1
ข้อมูลทางบรรณานกุ รมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data วถิ ีชวี ิตตามแนวเศรษฐกจิ หมุนเวียนในศตวรรษท่ี 21.-- กรุงเทพฯ : คณะสิ่งแวดล้อม มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, 2564. 168 หนา้ . 1. การพัฒนาแบบยงั่ ยนื . 2. เศรษฐศาสตรส์ ิ่งแวดลอ้ ม. I. ช่ือเรอื่ ง. 338.297 ISBN 978-616-278-608-2 พมิ พ์ครงั้ ที่ 1 ปี พ.ศ. 2564 จดั พมิ พโ์ ดย ศนู ย์เชยี่ วชาญเฉพาะทางด้านกลยทุ ธธ์ ุรกิจทเี่ ป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อาคารคณะสิง่ แวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ (วิทยาเขตบางเขน) 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขต จตุจกั ร กรงุ เทพฯ 10900 พิมพ์ที่ บริษัท กู๊ดเฮด พริน้ ทต์ ิ้ง แอนด์ แพคเกจจง้ิ กรปุ๊ จ�ำกดั เลขที่ 6/1 นคิ มอุตสาหกรรมบางชนั ซอยเสรีไทย 58 แขวงมีนบรุ ี เขตมนี บุรี กรุงเทพฯ 10510 Tel. 02-136-7042 Fax.02-136-7043 Email: [email protected] 2
คำ� ขอบคุณ ในนามของเครือข่ายเศรษฐกิจหมุนเวียนส�ำหรับระดับอุดมศึกษา “CIRCULAR ECONOMY IN HIGHER EDUCATION” ขอแสดงความขอบคุณเป็นอย่างสูง ไปยังหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนทุนเพื่อ ด�ำเนินการพัฒนาหนังสือวิถีชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนในศตวรรษที่ 21 (Circular Lifestyle for the 21st Century) ได้แก่ ส�ำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม แห่งชาติ สถาบันคลังสมองของชาติ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายการ ศึกษาท่ัวไปแห่งประเทศไทย เครือข่ายส่งเสริมการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืนแห่งประเทศไทย และ โครงการความรว่ มมือภาครฐั ภาคธุรกจิ ภาคประชาสังคม เพอ่ื จัดการพลาสติกและขยะอยา่ งย่งั ยนื (PPP Plastics) ตลอดจน คณะทำ� งานฯ รายวชิ าการศกึ ษาทว่ั ไปในระดบั อดุ มศกึ ษา รวมทงั้ ผแู้ ทนนสิ ติ นกั ศกึ ษา หนว่ ยงานจากทกุ ภาคสว่ นทม่ี สี ว่ นรว่ มทส่ี ำ� คญั ในการใหข้ อ้ มลู แลกเปลยี่ นประสบการณ์ รว่ มประชมุ แสดง ข้อคิดเห็น อันเป็นการสนับสนุนการด�ำเนินงานพัฒนาหนังสือวิถีชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนใน ศตวรรษที่ 21 คณะท�ำงานฯ รายวิชาการศึกษาทัว่ ไปด้านเศรษฐกิจหมนุ เวียนส�ำหรับระดบั อุดมศึกษา 3
สารบัญ 6 18 บทท่ี 1 การเรยี นรอู้ ยกู่ ับธรรมชาติ 34 (Being Part of Nature) 46 บทที่ 2 ภาวะวกิ ฤตของปญั หาด้านทรัพยากร 62 (Global Footprint & Material Crisis) 78 บทท่ี 3 สถานการณ์ฉุกเฉินด้านสภาพภูมอิ ากาศและสง่ิ แวดลอ้ ม 86 (Climate Emergency) 102 บทที่ 4 คารบ์ อนฟตุ พร้ินท์ (Carbon Footprint) บทท่ี 5 ปัญหาขยะมูลฝอยและแนวคิดขยะเหลอื ศูนย์ (Municipal Solid Waste Problem and Zero Waste Concept) บทท่ี 6 แนวคดิ โดยตลอดวฏั จักรชวี ติ (Life Cycle Thinking) บทที่ 7 แนวคดิ เศรษฐกจิ หมุนเวยี น (Circular Economy) บทท่ี 8 โมเดลธรุ กจิ หมุนเวียน (Circular Business Model) 4
บทท่ี 9 นวัตกรรมประยุกต์ใชก้ ารคดิ เชงิ ออกแบบ 116 ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมนุ เวียน 130 (Design Thinking for Circular Business) 148 บทที่ 10 วถิ ชี วี ติ ภายใต้แนวคดิ เศรษฐกจิ หมุนเวียน (Circular Lifestyle) บทท่ี 11 ความตระหนกั และแรงผลักดันสู่วถิ ีชีวิตภายใต้ แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวยี นและสงั คมเศรษฐกิจหมนุ เวียน (Circular Living in Action) 5
บทที่ 1 การเรียนรู้อยู่กับธรรมชาติ (Being Part of Nature) เน้ือหาในบทนี้จะกล่าวถึงสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศท่ีช่วยเอ้ือประโยชน์ในการดำ�รงชีวิตของ มนุษยแ์ ละส่งิ มีชีวติ ชนดิ ตา่ งๆ อีกทง้ั ยงั แสดงใหเ้ ห็นถึงความเชื่อมโยงกันของสิ่งตา่ งๆ ในระบบนิเวศท่ีมี การพง่ึ พาอาศัยและเกือ้ กูลกัน คำ�ศัพท์และเนื้อหาตา่ งๆ ในบทนจี้ ะชว่ ยทำ�ให้นิสิตเขา้ ใจและตระหนกั วา่ มนุษย์เป็นส่วนหน่ึงของธรรมชาติ 6
1. ความหมายของคำ�ว่าสิง่ แวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติ และระบบนิเวศ ส่ิงแวดล้อม (environment) หมายถงึ ส่งิ ต่างๆ ทีอ่ ย่รู อบตวั เรา ท้ังสิ่งท่ีมีชีวิต สิ่งไม่มีชีวติ เหน็ ได้ ดว้ ยตาเปล่า และไมส่ ามารถเห็นไดด้ ้วยตาเปล่า รวมทั้งสง่ิ ที่เกิดขนึ้ โดยธรรมชาติ และส่ิงท่ีมนุษยเ์ ป็นผู้ สร้างขึน้ หรอื อาจจะกลา่ วได้วา่ สง่ิ แวดลอ้ มจะประกอบดว้ ยทรพั ยากรธรรมชาติ และทรัพยากรทม่ี นษุ ย์ สรา้ งข้นึ ในชว่ งเวลาหน่ึงเพอ่ื สนองความต้องการของมนุษยน์ นั่ เอง (สารานุกรมไทยสำ�หรับเยาวชน เลม่ ที่ 19 เรอ่ื งการจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม) สิ่งแวดล้อมทเี่ กดิ ข้นึ โดยธรรมชาติ ทง้ั ส่งิ มีชีวิตและไม่มชี ีวิต ไดแ้ ก่ บรรยากาศ นำ้ � ดิน แร่ธาตุ และ สง่ิ มีชีวติ ท่ีอาศยั อย่บู นโลก (พชื และสตั ว)์ ฯลฯ สิ่งแวดล้อมท่มี นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ ได้แก่ สาธารณูปการตา่ งๆ เช่น ถนน เขอ่ื นกน้ั น้ำ� ฯลฯ หรอื ระบบของ สถาบนั สงั คมมนุษย์ ทดี่ ำ�เนินชีวติ อยู่ ฯลฯ ความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) หมายถงึ ความหลากหลายของสงิ่ มชี วี ติ ชนดิ ต่างๆ บนโลกเช่น พชื สตั ว์ จลุ นิ ทรยี ์ ทพี่ บได้ในระบบนเิ วศต่างๆ เชน่ ระบบนิเวศบก ระบบนิเวศแหลง่ นำ้ �จืด และระบบนิเวศทางทะเล โดยสามารถพิจารณาระดบั ของความหลากหลายทางชวี ภาพได้ 3 ระดับไดแ้ ก่ ความหลากหลายของชนิดพนั ธ์ุ (species) ความหลากหลายทางพนั ธุกรรม (genetic) และความหลาก หลายของระบบนเิ วศ (ecosystem) ความหลากหลายทางชวี ภาพนำ�มาซง่ึ ประโยชน์มากมาย เช่น การ นำ�พืชมาใช้เปน็ ยารักษาโรค เคร่ืองน่งุ หม่ อาหาร ภาพที่ 1 แสดงใหเ้ หน็ ถงึ บริเวณพน้ื ทีต่ า่ งๆ ของโลกทีม่ ี ความหลากหลายของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ภาพท่ี 1 การแพรก่ ระจายของสตั ว์บกกล่มุ สตั ว์มกี ระดกู สันหลังในแตล่ ะภูมภิ าคของโลก โดยสแี ดงแสดงให้เหน็ วา่ บริเวณแนวเสน้ ศูนยส์ ูตรพบความหลากหลายของชนิดพนั ธุ์สตั วม์ ากทีส่ ุด และโซนสนี ้ำ�เงนิ พบการกระจายต่ำ� (ทม่ี า : https://en.wikipedia.org/wiki/Biodiversity) 7
ด้วยตระหนักถึงความสำ�คัญดา้ นความหลากหลายทางชีวภาพ จึงได้มีการประกาศอนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยความหลากหลายทางชวี ภาพ (The Convention on Biodiversity, CBD) ข้นึ อนุสญั ญาดงั กลา่ ว ลงนามโดยผนู้ ำ�จากรัฐบาลต่างๆ จาก 150 ประเทศในการประชมุ Earth Summit ท่เี มืองรโิ อ เดอ จา เนโร ประเทศบราซลิ เมื่อปี 2535 ปจั จุบันมปี ระเทศตา่ งๆ ร่วมลงนามแลว้ กว่า 196 ประเทศ อนสุ ัญญา วา่ ด้วยความหลากหลายทางชวี ภาพมไี ว้เพ่ือส่งเสริมการพัฒนาท่ียั่งยนื ความจำ�เปน็ ในด้านความม่นั คง ทางอาหาร ยา อากาศบริสุทธิ์และน้ำ� ทพ่ี กั พิง และสภาพแวดล้อมที่สะอาดและดตี ่อสขุ ภาพ รวมถึงการ อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและการแบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรพันธุกรรม อย่างยตุ ธิ รรมและเท่าเทียมกัน ระบบนิเวศ (ecosystem) เปน็ ระบบท่ปี ระกอบไปดว้ ย 1) สังคมของสง่ิ มชี ีวติ ได้แก่ ผ้ผู ลติ (pro- ducer) ไดแ้ ก่ พชื ผ้บู รโิ ภค (consumer) ได้แก่ สัตวช์ นดิ ต่างๆ และผ้ยู อ่ ยสลาย (decomposer) ไดแ้ ก่ จลุ นิ ทรยี ์ เหด็ รา และ 2) ปจั จัยสิง่ แวดล้อมทีไ่ มม่ ีชีวิต (เชน่ อณุ หภมู ิ ความชน้ื ลม) เปน็ ระบบทสี่ ่ิงมชี ีวติ ทั้งหลายมบี ทบาทหรอื กิจกรรมในการดำ�รงชวี ิตรว่ มกัน รวมถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสิง่ มีชวี ติ (organ- ism) กบั สงิ่ แวดล้อม (environment) ตามธรรมชาติ ระบบความสัมพนั ธส์ ว่ นใหญจ่ ะเก่ียวข้องกบั วิถีการ ดำ�รงชีวิต เชน่ การหาอาหาร การกนิ อาหาร การแข่งขนั เพือ่ การอยูร่ อด ในแง่ของการถ่ายทอดพลงั งาน การหมนุ เวียนสารในระบบนิเวศ รวมถงึ การปรับตวั ใหเ้ หมาะสมกับสภาพแวดล้อม การพง่ึ พากนั และท่ี สำ�คัญทส่ี ดุ คอื การรกั ษาสมดุลระหว่างส่งิ มีชวี ติ ในระบบนิเวศ ตวั อย่างระบบนเิ วศไดแ้ ก่ ระบบนเิ วศป่าไม้ ระบบนิเวศแหลง่ น้ำ�จืด ระบบนิเวศปา่ ชายเลน 2. หว่ งโซอ่ าหารและสายใยอาหาร ห่วงโซอ่ าหาร (food chain) เปน็ การจำ�ลองการถ่ายทอดพลงั งานผา่ นทางการกินและความ สมั พันธ์ระหวา่ งผู้ผลิตและผูบ้ รโิ ภคขนั้ ตา่ ง ๆ ในระบบนเิ วศ (หัวลกู ศรชไี้ ปทางผูไ้ ดร้ ับพลังงาน) หว่ งโซ่ อาหารสามารถแบง่ ได้เปน็ 2 ประเภทหลกั ได้แก่ ห่วงโซอ่ าหารท่เี ร่ิมตน้ จากพืช (grazing food chain) และหว่ งโซ่อาหารทเ่ี ริม่ ตน้ จากซากสารอินทรีย์ (detrital food chain) (ภาพที่ 2) 8
ภาพท่ี 2 ประเภทของห่วงโซ่อาหาร (ภาพบนเปน็ หว่ งโซ่อาหารประเภท grazing food chain เริ่มต้นจากหญา้ จาก น้นั หญา้ ถกู กวางกนิ เปน็ อาหาร แล้วสุดทา้ ยกลางถกู สงิ โตกินเป็นอาหาร ภาพล่างเป็นหว่ งโว่อาหารประเภท detri- talfoodchainท่ีเร่ิมตน้ จากเศษซากจากนัน้ เศษซากถูกใสเ้ ดือนกนิ เป็นอาหารแลว้ ไสเ้ ดอื นถูกหนูกนิ เป็นอาหาร) ท่มี า: https://www.slideshare.net/YhanMarianne/envi-3-energy-flow-in-an-ecosystem-final https://www.sarthaks.com/536415/describe-different-types-of-food-chains-that-exist-in-an- ecosystem 1. grazing food chain เร่ิมต้นจากกล่มุ ผ้ผู ลิตขัน้ ปฐมภูมิ (primary producer หรือ autotroph) ซง่ึ ไดแ้ ก่พชื น้ำ� สาหร่าย และแพลงกต์ อนพชื ผผู้ ลิตเหล่านี้สามารถสรา้ งหรือสงั เคราะห์อาหารไดด้ ้วยตัว เองจากกระบวนการสังเคราะห์แสง (photosynthesis) ในขณะเดียวกันกใ็ ช้พลงั งานส่วนหน่ึงจาก การสังเคราะหแ์ สงเพื่อใช้ในกระบวนการหายใจท่ีเกิดข้นึ ในเวลากลางคืน 2. detrital food chain กลุ่มท่ีเรม่ิ ต้นจากซากพืชซากสัตวเ์ ปน็ แหลง่ พลงั งานและอาหาร (detrital food chain) จะมสี ิง่ มชี ิวติ มากนิ ซากสารอินทรียเ์ หล่าน้เี ป็นอาหาร สำ�หรบั สง่ิ มชี วี ติ ทไี่ ม่สามารถ สร้างอาหารไดเ้ อง หรือทเี่ รียกว่า ผบู้ รโิ ภค (consumer หรือ heterotroph) ส่ิงมชี ีวิตเหลา่ นี้จะไดร้ บั พลังงานจากการกินพชื กนิ เศษซากหรอื กินสัตว์อน่ื เปน็ อาหาร (ภาพท่ี 2) 9
ภาพท่ี 3 ตวั อย่างห่วงโซ่อาหาร ทม่ี า: (http://wps.aw.com/bc_campbell_ essentials _2/ 0,7641,708230-,00.html) หมายเหต:ุ อธิบายคำ�ศพั ท์ A terrestrial food chain คอื ห่วงโซอ่ าหารทางบก และ a marine food chain คอื หว่ งโซอ่ าหารทางทะเล ประกอบไปด้วยพืช (plant) สตั ว์กินพืช (herbivore) สตั ว์ทีก่ ินสัตวเ์ ปน็ อาหาร (carnovire) นอกจากนน้ั ยงั ประกอบ ไปดว้ ยผู้ผลิต (producer) ผบู้ ริโภคลำ�ดบั ที่ 1 (primary consumer) ผบู้ รโิ ภคลำ�ดบั ท่ี 2 (secondary consumer) ผู้บรโิ ภคลำ�ดับที่ 3 (tertiary consumer) และผู้บริโภคลำ�ดบั ท่ี 4 (quaternary consumer) สายใยอาหาร (food web) ในระบบนเิ วศสิ่งมชี วี ติ สว่ นใหญ่ยอ่ มมแี หลง่ อาหารมากกว่า 1 แหล่ง เช่น ปลาขนาดใหญอ่ าจกินไดท้ ัง้ ปลาขนาดเลก็ และสัตวไ์ ม่มกี ระดกู สนั หลัง เพราะฉะนัน้ ระบบนเิ วศตาม ธรรมชาติจะมคี วามสลบั ซบั ซอ้ นและซอ้ นทับกนั ของหว่ งโซอ่ าหารและการถ่ายทอดพลังงานในระบบนเิ วศ ในรูปแบบของ “สายใยอาหาร” การกนิ อาหารในรูปของสายใยอาหารทซี่ ับซอ้ นนี้ เป็นปัจจัยสำ�คญั ท่ี ทำ�ให้ระบบนิเวศสมดลุ (ภาพท่ี 4) 10
ภาพที่ 4 ตัวอยา่ งสายใยอาหาร ทมี่ า https://calaski.wordpress.com/science-units/ecology/food-webs/ หมายเหต:ุ อธบิ ายคำ�ศพั ท์ เห็ดรา (fungi) แบคทีเรีย (bacteria) หญ้า (grass) ไม้ พ่มุ (shrub) ตน้ ไม้ (tree) ตก๊ั แตน (grasshopper) กระตา่ ย (rabbit) กระรอก (squirrel) กวาง (deer) หนู (shrew) งู (snake) นกกนิ แมลง (insect-eating bird) เหยยี่ ว (hawk) และ สิงโตภเู ขา (mountain lion) มนุษย์เปน็ สว่ นหนงี่ ของระบบนิเวศ มนษุ ยต์ อ้ งการพลังงานมาใชใ้ นการดำ� เนินชีวติ ประจำ� วนั เช่น การออกไปท�ำงาน เรยี นหนังสอื เล่นกฬี า พลงั งานเหล่าน้ไี ด้มาจากการถา่ ยทอดพลังงานในหว่ งโซ่อาหาร โดยเริ่มต้นตั้งแต่พลังงานจากดวงอาทิตย์ถูกเปลี่ยนรูปให้เป็นพลังงานจากเคมีจากกระบวนการสังเคราะห์ แสงของพืช จากน้ันพลังงานจะถูกถ่ายทอดต่อมาสู่สัตว์ท่ีกินพืชเป็นอาหารและสู่สัตว์ท่ีกินสัตว์เป็นอาหาร ด้วยแนวคิดของห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหารน้ีเองจึงเป็นข้อยืนยันให้เห็นว่า มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของ ธรรมชาติ ทย่ี งั คงตอ้ งพงึ พาอาศยั ทรพั ยากรธรรมชาตเิ พอ่ื การอยรู่ อดเหมอื นกบั สงิ่ มชี วี ติ อนื่ ๆ ในระบบนเิ วศ 11
3. ทรพั ยากรธรรมชาติ (natural resources) การดำ�รงชวี ติ ของมนุษย์มกี ารนำ�ทรพั ยากรต่างๆ มาใช้มากมาย ทรพั ยากรธรรมชาติมีหลากหลาย ประเภท การใช้ทรัพยากรแตล่ ะประเภทควรจะต้องอย่บู นพ้นื ฐานความเข้าใจของทีม่ าของทรัพยากรเพอื่ ใหเ้ กิดการใชป้ ระโยชนท์ ่ีค้มุ คา่ เมอ่ื พดู ถงึ ทรัพยากรธรรมชาติ (natural resources) จะหมายถงึ ส่งิ ตา่ งๆ (สง่ิ แวดล้อม) ท่เี กิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และมนษุ ยส์ ามารถนำ�มาใช้ประโยชน์ได้ เช่น ดิน นำ้ � ปา่ ไม้ ทงุ่ หญา้ สตั วป์ า่ แร่ธาตุ และพลงั งาน เปน็ ต้น ทรพั ยากรธรรมชาติทกุ ประเภทนั้น จะเป็นส่วนหน่ึงของสิ่งแวดลอ้ ม แต่ส่ิงแวดลอ้ มทุกชนิด ไม่เป็นทรพั ยากรธรรมชาติทง้ั หมด ซ่ึงอาจกลา่ วสรุปได้ว่า การท่ีจะจำ�แนกสิ่งแวดล้อมใดๆ เปน็ ทรัพยากรธรรมชาตนิ ้ัน มปี ัจจยั ท่เี กยี่ วขอ้ งหลายประการ ประการแรก เกดิ จากความตอ้ งการของมนษุ ย์ ที่จะนำ�สงิ่ แวดล้อมมาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์กบั ตนเอง ประการท่สี อง การเปลย่ี นแปลงตามกาลเวลา ถา้ ยงั ไม่ นำ�มาใช้กเ็ ป็นสิ่งแวดลอ้ ม แตถ่ า้ นำ�มาใช้ประโยชนไ์ ด้ กจ็ ะกลายเปน็ ทรพั ยากรธรรมชาติในช่วงเวลานน้ั ๆ และประการทีส่ าม สภาพภมู ศิ าสตรแ์ ละความห่างไกลของสง่ิ แวดล้อม ถ้าอยู่ไกลเกนิ ไปคนอาจไมน่ ำ�มาใช้ กจ็ ะไม่สามารถแปรสภาพเป็นทรพั ยากรธรรมชาติได้ การจำ�แนกประเภททรัพยากรธรรมชาติ แบ่งได้ 3 ประเภท ดงั น้ี (นวิ ตั ิ เรืองพานชิ , 2546) ทรพั ยากรหมุนเวียนหรอื ทรัพยากรทใ่ี ช้ไมห่ มดสิน้ (inexhaustible natural resources) เปน็ ทรัพยากรทมี่ ีอยู่ในธรรมชาติอยา่ งมากมาย อาทเิ ช่น แสงอาทติ ย์ อากาศ และนำ้ �ในวฏั จักร ทรัพยากร ประเภทน้มี ีความจำ�เป็นตอ่ ร่างกายมนุษยแ์ ละส่งิ มชี ีวติ ทรพั ยากรทดแทนไดห้ รอื รกั ษาไวไ้ ด้(replaceablenaturalresources/maintainablenatural resources) เป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ีใช้แล้วสามารถฟ้นื คนื สภาพได้ ทัง้ ในระยะสั้น และระยะยาว ซึง่ ได้แก่ ปา่ ไม้ มนุษย์ สัตวป์ า่ พืช เน้อื ดนิ /ที่ดนิ (maintainable) และน้ำ� ทรพั ยากรประเภทน้ี มักจะมมี าก และจำ�เป็นอยา่ งยง่ิ ตอ่ มนษุ ย์และสงิ่ มชี ีวติ อ่นื ๆ มนุษยต์ ้องการใช้ทรัพยากรนีต้ ลอดเวลา เพ่อื ปจั จัยส่ี การ เกบ็ เกยี่ วผลประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาตชิ นดิ น้ี หรอื การนำ�มาใช้ประโยชน์ ควรนำ�มาใชเ้ ฉพาะสว่ นท่ี เพม่ิ พูนเทา่ น้นั หรอื อกี นยั หน่ึงแนวคดิ นถี้ ือว่า ฐานของทรัพยากรธรรมชาตทิ มี่ อี ยู่ เปรยี บเสมือนต้นทุน ท่ี จะไดร้ ับผลกำ�ไรหรือดอกเบ้ียรายปี โดยสว่ นกำ�ไรหรือดอกเบ้ยี นี้ก็คอื สว่ นท่เี ราสามารถนำ�มาใช้ประโยชน์ ไดน้ นั่ เอง ทรพั ยากรท่ใี ช้แล้วหมดไป ไม่งอกเงย (exhaustable natural resources) เป็น ทรัพยากรธรรมชาติท่ใี ช้แลว้ จะหมดไป ไม่สามารถเกดิ ขนึ้ มาทดแทนได้ หรือถา้ จะเกิดขน้ึ มาทดแทนได้ ก็ ต้องใช้เวลานานมาก และมกั เปน็ ทรัพยากรทีม่ ีความสำ�คญั ทางดา้ นเศรษฐกิจ ซง่ึ ไดแ้ ก่ น้ำ�มัน ปโิ ตรเลียม กา๊ ซธรรมชาติ และสินแร่ การจัดการทรัพยากรประเภทน้ี จะตอ้ งเนน้ การประหยดั และพยายามไม่ใหเ้ กิด การสญู เสีย ตอ้ งใช้ตามความจำ�เปน็ หรือถา้ สามารถใชว้ สั ดุอ่ืนแทนได้ ก็ควรนำ�มาใชแ้ ทน รวมทัง้ ตอ้ งนำ� สว่ นทเ่ี สยี แลว้ กลบั มาใช้ประโยชนใ์ หค้ ุ้มคา่ ต่อไป 12
4. บริการของระบบนิเวศ (ecosystem services) คุณค่าและความสำ�คัญของระบบนิเวศถูกแบ่งแยกตามประเภทของผลิตภัณฑ์ของระบบนิเวศ (goods of ecosystem) และบรกิ ารของระบบนิเวศ (services) คำ�ว่าการบรกิ ารของระบบนเิ วศนั้น (ecosystem service) หมายถงึ ประโยชน์ที่มนุษย์ได้รบั จากระบบนเิ วศ (the benefits people obtain from ecosystems) ทั้งในรูปของผลิตภัณฑต์ า่ ง ๆ รวมถงึ ประโยชนท์ ี่ได้จากกระบวนการต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ทางธรรมชาติ (Millennium Ecosystem Assessment, 2005) ซึ่งแบ่งเป็น 4 ด้านสำ�คญั (De Groot et al., 2006) ไดแ้ ก่ (รฐั ชา ชยั ชนะ, 2558) บรกิ ารด้านเปน็ แหลง่ ผลติ (provisioning service) ซ่ึงไดแ้ ก่ ผลิตภัณฑต์ า่ ง ๆ ทไ่ี ด้จากระบบ นเิ วศแหล่งนำ้ �จดื เช่น น้ำ�จืดสำ�หรับอุปโภคและบรโิ ภค สำ�หรบั การเกษตรและอตุ สาหกรรม ผลิตภณั ฑ์ที่ เป็นแหลง่ อาหารจากสตั ว์นำ้ � เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา ซึ่งเปน็ แหล่งโปรตีนที่สำ�คญั ของคนและสัตว์ รวมถึงพชื นำ้ �ชนิดต่าง ๆ เชน่ บวั ผักบุ้ง ผักกระเฉด ทีใ่ ช้ในการบรโิ ภค พชื สมุนไพร เช่น ผกั หนามท่นี ำ�มาใชเ้ ปน็ ยา แกไ้ อ ขบั เสมหะ และแก้อาการผนื่ คนั พชื ทใี่ ช้ทำ�วสั ดแุ ละอุปกรณต์ ่าง ๆ ในชวี ติ ประจำ� เช่น ต้นกก ต้น จาก นำ�มาเป็นวัสดจุ กั สาน ทอเสือ่ เฟอร์นิเจอร์ ของตกแต่งบ้าน หรอื มงุ หลงั คา พืชน้ำ�บางชนิดท่นี ำ�มา ใช้ในการบำ�รงุ ดนิ เช่น แหนแดง โสน หรอื นำ�มาใชเ้ ปน็ แหล่งพลังงาน เชน่ สาหรา่ ยและดนิ พีท เป็นตน้ นอกจากน้ียงั รวมถึงพชื และสตั ว์น้ำ�สวยงามท่คี นนยิ มนำ�มาเลีย้ งหรือปลกู เพอ่ื ประดับบา้ นเรอื น ผลติ ภณั ฑ์ ตา่ ง ๆ เหลา่ นี้นอกจากจะใชบ้ ริโภคภายในครัวเรอื นแลว้ ยงั ถอื ว่าเป็นแหลง่ สร้างรายไดท้ ีส่ ำ�คัญให้กับ ประชาชนอีกดว้ ย บรกิ ารดา้ นการควบคมุ (regulating service) เป็นบริการทไี่ ดจ้ ากการควบคมุ กิจกรรมและ กระบวนการต่าง ๆ ท่เี กดิ ขนึ้ ในระบบนเิ วศ เช่น เป็นแหล่งเกบ็ กักธาตุคารบ์ อนโดยพชื น้ำ�และแพลงกต์ อน พืชทีใ่ ชแ้ กส๊ คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นการสังเคราะห์แสง เป็นแหลง่ ควบคุมและหมุนเวียนสภาพภูมอิ ากาศ ผ่านทางวัฎจกั รของน้ำ� รักษาสมดุลและควบคมุ อุณหภมู ิ แหลง่ น้ำ�จืดยังทำ�หนา้ ทเ่ี ปน็ เสมือนระบบบำ�บัด น้ำ�เสียขนาดใหญ่ เพราะในแหลง่ นำ้ �มสี ิ่งมีชวี ิตชนิดต่าง ๆ เช่น พืชและจุลินทรยี ท์ ี่ช่วยดูดซมึ และยอ่ ยสลาย มลสารตา่ ง ๆ ท่ลี งสแู่ หล่งนำ้ �และบำ�บัดนำ้ �ใหม้ ีคณุ ภาพดีข้นึ ได้ นอกจากนน้ั แหลง่ นำ้ �ยงั เป็นเสมือนเขือ่ น ธรรมชาติหรอื แก้มลิงทชี่ ว่ ยชะลอและเก็บกักนำ้ �เพือ่ ปอ้ งกนั นำ้ �ทว่ มในนำ้ �หลาก ปอ้ งกนั การกดั เซาะพงั ทลายของชายฝ่ัง เป็นแหลง่ น้ำ�สำ�หรับรักษาสภาพการเป็นระบบนิเวศในชว่ งฤดูแลง้ เป็นแหล่งเก็บกกั และ ระบายน้ำ�ใต้ดิน นอกจากนี้ยงั เปน็ แหลง่ เก็บกักเก็บกักตะกอน การปอ้ งกันการรกุ ล้ำ�ของน้ำ�เคม็ ไม่ใหเ้ ขา้ มา ในพ้ืนทน่ี ้ำ�จืด รวมถึงเปน็ แหลง่ พันธกุ รรมพืชทชี่ ว่ ยในการผสมเกสรก่อใหเ้ กิดผลติ ภัณฑท์ างธรรมชาติ การ ควบคมุ ศตั รพู ืช และโรคชนิดต่าง ๆ ทางชวี ภาพ เชน่ ปลากนิ ลกู นำ้ �ซ่งึ เปน็ ตัวอ่อนของยุง และการควบคุม การรุกรานของชนดิ พันธุพ์ ชื และสตั ว์น้ำ�ตา่ งถ่นิ โดยศัตรแู ละผู้ล่าธรรมชาติ บรกิ ารด้านวฒั นธรรม (cultural service) เปน็ บริการทใ่ี ห้คณุ คา่ ทางดา้ นจติ ใจต่อมนษุ ย์ เชน่ คุณค่าในการเป็นสถานทีพ่ กั ผอ่ นหย่อนใจและการท่องเทีย่ ว มีความสวยงามทางธรรมชาติ เช่น บงึ บอ ระเพ็ด บึงบัวที่ทะเลนอ้ ย รวมถึงคุณค่าทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ศลิ ปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี และ 13
วิถีชีวติ ทเี่ กยี่ วเน่ืองกบั สายนำ้ � เชน่ การแข่งเรอื ยาว ประเพณีชักพระ ประเพณที อดกฐินและแหเ่ ทยี น พรรษาทางน้ำ� เทศกาลลอยกระทง ตลาดนำ้ � รวมถึงการศกึ ษาวจิ ัยและเปน็ แรงบนั ดาลใจด้านกวนี พิ นธ์ และวรรณกรรมด้วย บริการดา้ นการสนับสนุน (supporting service) เช่น เป็นแหลง่ ผลผลิตทางชวี ภาพเพือ่ ให้เกิด บริการดา้ นอน่ื ๆ ดงั ที่ได้กล่าวไปขา้ งตน้ เป็นแหล่งหมุนเวยี นและกำ�เนิดดิน วัฏจกั รนำ้ � แหลง่ ทอี่ ยู่อาศัย รวมท้ังยงั เปน็ การหมุนเวียนสารอาหารที่สำ�คัญ ๆ ท่ถี ูกพดั พาสรู่ ะบบริเวศบกและระบบนเิ วศแหลง่ น้ำ� เพื่อเอ้อื ให้พชื และสัตวใ์ นระบบนิเวศเจรญิ เติบโตไดด้ ี การอนุรักษ์ (conservation) การอนรุ กั ษ์ หมายถงึ การสงวน ปอ้ งกัน รกั ษา และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม จากการถกู คกุ คามหรอื ทำ�ลายอันจะนำ�ไปสู่ความเสื่อมโทรมและสูญเสยี และยงั หมายรวมถงึ การใช้ ทรัพยากรธรรมชาตอิ ยา่ งชาญฉลาด (wise use) เพอ่ื ให้เกิดประสิทธิภาพและเกิดประโยชนส์ ูงสุด 5. การจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม หมายถึง การดำ�เนนิ งานตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ทัง้ ในดา้ นกระบวนการได้มาซ่ึงทรัพยากร การจดั หา การเก็บรักษา การซอ่ มแซม การใชอ้ ยา่ งประหยดั และการสงวนรกั ษา เพอ่ื ใหท้ รพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม นนั้ สามารถเอ้อื อำ�นวยประโยชนแ์ กม่ วลมนุษย์ไดใ้ ชต้ ลอดไป อยา่ งไม่ขาดแคลน หรอื มปี ญั หาใดๆ หรอื อาจจะหมายถึง การใช้ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม เพอ่ื สนองความตอ้ งการในระดับตา่ งๆ ของ มนษุ ย์ และเพือ่ ใหบ้ รรลุเปา้ หมายสูงสดุ ของการพัฒนาคอื เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ สงั คม และคุณภาพ สง่ิ แวดล้อม โดยยึดหลักการอนรุ กั ษ์ ดว้ ยการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมอยา่ งฉลาด ประหยัด และก่อให้เกิดผลเสยี ตอ่ ส่งิ แวดล้อมน้อยทส่ี ุดเทา่ ทจ่ี ะทำ�ได้ (สารานกุ รมไทยสำ�หรับเยาวชน เล่มท่ี 19 เร่ืองการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม. มปป.) การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมจะตอ้ งยดึ หลักการทางอนรุ ักษ์วิทยา เพ่อื ประกอบ การดำ�เนนิ งานในการจัดการดังนี้ คือ 1) การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มจะต้องเปน็ ไปอยา่ งสมเหตสุ มผล ใชอ้ ย่างฉลาด หรือ ใชต้ ามความจำ�เปน็ ไม่ใชอ้ ยา่ งฟมุ่ เฟอื ย และไมเ่ กดิ การสูญเปลา่ หรือเกดิ การสูญเปลา่ น้อยท่สี ุด 2) การประหยัดของทห่ี ายาก และของท่กี ำ�ลงั สูญพนั ธุ์ 3) การปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมส่งิ ที่เสื่อมโทรมให้คืนสภาพก่อนนำ�ไปใช้ เพื่อใหร้ ะบบส่งิ แวดล้อมดขี ้ึน 14
6. กลยุทธใ์ นการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมจะต้องมแี นวทางและมาตรการตา่ งๆ ท่ีตอ้ งดำ�เนิน การให้สอดคล้องกนั ไป ซึ่งขึน้ กบั สถานภาพของปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ และเป็นอยใู่ นขณะนนั้ แนวทาง และ มาตรการดงั กล่าว จะมลี ักษณะอยา่ งหน่งึ อยา่ งใด หรอื มที กุ ลกั ษณะประกอบกัน ดงั น้ี (สารานุกรมไทย สำ�หรบั เยาวชน เลม่ ที่ 19, มปป.) การรกั ษาและฟ้นื ฟู เพื่อการปรับปรุงแก้ไขทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมที่ประสบปญั หา หรือถูกทำ�ลายไปแล้ว โดยจะต้องเร่งแกไ้ ข สงวนรักษามิให้เกิดความเสือ่ มโทรมมากยิ่งข้นึ และขณะ เดียวกัน จะตอ้ งฟ้นื ฟสู ภาพแวดลอ้ มทเี่ สยี ไปใหก้ ลับฟ้ืนคืนสภาพ การป้องกัน โดยการควบคมุ การดำ�เนนิ งานและการพัฒนาตา่ งๆ ใหม้ กี ารปอ้ งกนั การทำ�ลาย สภาพแวดล้อม หรอื ใหม้ ีการกำ�จดั สารมลพษิ ตา่ งๆ ด้วยการวางแผนปอ้ งกันตั้งแตเ่ รม่ิ ดำ�เนนิ โครงการ การส่งเสรมิ โดยการให้การศึกษาความร้แู ละความเข้าใจต่อประชาชน เกี่ยวกับความสัมพนั ธใ์ น ระบบทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มหรอื ระบบนิเวศ เพือ่ ใหเ้ กดิ จิตสำ�นกึ ทางดา้ นสิ่งแวดล้อม และมี ความคดิ ทีจ่ ะร่วมรบั ผดิ ชอบในการปอ้ งกนั และรักษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มทม่ี ีอยู่ การอนรุ ักษ์และการจัดการทรัยพากรธรรมชาตมิ คี วามสำ�คัญตอ่ การดำ�รงชีวิตของมนษุ ย์ ทว่า ในปจั จุบนั มนษุ ย์มองตัวเองวา่ อยสู่ ว่ นบนสดุ ของระบบนิเวศ ตามการเปรียบเทยี บว่าเปน็ Ego-system โดย ego ให้ความหมายถงึ อัตตา ความถือตัวเองเปน็ สำ�คัญ ซง่ึ เปรียบเสมือนมนษุ ย์เป็นผูค้ วบคุมระบบ นิเวศพยายามอย่เู หนือธรรมชาติ ควบคุมธรรมชาติ และใช้ทรัพยากรเพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการทไ่ี ม่มที ี่ สนิ้ สุดของตนเอง โดยไม่คำ�นงึ ถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศ ส่วนในระบบนิเวศ (ecosystem) ท่แี ทจ้ รงแล้ว มนุษยค์ วรที่จะเป็นสว่ นหนึง่ ของธรรมชาติ (being part of nature) โดยจะอยกู่ ันดว้ ยความพึ่งพาอาศัย แชรท์ รัพยากรและผลประโยชนร์ ว่ มกนั บนพนื้ ฐานของการใชท้ รัพยากรร่วมกันอย่างสมดลุ และคำ�นงึ ถงึ ผลกระทบต่างๆ ท่ีจะเกิดขน้ึ ต่อระบบนิเวศ เพือ่ ให้เกดิ ความยงั่ ยืนของการดำ�รงชีวิตอยรู่ ว่ มกัน ภาพที่ 5 Ego-system และ Eco system ทีม่ า : https://www. veganindia.net/ vegan-food-chain-argu- ment/ 15
นอกจากเรือ่ งของพลงั งานแลว้ การท่มี นุษยจ์ ะดำ�รงชวี ิตอยไู่ ดอ้ ยา่ งเป็นปกติสขุ ยังตอ้ งอาศยั เรอื่ ง ของสภาพแวดลอ้ มทีส่ ะอาดและเออื้ ตอ่ การใชช้ ีวติ ของมนษุ ย์ เช่น อากาศทส่ี ะอาด น้ำ�ที่สะอาด ซงึ่ สิง่ มี ชีวติ ชนิดอืน่ ๆ ในระบบนเิ วศกต็ อ้ งการสภาพแวดลอ้ มทสี่ มบูรณ์และปราศจากปญั หามลพิษเชน่ เดยี วกัน ถ้าสภาพแวดล้อมเกิดความเส่ือมโทรมจากปัญหาการปนเป้ือนด้วยมลพิษหรือเส่ือมโทรมจากการทำ�ลาย ก็ย่อมจะสง่ ผลต่อห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหารในระบบนเิ วศ ซึง่ ในท้ายที่สุดแล้ว กจ็ ะส่งผลกระทบต่อ ตัวมนุษย์เอง คำ�ถามทตี่ ามมาคอื เราจะเปล่ียนแปลงสงั คมแบบ Ego-system ไปสสู่ งั คมแบบ Ecosys- tem ไดอ้ ย่างไร คงต้องลองตดิ ตามและหาคำ�ตอบได้ในเนอ้ื หาสว่ นตอ่ ไปๆ ของรายวชิ านี้ เอกสารอา้ งองิ สารานกุ รมไทยส�ำ หรบั เยาวชน เล่มท่ี 19 เร่อื งการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดล้อม. มปป. Available at http://saranukromthai.or.th/sub/book book.php?book=19&chap=1&page=t19-1- infodetail03.html (สบื ค้นเม่ือ 5 พฤษภาคม 2563) นิวัติ เรอื งพานิช. 2546. การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม. ส�ำ นักพิมพม์ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรงุ เทพ. 414 หนา้ . รัฐชา ชยั ชนะ.2558. การฟ้ืนฟรู ะบบนิเวศแหลง่ น�ำ้ นิง่ . สำ�นักพิมพม์ หาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ กรงุ เทพฯ. 226 หนา้ . Chenn, P. 1999. Ecology. Alden Press, Oxford, United Kingdom. 213 pp. De Groot, R.S., M.A.M Stuip, C.M. Finlayson, and N. Davidson. 2006. Valuing wetlands; guidance for valuing the benefits derived from wetland ecosystem services. Ramsar Technical Report No. 3 CBD Technical Series No. 27. Ramsar Convention Secretariat, Gland, Switzerland and Secretariat of the Convention on Biological Diversity, Montreal, Canada. 16
17
บทที่ 2 ภาวะวิกฤตของปัญหาด้านทรัพยากร (Global Footprint & Material Crisis) 18
1. ปรมิ าณและการใชท้ รพั ยากรทสี่ ำ�คญั ของโลกในแตล่ ะแหล่งทรัพยากร ต่างท่วั โลกพรอ้ มทงั้ ความหมายของรอยเท้าวสั ดุ (Material footprint) 1.1 ปรมิ าณและการใช้ทรพั ยากรท่สี ำ�คญั ของโลก การเพม่ิ ประชากรอย่างรวดเรว็ (Exponential) ทำ�ใหม้ ีการนำ�ทรัพยากรธรรมชาตมิ าใช้สนอง ความตอ้ งการในการดำ�รงชวี ติ มากยงิ่ ข้นึ ทง้ั ทางดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพ ซ่งึ บางครง้ั เกนิ ความจำ�เป็น จนทำ�ใหร้ ะบบนิเวศต่าง ๆ เสียสมดุล ทรัพยากรธรรมชาติบางอย่างเสื่อมโทรม รอ่ ยหรอหรือเกดิ การ เปลี่ยนแปลงจนไมส่ ามารถเอือ้ ประโยชน์ได้เชน่ เดมิ ซึ่งจากการสำ�รวจแหลง่ ของทรัพยากรของโลก ท่ี สำ�คัญและกำ�ลังจะหมดส้นิ ลงไป ประกบไปดว้ ย ทรัพยากรพลงั งาน ทรพั ยากรแรธ่ าตแุ ละโลหะเพ่อื การ อตุ สาหกรรม โดยแหล่งทีค่ น้ พบทรพั ยากรข้ึนอย่ตู ามภมู ปิ ระเทศที่แตกต่างกนั ไปในแต่ละทวีปของโลกทมี่ ี ความหลากหลายทง้ั ทางดา้ นภมู ศิ าสตรแ์ ละสภาพภมู อิ ากาศของโลก ทัง้ นี้ทรัพยากรพลงั งานสว่ นใหญจ่ ะ อยใู่ นแทบตะวนั ออกกลางซง่ึ จะพบวา่ มสี ดั สว่ นประมาณนำ้ �มนั มากเปน็ อนั ดบั ตน้ ของโลก แสดงในภาพท่ี 1 ภาพท่ี 1 ภาพแสดงแหลง่ ทรัพยากรสำ�คัญตามทวปี ทัง้ น้ี ประเทศทม่ี กี ารผลิตทรพั ยากรเพื่อการบรโิ ภคตา่ งๆออกสูต่ ลาดโลก อาทิ ข้าวโพด ยาง ขา้ วสาลี ถั่วเหลือง อนั ดบั ตน้ ได้แก่ ประเทศจนี สหรฐั อเมรกิ า 19
ภาพที่ 2 ภาพแสดงแหลง่ ทรัพยากรสำ�คญั ตามประเทศ 1.2 รอยเทา้ วัสดุ (Material footprint) รอยเทา้ วสั ดุ (Material footprint) หมายถึง การวัดปริมาณของของวสั ดทุ ่ีสกดั และดงึ มาใชต้ าม ความต้องการภายในทอ้ งถ่นิ ซง่ึ รอยเท้าวัสดุทีน่ ำ� มาใช้ค�ำนวณ ประกอบไปดว้ ย ชีวมวล เช้อื เพลงิ แร่โลหะ และแรอ่ โลหะ ซงึ่ มหี นว่ ยของรอยเทา้ วสั ดเุ ปน็ จำ� นวนตอ่ จำ� นวนประชากรซงึ่ จะแสดงใหถ้ งึ คา่ เฉลย่ี ของความ ตอ้ งการสดุ ทา้ ยในใชว้ สั ดนุ น้ั ๆ โดยส่วนใหญพ่ ิจารณาวสั ดุเพ่อื การอปุ โภคบริโภคเปน็ สำ� คัญ ประกอบด้วย วสั ดุ 18 ประเภทหลักๆ แสดงในภาพท่ี 3 ภาพท่ี 3 วัสดุทใ่ี ชพ้ ิจารณารอยเทา้ วสั ดุ (Material footprint) 20
2. ภาวะวิกฤตการขาดแคลนทรพั ยากรประเทศ/โลกทม่ี อี ย่อู ย่างจ�ำกัด 2.1 วิกฤตการณ์ทางวสั ดุ (Material crisis) หมายถงึ การขาดแคลนวสั ดดุ บิ (Raw Materials) เชน่ นำ�้ มนั ดบิ กา๊ ซธรรมชาติ เหลก็ ถา่ นหนิ ทองคำ� ท่ีใช้เป็นส่วนผสมหลักในการผลิตภัณฑ์นั้นๆ ซ่ึงการขาดแคลนวิกฤตการณ์ทางวัสดุ ส่งผลให้ประชาชนได้ รับผลกระทบ โดยการขาดแคลนนั้นอาจมาจากการเพ่มิ ขึ้นของประชากรอย่างรวดเรว็ ทำ� ให้วสั ดุดบิ ทีม่ อี ยู่ อย่างจำ� กัดเป็นท่ีตอ้ งการอยา่ งมากตามจ�ำนวนของประชากรทีเ่ พ่มิ ขึน้ (Tansontia, 2563) ขอ้ มลู ประเมนิ คาดการณร์ ะยะเวลาปรมิ าณทรพั ยากรธรรมชาตทิ วั่ โลกจะถกู ใชจ้ นหมด จากปี 2553 (Stouthuysen, 2020) พบว่า แรธ่ าตเุ พื่อการใชใ้ นการผลิตพลงั งานและการอตุ สาหกรรมส�ำคญั อาทเิ ช่น แรพ่ ลวง แรต่ ะกัว่ ฮเี ล่ียม สงั กะสี เงิน และทอง จะถูกใชห้ มดในปี 2583จากการคาดการณห์ ากประชากร โลกยังคงใชใ้ นอตั ราการเพิม่ ขึน้ ตามอตั ราการเจรญิ เตบิ โตของจำ� นวนประชากร แต่หากการบริโภคคงทจี่ ะ ทำ� ให้เพิม่ ระยะเวลาการใชท้ รพั ยากรจนหมดลงไปไดโ้ ดยประมาณ 5 ปี เท่านน้ั แสดงตามภาพที่ 4 ภาพท่ี 4 คาดการณ์ระยะเวลาปรมิ าณทรพั ยากรธรรมชาติท่ัวโลกจะถกู ใช้จนหมด, (Stouthuysen, 2020) 2.2 สาเหตุที่ทำ� ใหเ้ กิดภาวะวิกฤตของปัญหา สาเหตุพื้นฐานของปัญหาวิกฤติการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของประทศ/โลกใน ปจั จบุ นั คือ 1) การเพิ่มของจ�ำนวนประชากรของประเทศ/โลก ในปัจจุบันประชากรโลกมีประมาณ 6,314 ลา้ นคน (พ.ศ. 2546) จงึ เปน็ สาเหตโุ ดยตรงท�ำให้เกิด การสูญเสยี ในทรัพยากรธรรมชาตอิ ยา่ งรวดเร็ว และเกิดมลพษิ ของสงิ่ แวดลอ้ มต่าง ๆ ตามมา สรุปไดด้ งั น้ี 21
อัตราการเพ่ิมของประชากร ประเทศที่พัฒนาแล่วมีอัตราการเพ่ิมของประชากรค่อนข้างต�่ำเฉลี่ยร้อยละ 0.1 ต่อปี สว่ นประเทศท่ีก�ำลงั พัฒนามอี ตั ราการเพมิ่ ของประชากรอยใู่ นเกณฑส์ ูงเฉลย่ี ร้อนละ 1.5 ต่อปี การเพ่มิ ของจำ� นวนประชากรในชนบท ทำ� ใหผ้ ูค้ นในชนบทอพยพเขา้ มาหางานท�ำในเมอื งเกิดการ ขยายตัวของชมุ ชนเมอื งอย่างรวดเรว็ และย่งิ มีการนำ� เทคโนโลยมี าใช้ในการผลติ ภาคอุตสาหกรรมมากข้ึน กย็ ่ิงสง่ ผลใหเ้ กดิ ปญั หามลพิษของสงิ่ แวดล้อมต่าง ๆ ตามมา การเพิ่มของจ�ำนวนประชากรส่งผลให้เกิดการแปรรูปทรัพยากรธรรมชาติเพ่ือน�ำมาใช้ประโยชน์ สนองความตอ้ งการของประชาชนมากยงิ่ ขน้ึ มกี ารบกุ รกุ พน้ื ทปี่ า่ ไมเ้ พอ่ื นำ� มาใชเ้ ปน็ พน้ื ทเี่ กษตรกรรม เชน่ พื้นที่ป่าลุ่มแม่น�้ำอะเมซอน (Amazon) ในทวีปอเมริกาใต้ ซึ่งทำ� ให้ท่ัวโลกหวั่นวิตกว่าจะเป็นการสูญเสีย พื้นท่ปี อดของโลก 2) ผลกระทบจากการใชว้ ทิ ยาการและเทคโนโลยี ในปัจจุบันมีการน�ำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการผลิตด้านต่าง ๆ อย่างกว้างขวางทั้งในภาค เกษตรกรรม อุตสาหกรรมและบรกิ าร แต่ถ้าน�ำเทคโนโลยไี ปใชอ้ ย่างไมเ่ หมาะสม อาจสง่ ผลกระทบท�ำให้ เกดิ การสญู เสียความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมได้ดัง เชน่ การสำ� รวจ ขดุ เจาะ หรอื ขนสง่ น้�ำมันดบิ จากแหล่งขดุ เจาะในทะเลโดยทางเรอื บรรทุกน�ำ้ ทัน อาจ เกิดอุบัติเหตุท�ำให้น้�ำมันรั่วไหลมีคราบน้�ำมันปนเปื้อนบริเวณพ้ืนผิวน้�ำ เป็นอันตรายต่อส่ิงมีชีวิตในทะเล และทำ� ใหร้ ะบบนเิ วศของท้องทะเลต้องเสียความสมดลุ ไป การสร้างเขอ่ื นและอ่างเกบ็ น�้ำขนาดใหญ่ ทำ� ให้ สญู เสียพ้นื ท่ปี า่ ไม้จำ� นวนมาก การต้ังโรงงานอุตสาหกรรมอย่างหนาแนน่ ทำ� ให้เกิดมลพษิ ทางอากาศ เสียง และแหล่งน้ำ� ตามธรรมชาติ เปน็ ตน้ 3) ผลกระทบจากการระบบเศรษฐกจิ ระบบเศรษฐกิจต้องเผชิญกับความเส่ียงด้านอุปทานจากการขาดแคลนวัตถุดิบในการผลิต และ ปญั หามลภาวะของสงิ่ แวดลอ้ ม ทำ� ใหแ้ นวคดิ ระบบเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น หรอื Circular Economy ถกู กลา่ ว ถงึ อกี ครงั้ จากทงั้ องคก์ รระหวา่ งประเทศ รฐั บาล และกลมุ่ ธรุ กจิ รายใหญ่ เนอื่ งจากระบบเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น ไดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั ประสทิ ธภิ าพของการจดั การของเสยี จากการผลติ และบรโิ ภค ดว้ ยการนำ� วตั ถดุ บิ ทผี่ า่ น การผลติ และบรโิ ภคแลว้ เขา้ สกู่ ระบวนการผลติ ใหม่ (re-material) และสนบั สนนุ การใชซ้ ำ้� (reuse) ซง่ึ ตา่ ง จาก Linear Economy ในปจั จบุ นั ทใ่ี หค้ วามสำ� คญั กบั การเพมิ่ กำ� ไรของระบบเศรษฐกจิ ใหม้ ากทสี่ ดุ เทา่ นนั้ (Tansontia, 2563) 2.3 สถานการณ์การใช้และการชาดแคลนวัสดุชนดิ ตา่ งๆ จากการประมาณการปรมิ าณวสั ดทุ สี่ ามารถสำ� รวจได้ และอตั ราการผลติ และบรโิ ภค ทำ� ใหส้ ามารถ คาดการณ์ปที ี่ทรพั ยากรเหลา่ น้จี ะหมดสนิ้ ไป แสดงตามภาพท่ี 5 22
ภาพท่ี 5 คาดการณร์ ะยะเวลาปรมิ าณทรัพยากรธรรมชาติทว่ั โลกจะถูกใช้จนหมด 3. ตวั อยา่ งกรณีศึกษา 3.1 กรณีศกึ ษาไฟฟ้าของไทย 1) อัตราการใช้ไฟฟา้ ทเี่ พ่ิมขนึ้ ทกุ ปี ความต้องการพลังไฟฟา้ ของประเทศไทย ในปี 2552 และ 2560 มแี นวโนม้ ทง้ั เพ่ิมข้นึ และลดลง ภาพท่ี 6 ความต้องการพลงั งานไฟฟา้ สงู สดุ 23
2) เช้อื เพลิงในการผลติ ไฟฟา้ ของไทย (1) ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติ เป็นพลังงานปิโตรเลียมชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยก๊าซหลายอย่าง เช่น มีเทน อีเทน โพรเพน บวิ เทน ฯลฯ แตโ่ ดยทวั่ ไปจะประกอบดว้ ยก๊าซมเี ทนถึงรอ้ ยละ 70 ขน้ึ ไป ซงึ่ กา๊ ซมีเทนสามารถ นำ� มาใช้เปน็ เชือ้ เพลงิ สำ� หรับผลติ กระแสไฟฟ้า นอกจากนี้ ก๊าซเหลา่ นยี้ งั อาจประกอบดว้ ยก๊าซอน่ื ๆ อาทิ กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ไนโตรเจน และนำ้� เป็นต้น สารประกอบเหล่าน้สี ามารถแยก ออกจากกันได้ โดยน�ำมาผา่ นกระบวนการแยกทโ่ี รงแยกกา๊ ซธรรมชาติ ก๊าซทไ่ี ดแ้ ต่ละตวั จึงสามารถน�ำไป ใชป้ ระโยชนต์ ่อเนือ่ งไดอ้ ีกมากมาย เชน่ ใช้เปน็ เชือ้ เพลิงในรถยนต์ ใช้เปน็ วตั ถดุ ิบในอตุ สาหกรรมปิโตรเคมี หรือใชเ้ ปน็ เช้ือเพลิงในครัวเรอื นได้ เปน็ ตน้ (2) ถ่านหนิ ถ่านหนิ คอื หินตะกอนชนดิ หนงึ่ และเปน็ แรเ่ ช้อื เพลงิ สามารถตดิ ไฟได้ มสี นี ำ้� ตาลออ่ นจนถงึ สดี �ำ มี ทง้ั ชนดิ ผวิ มนั และผวิ ดา้ น นำ้� หนกั เบา ถา่ นหนิ ประกอบดว้ ย ธาตทุ ส่ี ำ� คญั 4 ชนดิ ไดแ้ ก่ คารบ์ อน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และออกซเิ จน นอกจากนนั้ มธี าตุ หรอื สารอนื่ เชน่ กำ� มะถนั เจอื ปนเลก็ นอ้ ย ถา่ นหนิ ทมี่ จี ำ� นวน คาร์บอนสงู และมธี าตุอ่นื ๆ ต่�ำ เมอ่ื นำ� มาเผาจะให้ความร้อนมาก ถือวา่ เป็นถ่านหนิ คณุ ภาพดี ซง่ึ สามารถ แยกประเภทตามล�ำดบั ชนั้ ได้ ดงั น้ี • พตี (Peat) เปน็ ขนั้ แรกในกระบวนการเกิดถา่ นหนิ ในระดบั ต่ำ� สุด ประกอบด้วยซากพชื ซงึ่ บาง สว่ นไดส้ ลายตัวไปแล้ว มปี ริมาณคารบ์ อนต่ำ� ประมาณร้อยละ 50-60 มปี รมิ าณออกซิเจน และความช้ืน สงู แต่สามารถใช้เปน็ เช้อื เพลิงได้ 24
• ลิกไนต์ (Lignite) มีซากพชื หลงเหลอื อยู่เล็กน้อย มปี รมิ าณคารบ์ อนรอ้ ยละ 60-75 มีออกซเิ จน ค่อนขา้ งสูง และมคี วามชืน้ สงู ถงึ ร้อยละ 30-70 เมอ่ื ติดไฟมีควัน และเถา้ ถ่านมาก เปน็ ถ่านหินที่ใช้เป็นเชือ้ เพลงิ สำ� หรับผลิตกระแสไฟฟา้ • ซับบทิ มู นิ สั (Sub bituminous) มสี ดี ำ� เป็นเช้ือเพลงิ ท่ีมคี ณุ ภาพเหมาะสมในการผลิตกระแส ไฟฟา้ มีความช้นื ประมาณรอ้ ยละ 25-30 มีปรมิ าณคารบ์ อนสูงกว่าลกิ ไนต์ เป็นเช้ือเพลิงที่มคี ณุ ภาพเหมาะ สมในการผลติ กระแสไฟฟ้า และงานอุตสาหกรรม • บทิ มู ินสั (Bituminous) เป็นถา่ นหนิ เน้ือแนน่ แข็ง และมกั จะประกอบด้วยช้ันถ่านหินสดี ำ� สนิท เป็นมันวาว เป็นถ่านหนิ คณุ ภาพสงู มีปริมาณคารบ์ อนรอ้ ยละ 80-90 ให้ค่าความร้อนสงู มปี ริมาณขี้เถ้า และก�ำมะถันในระดับต่�ำ เหมาะส�ำหรับใช้เป็นถ่านหินเพ่ือการถลุงโลหะ และนิยมใช้เป็นเช้ือเพลิงในการ ผลิตกระแสไฟฟ้า • แอนทราไซต์ (Anthracite) ถ่านหินทีม่ ีลกั ษณะดำ� เป็นเงามนั วาวมาก มรี อยแตกเวา้ แบบกน้ หอย มีปรมิ าณคารบ์ อนสูงถึงร้อยละ 90-98 ความชื้นตำ่� ประมาณรอ้ ยละ 2-5 มคี ่าความร้อนสงู แต่ติดไฟยาก เมื่อติดไฟจะให้เปลวไฟสีน้ำ� เงนิ ไมม่ คี วัน ใช้เปน็ เช้ือเพลงิ ในอตุ สาหกรรมตา่ งๆ แหลง่ ถา่ นหนิ ในประเทศไทยพบกระจายอยทู่ วั่ ทกุ ภาคของประเทศ แตส่ ว่ นใหญอ่ ยใู่ นเขตภาคเหนอื ปัจจบุ ัน มีพน้ื ทผี่ ลติ ถา่ นหินทง้ั หมด 27 แอ่ง โดยถ่านหินส่วนใหญ่ที่พบ 99% มคี ุณภาพอยใู่ นขนั้ ลิกไนต์ และซบั บิทมู นิ ัส ซงึ่ ใหค้ วามรอ้ นไม่สงู นัก (3) พลังงานทดแทนอน่ื ๆ สำ� หรับพลงั งานทดแทนพลงั งานหลัก (Core energy) ทีเ่ รานำ� ใชใ้ นการผลิตไฟฟา้ ไดแ้ ก่ พลังงาน นำ้� พลงั งานแสงอาทติ ย์ พลงั งานลม พลงั ความรอ้ นใต้พิภพ พลังงานเคมีจากไฮโดรเจน พลงั งานชีวมวล และพลังงานชวี ภาพ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การใชพ้ ลงั งานทดแทนในประเทศไทย ยงั ไม่สามารถนำ� มาใช้ ประโยชนใ์ นเชงิ พาณชิ ยไ์ ดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี เนอื่ งจากพลงั งานทดแทนดงั กลา่ วมลี กั ษณะกระจายอยตู่ ามธรรมชาติ และไม่มีความสม่�ำเสมอ ดังนั้น การลงทุนเพ่ือน�ำมาใช้ประโยชน์ในการผลิตไฟฟ้าจึงสูงกว่าการใช้น�้ำมัน ถ่านหิน ฯลฯ (4) น�้ำมนั เตา สำ� หรบั การผลติ ไฟฟา้ จะใชน้ ำ้� มนั เตา และนำ�้ มนั ดเี ซล สำ� หรบั ใชใ้ นเตาเผา หรอื ตม้ นำ�้ ในหมอ้ ไอนำ�้ (บอยเลอร)์ เพ่ือผลติ กระแสไฟฟ้า (5) น�้ำมันดีเซล สำ� หรบั การผลติ ไฟฟา้ จะใชน้ ำ้� มนั เตา และนำ�้ มนั ดเี ซล สำ� หรบั ใชใ้ นเตาเผา หรอื ตม้ นำ้� ในหมอ้ ไอนำ้� (บอยเลอร)์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า 25
(6) น�ำเข้าจากเพื่อนบ้าน ประเทศไทยมกี ารน�ำเข้าถ่านหนิ จากตา่ งประเทศ เน่ืองจากถา่ นหนิ ในประเทศไมเ่ พยี งพอต่อความ ตอ้ งการใช้ โดยส่วนใหญน่ ำ� เขา้ มาจากประเทศออสเตรเลีย อินโดนเี ซยี จนี เวยี ดนาม พม่า และลาว และ สว่ นใหญ่เป็นการน�ำเขา้ ถา่ นหินบทิ มู ินสั เพ่อื ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าถงึ นอกน้ันจะนำ� ไปใชใ้ นด้านอืน่ ๆ เช่น การบม่ ใบยาสบู อตุ สาหกรรมปูนขาว กระดาษ เสน้ ใย และอาหาร เปน็ ต้น ภาพท่ี 7 ภาพที่ 7 สัดส่วนของเชอื้ เพลงิ ในการผลิตไฟฟ้าของไทย 3) สถานการณพ์ ลังงานไฟฟ้าในประเทศไทย ไฟฟ้านับเป็นปัจจัยท่ีสาคัญในการด�ำเนินชีวิตและการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ในช่วงที่ผ่าน มาความต้องการไฟฟา้ ของไทยเพ่มิ ข้ึนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ท�ำให้เกิดความกังวลว่าไฟฟ้าจะมีเพยี งพอเพือ่ รองรบั กับการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ หรอื ไม่ ผลการศกึ ษานี้พบว่า ในปี 2579 พลงั งานไฟฟา้ ยงั มคี วามเพียงพอ และ มีราคาอยู่ในระดับที่เหมาะสม อย่างไรก็ตาม ยังมีความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนในด้านเช้ือเพลิงความ สามารถในการสร้างโรงไฟฟ้าและซ้ือพลังงานไฟฟ้าได้ตามก�ำหนด ความต้องการไฟฟ้าในอนาคตที่มีแนว โน้มเพ่ิมขึ้น รวมท้ังความสามารถในการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ไฟฟ้า ซึ่งภาครัฐมีบทบาทใน การลดความเสยี่ งไดใ้ นหลายแนวทาง คอื สรา้ งความชดั เจนถงึ การเพมิ่ สดั สว่ นการใชเ้ ชอ้ื เพลงิ กา๊ ซธรรมชาติ ในการผลติ ไฟฟา้ ในอนาคต สรา้ งความเชอื่ มนั่ ใหป้ ระชาชนผา่ นกระบวนการทโี่ ปรง่ ใส และผลกั ดนั การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งจรงิ จงั และกำ� กบั การผลติ ไฟฟา้ ใหเ้ ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มเพอื่ ใหป้ ระเทศไทย มพี ลังงานไฟฟา้ ที่เพียงพอ ในราคาทเ่ี หมาะสม และมคี วามยง่ั ยนื ในระยะยาวต้องช่วยกนั ประหยัดไฟฟา้ ให้ ไดม้ ากท่ีสุด จะช่วยประหยดั การใชท้ รพั ยากรท่ีใช้หมดไปได้มาก 4) วธิ ีการอนรุ กั ษพ์ ลังงาน • การใช้พลังงานอยา่ งประหยัดและค้มุ ค่าโดยการสรา้ งคา่ นิยมและจติ ใตส้ ำ� นึกการใชพ้ ลังงาน • การใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่าจะต้องมีการวางแผนและควบคุมการใช้อย่างเต็มประสิทธิภาพและ เกดิ ประโยชนส์ ูงสุดมกี ารลดการสญู เสยี พลังงานทกุ ขั้นตอน มกี ารตรวจสอบและดแู ลการใชเ้ ครื่องใช้ไฟฟ้า 26
ตลอดเวลา เพอ่ื ลดการรว่ั ไหลของพลังงาน เปน็ ต้น • การใช้พลังงานทดแทนโดยเฉพาะพลังงานที่ได้จากธรรมชาติ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานนำ้� และอื่น ๆ • การเลือกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีมีประสิทธิภาพสูง เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้าเบอร์ 5 หลอดผอม ประหยดั ไฟ เปน็ ต้น • การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพเชอ้ื เพลงิ เชน่ การเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งทำ� ใหเ้ ชอ้ื เพลงิ ใหพ้ ลงั งานไดม้ ากขน้ึ • การหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ โดยการน�ำวัสดุท่ีช�ำรุดน�ำมาซ่อมใช้ใหม่ การลดการทิ้งขยะท่ีไม่ จำ� เป็นหรอื การหมุนเวียนกลับมาผลติ ใหม่ (Recycle) 3.2 กรณีศึกษาโทรศัพท์มอื ถอื และแบตเตอร่ี 1) ความหมายโทรศัพทม์ ือถือ โทรศัพท์มือถือ ถือว่าเป็นนวัตกรรมท่ีใช้ในชีวิตประจ�ำวันของมนุษย์ในปัจจุบัน โดยส่วนประกอบ หลักของมือถือคือแบตเตอร่ีและในแบตเตอรี่ก็มีแร่ธาตุท่ีสำ� คัญคือลิเทียม ซึ่งเป็นแร่หลักท่ีใช้ในแบตเตอร่ี แรล่ ิเทยี มถือวา่ เป็นแรท่ ่ีหายาก เมือ่ ใช้หมดไปแลว้ ไม่สามารถเกิดข้ึนใหม่ได้ ดังน้ันจึงจำ� เป็นท่จี ะตอ้ งมีการ รีไซเคลิ แรล่ ิเทียมเพ่อื ยืดอายุการใชง้ านใหน้ านได้ 2) สว่ นประกอบของโทรศัพทม์ อื ถือ (1) ตวั เครอ่ื ง ประกอบดว้ ย แผงวงจร (โลหะมคี า่ และสารอนั ตรายหลายชนดิ ไดแ้ ก่ ทองแดง ทองคำ� สารหนู พลวง เบอรลิ เลยี ม สารทนไฟฟา้ ทก่ี ำ� หนดทท่ี ำ� จากโบรมนี แคดเมยี ม ตะกว่ั นกิ เกลิ พาลาเดยี ม เงนิ แทนทาลมั และสงั กะส)ี จอผลึกเหลว (Liquid Crystal Display: LCD ส่วนประกอบของผลกึ มีหลายชนดิ และมรี ะดบั ความเปน็ อนั ตรายทแี่ ตกตา่ งกนั ) ไมโครโฟน (มขี นาดเลก็ มากแตก่ ม็ สี ว่ นประกอบของโลหะหนกั ) หนา้ กากหรอื สว่ นหอ่ หมุ้ ของโทรศพั ท(์ ทำ� จากพลาสตกิ ทเ่ี ปน็ โพลคี ารบ์ อนต หรอื เอบเี อส หรอื เปน็ สว่ นผสม ของสารทงั้ สองชนดิ ) แผ่นป่มุ กด และตวั นำ� สญั ญาณ (2) เคร่อื งแปลงแรงดันไฟฟา้ เพอื่ ใชอ้ ดั ไฟแบตเตอร่ี พบวา่ มีส่วนประกอบหลกั เปน็ ลวดทองแดงทม่ี ี พลาสตกิ หมุ้ และสว่ นประกอบหลกั เปน็ ลวดทองแดงทมี่ พี ลาสตกิ หมุ้ และสว่ นประกอบอน่ื ๆในปรมิ าณเลก็ นอ้ ยคอื ทองค�ำ แคดเมยี ม และตัวทนไฟ (3) แหลง่ พลงั งานแบตเตอร่ื ซง่ึ โดยทวั่ ไปจะเปน็ แบบทส่ี มารถอดั เกบ็ ประจใุ หมไ่ ด้ เขน่ ชนดิ นกิ เคลิ - แดดเมียม (N-Cd) นิกเกิล-เหล็ก (N:F) และชนิดนิกเกลิ โลกะไฮไดรด์ (Ni-MH) จนมาถึงรุน่ ปัจจุบนั ซึ่งนิยม ใชแ้ บตตอรช่ี นดิ ลเิ ทียม-ไอออน (Li-ion) ซ่งึ สมารถประจไุ ฟฟ้าไดม้ ากกวา่ และสมารถขารไ์ ฟไดใ้ นขณะที่ยัง มไี ฟอยู่ แต่ในบางรนุ่ ก็ยังมีราคาสูง 3) ปริมาณการซื้อโทรศัพทม์ ือถอื ใชใ้ นประเทศไทย อตั ราการใชง้ านของโทรศทั พ์ในประเทศไทยไดเ้ พ่ิมสงู มาก ก่อนปื 2546 มีการจดทะเบยี นหมายเลขท้ังส้นิ 18 ล้านหมายเลข แต่ในปี 2553 มีจ�ำนวนเพม่ิ ขน้ึ มากกว่า 40 ลา้ นหมายเลข (ภาพท่ี 8 ) 27
ภาพท่ี 8 แสดงปริมาณการจดทะเบียนของโทรศัพทม์ ือถือ จากสถติ กิ ารนำ� เขา้ ของศลุ กากร พบวา่ แบตเตอรช่ื นดิ นกิ เคลิ -แดดเมยี ม นกิ เกลิ -เหลก็ และลเิ ทยี มมี ปรมิ าณการนำ� เข้า ในปี 2547 จำ� นวน16,557,253 ก้อน ในปี 2552 จ�ำนวน 16631,267กอ้ น ซึ่งแบตเตอรี่ ชนิดลเิ ทียมมปี ริมาณการน�ำเข้าเพม่ิ ขนึ้ สว่ นแบตเตอร่ชี นิดนกิ เกลิ -แคดเมียม และนกิ เคิล-เหลก็ มีปรมิ าณ การนำ� เขา้ ลดลงอยา่ งต่อเนื่อง (ภาพที่ 9 ) ภาพท่ี 9 แสดงปรมิ าณการการนำ�เข้าแบตเตอร่ีมือถอื 28
4) ปริมาณขยะท่ีเกดิ ขนึ้ จากโทรศพั ทม์ ือถอื ปรมิ าณสะสม จากปรมิ าณการใชง้ านของโทรศพั ท์มอื ถอื ทเ่ี พ่มิ สูงขน้ึ สามารถพิจารณาอายุและพฤติกรรมการใช้ งานจะคาดไดว้ ่าปรมิ าณชากโทรศัพท์มือถอื ในปี 2557 จะมีมากกวา่ 10 ลา้ นเคร่ือง 5) แนวทางการจัดการซากโทรศัพทม์ อื ถอื และแบตเตอร่ี (1) การป้องกันและลดการเกดิ ซากซากโทรศัพทม์ อื ถอื และแบตเตอรี่ • ผู้ผลติ พัฒนาผลติ ภัณฑ์ใหใ้ ชส้ ารอันตรายนอ้ ยท่สี ดุ และออกแบบให้สามารถรีไซเคลิ ได้งา่ ย • เลอื กซอื้ เลอื กใชผ้ ลติ ภณั ฑท์ มี่ คี ณุ ภาพ ไดม้ าตรฐาน เพอ่ื ยดื อายกุ ารใชง้ าน ลดการกลายเปน็ ซากฯ เลย่ี งการใชผ้ ลติ ภณั ฑท์ ่มี สี ารอันตรายเปน็ สว่ นประกอบ • ใช้อย่างค้มุ คา่ เลอื กซ้ือรนุ่ ทีเ่ หมาะสมกับการใช้งาน ใชอ้ ย่างระมดั ระวัง ดแู ลรักษาตามคมู่ อื การ ใช้งาน ซอ่ มแซม หรอื ใหผ้ ู้อื่นใชต้ อ่ ก่อนจะทิ้งเป็นซากฯ (2) การแยกท้งิ • ไม่ท้งิ ซากฯ ปะปนกบั ขยะท่ัวไป ไม่ถอดแยก ไม่นำ� ซากฯ ไปเผาหรือฝังดิน หรือทิ้งลงในแหล่งนำ�้ • ทง้ิ ซากฯ ตามสถานทีห่ รอื ตามเวลาทีก่ ำ� หนด น�ำซากไปทิง้ ยังสถานท่หี รอื จดุ รบั ทิง้ ท่ีหนว่ ยงาน ท้องถนิ่ ผผู้ ลิต หรือผู้ให้บรกิ ารเครอื ขา่ ยโทรศพั ท์มือถอื จัดไว้ให้ หรอื ทง้ิ ให้กบั หน่วยงานท้องถนิ่ ในเขตของ ทา่ น ตามวัน เวลาท่ีกำ� หนดสำ� หรบั การทงิ้ ของเสยี อนั ตรายชุมชน (3) การรีไซเคลิ การหมนุ เวยี นซากแบตเตอรกี่ ลบั มาแปรรปู ใชใ้ หม่ เนอ่ื งจากแบตเตอรขี่ องโทรศพั ทม์ อื ถอื นมี้ โี ลหะมี คา่ เปน็ สว่ นประกอบจงึ มคี วามคมุ้ คา่ ทจี่ ะสามารถนำ� มารไี ซเคลิ ได้ กระบวนการในการรไี ซเคลิ จะนำ� แบตเตอร่ี ไปบดและใสล่ งไปในสารละลายเฉพาะ นำ�้ เสยี ทเี่ กดิ ขน้ึ นำ� ไปปรบั สภาพใหเ้ ปน็ กลาง แยกโลหะหนกั ทม่ี อี อก โดยการใชไ้ ฟฟา้ หรอื วธิ อี น่ื และนำ� โลหะหนกั ทไ่ี ดไ้ ปใชใ้ หมส่ ว่ นทเ่ี หลอื นำ� ไปฝงั กลบ หรอื นำ� แบตเตอรไ่ี ปผา่ น กระบวนการถลงุ ในเตาหลอมเพ่อื แยกโลหะมีค่ากลับมาใช้ใหม่ (4) การบำ� บดั และก�ำจดั ซากแบตเตอรี่ ในขนั้ ตน้ รวบรวมซากแบตเตอร่แี ลว้ ใหด้ �ำเนนิ การคดั แยกสว่ นท่นี ำ� กลบั มาใชใ้ หม่ไดอ้ อกจากส่วนท่ี ต้องน�ำไปก�ำจัด และน�ำส่วนท่ีต้องก�ำจัดไปด�ำเนินการปรับเสถียรเพื่อให้สารพิษมีความเสถียรเพิ่มมากข้ึน ไมเ่ กดิ ปฏกิ ริ ยิ าหรอื รวั่ ไหลปนเปอ้ื นและไมล่ ะลายเมอื่ ถกู ชะลา้ งกอ่ นจะนำ� ไปฝงั กลบในสถานทฝี่ งั กลบแบบ ปลอดภยั (Secured Landfill) ซงึ่ ออกแบบใหส้ ามารถปอ้ งกนั มใิ หม้ กี ารรว่ั ไหลของสารพษิ ออกสสู่ ง่ิ แวดลอ้ ม โดยใช้วสั ดุสังเคราะห์กนั ซมึ หลายชน้ั พร้อมระบบเก็บรวบรวมน�ำ้ ชะ (Leachate) และระบบตรวจสอบการ รั่วซมึ ภายใตก้ ฎระเบยี บและมาตรฐานทก่ี �ำหนด 29
ในปัจจุบันมีผู้ประกอบการรับซากโทรศัพท์มือถือและแบตเตอร่ีมาผ่านกระบวนการรีไซเคิลท่ีมี การควบคุมมลพิษอย่างถูกต้องเพื่อน�ำโลหะมีค่ากลับมาใช้ใหม่อีกคร้ัง โดยส่งออกไปด�ำเนินการใน ต่างประเทศท่ีมีเทคโนโลยีชั้นสงู (รูปท่ี 10) ภาพท่ี 10 การจัดการซากแบตเตอร่ีมอื ถอื 4. แนวทางในการจัดการด้านส่ิงแวดล้อมเพ่ือลดภาวะวิกฤตการขาดแคลน ทรัพยากรของประเทศ/โลกที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด รวมทั้งการค�ำนึงถึงการน�ำ ทรัพยากรมาใชป้ ระโยชน์อย่างคมุ้ คา่ แนวทางการจัดการดา้ นสิ่งแวดลอ้ มแบ่งไดเ้ ปน็ 2 แนวทางได้แก่ แนวทางจัดการทางตรง 1) การใชอ้ ยา่ งประหยดั ใช้เทา่ ท่มี คี วามจ�ำเป็น 2) การนำ� กลับมาใช้ซ�้ำอีก ใชซ้ ้ำ� 3) การบูรณซอ่ มแซม 4) การบ�ำบดั และการฟนื้ ฟู 5) การใช้ส่งิ อื่นทดแทน 6) การเฝ้าระวังดูแลและปอ้ งกนั 30
แนวทางการจัดการทางออ้ ม 1) การพัฒนาคุณภาพประชาชน โดนสนับสนุนการศึกษาด้านการอนุรักษ์ทรัพยกรธรรมชาติและ ส่งิ แวดล้อมท่ีถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ า 2) การใช้มาตรการทางสังคมและกฎหมาย การจัดตงั้ กลมุ่ ชมุ ชน ชมรม สมาคม 3) สง่ เสรมิ ให้ประชาชนในท้องถิน่ ได้มีส่วนรว่ มในการอนรุ กั ษ์ ชว่ ยกันดแู ลรักษาใหค้ งสภาพเดิม 4) สง่ เสริมการศกึ ษาวจิ ยั ค้นหาวธิ กี ารและพฒั นาเทคโนโลยี ให้เกิดประโยชน์ 5) การกำ� หนดนโยบายและวางแนวทางของรฐั บาล 31
เอกสารอา้ งอิง Circle Economy and the City of Amsterda. (2020). Amsterdam Circular 2020- 2025 Strategy: City of Amsterdam. Global Footprint Network. (2019). Country Trends o. Document Number) Kruk, K., Wit, M. d., Ramkumar, S., Winter, J. d., Güvendik, M., & Hof, K.v. t. (2017). CIRCULAR AMSTERDAM. Stouthuysen, P. (2020). Born In 2010: How Much Is Left For Me? Tansontia, J. (2563). สาเหตุเเละผลกระทบของวิกฤตการณด์ ้านทรัพยากรธรรมชาตเิ เละ ส่ิงเเวดล้อม. from https://sites.google.com/site/janyatansontia508778/ sa-he-tuelea-phlk-ra-thb-khxng-wikvtkarn-dan-thraphyakr-thrrm-cha- tielea-sing-ewe-dl-xm WWF - World Wide Fund For Nature. (2563). รอยเทา้ นเิ วศทีเ่ กิดจากการบริโภค. from http://www.wwf.or.th/news_and_information/livingplanetre port2016/ecologicalfootprint/ กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม, ศ. (2551). ทรพั ยากรธรรมชาติ (Natural Resource). from http://local.environnet.in.th/formal_data2.php?id=71 ฐานขอ้ มูลเชิงลึกอตุ สาหกรรมบรรจภุ ัณฑ.์ (2563). รอยเทา้ นเิ วศน์(Ecological Foot print). from https://packaging.oie.go.th/new/admin_control_new/ html-demo/file/2196340587.pdf ประชาชาติธุรกิจ. (2562). เศรษฐกิจหมุนเวียน. ประชาชาตธิ ุรกจิ , from https://www. prachachat.net/finance/news-384463 วิสสุตา ศุภนาม. (2561). ECOLOGICAL SUCCESSION & POLLUTION. from https:// wissutasite6368678.wordpress.com/ หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารการประเมินวฏั จักรชีวติ ศูนยเ์ ทคโนโลยีโลหะและวสั ดแุ หง่ ชาติ ส�ำ นกั งาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ. (2560). ป้าประสงค์ที่ 12.2: พ.ศ. 2573 บรรลุการจัดการอยา่ งยั่งยนื และใชท้ รพั ยากรทางธรรมชาตอิ ย่างม ี ประสิทธภิ าพ (Publication.: http://www.thailcidatabase.net/index.php menu-article/12/12-2 องคก์ ารบริหารจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก (องคก์ ารมหาชน). (2558). ค่มู ือการจัดทำ� คารบ์ อน ฟตุ พริ้นทข์ ององค์กร รายสาขาอุตสาหกรรม 32
33
บทที่ 3 สถานการณ์ฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศ และสิ่งแวดล้อม (Climate Emergency) 34
ทม่ี าของความตกลงระหว่างประเทศในการต่อสู่ Climate change ในช่วงเวลากว่าสองทศวรรษท่ีผ่านมานับต้ังแต่การประชุมสุดยอดสิ่งแวดล้อมโลกในปี พ.ศ.2535 จงึ น�ำไปสูก่ ารยกรา่ งอนุสัญญาสหประชาชาตวิ ่าด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change : UNFCCC) ขึ้นและมมี ติรบั รองในวนั ที่ 9 พฤษภาคม 2535 ณ สำ� นกั งานใหญอ่ งคก์ ารสหประชาชาติ นครนวิ ยอรค์ สหรฐั อเมรกิ า และมผี ลบงั คบั ใชเ้ มอื่ 21 มนี าคม 2537 การดำ� เนนิ งานเพอื่ การจดั การแกไ้ ขปญั หาดา้ นการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และพยายามหาทาง ป้องกัน หรือลดผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนในอนาคต ความพยายามแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศในระดบั โลกมมี าเปน็ ลำ� ดบั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จนถงึ ปจั จบุ นั มกี ารจดั ทำ� ความตกลงระหวา่ งประเทศดา้ น การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ รวม 3 ฉบบั ไดแ้ ก่ กรอบอนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการเปลย่ี นแปลง สภาพภมู อิ ากาศ พธิ ีสารเกยี วโต และความตกลงปารีส 1. กรอบอนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ ่าดว้ ยการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ในปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) คณะกรรมการระหวา่ งรฐั บาลวา่ ดว้ ยการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ซง่ึ เปน็ องคก์ รสนบั สนนุ ขอ้ มลู เชงิ วทิ ยาศาสตร์ เกย่ี วกบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ไดเ้ ผยแพรร่ ายงานการประเมนิ สถานการณด์ า้ นการเปลย่ี นแปลง สภาพภมู อิ ากาศเพอื่ ยนื ยนั ถงึ สภาพภมู อิ ากาศทเี่ ปลย่ี นแปลงอนั เปน็ ผลมาจากการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกสู่ ชัน้ บรรยากาศโลก และคาดการณถ์ งึ ภัยคกุ คามท่อี าจจะเกดิ ขึ้นจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ เชน่ การละลายของภเู ขานำ้� แขง็ และธารนำ�้ แขง็ การเพม่ิ ขนึ้ ของระดบั นำ้� ทะเลในมหาสมทุ ร การกอ่ ตวั รนุ แรงของ ภยั ธรรมชาติที่เกิดบ่อยคร้งั ข้ึน เปน็ ต้น ผลการประเมินดงั กล่าวไดน้ ำ� ไปสู่การเจรจาจัดท�ำกรอบอนสุ ัญญา สหประชาชาติวา่ ดว้ ยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) เพอื่ ใชเ้ ปน็ เวทใี นการสรา้ งความรว่ มมอื จากนานาชาตใิ นการแกไ้ ขปญั หาการ เปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ กรอบอนสุ ญั ญาฯ ไดก้ �ำหนดพันธกรณีแก่ประเทศภาคโี ดยใช้หลักการ “ความรับผดิ ชอบร่วมกนั ท่ี แตกต่าง” หรอื “common but differentiated responsibilities” โดยจำ� แนกประเทศภาคเี ป็น 3 กล่มุ ได้แก่ • กลมุ่ ภาคผนวกที่ 1 คอื ประเทศอตุ สาหกรรมทพ่ี ฒั นาแลว้ ทม่ี กี ารปลดปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกมาก มากอ่ น จดั เป็นกลุม่ ท่ีมตี อ้ งมีพันธกรณที ี่เป็นรูปธรรมในการลดกา๊ ซเรือนกระจก เชน่ มเี ปา้ หมายการลด • กลมุ่ ภาคผนวกท่ี 2 คอื ประเทศพฒั นาแลว้ ตามภาคผนวกท่ี 1 แต่ไมร่ วมประเทศทม่ี ีการเปล่ยี น ผ่านทางเศรษฐกจิ (จากสงั คมนยิ มเป็นทนุ นยิ ม) โดยกลุ่มนี้ จัดเป็นกลุ่มทต่ี ้องให้การสนับสนุนทางการเงนิ การพฒั นาและถ่ายทอดเทคโนโลยี และการสร้างศกั ยภาพ ให้แก่ประเทศก�ำลังพัฒนาในการลดก๊าซเรอื น กระจกและปรบั ตวั ตอ่ ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ กลุ่มนอกภาคผนวกท่ี 1 คือ ประเทศก�ำลังพัฒนา ซ่ึงประเทศไทยได้ร่วมให้สัตยาบันเป็นภาคีใน กรอบอนุสัญญาฯ เมอ่ื วนั ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2537 35
2. พิธสี ารเกยี วโต การประชมุ สมชั ชาภาคภี ายใต้กรอบอนสุ ญั ญาฯ (Conference of the Parties: COP) สมัยท่ี 3 ในปี พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) ณ กรุงเกียวโต ประเทศญปี่ ุ่น ทีป่ ระชมุ ไดม้ ีมติเห็นชอบต่อพิธสี ารเกียวโต ซงึ่ เป็นข้อตกลงทีม่ ีผลผกู พนั ทางกฎหมายซึ่งอยภู่ ายใตก้ รอบอนุสัญญาฯ มวี ตั ถุประสงคห์ ลกั คือ การก�ำหนด พันธกรณีในการลดกา๊ ซเรอื นกระจก โดยก�ำหนดเป็นตัวเลขเปา้ หมายการลดในภาพรวมและเป้าหมายราย ประเทศสำ� หรบั กลมุ่ ภาคผนวกที่ 1 และกำ� หนดระยะพนั ธกรณี (ระยะเวลาเปา้ หมาย) โดยในระยะพนั ธกรณี ที่ 1 (First Commitment Period) คือ ภายในช่วงปี ค.ศ. 2008-2012 (พ.ศ. 2551-2555) ประเทศกลุ่ม ภาคผนวกท่ี 1 มเี ปา้ หมายในการลดกา๊ ซเรอื นกระจกโดยรวมใหไ้ ด้ รอ้ ยละ 5 จากระดบั การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื น กระจกของปี ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) นอกจากนี้ พธิ สี ารเกยี วโตยงั ไดก้ ำ� หนดกลไกความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศไว้ 3 รปู แบบ เพอ่ื สนบั สนนุ การบรรลุเปา้ หมายดังกลา่ ว ไดแ้ ก่ (1) กลไกการซื้อขายหน่วยกา๊ ซเรือนกระจก หรือ คารบ์ อนเครดติ ระหว่างประเทศกลุ่มภาคผนวก ท่ี 1 ด้วยกนั เอง (Emission Trading) (2) การลงทนุ ดำ� เนนิ โครงการลดก๊าซเรอื นกระจกรว่ มกันระหวา่ งประเทศกลมุ่ ภาคผนวกท่ี 1 ด้วย กันเอง (Joint Implementation) (3) การลงทนุ ดำ� เนนิ โครงการลดกา๊ ซเรอื นกระจกรว่ มกนั ระหวา่ งประเทศในและนอกกลมุ่ ภาคผนวก ที่ 1 หรอื ทเ่ี รยี กวา่ กลไกการพฒั นาทสี่ ะอาด (Clean Development Mechanism: CDM) ซงึ่ ประเทศไทย ได้ใหส้ ัตยาบนั ตอ่ พิธีสารเกยี วโตเมอื่ วนั ท่ี 28 สงิ หาคม พ.ศ. 2545 ต่อมาการประชมุ รัฐภาคพี ธิ ีสารเกยี วโต สมยั ท่ี 8 เมื่อเดอื นธนั วาคม ปี ค.ศ. 2012 (พ.ศ. 2555) ณ กรงุ โดฮา รฐั กาตาร์ ประเทศภาคพี ธิ สี ารฯ ไดม้ มี ติ (ขอ้ ตดั สนิ ใจที่ 1/CMP.8) แกไ้ ขพธิ สี าร โดยมสี าระสำ� คญั ดังนี้ (1) ก�ำหนดเปา้ หมายการลดกา๊ ซเรอื นกระจกโดยรวมของประเทศกลมุ่ ภาคผนวกที่ 1 เปน็ ร้อยละ 18 จากระดับการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกในปี ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) ภายในระยะพันธกรณีที่ 2 ไดแ้ ก่ ช่วงปี ค.ศ.2013-2020 (พ.ศ. 2556-2563) (2) เพ่ิมเติมประเภทก๊าซเรือนกระจกให้ครอบคลุมก๊าซไนโตรเจนไตรฟลูออไรด์ (NFR3R) ในการ กำ� หนดเปา้ หมายและระยะพนั ธกรณที ี่ 2 ของพธิ สี ารเกยี วโต มปี ระเทศภาคใี นกลมุ่ ภาคผนวกที่ 1 ทข่ี อสงวน สทิ ธไ์ิ ม่เข้ารว่ ม/ไม่เสนอเปา้ หมายในระยะพนั ธกรณีที่ 2 ได้แก่ ประเทศญ่ปี ่นุ สหพันธรฐั รสั เซยี ประเทศ นวิ ซแี ลนด์ ประเทศภาคที ขี่ อสงวนสทิ ธใ์ิ นการปรบั เปลย่ี นเปา้ หมายในระยะพนั ธกรณที ่ี 2 ตามความเหมาะ สม ไดแ้ ก่ เครอื รฐั ออสเตรเลยี และประเทศภาคที ข่ี อถอนตวั จากการเปน็ ภาคพี ธิ สี ารเกยี วโต ไดแ้ ก่ ประเทศ แคนาดา สำ� หรบั ประเทศไทย ในฐานะทเี่ ปน็ ประเทศนอกกลมุ่ ภาคผนวกที่ 1 จงึ ยงั ไมม่ พี นั ธกรณใี นรปู แบบ ของเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกท้ังในระยะพันธกรณีท่ี 1 และ 2 (จนถึงปลายปี ค.ศ. 2020 หรือ พ.ศ. 2563) 36
3. ความตกลงปารสี เนอ่ื งจากพธิ สี ารเกยี วโตมขี อ้ จำ� กดั บางประการทที่ ำ� ใหไ้ มส่ ามารถแกไ้ ขปญั หาการเปลย่ี นแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศได้อยา่ งเต็มท่ี ข้อจำ� กัดหลักได้แกก่ ารทีส่ หรัฐอเมริกาซง่ึ เปน็ ประเทศในกล่มุ ภาคผนวกท่ี 1 และ ปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกมากมาตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ตดั สนิ ใจไมเ่ ขา้ รว่ มเปน็ ภาคขี องพธิ สี ารฯ จงึ ไดม้ กี าร เจรจาข้อตกลงภายใตก้ รอบอนุสญั ญาฯ โดยมุ่งเนน้ ที่จะให้มีขอ้ ตกลงใหมน่ อกเหนอื จากพิธสี ารเกียวโตที่มี ผลผูกพันครอบคลุมประเทศที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกรายใหญ่ของโลก โดยได้จัดต้ังกระบวนการเจรจาใน รอบแรก ไดแ้ ก่ Ad Hoc Working Group on Long Term Cooperative Action (AWG-LCA) ซ่ึงระบุ ใหก้ ำ� หนดข้อตกลงใหแ้ ล้วเสร็จภายใน ปี ค.ศ. 2009 (พ.ศ.2552) ในการประชมุ COP สมัยท่ี 15 ณ กรงุ โคเปนฮาเกน ราชอาณาจักรเดนมาร์ก อย่างไรก็ตาม ท่ีประชุมไม่สามารถมีมติเก่ียวกับข้อตกลงใหม่ร่วม กันได้ จนกระท่ังการประชมุ COP สมัยท่ี 17 ณ เมืองเดอร์บนั สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ เมือ่ ปี ค.ศ. 2011 (พ.ศ. 2554) ทป่ี ระชุมจึงได้จดั ต้ังกระบวนการเจรจาในรอบที่ 2 ขนึ้ ได้แก่ Ad Hoc Working Group on the Durban Platform for Enhanced Action (ADP) ซึง่ ระบใุ ห้ก�ำหนดข้อตกลงใหมใ่ ห้แล้วเสร็จภายใน ปี ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ในการประชุม COP สมยั ที่ 21 ณ กรงุ ปารสี สาธารณรฐั ฝรั่งเศส กระบวนการเจรจา ADP ทจ่ี ดั ต้งั ขึน้ โดยท่ีประชมุ COP สมัยท่ี 17 น้นั มีวตั ถปุ ระสงคห์ ลักประการ หนึง่ เพอ่ื เป็นเวทใี ห้ประเทศภาคีเจรจาข้อตกลงใหม่ ที่จะมผี ลบังคับใช้หลังปี ค.ศ. 2020 ซ่งึ จะมาแทนท่พี ธิ ี สารเกยี วโต โดยคาดหวงั วา่ ขอ้ ตกลงใหม่นีจ้ ะครอบคลมุ ประเทศทป่ี ล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกรายใหญ่ของโลก และให้มีการกำ� หนดเปา้ หมายในการลดก๊าซเรือนกระจกภายหลังปี ค.ศ. 2020 อย่างเป็นรปู ธรรม ในการประชุม COP สมัยที่ 21 ทป่ี ระชมุ รฐั ภาคอี นุสัญญาฯ ได้มีขอ้ ตดั สินใจรบั รอง “ความตกลงปารีส” (Paris Agreement) เมอ่ื วนั ท่ี 12 ธนั วาคม พ.ศ.2558 เป็นกรอบความร่วมมือในการด�ำเนินงานดา้ นการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศระยะยาวท่ีทกุ ภาคมี ีสว่ นรว่ มอยา่ งเป็นรปู ธรรม ความตกลงปารสี มวี ตั ถปุ ระสงค์สำ� คญั 3 ประการ คือ (1) เพอ่ื ควบคมุ การเพ่มิ ขึ้นของอุณหภูมิเฉล่ยี ของโลกให้ตำ�่ กวา่ 2 องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับกอ่ น ยุคอุตสาหกรรม และมงุ่ พยายามควบคุมการเพ่มิ ข้ึนของอุณหภมู ไิ ม่ใหเ้ กนิ 1.5 องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับ ก่อนยคุ อตุ สาหกรรม (2) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวต่อผลกระทบทางลบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิ อากาศ และการส่งเสริมความสามารถในการฟื้นตัวจากผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ และ การพัฒนาประเทศที่ปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกต�ำ่ โดยไมก่ ระทบต่อการผลติ อาหาร (3) ทำ� ใหเ้ กดิ เงนิ ทนุ หมนุ เวยี นทม่ี คี วามสอดคลอ้ งกบั แนวทางทนี่ ำ� ไปสกู่ ารพฒั นาทปี่ ลอ่ ยกา๊ ซเรอื น กระจกตำ่� และสร้างความสามารถในการฟืน้ ตัวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ทัง้ น้ี ในความตกลง ปารสี มบี ทบญั ญตั ริ วม 29 มาตรา ครอบคลมุ การดำ� เนนิ งานเกย่ี วกบั การลดกา๊ ซเรอื นกระจก การปรบั ตวั ตอ่ ผลกระทบทางลบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การสนบั สนนุ ทางการเงนิ การพฒั นาและถา่ ยทอด เทคโนโลยี การเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของประเทศกำ� ลงั พฒั นา กรอบการรายงานขอ้ มลู การดำ� เนนิ งานและการ ให้การสนับสนนุ อยา่ งโปรง่ ใส และการทบทวนสถานการณ์และการด�ำเนนิ งานระดับโลก (Global Stock take) 37
ความตกลงปารสี มผี ลใชบ้ งั คบั เมอ่ื วนั ที่ 4 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2559 ภายหลงั จากมปี ระเทศใหส้ ตั ยาบนั เป็นภาคเี กนิ 55 ประเทศ และมปี ริมาณการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกรวมกนั มากกวา่ ร้อยละ 55 ของปรมิ าณ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกทง้ั โลก สำ� หรบั ประเทศไทยไดใ้ หส้ ตั ยาบนั ความตกลงปารสี เมอ่ื วนั ท่ี 21 กนั ยายน พ.ศ. 2559 เนื้อหาบทบัญญัติในความตกลงปารีสมีท้ังในส่วนท่ีเป็นข้อผูกพันชัดเจน ส่วนท่ีเป็นกรอบแนวทาง การดำ� เนนิ งาน และสว่ นทเี่ ปน็ หลกั การกวา้ งๆ ทตี่ อ้ งมกี ารเจรจาจดั ทำ� รายละเอยี ดหรอื แนวทางปฏบิ ตั เิ พม่ิ เตมิ ตอ่ ไป สำ� หรบั ในสว่ นเนอื้ หาทเ่ี ปน็ ขอ้ ผกู พนั การเขา้ รว่ มเปน็ ภาคคี วามตกลงปารสี จะสง่ ผลผกู พนั ใหภ้ าคี ตอ้ งด�ำเนนิ การเพือ่ รว่ มแก้ไขปญั หาการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ สรุปไดด้ ังนี้ (1) ประเทศภาคีจะต้องจัดท�ำเป้าหมายการด�ำเนินงานเพ่ือแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศ โดยเป็นเป้าหมายที่แต่ละประเทศก�ำหนดเองตามความเหมาะสม หรอื ท่ีเรยี กวา่ NDCs (Nation- ally Determined Contributions) มกี ารทบทวนและเสนอใหมท่ กุ 5 ปี และมกี ารนำ� เสนอรายงานตดิ ตาม ประเมินผลการด�ำเนินงานเพอื่ บรรลุเปา้ หมายดังกล่าวอยา่ งโปร่งใส (2) ประเทศภาคจี ะตอ้ งจดั ทำ� และดำ� เนนิ การมาตรการภายในประเทศ เพอ่ื สนบั สนนุ การดำ� เนนิ งาน ให้บรรลเุ ปา้ หมาย NDCs ท่ีประเทศตนเองไดก้ ำ� หนดไว้ (3) ประเทศภาคคี วรจะพยายามปรบั เปลย่ี นรปู แบบการพฒั นาไปสกู่ ารพฒั นาแบบปลอ่ ยกา๊ ซเรอื น กระจกตำ่� สรา้ งความตา้ นทานและความสามารถในการฟน้ื ตวั จากผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิ อากาศซ่ึงสอดคลอ้ งกบั แนวทางการพัฒนาทย่ี ่ังยนื (4) ประเทศภาคจี ะตอ้ งจัดท�ำแผนการปรบั ตัวระดบั ชาติ (National Adaptation Plan : NAP) และด�ำเนินการตามแผนท่จี ัดทำ� (5) ประเทศภาคจี ะตอ้ งจดั ทำ� และนำ� เสนอรายงานแหง่ ชาติ (National Communications) รายงาน รายสองปี (Biennial Reports) และรายงานความก้าวหนา้ รายสองปี (Biennial Update Reports) (6) ประเทศพัฒนาแล้วจะต้องให้ความช่วยเหลือประเทศก�ำลังพัฒนาในการด�ำเนินงานเพื่อแก้ไข ปัญหาการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ โดยการสนบั สนุนทางการเงิน การพฒั นาและถ่ายทอดเทคโนโลยี และการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของประเทศกำ� ลงั พฒั นาในการดำ� เนนิ งานทเี่ กย่ี วขอ้ ง และมกี ารตดิ ตามประเมนิ ผลการสนับสนนุ ดงั กล่าวอย่างโปร่งใส (7) ใหม้ กี ารประเมินสถานการณ์ดำ� เนินงานระดับโลก (Global Stocktake) ทุก 5 ปี เพอ่ื ตดิ ตาม ผลการด�ำเนินงานและประเมินความก้าวหน้าในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาพ รวมทุกมิติ ทั้งการด�ำเนินงานและการให้การสนับสนุน โดยเฉพาะการประเมินระดับความส�ำเร็จในการ ควบคมุ การเพม่ิ ของอุณหภมู ิเฉล่ยี ของโลก ณ ปลายศตวรรษ ไมใ่ หเ้ กิน 2 หรือ 1.5 องศาเซลเซียส ในการดำ� เนนิ งานเพอื่ ใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงคข์ องความตกลงปารสี มกี ลไกหลายรปู แบบทก่ี ำ� หนด ไว้ในความตกลงปารีส เชน่ การสร้างความรว่ มมือ (Cooperative approach) ทัง้ ในรปู แบบของกลไกทาง ตลาด (market based approach) และมใิ ชก่ ลไกทางตลาด (non-market approaches) การพฒั นาและ การถา่ ยทอดเทคโนโลยี (Technology Development and Transfer) การเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพ (Capacity Building) รวมทงั้ เรอ่ื งการสร้างจิตส�ำนึกและการศึกษา (Awareness and Education) 38
ในกระบวนการของสหประชาชาติ ยดึ ถอื แนวทางการหารอื ทจ่ี ะกอ่ ใหเ้ กดิ ฉนั ทามติ โดยคำ� นงึ ถงึ การ รกั ษาภมู อิ ากาศของโลกไปพร้อมกบั ผลประโยชนท์ ่ปี ระเทศไทยจะไดร้ ับอย่างยงั่ ยนื โดยเห็นวา่ ความตกลง ปารีสเป็นกรอบความร่วมมือส�ำคัญในการด�ำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประชาคม โลก โดยต้งั ใจจะร่วมหารือการจัดท�ำ work programme ภายใต้ความตกลงปารีส ร่วมกบั ภาคีอน่ื ๆ ให้ แลว้ เสรจ็ เพอื่ นำ� เขา้ สกู่ ารพจิ ารณาและรบั รองภายในการประชมุ รฐั ภาคอี นสุ ญั ญาฯ สมยั ท่ี ๒๔ โดยใหค้ วาม สำ� คญั กับประเด็นต่าง ๆ อยา่ งสมดลุ ภายใต้รูปแบบการด�ำเนินงานท่ีเปน็ ไปตามความต้องการของภาคี มี ความชดั เจน โปร่งใส ค�ำนงึ ถงึ ความเช่ือมโยงระหวา่ งประเดน็ ต่าง ๆ และเป็นไปโดยการมีสว่ นรว่ มของทุก ภาคี จากสถานการณ์ภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน ได้มีนักกิจกรรมประท้วงเพื่อภูมิอากาศเป็นจ�ำนวนมาก หนึ่งในนักกิจกรรมท่ีมีชือ่ เสยี งอย่างมาก คอื เกรียตา ทืนแบรย์ นักกจิ กรรมชาวสวีเดน ขณะน้ันศกึ ษาอยู่ ในชัน้ เกรด 9 (เทียบเท่ามธั ยมศกึ ษาปีที่ 3) เธอตดั สนิ ใจไม่เข้าเรียนหลังเกดิ คลืน่ ความร้อนและไฟป่าหลาย ระลอกในประเทศ ในวนั ท่ี 7 กนั ยายน 2561 กอ่ นการเลอื กตงั้ เลก็ นอ้ ย (การเลอื กตง้ั ในประเทศสวเี ดน วนั ที่ 9 กนั ยายน 2561) เธอประกาศวา่ เธอจะนดั หยดุ เรยี นทกุ วนั ศกุ รจ์ นประเทศสวเี ดนจะปฏบิ ตั ติ ามความตกลง ปารีส ทืนแบร์ยประท้วงโดยน่ังอยู่นอกรัฐสภาทุกวันระหว่างช่ัวโมงเรียนพร้อมป้ายเขียนว่า “Skolstrejk for klimatet” (การนดั หยดุ เรยี นเพ่ือภมู ิอากาศ) เพือ่ เรยี กรอ้ งใหร้ ฐั บาลสวีเดนลดการปล่อยคาร์บอนตาม ความตกลงปารีส ซ่ึงได้รับความสนใจจากท่ัวโลก เธอเป็นแรงบันดาลใจให้นักเรียนท่ัวโลกเข้าร่วมการนัด หยดุ เรยี นเพื่อภูมอิ ากาศ (school strike for climate) ซงึ่ ตัดสินใจไมเ่ ข้าเรียนแลว้ เขา้ ร่วมการเดนิ ขบวน เพ่ือเรียกร้องให้มีการปฏิบัติเพื่อป้องกันภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพ่ิมข้ึนอย่าง ตอ่ เนื่อง กลมุ่ ขบวนการนดั หยดุ เรยี นเพอ่ื ภมู อิ ากาศไดป้ ระกาศวนั นดั ประทว้ งครงั้ ใหญท่ วั่ โลก 2 วนั ในเดอื น กนั ยายน 2562 วันแรกคือ 20 กนั ยายน เรียกว่า Climate Strike ซ่งึ เปน็ สามวนั กอ่ นการประชมุ เรง่ ดว่ น เพ่อื ภูมอิ ากาศของสหประชาชาติ (UN Climate Action Summit 2019) ทีน่ ครนวิ ยอรก์ และอกี วนั หนึ่ง คือ 27 กันยายน 2562 หรือหนง่ึ สัปดาหถ์ ัดมา เรยี กว่า Earth Strike ในประเทศต่างๆ ท่ัวโลก จะมีการ จดั งานประทว้ งสำ� หรบั วนั ใดวันหนง่ึ หรือทง้ั สองวนั โดยมีประเทศทเ่ี ข้ารว่ มกวา่ 130 ประเทศ การจัดงาน ในคร้ังน้ีถือว่าประสบความส�ำเร็จมากกว่าทุกครั้งท่ีผ่านมา โดยเชิญชวนให้คนทุกวัย ทุกสาขาอาชีพ มา ร่วมการประท้วงไปกับกลุ่มนักเรียนด้วย นอกจากน้ี งานน้ียังได้รับการสนับสนุนจากหลายหน่วยงาน ท้ัง องคก์ รอสิ ระ บรษิ ัทเอกชน สมาคม และกลุม่ ความเคล่ือนไหวทางสงั คมต่าง ๆ อาทิ 350.org, Amnesty International, Extinction Rebellion, Greenpeace International, Oxfam, WWF, Patagonia, Ben & Jerry’s, Lush, Atlassian, และองคก์ รอื่นๆ อีกมากมาย ในนครนิวยอร์ก โรงเรียนรัฐบาลไดป้ ระกาศ อนญุ าตใหน้ กั เรยี นสามารถเขา้ รว่ มไดห้ ากไดร้ บั การอนญุ าตจากผปู้ กครอง หรอื ในออสเตรเลยี บรษิ ทั เอกชน หลายแหง่ กส็ นบั สนนุ ใหพ้ นกั งานเขา้ รว่ มการประทว้ งในเมอื งของตน และสนบั สนนุ ใหท้ กุ บรษิ ทั ในประเทศ มีส่วนร่วมด้วยเช่นกัน ซ่ึงจากการเคล่ือนไหวเหล่านี้ส่งผลให้สภาสามัญชนหรือสภาผู้แทนอังกฤษได้ลงมติ เหน็ ชอบให้ ประกาศภาวะฉุกเฉนิ ด้านการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศหรือ Climate Emergency โดยที่ ไมต่ ้องลงคะแนน และถอื เปน็ ประเทศแรกของโลกที่ประกาศภาวะฉุกเฉินด้าน Climate Change 39
Climate Emergency คืออะไร คำ� ประกาศวา่ ดว้ ยภาวะฉกุ เฉนิ ดา้ นสภาพภมู อิ ากาศ (climate emergency declaration) เปน็ กล ยทุ ธเชงิ นโยบายทรี่ ฐั บาลหลายประเทศทวั่ โลกและชมุ ชนวทิ ยาศาสตรน์ ำ� มาใชเ้ พอ่ื รบั รรู้ ว่ มกนั วา่ มนษุ ยชาติ ก�ำลังเผชิญกบั วิกฤตสภาพภมู ิอากาศ โดยนกั วทิ ยาศาสตร์ 11,258 คน จาก 153 ประเทศร่วมกันลงนามใน ค�ำประกาศภาวะฉกุ เฉนิ ดา้ นสภาพภมู ิอากาศ ท่ีตีพมิ พใ์ นวารสาร Bio Science ซ่ึงค�ำประกาศภาวะฉุกเฉนิ ด้านสภาพภูมิอากาศนี้เปรียบดังสัญญาณชีพ (vital signs) ท่ีเอื้อให้ผู้ก�ำหนดนโยบาย ภาคเอกชน และ สาธารณะชนเข้าใจถึงขนาดของวิกฤต ติดตามความคืบหน้าและจัดเรียงล�ำดับความส�ำคัญในการลดผลก ระทบจากหายนะทางนเิ วศวิทยา เมอ่ื ประมาณเดือนพฤษภาคมท่ีผ่านมา ศนู ย์วจิ ัย The Mauna Loa Observatory (MLO) ของ สหรฐั อเมริกาไดร้ ายงานสถานการณก์ ารเพม่ิ ข้นึ ของก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดท์ ี่น่าตกใจเป็นอย่างยิ่ง ระดับ ความเข้มขน้ ท่ีตรวจวดั ไดพ้ ุ่งสงู ถงึ 415.26 ppm นบั เปน็ คา่ สงู ที่สดุ ทไ่ี ดเ้ คยบันทึกไวใ้ นประวตั ศิ าสตรข์ อง มวลมนษุ ยชาติ และยงั ไมม่ ที ที า่ วา่ จะลดลง มกี ารคาดการณก์ นั วา่ หากความเขม้ ขน้ ของคารบ์ อนไดออกไซด์ แตะ 550 ppm เมอ่ื ใด เมอ่ื นนั้ อณุ หภมู ขิ องโลกอาจสงู ขน้ึ ไดถ้ งึ 2 องศาเซลเซยี ส และจากรายงานของ IPCC ไดบ้ อกใหเ้ รารวู้ า่ เมอื่ อณุ หภมู ขิ องโลกเพมิ่ ขน้ึ ถงึ 2 องศาแลว้ จะเกดิ การเปลยี่ นแปลงทสี่ ายเกนิ แกแ้ ลว้ (An IPCC special report on the impacts of global warming of 1.5 °C) ภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศในประเทศไทย ในชว่ ง 30 ปีทีผ่ ่านมา ประเทศต้องเผชิญภัยพบิ ตั ิท่เี กี่ยวข้องกบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (climate diasters) ไม่ว่าจะเปน็ ภัยแล้งยาวนาน อุณหภมู ผิ กผนั น้�ำทว่ มและพายรุ นุ แรง ทส่ี ร้างความเสีย หายชวี ติ และทรัพย์สินของประชาชนหลายหลายต่อหลายคร้งั (ดูรายละเอียดในตาราง) เฉพาะอุทกภยั นน้ั เกดิ ขนึ้ 67 ครัง้ ในระหว่าง พ.ศ. 2532-2561 สถติ ขิ องภัยพบิ ัติที่เกยี่ วขอ้ งกับวิกฤตสภาพภูมอิ ากาศในประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ.2532-2561 ภยั พิบัติ จำ� นวนเหตุการณ์ จำ� นวนผู้เสยี ชวี ติ ผลกระทบทั้งหมด ความเสียหาย ภยั แลง้ ยาวนาน 11 ไม่มขี อ้ มลู (ลา้ นคน) (ล้านเหรยี ญสหรฐั ) อณุ หภมู สิ ุดขีด 2 77 นำ�้ ท่วม 67 2,905 42 3,726 พายุ 32 843 1 ไมม่ ขี อ้ มูล 51 45,753 4.2 880 40
การคาดการณ์อนาคตโดยใช้แบบจ�ำลองสภาพภูมิอากาศพบว่า เจตจํานงลดก๊าซเรือนกระจกของ ประเทศต่างๆ ท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน เมื่อรวมกันแล้ว ก็ยังคงท�ำให้อุณหภูมิเฉล่ียผิวโลกเพิ่มขึ้นเป็น 3 องศา เซลเซียส(เมื่อเทยี บกับระดับยคุ ก่อนอุตสาหกรรม) เมอ่ื พจิ ารณาถึงเป้าหมายของความตกลงปารีส (จ�ำกัด การเพม่ิ อุณหภมู เิ ฉลยี่ ผวิ โลกไมใ่ ห้เกนิ 1.5 องศาเซลเซยี สเมอ่ื เทียบกับระดับกอ่ นยคุ อุตสาหกรรม) คาดวา่ ประเทศไทยตอ้ งเผชญิ ความเสยี่ งจากภยั แลง้ ยาวนาน คลนื่ ความรอ้ นรนุ แรง และอทุ กภยั เพม่ิ มากขน้ึ ซง่ึ คาด การณไ์ วว้ า่ หากเรายงั ไมม่ กี ารกำ� หนดภาวะฉกุ เฉนิ ดา้ นสภาพภมู อิ ากาศนนั้ เมอื่ อณุ หภมู เิ ฉลย่ี ผวิ โลกเพม่ิ ขนึ้ 1.5 องศาเซลเซียส จำ� นวนวันแล้งในประเทศไทยจะเพม่ิ ขึ้นรอ้ ยละ 2.6 และความรุนแรงจากอทุ กภัยเพม่ิ ร้อยละ 3 และหากอุณหภูมิเฉล่ยี ผวิ โลกเพ่ิมขึน้ 3 องศาเซลเซยี ส จำ� นวนวนั แห้งแล้งและความรนุ แรงจาก อุทุกภัยจะเพ่มิ ข้นึ ร้อยละ 10 และ 13 ตามลำ� ดับ ตารางแสดงการคาดการณต์ ัวแปรดา้ นสภาพอากาศของประเทศไทยจากการรวมผล (Ensemble) ของแบบจำ� ลองสภาพภูมิอากาศ CMIP5 ดชั นี การคาดการณ์ที่ผา่ นมา อณุ หภูมเิ ฉลยี่ ผิวโลกไม่ อณุ หภมู ิเฉล่ยี ผวิ โลกท่ี (พ.ศ.2529-2558) เกนิ 1.5 องศาเซลเซียส 3 องศาเซลเซยี ส (เป้าหมายสงู สุดของ (ภายใตเ้ จตจำ� นงลดก๊าซ ความตกลงปารสี ) เรือนกระจกของประเทศ ทั่วโลกรวมกัน) อณุ หภมู พิ ้นื ผิว ค่าเฉล่ยี รายปี +2.6 (องศาเซลเซียส) 25 +1.1 +10% การตกของหยาดนำ�้ ฟา้ (ฝน, ลกู เห็บ) 1,528 มลิ ลิเมตร +2.5% +6 +3 ความแห้งแล้ง (วัน) เหตกุ ารณส์ ภาพภมู อิ ากาศสุดข้ัว +3% คลนื่ ความรอ้ น:อุณหภูมิ 63 +1.7 สูงสุดรายปี นำ�้ ท่วม: ปริมาณฝน 39 +1.1 สูงสุดรายปี (มิลลเิ มตร) 150 +1.1% 41
ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศในประเทศไทยท่ีเห็นได้อยา่ งชัดเจนได้แก่ ชายฝั่ง ทะเลไทยเสีย่ งต่อการกัดเซาะเนือ่ งจากการเพิ่มของระดบั นำ�้ ทะเล ซ่ึงในระยะยาวของประเทศไทย (ปลาย ศตวรรษท่ี 22) ระดบั น�ำ้ ทะเลจะเพิ่มขน้ึ ราว 2.39 เมตร เม่อื อุณหภูมเิ ฉลี่ยผิวโลกสงู ขน้ึ 4.3 องศาเซลเซยี ส มีความเส่ียงท่ีจะเกิดพายุหมุนเขตร้อนเพิ่มขึ้นอย่างมากด้วย เนื่องจากความรุนแรงของภัยพิบัติจากพายุ หมนุ เขตร้อนย้งิ มากข้นึ จากปรมิ าณฝนทต่ี กหนักและการเพมิ่ ของระดับนำ�้ ทะเล ปญั หาส่งิ แวดล้อมอื่นๆ ในประเทศไทย นอกเหนือจากก๊าซเรือนกระจกและการเกิดอุทกภัยจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศแล้ว ประเทศไทยยงั ประสบปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี ปน็ ผลพวงจากกจิ กรรมของมนษุ ย์ กอ่ ใหเ้ กดิ สภาวะวกิ ฤตมลพษิ ทางอากาศและหมอกควัน เป็นประเด็นปัญหาทางสังคมและส่ิงแวดล้อมที่รุนแรงของประเทศ อีกท้ังเป็น ปญั หาเรอ้ื รังและทา้ ทายแผนการจดั การของภาครฐั เปน็ วิกฤตทเี่ พม่ิ ทวีความรนุ แรงขน้ึ ในทกุ ปี ดงั แสดงใน รปู ท่ี 1 จะเห็นวา่ ในชว่ งเดอื นมกราคม 2563 มแี นวโนม้ ของการกระจายตัวทางพื้นท่ขี องละอองลอยเฉลย่ี รายเดือนเพิม่ ขน้ึ จากเดือนมกราคม 2562 อย่างเหน็ ไดช้ ดั จนทำ� ใหจ้ งั หวัดเชยี งใหม่ตดิ อนั ดับเมอื งที่มมี ี มลพิษหรือคา่ ฝุน่ ละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) สงู ท่ีสุดในโลก (ไทยรฐั ออนไลน์, 2563) ค่าความลกึ เชงิ แสงของละอองลอยเฉลยี่ รายเดือน (GISTNORTH, 2020) 42
สาเหตุส�ำคัญของการเกิดมลพิษทางอากาศและหมอกควันมาจากการเผาชีวมวล โดยเฉพาะการ เผาเพอ่ื การเกษตรทง้ั ภายในประเทศและประเทศเพอื่ นบา้ น ฝนุ่ เขมา่ จากเคร่ืองยนตด์ เี ซล (โครงการศกึ ษา แหล่งกำ� เนดิ และแนวทางการจัดการฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ 2.5 ไมครอน ในพื้นท่ีกรงุ เทพและปรมิ ณฑล, สงิ หาคม 2561) รวมไปถงึ ปจั จยั ทางสภาพภมู ปิ ระเทศและภูมิอากาศ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในภาคเหนอื ของ ประเทศไทย เนอื่ งจากพน้ื ทห่ี ลายจงั หวดั ในภาคเหนอื มลี กั ษณะคลา้ ยแอง่ กระทะ คอื เปน็ พนื้ ทร่ี าบทม่ี ภี เู ขา ล้อมรอบ ท�ำให้สารมลพิษท่ีเกิดขึ้นในพื้นที่หรือถูกพัดพามาจากนอกพื้นท่ีไม่สามารถแพร่กระจายได้ เกิด เปน็ การสะสมของสารมลพษิ ประกอบกบั สภาพอากาศในชว่ งปลายฤดหู นาวกอ่ นเขา้ ฤดแู ลง้ ทสี่ ภาพอากาศ นงิ่ และแหง้ เปน็ เวลานาน ทำ� ใหฝ้ นุ่ ละอองทเี่ กดิ ขนึ้ สามารถแขวนลอยอยใู่ นบรรยากาศไดน้ านโดยไมต่ กลง สู่พ้ืนดิน เมื่อมีการเผาอย่างต่อเน่ืองสารมลพิษและปริมาณฝุ่นละอองที่เกิดข้ึนใหม่จะรวมตัวกับของเดิมท่ี มอี ยู่ในช้นั บรรยากาศทำ� ใหเ้ กดิ การสะสมมากข้นึ อนั สง่ ผลต่อสขุ ภาพ และคุณภาพชวี ติ ความเป็นอยู่ ของ ประชาชน การเผาในท่โี ล่งโดยเฉพาะการเผาในพนื้ ทีเ่ กษตร ไดแ้ ก่ ไร่อ้อย นาขา้ ว นับเป็นปัญหาทีส่ ำ� คัญ ในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉยี งเหนือของประเทศ ในขณะทภี่ าคใต้ของประเทศประสบปญั หาหมอก ควันขา้ มแดนจากเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว ประเทศอนิ โดนีเซีย ซ่งึ มสี าเหตุจากการเผาพน้ื ทปี่ า่ พรุ ในช่วงเดอื นกรกฎาคม ถงึ ตลุ าคมของทุกปี วกิ ฤติมลพษิ ทางอากาศและหมอกควัน จึงกลา่ วไดว้ ่าเปน็ วาระ แหง่ ชาติที่ก่อให้เกิดความเสียหายทงั้ ต่อคุณภาพชีวติ ของประชาชน ภาพลักษณ์ ระบบเศรษฐกจิ และการ ทอ่ งเทย่ี วของประเทศ เปน็ ปญั หาทค่ี วรเรง่ แกไ้ ข โดยมคี วามจำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ทจี่ ะตอ้ งไดร้ บั ความรว่ มมอื จาก ทกุ ภาคสว่ นในการบรู ณาการ เพอื่ หาแนวทางแกไ้ ขปญั หา รวมไปถงึ การประกาศภาวะฉกุ เฉนิ ดา้ นสภาพภมู ิ อากาศ กลยุทธ์เพอื่ การรับมอื กับภาวะฉุกเฉนิ ด้านสภาพภูมอิ ากาศ ทันทีที่มีการประกาศภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศ ขั้นต่อไปคือการจัดล�ำดับความส�ำคัญ ของกลยุทธ์ต่างๆ เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคส่วนต่างๆ และสร้างความม่ันคงและเข้มแข็ง (Resilience) ของชุมชนและสังคมโดยรวมต่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศ โดยท่ีนโยบายหรือยุทธศาสตร์การ พัฒนาต่างๆ ต้องมีความทนทาน (Robustness) ตอ่ พลวตั รทางสังคมและแรงกระแทกกระทั้นจากความ สุดข้ัวของสภาพภูมิอากาศในอนาคต ที่ส�ำคัญต้องอยู่บนรากฐานของความเป็นธรรมและเคารพศักดิ์ศรี ของความเปน็ มนษุ ย์ นกั วิทยาศาสตร์จึงไดร้ ว่ มลงนามในเดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 เปน็ ค�ำเตอื นของนัก วทิ ยาศาสตร์ต่อมนษุ ยชาติ (World Scientists’ warning to Humanity) และได้เสนอคำ� แนะน�ำในการ สร้างความยั่งยืนมากข้ึน โดยสาระส�ำคัญ เชน่ • การฟน้ื ฟปู า่ และสรา้ งชมุ ชนพชื พนื้ เมอื ง ดว้ ยการปลกู พชื พนื้ เมอื ง เพอ่ื ฟน้ื ฟกู ระบวนการและพลวตั ของระบบนเิ วศ • การใชน้ โยบายในการปกปอ้ งวชั พชื และสตั วส์ ายพนั ธต์ุ า่ ง ๆ จากการรกุ ลำ�้ และการคา้ ผดิ กฎหมาย ลดของเสยี จากอาหารและสง่ เสรมิ ใหเ้ ปลยี่ นไปใชอ้ าหารจากพชื มากขน้ึ พจิ ารณาราคาสนิ คา้ และระบบภาษี 43
จากการแปรรูปการบริโภคในทกุ วันนีว้ ่าสง่ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อมอยา่ งไรบา้ ง • ลดอัตราการเกิดประชากร โดยให้การศึกษาและบริการวางแผนครอบครัวโดยสมัครใจ และ ควบคุมประชากรมนุษย์ให้มีจ�ำนวนที่เหมาะสมกับการพฒั นาทยี่ ่ังยืน • เสรมิ สรา้ งความกา้ วหนา้ ในเทคโนโลยสี เี ขยี วและพลงั งานทดแทน ลดการอดุ หนนุ เชอื้ เพลงิ ฟอสซลิ รวมทง้ั การปรบั เปลี่ยนแนวทางเศรษฐกิจเพอื่ ลดการกระจายรายไดท้ ไี่ ม่เทา่ เทยี ม “ภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศ” ไม่ใช่การสร้างความแตกตื่น หากน�ำไปสู่ “ความต่ืนรู้” ถึง “วิกฤตทางนิเวศวิทยา” ที่ผู้คนทั้งสังคมต้องเผชิญและหาทางออกร่วมกัน “ภาวะฉุกเฉินด้านสภาพ ภูมอิ ากาศ” ไมเ่ พียงเป็นยุทธศาสตรท์ ี่พจิ ารณาแนวโนม้ อนาคตในระยะยาวและนโยบายแบบทางการ แต่ รวมถึง “การลงมือท�ำเดี๋ยวนี้” ก่อนที่จะสายเกินไป เพื่อหลีกเลี่ยงหายนะภัยจากการล่มสลายของระบบ สภาพภมู ิอากาศ เอกสารอ้างองิ (รายชื่อเอกสารอ้างอิงทใี่ ชใ้ นการจัดเตรียมเนอ้ื หาการบรรยาย) https://www.greenpeace.org/thailand/story/11430/climate-emergency- annoucnment/ https://www.reanrooclimatechange.com/learning-detail02.html http://www.datacenter.deqp.go.th/service-portal/cop23/derivation_cop23/ https://thaipublica.org/2019/05/uk-parliament-emergency-climate- change-environment-zero-emission/ Suzuki , David. (5 January 2018). 15,000 Scientists Issue Urgent Warning: Humanity Is Failing to Safeguard the Planet. AlterNe, retrieved 2019- 11-11 เอกสารประกอบการอ่านเพ่ิมเตมิ (รายช่อื เอกสารอ้างองิ ที่แนะน�ำ ใหอ้ า่ นเพม่ิ เตมิ ) หนังสอื 6 องศาโลกาวินาศ (Six degrees) ผู้เขียน : มาร์ก ไลนัส ภาพยนตร์ An Inconvenient truth 44
45
บทที่ 4 คาร์บอนฟุตพริ้นท์ (Carbon Footprint) 46
ความเสยี่ งตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ จากการเปดิ เผยรายงาน Global Climate Risk Index 2018 ขององคก์ ร Germanwatch ซง่ึ ไดจ้ ดั อนั ดชั นคี วามเสย่ี งตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศระหวา่ งปี ค.ศ. 1997–2016 (Global Climate Risk Index for 1997–2016) โดยในการจดั อันดับ (ดัชนีระยะยาว) พบวา่ ประเทศไทยขยบั ขึน้ มาอยอู่ ันดบั ที่ 9 ของโลก ซงึ่ สงู ขนึ้ หนง่ึ อนั ดบั จากปที แ่ี ลว้ ทไี่ ทยอยอู่ นั ดบั ท่ี 10 นอกจากน้ี ในรายงาน Global Climate Risk Index 2018 ระบวุ า่ ระหวา่ งปี ค.ศ. 1997 ถึง 2016 มีเหตุภัยพิบตั จิ ากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศอยา่ ง รนุ แรงมากกวา่ 11,000 เหตกุ ารณ์ มผี ู้เสยี ชวี ติ โดยตรงจากเหตุการณ์เหล่านน้ั สูงกว่า 524,000 คน และ สรา้ งความเสยี หายทางเศรษฐกจิ สงู ถงึ 3.16 ลา้ นลา้ นดอลลารส์ หรฐั ฯ โดยประเทศฮอนดรู สั , เฮติ และพมา่ เปน็ ประเทศท่ไี ด้รบั ผลกระทบนี้รนุ แรงมากทสี่ ดุ โดยการจดั อนั ดบั ประเทศความเสยี่ งตอ่ การเปลย่ี นแปลง สภาพภมู ิอากาศระหวา่ งปี 1997–2016 (ดัชนีระยะยาว) 10 อันดับแรกไดแ้ ก่ อนั ดับ 1 ฮอนดรู ัส, อนั ดบั 2 เฮติ อนั ดับ 3 พมา่ อนั ดบั 4 นคิ ารากวั อันดับ 5 ฟลิ ปิ ปนิ ส์ อันดบั 6 บงั กลาเทศ อนั ดบั 7 ปากสี ถาน อันดบั 8 เวียดนาม อนั ดับ 9 ไทย พบอุทกภัยปีลา่ สดุ สรา้ งความเสยี หายภาคเกษตรไทยถงึ 14,198.21 ล้านบาท และอันดับ 10 โดมินกิ นั (ท่ีมาของข้อมูล: https://www.tcijthai.com/news/2017/19/scoop/7523) ความหมายของค�ำว่า คารบ์ อนฟุตพริน้ ท์ ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ทำ� ใหเ้ กดิ ความตน่ื ตวั ในการหามาตรการลดปรมิ าณ การปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจก โดยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยในปี 2012 ~ 350.68 MtCO2e และ ประเทศไทยเสนอเป้าลดปริมาณการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก 20% ในปี ค.ศ. 2030 (*เทยี บ กบั ปีฐาน ในปี ค.ศ. 2008) นอกจากนี้ ในระดบั สากลได้มีการพัฒนาวธิ กี ารประเมินปริมาณการปลอ่ ยก๊าซ เรือนกระจก หรอื การประเมนิ คาร์บอนฟตุ พรน้ิ ท์ เพอื่ ใช้เป็นตวั ช้ีวดั คารบ์ อนฟตุ พริ้นท์ ทับศัพท์มาจากค�ำศพั ทภ์ าษาองั กฤษ คอื Carbon Footprint โดยมที ีม่ าจากคำ� ว่า Greenhouse gas emissions โดยพบวา่ กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ปน็ ก๊าซเรือนกระจกทมี่ ปี รมิ าณการ ปล่อยสูงสุด จงึ ทำ� ให้เรียกว่า Carbon emissions แทน แต่เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความตื่นตัวในเรอ่ื งนี้ จึงได้บัญญตั ิ ศพั ท์ Carbon Footprint ขน้ึ โดยเปน็ การคำ� นวณการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกทใ่ี ชม้ มุ มองโดยตลอดวฏั จกั ร ชีวิตของผลิตภัณฑ์ ซึ่งครอบคลุมต้ังแต่ขั้นตอนการได้มาซึ่งวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การกระจายสินค้า การใช้งาน และการจัดการของเสียหลังหมดอายกุ ารใช้งาน ตลอดจนการขนส่งที่เก่ียวข้องในทกุ ๆ ข้ันตอน มกี ๊าซเรือนกระจกทิจ่ ารณาในการประเมินคารบ์ อนฟุตพรนิ้ ท์ ประกอบด้วยก๊าซ 7 ชนิดตามที่ควบคมุ ภาย ใตพ้ ิธสี ารเกียวโต ไดแ้ ก่ คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) มีเทน (CH4) ไนตรัสออกไซด์ (N2O) ไฮโดรฟลูออโร คาร์บอน (HFCs) เพอรฟ์ ลูออโรคารบ์ อน (PFCs) ซัลเฟอร์เฮกซะฟลอู อไรด์ (SF6) และไนโตรเจนไตรฟลอู อ ไรด์ (NF3) และอา้ งองิ คา่ ศกั ยภาพในการทำ� ใหเ้ กดิ ภาวะโลกรอ้ นคำ� นวณไดจ้ ากการวดั หรอื คำ� นวณปรมิ าณ กา๊ ซเรอื นกระจกแตล่ ะชนดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ จรงิ และคำ� นวณใหอ้ ยใู่ นรปู ของกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเทา่ โดย 47
ใช้คา่ ศกั ยภาพในการท�ำใหเ้ กดิ ภาวะโลกร้อนในระยะเวลา 100 ปีของ IPCC (GWP100) โดยพิจารณากา๊ ซ เรอื นกระจกทีเ่ กดิ ขึน้ จากกระบวนการต่าง ๆ ดงั น้ี • การผลติ วัตถุดิบ • การผลิตพลงั งาน • กระบวนการเผาไหม้ • การเกดิ ปฏิกิริยาเคมี • การสญู เสียนำ�้ ยาท�ำความเย็นและการรวั่ ไหลของกา๊ ซ • การปฏิบตั ิงาน • การขนสง่ ทกุ ประเภทที่เก่ยี วขอ้ ง • การปศสุ ัตวแ์ ละกระบวนการผลิตทางการเกษตรอนื่ ๆ • ของเสยี และการจัดการของเสยี คาร์บอนฟตุ พริน้ ท์ผลิตภณั ฑแ์ ละบรกิ าร เปน็ เครอื่ งมือประเมินปริมาณการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก ของผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ ารโดยตลอดวฏั จกั รชวี ติ เพอ่ื ใหท้ ราบวา่ มแี หลง่ ปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกจากกจิ กรรม ใดในหว่ งโซอ่ ปุ ทาน ทำ� ใหท้ ราบวา่ กจิ กรรมใดเปน็ สาเหตใุ หเ้ กดิ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกอยา่ งมนี ยั สำ� คญั เพ่ือน�ำไปสู่การวางแผนงาน ด�ำเนินการปรับปรุงเพ่ือลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยพิจารณา ชนดิ ก๊าซเรือนกระจก คอื คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มเี ทน (CH4) ไนตรสั ออกไซด์ (N2O) ไฮโดรฟลอู อโร คาร์บอน (HFCs) เปอร์ฟลูออโรคารบ์ อน (PCFs) และซลั เฟอรเ์ ฮกซาฟลโู อไรด์ (SF6) โดยอ้างอิงขอ้ มูลคา่ ศกั ยภาพในการกอ่ ใหเ้ กดิ ภาวะโลกรอ้ นหรอื การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ จากรายงานของ IPCC (ฉบบั ล่าสดุ )ท่รี ะยะเวลาในการประเมนิ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก กำ� หนดเป็น 100 ปี คารบ์ อนฟตุ พรน้ิ ทข์ องผลติ ภัณฑ์ (Product carbon footprint) หมายถงึ ปริมาณการปล่อยกา๊ ซ เรือนกระจกของผลิตภัณฑ์โดยตลอดวัฏจักรชีวิต (ภาพที่ 1) ตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบ การแปรรูปวัตถุดิบ กระบวนการผลิต (รวมทัง้ กระบวนการผลติ ภาชนะบรรจ)ุ การจัดจำ� หน่ายหรอื กระจายสินค้า การใชง้ าน หรอื บรโิ ภค การจดั การของเสยี หลงั ผลติ ภณั ฑห์ มดอายกุ ารใชง้ านหรอื หลงั จากการบรโิ ภค รวมทง้ั การขนสง่ ที่เก่ยี วขอ้ งในทกุ ๆ ขน้ั ตอน ตัวอยา่ งผลิตภัณฑ์ เชน่ ผลติ ภัณฑ์ไกย่ า่ งเทอริยากิ ผลิตภัณฑข์ ้าวสารหอมมะลิ ผลิตภณั ฑ์น�้ำสับประรดเข้มขน้ ฯลฯ 48
ภาพท่ี 1 ขอบเขตการวเิ คราะหค์ ารบ์ อนฟตุ พรน้ิ ท์ของผลติ ภัณฑ์ (ที่มาของข้อมูล: http://kpadltd.co.uk/area-of-expertise/food-life-cycle-assessment-lca/) ตัวอยา่ ง เช่น • คาร์บอนฟุตพร้ินท์ของผลิตภัณฑ์น�้ำประปา หมายถึง ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของ ผลิตภัณฑ์น้�ำประปาโดยตลอดวัฏจักรชีวิต ตั้งแต่ การสูบนำ้� ดิบจากแม่น้�ำ การผลิตน�้ำประปา การส่งน้�ำ ประปา การใช้นำ�้ ประปาอาบน้ำ� การบ�ำบดั นำ� เสยี จากการใชน้ �้ำประปาหลังอาบนำ�้ • คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์แปรงสีฟัน หมายถึง ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของ ผลติ ภณั ฑแ์ ปรงสฟี นั โดยตลอดวัฏจกั รชีวิต ต้ังแต่ การผลิตวตั ถุดบิ แตล่ ะชนดิ การผลติ แปรงสฟี ัน การใช้ แปรงสฟี นั การจดั การขยะแปรงสีฟนั หลังหมดอายกุ ารใช้งาน • คารบ์ อนฟตุ พรน้ิ ทข์ องผลติ ภณั ฑเ์ สอ้ื ผา้ หมายถงึ ปรมิ าณการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกของผลติ ภณั ฑ์ เสอ้ื ผ้าโดยตลอดวฏั จักรชวี ิต ต้งั แต่ การปลูกฝา้ ย การนำ� ฝา้ ยไปผลิตเส้นใย การนำ� เสน้ ใยมาถักทอเปน็ ผืน การยอ้ มสี การนำ� ไปตัดเยบ็ เสื้อผ้า การสวมใส่เสอ้ื ผ้า การซกั รีดเสอื้ ผา้ การจดั การเส้อื ผ้าหลังหมดอายุการ ใชง้ าน • คาร์บอนฟุตพรนิ้ ทข์ องผลิตภัณฑ์เคร่อื งปรับอากาศ หมายถงึ ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ของผลิตภัณฑ์เคร่ืองปรับอากาศโดยตลอดวัฏจักรชีวิต ตั้งแต่ การผลิตวัตถุดิบแต่ละชนิด การผลิตเคร่ือง ปรบั อากาศ การใชง้ านเครอื่ งปรบั อากาศ การซอ่ มบำ� รงุ และดแู ลรกั ษาระหวา่ งการใชง้ าน การจดั การเครอ่ื ง ปรบั อากาศหลงั หมดอายกุ ารใช้งาน • คาร์บอนฟุตพร้นิ ทข์ องผลิตภณั ฑข์ ้าวสารหอมมะลิ หมายถงึ ปรมิ าณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ของผลติ ภณั ฑข์ า้ วสารหอมมะลิ โดยตลอดวฏั จกั รชวี ติ ตงั้ แต่ การปลกู ขา้ ว การสขี า้ ว การหงุ ขา้ ว การจดั การ เศษอาหารหลงั บรโิ ภค 49
• คารบ์ อนฟตุ พริ้นท์ของบรกิ าร (Service carbon footprint) หมายถงึ ปริมาณการปลอ่ ยกา๊ ซ เรอื นกระจกจากกจิ กรรมการให้บริการ (ภาพท่ี 2) ตวั อย่างบริการ เชน่ บรกิ ารท่ีพกั ของโรงแรม บริการทำ� อาหารของภตั ตาคาร บรกิ ารธุรกรรมออนไลน์ของธนาคาร ฯลฯ ตัวอย่างบริการ เช่น • บริการรถโดยสารสาธารณะ หมายถึง ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมการให้ บรกิ ารของรถโดยสารสาธารณะ โดยตลอดวฏั จกั รชวี ติ ตงั้ แต่ การผลติ วตั ถดุ บิ แตล่ ะชนดิ การผลติ รถโดยสาร สาธารณะ การผลติ น้ำ� มนั เชอื้ เพลิง การเผาไหม้นำ้� มนั เช้อื เพลงิ • บริการท่พี กั ของโรงแรม หมายถึง ปริมาณการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกจากกจิ กรรมการใหบ้ รกิ าร ของโรงแรมโดยตลอดวฏั จักรชวี ิต ตง้ั แต่ การเช็คอนิ เข้าท่พี กั การเขา้ พัก การซกั ผ้าปเู ตยี ง ปลอกหมอน ผ้า ขนหนู การรับประทานอาหาร การเชค็ เอ้าท์ออกจากทพ่ี กั • บรกิ ารทำ� อาหารของภตั ตาคาร หมายถงึ ปรมิ าณการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกจากกจิ กรรมการให้ บริการท�ำอาหารของภัตตาคารโดยตลอดวฏั จกั รชวี ติ ต้งั แต่ การผลติ วตั ถุดิบทกุ ชนดิ การปรุงอาหาร การ กินอาหาร การจดั การเศษอาหาร ภาพท่ี 2 ขอบเขตการวเิ คราะหค์ าร์บอนฟุตพร้ินท์ของบรกิ าร 50
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169