1) ใชว้ ตั ถดุ บิ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากทส่ี ดุ สนิ คา้ บางอยา่ งเมอ่ื ไมม่ ผี ใู้ ชแ้ ลว้ กำ� จดั ไดย้ ากมากจำ� เปน็ ต้องหลกี เลี่ยง แนวคดิ เศรษฐกิจหมุนเวยี นต้องคดิ วา่ หลงั จากท่ีผูบ้ ริโภคหยดุ ใช้สินค้าน้นั แล้ว สินคา้ นน้ั จะ สรา้ งคณุ คา่ อะไรไดอ้ กี บา้ งนอกจากทง้ิ เปน็ เศษขยะ และถงึ แมจ้ ะรไี ซเคลิ ไดแ้ ตว่ ธิ ไี หนบา้ งทจ่ี ะใชพ้ ลงั งานใน การรีไซเคลิ นอ้ ยทสี่ ุด หลักการดงั กล่าวจึงไม่ต่างจากการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ท่ตี อ้ งคดิ ถงึ เชงิ ลบให้น้อยทีส่ ุด 2) พลังงานที่น�ำมาใช้ต้องมาจากทรัพยากรท่ีน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ เพราะพลังงานเป็นทรัพยากร สำ� คญั ในการผลติ สนิ คา้ ดงั นนั้ การคดิ ระบบจงึ ไมค่ ดิ เพยี งวา่ จะนำ� ของกลบั มารไี ซเคลิ อยา่ งไร แตต่ อ้ งคดิ ดว้ ย ว่าสามารถคดิ ระบบที่จะนำ� พลังงานกลบั มาใชห้ รือใชพ้ ลังงานน้อยท่ีสดุ สง่ิ ท่คี วรหลีกเลย่ี งคอื การเคลื่อน ย้ายพลังงานไปใช้ในการผลิตเพราะนั่นหมายถึงการสูญเสียพลังงานในการขนส่งเพิ่มข้ึนด้วยจึงต้องหาทาง ใชพ้ ลงั งานที่มีมากในพ้ืนทีใ่ หเ้ ป็นประโยชนม์ ากทสี่ ดุ 3) การรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ เศรษฐกจิ หมุนเวียนจะต้องท�ำใหเ้ กิดความหลากหลาย ทางชวี ภาพ ไมใ่ ชว่ า่ เราสรา้ งระบบการผลติ ทดี่ มี ากผลติ สนิ คา้ ทร่ี กั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม แตก่ ลบั ทำ� ใหพ้ ชื หรอื สตั ว์ บางชนดิ ตอ้ งสูญพันธไ์ุ ปซึง่ เป็นสง่ิ ที่ไม่ถกู ตอ้ ง 4) การอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมและชุมชน ในกระบวนการผลติ ถ้าต้องมีการใช้แรงงานในท้องถิน่ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารรกั ษา อนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและความเชอ่ื ของคนในพ้นื ท่ี ไมใ่ ชเ่ ขา้ มาแลว้ เปลี่ยนแปลงทุกอยา่ งตาม ความตอ้ งการ เพราะถึงแม้อาจจะดใี นสายตาของคนทัว่ ไปแตอ่ าจไม่ดีสำ� หรบั คนท้องถิน่ 5) การไมท่ ำ� ลายสงิ่ ทมี่ อี ยตู่ ามธรรมชาติ การปลอ่ ยสารพษิ และของเสยี ทที่ ำ� รา้ ยธรรมชาติ และสง่ิ มี ชวี ิต เป็นขอ้ ห้ามเด็ดขาด หากมตี ้องถกู เกบ็ และก�ำจดั ดว้ ยวิธีทไ่ี ม่สร้างความเสียหายต่อห่วงโซ่อปุ ทาน ต้อง คดิ คน้ วธิ ีการผลติ ทไ่ี ม่ก่อให้เกิดสารพษิ ขึน้ มาทดแทนการเผาท�ำลายขยะหรอื สารพษิ ให้มากท่สี ุด 6) การไมส่ ามารถวดั ทุกอยา่ งไดด้ ว้ ยตัวเลขแตส่ ามารถวดั ดว้ ยคณุ ค่าทางจติ ใจ การประกอบธรุ กจิ กับตัวเลขเป็นสิ่งคู่กัน แต่ในการสร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนน้ันเราไม่สามารถวัดทุกอย่างด้วยตัวเลขเสมอไป คุณค่าบางอย่าง เช่น ความเชื่อ ศาสนา ความร้สู กึ เปน็ ส่งิ จ�ำเปน็ ที่ตอ้ งใหค้ วามส�ำคัญเช่นกัน 7) ระบบทกุ อยา่ งต้องสามารถปรับเปลย่ี นได้ เศรษฐกจิ หมนุ เวียนมขี ้ันตอนที่ซับซ้อนมากและหาก เกดิ เหตุการณ์ไมค่ าดคิด หรือขน้ั ตอนใดในระบบเกิดล้มเหลว จะต้องมวี ธิ ีการอ่นื ๆ มารองรับ เพ่ือใหร้ ะบบ ยังหมุนเวียนต่อไปได้ การนำ� ประโยชนจ์ ากหลกั คดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นมาใชพ้ ฒั นาและยกระดบั ทกุ ภาคสว่ น เพอ่ื คณุ ภาพ ชวี ติ ทดี่ ขี องประชาชนบนพนื้ ฐานของการอยรู่ ว่ มกบั สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งสมดลุ และคมุ้ คา่ นน้ั แนวคดิ ทที่ า้ ทาย คอื เปน็ ไปไดห้ รอื ไมท่ ภ่ี าคธรุ กจิ จะผลติ สนิ คา้ ออกมาใหใ้ ชง้ านไดน้ านทสี่ ดุ เทา่ ทจ่ี ะนานไดเ้ พอื่ ประโยชนส์ งู สดุ ของผบู้ รโิ ภค และลดทอนการเบยี ดเบยี นธรรมชาตลิ งรปู แบบการทำ� ธรุ กจิ จากนต้ี อ้ งเปลย่ี นไปจากเดมิ โดย ตอ้ งคำ� นึงถงึ สงิ่ แวดล้อมและการใชท้ รัพยากรทางธรรมชาติให้คมุ้ คา่ ท่สี ดุ เทา่ ทผ่ี า่ นมามงี านวจิ ยั ระบวุ า่ หลายๆ ธรุ กจิ สามารถสรา้ งผลประกอบการทด่ี ขี น้ึ ไดถ้ า้ นำ� เอาแนวทาง การพัฒนาทีย่ ั่งยืนมาเป็นเปา้ หมายใหญ่ขององคก์ ร เพราะการใช้ทรพั ยากรเปน็ เรื่องส�ำคญั ทีจ่ ะตอบโจทย์ ทางเศรษฐศาสตรข์ ององคก์ ร และการทจ่ี ะเปลยี่ นแปลงเรอื่ งนใ้ี หป้ ระสบความสำ� เรจ็ ไดไ้ มใ่ ชเ่ รอ่ื งงา่ ย เพราะ ต้องค่อย ๆ ปรับกระบวนการธุรกจิ ทีใ่ ชท้ รพั ยากรให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ หรือมปี ระสิทธิภาพดีทสี่ ุด 151
แรงผลักดันให้เกิดเศรษฐกิจหมุนเวียน คือภารกิจการเปล่ียนโมเดลเศรษฐกิจจากเส้นตรงให้เป็น วงกลมเพราะแนวคดิ นไ้ี ดส้ รา้ งเศรษฐกจิ แนวใหมท่ ที่ ำ� ใหก้ ารใชท้ รพั ยากรเกดิ การหมนุ เวยี น มปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ กลายเปน็ เรอื่ งจำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งเปลย่ี นระบบผลติ ทางตรง (Linear: Make-Use-Dispose) เปน็ ระบบผลติ แบบหมุนเวียน(Circular: Make-Use-Return) ซึง่ เป็นพืน้ ฐานของการผลักดันเศรษฐกจิ หมุนเวยี นในภาพ รวมไดใ้ นทสี่ ดุ ภาคธรุ กจิ จำ� เปน็ ตอ้ งเลง็ เหน็ ความสำ� คญั ของการเปลยี่ นโครงสรา้ งธรุ กจิ การปรบั กระบวนการ ผลติ ใหท้ นั สมยั การพฒั นานวตั กรรมการออกแบบผลติ ภณั ฑท์ มี่ าจากวตั ถดุ บิ ทเ่ี ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มหรอื ผลติ ภัณฑ์ทม่ี ีอายกุ ารใช้งานยาวนาน และการเพ่มิ มูลคา่ ใหข้ องเสยี ที่เกิดจากกระบวนการผลิต ตัวอย่างโครงการหรือการท�ำกิจกรรมทางสังคมหรือธุรกิจตามแนวเศรษฐกิจ หมุนเวยี น นวตั กรรมจดั การขยะตามหลกั เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น ความรว่ มมอื คอื เสน้ ทางสคู่ วามยงั่ ยนื “เอสซจี ”ี หนง่ึ ในองคก์ รทใ่ี หค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื จงึ สง่ เสรมิ แนวคดิ “ใชใ้ หค้ มุ้ แยกใหเ้ ปน็ ทง้ิ ใหถ้ กู ” สูก่ ารปฏิบัติจริง และผนกึ กำ� ลังกบั พนั ธมติ รทัง้ ภาครัฐ-ภาคธรุ กิจ-ชุมชน เพอื่ ต่อยอดและขยายแนวคดิ นไี้ ป สกู่ ารพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ หเ้ กดิ ขนึ้ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม เชอ่ื ความรว่ มมอื คอื เสน้ ทางสคู่ วามยงั่ ยนื พรอ้ มนำ� เสนอ นวตั กรรมจดั การขยะ ตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน “บางซ่ือโมเดล” จากนโยบายสู่การปฏิบตั ิ เอสซจี ไี ดแ้ ปลงหลกั Circular Economy จากนโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ โดยเรม่ิ จากโครงการ “บางซอื่ โมเดล” ซ่งึ เป็นสว่ นหนึ่งของแนวปฏบิ ัติ “SCG Circular way” ทีม่ ุง่ จัดการของเสยี ภายในส�ำนักงานใหญ่ บางซ่ือ เพ่ือสร้างความตระหนักให้พนักงานเห็นคุณค่าของทรัพยากร เป็นต้นแบบท่ีดีด้านบริหารจัดการ ของเสีย ปลูกฝงั หลกั เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นให้กับพนกั งานผ่านเร่ืองใกล้ตัวทที่ ุกคนสามารถทำ� ได้ดว้ ยแนวคิด “ใช้ให้คุ้ม แยกให้เป็น ทิ้งให้ถูก” ตลอดจนส่งต่อแนวคิดการบริหารจัดการขยะสู่ชุมชนภายนอกด้วยการ พัฒนาแอปพลิเคชัน “KoomKah” (คุ้มค่า) เพื่อช่วยบริหารจัดการรวบรวมและคัดแยกขยะจากชุมชน ทำ� ให้ผู้รบั ขยะหรือธนาคารขยะท�ำงานไดส้ ะดวกมากข้ึน 152
“บา้ นรางพลบั ” ต้นแบบเศรษฐกจิ หมนุ เวียนในชมุ ชน หลังจากนั้น เอสซีจีได้ขยายผลโครงการน�ำร่องไปยังชุมชนขนาดเล็กที่หมู่บ้านรางพลับ จ.ราชบุรี ด้วยการเข้าไปพูดคุยกับชุมชนเพื่อสอบถามถึงปัญหาขยะ ก่อนแลกเปลี่ยนแนวทางที่จะเปลี่ยนขยะเป็น ความมงั่ คั่ง (จาก Waste สู่ Wealth) โดยมุ่งให้ชมุ ชนจดั การได้ด้วยตนเองและมสี ว่ นร่วมในโครงการ ชมุ ชนน้แี สดงใหเ้ ห็นความตง้ั ใจและมีความเป็นผูน้ �ำทีจ่ ะจดั การขยะ จึงเรม่ิ โครงการด้วยการจดั หา กลมุ่ ผนู้ �ำในชุมชนกอ่ น และเม่อื ชมุ ชนวางกฎระเบียบของตวั เองรว่ มกนั จงึ ไดเ้ ร่มิ แยกขยะ ท�ำใหพ้ บวา่ ขยะ อินทรีย์หรือขยะอาหารเป็นส่วนที่ก�ำจัดยากท่ีสุด เอสซีจีจึงเข้าไปช่วยให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะ อนิ ทรยี ์ (Organic Waste) ด้วยการใชอ้ ปุ กรณ์ง่ายๆ ทีช่ ุมชนสามารถน�ำหญา้ หรอื ขยะอนิ ทรีย์มาใส่แลว้ นำ� ไปท�ำป๋ยุ การริเริ่มเหล่านท้ี ำ� ใหข้ ยะอาหารกลายเป็นอาหารสัตวห์ รือปุ๋ยที่ใช้ในชมุ ชน สว่ นทเ่ี หลือก็ขายให้ ชุมชนข้างเคยี ง นอกจากนี้ ชุมชนยังได้รเิ รม่ิ พัฒนาและสรา้ งมูลค่าของเสียให้กลายเป็นผลติ ภณั ฑ์ ทำ� ให้ได้ รับการขนานนามว่าเปน็ “Zero Waste to Landfill Community” จบั มือภาครฐั พฒั นาต้นแบบ “ทุน่ กกั เก็บขยะ” ส�ำหรับโครงการน�ำร่องท่ีร่วมกับหน่วยงาน ภาครฐั เอสซจี ไี ดร้ ว่ มกบั กรมทรพั ยากรทางทะเลและ ชายฝ่งั (ทช.) พฒั นา “ทนุ่ กักขยะลอยน้�ำ” (SCG - DMCR Litter Trap) โดยออกแบบทุ่นลอยน้�ำให้ มีกลไกฝาเปิด-ปิด ที่ช่วยกักเก็บขยะได้สูงสุด 700 กโิ ลกรมั ตอ่ ตัว น�ำรอ่ งตดิ ตั้ง 24 จดุ ใน 13 จังหวดั และพฒั นา “ตน้ แบบห่นุ ยนต์เกบ็ ขยะลอยน�ำ้ 4.0” (SCG Smart Litter Trap 4.0) โดยมกี ารนำ� ระบบ ML (Machine Learning) และ IoT (Internet of Things) มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บขยะในแม่น�้ำโดยระบบอัตโนมัติ มีระบบเพ่ือช่วยบ�ำบัดน�้ำ ประหยัด พลงั งานด้วยการใช้แรงขับเคลื่อนพลงั งานแสงอาทิตย์ เก็บขยะไดส้ ูงสดุ 5 กโิ ลกรัมตอ่ หน่งึ รอบการเก็บ 153
เปลยี่ น “เศษทอ่ ” เป็น “บา้ นปลา” แปลง “คอนกรีต” เป็น “ปะการงั เทียม” นอกจากนี้ยังร่วมกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และกลุ่มประมงพ้ืนบ้าน จัดท�ำโครงการ “บ้านปลาเอสซจี ”ี ตัง้ แต่ปี 2555 เพื่อเปน็ แหล่งอนบุ าลสัตว์น�้ำวัยอ่อนและวัยเจริญพนั ธ์ใุ ตท้ อ้ งทะเล โดย ใชเ้ ศษท่อท่ผี ลติ จากเมด็ พลาสติกพอลเิ อทลิ นี เกรดพเิ ศษ หรอื PE 100 จากกระบวนการทดสอบขึน้ รปู มา ใช้สร้างบ้านปลา ถึงปัจจุบันวางบ้านปลาเอสซีจีไปแล้วจ�ำนวน 2,090 หลัง ครอบคลุมทุกจังหวัดในภาค ตะวันออก และในภาคใตท้ ่ี จ.ระนอง คิดเป็น 41 กลมุ่ ประมงพนื้ บา้ น เกิดพน้ื ท่ีอนรุ ักษท์ างทะเลกว่า 47 ตารางกิโลเมตร เกดิ ความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลกว่า 172 ชนิด และสร้างเครอื ข่ายจิตอาสากว่า 22,480 คน ทว่ั ประเทศ รวมถึงการออกแบบ “ปะการงั เทยี ม” โดยน�ำเทคโนโลยกี ารพิมพ์ขนึ้ รูปปนู ซเี มนต์ 3 มิติในการก่อสร้างที่อยู่อาศัยมาประยุกต์ออกแบบโดยจ�ำลองกลไกของปะการังตามธรรมชาติ โดยใช้ วสั ดหุ ินปนู ธรรมชาติร่วมกบั วัสดรุ ไี ซเคลิ อยา่ งเศษคอนกรีตจากการทบุ รอ้ื อาคารส่ิงก่อสร้าง จาก “ขยะ” สู่ “ถนน” ลด “ตน้ ทนุ ” เพ่มิ “ความแข็งแรง” พร้อมกันนี้ เอสซีจีได้น�ำเสนออีกนวัตกรรม “ถนนพลาสตกิ รไี ซเคลิ ” (Recycled Plastic Road) ซึ่งเกิดจากความร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจอย่าง กลมุ่ บรษิ ทั ดาว ประเทศไทย โดยนำ� พลาสตกิ ใชแ้ ลว้ มาบดยอ่ ยใหม้ ขี นาดเลก็ ผสมกบั ยางมะตอยเพอ่ื ใชป้ ู ถนน นอกจากจะเพมิ่ คณุ คา่ ใหแ้ กข่ ยะพลาสตกิ แลว้ ยังเพิ่มประสิทธิภาพให้กับถนนยางมะตอย มีความ แขง็ แรงเพิม่ ขน้ึ รอ้ ยละ 15 - 33 ส่วนการบริหารจัดการขยะจากเศษคอนกรีต เอสซีจี ร่วมกับ บรษิ ทั ศุภา ลัย จำ� กัด (มหาชน) ในโครงการ “ถนนคอนกรีตรีไซเคิล” (Recycled Concrete Aggregates For Road) นำ� เศษคอนกรีตรไี ซเคิล 100% เช่น ก้อนปนู แผน่ พื้น หวั เสาเข็ม มาใชท้ ดแทนวสั ดธุ รรมชาติ เพือ่ เทเปน็ ถนนคอนกรตี ในโครงการ สามารถสรา้ งมลู คา่ ใหก้ บั ขยะในแตล่ ะโครงการถงึ 7 ลา้ นบาท ลดการใชห้ นิ ทราย ได้ถงึ 100 ตัน สำ� หรบั พ้นื ที่ 150 ตร.ม. 154
นวัตกรรม Green Meeting สู่การประชมุ ASEAN Summit นอกจากนน้ั นวตั กรรม “Green Meeting” หรอื การจดั ประชมุ ทเ่ี ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ยงั เปน็ อกี หนง่ึ แนวคดิ ทเ่ี อสซจี แี ปลงไปสกู่ ารปฏบิ ตั ดิ ว้ ยการนำ� เสนอผลติ ภณั ฑจ์ ากกระดาษรไี ซเคลิ ในการจดั ประชมุ ผ้นู ำ� อาเซยี น เช่น นิทรรศการจากกระดาษรีไซเคิล ฉากหลงั ส�ำหรับถ่ายภาพ เกา้ อกี้ ระดาษ แทน่ บรรยาย กล่องกระดาษสำ� หรับรบั คนื ปา้ ยชื่อคลอ้ งคอ สมุดโน้ตจากกระดาษรีไซเคิล 100% บรรจุภัณฑ์อาหาร Fest หลอดกระดาษ ขวดนำ�้ พบั ได้ Fill Fest และถังขยะแยกประเภท รวมถึงกระเปา๋ ถงุ ปูน และตะกร้าสานจาก เสน้ เทปกระดาษทน่ี ำ� วสั ดเุ หลอื ใชจ้ ากกระบวนการผลติ ของเอสซจี มี าพฒั นาเปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ม่ี มี ลู คา่ เพมิ่ ซง่ึ ล้วนมาจากความมุ่งมั่นของเอสซีจีที่ต้องการใช้ทรัพยากรใหม่ให้น้อยที่สุด และใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้เกิด ประโยชน์และคุ้มค่าที่สุด โดยใช้นวัตกรรมการผลิตให้สามารถน�ำกระดาษที่ใช้แล้วกลับมาใช้ซ้�ำ และเพ่ิม สัดส่วนการใช้วัตถุดิบรีไซเคิลท่ีสูงข้ึน แต่ยังคงคุณภาพของกระดาษให้แข็งแรง เพ่ือให้สามารถน�ำไปผลิต เป็นสินค้ารปู แบบต่าง ๆ ได้ ชมุ ชนบ้านมดตะนอย การจัดการขยะคือยารกั ษาชวี ติ ชมุ ชนสะอาด...ทำ� ใหผ้ คู้ นในชมุ ชนไดม้ ชี วี ติ และลมหายใจอยตู่ อ่ ไป ความเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ยของชาวบา้ น เปน็ แรงผลกั ดนั สำ� คญั ทที่ ำ� ใหช้ มุ ชนบา้ นมดตะนอย ชมุ ชนเลก็ ๆ ในอำ� เภอกนั ตงั จงั หวดั ตรงั ลกุ ขน้ึ มาจดั การ ขยะในพน้ื ทอ่ี ยา่ งจรงิ จงั การลุกขน้ึ มาตอ่ ส้กู ับโรครา้ ยด้วยการจดั การขยะคือการรกั ษาโรคท่ดี ที ่ีสุดยิง่ กว่า ยาชนิดไหนๆ 155
ชมุ ชน LIKE (ไร้) ขยะ จังหวัดระยอง หากชมุ ชนไรข้ ยะจะเกดิ ขนึ้ จรงิ ได้ หนา้ ทใี่ นการจดั การขยะไมค่ วรเปน็ หนา้ ทขี่ องใครหรอื ฝา่ ยใดฝา่ ย หนง่ึ และสงิ่ สำ� คญั คอื ตอ้ งเรม่ิ จากการเปลยี่ นทศั นคตใิ หม่ ไมป่ ลอ่ ยขยะใหก้ ลายเปน็ เรอ่ื งไรค้ า่ ชมุ ชนในเขต เทศบาลมาบตาพดุ จงั หวัดระยอง ไดแ้ ก่ ชมุ ชนโขดหนิ 2 ชุมชนโขดหินมติ รภาพ และชุมชนเขาไผ่ ต่างชื่น ชอบและเหน็ คณุ คา่ ของขยะ จงึ ทำ� การจดั การขยะโดยใหท้ กุ ภาคสว่ นบรู ณาการรว่ มกนั ทงั้ บา้ น วดั โรงเรยี น รวมไปถึงธนาคารขยะ นีค่ ือเรือ่ งราวของชุมชนที่ทำ� ใหเ้ ราทุกคนเหน็ วา่ การจัดการขยะจะสำ� เรจ็ ได้หากทกุ คนทุกฝ่ายรวมกันเปน็ หน่ึงเดยี ว บา้ นโปง่ โมเดล – เราจัดการขยะทัว่ ท้งั อำ� เภอ เพราะเปน็ พนื้ ทเี่ ศรษฐกจิ และมรี ายไดเ้ ฉลยี่ ของประชากรสงู กวา่ อกี หลายๆ อำ� เภอในจงั หวดั ราชบรุ ี จึงท�ำให้อ�ำเภอบ้านโป่งมีประชากรจ�ำนวนมาก และมีปัญหาเรื่องการจัดการขยะตามมา ซ่ึงหากปล่อยให้ เนิน่ นานไปจะย่งิ กลายเปน็ ปญั หาใหญ่เกินกวา่ จะแกไ้ ขได้ ด้วยเหตนุ ้ที ง้ั ภาคราชการ ภาคเอกชน และภาค ประชาชน จึงจบั มอื ร่วมกันสรา้ งรปู แบบการจดั การขยะที่เรียกว่า ‘บา้ นโป่งโมเดล’ ขนึ้ มา นี่คือโมเดลทจ่ี ะ เปลยี่ นแปลงบา้ นโปง่ ทง้ั อำ� เภอใหก้ ลายเปน็ เมอื งแหง่ ความสะอาด ทสี่ ำ� คญั โมเดลนไ้ี มไ่ ดม้ งุ่ เปลย่ี นแปลงแค่ สภาพแวดล้อม หากแตย่ ังหมายรวมถึงทัศนคตแิ ละจิตใจของคนบา้ นโป่งทกุ คนอีกดว้ ย 156
เปลย่ี นพลาสตกิ เหลอื ใช้เปน็ งานดีไซนท์ ีใ่ ช้ได้จริง “เกา้ อี้รีไซเคิลจากถุงนมโรงเรียน” เก้าอ้ีพลาสติกที่ผลิตจากถุงนมโรงเรียนถูกใช้เป็นส่ือกลางในการเรียนรู้หลักเศรษฐกิจหมุนเวียน หรือ Circular Economy ให้แกเ่ ดก็ นักเรยี นดว้ ยการปฏบิ ัตจิ รงิ ปลูกฝงั ใหเ้ ดก็ นกั เรยี นเหน็ คณุ ค่าของการ แยกขยะและรีไซเคิลผ่านการลงมือปฏิบัตจิ รงิ ทีเ่ หน็ ผลลัพธอ์ ยา่ งเปน็ รูปธรรม BIM BUSINESS เอสซจี ี เชอื่ มนั่ วา่ การนำ� เทคโนโลยี BIM (Building Information Modeling) มาใชใ้ นอตุ สาหกรรม การกอ่ สรา้ งผา่ นกระบวนการออกแบบและกอ่ สรา้ งอาคารตงั้ แตเ่ รม่ิ ตน้ จะชว่ ยลดของเสยี จากการกอ่ สรา้ ง (Construction Waste) ด้วยการสร้างแบบจ�ำลองหรือโมเดล 3 มิติ (Building Model) ท่ีรวมแบบ สถาปัตย์ โครงสร้าง และงานระบบเข้าดว้ ยกัน โดยใส่ขอ้ มูลของวัสดุ องค์ประกอบตา่ งๆ ในอาคารเข้าไป เมื่อมกี ารแก้ไขวัตถุหรือสว่ นใดสว่ นหนึ่งของโมเดล ก็จะเกดิ การปรับเปลี่ยนตามกนั ท�ำให้สามารถวางแผน การก่อสร้าง (Timeline Management) และท�ำ Clash Detection เพื่อตรวจสอบความผิดพลาด ผา่ นโมเดลก่อนลงมอื ก่อสร้างอาคารจริง 157
ตัวอยา่ งโครงการภายในเอสซีจที ่นี ำ� เทคโนโลยี BIM มาประยุกต์ใช้ 1) โครงการติดตัง้ แผงโซลาร์เซลล์ ณ โรงงานปนู ซเี มนต์แก่งคอยเฟสที่ 3 น�ำเทคโนโลยี BIM มาใช้ ในการค�ำนวณวัสดทุ ีต่ อ้ งใช้ เช่น จำ� นวนเสาเขม็ จ�ำนวนแผ่นโซลารเ์ ซลล์ ทำ� ให้สามารถวางแผนการสงั่ วัสดุ ได้อย่างแม่นยำ� ไมต่ อ้ งเสียพน้ื ท่ีในการกองเก็บ และต้นทุนในการบริหารจัดการ 2) โรงงานแปรรปู ของเสียเปน็ พลงั งานมาบตาพุด นำ� เทคโนโลยี BIM มาทำ� Clash Detection ใน งานโยธา สถาปัตย์ ไฟฟ้าเครื่องกล และประปาสขุ าภิบาล โดยการปรับแบบจาก 2D เปน็ 3D และรวมแบบ สถาปัตย์กับแบบโครงสร้างเข้าด้วยกัน ท�ำให้สามารถเช็คต�ำแหน่งและความผิดพลาดของเคร่ืองจักรก่อน การก่อสรา้ ง ลดปัญหาการแก้แบบหน้างาน ปจั จบุ นั สนิ คา้ เอสซจี ไี ดถ้ กู นำ� มาปน้ั เปน็ 3D Object สำ� หรบั ใชใ้ นโปรแกรมตระกลู BIM เชน่ Revit และ ArchiCAD บนแพลทฟอร์ม BIMINONE (www.biminone.com) ซ่งึ เปน็ แหลง่ รวบรวม BIM Library ท่ีใหญ่ท่สี ดุ ในประเทศไทย เพ่ือใหส้ ถาปนิก วศิ วกร ชา่ งเขียนแบบ หรือผทู้ ่ใี ช้ BIM ในการออกแบบและ กอ่ สร้างอาคาร ดาวนโ์ หลดไปใชง้ าน ดาวนโ์ หลด BIM Object สนิ คา้ เอสซจี ีและแบรนดอ์ ืน่ ๆ ไปใช้ได้ ที่ https://biminone.com/ 158
ภาคผนวก ตัวอยา่ งแผนจัดกิจกรรมของนกั ศึกษา ชั่วโมง เน้ือหากิจกรรม รูปแบบการสอน มอบหมายงาน ประเมนิ ผล แนะน�ำโครงการ Group Card (5%) 0.5 รณรงค์ แบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 16 คน (5%) จ�ำนวน 10 กลุ่ม ตอ่ 1 sec- (5%) (5%) tion (5%) (5%) 0.5 ประชมุ : ออกแบบ Project Mind Map (20%) โครงงาน 0.5 กิจกรรม : Circular ประชุม : แบ่งหนา้ ท่ี Organization Chart (20%) Living in Action ประชมุ : 0.5 ความตระหนกั และแรง แผนปฏบิ ตั ิงาน Project Timeline 0.5 ผลกั ดันสวู่ ิถชี วี ติ ภาย ประชมุ : งบประมาณ Budget Matrix 0.5 ใต้แนวคิดเศรษฐกจิ นำ� เสนอ : Defense Project หมนุ เวยี นและสงั คม โครงการรณรงค์ เศรษฐกจิ หมุนเวียน ภาคสนาม : Poster 1-2 รณรงคอ์ อนไลน์ ขนาด 150 x 75 ซม. (.jpg) video presentation 1-2 ความยาว 1 นาที 1 นิทรรศการออนไลน์ Poster (15%) รวมคะแนน (15%) ประเมินผลการ ขนาด 150 x 75 ซม. (.jpg) (100%) จดั กิจกรรม video presentation ความยาว 1 นาที ตรวจสอบคะแนนทงั้ หมด 159
เอกสารอ้างอิง ปางอุบล อ�ำ นวยสทิ ธิ.์ (2560). Circular Economy: พลกิ วิกฤติทรัพยากรด้วยระบบ เศรษฐกิจใหม่. สืบค้น 11กมุ ภาพันธ์ 2562, จาก https://www.scbeic.com/th/ detail/product/3831 Marketeer Editor. (2560). Circular Economy คอื อะไร ส�ำ คญั อยา่ งไรต่อโลกของเรา. สืบคน้ 11 กุมภาพันธ2์ 562, จาก https://marketeeronline.co/archives/4371 ซเี อสอาร-์ เอชอาร.์ (2561, 28 สิงหาคม). SCG Circular Economy ชวนทกุ ภาคสว่ น ดแู ลโลก. ประชาชาติธุรกิจ.สบื ค้นเมื่อ 12 กมุ ภาพนั ธ์ 2562, จาก https://www. prachachat.net/csr-hr/news-210950 ธารรนิ อดลุ ยานนท.์ (2561). Moreloop : ตวั กลางขายผา้ เหลือคุณภาพดจี ากโรงงานเพื่อ สร้างเศรษฐกิจหมุนเวยี น. สบื ค้น 12 กุมภาพันธ์ 2562, จาก https://adaymagazine.com/moreloop-circular-economy นักศกึ ษาฝกึ งานกองสหภาพยโุ รป กรมยโุ รป. (2561). แนวคดิ เกย่ี วกบั เศรษฐกจิ หมนุ เวียน (Circular Economy)ของสหภาพยุโรป. สืบคน้ 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2562, จาก http://www.mfa.go.th/europetouch/th/articles/8332/90642-- แนวคดิ เก่ยี วกบั เศรษฐกิจหมุนเวยี น-(Circular-Economy.html) ภัทราพร แยม้ ละออ. (2561). เศรษฐกจิ หมุนเวยี น ตอนท่ี 2 – ตัวอยา่ งธรุ กจิ และ อตุ สาหกรรมทก่ี �ำ ลงั สรา้ งการเปลี่ยนแปลง. สบื ค้น 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2562, จาก http://www.allaroundplastics.com/article/sustainability/2069 ศกั ด์ิชยั ปฏิภาณปรีชาวฒุ ิ. (2561). Circular Economy : เศรษฐกิจหมุนเวยี น สมดลุ ของธุรกิจ คุณภาพชวี ิตและอนาคตโลก. สบื ค้น 15 กุมภาพันธ์ 2562, http://www.allaroundplastics.com/article/sustainability/2151 Praornpit Katchwattana. (2561). สอ่ งเทรนด์ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น (Circular Economy) ทางรอดของมนษุ ย์ในศตวรรษที่ 21. สบื คน้ 16 กมุ ภาพันธ์ 2562, จาก https://www.salika.co/2018/11/24/circular-economy-business-model- change-the-world/ นริ ันดร์ ยงิ่ มหศิ รานนท์. (2561). Circular Economy Through Disruptive Innovation. สบื คน้ 16 กมุ ภาพนั ธ์ 2562, จากhttp://www.tei.or.th/file/events/ 180803-Circular-Economy-Nirun_149.pdf สืบค้น https://www.scg.com/sustainability/circular-economy/ 160
คณะทป่ี รึกษาและกำ�กบั โครงการรายวชิ าการศึกษาทั่วไปดา้ นเศรษฐกจิ หมนุ เวียน สำ�หรบั ระดบั อดุ มศกึ ษา 1. คุณอรนชุ รัตนะ ท่ปี รกึ ษา สำ� นักงานสภานโยบายการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรมแห่งชาติ ที่ปรึกษา ที่ปรกึ ษา 2. รองศาสตราจารย์ ดร.ธำ� รงรัตน์ ม่งุ เจริญ ท่ปี รกึ ษา ส�ำนักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ ทป่ี รึกษา 3. รองศาสตราจารย์ ดร.พีรเดช ทองอ�ำไพ ทป่ี รึกษา สถาบนั คลังสมองของชาติ ที่ปรึกษา ทป่ี รึกษา 4. ดร.วจิ ารย์ สิมาฉายา เครอื ข่ายสง่ เสรมิ การผลติ และการบรโิ ภคทยี่ ่งั ยืนแห่งประเทศไทย และโครงการความรว่ มมือภาครัฐ ภาคธุรกจิ ภาคประชาสงั คม เพ่ือจดั การพลาสติกและขยะอยา่ งย่งั ยนื 5. ดร.อรทยั พงศร์ ักธรรม สถาบนั ส่งิ แวดลอ้ มไทย 6. คณุ คงศักดิ์ ดอกบวั สถาบนั พลาสตกิ 7. รองศาสตราจารย์ ดร.ลดาวัลย์ พวงจิตร เครือขา่ ยการศึกษาท่วั ไปแหง่ ประเทศไทย 8. ผศ.ดร. รัชด ชมภนู ิช ผแู้ ทนเครอื ข่ายมหาวทิ ยาลัยยั่งยนื 161
คณะทำ�งานการพัฒนาคมู่ อื การสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ด้านเศรษฐกิจหมุนเวยี น สำ�หรับระดบั อดุ มศกึ ษา 1. รองศาสตราจารย์ ดร.ลดาวลั ย์ พวงจติ ร ท่ีปรกึ ษา รองประธานคณะกรรมการบรหิ ารเครือข่ายศึกษาทั่วไปแหง่ ประเทศไทย และรองอธกิ ารบดฝี า่ ยวิชาการ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 2. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.รตั นาวรรณ ม่งั ค่ัง ประธาน คณะสิง่ แวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ รองประธาน คณะทำ� งาน 3. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ กติ ตภิ ูมิ มปี ระดษิ ฐ์ ส�ำนักวชิ าศกึ ษาทั่วไป มหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ 4. ดร. พงษ์วิภา หล่อสมบรู ณ์ องค์การบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรือนกระจก 5. ศาสตราจารย์ ดร.แชบเบียร์ กวี าลา คณะทำ� งาน บณั ฑติ วทิ ยาลยั ร่วมดา้ นพลงั งานและสง่ิ แวดลอ้ ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี 6. รองศาตราจารย์ ดร.ธภัทร ศิลาเลิศรกั ษา คณะท�ำงาน บัณฑติ วิทยาลยั รว่ มดา้ นพลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี 7. รองศาตราจารย์ ดร.เศรษฐ์ สมั ภตั ตะกลุ คณะทำ� งาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ 8. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร จกั รวัฒนา คณะท�ำงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ 9. ดร.สจุ ิตรา วาสนาดำ� รงดี คณะท�ำงาน สถาบนั วจิ ัยสภาวะแวดลอ้ ม จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 162
คณะทำ�งานการพฒั นาคู่มอื การสอน รายวชิ าการศกึ ษาทวั่ ไป ดา้ นเศรษฐกจิ หมุนเวียน สำ�หรับระดบั อุดมศกึ ษา 10. อาจารย์ ดร.ณฐั วรพล รชั สริ วิ ัชรบุล คณะทำ� งาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 11. รองศาตราจารย์ ดร.วารรี ตั น์ แก้วอุไร คณะท�ำงาน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 12. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.มนัสนนั ท์ หตั ถศกั ด์ิ คณะท�ำงาน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 13. นางสาวนพเกา้ สุจรติ กลุ คณะท�ำงาน ตลาดหลักทรัพย์แหง่ ประเทศไทย 14. คุณประวทิ ย์ พรพิพัฒน์กลุ คณะท�ำงาน กลมุ่ ปิโตรเคมี สภาอตุ สาหกรรม และโครงการความร่วมมอื ภาครฐั ภาคธุรกิจ ภาคประชาสงั คมเพ่อื จดั การพลาสตกิ และขยะอยา่ งยัง่ ยืน 15. คณุ ประทรรศน์ สตู ะบุตร คณะท�ำงาน บรษิ ทั ดาวเคมิคอล ประเทศไทย จำ� กัด 16. นายคงศักด์ิ ดอกบวั คณะท�ำงาน สถาบนั พลาสตกิ 17. คณุ ณัฏฐณิ ี เนตรอำ� ไพ คณะท�ำงาน บรษิ ัท ยนู ลิ เี วอร์ ไทย เทรดด้ิง จำ� กัด 18. คณุ สยมุ พร เหลา่ วชิระสุวรรณ คณะท�ำงาน บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ� กัด (มหาชน) 19. รองศาสตราจารย์ ดร.รฐั ชา ชัยชนะ คณะท�ำงานและเลขานุการ คณะสิ่งแวดล้อม มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 163
รายชื่อผ้แู ตง่ คู่มือการสอน รายวชิ าการศึกษาทัว่ ไปดา้ นเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นสำ�หรับระดับอุดมศึกษา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รัตนาวรรณ ม่ังคัง่ คณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผูแ้ ตง่ : Carbon Footprint คารบ์ อนฟตุ พริน้ ท์ Circular Economy: แนวคิดเศรษฐกิจหมนุ เวยี น (รว่ มแตง่ ) Circular Business Model: โมเดลธรุ กจิ หมนุ เวยี น (รว่ มแตง่ ) Design Thinking for Circular Business: นวัตกรรม ประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ เชงิ ออกแบบภายใตแ้ นวคดิ เศรษฐกิจหมนุ เวยี น (ร่วมแตง่ ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กิตตภิ ูมิ มปี ระดิษฐ์ สำ� นกั วชิ าศึกษาทว่ั ไป มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม ผ้แู ต่ง: Circular Lifestyle วิถชี วี ิตภายใตแ้ นวคดิ เศรษฐกิจ หมุนเวียน Circular Living in Action ความตระหนกั และ แรงผลกั ดนั สู่วิถชี วี ติ ภายใตแ้ นวคิดเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น และสงั คมเศรษฐกจิ หมุนเวียน (รว่ มแต่ง) ดร. พงษ์วิภา หล่อสมบรู ณ ์ องค์การบรหิ ารจัดการกา๊ ซเรือนกระจก ผู้แต่ง: Circular Economy แนวคดิ เศรษฐกิจหมุนเวียน 164
รายช่ือผู้แตง่ คมู่ อื การสอน รายวิชาการศึกษาท่วั ไปดา้ นเศรษฐกิจหมนุ เวยี นสำ�หรับระดบั อดุ มศึกษา รองศาตราจารย์ ดร.ธภัทร ศิลาเลิศรักษา บัณฑติ วทิ ยาลัยรว่ มดา้ นพลงั งานและสิง่ แวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี ผ้แู ตง่ : Life Cycle Thinking แนวคดิ โดยตลอดวฏั จกั รชีวติ รองศาตราจารย์ ดร.เศรษฐ์ สมั ภัตตะกลุ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ผแู้ ตง่ : Climate Emergency สถานการณ์ฉุกเฉนิ ดา้ นสภาพภมู ิอากาศและสงิ่ แวดลอ้ ม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภทั ร จักรวัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผูแ้ ตง่ : Global Footprint & Material Crisis ภาวะวกิ ฤตของปญั หาดา้ นทรพั ยากร 165
รายชือ่ ผแู้ ต่งค่มู ือการสอน รายวิชาการศึกษาทัว่ ไปดา้ นเศรษฐกจิ หมุนเวียนสำ�หรบั ระดับอุดมศกึ ษา ดร.สุจติ รา วาสนาด�ำรงดี สถาบนั วิจยั สภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ผูแ้ ตง่ : Municipal Solid Waste Problem and Zero Waste Concept ปัญหาขยะมูลฝอย และแนวคดิ ขยะเหลอื ศนู ย์ คุณประวทิ ย์ พรพพิ ัฒน์กุล กล่มุ ปิโตรเคมี สภาอตุ สาหกรรม และ โครงการความร่วมมอื ภาครัฐภาคธุรกิจ ภาคประชาสงั คมเพื่อจัดการพลาสตกิ และขยะอยา่ งยัง่ ยืน ผ้แู ตง่ : Circular Business Model โมเดลธรุ กจิ หมุนเวียน Design Thinking for Circular Business นวตั กรรมประยุกตใ์ ชแ้ นวคิดเชงิ ออกแบบ ภายใต้แนวคิดเศรษฐกจิ หมุนเวยี น คณุ ประทรรศน์ สูตะบุตร บรษิ ัท ดาวเคมคิ อล ประเทศไทย จำ� กดั 166
รายช่ือผูแ้ ต่งคู่มือการสอน รายวิชาการศกึ ษาท่ัวไปดา้ นเศรษฐกจิ หมุนเวยี นสำ�หรบั ระดบั อุดมศึกษา นายคงศักด์ิ ดอกบวั สถาบนั พลาสตกิ คณุ ณฏั ฐณิ ี เนตรอ�ำไพ บริษทั ยูนิลีเวอร์ ไทย เทรดดิง้ จ�ำกัด คณุ สยุมพร เหล่าวชริ ะสวุ รรณ บรษิ ทั อนิ โดรามา เวนเจอรส์ จ�ำกดั (มหาชน) 167
รายชื่อผแู้ ต่งคู่มือการสอน รายวชิ าการศึกษาทั่วไปด้านเศรษฐกจิ หมุนเวยี นสำ�หรบั ระดับอดุ มศกึ ษา รองศาสตราจารย์ ดร.รัฐชา ชัยชนะ คณะสงิ่ แวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 168
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169