี อเหมาะ ตัวอย่างที่ 61 ท�ำไมโลกจงึ รอ้ นขนึ้ กิจกรรมทั้งหลายของมนุษย์ได้เป็นสาเหตุของการเพ่ิมความร้อนให้กับโลก ได้แก่ การเผาผลาญ น้�ำมันเชื้อเพลิง การเผาป่าเขตร้อนของโลกได้ท�ำให้ปริมาณของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นจ�ำนวน มากในบรรยากาศ โลกจงึ ร้อนข้ึน ตัวอย่างที่ 62 วิธีหยดุ ความรอ้ นใหก้ บั โลก เราสามารถหยุดยั้งการเพิ่มข้ึนของก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ด้วยการลดการใช้ พลังงานที่ก่อให้ เกดิ ความร้อนให้นอ้ ยลงและตอ้ งหยุดการ เผาท�ำลายป่าลงใหไ้ ด้ ณ ทกุ หนทกุ แห่งของพน้ื พภิ พน้ี ตัวอย่างท่ี 63 ปลกู ป่าเพือ่ ให้โลกร่มเยน็ เพือ่ ใหโ้ ลกเยน็ ลง เราทุกคนจะต้อง ชว่ ยกนั ปลกู ป่าคลมุ พนื้ ท่วี ่างเปลา่ ให้ได้มากที่สุด เพราะปา่ เป็นแหล่งดูดซับ คารบ์ อนไดออกไซด์ ทดี่ ที ส่ี ดุ ของโลก ตัวอย่างที่ 64 สารอนั ตรายในถา่ นอลั คาไลน์ ถ่านอัลคาไลน์เป็นถ่านที่ใช้ใส่กล้องถ่ายรูป ไฟ ฉาย นาฬิกา เครื่องคิดเลข ท่ีใช้ได้เพียงคร้ังเดียว แลว้ ทิ้ง จัดเปน็ ของเสยี ทเี่ ป็นอนั ตรายได้แก่ แมงกานสี สงั กะสี และปรอท ตัวอย่างที่ 65 การเลือกใชถ้ ่านแคดเมียมแทนถา่ นอลั คาไลน์ ควรเลอื กใชถ้ า่ นแคดเมยี มแทนการใช้ ถา่ นอลั คาไลน์ เพราะถา่ นแคดเมยี มเมอื่ ใชห้ มดแลว้ สามารถ นำ� มาชารต์ ไฟใหมใ่ ชไ้ ด้อกี ในขณะที่ถ่านอลั คาไลน์ ใชไ้ ดเ้ พยี งครงั้ เดยี วกต็ อ้ งท้ิง ตวั อย่างที่ 66 อา่ นคำ� อธบิ ายกอ่ นใช้ ก่อนใชผ้ ลติ ภัณฑ์ ที่มสี ่วนประกอบของ สารเคมอี นั ตราย ควรอา่ นคำ� อธิบาย ใหเ้ ขา้ ใจก่อนใชท้ กุ คร้งั และต้องปฏบิ ัตติ าม คำ� แนะนำ� การใช้ อย่างเคร่งครดั เพื่อความปลอดภัยต่อชวี ิตของตัวเอง 140
ตัวอยา่ งท่ี 67 การเลือกซ้อื อาหารกระป๋อง ทุกครั้งท่ีเลือกซื้ออาหารกระป๋องจะต้องตรวจหาวันหมดอายุ ที่บอกไว้บน ภาชนะบรรจุสินค้า นั้นๆ และควรซือ้ อาหารกระปอ๋ งทีย่ งั ไม่หมดอายเุ ท่าน้นั ตัวอยา่ งที่ 68 อันตรายจากอาหารกระป๋องท่หี มดอายุ อยา่ ซอ้ื อาหารกระป๋องทห่ี มดอายแุ ล้ว เพราะอาหารกระปอ๋ งท่ีหมดอายแุ ลว้ จะเป็นสาเหตขุ องพิษ ภยั อนั ตรายต่อรา่ งกาย เช่น มะเร็งทีต่ ับโปรดระมัดระวังทกุ คร้ังที่ซือ้ อาหารกระปอ๋ งเพราะทห่ี มดอายแุ ลว้ มกั ถกู นำ� มาลดราคาใหช้ วนซื้อ ตัวอย่างที่ 69 แอมโมเนยี ในนำ้� ยาซกั แห้ง ในน้�ำยาซักลา้ งทุก ๆ ชนดิ เช่น น�้ำยาลา้ งกระจก น้ำ� ยายอ้ มผม นำ้� ยาท�ำความสะอาดห้องน�ำ้ จะ มีส่วนประกอบของ แอมโมเนียอยู่ด้วย โปรดใช้อย่างระมัดระวังทุกคร้ังเพราะแอมโมเนียมีผลโดยตรงต่อ ระบบ ทางเดนิ หายใจ ตัวอยา่ งที่ 70 สารฟอร์มาลดไี ฮด์ ในไม้อัด เสื้อผ้าใหม่ๆ และน�้ำยาล้างเล็บจะมีสารฟอร์มาลดีไฮด์ เป็นสารประกอบอยู่ด้วยสาร ฟอรม์ าลดีไฮด์จะมีผลต่อระบบทางเดนิ หายใจ ฉะนน้ั โปรดระมัดระวงั ทุกครั้งทใี่ ช้ ตัวอย่างท่ี 71 บรรจุภัณฑถ์ นอมอาหาร มีอาหารไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ที่ต้องอาศัยบรรจุภัณฑ์ท่ีช่วยในการถนอมอาหารเพ่ือรักษาความ กรอบของอาหารบรรจภุ ัณฑจ์ งึ เป็นสิง่ จ�ำเปน็ สำ� หรับการห่อหมุ้ อาหาร ตวั อยา่ งท่ี 72 บรรจุภณั ฑ์ท่ีฟุม่ เฟือย ปัจจุบันบรรจุภัณฑ์ได้ถูกน�ำมาใช้อย่างฟุ่มเฟือยจนเกินความจ�ำเป็นและได้กลายเป็นขยะจ�ำนวน มหาศาล ฉะน้ันโปรดช่วยกันลดขยะจากบรรจุภณั ฑด์ ว้ ยการไมซ่ ้อื สินคา้ ทใ่ี ชบ้ รรจุภณั ฑ์ฟมุ่ เฟือยเกินความ จำ� เปน็ ตัวอยา่ งที่ 73 ผลิตภัณฑเ์ ขม้ ข้นช่วยลดขยะบรรจุภัณฑไ์ ด้ ผลติ ภณั ฑบ์ างชนดิ ทพ่ี ฒั นาการผลติ ใหเ้ ขม้ ขน้ ซงึ่ ผบู้ รโิ ภคสามารถนำ� ไปเจอื จางกอ่ นใชเ้ ปน็ การชว่ ย ลดปรมิ าณขยะจากบรรจภุ ณั ฑ์ได้ ตัวอยา่ งที่ 74 ใชบ้ รรจภุ ณั ฑ์กระดาษแทนการใชพ้ ลาสติกและโฟม ปจั จุบันมกี ารผลติ บรรจภุ ณั ฑท์ ีเ่ ปน็ กระดาษเพือ่ ใชบ้ รรจอุ าหารแทน บรรจภุ ัณฑพ์ ลาสติกและโฟม เช่น กล่องบรรจนุ ้�ำผลไม้นมเป็นตน้ ตัวอย่างท่ี 75 บรรจภุ ัณฑท์ รี่ ไี ซเคลิ ได้ ควรเลือกซื้อสินค้าที่บรรจุในภาชนะที่สามารถน�ำกลับไปผลิตใช้ไหม่ดีกว่าบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ได้เพียง คร้งั เดียวแลว้ ต้องท้งิ ตวั อย่างที่ 76 ควรเลือกซ้อื สินค้าทบ่ี รรจกุ ระป๋องอลมู ิเนียมและแก้ว ควรเลือกซื้อสินค้าท่ี บรรจุในกระป๋อง อลูมิเนียมหรือแก้ว แทนสินค้าท่ีบรรจุในภาชนะพลาสติก และโฟมเพราะอลูมิเนยี มและแกว้ สามารถน�ำกลบั ไปผลติ ใชไ้ ดใ้ หม่อีก 141
ตวั อย่างท่ี 77 การเลือกซือ้ ไมค่ วรเลือกซ้อื สนิ คา้ ท่ีถกู บรรจภุ ัณฑ์หรอื หมุ้ ดว้ ยบรรจุภัณฑ์ท่ีฟุม่ เฟอื ยมากเกนิ ไป ตัวอย่างท่ี 78 ควรเลอื กซ้ือผลติ ภณั ฑ์ชนดิ เขม้ ข้น ควรซ้ือผลิตภัณฑ์ชนิดเข้มข้นแล้วน�ำไปเจือจางเองโดยการเติมน้�ำก่อนใช้เป็นการประหยัด ภาชนะบรรจุได้ ตัวอยา่ งท่ี 79 ซอ้ื สินคา้ เท่าทจ่ี �ำเปน็ ควรเลือกซอื้ สนิ คา้ เท่าท่ีต้องการและใช้ให้หมด ตวั อยา่ งที่ 80 สนิ ค้าปลอดสารพษิ ควรเลือกซ้ือสินค้าท่ีปลอดสารพิษเท่านั้นเพื่อความปลอดภัยของชีวิตและสุขภาพร่างกายของตัว ท่านเอง ตัวอยา่ งที่ 81 คุณสมบตั ขิ องสารละลาย สารละลายเป็นสารที่มีคุณสมบัติในการละลายวัตถุอ่ืน ๆ โดยปกติแล้วสารละลายน้ีจะอยู่ในรูป ของเหลว เชน่ ผสมอยูใ่ นทินเนอร์ทใี่ ช้ผสมสีและอยู่ในแลคเกอร์ ตวั อย่างท่ี 82 วิธปี อ้ งกนั อันตรายจากสารละลาย ส่วนประกอบของสารเคมีในสารละลายเป็นอันตรายโดยตรงต่อดวงตาผิวหนังและปอด ทุกคร้ังที่ ตอ้ งใชส้ ารละลายควรจะตอ้ งแตง่ กายดว้ ยเสอ้ื แขนยาวสวมถงุ มอื ใสแ่ วน่ ตาและใชส้ ารละลายในทที่ เ่ี ปดิ โลง่ เทา่ นนั้ ตวั อย่างท่ี 83 ในห้องปรบั อากาศควรระบายอากาศ ในหอ้ งปรบั อากาศควรเปดิ หนา้ ตา่ ง ใหอ้ ากาศระบายไดใ้ นบางชว่ งและควรเปดิ พดั ลมดดู อากาศดว้ ย ทกุ ครั้งทเี่ ปิดแอร์ ตัวอยา่ งที่ 84 ผลิตภัณฑ์อนั ตรายไม่ควรทิง้ ลงแมน่ ำ�้ ผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ปน็ อนั ตราย ไดแ้ ก่ ผลติ ภณั ฑท์ ตี่ ดิ ไฟ นำ�้ มนั เชอื้ เพลงิ นำ�้ ยาละลายสี ผลติ ภณั ฑท์ เี่ ปน็ ก รด น้�ำยาทำ� ความสะอาด ผลิตภัณฑท์ ่ีเปน็ พิษ เช่น ยาก�ำจัดศตั รพู ชื เมอ่ื ใชแ้ ลว้ ตอ้ งมวี ธิ กี �ำจัดท่ถี ูกตอ้ ง และ ตอ้ งไม่ทิ้งลงแม่น้�ำ ตัวอย่างที่ 85 สารอันตรายไดออกซิน สารพิษที่มีอันตรายมากที่สุดที่เป็นส่วนประกอบของยาฆ่าแมลงคือไดออกซิน ไดออกซิน แม้เพียง จ�ำนวนเล็กน้อยก็เป็นสาเหตุของการ เกิดโรคมะเร็งได้จึงไม่ควรใช้ยากำ� จัดศัตรูพืชท่ีมีส่วนผสม ของไดออกซิน ตัวอยา่ งที่ 86 อันตรายจากเบนซนิ เบนซินเป็นตัวท�ำละลายท่ีมีพิษต่อร่างกายท่ีรุนแรงท่ีสุดคือเป็นต้นเหตุของการป่วยเป็นโรคลูคีเมีย และทำ� ลายไขกระดกู ตวั อยา่ งท่ี 87 ช่วยกันปลกู ตน้ ไม้อีก 5 เท่าจึงจะเพยี งพอ ในปริมาณการใช้ไม้ และจ�ำนวนพ้ืนที่ป่าไม้ ท่ีลดลงในปัจจุบันนั้น สามารถแก้ไขได้ด้วยการปลูก ต้นไม้ โตเร็ว มากกว่าทีป่ ลกู อยใู่ นปจั จบุ ันมากถึง 5 เท่า จึงจะเพียงพอกับการใช้ประโยชนใ์ น 142
ตวั อยา่ งที่ 88 ไฮโดรเจนคอื พลงั งานทดแทน ไฮโดรเจนเปน็ พลังงานทดแทนทไี่ ดม้ าจาก การแยกละลายสาร เชน่ ไฟฟา้ จากนำ�้ ไฮโดรเจนเป็น เช้อื เพลิงทีส่ ะอาดและไม่ก่อเกิดมลพิษทางอากาศดว้ ย ตัวอย่างท่ี 89 รถยนต์พลงั งานไฟฟา้ โลกได้ผลิตรถยนต์ชนิดใหม่เพื่อลดมลพิษให้กับท้องถนน รถยนต์ท่ีผลิตข้ึนใหม่นี้ ขับเคล่ือนโดย ขบวนการเปลย่ี นไฮโดรเจนเหลว ให้เปน็ พลังงานไฟฟ้าโดยไมต่ ้องผ่านขบวนการเผาไหม้ ตัวอย่างท่ี 90 ลักษณะของรถยนตพ์ ลังงานไฮโดรเจนเหลว รถยนตพ์ ลงั งานไฮโดรเจนเหลวนมี้ ลี กั ษณะเดยี วกบั รถไฟฟา้ แตแ่ ตกตา่ งกนั ตรงทม่ี ถี งั เกบ็ ไฮโดรเจน เหลวแทนแบตเตอร่ี ปจั จบุ นั พลงั งานไฮโดรเจนเหลวกำ� ลงั ไดร้ บั การพฒั นารปู แบบเพอ่ื ทจี่ ะนำ� มาใชบ้ นทอ้ ง ถนนแลว้ ตวั อย่างที่ 91 รถยนตพ์ ลงั งานไฮโดรเจนเหลวไมก่ ่อมลพษิ รถยนต์พลังงานไฮโดรเจนเหลวไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสภาพแวดล้อมเพราะไฮโดรเจนเหลวท่ีใช้กับ ตวั รถไดม้ าจากแหลง่ ท่ีสะอาด ตวั อยา่ งที่ 92 หลอดฟลอู อเรสเซนต์ประหยัดไฟ หลอดไฟฟา้ ฟลอู อเรสเซนต์ เปน็ หลอดไฟที่สามารถประหยัดพลังงานไฟฟา้ ได้ถึง 75% และมอี ายุ การใช้งานยาวนานกวา่ หลอด แบบขดลวดถงึ 10 เทา่ ตวั อย่างท่ี 93 วธิ ลี ดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ให้กับโลก หากเราเผาถ่านให้น้อยลงและเผาผลาญน้�ำมันให้น้อยลง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซอื่นๆ ทก่ี อ่ ใหเ้ กิดภาวะเรอื นกระจกข้ึนกบั โลกก็จะนอ้ ยลง ตวั อยา่ งที่ 94 ขยะกระดาษ ทุกๆ อาทิตยเ์ ราทิง้ กระดาษลงตระกร้าขยะมากถึง 1,000 ตนั แต่มเี พียงไมถ่ งึ รอ้ ยละ 10 ที่กระดาษ เหลา่ นนั้ ถูกน�ำกลับมาผลติ ใชไ้ ด้ใหมอ่ ีก ตัวอย่างท่ี 95 อนั ตรายจากสีทาบา้ น ในสนี ำ�้ มนั ทใี่ ชท้ าบา้ นมสี ว่ นประกอบของแคดเมยี มและไททาเนยี่ มออกไซด์ ไฮโดรคารบ์ อนซงึ่ เปน็ สารท่ีมีอนั ตรายดังน้ันเพอ่ื หลกี เลยี่ งอนั ตรายจากสารอนั ตรายควรใชส้ นี ำ้� ในการทาสีบ้าน ตัวอยา่ งท่ี 96 การเตมิ ลมยางรถชว่ ยประหยัดนำ�้ มนั ในการบำ� รงุ รกั ษาการเตมิ ยางรถทพ่ี อดจี ะชว่ ยในการประหยดั นำ้� มนั ไดก้ ารเตมิ ลมยางรถถา้ เตมิ ออ่ น เกินไป จะทำ� ให้ส้ินเปลืองน้�ำมันเพิ่มขน้ึ ถงึ รอ้ ยละ 5 ตามการหมนุ รอบของวงล้อทเี่ พ่ิมขึน้ ตวั อยา่ งที่ 97 เตมิ ลมยางรถชว่ ยยืดอายยุ างรถยนต์ การเติมลมยางรถยนต์ท่ีพอเหมาะพอดียังช่วยยืดอายุการใช้งาน ช่วยป้องกันไม่ให้ยางรถยนต์ฉีก ขาดไดง้ ่ายจากสาเหตุที่เตมิ ลมออ่ นหรือแข็งเกินไปอกี ด้วย ตวั อยา่ งที่ 98 เตาไมโครเวฟประหยัดไฟกว่าเตาอบ การใชเ้ ตาไมโครเวฟ จะชว่ ยประหยัด พลังงานจากไฟฟ้า มากกว่า เตาอบถงึ 1 - 2 เทา่ 143
ตัวอย่างท่ี 99 ถ่านไฟฉายที่ชารต์ ไฟใหมไ่ ด้ประหยดั กวา่ ถ่านไฟฉายธรรมดา ถา่ นไฟฉายทชี่ ารต์ ไฟไดใ้ หมน่ น้ั แมจ้ ะมสี ว่ นประกอบของแคดเมย่ี มแตก่ ม็ อี ายกุ ารใชง้ านไดน้ านกวา่ ถา่ นไฟฉาย แบบธรรมดาถึง 500 เทา่ และช่วยลดปรมิ าณ การใช้ถา่ นธรรมดา ได้มากทีส่ ุด ตัวอยา่ งที่ 100 อันตรายจากน�ำ้ ยาปรบั อากาศ ในน้�ำยาปรับอากาศแอร์รีเฟรชเชอเนอร์นั้นมีส่วนประกอบของสารเคมีประเภทเทอนอลไซลีนซ่ึง เป็นสารท่เี ปน็ อันตรายตอ่ ร่างกายมนษุ ย์ 4. วถิ ีชวี ิตตามแนวคดิ เศรษฐกิจหมุนเวียน ตัวอยา่ งข้อคดิ ใน 24 ช่วั โมงของการใชช้ ีวิตตามแนวคดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น 1. การเลอื กร้านอาหารทีใ่ สใ่ จในแนวคิดเศรษฐกจิ หมุนเวียน ภาคสังคมและธุรกิจตื่นตัวและน�ำแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียนมาปรับใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ เช่น บริษัท “Close the Loop” น�ำตลบั หมึกเคร่อื งพมิ พแ์ ละพลาสตกิ ออ่ นมาเป็นส่วนผสมในการท�ำถนนแทนการนำ� ไปท้งิ ผลิตภัณฑ์ทผี่ ลติ จากการดำ� เนินธุรกิจแบบเศรษฐกิจหมนุ เวียนจะเป็นผลติ ภณั ฑท์ ีส่ ่งผลกระทบหรือ ทำ� ลายสงิ่ แวดลอ้ มนอ้ ยกวา่ ผลติ ภณั ฑท์ ใ่ี ชว้ ธิ กี ารดำ� เนนิ งานรปู แบบเดมิ ในสว่ นของธรุ กจิ บรกิ ารกม็ กี ารให้ ความส�ำคัญในเรื่องนี้ เช่น การด�ำเนินธุรกิจประเภทร้านอาหารที่เล็งเห็นถึงผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมจาก การปรงุ อาหารและการใหบ้ รกิ าร โดยจะไมค่ ำ� นงึ ถงึ เฉพาะการเกดิ ขยะปลายทางแตย่ งั คำ� นงึ ถงึ การเกดิ ขยะ ตลอดกระบวนการเลือกใช้วัตถุดิบ กระบวนการจดั ซื้อจดั เก็บและเตรียมวตั ถดุ บิ กระบวนการปรุงอาหาร แมก้ ระทงั่ การจัดการกับเศษตัดแต่งท่ีเกดิ ขนึ้ ด้วย ภาพท่ี 1 ร้านอาหารทเ่ี ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม หรือ Green Restaurant 144
กรณศี กึ ษา ร้านโบ.ลาน อาหารไทย เห็นความส�ำคัญต้งั แต่การเลือกวตั ถดุ ิบใหส้ ่งผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อมน้อยท่ีสุด กระบวนการเตรียมวัตถุดิบในแต่ละขั้นตอนท่ีก่อให้เกิดขยะน้อยท่ีสุดและพยายามน�ำ เศษวัตถดุ บิ เหลือน�ำกลบั มาใช้ใหม้ ากสดุ ไม่เหลอื เปน็ ขยะ เชน่ เปลอื กตะไคร้น�ำมาตม้ เป็นน้ำ� ตะไครใ้ บเตย ข้าวสุกเหลอื น�ำไปตากแห้งแล้วคัว่ ท�ำน�้ำชาขา้ วควั่ ข้าวค่วั บดทำ� ข้าวตหู รอื น�ำไปทอดท�ำข้าวพอง ท�ำสบลู่ า้ ง มือจากน�้ำมันทอดอาหาร จนถึงกระบวนการจดั การกบั ขยะเพ่ือใหเ้ กดิ การน�ำมาใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างสูงสุด จนไดร้ บั การรบั รองทุกการกระทำ� กระทบต่อสง่ิ แวดล้อม นอกจากวตั ถดุ บิ และเครอื่ งปรงุ รา้ นอาหารยงั ต้องใช้ ไฟฟา้ แกส๊ และน้�ำ จำ� นวนมากในแต่ละวัน โบ.ลาน ตระหนักเรอ่ื งนีเ้ ปน็ อย่างดี และพยายามทำ� ทกุ อย่างใหส้ ง่ ผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อมน้อยทส่ี ุด เชน่ เลิกใช้น้�ำดื่มขวดพลาสติก และกรองน้�ำใส่ขวดแก้ว นอกจากลดปริมาณพลาสติกแล้ว ยังลดปริมาณเชื้อ เพลงิ ทใี่ ชใ้ นการขนสง่ นำ้� ด่ืมมาทรี่ า้ น มรี ะบบนำ้� หมนุ เวยี น โดยนำ� นำ�้ ทใี่ ชล้ า้ งผกั และนำ�้ ฝนลงไปเกบ็ ไวใ้ นแทงคใ์ ตด้ นิ เพอ่ื นำ� มาใชใ้ นการ รดน�ำ้ ตน้ ไมแ้ ละนำ้� กดชกั โครก ใช้ระบบท�ำน�้ำร้อนโดยดูดมวลความร้อนและใช้พลังงานความร้อนท่ีอยู่ในอากาศ มาท�ำให้น�้ำร้อน เพอ่ื ประหยดั พลังงานไฟฟ้า น�ำ้ มันเหลือใชจ้ ากการทอด จะถกู น�ำไปกรองใหส้ ะอาดแล้วนำ� ไปทำ� สบู่ หรือ ไบโอดีเซล ขยะทอ่ี อกจาก โบ.ลาน จะถกู แยกตามประเภท ไดแ้ ก่ กระดาษ พลาสตกิ ขวดแกว้ และขยะอนิ ทรยี ์ ทจี่ ะนำ� ไปหมักท�ำปุย๋ ชวี ภาพ และ ก๊าซชวี ภาพ ต่อไป 2. ทุกม้อื ของอาหารตอ้ งชว่ ยกนั ลดขยะอาหาร ภาพที่ 2 ร่วมรณรงคล์ ดขยะอาหารเพ่ือธุรกจิ ได้สง่ิ แวดลอ้ มดี มกี ารประมาณการวา่ ทกุ วนั นอี้ าหารทวั่ โลกถกู ทงิ้ ราว 1 ใน 3 ของอาหารทผ่ี ลติ ขน้ึ ปญั หาขยะอาหาร ท่ีเพิ่มขน้ึ สง่ ผลอยา่ งมากมายตอ่ ปญั หาส่ิงแวดลอ้ ม การสูญเสยี อาหารและขยะอาหารยังเปน็ สว่ นหน่งึ ของ เป้าหมายการพฒั นาทีย่ งั่ ยนื (SDGs) ซงึ่ องคก์ ารสหประชาชาติ ได้ก�ำหนดในปี 2558 เปา้ ประสงคท์ ่ี 12.3 145
อีกด้วยว่า “ลดขยะอาหารของโลกลงครึ่งหน่ึงในระดับค้าปลีกและผู้บริโภคและลดการสูญเสียอาหารจาก กระบวนการผลิตและหว่ งโซอ่ ุปทานรวมถงึ การสญู เสยี หลงั การเกบ็ เกี่ยว ภายในปี 2573” ขยะอาหารเป็นอาหารที่มนุษย์กินท้ิงกินขว้างและเหลือจากการกิน รวมไปถึงอาหารหมดอายุ ผัก ผลไมท้ ม่ี ตี ำ� หนแิ ละตกเกรดซง่ึ ถกู นำ� เอาไปทงิ้ กลายเปน็ ขยะ (Food Waste) ซง่ึ ถา้ พดู กนั ตามความเปน็ จรงิ ขยะอาหารบางส่วนที่ถกู ท้งิ เหล่านี้ สามารถน�ำมากินหรอื ใช้ประกอบอาหารได้ หากลงมือปอ้ งกันก่อนพวก ทอ่ี าหารจะกลายเป็นขยะ ขยะอาหารเหลา่ นีเ้ ป็นสาเหตุของภาวะโลกรอ้ น เกดิ จากการสะสมของก๊าซเรอื นกระจก เชน่ การ เผาไหม้ และการยอ่ ยสลายแบบไมใ่ ชอ้ อกซเิ จนซงึ่ ทำ� ใหเ้ กดิ กา๊ ซมเี ทนโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในขนั้ ตอนของการ กำ� จดั ขยะอาหารในปจั จบุ นั ซง่ึ สว่ นใหญย่ งั คงใชว้ ธิ ี “ฝงั กลบ” และวธิ นี เ้ี องเปน็ ตน้ เหตขุ องการเกดิ กา๊ ซมเี ทน รวมถงึ ก๊าซอืน่ ๆ ที่มีอันตรายตอ่ สขุ ภาพและส่ิงแวดล้อม การจดั การขยะอาหารสามารถทำ� ไดโ้ ดย 1.วางแผนกอ่ นการซือ้ ควรตรวจสอบอาหารท่มี อี ยู่ วางแผนรายการอาหารและซ้ือวัตถุดบิ ใหพ้ อดี กับทีบ่ ริโภค งดพฤติกรรมซ้ือมาตุนไว้จนกินไมท่ นั 2.รู้คุณค่าและความพอเหมาะ เตรียมอาหารให้พอเหมาะกับจ�ำนวนสมาชิกในครอบครัว ลดเศษ วัตถุดบิ จากการเตรียมอาหาร ตักอาหารให้พอดีกิน ไม่ตักในปรมิ าณที่มากเกินไป กรณไี ปกนิ ที่ร้านอาหาร หากกินไม่หมดสามารถหอ่ กลับ เกบ็ ไว้กินมื้ออืน่ หรือหากมีอาหารเหลอื ควรน�ำมาแปรรูปประกอบอาหาร เมนูอน่ื 3. รกั ษาอย่างถูกวิธี เกบ็ รักษาให้เหมาะสมกับประเภทอาหารในอุณหภมู ิท่ีเหมาะสม ไมค่ วรใส่ของ ในตู้เย็นแนน่ เกินไปจนความเย็นกระจายไม่ทวั่ ถงึ และคอยตรวจสภาพอาหารรวมถึงวันหมดอายุอย่เู สมอ 4. ทำ� บุญโดยไม่สร้างขยะอาหาร เตรียมอาหารสำ� หรบั ทำ� บุญในปรมิ าณท่เี หมาะสม 5. เหลอื ก็แบ่งปนั น�ำอาหารไปใชป้ ระโยชน์ เช่น การมอบอาหารใหผ้ ูอ้ น่ื ท่ีตอ้ งการ น�ำไปเป็นอาหาร สตั ว์ นอกจากจะช่วยลดปริมาณอาหารแล้วยงั เปน็ การแบง่ ปนั น�้ำใจใหก้ บั สังคมอีกด้วย เอกสารประกอบการอ่านเพม่ิ เติม CIRCULAR ECONOMY กรุงเทพมหานครกบั ระบบเศรษฐกจิ เพ่ือความยง่ั ยนื . (5 พฤศจกิ ายน 2561) สบื ค้น 26 ธนั วาคม 2561 จาก http://www.allaround plastics.com/article/sustainability/2113 Circular Economy: the Future We Create (3) เรียนรปู้ ระสบการณ์ระดบั โลก-ถอด โมเดลองค์กรธุรกิจช้ันน�ำ .(21 กรกฎาคม 2561). สืบค้น 12 มกราคม 2562 จาก https://thaipublica.org/2018/07/scgcircular-economy-the- future-we-create/ 146
Circular Economy เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น เทรนดใ์ หม่ธรุ กิจโลก โรดแมป PTTGC กับ โครงการ Upcycling Plastic Waste.(31 พฤษภาคม 2561). โพสทเู ดย์. สบื คน้ 12 มกราคม 2562 จาก https://www.posttoday.com/pr/552940 ปญั ญ์ชลี พมิ ลวงศ.์ (24 ตลุ าคม 2561). เศรษฐกจิ หมุนเวยี นต้องมองให้ไกล. สบื ค้น 15 มกราคม 2562 จาก https://www.prachachat.net/csr-hr/news-239370 ปางอุบล อานวยสทิ ธิ.์ (15 กันยายน 2560). Circular Economy: พลิกวกิ ฤติทรัพยากร ด้วยระบบเศรษฐกิจใหม่.สืบค้น 12 มกราคม 2562 จาก https://www. scbeic. com/th/detail/product/3831 ฝา่ ยเศรษฐกิจและศูนย์ขอ้ มูลหอการค้าไทย. (2561). Circular Economy. สบื คน้ 12 มกราคม 2562จาก https://www.thaichamber.org/content/file/ document/0906181536224841.pdf พัทธ์ธรี า วงศราวิทย์. (5 มถิ นุ ายน 2561). เศรษฐกิจหมุนเวียน. ประช�ำ ชำ�ตธิ ุรกจิ ออนไลน์. สืบค้น 28 ธันวาคม 2561 จาก https://www.prachachat.net/columns/ news-169313 มนตช์ ัย วงษ์กติ ติไกรวัล. (12 มิถุนายน 2561). เศรษฐกจิ หมุนเวยี นท่จี ะหมุนโลกทง้ั ใบใน อนาคตที่งาน Movin’On 2018. สืบคน้ 20 ธันวาคม 2561 จาก https:// thestandard.co/movin-on-2018-by-michelin/ Memagazine. (4 กันยายน 2561). ชูโครงการตน้ แบบ “หน่งึ หมบู่ ำ�้ นหนึ่งผลิตภัณฑ์” ประเทศญ่ีปุ่นหนนุ ชุมชนขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ หมุนเวียน. สบื ค้น 26 ธนั วาคม 2561 จาก https://www.memagazine.co.th/7054. เศรษฐกจิ หมุนเวียน โอกาสใหมข่ องธรุ กิจเพือ่ คว�ำ มย่ังยนื . (17 มิถนุ ายน 2561). สบื คน้ 26 ธันวาคม 2561จาก http://www.allaroundplastics.com/article/ sustainability/1898 สมาคมการจดั การธรุ กจิ แหง่ ประเทศไทย. (3 กนั ยายน 2561). Circular Economy. สืบคน้ 26 ธนั วาคม 2561จาก https://www.tma.or.th/2016/news_detail. php?id=311 สำ�นกั ขา่ วสง่ิ แวดลอ้ ม. (23 เมษายน 2561). เศรษฐกิจหมนุ เวียน เทรนด์ธรุ กิจใหม่สู่ความ ยัง่ ยืน. สบื ค้น22 ธันวาคม 2561 จาก https://greennews.agency/?p=16783 เอสซจี .ี (9 กรกฎาคม 2561). เอสซีจจี ัดงาน SD Symposium 2018 ดงึ ทุกภาคส่วนร่วม ขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นเสนอตน้ แบบความส�ำ เรจ็ จากองคก์ รชน้ั น�ำ จดุ ประกาย ความยัง่ ยนื ทรัพยากรโลก.สืบคน้ 26 ธนั วาคม 2561 จาก www.scg.com/th 147
บทที่ 11 ความตระหนักและแรงผลักดันสู่วิถีชีวิ ตภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน และสังคมเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Living in Action) 148
ความตระหนักในสิ่งแวดล้อม ปญั หาการเสอ่ื มโทรมลงของสงิ่ แวดลอ้ มจดั เปน็ ปญั หาทส่ี ำ� คญั ในระดบั โลกเพราะผลกระทบทเ่ี กดิ ขนึ้ จากปัญหาดงั กลา่ วล้วนสง่ ผลต่อสภาพการดำ� รงคงอยขู่ องสงิ่ มีชวี ติ ทั้งทางตรงและทางออ้ มอยา่ งหลีกเลีย่ ง ไมไ่ ด้ เราคงเคยเหน็ การรณณรงค์ให้ประชาชนใชห้ ลกั การ 5 R ในการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมอย่างง่ายๆ ในชวี ติ ประจำ� วนั ซง่ึ ไดแ้ ก่ 1) REDUCE หรอื ลดการใชใ้ นเชิงปริมาณใหม้ ากทีส่ ุด 2) REUSE หรอื การใช้ใหม่ใช้ซำ้� ซง่ึ กค็ ือการใช้อย่างประหยดั และรัดเข็มขดั ใหม้ ากทีส่ ดุ 3) REPAIR หรือการซอ่ มแซมเพอื่ ให้สามารถน�ำกลบั มาใช้ใหมโ่ ดยคุณคา่ ไมไ่ ดล้ ดลง อนั เปน็ การส่ง เสรมิ ใหเ้ กดิ การใชป้ ระหยดั ผนวกรวมกบั การลดขยะและของเสียทางอ้อม 4) RECYCLE หรอื การแปรรปู แลว้ นำ� กลบั มาใชใ้ หม่ ซง่ึ จดั เปน็ ยาขนานเอกในการรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม ทด่ี ที ส่ี ดุ 5) REJECT หรือการหลีกเลี่ยงการใช้ส่ิงท่ีอาจก่อให้เกิดมลพิษและส่ิงที่ขืนใช้ต่อไปมีหวังเกิดการ สูญเสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพอยา่ งแนน่ อน วิธีการนี้จัดเป็นการหลีกเล่ียงต้ังแต่วัตถุดิบต้นน�้ำไปจนถึงผลิตผลสุดท้ายจากการผลิตที่สร้างความ เสี่ยงภยั ใหเ้ กิดกับสิง่ มชี วี ติ ทงั้ นี้มาตรการ 5 R ที่เราน�ำมาใชแ้ ก้ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มน้นั จ�ำเป็นอย่างยิ่งทจี่ ะ ต้องสร้างให้เกิดขึ้นพร้อมไปกับการปรับเปล่ียนลักษณะนิสัยต่าง ๆ ท่ีใช้ในชีวิตประจ�ำวันควบคู่กันไปด้วย กลไกในการสรา้ งลกั ษณะนสิ ยั อนั ทเ่ี ปน็ ทยี่ อมรบั วา่ จะสามารถคงทนและอยไู่ ดน้ านในจติ ของมนษุ ยเ์ ราเรยี ก ว่า การสร้างให้เกดิ ความตระหนกั ในสิง่ แวดลอ้ ม (ENVIRONMENTAL AWARENESS) ในจิตใจของมนษุ ย์ ซ่งึ เป็นการปพู ื้นฐานทางด้านจติ ใจใหเ้ กิดขนึ้ ก่อนแล้วคอ่ ยบูรณาการน�ำศาสตร์ต่าง ๆ มาใช้ใหเ้ กดิ ผลทเ่ี ปน็ รปู ธรรม ความหมายของคำ� ตระหนกั (กริ ยิ า) คอื รปู้ ระจกั ษช์ ดั รชู้ ดั เจน ดงั นนั้ ความ ตระหนกั ในสงิ่ แวดลอ้ ม จงึ หมายถงึ การรูป้ ระจกั ษ์ชัดหรือรชู้ ดั เจนในเรอ่ื งส่งิ แวดลอ้ ม ความตระหนกั ในสิง่ แวดล้อมมีความหมาย โดยนัยเหมือนกับการมีจิตใต้ส�ำนึกในการรักษาส่ิงแวดล้อมเพราะความตระหนักเป็นการรู้ท่ีอยู่ใต้จิตส�ำนึก ตลอดเวลา ครั้งใดที่เกดิ ปัญหาหรือพบเหน็ เร่อื งราวท่ีเรามีความรู้ก็จะดึงจติ ใตส้ ำ� นึกทำ� ให้เหน็ ภาพไดอ้ ย่าง ชดั เจน ไม่ว่าในภาวะใดก็ตามความสำ� นกึ ท่ฝี งั ลกึ และถกู ตอ้ งนน้ั จะไมเ่ ปล่ยี นแปลง การรปู้ ระจกั ษช์ ดั หรอื การรชู้ ดั เจนในเรอ่ื งสง่ิ แวดลอ้ มนนั้ ถา้ จะใชค้ ำ� พดู ทสี่ ามารถจดจำ� ไดง้ า่ ยสำ� หรบั บคุ คลทว่ั ไปน่าจะใชค้ ำ� วา่ “รู้แจ้งเหน็ จรงิ ในเรื่องสงิ่ แวดล้อม” ซึ่งการรู้แจ้งเหน็ จรงิ น้ัน ตอ้ งอาศัยพืน้ ฐาน ความรูท้ างสงิ่ แวดล้อมอยา่ งถูกต้องตามหลักการ คอื รู้กว้างและรู้จกั การผสมผสานศาสตร์แขนงตา่ ง ๆ เข้า มาใชแ้ ก้ปญั หาร่วมกนั ในทกุ ๆ ครง้ั ท่ีเกดิ ปัญหาด้านสิง่ แวดล้อมขึ้น 149
การกอ่ ใหเ้ กดิ ความตระหนกั ในส่ิงแวดลอ้ มนัน้ สามารถแบง่ เป็นลำ� ดบั ได้ 4 ข้ันตอน คอื 1) มีความรู้ทช่ี ัดเจนและซาบซึ้ง หมายถงึ เข้าใจอยา่ งถ่องแทใ้ นเร่ืองสิ่งแวดล้อม รู้ว่าสิ่งใดถกู สิง่ ใดผิด สง่ิ ใดดีสิ่งใดไม่ดี ส่งิ ใดกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ส่ิงใดก่อให้เกิดโทษ และสง่ิ ใดกอ่ ใหเ้ กิดผลดีและผลเสยี ต่อ ส่ิงแวดล้อม 2) มคี วามรกั และความหวงแหน หมายถงึ รกั และความหวงแหนในสงิ่ ทเี่ ขา้ ใจอยา่ งถอ่ งแทส้ ำ� หรบั เรอ่ื ง ราวตา่ งๆ ของส่งิ แวดลอ้ มซง่ึ เป็นส่งิ ทีถ่ กู สิง่ ทดี่ ี สิง่ ทมี่ ีประโยชน์ และก่อให้เกดิ ผลดตี ่อมนษุ ยชาตแิ ละโลก เช่น ความรักและหวงแหนในความงามของธรรมชาติ ป่าเขา ชายทะเล เกาะแกง่ ตน้ ไม้ ลำ� ธาร ทรัพยากร ปา่ ไม้และสัตว์ปา่ เป็นตน้ 3) มีความวติ กและหว่ งใย หมายถงึ รสู้ ึกเปน็ หว่ งและกงั วลถึงส่ิงท่ีเกิดข้นึ กับส่งิ แวดลอ้ ม เชน่ เป็น ห่วงและกังวลต่อลักษณะนิสัยที่เห็นแก่ตัวไม่มุ่งประโยชน์ส่วนรวม ตักตวงผลประโยชน์จากธรรมชาติโดย ปราศจากความพอเพียง ความวติ กและความห่วงใยในสภาพภยั แล้งและวิกฤตการณ์การขาดแคลนน�้ำซงึ่ เกดิ จากการตัดไม้ทำ� ลายป่า เม่ือความวติ กและความห่วงใยขยายวงกวา้ งขึ้น สื่อตา่ ง ๆก็จะชว่ ยกันผลดั ดนั ขา่ วสารตา่ ง ๆออกสผู่ รู้ บั ซงึ่ กค็ อื ประชาชนทวั่ ไปทำ� ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ เปน็ หว่ งถงึ สง่ิ ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ กบั มนษุ ย์ และสง่ิ แวดลอ้ มทง้ั ในปจั จุบนั และอนาคต ซงึ่ จะสง่ ผลใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงตอ่ ส่ิงแวดล้อมในทางทีด่ ีขนึ้ ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มไม่มากก็นอ้ ย 4) การปฏิบัติอย่างจรงิ จัง เป็นขัน้ ตอนท่ีสำ� คญั ท่ีสดุ เพือ่ ให้เกดิ ความตระหนักในส่งิ แวดลอ้ ม เพราะ ขัน้ ตอนท้งั 3 ขอ้ ทีไ่ ด้กลา่ วมาในเบือ้ งต้นแล้วน้ันเปน็ เพยี งพืน้ ฐานท่ีก่อใหเ้ กดิ ผลทางดา้ นลักษณะนสิ ยั แต่ ผลทางนามธรรมทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มจำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั การปฏบิ ตั อิ ยา่ งจรงิ จงั ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม ในวิสยั ทมี่ นษุ ย์แตล่ ะคนพงึ กระทำ� ได้ ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีซ่ึงเกิดจากความฉลาดปราดเปรื่องของมนุษย์ ได้มีการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งแต่สภาพจิตใจท่ีคอยก�ำกับดูแลพฤติกรรมกลับถูกมองข้ามและไม่ได้รับการ พฒั นา เมื่อเป็นเชน่ นีพ้ ฤติกรรมท่ไี มพ่ ึงประสงค์เชน่ ความมักง่าย ความเห็นแก่ตัว และการไม่รจู้ ักอม่ิ รู้จกั พอ ท�ำใหต้ ้องกระเสอื กกระสนแสวงหาตลอดชวี ิต ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มจงึ ถูกมนษุ ยท์ �ำลาย ลงอย่างรวดเรว็ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ บั สิง่ แวดลอ้ มจงึ เป็นไปในลักษณะที่มนษุ ยท์ ำ� ลายสิง่ แวดลอ้ ม ปัญหามลพิษส่ิงแวดล้อมจึงเพ่ิมข้ึน ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ในลักษณะที่มนุษย์ถูกท�ำลายโดยส่ิงแวดล้อม เม่ือเป็นเช่นนี้การสร้างความตระหนักในส่ิงแวดล้อมจึงเป็นกระบวนการท่ีจ�ำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อยับย้ัง และ ปอ้ งกนั ไม่ให้ปญั หาดังกลา่ วลุกลามใหญโ่ ตเกนิ กว่าวสิ ยั ทจ่ี ะแก้ไขได้ แรงผลกั ดนั สู่วิถชี ีวติ ภายใต้แนวคดิ เศรษฐกจิ หมุนเวยี น องค์กรทางธุรกิจอุตสาหกรรมท้ังขนาดเล็กและขนาดใหญ่ไล่รวมไปถึงมนุษย์ในทุก Generation สามารถน�ำแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนมาปรับใช้ลงสู่การปฏิบัติเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง องค์กร และสงั คม ตามแนวคดิ ตา่ งๆ ดงั นี้ 150
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169