Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3.คู่มือการสอน_circular economy Lifestyle_KU

3.คู่มือการสอน_circular economy Lifestyle_KU

Published by lawanwijarn4, 2022-05-05 01:00:52

Description: 3.คู่มือการสอน

Search

Read the Text Version

MAKE RETURN USE

คำ� ขอบคุณ ในนามของเครือข่ายเศรษฐกิจหมุนเวียนส�ำหรับระดับอุดมศึกษา “CIRCULAR ECONOMY IN HIGHER EDUCATION” ขอแสดงความขอบคุณเป็นอย่างสูง ไปยังหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนทุนเพื่อ ด�ำเนินการพฒั นาคู่มือการสอนรายวิชาการศึกษาทั่วไป: เศรษฐกิจหมุนเวยี น วิถชี วี ติ ตามแนวคิดเศรษฐกิจ หมุนเวียนในศตวรรษท่ี 21 (Circular Lifestyle for the 21st Century) ได้แก่ สำ� นกั งานสภานโยบาย การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ สถาบันคลังสมองของชาติ ส�ำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ เครอื ขา่ ยการศึกษาทั่วไปแห่งประเทศไทย เครือขา่ ยสง่ เสรมิ การผลติ และการบริโภคที่ย่ังยืนแห่งประเทศไทย และโครงการความร่วมมือภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม เพือ่ จดั การพลาสติกและขยะอย่างยัง่ ยนื (PPP Plastics) ตลอดจน คณะทำ� งานฯ รายวชิ าการศกึ ษาทวั่ ไป ในระดับอดุ มศกึ ษา รวมทง้ั ผู้แทนนิสติ นักศกึ ษา หนว่ ยงานจากทกุ ภาคสว่ นท่มี ีสว่ นร่วมที่ส�ำคญั ในการให้ ขอ้ มูล แลกเปล่ียนประสบการณ์ ร่วมประชุมแสดงข้อคิดเหน็ อนั เปน็ การสนับสนนุ การด�ำเนินงานพฒั นา คูม่ ือการสอนรายวชิ าการศกึ ษาทวั่ ไป: เศรษฐกิจหมุนเวยี น ของเครือข่ายเศรษฐกจิ หมุนเวยี นสำ� หรับระดับ อุดมศกึ ษา คณะท�ำงานฯ รายวชิ าการศกึ ษาทั่วไปด้านเศรษฐกิจหมุนเวยี นสำ� หรับระดบั อดุ มศึกษา 2

สารบัญ สารจากคณะผจู้ ดั ท�ำ 5 7 เกยี่ วกับรายวิชา 19 33 Module 1 (1): Being Part of Nature 53 การเรียนรอู้ ยู่กบั ธรรมชาติ 67 82 Module 2 (1): Global Footprint & Material Crisis 93 ภาวะวกิ ฤตของปัญหาด้านทรัพยากร Module 3 (1): Climate Emergency สถานการณฉ์ ุกเฉนิ ดา้ นสภาพภูมิอากาศและสง่ิ แวดลอ้ ม Module 3 (2): Carbon Footprint คารบ์ อนฟตุ พริ้นท์ Module 3 (3): Municipal Solid Waste Problem and Zero Waste Concept ปัญหาขยะมูลฝอยและแนวคดิ ขยะเหลือศูนย์ Module 3 (4): How to Reduce and Separate Waste แนวทางการลดและคัดแยกขยะ 3

Module 4 (1): Life Cycle Thinking 105 แนวคดิ โดยตลอดวฏั จักรชวี ิต Module 4 (2): Circular Economy 118 แนวคิดเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น Module 5 (1): Circular Business Model 131 โมเดลธรุ กิจหมนุ เวยี น Module 5 (2): Design Thinking for Circular Business 151 นวตั กรรมประยุกต์ใช้การคดิ เชงิ ออกแบบภายใต้ แนวคิดเศรษฐกิจหมนุ เวียน Module 6 (1): Circular Lifestyle 169 วิถชี วี ิตภายใตแ้ นวคิดเศรษฐกจิ หมุนเวยี น Module 7 (1)–(3): Circular Living in Action 187 ความตระหนกั และแรงผลักดันสู่วิถชี วี ติ ภายใต้ แนวคดิ เศรษฐกจิ หมุนเวียนและสงั คมเศรษฐกจิ หมนุ เวียน 4

สารจากคณะผู้จัดทำ� แผนยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ไดก้ ำ� หนดยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งการเตบิ โตดว้ ยคณุ ภาพ ชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม สอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายการพฒั นาทยี่ งั่ ยนื ขอ้ ที่ 12 ขององคก์ ารสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยเรอ่ื ง แผนการบริโภคและการผลิตที่ย่ังยืน ซ่ึงมีการระบุอย่างชัดเจนถึงกระเด็นปัญหาส�ำคัญในการสร้างความตระหนักรู้ของ ประชาชนเก่ียวกบั ภาวะวิกฤตการขาดแคลนทรัพยากร รวมท้งั สถานการณ์ฉกุ เฉินด้านสภาพภมู ิอากาศและสง่ิ แวดลอ้ ม เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดการ พฒั นาอย่างยง่ั ยืน ภายใต้บรบิ ทดังกล่าว แนวคดิ เศรษฐกจิ หมุนเวยี น (Circular Economy) บนหลกั การหมุนเวียนใช้ ทรพั ยากรธรรมชาติในห่วงโซก่ ารผลติ และบรโิ ภค เพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการจดั การวตั ถดุ บิ พลงั งาน ของเสีย ใหก้ ลบั ไป เป็นทรพั ยากรทห่ี มนุ เวยี นอยู่ในระบบเศรษฐกจิ ภายใตน้ โยบายและแผนขับเคล่ือน BCG (Bio, Circular, Green Econ- omy) 2030 ถอื เปน็ แนวทางเชงิ นโยบายและปฏบิ ตั กิ ารทสี่ ำ� คญั ในการขบั เคลอื่ นสเู่ ปา้ หมายการเตบิ โตดว้ ยคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม โครงการ “เศรษฐกิจหมุนเวียนในระดับอุดมศึกษา” พัฒนาข้ึนภายใต้เครือข่ายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ หมนุ เวียนในระดบั อดุ มศึกษา “CIRCULAR ECONOMY IN HIGHER EDUCATION” โดย สำ� นกั งานสภานโยบายการ อุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรมแหง่ ชาติ (สอวช.) สถาบันคลงั สมองของชาติ ส�ำนักงานพฒั นาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ เครอื ขา่ ยการศกึ ษาทวั่ ไปแหง่ ประเทศไทย เครอื ขา่ ยสง่ เสรมิ การผลติ และการบรโิ ภคทยี่ ง่ั ยนื แหง่ ประเทศไทย โครงการความรว่ มมือภาครัฐ ภาคธุรกจิ ภาคประชาสงั คม เพือ่ จดั การพลาสตกิ และขยะอย่างย่ังยืน (PPP Plastics) และคณะสิง่ แวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ร่วมด้วย เครือข่ายพนั ธมติ รตา่ ง ๆ รวม 35 หน่วยงาน/เครือ ข่าย อาทิเชน่ เครอื ข่ายมหาวทิ ยาลยั ย่งั ยนื แหง่ ประเทศไทย (Sustainable University network) เครอื ข่ายวจิ ัยและ นวัตกรรมเพ่ือการค้าและการผลิตอาหารและพลังงานอย่างยั่งยืน หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สำ� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตติ ลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย มลู นธิ กิ ารจดั การทรพั ยากรอยา่ ง ยัง่ ยนื (3 Rs) กรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหิดล มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลา้ ธนบุรี มหาวทิ ยาลัยสยาม มหาวทิ ยาลยั หอการค้าไทย มหาวิทยาลยั ราชภัฏจันทรเกษม Thai-Swedish Chamber of Commerce, Dutch Embassy, UN Environment, UNESCO และ APRSCP (Asia Pacific Round- 5

table on Sustainable Consumption and Production) รวมถงึ หน่วยงานอ่นื ๆ ซึ่งไมไ่ ด้เอ่ยนามรวมตัวและร่วม มือกันในการขับเคลอื่ นบรบิ ทเศรษฐกิจหมนุ เวยี นเชงิ นโยบายสู่การปฏิบตั ิเพื่อบรรลุเป้าหมายการพฒั นาที่ยัง่ ยืนตอ่ ไป การใชช้ วี ติ ของประชาชนในสงั คมทตี่ ระหนกั ตอ่ ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มและการใหค้ วามรผู้ า่ นการศกึ ษาเปน็ ประเดน็ สำ� คญั ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตสเี ขยี ว โดยเฉพาะภาคการศกึ ษา ทค่ี วรจะตอ้ งมกี ารบรรจรุ ายวชิ าบงั คบั ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มสำ� หรบั นักเรียน นักศึกษา ในทุกระดบั อย่างไรกต็ ามการพัฒนาหลักสตู รการศึกษาสงิ่ แวดล้อมในประเทศไทยยงั อยู่ในชว่ งเร่มิ ตน้ ในขณะเดยี วกนั รฐั บาลมนี โยบายสง่ เสรมิ แนวคดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นเพอ่ื เปน็ แนวทางในการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ดงั นนั้ จงึ จำ� เปน็ อยา่ งยงิ่ ทจี่ ะตอ้ งเรง่ พฒั นาหลกั สตู รเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นและบรรจรุ ายวชิ าดงั กลา่ วในหมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไปในระดบั อุดมศึกษา ส�ำหรับนสิ ติ ปีท่ี 1 หรอื 2 ทกุ คณะ โดยผ่านความร่วมมอื ของผู้ที่เกย่ี วขอ้ งจากทกุ ภาคส่วน โครงการรายวิชา การศกึ ษาทวั่ ไป: เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น (CE GenEd, Circular Economy for General Education) ระดบั อดุ มศกึ ษา นบั เปน็ จดุ รวมแรกทเี่ สมอื นเปน็ ตน้ นำ้� ของการหลอ่ หลอมทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นระดบั อดุ มศกึ ษาใหเ้ ขา้ ใจรปู แบบของการบรโิ ภค และการผลิตทีย่ ั่งยนื โดยเฉพาะระบบและหว่ งโซ่คณุ ค่าของเศรษฐกจิ หมุนเวียน (Circular Economy value chain) ซึ่งการเรียนการสอนที่มีประสิทธภาพในช่วงนี้มีความส�ำคัญต่อการเปล่ียนความคิดและทัศนคติของนิสิตนักศึกษาในช้ัน ปี 1-2 ทีส่ ามารถสง่ ต่อการเรียนรู้สกู่ ารปฏิบตั จิ ริงในช้นั ปีถดั ไป หรอื แมก้ ระทั่งสามารถต่อยอดพฒั นาเป็นรูปแบบธุรกิจ หมนุ เวยี นทส่ี ามารถสรา้ งประโยชนใ์ หก้ บั ผเู้ รยี นได้ การจดั การเรยี นการสอนในรายวชิ าการศกึ ษาทวั่ ไป ทม่ี งุ่ เนน้ การเรยี น ร้ผู ่านการปฏิบัตหิ รอื การลงมอื ท�ำ (Active learning) เรยี นรูก้ ับพื้นที่ สถานการณจ์ รงิ ทเ่ี กี่ยวข้องกับวิถชี ีวติ ของผ้เู รียน ในแนวผสมผสานการศึกษาในและนอกระบบ (Formal and Informal education) เขา้ ดว้ ยกนั ตลอดจน ต้นแบบที่ เป็นตัวอยา่ งทดี่ ี (Good practices) จากทกุ ภาคส่วนมาร่วมเป็นสื่อการเรยี นร้ใู นรปู แบบใหม่ ท่ีช่วยสร้างแรงบนั ดาลใจ เยาวชนของประเทศ สรา้ วความประทบั ใจพร้อมความสรา้ งสรรค์ และแมแ้ ตโ่ อกาสทางธุรกิจบทบาทขององค์กรผ้นู �ำทงั้ จากภาคเอกชน ภาคชมุ ชน ภาครฐั และแมแ้ ตบ่ รเิ วณมหาวทิ ยาลยั เอง จงึ ควรถกู แปลงมาเปน็ สอ่ื การสอนสำ� หรบั การเรยี น รู้ตลอดชีวิต โดยรายวิชาการศึกษาท่ัวไปด้านเศรษฐกิจหมุนเวียนน้ี จะช่วยสร้างความเข้าใจความตระหนัก และความ ต่นื รู้เก่ยี วกับปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม อันจะน�ำไปสกู่ ารปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมและวถิ ชี ีวิตท่ีช่วยลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม คณะทำ� งานฯ รายวิชาการศึกษาท่ัวไปด้านเศรษฐกจิ หมุนเวยี นสำ� หรับระดับอุดมศกึ ษา 6

เกี่ยวกับรายวิชา รายวชิ านจี้ ดั การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการทางดา้ นสงั คมศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ รวมทง้ั ไดร้ บั การ สนบั สนนุ จากภาคเอกชน สภาอตุ สาหกรรม และหนว่ ยงานอนื่ ๆ อกี ทงั้ ยงั เปน็ รายวชิ าทส่ี รา้ งการมสี ว่ นรว่ ม ระหวา่ งภาคอตุ สาหกรรมกับภาครฐั ในการจัดการศึกษา หลักการของการพัฒนาประมวลรายวิชาการศึกษาทั่วไป ด้านวิถีชีวิตเศรษฐกิจหมุนเวียน • เป็นเค้าโครงรายวิชาการศึกษาทั่วไปที่สามารถน�ำไปใช้พัฒนาเป็นรายวิชาการศึกษาท่ัวไปด้านวิถี ชวี ิตเศรษฐกจิ หมุนเวียน หรอื น�ำเน้ือหาไปใชบ้ ูรณาการกับรายวิชาการศึกษาทว่ั ไปท่ีมอี ยูแ่ ล้ว โดย ปรับใชต้ ามบรบิ ทแตล่ ะมหาวทิ ยาลัยไดอ้ ยา่ งความเหมาะสม • ชือ่ รายวิชา “วิถีชวี ิตตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวยี นในศตวรรษที่ 21 (Circular Lifestyle for 21st Century)” • รายวิชาการศกึ ษาทวั่ ไป ส�ำหรับนสิ ิตปีที่ 1 หรือ 2 ทุกคณะ ทกุ หลักสูตร • จ�ำนวน 2 หรือ 3 หน่วยกิต • เน้นวิธีการสอนโดยใช้ปัญหาและการท�ำโครงงานเป็นฐานจากปัญหาการขาดแคลนทรัพยากร สถานการณฉ์ กุ เฉนิ ดา้ นสภาพภมู อิ ากาศและสงิ่ แวดลอ้ ม แบบวเิ คราะหเ์ ชงิ ระบบโดยใชแ้ นวคดิ โดย ตลอดวัฏจักรชวี ิต เพือ่ กระต้นุ ให้เกดิ แนวคิดในการมสี ว่ นรว่ มในการแกไ้ ขปญั หา • เน้นการ Active learning โดยมีการวัดผลจากผลลัพธ์การเรียนรู้ในการท�ำกิจกรรมของนิสิต นกั ศกึ ษา วัตถุประสงค์ • เพอ่ื สร้างความตระหนกั ร้เู กย่ี วกับภาวะวกิ ฤตดา้ นทรพั ยากร รวมทัง้ สถานการณฉ์ กุ เฉนิ ดา้ นสภาพ ภูมอิ ากาศ และสิ่งแวดลอ้ ม • เพื่อสรา้ งแรงผลักดันใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมสวู่ ถิ ชี วี ติ ภายใตแ้ นวคิดเศรษฐกิจหมนุ เวียน และสังคมเศรษฐกิจหมุนเวียน ในขณะเดียวกันเป็นต้นแบบของพลเมืองประเทศ/โลก ที่สามารถ ถา่ ยทอดแนวคดิ ไปยงั ผอู้ น่ื ได้ 7

เค้าโครงรายวิชาและผลลัพธ์ที่ต้องการ Module 1: การเรยี นรู้อยู่กบั ธรรมชาติ การเรยี นรคู้ ณุ คา่ ธรรมชาตติ อ่ การดำ� รงชวี ติ ของมนษุ ย์ ในดา้ นการนำ� ทรพั ยากรมาใชป้ ระโยชน์ และ การเปน็ แหลง่ รองรบั และบำ� บดั มลพษิ รวมทงั้ กระตนุ้ ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ หวงแหนธรรมชาตแิ ละตอ้ งการรกั ษา ธรรมชาติใหอ้ ยู่อยา่ งยงั่ ยืน Module 2: ภาวะวกิ ฤตของปัญหาด้านทรพั ยากร การสรา้ งความตนื่ รแู้ ละตระหนกั เกย่ี วกบั ภาวะวกิ ฤตของปญั หาดา้ นทรพั ยากรของประเทศ/โลกทม่ี ี อยอู่ ยา่ งจำ� กดั ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื รวมทงั้ กระตนุ้ ใหเ้ กดิ การคำ� นงึ ถงึ การนำ� ทรพั ยากร มาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า สอดรับกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศตามเป้าหมายการพัฒนา อย่างย่ังยืน Module 3: สถานการณฉ์ ุกเฉินดา้ นสภาพภมู อิ ากาศและสง่ิ แวดลอ้ ม การสรา้ งความตนื่ รแู้ ละตระหนกั เกย่ี วกบั สถานการณฉ์ กุ เฉนิ ดา้ นสภาพภมู อิ ากาศและสง่ิ แวดลอ้ มท่ี ก�ำลังส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการดำ� รงชีวิตของมนุษยชาติ รวมทงั้ กระต้นุ ใหเ้ กิดความต้องการมสี ่วน ร่วมในการบรรเทาปญั หาสิ่งแวดลอ้ มและการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ Module 4: แนวคดิ โดยตลอดวัฏจกั รชวี ติ การถา่ ยทอดความรแู้ ละเขา้ ใจเกยี่ วกบั ระบบความคดิ เชงิ วเิ คราะหโ์ ดยตลอดวฏั จกั รชวี ติ ตงั้ แตก่ าร ผลิตวัตถดุ ิบ กระบวนการผลิตสินค้าและบรรจภุ ัณฑ์ การใช้งานผลิตภัณฑ์ การซ่อมบ�ำรงุ การน�ำกลบั มาใช้ ซ้�ำ รไี ซเคิล อพั ไซเคิล และ การจดั การของเสียขน้ั สุดทา้ ย ตลอดจน การขนส่งทีเ่ กย่ี วข้องในทุก ๆ ขน้ั ตอน เพ่ือใหส้ ามารถวเิ คราะหป์ ระเด็นปญั หาด้านทรพั ยากร สง่ิ แวดลอ้ ม และการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ได้อย่างตรงประเด็นและไม่เคล่ือนย้ายปัญหาจากจุดหนึ่งไปสู่อีกจุดหน่ึง เพื่อฝังรากระบบความคิดเชิง วิเคราะหโ์ ดยตลอดวัฏจักรชวี ิตเปน็ พื้นฐานในการด�ำรงชีวติ และการออกแบบธรุ กจิ สกู่ ารเป็นต้นแบบการ เปน็ พลเมอื งท่ดี ีของประเทศ/โลก รวมทง้ั สามารถถ่ายทอดแนวคดิ ไปยังผู้อนื่ ได้ 8

Module 5: โมเดลธุรกิจหมุนเวียนและนวัตกรรมการประยุกต์ใช้การคิดเชิงออกแบบภายใต้ แนวคดิ เศรษฐกิจหมนุ เวยี น การถา่ ยทอดความรู้และประสบการณต์ รงจากภาคเอกชน เปน็ ตัวอยา่ งการนำ� การคิดเชงิ ออกแบบ ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนม่งุ ส่นู วตั กรรมโมเดลธรุ กจิ หมนุ เวียน เพ่ือสรา้ งความประทับใจและแรง บันดาลใจให้นักศึกษา ต้องการใช้ศักยภาพของตัวเองในการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนตาม ความรแู้ ละความถนัด Module 6: วิถีชีวิตภายใตแ้ นวคดิ เศรษฐกิจหมุนเวยี น การสรา้ งการรบั รู้ และ ความรสู้ กึ ทางลบตอ่ ภาวะวกิ ฤตของปญั หาดา้ นทรพั ยากร สถานการณฉ์ กุ เฉนิ ด้านสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม เพ่ือกระตุ้นให้เกิดความต้องการมีส่วนร่วมในการบรรเทาปัญหาส่ิง แวดลอ้ มและการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ด้วยการปรบั เปลี่ยนทัศนคตแิ ละพฤติกรรมภายใต้แนวคดิ เศรษฐกจิ หมุนเวยี น Module 7: ความตระหนักและแรงผลักดันสู่วิถีชีวิตภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนและ สังคมเศรษฐกิจหมนุ เวียน การสร้างแรงขับให้เกิดการลงมือปฏิบัติจริงสู่วิถีชีวิตภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคม เศรษฐกิจหมุนเวยี น ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั ในแต่ละหวั ข้อ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ของรายวชิ าวิถีชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกจิ หมุนเวียนในศตวรรษท่ี 21 ท่คี าดหวัง ในแต่ละหัวขอ้ แสดงรายละเอียดในตารางท่ี 1 9

ตารางท่ี 1 ผลลัพธก์ ารเรียนรขู้ องรายวชิ าวิถชี วี ติ ตามแนวคดิ เศรษฐกจิ หมุนเวียนในศตวรรษที่ 21 หวั ขอ้ ใหญ่ หัวข้อยอ่ ย สง่ิ ที่เรียนรู้และผลลัพธ์ ความคาดหวงั ที่ต้องการ Knowledge Skills Attitudes Being Part เรียนรูค้ ณุ คา่ สามารถเชื่อม สรา้ งทศั นคตทิ ดี ี มีความรูแ้ ละ of Nature ธรรมชาติต่อ โยงความ ของธรรมชาตแิ ละ เข้าใจเก่ียวกับ การด�ำรงชวี ิต สมั พันธข์ อง สง่ิ แวดล้อมต่อวถิ ี คณุ คา่ ธรรมชาติ ของมนษุ ย์ ทง้ั ธรรมชาติและ ชวี ติ และความเป็น ตอ่ การด�ำรงชวี ิต ในดา้ นการนำ� ส่งิ แวดลอ้ ม อย่ขู องมนษุ ย์ ของมนษุ ย์ ทรพั ยากรมาใช้ ประโยชน์ และ การเปน็ แหลง่ รองรับและ การเรียน ้รูอ ูย่ ักบธรรมชา ิต บ�ำบดั มลพิษ Calculating เรยี นรู้ ประเมินคณุ คา่ เข้าใจและเห็น มคี วามสามารถ Ecosystem ประโยชนแ์ ละ ธรรมชาตติ อ่ ถึงคุณค่าและ ในการประเมนิ Service บรกิ ารของ การด�ำรงชวี ิต ประโยชน์ท่ีสิง่ แวด คุณค่าธรรมชาติ Values ระบบนิเวศใน ของมนุษย์ ล่อมและระบบ ตอ่ การด�ำรงชีวติ รปู แบบต่าง ๆ นิเวศมตี อ่ มนษุ ย์ ของมนษุ ย์ ท้ังทางตรงและ ทางอ้อม Conser- เรยี นรูแ้ นวทาง การปฏบิ ตั แิ ละ สร้างแรงกระตุ้น มีแรงกระตุ้น vation of ในการอนุรกั ษ์ การปรบั การ ใหเ้ กิดความร้สู ึก ให้เกดิ ความ Nature ธรรมชาติและ ใชช้ ีวิตเพอ่ื หวงแหนธรรมชาติ รูส้ ึกหวงแหน ส่งิ แวดลอ้ ม การอนุรกั ษ์สิ่ง และตอ้ งการรกั ษา ธรรมชาตแิ ละ แวดล้อม ธรรมชาติใหอ้ ยู่ ต้องการรักษา อยา่ งยัง่ ยืน ธรรมชาติให้อยู่ อยา่ งย่ังยืน 10

หัวข้อใหญ่ หัวข้อยอ่ ย ส่ิงท่เี รยี นรแู้ ละผลลัพธ์ ความคาดหวงั ทตี่ อ้ งการ Knowledge Skills Attitudes Crisis on รับทราบขอ้ มลู ประเมินความ สร้างความตื่นรู้ มคี วามต่นื รู้และ Resources ภาวะวิกฤต เสยี หายเกิด และตระหนกั ตระหนักเกย่ี ว ของปญั หา ขนึ้ ได้จาก เกี่ยวกบั ภาวะ กบั ภาวะวกิ ฤต ดา้ นทรัพยากร ภาวะวิกฤต วิกฤตกาขาดแคลน การขาดแคลน ภาวะ ิวกฤตการขาดแคลนท ัรพยากร สถานการ ์ณ ุฉกเ ิฉน ้ดานสภาพ ูภ ิมอากาศและ ่ิสงแวด ้ลอม สถานการณ์ การขาดแคลน ทรัพยากร ของ ทรัพยากร ของ ฉกุ เฉนิ ด้าน ทรัพยากรและ ประเทศ/โลกท่ีมี ประเทศ/โลกที่ สภาพภูมิ มีแนวทางใน อยู่อยา่ งจ�ำกดั มอี ยูอ่ ย่างจ�ำกัด อากาศและ การรบั มอื รวมทงั้ กระต้นุ ให้ รวมท้ัง กระตุ้นให้ สงิ่ แวดลอ้ ม และปรบั ตวั เกิดการค�ำนึงถงึ เกดิ การคำ� นึงถึง รวมถงึ กลยทุ ธ์ การนำ� ทรพั ยากร การนำ� ทรพั ยากร ในการลดผล มาใชป้ ระโยชน์ มาใชป้ ระโยชน์ กระทบและ อยา่ งคมุ้ คา่ อย่างคุม้ ค่า และ การปรบั ตวั ต่อ สามารถปรับตวั วกิ ฤติ เพือ่ รับมือต่อ ผลกระทบได้ Climate รับทราบขอ้ มลู ประเมินความ สร้างความต่ืนรู้ มีความตนื่ รูแ้ ละ Emergency สถานการณ์ เสียหายทีอ่ นั และตระหนัก ตระหนกั เกย่ี วกับ ฉุกเฉนิ ดา้ น เกิดข้นึ ได้จาก เกี่ยวกบั ภัยฉกุ เฉนิ ปัญหาและผล สภาพภูมิ ภาวะวกิ ฤต ด้านสภาพ กระทบจาก อากาศและ ของปญั หา ภมู ิอากาศ ปัญหาการ สิ่งแวดล้อม ด้านทรัพยากร เปล่ียนแปลง และผลกระทบ สถานการณ์ สภาพภมู อิ ากาศ จากปัญหาการ ฉกุ เฉินดา้ น และสง่ิ แวดลอ้ ม เปล่ียนแปลง สภาพภมู ิ สภาพภูมิ- อากาศและ อากาศและ สิ่งแวดลอ้ ม สง่ิ แวดลอ้ ม 11

หัวข้อใหญ่ หวั ขอ้ ยอ่ ย สิง่ ท่เี รียนรู้และผลลพั ธ์ ความคาดหวัง Combat- Knowledge Skills Attitudes ทตี่ ้องการ ing Plastic ภาวะวิกฤตการขาดแคลนทรัพยากร สถานการ ์ณWastes ความรู้และ สามารถแก้ไข สร้างความตอ้ งการ มีแรงบนั ดาลใจ ุฉกเ ิฉนด้านสภาพภู ิมอากาศและส่ิงแวดล้อม ประสบการณต์ รง ปัญหา มีสว่ นร่วมในการ และตอ้ งการมี จากภาคเอกชน ขยะพลาสตคิ แก้ไขปญั หาขยะ ส่วนรว่ มในการ เป็นตัวอยา่ งการ พลาสตคิ แก้ไขปญั หาขยะ แก้ไขปญั หาขยะ พลาสตคิ พลาสตคิ Life Cycle เรียนร้แู นวคดิ โดย วเิ คราะห์ประเด็น สรา้ งความต่ืน ฝังรากระบบ Thinking ตลอดวฏั จักรชวี ติ ความคิดเชิง เพ่ือสรา้ งความเข้าใจ ปญั หาด้าน รูแ้ ละตระหนัก วิเคราะห์โดย เก่ยี วกับระบบความ ทรพั ยากร สงิ่ ถึงกระบวนการ ตลอดวัฏจกั ร คิดเชงิ วเิ คราะห์ ชวี ติ เป็นพื้นฐาน โดยตลอดวัฏจักร แวดลอ้ ม และ ออกแบบท่ีดี ในการด�ำรงชีวติ ชีวติ ต้ังแต่การผลิต การเปลยี่ นแปลง ต้ังแตแ่ รกจะ และการออกแบบ ธรุ กิจ วตั ถุดิบ กระบวนการ สภาพภูมอิ ากาศ ช่วยลดปญั หาสง่ิ ผลติ สนิ คา้ และบรรจุ แนวคิดโดยตลอด ัวฏ ัจกร ีช ิวต ภัณฑ์ การใชง้ าน ไดอ้ ยา่ งตรง แวดล้อมได้อยา่ งมี ผลิตภณั ฑ์ การซอ่ ม ประเด็นและ ประสิทธภิ าพ บ�ำรุง การน�ำกลับ ไม่เคล่ือนย้าย มาใชซ้ ำ�้ รีไซเคิล อัพ ปัญหาจากจุด ไซเคิล และ การ จัดการของเสียขน้ั หนึ่งไปสอู่ กี จุด สุดทา้ ย ตลอดจน การขนสง่ ที่เก่ยี วข้อง หนึง่ และออกแบบ ในทุกๆ ขัน้ ตอน ธรุ กจิ ภายใต้ และกระบวนการ แนวคดิ เศรษฐกจิ ออกแบบธุรกจิ ภาย ใต้แนวคิดเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น หมนุ เวยี นโดยคำ� นงึ ถงึ สมรรถนะเชิง สงิ่ แวดล้อมและ เศรษฐศาสตรโ์ ดย ตลอดวัฏจักรชวี ิต 12

หวั ขอ้ ใหญ่ หวั ขอ้ ยอ่ ย สงิ่ ทเี่ รยี นรูแ้ ละผลลัพธ์ ความคาดหวงั Circular Knowledge Skills Attitudes ท่ีตอ้ งการ Society โมเดลธุร ิกจหมุนเ ีวยน และนวัตกรรมประ ุยก ์ตใช้การ ิคดเ ิชงออกแบบ ุธรกิจภายใต้แนวคิดหมุนเวียน แนว ิคดโดยตลอด ัวฏ ัจกรชี ิวต เรยี นรูแ้ นวทาง ตน้ แบบของ ต้องการถ่ายทอด ตน้ แบบการเป็น Circular Business การประยกุ ต์ สังคมในการ แนวคดิ เศรษฐกิจ พลเมอื งท่ดี ขี อง Model ใชแ้ นวคิด ประยกุ ต์ หมนุ เวยี นสูส่ งั คม ประเทศ/โลก Creative Design เศรษฐกจิ ใชแ้ นวคดิ Thinking หมนุ เวยี นในวง เศรษฐกจิ กวา้ ง หมุนเวียน ประสบการณ์ รจู้ กั ใชห้ ลกั สร้างความประทบั มแี รงบันดาลใจ ตรงจากภาค การของโมเดล ใจและแรงบันดาล ในการที่จะศึกษา เอกชน เป็น ธรุ กจิ เพ่ือหา ใจในการประยกุ ต์ เพ่มิ เติมเพ่ือสรา้ ง ตวั อยา่ ง ทางเลือกที่ ใช้ โมเดลธุรกจิ ศกั ยภาพในการ การนำ� แนวคดิ จะสรา้ งธุรกจิ หมุนเวยี นตาม ประยุกต์ใชโ้ มเดล กระบวนการ หมนุ เวียน ความรู้และความ ธรุ กิจภายใต้ ออกแบบธุรกจิ ถนัดของนักศึกษา แนวคิดเศรษฐกจิ ภายใต้แนวคดิ หมุนเวียน เศรษฐกิจ หมนุ เวยี น เขา้ ใจหลกั การ รจู้ ักแนวทาง สร้างความประทับ มีแรงบนั ดาลใจ ของ Design การใช้ Design ใจและแรงบนั ดาล ในการทีจ่ ะศึกษา Thinking เพ่ือ Thinking เพอ่ื ใจในการประยกุ ต์ เพ่ิมเติมเพ่อื สรา้ งนวัตกรรม สร้างนวตั กรรม ใช้ Design Think- สรา้ งศักยภาพ ทเ่ี กย่ี วข้อง ทเ่ี ก่ยี วกับธุรกจิ ing ตามความรู้ ในการประยกุ ต์ กับเศรษฐกิจ หมุนเวียน และความถนดั ใชก้ ารคดิ เชิง หมนุ เวียนโดย ออกแบบภายใต้ ใชต้ ัวอย่างจาก แนวคิดเศรษฐกิจ ธุรกจิ จรงิ หมนุ เวยี น 13

หวั ขอ้ ใหญ่ หวั ขอ้ ย่อย สิง่ ทีเ่ รียนรู้และผลลัพธ์ ความคาดหวงั ทีต่ อ้ งการ Circular Knowledge Skills Attitudes Lifestyle ปรับเปล่ียน ิว ีถ ีชวิตภายใต้แนว ิคดเศรษฐกิจหมุนเ ีวยน ความตระหนักและแรงผ ัลก ัดนสู่ ิว ีถชี ิวตภายใ ้ตแนว ิคดเศรษฐ ิกจหมุนเ ีวยนและ ัสงคมเศรษฐ ิกจหมุนเ ีวยน เรียนรู้วิถีชีวิต แนวทางเชงิ สร้างความ พฤตกิ รรมสู่ Calling for วิถชี วี ิตภายใต้ Actions ภายใต้แนวคดิ ปฏบิ ัติวถิ ชี ีวิต ตอ้ งการปรบั แนวคดิ เศรษฐกจิ หมุนเวยี น Circular เศรษฐกจิ ภายใต้แนวคิด เปลี่ยนพฤตกิ รรม Living ลงมือปฏิบตั จิ รงิ Project หมุนเวียน เศรษฐกจิ สูว่ ถิ ชี ีวติ ภายใต้ สวู่ ถิ ีชีวิตภายใต้ Presenta- แนวคิดเศรษฐกจิ tions (ตอ่ ) หมุนเวยี นที่ แนวคดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวียนและ สงั คมเศรษฐกจิ สามารถท�ำได้ หมุนเวยี น หมนุ เวยี น จรงิ ในชีวิต ลงมอื ปฏิบตั ิจรงิ สวู่ ิถีชวี ติ ภายใต้ ประจำ� วนั แนวคดิ เศรษฐกจิ แนวทางปฏิบตั ิ แนวทางเชงิ สร้างความ หมุนเวยี นและ สงั คมเศรษฐกจิ สวู่ ถิ ชี ีวิตภาย ปฏบิ ัติวถิ ีชวี ิต ต้องการปรบั หมนุ เวยี น ใต้แนวคดิ ภายใตแ้ นวคดิ เปลยี่ นพฤตกิ รรม เศรษฐกจิ เศรษฐกิจ สู่วถิ ชี ีวิตภายใต้ หมุนเวยี นใน หมุนเวยี นท่ี แนวคิดเศรษฐกจิ แบบของตวั เอง สามารถทำ� ได้ หมนุ เวียน จริงในชวี ติ ประจ�ำวันใน แบบของตวั เอง แนวทางปฏิบัติ แนวทางเชิง สร้างความ สวู่ ถิ ีชีวติ ภาย ปฏิบตั ิวถิ ีชวี ติ ต้องการปรบั ใต้แนวคิด ภายใต้แนวคิด เปลี่ยนพฤตกิ รรม เศรษฐกจิ เศรษฐกิจ สวู่ ถิ ีชวี ิตภายใต้ หมนุ เวยี นใน หมุนเวยี นที่ แนวคดิ เศรษฐกจิ แบบของตวั เอง สามารถทำ� ได้ หมุนเวยี น จรงิ ในชีวิต ประจำ� วันใน แบบของตวั เอง 14

ประโยชน์ที่นสิ ติ และประเทศไทยจะได้รับ • นิสติ มีแรงผลกั ดนั ใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมสูว่ ิถีชีวิตภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนและ สามารถถ่ายทอดแนวคดิ ไปยังผอู้ ่นื ได้ • นสิ ติ เป็นตน้ แบบของพลเมืองทดี่ ขี องประเทศ/โลก และ สามารถถ่ายทอดแนวคิดไปยงั ผอู้ ืน่ ได้ ทำ� ให้ เกิดการมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและ เกิดการพฒั นาอยา่ งย่ังยนื ภายใตแ้ นวคิดเศรษฐกิจหมนุ เวียน (Circular Economy) และแผนขับ เคลื่อน BCG (Bio, Circular, Green Economy) 2030 • ชว่ ยลดผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อมและงบประมาณในการแกไ้ ขปัญหาสิ่งแวดล้อมของประเทศ ขบั เคลอ่ื นสู่เป้าหมายการเตบิ โตด้วยคุณภาพชีวติ ทเี่ ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม ประโยชนท์ ่มี หาวิทยาลัยจะไดร้ บั จากการจดั การเรยี นการสอนในรายวชิ านี้ ไดแ้ ก่ • การมเี ครอื ขา่ ยความร่วมมือด้าน Circular Economy กบั ภาคเอกชน สรา้ งความร่วมมือและเครอื ขา่ ยดา้ นเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นในระดับอดุ มศึกษาจากหน่วยงานทุกภาคสว่ นทง้ั รฐั และเอกชน ซงึ่ จะนำ� ไปสู่การท�ำงานในรูปแบบบรู ณาการขบั เคลือ่ นเศรษฐกจิ หมุนเวยี นในระยะถดั ไป • การไดร้ บั การสนับสนนุ ทางเทคนิคและการเงนิ จากภาคเอกชนในการนำ� ประมวลรายวิชาและเครอ่ื ง มอื ท่ใี ช้ในการเรียนการสอนรายวชิ าเศรษฐหมนุ เวียนส�ำหรบั หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไปในระดับอุดมศึกษา ไปใชจ้ ริง • การไดร้ บั การฝกึ อบรมให้กับอาจารย์ผูส้ อนในรายวิชา 15

รายช่อื คณะท�ำงานฯ ผรู้ า่ งคมู่ ือการสอน สัปดาห์ท่ี เนือ้ หา ผรู้ า่ งคู่มือการสอน 1 Introduction บทน�ำ แนะนำ� รายวชิ า และ ผศ.ดร.รตั นาวรรณ ม่ังค่ัง 2 3 กจิ กรรมละลายพฤติกรรม (break the ice) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 4 5 Module 1(1): Being Part of Nature รศ.ดร.รฐั ชา ชัยชนะ 6 การเรยี นรู้อยูก่ ับธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 7 Module 2(1): Global Footprint ผศ.ดร.ณภัทร จกั รวฒั นา 8 & Material Crisis มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ภาวะวิกฤตของปญั หาดา้ นทรพั ยากร Module 3(1): Climate Emergency รศ.ดร.เศรษฐ์ สัมภัตตะกลุ สถานการณ์ฉุกเฉนิ ดา้ นสภาพภมู ิอากาศ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ และสิง่ แวดลอ้ ม Module 3(2): Carbon Footprint ผศ.ดร.รตั นาวรรณ ม่งั คงั่ คารบ์ อนฟุตพรนิ้ ท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Module 3(3): Municipal Solid Waste ดร.สุจิตรา วาสนาดำ� รงดี Problem and Zero Waste Concept จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ปัญหาขยะมูลฝอย และแนวคิดขยะเหลอื ศนู ย์ Module 3(4): How to Reduce and ดร.สจุ ติ รา วาสนาด�ำรงดี Separate Waste จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั แนวทางการลดและคัดแยกขยะ Module 4(1): Life Cycle Thinking รศ.ดร.ธภทั ร ศิลาเลศิ รกั ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี พระจอมเกลา้ ธนบุรี Module 4(2): Circular Economy ดร.พงษว์ ภิ า หลอ่ สมบูรณ์ 9 แนวคดิ เศรษฐกิจหมนุ เวียน องค์การบริหารจดั การก๊าซเรอื นกระจก ผศ.ดร.รตั นาวรรณ มง่ั ค่ัง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 16

สัปดาหท์ ่ี เน้ือหา ผรู้ า่ งค่มู อื การสอน 10 Module 5(1): Circular Business Model คุณประวิทย์ พรพพิ ฒั นก์ ลุ 11 โมเดลธุรกิจหมุนเวยี น สภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย 12 13 ผศ.ดร. รตั นาวรรณ มัง่ คง่ั 14 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 15 Module 5(2): Design Thinking for คุณประวิทย์ พรพพิ ฒั น์กลุ Circular Business สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย การประยกุ ตใ์ ช้การคิดเชงิ ออกแบ ผศ.ดร.รตั นาวรรณ ม่งั คงั่ บภายใตแ้ นวคิดเศรษฐกจิ หมนุ เวียน มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ Module 6(1): Circular Lifestyle ผศ.กิตตภิ มู ิ มีประดษิ ฐ์ วถิ ีชวี ิตภายใตแ้ นวคดิ เศรษฐกิจหมุนเวียน มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม Module 7(1): Circular Living in Action นิสิตน�ำเสนอ/ส่งงานโครงการ ความตระหนกั และแรงผลักดนั สวู่ ิถชี วี ติ ภายใตแ้ นวคิดเศรษฐกจิ หมนุ เวียน และสงั คมเศรษฐกิจหมนุ เวียน Module 7(2): Circular Living in Action นสิ ิตน�ำเสนอ/สง่ งานโครงการ ความตระหนักและแรงผลักดนั ส่วู ิถชี ีวิต ภายใต้แนวคดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวียนและ สังคมเศรษฐกจิ หมนุ เวียน Module 7(3): Circular Living in Action นสิ ติ น�ำเสนอ/สง่ งานโครงการ ความตระหนักและแรงผลกั ดันสู่วถิ ชี วี ิต ภายใตแ้ นวคดิ เศรษฐกจิ หมุนเวียนและ สงั คมเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น 17

การประเมนิ ผลของรายวชิ า มีการก�ำหนดสดั สว่ นคะแนนดังน้ี คะแนนเขา้ ชน้ั เรียน 10% คะแนนในแต่ละ Module 70% Module ท่ี 1 (1) (Being Part of Nature) (5%) Module ที่ 2 (1) (Material Crisis) (5%) Module ที่ 3 (1) (Climate Emergency) (5%) Module ท่ี 3 (2) (Carbon footprint) (5%) Module ที่ 3 (3) (Municipal Solid Waste Problem and Zero Waste Concept) (5%) Module ท่ี 3(4) (How to Reduce and Separate Waste) (5%) Module ที่ 4 (1) (Life Cycle Thinking) (10%) Module ท่ี 4 (2) (Circular Economy) (10%) Module ท่ี 5 (1) (Circular Business Model) (5%) Module ที่ 5 (2) (Design Thinking for Circular Bussiness) (5%) Module ที่ 6 (1) (Circular Lifestyle) (10%) คะแนนโครงงาน 20% รวม 100% 18

Module 1 (1): Being Part of Nature การเรียนรู้อยู่กบั ธรรมชาติ ชอ่ื บทหรือโมดูล การเรียนร้อู ยกู่ ับธรรมชาติ (Being part of nature) ผลลัพธ์การเรยี นรู้ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั สง่ิ แวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั ของประโยชน์ ของทรพั ยากรธรรมชาตติ อ่ การดำ� รงชวี ติ ของมนษุ ย์ และเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความตระหนกั หวงแหน และมจี ติ สำ� นกึ ในการอนรุ กั ษแ์ ละรักษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม สาระสำ� คญั เปน็ การถา่ ยทอดความรแู้ ละเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความหมายและองคป์ ระกอบของสงิ่ แวดลอ้ ม ระบบนเิ วศ และทรพั ยากรธรรมชาติ รวมถงึ ความสมั พนั ธเ์ ชอ่ื มโยงขององคป์ ระกอบตา่ งๆ ในธรรมชาติ รวมถงึ แนวทาง ในการประเมินบรกิ ารหรือประโยชนข์ องระบบของนเิ วศทเี่ ออื้ ต่อการด�ำรงชีวติ ของมนุษย์ และหาแนวทาง ในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมจากกจิ กรรมการใชช้ วี ิตประจำ� วนั เนอ้ื หาสาระ • ความหมายของคำ� วา่ สิ่งแวดล้อม ทรพั ยากรธรรมชาติ และระบบนเิ วศ และประเภทของทรพั ยากร • การศกึ ษาหว่ งโวอ่ าหารและสายใยอาหารเพอื่ ใหเ้ หน็ ถงึ ความเชอื่ มโยงขององคป์ ระกอบตา่ งๆ ในระบบ นิเวศ • แนวทางในการประเมนิ บริการของระบบนิเวศ (ecosystem services) และแนวทางในการบรหิ ารจัด และการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 19

กิจกรรมการเรียนการสอน หัวขอ้ จ�ำนวน กิจกรรม การวดั ผล สื่อการสอนที่ใช้ นาทที ี่ หรือเทคนคิ การสอน และประเมินผล การศึกษาความหมายของ ใช้สอน ทรัพยากร สิ่งแวดลอ้ ม ระบบนเิ วศ รวมถงึ การ บรรยาย การถามตอบ สไลด์ประกอบ ศึกษาหว่ งโซอ่ าหารและ สายใยอาหาร การบรรยายและ การประเมินบรกิ ารของ ระบบนิเวศ (ecosystem 10 คลิปวดิ โี อ services) แนวทางในการอนุรักษ์ สง่ิ แวดล้อมทาง ทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อม ธรรมชาติ กจิ กรรมการประเมนิ บรกิ ารของระบบนเิ วศ บรรยาย การน�ำเสนองาน สไลดป์ ระกอบ 30 กลุ่มและการถาม การบรรยาย ตอบ บรรยาย การถามตอบ สไลดป์ ระกอบ 20 การบรรยาย กจิ กรรมกลุม่ ให้ ประเมินจาก กระดาษ ผูเ้ รียนประเมนิ การน�ำเสนอราย flip chart บรกิ ารของระบบ กลุ่มและการถาม นเิ วศประเภทต่างๆ ตอบ 60 (เช่น ปา่ เขาใหญ่ ป่าชายเลน บึงบอ ระเพ็ด ทะเลสาบ สงขลา หม่เู กาะ อ่างทอง) น�ำเสนอ และถามตอบ งานมอบหมาย ไม่มี 20

เม่ือทุกท่านเขียนแต่ละโมดูลของตนเองมาแล้วแต่ละโมดูล จะมาสรุปเป็นตารางดังกล่าวน้ีเพื่อให้ เหน็ ภาพรวมของรายวิชาทั้งหมด ชอื่ บท/ จำ� นวนชมท่ใี ช้ CLO วิธกี ารจัดการ การวัดผลและ สอ่ื ที่ใช้ หรือชื่อโมดูล สอน เรยี นการสอน ประเมินผล CLO ท่ี 1 สไลด์ประกอบ บรรยาย การถามตอบ การบรรยาย และคลิปวิดีโอ การเรียนร้อู ยู่ 1 คร้งั : 2 ชม. CLO ท่ี 2 บรรยาย การถามตอบ สไลด์ประกอบ กบั ธรรมชาติ CLO ที่ 3 การบรรยาย กิจกรรมกลมุ่ ให้ การน�ำเสนอ กระดาษ ผเู้ รียนประเมิน งานกลุ่มและ flip chart บริการของ การถามตอบ ระบบนิเวศ ประเภทต่างๆ เนอื้ หาการบรรยาย เนอ้ื หาในบทนจี้ ะกลา่ วถงึ สงิ่ แวดลอ้ มและระบบนเิ วศทช่ี ว่ ยเออ้ื ประโยชนใ์ นการดำ� รงชวี ติ ของมนษุ ย์ และส่งิ มีชวี ิตชนิดตา่ งๆ อกี ทงั้ ยงั แสดงใหเ้ หน็ ถึงความเชือ่ มโยงกันของสิ่งต่างๆ ในระบบนเิ วศท่มี กี ารพ่ึงพา อาศัยและเกื้อกูลกนั ค�ำศพั ท์และเนือ้ หาตา่ งๆ ในบทน้ีจะช่วยท�ำใหน้ ิสิตเขา้ ใจและตระหนกั ว่า มนษุ ยเ์ ปน็ สว่ นหน่ึงของธรรมชาติ ความหมายของคำ� ว่าส่ิงแวดลอ้ ม ทรพั ยากรธรรมชาติ และระบบนเิ วศ สิง่ แวดล้อม (environment) หมายถงึ ส่งิ ต่างๆ ท่ีอยู่รอบตัวเรา ทั้งสง่ิ ท่ีมชี ีวติ ส่งิ ไม่มีชวี ิตเหน็ ได้ ดว้ ยตาเปลา่ และไมส่ ามารถเหน็ ไดด้ ว้ ยตาเปลา่ รวมทงั้ สง่ิ ทเี่ กดิ ขนึ้ โดยธรรมชาติ และสงิ่ ทมี่ นษุ ยเ์ ปน็ ผสู้ รา้ ง ข้นึ หรืออาจจะกล่าวไดว้ ่า ส่งิ แวดล้อมจะประกอบดว้ ยทรัพยากรธรรมชาติ และทรพั ยากรที่มนุษย์สร้างขึน้ ในช่วงเวลาหนง่ึ เพอื่ สนองความต้องการของมนษุ ยน์ น่ั เอง (สารานุกรมไทยส�ำหรบั เยาวชน เลม่ ที่ 19 เรื่อง การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม) • ส่ิงแวดล้อมทีเ่ กิดขนึ้ โดยธรรมชาติ ท้งั สิ่งมชี ีวติ และไม่มชี วี ิต ได้แก่ บรรยากาศ น�้ำ ดิน แร่ธาตุ และสงิ่ มีชีวติ ทอ่ี าศัยอยู่บนโลก (พืช และสัตว)์ ฯลฯ 21

• ส่งิ แวดล้อมที่มนุษยส์ ร้างข้ึน ไดแ้ ก่ สาธารณูปการตา่ งๆ เช่น ถนน เขอื่ นก้นั นำ้� ฯลฯ หรอื ระบบของ สถาบนั สงั คมมนษุ ย์ ทด่ี �ำเนินชวี ิตอยู่ ฯลฯ ความหลากหลายทางชวี ภาพ (biodiversity) หมายถงึ ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ ชนดิ ตา่ งๆ บนโลกเชน่ พืช สัตว์ จลุ นิ ทรยี ์ ทพี่ บได้ในระบบนเิ วศต่างๆ เช่น ระบบนเิ วศบก ระบบนิเวศแหลง่ น้ำ� จืด และระบบนิเวศทางทะเล โดยสามารถพิจารณาระดับของความหลากหลายทางชีวภาพได้ 3 ระดับได้แก่ ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (species) ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic) และความหลาก หลายของระบบนิเวศ (ecosystem) ความหลากหลายทางชีวภาพน�ำมาซึ่งประโยชน์มากมาย เช่น การ นำ� พชื มาใช้เป็นยารักษาโรค เครอื่ งนุ่งหม่ อาหาร ภาพท่ี 1 แสดงใหเ้ หน็ ถงึ บริเวณพ้ืนทตี่ ่างๆ ของโลกที่มี ความหลากหลายของสัตว์มกี ระดกู สนั หลงั ภาพท่ี 1 การแพร่กระจายของสตั วบ์ กกลมุ่ สตั วม์ กี ระดกู สันหลังในแต่ละภูมิภาคของโลก โดยสแี ดงแสดง ใหเ้ ห็นว่าบริเวณแนวเสน้ ศูนย์สตู รพบความหลากหลายของชนดิ พนั ธุ์สัตว์มากที่สดุ และโซนสีน้�ำเงินพบการกระจายต่�ำ (ทมี่ า : https://en.wikipedia.org/wiki/Biodiversity) ด้วยตระหนักถึงความส�ำคัญด้านความหลากหลายทางชีวภาพ จึงได้มีการประกาศอนุสัญญาว่า ดว้ ยความหลากหลายทางชวี ภาพ (The Convention on Biodiversity, CBD) ขึ้น อนสุ ัญญาดังกล่าวลง นามโดยผนู้ �ำจากรัฐบาลต่างๆ จาก 150 ประเทศในการประชมุ Earth Summit ทเี่ มืองริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล เม่อื ปี 2535 ปจั จบุ ันมปี ระเทศตา่ งๆ ร่วมลงนามแลว้ กว่า 196 ประเทศ อนสุ ัญญาว่าดว้ ย 22

ความหลากหลายทางชวี ภาพมไี วเ้ พอื่ สง่ เสรมิ การพฒั นาทยี่ งั่ ยนื ความจำ� เปน็ ในดา้ นความมน่ั คงทางอาหาร ยา อากาศบริสุทธ์ิและน�้ำ ทพี่ ักพิง และสภาพแวดลอ้ มทส่ี ะอาดและดตี ่อสุขภาพ รวมถงึ การอนุรักษค์ วาม หลากหลายทางชวี ภาพและการแบง่ ปนั ผลประโยชนท์ เี่ กดิ จากการใชท้ รพั ยากรพนั ธกุ รรมอยา่ งยตุ ธิ รรมและ เท่าเทยี มกัน ระบบนเิ วศ (ecosystem) เปน็ ระบบท่ีประกอบไปด้วย 1) สงั คมของส่งิ มชี ีวติ ได้แก่ ผผู้ ลติ (pro- ducer) ได้แก่ พชื ผบู้ ริโภค (consumer) ไดแ้ ก่ สตั วช์ นดิ ตา่ งๆ และผยู้ อ่ ยสลาย (decomposer) ได้แก่ จลุ ินทรีย์ เหด็ รา และ 2) ปัจจยั ส่ิงแวดล้อมทีไ่ มม่ ชี ีวิต (เช่น อณุ หภมู ิ ความชืน้ ลม) เป็นระบบทส่ี ิ่งมชี ีวติ ท้ังหลายมีบทบาทหรอื กจิ กรรมในการดำ� รงชวี ิตร่วมกนั รวมถึงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสงิ่ มีชีวติ (organism) กับส่ิงแวดล้อม (environment) ตามธรรมชาติ ระบบความสัมพันธส์ ่วนใหญ่จะเกยี่ วข้องกบั วถิ ีการด�ำรง ชีวิต เช่น การหาอาหาร การกินอาหาร การแข่งขันเพ่ือการอยู่รอด ในแง่ของการถ่ายทอดพลังงานการ หมนุ เวยี นสารในระบบนเิ วศ รวมถงึ การปรบั ตวั ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม การพึง่ พากันและที่ส�ำคญั ทส่ี ุด คอื การรกั ษาสมดลุ ระหว่างส่งิ มชี ีวิตในระบบนเิ วศ ตัวอยา่ งระบบนเิ วศไดแ้ ก่ ระบบนิเวศปา่ ไม้ ระบบ นเิ วศแหลง่ น้ำ� จดื ระบบนิเวศปา่ ชายเลน ห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหาร ห่วงโซ่อาหาร (food chain) เป็นการจ�ำลองการถ่ายทอด พลังงานผ่านทางการกินและความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคข้ันต่าง ๆ ในระบบนิเวศ (หัวลูกศร ช้ไี ปทางผู้ได้รับพลงั งาน) หว่ งโซอ่ าหารสามารถแบ่งได้เปน็ 2 ประเภทหลัก ไดแ้ ก่ หว่ งโซอ่ าหารที่เรม่ิ ตน้ จากพืช (grazing food chain) และห่วงโซ่อาหารที่เร่มิ ต้นจากซากสารอนิ ทรีย์ (detrital food chain) ภาพท่ี 2 ประเภทของห่วงโซอ่ าหาร (ภาพ บนเป็นห่วงโซ่อาหารประเภท grazing food chain เริ่มต้นจากหญ้า จากนั้น หญ้าถูกกวางกินเป็นอาหาร แล้วสุดท้าย กลางถูกสิงโตกินเป็นอาหาร ภาพล่างเป็น ห่วงโซ่อาหารประเภท detrital food chain ที่เร่ิมต้นจากเศษซาก จากนั้น เศษซากถูกใส้เดือนกินเป็นอาหาร แล้ว ไสเ้ ดอื นถกู หนูกินเป็นอาหาร) (ที่มา: https://www.slideshare.net/YhanMarianne/envi-3-energy-flow-in-an-ecosystem-final https://www.sarthaks.com/536415/describe-different-types-of-food-chains-that-exist-in-an-ecosystem) 23

1. grazing food chain เริ่มต้นจากกลุ่มผู้ผลิตขั้นปฐมภูมิ (primary producer หรือ autotroph) ซ่ึงได้แกพ่ ชื น้�ำ สาหร่าย และแพลงก์ตอนพชื ผู้ผลิตเหลา่ นี้สามารถสรา้ งหรือสงั เคราะห์อาหารได้ด้วย ตัวเองจากกระบวนการสังเคราะห์แสง (photosynthesis) ในขณะเดียวกันก็ใช้พลังงานส่วนหนึ่ง จากการสังเคราะห์แสงเพอื่ ใชใ้ นกระบวนการหายใจท่เี กิดขึน้ ในเวลากลางคืน 2. detrital food chain กลุ่มท่ีเริม่ ต้นจากซากพืชซากสัตวเ์ ป็นแหล่งพลงั งานและอาหาร (detrital food chain) จะมสี ง่ิ มชี วิ ติ มากนิ ซากสารอนิ ทรยี เ์ หลา่ นเี้ ปน็ อาหาร สำ� หรบั สง่ิ มชี วี ติ ทไี่ มส่ ามารถสรา้ งอาหาร ได้เอง หรือท่ีเรียกว่า ผู้บริโภค (consumer หรือ heterotroph) ส่ิงมีชีวิตเหล่านี้จะได้รับพลังงาน จากการกินพชื กนิ เศษซากหรอื กินสตั วอ์ ื่นเปน็ อาหาร ภาพท่ี 3 ตัวอยา่ งหว่ งโซ่อาหาร ที่มา: (http://wps.aw.com/bc_campbell_ essentials _2/ 0,7641,708230-,00.html) หมายเหตุ: อธบิ ายค�ำศพั ท์ A terrestrial food chain คอื หว่ งโซอ่ าหารทางบก และ a marine food chain คือ หว่ งโซอ่ าหารทางทะเล ประกอบไปดว้ ยพชื (plant) สตั วก์ ินพชื (herbivore) สัตวท์ ก่ี นิ สตั ว์ เป็นอาหาร (carnovire) นอกจากนัน้ ยงั ประกอบไปด้วยผผู้ ลิต (producer) ผบู้ ริโภคล�ำดับที่ 1 (primary consumer) ผบู้ รโิ ภคลำ� ดบั ที่ 2 (secondary consumer) ผูบ้ ริโภคล�ำดบั ที่ 3 (tertiary consumer) และ ผบู้ ริโภคลำ� ดบั ที่ 4 (quaternary consumer) 24

สายใยอาหาร (food web) ในระบบนเิ วศส่ิงมีชวี ิตส่วนใหญ่ย่อมมีแหลง่ อาหารมากกว่า 1 แหล่ง เช่น ปลาขนาดใหญ่อาจกินได้ทั้งปลาขนาดเล็กและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เพราะฉะนั้นระบบนิเวศตาม ธรรมชาตจิ ะมคี วามสลบั ซบั ซอ้ นและซอ้ นทบั กนั ของหว่ งโซอ่ าหารและการถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ ในรปู แบบของ “สายใยอาหาร” การกนิ อาหารในรูปของสายใยอาหารท่ีซับซ้อนนี้ เป็นปจั จัยสำ� คญั ทที่ �ำให้ ระบบนิเวศสมดลุ ภาพท่ี 4 ตวั อยา่ งสายใยอาหาร (ทม่ี า: https://calaski.wordpress.com/science-unitsecol- ogy/food-webs/) หมายเหตุ: อธบิ ายคำ� ศพั ท์ เห็ดรา (fungi) แบคทีเรีย (bacteria) หญ้า (grass) ไมพ้ ่มุ (shrub) ตน้ ไม้ (tree) ต๊ักแตน (grasshopper) กระต่าย (rabbit) กระรอก (squirrel) กวาง (deer) หนู (shrew) งู (snake) นก กินแมลง (insect-eating bird) เหย่ยี ว (hawk) และ สิงโตภูเขา (mountain lion) มนษุ ยเ์ ปน็ สว่ นหนง่ี ของระบบนเิ วศ มนุษยต์ ้องการพลังงานมาใชใ้ นการดำ� เนนิ ชีวติ ประจำ� วัน เชน่ การออกไปท�ำงาน เรียนหนังสอื เลน่ กีฬา พลังงานเหล่าน้ีไดม้ าจากการถ่ายทอดพลังงานในห่วงโซ่อาหาร โดยเริ่มต้นตั้งแต่พลังงานจากดวงอาทิตย์ถูกเปล่ียนรูปให้เป็นพลังงานจากเคมีจากกระบวนการสังเคราะห์ แสงของพืช จากน้ันพลังงานจะถูกถ่ายทอดต่อมาสู่สัตว์ท่ีกินพืชเป็นอาหารและสู่สัตว์ท่ีกินสัตว์เป็นอาหาร ด้วยแนวคิดของห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหารน้ีเองจึงเป็นข้อยืนยันให้เห็นว่า มนุษย์เป็นส่วนหน่ึงของ ธรรมชาติ ทยี่ งั คงตอ้ งพงึ พาอาศยั ทรพั ยากรธรรมชาตเิ พอ่ื การอยรู่ อดเหมอื นกบั สงิ่ มชี วี ติ อน่ื ๆ ในระบบนเิ วศ ทรัพยากรธรรมชาติ (natural resources) การด�ำรงชีวิตของมนุษย์มีการนำ� ทรพั ยากรต่างๆ มาใชม้ ากมาย ทรัพยากรธรรมชาติมหี ลากหลาย ประเภท การใช้ทรัพยากรแต่ละประเภทควรจะต้องอยู่บนพ้ืนฐานความเข้าใจของที่มาของทรัพยากรเพื่อ 25

ให้เกิดการใช้ประโยชน์ท่ีคุ้มค่า เม่ือพูดถึง ทรัพยากรธรรมชาติ (natural resources) จะหมายถึง ส่ิง ต่างๆ (ส่งิ แวดล้อม) ทีเ่ กิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ และมนษุ ยส์ ามารถนำ� มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เชน่ ดิน น�้ำ ปา่ ไม้ ท่งุ หญ้า สตั วป์ า่ แร่ธาตุ และพลังงาน เปน็ ต้น ทรัพยากรธรรมชาติทุกประเภทน้ัน จะเป็นสว่ นหนง่ึ ของส่งิ แวดลอ้ ม แต่สง่ิ แวดลอ้ มทุกชนดิ ไมเ่ ป็น ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ง้ั หมด ซง่ึ อาจกลา่ วสรปุ ไดว้ า่ การทจ่ี ะจำ� แนกสงิ่ แวดลอ้ มใดๆ เปน็ ทรพั ยากรธรรมชาติ นน้ั มปี จั จยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งหลายประการ ประการแรก เกดิ จากความตอ้ งการของมนษุ ยท์ จ่ี ะนำ� สง่ิ แวดลอ้ มมาใช้ ใหเ้ กดิ ประโยชนก์ บั ตนเอง ประการทส่ี อง การเปลยี่ นแปลงตามกาลเวลา ถา้ ยงั ไมน่ ำ� มาใชก้ เ็ ปน็ สง่ิ แวดลอ้ ม แตถ่ ้านำ� มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ กจ็ ะกลายเปน็ ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นชว่ งเวลานั้นๆ และประการที่สาม สภาพ ภมู ศิ าสตรแ์ ละความหา่ งไกลของสงิ่ แวดลอ้ ม ถา้ อยไู่ กลเกนิ ไปคนอาจไมน่ ำ� มาใช้ กจ็ ะไมส่ ามารถแปรสภาพ เป็นทรพั ยากรธรรมชาติได้ การจ�ำแนกประเภททรัพยากรธรรมชาติ แบง่ ได้ 3 ประเภท ดงั น้ี (นิวัติ เรอื งพานชิ , 2546) ทรัพยากรหมุนเวียนหรือทรัพยากรท่ีใช้ไม่หมดสิ้น (inexhaustible natural resources) เปน็ ทรพั ยากรทีม่ อี ยู่ในธรรมชาตอิ ยา่ งมากมาย อาทิเช่น แสงอาทิตย์ อากาศ และนำ�้ ในวฏั จกั ร ทรัพยากร ประเภทน้ีมีความจ�ำเป็นต่อร่างกายมนุษยแ์ ละส่ิงมชี วี ิต ทรัพยากรทดแทนได้หรือรักษาไว้ได้ (replaceable natural resources/maintainable natural resources) เป็นทรัพยากรธรรมชาติทใ่ี ชแ้ ลว้ สามารถฟื้นคืนสภาพได้ ทั้งในระยะส้นั และระยะ ยาว ซ่ึงไดแ้ ก่ ปา่ ไม้ มนษุ ย์ สัตวป์ า่ พชื เนื้อดิน/ท่ดี ิน (maintainable) และน�้ำ ทรพั ยากรประเภทนี้ มักจะ มมี าก และจำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ตอ่ มนษุ ยแ์ ละสง่ิ มชี วี ติ อนื่ ๆ มนษุ ยต์ อ้ งการใชท้ รพั ยากรนตี้ ลอดเวลา เพอื่ ปจั จยั ส่ี การเกบ็ เกย่ี วผลประโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาตชิ นดิ น้ี หรอื การนำ� มาใชป้ ระโยชน์ ควรนำ� มาใชเ้ ฉพาะสว่ น ที่เพมิ่ พนู เทา่ นนั้ หรอื อีกนยั หนึ่งแนวคดิ นี้ถือว่า ฐานของทรพั ยากรธรรมชาติท่มี อี ยู่ เปรยี บเสมอื นตน้ ทุน ที่ จะได้รับผลก�ำไรหรอื ดอกเบ้ยี รายปี โดยส่วนกำ� ไรหรอื ดอกเบ้ยี นก้ี ็คอื สว่ นทเ่ี ราสามารถนำ� มาใชป้ ระโยชน์ ไดน้ ่นั เอง ทรัพยากรท่ีใชแ้ ลว้ หมดไป ไมง่ อกเงย (exhaustable natural resources) เปน็ ทรัพยากร- ธรรมชาติท่ีใช้แลว้ จะหมดไป ไม่สามารถเกดิ ข้นึ มาทดแทนได้ หรอื ถา้ จะเกดิ ขนึ้ มาทดแทนได้ กต็ อ้ งใช้เวลา นานมาก และมกั เปน็ ทรพั ยากรทม่ี คี วามสำ� คญั ทางดา้ นเศรษฐกจิ ซง่ึ ไดแ้ ก่ นำ้� มนั ปโิ ตรเลยี ม กา๊ ซธรรมชาติ และสนิ แร่ การจดั การทรพั ยากรประเภทนี้ จะตอ้ งเนน้ การประหยดั และพยายามไมใ่ หเ้ กดิ การสญู เสยี ตอ้ ง ใชต้ ามความจำ� เปน็ หรอื ถา้ สามารถใชว้ สั ดอุ นื่ แทนได้ กค็ วรนำ� มาใชแ้ ทน รวมทงั้ ตอ้ งนำ� สว่ นทเ่ี สยี แลว้ กลบั มาใชป้ ระโยชน์ให้คมุ้ คา่ ตอ่ ไป 26

บรกิ ารของระบบนเิ วศ (ecosystem services) คุณค่าและความส�ำคัญของระบบนิเวศถูกแบ่งแยกตามประเภทของผลิตภัณฑ์ของระบบนิเวศ (goods of ecosystem) และบริการของระบบนิเวศ (services) ค�ำว่าการบริการของระบบนิเวศน้ัน (ecosystem service) หมายถึง ประโยชนท์ ม่ี นษุ ย์ไดร้ ับจากระบบนเิ วศ (the benefits people obtain from ecosystems) ทงั้ ในรปู ของผลิตภณั ฑต์ ่าง ๆ รวมถงึ ประโยชน์ท่ีได้จากกระบวนการตา่ ง ๆ ท่ีเกิดขน้ึ ทางธรรมชาติ (Millennium Ecosystem Assessment, 2005) ซง่ึ แบง่ เป็น 4 ดา้ นส�ำคัญ (De Groot et al., 2006) ได้แก่ (รัฐชา ชัยชนะ, 2558) บริการด้านเปน็ แหล่งผลิต (provisioning service) ซึ่งไดแ้ ก่ ผลิตภัณฑ์ตา่ ง ๆ ทไ่ี ดจ้ ากระบบ นเิ วศแหลง่ น�้ำจดื เช่น น้�ำจดื สำ� หรับอปุ โภคและบรโิ ภค ส�ำหรับการเกษตรและอุตสาหกรรม ผลิตภณั ฑ์ท่ี เปน็ แหลง่ อาหารจากสตั ว์นำ้� เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา ซง่ึ เป็นแหล่งโปรตนี ทส่ี �ำคัญของคนและสตั ว์ รวมถึงพชื น�้ำชนดิ ต่าง ๆ เช่น บัว ผกั บ้งุ ผกั กระเฉด ทีใ่ ชใ้ นการบริโภค พืชสมนุ ไพร เช่น ผักหนามทีน่ ำ� มาใช้เปน็ ยาแก้ ไอ ขับเสมหะ และแกอ้ าการผืน่ คนั พืชที่ใช้ทำ� วัสดแุ ละอุปกรณต์ ่าง ๆ ในชีวติ ประจ�ำ เชน่ ต้นกก ต้นจาก น�ำมาเปน็ วสั ดจุ ักสาน ทอเสือ่ เฟอร์นิเจอร์ ของตกแต่งบา้ น หรือมุงหลังคา พืชนำ้� บางชนดิ ท่นี �ำมาใช้ในการ บำ� รงุ ดิน เชน่ แหนแดง โสน หรอื น�ำมาใชเ้ ปน็ แหลง่ พลงั งาน เชน่ สาหรา่ ยและดินพที เปน็ ตน้ นอกจากน้ยี งั รวมถึงพืชและสตั ว์นำ�้ สวยงามทคี่ นนิยมน�ำมาเล้ียงหรือปลกู เพอ่ื ประดับบา้ นเรอื น ผลติ ภณั ฑต์ ่าง ๆ เหลา่ น้ี นอกจากจะใชบ้ รโิ ภคภายในครวั เรอื นแลว้ ยังถือว่าเป็นแหล่งสร้างรายได้ท่ีส�ำคญั ให้กับประชาชนอีกด้วย บริการด้านการควบคุม (regulating service) เป็นบริการที่ได้จากการควบคุมกิจกรรมและ กระบวนการต่าง ๆ ท่ีเกิดขนึ้ ในระบบนิเวศ เช่น เป็นแหล่งเกบ็ กักธาตุคารบ์ อนโดยพืชน้ำ� และแพลงกต์ อน พชื ทใี่ ชแ้ กส๊ คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นการสงั เคราะหแ์ สง เปน็ แหลง่ ควบคมุ และหมนุ เวยี นสภาพภมู อิ ากาศผา่ น ทางวฎั จกั รของนำ�้ รกั ษาสมดลุ และควบคมุ อณุ หภมู ิ แหลง่ นำ�้ จดื ยงั ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ เสมอื นระบบบำ� บดั นำ�้ เสยี ขนาดใหญ่ เพราะในแหลง่ นำ้� มสี งิ่ มชี วี ติ ชนดิ ตา่ ง ๆ เชน่ พชื และจลุ นิ ทรยี ท์ ชี่ ว่ ยดดู ซมึ และยอ่ ยสลายมลสาร ต่าง ๆ ท่ีลงส่แู หลง่ นำ้� และบ�ำบัดน�้ำใหม้ ีคณุ ภาพดขี ้ึนได้ นอกจากนัน้ แหลง่ น้ำ� ยงั เป็นเสมือนเขือ่ นธรรมชาติ หรือแก้มลิงที่ช่วยชะลอและเก็บกักน้�ำเพ่ือป้องกันน�้ำท่วมในน�้ำหลาก ป้องกันการกัดเซาะพังทลายของ ชายฝง่ั เปน็ แหล่งนำ้� สำ� หรบั รักษาสภาพการเปน็ ระบบนิเวศในช่วงฤดูแลง้ เปน็ แหลง่ เก็บกกั และระบายนำ้� ใตด้ นิ นอกจากนย้ี งั เปน็ แหลง่ เกบ็ กกั เกบ็ กกั ตะกอน การปอ้ งกนั การรกุ ลำ้� ของนำ้� เคม็ ไมใ่ หเ้ ขา้ มาในพนื้ ทนี่ ำ�้ จดื รวมถงึ เปน็ แหลง่ พนั ธกุ รรมพชื ทชี่ ว่ ยในการผสมเกสรกอ่ ใหเ้ กดิ ผลติ ภณั ฑท์ างธรรมชาติ การควบคมุ ศตั รู พืช และโรคชนดิ ตา่ ง ๆ ทางชวี ภาพ เช่น ปลากินลูกน�้ำซ่งึ เปน็ ตวั อ่อนของยงุ และการควบคมุ การรกุ ราน ของชนดิ พนั ธ์พุ ชื และสตั ว์น้ำ� ตา่ งถิน่ โดยศัตรูและผูล้ ่าธรรมชาติ 27

บรกิ ารดา้ นวฒั นธรรม (cultural service) เป็นบริการท่ใี หค้ ุณค่าทางดา้ นจิตใจต่อมนุษย์ เชน่ คณุ คา่ ในการเปน็ สถานทพี่ กั ผอ่ นหยอ่ นใจและการทอ่ งเทย่ี ว มคี วามสวยงามทางธรรมชาติ เชน่ บงึ บอระเพด็ บึงบวั ทีท่ ะเลนอ้ ย รวมถึงคุณคา่ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ศลิ ปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวถิ ชี วี ติ ที่ เกย่ี วเนอื่ งกบั สายน�้ำ เชน่ การแขง่ เรอื ยาว ประเพณีชกั พระ ประเพณที อดกฐนิ และแห่เทยี นพรรษาทางนำ�้ เทศกาลลอยกระทง ตลาดนำ�้ รวมถงึ การศกึ ษาวจิ ยั และเปน็ แรงบนั ดาลใจดา้ นกวนี พิ นธแ์ ละวรรณกรรมดว้ ย บริการด้านการสนับสนนุ (supporting service) เชน่ เป็นแหลง่ ผลผลิตทางชีวภาพเพื่อให้เกิด บริการด้านอื่น ๆ ดังทไ่ี ดก้ ลา่ วไปขา้ งต้น เปน็ แหล่งหมนุ เวยี นและกำ� เนดิ ดนิ วฏั จักรนำ�้ แหลง่ ท่อี ยูอ่ าศยั รวมทง้ั ยงั เปน็ การหมนุ เวยี นสารอาหารทส่ี ำ� คญั ๆ ทถ่ี กู พดั พาสรู่ ะบบรเิ วศบกและระบบนเิ วศแหลง่ นำ�้ เพอ่ื เออ้ื ใหพ้ ืชและสตั ว์ในระบบนิเวศเจริญเตบิ โตไดด้ ี การอนรุ กั ษ์ (conservation) การอนุรักษ์ หมายถึง การสงวน ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม จากการถูกคุกคามหรือท�ำลายอันจะน�ำไปสู่ความเส่ือมโทรมและสูญเสีย และยังหมายรวมถึงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างชาญฉลาด (wise use) เพือ่ ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพและเกดิ ประโยชน์สงู สดุ การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม หมายถงึ การด�ำเนนิ งานต่อทรพั ยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม อย่างมีประสทิ ธิภาพ ท้งั ในดา้ นกระบวนการได้มาซ่ึงทรัพยากร การจดั หา การเกบ็ รกั ษา การซ่อมแซม การใช้อย่างประหยัด และการสงวนรักษา เพ่ือให้ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมนั้น สามารถเอ้ืออ�ำนวยประโยชน์แก่มวลมนุษย์ได้ใช้ตลอดไป อย่างไม่ขาดแคลน หรือมีปัญหาใดๆ หรืออาจ จะหมายถึง การใชท้ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม เพอ่ื สนองความตอ้ งการในระดบั ตา่ งๆ ของมนุษย์ และเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายสงู สดุ ของการพฒั นาคอื เสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ สงั คม และคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม โดยยดึ หลกั การอนรุ กั ษ์ ดว้ ยการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งฉลาด ประหยดั และกอ่ ใหเ้ กดิ ผลเสยี ตอ่ สง่ิ แวดล้อมน้อยที่สุดเท่าทีจ่ ะทำ� ได้ (สารานกุ รมไทยสำ� หรับเยาวชน เล่มที่ 19 เรอ่ื งการจดั การ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. มปป.) การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม จะตอ้ งยดึ หลกั การทางอนรุ กั ษว์ ทิ ยา เพอื่ ประกอบ การด�ำเนินงานในการจัดการดังน้ี คือ 1) การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มจะตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งสม เหตสุ มผล ใชอ้ ยา่ งฉลาด หรอื ใชต้ ามความจำ� เปน็ ไมใ่ ชอ้ ยา่ งฟมุ่ เฟอื ย และไมเ่ กดิ การสญู เปลา่ หรอื เกดิ การ สญู เปลา่ น้อยท่สี ุด 2) การประหยัดของทห่ี ายาก และของที่กำ� ลังสญู พันธ์ุ และ 3) การปรบั ปรุง ซ่อมแซม ส่งิ ทเี่ สือ่ มโทรมให้คนื สภาพกอ่ นนำ� ไปใช้ เพ่อื ใหร้ ะบบสิง่ แวดลอ้ มดีขึน้ 28

กลยทุ ธ์ในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม จะตอ้ งมแี นวทางและมาตรการตา่ งๆ ทต่ี อ้ งดำ� เนนิ การให้สอดคล้องกันไป ซึ่งขึ้นกับสถานภาพของปัญหาที่เกิดข้ึนและเป็นอยู่ในขณะน้ัน แนวทาง และ มาตรการดังกล่าว จะมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใด หรือมีทุกลักษณะประกอบกัน ดังนี้ (สารานุกรมไทย สำ� หรับเยาวชน เล่มท่ี 19, มปป.) การรกั ษาและฟน้ื ฟู เพอ่ื การปรบั ปรงุ แกไ้ ขทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มทปี่ ระสบปญั หา หรอื ถกู ทำ� ลายไปแลว้ โดยจะตอ้ งเรง่ แกไ้ ข สงวนรกั ษามใิ หเ้ กดิ ความเสอื่ มโทรมมากยง่ิ ขนึ้ และขณะเดยี วกนั จะ ตอ้ งฟ้ืนฟสู ภาพแวดลอ้ มทเี่ สียไปให้กลบั ฟ้ืนคนื สภาพ การป้องกัน โดยการควบคุมการด�ำเนนิ งานและการพฒั นาตา่ งๆ ใหม้ กี ารปอ้ งกนั การทำ� ลายสภาพ แวดล้อม หรือให้มีการก�ำจัดสารมลพษิ ต่างๆ ด้วยการวางแผนปอ้ งกันต้ังแตเ่ ริม่ ด�ำเนินโครงการ การส่งเสริม โดยการให้การศึกษาความรู้และความเข้าใจต่อประชาชน เก่ียวกับความสัมพันธ์ใน ระบบทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มหรอื ระบบนเิ วศ เพ่ือใหเ้ กิดจติ ส�ำนึกทางดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม และมี ความคิดท่ีจะร่วมรบั ผดิ ชอบในการปอ้ งกันและรักษาทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมทม่ี อี ยู่ การอนุรักษ์และการจัดการทรัยพากรธรรมชาติมีความส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ ทว่าใน ปัจจบุ นั มนุษย์มองตัวเองวา่ อยู่สว่ นบนสดุ ของระบบนเิ วศ ตามการเปรียบเทยี บวา่ เป็น Ego-system โดย ego ให้ความหมายถึงอัตตา ความถือตัวเองเป็นส�ำคัญ ซ่ึงเปรียบเสมือนมนุษย์เป็นผู้ควบคุมระบบนิเวศ พยายามอยู่เหนือธรรมชาติ ควบคุมธรรมชาติ และใช้ทรัพยากรเพ่ือตอบสนองความต้องการท่ีไม่มีท่ีส้ิน สุดของตนเอง โดยไม่ค�ำนึงถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศ ส่วนในระบบนิเวศ (ecosystem) ที่แท้จริงแล้ว มนุษยค์ วรท่จี ะเปน็ สว่ นหนง่ึ ของธรรมชาติ (being part of nature) โดยจะอยู่กนั ดว้ ยความพง่ึ พาอาศยั แชร์ทรัพยากรและผลประโยชน์ร่วมกันบนพ้ืนฐานของการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างสมดุล และค�ำนึงถึง ผลกระทบต่างๆ ท่ีจะเกดิ ขึ้นต่อระบบนเิ วศ เพื่อให้เกดิ ความยงั่ ยนื ของการด�ำรงชีวติ อยู่รว่ มกัน ภาพที่ 5 Ego-system และ Eco system ท่ีมา : https://www.veganindia.net/ vegan- food-chain-argument/ 29

นอกจากเร่ืองของพลงั งานแลว้ การทีม่ นษุ ยจ์ ะด�ำรงชีวติ อยูไ่ ด้อย่างเป็นปกตสิ ขุ ยงั ต้องอาศัยเร่อื ง ของสภาพแวดล้อมที่สะอาดและเอ้ือต่อการใช้ชีวิตของมนุษย์ เช่น อากาศท่ีสะอาด น้�ำท่ีสะอาด ซ่ึงส่ิงมี ชีวิตชนิดอ่ืนๆ ในระบบนิเวศก็ต้องการสภาพแวดล้อมท่ีสมบูรณ์และปราศจากปัญหามลพิษเช่นเดียวกัน ถ้าสภาพแวดล้อมเกิดความเส่ือมโทรมจากปัญหาการปนเปื้อนด้วยมลพิษหรือเสื่อมโทรมจากการท�ำลาย ก็ย่อมจะส่งผลต่อห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหารในระบบนิเวศ ซ่ึงในท้ายท่ีสุดแล้ว ก็จะส่งผลกระทบต่อ ตัวมนุษยเ์ อง ค�ำถามท่ีตามมาคอื เราจะเปลี่ยนแปลงสงั คมแบบ Ego-system ไปสูส่ งั คมแบบ Ecosystem ไดอ้ ย่างไร คงต้องลองติดตามและหาคำ� ตอบไดใ้ นเนอ้ื หาสว่ นตอ่ ไปๆ ของรายวชิ านี้ สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้ • United Nations Decade on Biodiversity https://youtu.be/zpM-nkhZCgk • Biodiversity is us - educational film https://youtu.be/v0gDbbHXZKg • 7 HOUR 4K DRONE FILM: “Earth from Above” + Music by Nature Relaxation https://youtu.be/ lM02vNMRRB0 เอกสารอา้ งองิ สารานกุ รมไทยส�ำหรับเยาวชน เล่มที่ 19 เรอื่ งการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม. มปป. Available at http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=19&chap=1&page=t19-1- infodetail03.html (สบื คน้ เมอื่ 5 พฤษภาคม 2563) นวิ ตั ิ เรอื งพานชิ . 2546. การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. ส�ำนกั พิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรงุ เทพ. 414 หน้า. รัฐชา ชัยชนะ.2558. การฟ้นื ฟูระบบนิเวศแหล่งน้�ำน่ิง. สำ� นกั พิมพ์มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กรงุ เทพฯ. 226 หน้า. Chenn, P. 1999. Ecology. Alden Press, Oxford, United Kingdom. 213 pp. เอกสารประกอบการอา่ นเพม่ิ เติม De Groot, R.S., M.A.M Stuip, C.M. Finlayson, and N. Davidson. 2006. Valuing wetlands; guidance for valuing the benefits derived from wetland ecosystem services. Ramsar Technical Report No. 3/CBD Technical Series No. 27. Ramsar Convention Secretariat, Gland, Switzerland and Secretariat of the Convention on Biological Diversity, Montreal, Canada. 30

ใบกิจกรรม ชอื่ กจิ กรรม/โมดลู : บริการของระบบนเิ วศ วิชา: วิถีชวี ิตตามแนวคิดเศรษฐกจิ หมนุ เวียนในศตวรรษที่ 21 ชอ่ื กจิ กรรม: บริการของระบบนิเวศ ระยะเวลา: 1 ช่ัวโมง สาระสำ� คญั : กิจกรรมน้มี ่งุ เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นสามารถคิดวเิ คราะห์บรกิ ารหรอื ประโยชนข์ องระบบของนเิ วศ ประเภทต่างๆ ท่เี อ้อื ตอ่ การดำ� รงชวี ติ ของมนุษย์ได้ วัตถปุ ระสงคข์ องการเรยี นรู้ 1. เพือ่ ให้ผูเ้ รียนสามารถคดิ วเิ คราะหถ์ งึ บริการด้านต่างๆ ของระบบนิเวศประเภทตา่ งๆ ได้ ขั้นตอนดำ� เนนิ กจิ กรรม/ปฏบิ ตั ิงาน 1. ให้ผเู้ รียนจบั กลุม่ กลุ่มละ 5 คน 2 นาที 2. ใหแ้ ต่ละกลมุ่ เลือกระบบนเิ วศที่สนใจ กลุ่มละ 1 ระบบนิเวศ (เชน่ อทุ ยาน 3 นาที แห่งชาตเิ ขาใหญ่ บงึ บอระเพ็ด เกาะสมยุ ดอนหอยหลอด ทุ่งแสลงหลวง 30 นาที แมน่ �ำ้ บางปะกง อ่าวคุ้งกระเบน ปา่ ชายเลนระนอง ทะเลชมุ พร ทะเลสาบสงขลา 10 นาที 10 นาที น้�ำตกเอราวณั ภกู ระดึง เขอ่ื นแกง่ กระจาน) 5 นาที 3. ใหส้ มาชิกในแตล่ ะกลุ่มระดมความคิดเห็นและเขยี นประโยชนจ์ ากบรกิ ารของ ระบบนิเวศท้ัง 4 ดา้ นได้แก่ บรกิ ารด้านจัดหาผลติ ภัณฑ์ บริการด้านการควบคุม บริการดา้ นวัฒนธรรม และบรกิ ารดา้ นสนับสนนุ ให้ครบถ้วน 4. ให้สมาชิกในแต่ละกล่มุ เขยี น flip chart เพือ่ เตรยี มนำ� เสนอ 5. การนำ� เสนอแตล่ ะกลุ่ม 6. สรปุ บทเรยี น การประเมินผลกจิ กรรม ประเมนิ จากการนำ� เสนองานหนา้ ชนั้ เรยี น โดยผเู้ รยี นตอ้ งสามารถคดิ วเิ คราะหแ์ ละเชอื่ มโยงบรกิ าร ของระบบนิเวศท่ีเลอื กกบั เนอื้ หาของบทเรยี นได้ การให้คะแนนกำ� หนดคะแนนเต็ม 100 คะแนน แบง่ ย่อย เป็น 4 คะแนนกลมุ่ ยอ่ ย ได้แก่ 31

คะแนนเตม็ 100 คะแนน (จากน้ันคดิ เปน็ 5%) บรกิ ารดา้ นเป็นแหลง่ ผลติ 25 คะแนน บรกิ ารด้านการควบคมุ 25 คะแนน บรกิ ารดา้ นวัฒนธรรม 25 คะแนน บริการด้านเป็นระบบสนบั สนนุ 25 คะแนน ถา้ ผเู้ รยี นสามารถนำ� เสนอบรกิ ารของระบบนเิ วศไดค้ รบทงั้ 4 ดา้ น กจ็ ะไดค้ ะแนนเตม็ 100 คะแนน สรุปกิจกรรม จะเห็นได้ว่าระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมท่ีอยู่รอบตัวเรามีคุณค่าและให้ประโยชน์ต่อการด�ำรงชีวิต ของมนุษย์มากมายหลายประการแตกต่างกันออกไป คุณค่าความส�ำคัญของระบบนิเวศไม่ได้มีแต่เฉพาะ ความสวยงามตามธรรมชาตหิ รอื ประโยชนจ์ ากการพกั ผอ่ นหยอ่ นใจเทา่ นน้ั แตค่ ณุ คา่ ความสำ� คญั ของระบบ นิเวศเหล่านี้เข้าไปเกี่ยวข้องกับปัจจัย 4 ซึ่งเป็นปัจจัยพ้ืนฐานในการด�ำรงชีวิตของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตทั้ง หลาย ดงั น้นั จงึ ควรต้องชว่ ยกันอนรุ ักษแ์ ละรักษาระบบนิเวศเหล่าน้ไี วใ้ หอ้ ยใู่ นสภาพท่ดี ีและให้คงอย่ตู อ่ ไป 32

Module 2 (1): Global Footprint & Material Crisis ภาวะวิกฤตของปัญหาดา้ นทรพั ยากร ชอ่ื บทหรือโมดูล ภาวะวิกฤตของปัญหาด้านทรัพยากร (Global Footprint & Material Crisis) ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ มคี วามตน่ื รแู้ ละตระหนกั เกย่ี วกบั ภาวะวกิ ฤตการขาดแคลนทรพั ยากร ของประเทศ/โลกทม่ี อี ยอู่ ยา่ ง จ�ำกัด รวมท้งั กระตนุ้ ให้เกิดการค�ำนึงถึงการน�ำทรพั ยากรมาใช้ประโยชน์อย่างคมุ้ คา่ และสามารถปรบั ตัว เพอ่ื รับมอื ต่อผลกระทบได้ สาระส�ำคญั รแู้ ละเขา้ ใจถงึ ภาวะวกิ ฤตของปญั หาดา้ นทรพั ยากรทม่ี อี ยอู่ ยา่ งจำ� กดั และนำ� ไปสกู่ ารประเมนิ ความ เสียหายเกิดขึ้นได้จากภาวะวิกฤตการขาดแคลนทรัพยากรเพ่ือหาแนวทางในการจัดการด้านส่ิงแวดล้อม เพ่ือลดภาวะวิกฤตการขาดแคลนทรัพยากรของประเทศ/โลกทมี่ อี ยู่อย่างจ�ำกดั รวมทัง้ การค�ำนึงถงึ การน�ำ ทรัพยากรมาใชป้ ระโยชน์อยา่ งคุม้ ค่า เนื้อหาสาระ ปริมาณและการใช้ทรัพยากรท่ีส�ำคัญของโลกในแต่ละแหล่งทรัพยากรต่างท่ัวโลกพร้อมทั้ง ความหมายของรอยเท้าวัสดุ (Material footprint) ภาวะวิกฤตการขาดแคลนทรัพยากรประเทศ/โลก ที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด (Material crisis) ตัวอย่างกรณีศึกษาในประเทศไทย และแนวทางในการจัดการด้าน สิ่งแวดล้อมเพ่ือลดภาวะวิกฤตการขาดแคลนทรัพยากรของประเทศ/โลกท่ีมีอยู่อย่างจ�ำกัด รวมท้ังการ ค�ำนึงถงึ การน�ำทรพั ยากรมาใชป้ ระโยชนอ์ ย่างคุ้มคา่ 33

กิจกรรมการเรยี นการสอน หวั ขอ้ จำ� นวน กิจกรรม การวดั ผล ส่อื การสอนทใ่ี ช้ นาทที ีใ่ ช้ หรอื เทคนคิ การสอน และประเมินผล 1. ปรมิ าณและการใช้ สไลด์ประกอบ ทรพั ยากรท่ีส�ำคัญของโลก สอน บรรยาย ทำ� Pre-test และ การบรรยาย ในแตล่ ะแหลง่ ทรัพยากร ตา่ งท่ัวโลกพรอ้ มท้งั ความ 35 (ถาม-ตอบ) Post-test หมายของรอยเท้าวสั ดุ 2. ภาวะวกิ ฤตการ บรรยาย ท�ำ Pre-test สไลด์ประกอบ ขาดแคลนทรพั ยากร 20 (ถาม-ตอบ) และ Post-test การบรรยาย ประเทศ/โลกทม่ี ีอยอู่ ยา่ ง จ�ำกดั (Material crisis) กจิ กรรมการการ ท�ำ Pre-test และ สไลดป์ ระกอบการ 3. ตวั อยา่ งกรณศี ึกษาใน ประเทศไทย และแนวทาง หาแนวทางใน Post-test บรรยาย ในการจดั การด้าน ส่ิงแวดลอ้ ม การจดั การด้าน ใบกจิ กรรมท่ี 1 4. สรปุ ภาพรวม สิ่งแวดล้อมเพอ่ื ใบกจิ กรรมท่ี 2 40 ลดภาวะวิกฤต - การท�ำงานกลมุ่ การขาดแคลน - การน�ำเสนอ ทรพั ยากร รายงานกลุม่ -การส่งงานตามที่ มอบหมาย 15 บรรยาย Post-test สไลด์ประกอบการ (ถาม-ตอบ) บรรยาย งานมอบหมาย 1. การอภิปรายความคิดเห็นและเสนอแนวคิด วเิ คราะหแ์ นวทางการแกไ้ ข/บรรเทาวิกฤตการณ์เช้อื เพลงิ ผลิตไฟฟา้ ของไทย 2. การอภิปรายความคิดเห็นและเสนอแนวคิด วิเคราะห์แนวทางการแก้ไข/บรรเทาวิกฤตการณ์การ ขาดแคลนแรธ่ าตุท่ใี ชใ้ นการผลติ โทรศัพทเ์ คลอื่ นที่ (มือถือ) 34

เนอื้ หาการบรรยาย 1. ปริมาณและการใช้ทรัพยากรที่ส�ำคัญของโลกในแต่ละแหล่งทรัพยากรต่างท่ัวโลกพร้อมท้ังความ หมายของรอยเทา้ วสั ดุ (Material footprint) 1.1 ปริมาณและการใชท้ รพั ยากรท่สี �ำคญั ของโลก การเพม่ิ ประชากรอยา่ งรวดเรว็ (Exponential) ทำ� ใหม้ กี ารนำ� ทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใชส้ นองความ ต้องการในการด�ำรงชีวิตมากยิ่งขึ้นทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพ ซึ่งบางคร้ังเกินความจ�ำเป็น จนท�ำให้ ระบบนิเวศตา่ ง ๆ เสียสมดลุ ทรพั ยากรธรรมชาติบางอยา่ งเสื่อมโทรม รอ่ ยหรอหรือเกดิ การเปล่ยี นแปลง จนไมส่ ามารถเออื้ ประโยชนไ์ ดเ้ ชน่ เดมิ ซงึ่ จากการสำ� รวจแหลง่ ของทรพั ยากรของโลก ทส่ี ำ� คญั และกำ� ลงั จะ หมดสน้ิ ลงไป ประกบไปดว้ ย ทรพั ยากรพลงั งาน ทรพั ยากรแรธ่ าตแุ ละโลหะเพอื่ การอตุ สาหกรรม โดยแหลง่ ทคี่ น้ พบทรพั ยากรขน้ึ อยตู่ ามภมู ปิ ระเทศทแ่ี ตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะทวปี ของโลกทมี่ คี วามหลากหลายทงั้ ทาง ดา้ นภมู ศิ าสตรแ์ ละสภาพภมู อิ ากาศของโลก ทงั้ นท้ี รพั ยากรพลงั งานสว่ นใหญจ่ ะอยใู่ นแทบตะวนั ออกกลาง ซงึ่ จะพบว่ามสี ัดสว่ นประมาณน้ำ� มนั มากเปน็ อนั ดบั ต้นของโลก แสดงในรปู ที่ 1 ภาพท่ี 1 ภาพแสดงแหลง่ ทรัพยากรส�ำคัญตามทวีป ทั้งน้ี ประเทศทมี่ ีการผลติ ทรัพยากร เพ่ือการบริโภคตา่ งๆออกสตู่ ลาดโลก อาทิ ขา้ วโพด ยาง ขา้ วสาลี ถัว่ เหลือง อันดบั ตน้ ได้แก่ ประเทศจนี สหรัฐอเมริกา 35

ภาพท่ี 2 ภาพแสดงแหลง่ ทรพั ยากรสำ� คญั ตามประเทศ 1.2 รอยเทา้ วสั ดุ (Material footprint) รอยเท้าวสั ดุ (Material footprint) หมายถึง การวัดปริมาณของของวสั ดทุ ี่สกดั และดึงมาใชต้ าม ความตอ้ งการภายในทอ้ งถิ่น ซง่ึ รอยเทา้ วสั ดุทนี่ �ำมาใชค้ �ำนวณ ประกอบไปดว้ ย ชีวมวล เชือ้ เพลิง แร่โลหะ และแรอ่ โลหะ ซงึ่ มหี นว่ ยของรอยเทา้ วสั ดเุ ปน็ จำ� นวนตอ่ จำ� นวนประชากรซงึ่ จะแสดงใหถ้ งึ คา่ เฉลยี่ ของความ ตอ้ งการสดุ ทา้ ยในใช้วสั ดุน้นั ๆ โดยส่วนใหญพ่ จิ ารณาวัสดเุ พ่อื การอปุ โภคบรโิ ภคเป็นสำ� คัญ ประกอบด้วย วสั ดุ 18 ประเภทหลกั ๆ แสดงในรปู ท่ี 3 ภาพที่ 3 วัสดุทีใ่ ช้พจิ ารณารอยเทา้ วัสดุ (Material footprint) 36

2. ภาวะวิกฤตการขาดแคลนทรัพยากรประเทศ/โลกทีม่ ีอยอู่ ยา่ งจ�ำกดั 2.1 วิกฤตการณ์ทางวัสดุ (Material crisis) หมายถงึ การขาดแคลนวสั ดดุ บิ (Raw Materials) เชน่ นำ้� มนั ดบิ กา๊ ซธรรมชาติ เหลก็ ถา่ นหนิ ทองคำ� ท่ีใช้เป็นส่วนผสมหลักในการผลิตภัณฑ์นั้นๆ ซึ่งการขาดแคลนวิกฤตการณ์ทางวัสดุ ส่งผลให้ประชาชนได้ รบั ผลกระทบ โดยการขาดแคลนน้ันอาจมาจากการเพ่ิมข้นึ ของประชากรอยา่ งรวดเร็ว ท�ำให้วัสดุดบิ ทีม่ ีอยู่ อย่างจำ� กดั เป็นท่ีต้องการอยา่ งมากตามจ�ำนวนของประชากรทีเ่ พิ่มขึน้ (Tansontia, 2563) ขอ้ มลู ประเมนิ คาดการณร์ ะยะเวลาปรมิ าณทรพั ยากรธรรมชาตทิ วั่ โลกจะถกู ใชจ้ นหมด จากปี 2553 (Stouthuysen, 2020) พบว่า แรธ่ าตุเพอ่ื การใช้ในการผลติ พลังงานและการอุตสาหกรรมสำ� คญั อาทเิ ชน่ แรพ่ ลวง แรต่ ะก่วั ฮเี ล่ยี ม สังกะสี เงิน และทอง จะถกู ใช้หมดในปี 2583จากการคาดการณ์หากประชากร โลกยังคงใช้ในอตั ราการเพม่ิ ขน้ึ ตามอัตราการเจริญเติบโตของจำ� นวนประชากร แต่หากการบรโิ ภคคงที่จะ ท�ำใหเ้ พม่ิ ระยะเวลาการใช้ทรัพยากรจนหมดลงไปไดโ้ ดยประมาณ 5ปี เทา่ นน้ั แสดงตามรปู ท่ี 4 ภาพท่ี 4 คาดการณร์ ะยะเวลาปรมิ าณทรพั ยากรธรรมชาติท่วั โลกจะถูกใชจ้ นหมด, (Stouthuysen, 2020) 2.2 สาเหตุทีท่ �ำให้เกิดภาวะวิกฤตของปญั หา สาเหตุพ้ืนฐานของปัญหาวิกฤติการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประทศ/โลก ในปัจจุบัน คือ 37

1) การเพมิ่ ของจำ� นวนประชากรของประเทศ/โลก ในปจั จบุ นั ประชากรโลกมีประมาณ 6,314 ล้าน คน (พ.ศ. 2546) จงึ เปน็ สาเหตุโดยตรงทำ� ให้เกดิ การสญู เสยี ในทรัพยากรธรรมชาติอย่างรวดเร็ว และเกิด มลพิษของสง่ิ แวดล้อมตา่ งๆ ตามมา สรุปไดด้ งั นีอ้ ัตราการเพม่ิ ของประชากร ประเทศท่ีพฒั นาแล่วมอี ัตรา การเพ่ิมของประชากรค่อนข้างต่�ำเฉลี่ยร้อยละ 0.1 ต่อปี ส่วนประเทศท่ีก�ำลังพัฒนามีอัตราการเพ่ิมของ ประชากรอยใู่ นเกณฑส์ งู เฉลยี่ รอ้ นละ 1.5 ตอ่ ปี การเพมิ่ ของจำ� นวนประชากรในชนบท ทำ� ใหผ้ คู้ นในชนบท อพยพเขา้ มาหางานทำ� ในเมอื งเกดิ การขยายตวั ของชมุ ชนเมอื งอยา่ งรวดเรว็ และยง่ิ มกี ารนำ� เทคโนโลยมี าใช้ ในการผลิตภาคอตุ สาหกรรมมากขึน้ ก็ยง่ิ สง่ ผลให้เกิดปญั หามลพษิ ของสิง่ แวดลอ้ มตา่ ง ๆ ตามมา การเพิม่ ของจำ� นวนประชากรสง่ ผลใหเ้ กดิ การแปรรปู ทรพั ยากรธรรมชาตเิ พอ่ื นำ� มาใชป้ ระโยชนส์ นองความตอ้ งการ ของประชาชนมากยงิ่ ขนึ้ มกี ารบกุ รกุ พน้ื ทปี่ า่ ไมเ้ พอ่ื นำ� มาใชเ้ ปน็ พนื้ ทเ่ี กษตรกรรม เชน่ พน้ื ทปี่ า่ ลมุ่ แมน่ ำ้� อะ เมซอน (Amazon) ในทวปี อเมรกิ าใต้ ซึ่งทำ� ใหท้ ่ัวโลกหวั่นวติ กวา่ จะเปน็ การสูญเสยี พื้นที่ปอดของโลก 2) ผลกระทบจากการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี ในปจั จบุ ันมีการน�ำเทคโนโลยที ีท่ ันสมัยมาใช้ใน การผลติ ด้านต่าง ๆ อย่างกว้างขวางทัง้ ในภาคเกษตรกรรม อตุ สาหกรรมและบรกิ าร แต่ถา้ นำ� เทคโนโลยี ไปใช้อย่างไม่เหมาะสม อาจส่งผลกระทบท�ำให้เกิดการสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ มไดด้ ัง เช่น การสำ� รวจ ขดุ เจาะ หรอื ขนสง่ น้ำ� มนั ดิบจากแหล่งขุดเจาะในทะเลโดยทางเรือ บรรทกุ น้ำ� ทัน อาจเกดิ อุบัติเหตทุ �ำให้นำ�้ มนั ร่ัวไหลมีคราบน้�ำมันปนเปอ้ื นบริเวณพน้ื ผวิ น�้ำ เป็นอันตรายต่อ สง่ิ มีชีวิตในทะเล และทำ� ให้ระบบนิเวศของท้องทะเลต้องเสยี ความสมดุลไป การสร้างเขอื่ นและอ่างเกบ็ น้�ำ ขนาดใหญ่ ทำ� ใหส้ ญู เสยี พน้ื ท่ปี ่าไมจ้ ำ� นวนมาก การต้ังโรงงานอตุ สาหกรรมอยา่ งหนาแนน่ ทำ� ให้เกิดมลพิษ ทางอากาศ เสยี ง และแหล่งนำ้� ตามธรรมชาติ เปน็ ต้น 3) ผลกระทบจากการระบบเศรษฐกจิ ระบบเศรษฐกจิ ตอ้ งเผชญิ กบั ความเสยี่ งดา้ นอปุ ทานจากการ ขาดแคลนวตั ถดุ บิ ในการผลติ และปญั หามลภาวะของสง่ิ แวดลอ้ ม ทำ� ให้แนวคดิ ระบบเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น หรอื Circular Economy ถกู กลา่ วถงึ อกี ครง้ั จากทงั้ องคก์ รระหวา่ งประเทศ รฐั บาล และกลมุ่ ธรุ กจิ รายใหญ่ เนอ่ื งจากระบบเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น ไดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั ประสทิ ธภิ าพของการจดั การของเสยี จากการผลติ และบริโภค ด้วยการน�ำวัตถุดิบท่ีผ่านการผลิตและบริโภคแล้วเข้าสู่กระบวนการผลิตใหม่ (re-material) และสนับสนุนการใช้ซ�้ำ (reuse) ซึ่งต่างจาก Linear Economy ในปัจจุบันท่ีให้ความส�ำคัญกับการเพิ่ม ก�ำไรของระบบเศรษฐกิจให้มากท่ีสดุ เทา่ นัน้ (Tansontia, 2563) 2.3 สถานการณ์การใช้และการชาดแคลนวัสดุชนดิ ตา่ งๆ จากการประมาณการปรมิ าณวสั ดทุ สี่ ามารถสำ� รวจได้ และอตั ราการผลติ และบรโิ ภค ทำ� ใหส้ ามารถ คาดการณป์ ที ่ีทรพั ยากรเหลา่ น้จี ะหมดสิ้นไป แสดงตามรปู ที่ 5 38

ภาพท่ี 5 คาดการณ์ระยะเวลาปรมิ าณทรพั ยากรธรรมชาติท่วั โลกจะถูกใช้จนหมด 3. ตวั อยา่ งกรณศี กึ ษา 3.1 กรณศี กึ ษาไฟฟ้าของไทย 1) อัตราการใชไ้ ฟฟา้ ท่เี พม่ิ ข้นึ ทกุ ปีความตอ้ งการพลงั ไฟฟ้าของประเทศไทย ในปี 2552 และ 2560 มีแนวโนม้ ท้ังเพม่ิ ขน้ึ และลดลง ภาพที่ 6 ความตอ้ งการพลังงานไฟฟ้าสูงสุด 39

2) เชื้อเพลงิ ในการผลิตไฟฟา้ ของไทย (1) กา๊ ซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติ เป็นพลังงานปิโตรเลียมชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยก๊าซหลายอย่าง เช่น มีเทน อีเทน โพรเพน บวิ เทน ฯลฯ แตโ่ ดยทั่วไปจะประกอบด้วยกา๊ ซมเี ทนถึงรอ้ ยละ 70 ขึ้นไป ซึง่ กา๊ ซมีเทนสามารถ นำ� มาใช้เป็นเชอ้ื เพลิงส�ำหรับผลติ กระแสไฟฟา้ นอกจากน้ี ก๊าซเหล่านี้ยังอาจประกอบด้วยก๊าซอน่ื ๆ อาทิ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ ไนโตรเจน และน้�ำ เป็นตน้ สารประกอบเหลา่ น้สี ามารถแยก ออกจากกนั ได้ โดยนำ� มาผา่ นกระบวนการแยกท่ีโรงแยกก๊าซธรรมชาติ กา๊ ซที่ได้แต่ละตวั จึงสามารถนำ� ไป ใช้ประโยชนต์ ่อเน่ืองไดอ้ ีกมากมาย เชน่ ใชเ้ ปน็ เชอ้ื เพลงิ ในรถยนต์ ใช้เปน็ วัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี หรอื ใช้เป็นเชอื้ เพลิงในครวั เรือนได้ เปน็ ตน้ (2) ถ่านหิน ถ่านหิน คอื หินตะกอนชนดิ หน่ึง และเป็นแร่เช้อื เพลิงสามารถตดิ ไฟได้ มีสีน้�ำตาลอ่อนจนถึงสดี ำ� มี ทงั้ ชนดิ ผวิ มนั และผวิ ดา้ น นำ�้ หนกั เบา ถา่ นหนิ ประกอบดว้ ย ธาตทุ สี่ ำ� คญั 4 ชนดิ ไดแ้ ก่ คารบ์ อน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และออกซเิ จน นอกจากนน้ั มธี าตุ หรอื สารอน่ื เชน่ กำ� มะถนั เจอื ปนเลก็ นอ้ ย ถา่ นหนิ ทมี่ จี ำ� นวน คารบ์ อนสงู และมธี าตุอ่นื ๆ ต�ำ่ เม่ือน�ำมาเผาจะใหค้ วามร้อนมาก ถอื ว่าเป็นถา่ นหนิ คณุ ภาพดี ซึง่ สามารถ แยกประเภทตามลำ� ดบั ชน้ั ได้ ดงั น้ี - พีต (Peat) เปน็ ขั้นแรกในกระบวนการเกิดถ่านหนิ ในระดับต่�ำสุด ประกอบด้วยซากพืชซึ่งบาง สว่ นไดส้ ลายตัวไปแลว้ มีปริมาณคารบ์ อนตำ�่ ประมาณร้อยละ 50-60 มปี รมิ าณออกซเิ จน และความช้นื สูง แตส่ ามารถใชเ้ ปน็ เชอื้ เพลิงได้ - ลิกไนต์ (Lignite) มีซากพชื หลงเหลืออยู่เลก็ น้อย มีปริมาณคารบ์ อนร้อยละ 60-75 มีออกซเิ จน คอ่ นข้างสงู และมคี วามช้ืนสูงถึงรอ้ ยละ 30-70 เมอ่ื ติดไฟมีควนั และเถ้าถ่านมาก เป็นถา่ นหนิ ท่ใี ชเ้ ปน็ เชอื้ เพลิงสำ� หรับผลิตกระแสไฟฟ้า 40

- ซบั บทิ มู นิ สั (Sub bituminous) มสี ดี ำ� เปน็ เชอ้ื เพลงิ ทม่ี คี ณุ ภาพเหมาะสมในการผลติ กระแสไฟฟา้ มีความชืน้ ประมาณรอ้ ยละ 25-30 มีปรมิ าณคาร์บอนสงู กว่าลกิ ไนต์ เป็นเชือ้ เพลิงทีม่ คี ุณภาพเหมาะสมใน การผลติ กระแสไฟฟา้ และงานอตุ สาหกรรม - บิทมู นิ สั (Bituminous) เป็นถ่านหนิ เนื้อแนน่ แข็ง และมกั จะประกอบด้วยช้นั ถา่ นหนิ สดี ำ� สนทิ เป็นมันวาว เป็นถ่านหินคุณภาพสูง มปี รมิ าณคารบ์ อนรอ้ ยละ 80-90 ให้คา่ ความรอ้ นสูง มปี รมิ าณข้เี ถ้า และก�ำมะถันในระดับต่�ำ เหมาะส�ำหรับใช้เป็นถ่านหินเพ่ือการถลุงโลหะ และนิยมใช้เป็นเชื้อเพลิงในการ ผลิตกระแสไฟฟา้ - แอนทราไซต์ (Anthracite) ถา่ นหนิ ทม่ี ีลกั ษณะดำ� เป็นเงามนั วาวมาก มรี อยแตกเว้าแบบกน้ หอย มีปริมาณคาร์บอนสงู ถึงรอ้ ยละ 90-98 ความช้ืนต่ำ� ประมาณร้อยละ 2-5 มีคา่ ความรอ้ นสูง แตต่ ิดไฟยาก เมื่อติดไฟจะให้เปลวไฟสนี �้ำเงิน ไม่มคี วัน ใช้เปน็ เชอื้ เพลงิ ในอุตสาหกรรมตา่ งๆ แหลง่ ถา่ นหนิ ในประเทศไทยพบกระจายอยทู่ วั่ ทกุ ภาคของประเทศ แตส่ ว่ นใหญอ่ ยใู่ นเขตภาคเหนอื ปจั จบุ นั มีพื้นทผ่ี ลิตถ่านหนิ ทั้งหมด 27 แอง่ โดยถ่านหินสว่ นใหญท่ พ่ี บ 99% มคี ณุ ภาพอยใู่ นข้ันลกิ ไนต์ และซบั บิ ทมู ินัส ซง่ึ ใหค้ วามรอ้ นไม่สูงนัก (3) พลงั งานทดแทนอื่นๆ ส�ำหรบั พลังงานทดแทนพลังงานหลกั (Core energy) ท่ีเรานำ� ใช้ในการผลติ ไฟฟา้ ได้แก่ พลงั งาน น้ำ� พลงั งานแสงอาทติ ย์ พลงั งานลม พลังความรอ้ นใตพ้ ิภพ พลังงานเคมีจากไฮโดรเจน พลงั งานชีวมวล และพลังงานชีวภาพ เปน็ ต้น อยา่ งไรก็ตาม การใชพ้ ลงั งานทดแทนในประเทศไทย ยงั ไม่สามารถน�ำมาใช้ ประโยชนใ์ นเชงิ พาณชิ ยไ์ ดอ้ ยา่ งเตม็ ที่ เนอื่ งจากพลงั งานทดแทนดงั กลา่ วมลี กั ษณะกระจายอยตู่ ามธรรมชาติ และไม่มีความสม่�ำเสมอ ดังน้ัน การลงทุนเพื่อน�ำมาใช้ประโยชน์ในการผลิตไฟฟ้าจึงสูงกว่าการใช้น�้ำมัน ถ่านหนิ ฯลฯ (4) นำ�้ มนั เตา สำ� หรับการผลิตไฟฟา้ จะใชน้ ้ำ� มันเตา และน�้ำมันดีเซล ส�ำหรับใชใ้ นเตาเผา หรอื ต้ม น้�ำในหม้อไอนำ�้ (บอยเลอร)์ เพ่อื ผลิตกระแสไฟฟ้า (5) นำ้� มันดเี ซล สำ� หรบั การผลิตไฟฟ้า จะใช้นำ�้ มันเตา และน้�ำมนั ดีเซล สำ� หรับใชใ้ นเตาเผา หรอื ต้มนำ้� ในหม้อไอน้�ำ (บอยเลอร์) เพอ่ื ผลิตกระแสไฟฟา้ (6) น�ำเข้าจากเพื่อนบ้าน ประเทศไทยมีการน�ำเข้าถ่านหินจากต่างประเทศ เนื่องจากถ่านหินใน ประเทศไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ โดยส่วนใหญ่น�ำเข้ามาจากประเทศออสเตรเลีย อินโดนีเซีย จีน เวียดนาม พม่า และลาว และส่วนใหญ่เป็นการน�ำเข้าถ่านหินบิทูมินัส เพ่ือใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าถึง นอกน้ันจะน�ำไปใช้ในด้านอื่นๆ เช่น การบ่มใบยาสูบ อุตสาหกรรมปูนขาว กระดาษ เส้นใย และอาหาร เปน็ ตน้ รปู ท่ี 7 41

ภาพท่ี 7 สัดส่วนของเช้ือเพลงิ ในการผลติ ไฟฟา้ ของไทย 3) สถานการณ์พลังงานไฟฟา้ ในประเทศไทย ไฟฟ้านับเป็นปัจจัยท่ีสาคัญในการด�ำเนินชีวิตและการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ในช่วงท่ีผ่าน มาความตอ้ งการไฟฟา้ ของไทยเพิม่ ขึ้นอยา่ งต่อเนือ่ ง ท�ำใหเ้ กิดความกังวลว่าไฟฟ้าจะมีเพียงพอเพือ่ รองรบั กับการเตบิ โตทางเศรษฐกิจหรือไม่ ผลการศกึ ษานพี้ บวา่ ในปี 2579 พลงั งานไฟฟ้ายังมคี วามเพียงพอ และ มีราคาอยู่ในระดับที่เหมาะสม อย่างไรก็ตาม ยังมีความเส่ียงจากความไม่แน่นอนในด้านเชื้อเพลิงความ สามารถในการสร้างโรงไฟฟ้าและซื้อพลังงานไฟฟ้าได้ตามก�ำหนด ความต้องการไฟฟ้าในอนาคตที่มีแนว โน้มเพิ่มขึ้น รวมทั้งความสามารถในการพัฒนาและเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้ไฟฟ้า ซึ่งภาครัฐมีบทบาทใน การลดความเสย่ี งไดใ้ นหลายแนวทาง คอื สรา้ งความชดั เจนถงึ การเพม่ิ สดั สว่ นการใชเ้ ชอ้ื เพลงิ กา๊ ซธรรมชาติ ในการผลติ ไฟฟา้ ในอนาคต สรา้ งความเชอ่ื มนั่ ใหป้ ระชาชนผา่ นกระบวนการทโี่ ปรง่ ใส และผลกั ดนั การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งจรงิ จงั และกำ� กบั การผลติ ไฟฟา้ ใหเ้ ปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มเพอ่ื ใหป้ ระเทศไทย มพี ลังงานไฟฟา้ ท่เี พยี งพอ ในราคาที่เหมาะสม และมีความย่ังยืนในระยะยาวต้องชว่ ยกนั ประหยดั ไฟฟา้ ให้ ได้มากทสี่ ดุ จะชว่ ยประหยดั การใชท้ รพั ยากรท่ใี ชห้ มดไปไดม้ าก 4) วิธกี ารอนรุ กั ษ์พลงั งาน - การใชพ้ ลงั งานอย่างประหยัดและคุม้ ค่าโดยการสร้างคา่ นิยมและจติ ใตส้ �ำนึกการใช้พลังงาน - การใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่าจะต้องมีการวางแผนและควบคุมการใช้อย่างเต็มประสิทธิภาพและ เกิดประโยชน์สงู สดุ มกี ารลดการสญู เสียพลังงานทกุ ข้นั ตอน มกี ารตรวจสอบและดแู ลการใชเ้ คร่ืองใช้ไฟฟา้ ตลอดเวลา เพ่ือลดการรว่ั ไหลของพลังงาน เป็นตน้ - การใช้พลังงานทดแทนโดยเฉพาะพลังงานทีไ่ ดจ้ ากธรรมชาติ เชน่ พลังงานแสงอาทติ ย์ พลังงาน ลม พลังงานน�้ำ และอื่น ๆ 42

- การเลือกใช้เคร่ืองมือและอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูง เช่น เคร่ืองใช้ไฟฟ้าเบอร์ 5 หลอดผอม ประหยัดไฟ เป็นต้น - การเพ่ิมประสิทธิภาพเชื้อเพลิง เช่น การเปล่ียนแปลงโครงสร้างท�ำให้เชื้อเพลิงให้พลังงานได้ มากขน้ึ - การหมนุ เวยี นกลบั มาใชใ้ หม่ โดยการนำ� วสั ดทุ ชี่ ำ� รดุ นำ� มาซอ่ มใชใ้ หม่ การลดการทงิ้ ขยะทไี่ มจ่ ำ� เปน็ หรอื การหมุนเวียนกลับมาผลิตใหม่ (Recycle) 3.2 กรณศี กึ ษาโทรศัพท์มอื ถอื และแบตเตอรี่ 1) ความหมายโทรศพั ท์มือถอื โทรศัพท์มือถือ ถือว่าเป็นนวัตกรรมท่ีใช้ในชีวิตประจ�ำวันของมนุษย์ในปัจจุบัน โดยส่วนประกอบ หลักของมือถือคือแบตเตอรี่และในแบตเตอรี่ก็มีแร่ธาตุท่ีสำ� คัญคือลิเทียม ซึ่งเป็นแร่หลักท่ีใช้ในแบตเตอร่ี แร่ลเิ ทียมถือว่าเปน็ แรท่ หี่ ายาก เม่ือใชห้ มดไปแล้วไม่สามารถเกดิ ขึ้นใหม่ได้ ดงั นั้นจงึ จำ� เปน็ ทีจ่ ะต้องมีการ รีไซเคิลแร่ลิเทยี มเพ่อื ยดื อายุการใชง้ านให้นานได้ 2) ส่วนประกอบของโทรศัพทม์ อื ถือ (1) ตวั เครอื่ ง ประกอบดว้ ย แผงวงจร (โลหะมคี า่ และสารอนั ตรายหลายชนดิ ไดแ้ ก่ ทองแดง ทองคำ� สารหนู พลวง เบอรลิ เลยี ม สารทนไฟฟา้ ทกี่ ำ� หนดทท่ี ำ� จากโบรมนี แคดเมยี ม ตะกว่ั นกิ เกลิ พาลาเดยี ม เงนิ แทนทาลมั และสังกะสี) จอผลกึ เหลว (Liquid Crystal Display: LCD สว่ นประกอบของผลึกมีหลายชนิด และมรี ะดบั ความเปน็ อนั ตรายทแี่ ตกตา่ งกนั ) ไมโครโฟน (มขี นาดเลก็ มากแตก่ ม็ สี ว่ นประกอบของโลหะหนกั ) หนา้ กากหรอื สว่ นหอ่ หมุ้ ของโทรศพั ท(์ ทำ� จากพลาสตกิ ทเี่ ปน็ โพลคี ารบ์ อนต หรอื เอบเี อส หรอื เปน็ สว่ นผสม ของสารทง้ั สองชนิด) แผน่ ปมุ่ กด และตัวน�ำสญั ญาณ (2) เครอ่ื งแปลงแรงดันไฟฟา้ เพ่อื ใช้อดั ไฟแบตเตอร่ี พบวา่ มีสว่ นประกอบหลักเปน็ ลวดทองแดงทีม่ ี พลาสตกิ หมุ้ และสว่ นประกอบหลกั เปน็ ลวดทองแดงทมี่ พี ลาสตกิ หมุ้ และสว่ นประกอบอน่ื ๆในปรมิ าณเลก็ น้อยคือ ทองคำ� แคดเมียม และตวั ทนไฟ (3) แหลง่ พลงั งานแบตเตอร่ื ซงึ่ โดยทว่ั ไปจะเปน็ แบบทส่ี มารถอดั เกบ็ ประจใุ หมไ่ ด้ เขน่ ชนดิ นกิ เคลิ - แดดเมยี ม (N-Cd) นกิ เกลิ -เหล็ก (N:F) และชนิดนิกเกลิ โลกะไฮไดรด์ (Ni-MH) จนมาถงึ รุน่ ปัจจบุ นั ซง่ึ นิยม ใช้แบตตอรีช่ นดิ ลิเทยี ม-ไอออน (Li-ion) ซ่ึงสมารถประจไุ ฟฟา้ ได้มากกวา่ และสมารถขารไ์ ฟไดใ้ นขณะท่ยี งั มไี ฟอยู่ แตใ่ นบางรุน่ กย็ ังมีราคาสงู 3) ปรมิ าณการซ้ือโทรศัพท์มือถอื ใช้ในประเทศไทย อตั ราการใชง้ านของโทรศทั พใ์ นประเทศไทยไดเ้ พม่ิ สงู มาก กอ่ นปื 2546 มกี ารจดทะเบยี นหมายเลข ท้งั สิน้ 18 ล้านหมายเลข แตใ่ นปี 2553 มจี ำ� นวนเพ่มิ ขน้ึ มากกวา่ 40 ล้านหมายเลข (รปู ท่ี 8 ) 43

ภาพท่ี 8 แสดงปริมาณการจดทะเบียนของโทรศัพท์มอื ถอื จากสถติ กิ ารนำ� เขา้ ของศลุ กากร พบวา่ แบตเตอรช่ื นดิ นกิ เคลิ -แดดเมยี ม นกิ เกลิ -เหลก็ และลเิ ทยี มมี ปริมาณการนำ� เข้า ในปี 2547 จ�ำนวน16,557,253 กอ้ น ในปี 2552 จำ� นวน 16631,267ก้อน ซ่ึงแบตเตอร่ี ชนิดลเิ ทียมมปี ริมาณการน�ำเข้าเพมิ่ ขึน้ สว่ นแบตเตอรี่ชนิดนกิ เกลิ -แคดเมยี ม และนิกเคลิ -เหล็ก มีปรมิ าณ การน�ำเข้าลดลงอยา่ งต่อเน่อื ง (รูปท่ี 9 ) ภาพท่ี 9 แสดงปริมาณการการนำ� เขา้ แบตเตอรีม่ ือถอื 44

4) ปรมิ าณขยะท่เี กดิ ข้ึนจากโทรศัพทม์ อื ถือ ปริมาณสะสม จากปริมาณการใช้งานของโทรศัพทม์ อื ถอื ท่ีเพิ่มสงู ขนึ้ สามารถพิจารณาอายุและพฤตกิ รรมการใช้ งานจะคาดไดว้ ่าปริมาณชากโทรศัพทม์ ือถือในปี 2557 จะมมี ากกว่า 10 ล้านเคร่ือง 5) แนวทางการจดั การซากโทรศัพท์มอื ถือและแบตเตอรี่ (1) การป้องกนั และลดการเกิดซากซากโทรศัพทม์ อื ถือและแบตเตอรี่ - ผผู้ ลิต พัฒนาผลิตภัณฑใ์ หใ้ ชส้ ารอนั ตรายนอ้ ยทส่ี ดุ และออกแบบให้สามารถรีไซเคิลได้งา่ ย - เลอื กซอ้ื เลอื กใชผ้ ลติ ภณั ฑท์ มี่ คี ณุ ภาพ ไดม้ าตรฐาน เพอื่ ยดื อายกุ ารใชง้ าน ลดการกลายเปน็ ซากฯ เลี่ยงการใช้ผลิตภัณฑท์ มี่ ีสารอันตรายเปน็ ส่วนประกอบ - ใชอ้ ย่างคุม้ คา่ เลือกซ้อื รนุ่ ทเ่ี หมาะสมกบั การใชง้ าน ใชอ้ ย่างระมดั ระวงั ดแู ลรักษาตามค่มู อื การ ใช้งาน ซอ่ มแซม หรอื ให้ผอู้ ืน่ ใช้ตอ่ กอ่ นจะทิง้ เปน็ ซากฯ (2) การแยกทิง้ - ไม่ทิง้ ซากฯ ปะปนกับขยะทัว่ ไป ไม่ถอดแยก ไมน่ �ำซากฯ ไปเผาหรอื ฝังดนิ หรอื ทิง้ ลงในแหลง่ น้�ำ - ทงิ้ ซากฯ ตามสถานทหี่ รอื ตามเวลาทกี่ ำ� หนด นำ� ซากไปทง้ิ ยงั สถานทหี่ รอื จดุ รบั ทง้ิ ทหี่ นว่ ยงานทอ้ ง ถิน่ ผ้ผู ลิต หรือผใู้ ห้บรกิ ารเครือข่ายโทรศัพทม์ ือถือจดั ไว้ให้ หรอื ท้ิงใหก้ ับหนว่ ยงานท้องถิ่นในเขตของท่าน ตามวนั เวลาทก่ี �ำหนดสำ� หรับการทิง้ ของเสยี อันตรายชุมชน (3) การรีไซเคิล การหมนุ เวยี นซากแบตเตอรก่ี ลบั มาแปรรปู ใชใ้ หม่ เนอ่ื งจากแบตเตอรขี่ องโทรศพั ทม์ อื ถอื นมี้ โี ลหะมี คา่ เปน็ สว่ นประกอบจงึ มคี วามคมุ้ คา่ ทจี่ ะสามารถนำ� มารไี ซเคลิ ได้ กระบวนการในการรไี ซเคลิ จะนำ� แบตเตอร่ี ไปบดและใสล่ งไปในสารละลายเฉพาะ นำ้� เสยี ทเ่ี กดิ ขนึ้ นำ� ไปปรบั สภาพใหเ้ ปน็ กลาง แยกโลหะหนกั ทมี่ อี อก โดยการใชไ้ ฟฟา้ หรอื วธิ อี นื่ และนำ� โลหะหนกั ทไี่ ดไ้ ปใชใ้ หมส่ ว่ นทเ่ี หลอื นำ� ไปฝงั กลบ หรอื นำ� แบตเตอรไ่ี ปผา่ น กระบวนการถลงุ ในเตาหลอมเพอื่ แยกโลหะมคี า่ กลับมาใช้ใหม่ (4) การบำ� บัดและกำ� จัดซากแบตเตอรี่ ในขน้ั ต้นรวบรวมซากแบตเตอรี่แล้วใหด้ �ำเนนิ การคดั แยกสว่ นทน่ี ำ� กลับมาใชใ้ หม่ไดอ้ อกจากสว่ นท่ี ต้องน�ำไปก�ำจัด และน�ำส่วนท่ีต้องก�ำจัดไปด�ำเนินการปรับเสถียรเพื่อให้สารพิษมีความเสถียรเพิ่มมากข้ึน ไมเ่ กดิ ปฏกิ ริ ยิ าหรอื รวั่ ไหลปนเปอ้ื นและไมล่ ะลายเมอื่ ถกู ชะลา้ งกอ่ นจะนำ� ไปฝงั กลบในสถานทฝี่ งั กลบแบบ ปลอดภยั (Secured Landfill) ซงึ่ ออกแบบใหส้ ามารถปอ้ งกนั มใิ หม้ กี ารรว่ั ไหลของสารพษิ ออกสสู่ งิ่ แวดลอ้ ม โดยใช้วัสดุสังเคราะห์กันซึมหลายชั้นพร้อมระบบเก็บรวบรวมน้�ำชะ (Leachate) และระบบตรวจสอบ การร่วั ซึมภายใตก้ ฎระเบียบและมาตรฐานท่กี ำ� หนด 45

ในปจั จบุ นั มผี ปู้ ระกอบการรบั ซากโทรศพั ทม์ อื ถอื และแบตเตอรม่ี าผา่ นกระบวนการรไี ซเคลิ ทมี่ กี าร ควบคมุ มลพิษอยา่ งถูกต้องเพื่อนำ� โลหะมีค่ากลบั มาใช้ใหมอ่ กี ครงั้ โดยส่งออกไปดำ� เนินการในต่างประเทศ ท่ีมเี ทคโนโลยชี ัน้ สูง (รูปที่ 10) ภาพท่ี 10 การจัดการซาก แบตเตอรม่ี ือถือ 5. แนวทางในการจดั การดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มเพอ่ื ลดภาวะวกิ ฤตการขาดแคลนทรพั ยากรของประเทศ/ โลกทีม่ ีอยู่อย่างจ�ำกดั รวมทงั้ การค�ำนงึ ถงึ การน�ำทรพั ยากรมาใชป้ ระโยชน์อย่างคุม้ คา่ แนวทางการจัดการดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มแบ่งไดเ้ ป็น 2 แนวทางไดแ้ ก่ แนวทางจัดการทางตรง 1) การใช้อย่างประหยัด ใชเ้ ทา่ ท่ีมีความจ�ำเป็น 2) การน�ำกลับมาใช้ซำ้� อีก ใชซ้ ำ�้ 3) การบูรณซอ่ มแซม 4) การบ�ำบัดและการฟ้นื ฟู 5) การใช้ส่งิ อื่นทดแทน 6) การเฝ้าระวงั ดูแลและปอ้ งกนั แนวทางการจัดการทางอ้อม 1) การพฒั นาคณุ ภาพประชาชน โดนสนบั สนนุ การศกึ ษาดา้ นการอนรุ กั ษท์ รพั ยกรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มท่ีถูกตอ้ งตามหลกั วิชา 2) การใช้มาตรการทางสังคมและกฎหมาย การจัดต้ังกลมุ่ ชมุ ชน ชมรม สมาคม 3) สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนในทอ้ งถน่ิ ไดม้ สี ว่ นรว่ มในการอนรุ กั ษ์ ชว่ ยกนั ดแู ลรกั ษาใหค้ งสภาพเดมิ 4) สง่ เสรมิ การศกึ ษาวจิ ยั คน้ หาวิธกี ารและพฒั นาเทคโนโลยี ใหเ้ กดิ ประโยชน์ 5) การก�ำหนดนโยบายและวางแนวทางของรัฐบาล 46

ใบกิจกรรมที่ 1 ชอ่ื โมดลู : โมดูล 2 Global footprint & Material crisis รายวชิ า: …………………………….. รหสั วิชา: …………………………….. ชอื่ กิจกรรม: ใบกิจกรรมที่ : 1 ชือ่ กจิ กรรม: การวเิ คราะหแ์ นวทางการแกไ้ ข/ บรรเทาวกิ ฤตการณ์เชอื้ เพลงิ ผลิตไฟฟ้าของไทย ระยะเวลา: 40 นาที สาระส�ำคญั : จากความต้องการพลังไฟฟ้าของประเทศไทย ในปี 2552 และ2560 มีปริมาณการใช้ไฟฟ้าของ ประเทศไทยได้เพิม่ ขึ้น แต่ในทางกลับกนั ปรมิ าณเชือ้ เพลงิ ส�ำหรับผลิตไฟฟ้าลดลง โดยเฉพาะถ่านหินและ กา๊ ซธรรมชาตกิ ำ� ลงั จะหมดในอกี 30-40 ปี จากวกิ ฤตการณด์ า้ นพลงั งานทเ่ี ราจะตอ้ งเผชญิ การหาแนวทาง จดั การและบรรเทาผลกระทบท่ีจะเกดิ จึงมคี วามสำ� คัญท่ีจะท�ำให้ ผบู้ ริโภคตระหนักถึงความจำ� เป็นในการ ประหยดั การใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ และเปลยี่ นแปลงวธิ กี ารบรโิ ภค ทง้ั ยงั กระตนุ้ ใหเ้ กดิ ความจำ� เปน็ ในการเลอื ก ใชเ้ ช้อื เพลิงอน่ื ทดแทน วตั ถุประสงค์ของการเรียนรู้ 1. ตระหนกั ถงึ วิกฤตกการณ์สภาวะการขาดแคลนเชอื้ เพลิงทใ่ี ชใ้ นการผลิตไฟฟา้ 2. ทราบแนวทางในการปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมเพอื่ ลดการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้า 3. ทราบถงึ ทรพั ยากรทจ่ี ะนำ� มาทดแทนการใชท้ รพั ยากรเชอื้ เพลงิ ในปจั จบุ นั ทก่ี ำ� ลงั จะหมดลงในอกี 20 ปี 4. ไดม้ ีโอกาสแลกเปล่ียนแนวความคดิ กนั อยา่ งกวา้ งขวาง ข้ันตอนการด�ำเนินกิจกรรม 1. ดำ� เนินการจับกลมุ่ เพ่ือทำ� กิจกรรม โดยมจี ำ� นวนสมาชกิ ในกลมุ่ ไมเ่ กินจ�ำนวน 5 คน 2. ด�ำเนนิ การรว่ มอภิปรายเหตกุ ารณว์ ิกฤตการณต์ ามโจทย์ 3. ดำ� เนินการตอบคำ� ถามแสดงตามสไลดค์ ำ� ถามใบกิจกรรมที่ 1 47

หรือ 1. คลกิ ทล่ี งิ คเ์ พอื่ ดำ� เนนิ การเขา้ ไปตอบคำ� ถามในแบบฟอรม์ ทเ่ี ตรยี มไว้ https://forms.gle/w1WcYVQ- jBtn75ExW8 หรือ Scan QR - Code 2. กรอกข้อมูลและค�ำตอบตามในแบบฟอรม์ ทเ่ี ตรยี มไว้ 48

การประเมินผลกจิ กรรม นกั ศกึ ษาสามารถใหค้ ำ� ตอบแนวทางการแกไ้ ข/บรรเทาการขาดแคลนแรธ่ าตทุ ใี่ ชใ้ นการผลติ โทรศพั ท์ เคล่อื นท่ี (มือถอื )เพือ่ น�ำไปสง่ การเรียนรู้ในหัวข้อถัดไปได้ การสรปุ กิจกรรม นกั ศกึ ษาสามารถใหค้ ำ� ตอบแนวทางการแกไ้ ข/บรรเทาการขาดแคลนแรธ่ าตทุ ใี่ ชใ้ นการผลติ โทรศพั ท์ เคล่ือนที่ (มือถือ) เพื่อน�ำไปส่งการเรียนรู้ในหัวข้อถัดไปได้ อภิปรายว่าเหตุใดจึงใช้แนวทางการจัดการดัง กล่าวและเรยี นรู้แนวทางการจัดการใหม่ได้จากผ้รู ่วมเรยี นภายในห้องเช่นเดียวกนั 49

ใบกิจกรรมที่ 2 ช่ือโมดูล: โมดูล 2 Global footprint & Material crisis รายวชิ า: …………………………….. รหัสวชิ า: …………………………….. ชอ่ื กิจกรรม: ใบกิจกรรมที่ : 1 ชอื่ กิจกรรม: การวเิ คราะหแ์ นวทางการแก้ไข/ บรรเทาวิกฤตการณเ์ ชื้อเพลิงผลติ ไฟฟ้าของไทย ระยะเวลา: 40 นาที สาระสำ� คญั : จากแนวโนม้ การผลติ โทรศพั ทเ์ คลอื่ นท่ี (มอื ถอื )ทสี่ งู ขน้ึ ทำ� ใหม้ คี วามตอ้ งการแรธ่ าตสุ ำ� หรบั ผลติ ชนิ้ สว่ นอเิ ลคทรอนคิ สป์ ระกอบภายในโทรศพั ทเ์ คลอื่ นท่ี (มอื ถอื ) ซง่ึ มจี ำ� นวนจำ� กดั และราคาแพง แตเ่ นอ่ื งจาก การแขง่ ขนั ทางธรุ กจิ ทำ� ใหผ้ ผู้ ลติ โทรศพั ทเ์ คลอื่ นที่ (มอื ถอื ) ตอ้ งพฒั นาผลติ ภณั ฑอ์ อกสตู่ ลาดอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพือ่ ตอบสนองการใชง้ านเทคโนโลยีที่กา้ วกระโดดในยุค 5G น้ี ดงั นั้นจึงเกดิ ปญั หาขยะอิเลคทรอนคิ สเ์ กิด ขน้ึ ตามมาและการขาดแคลนทรพั ยากรเพอื่ การผลติ จากปญั หาทเ่ี ราจะตอ้ งเผชญิ จงึ เปน็ เหตใุ หเ้ ราการหา แนวทางจดั การและบรรเทาผลกระทบทจี่ ะเกดิ เพอ่ื ผบู้ รโิ ภคตระหนกั ถงึ ความจำ� เปน็ ในการประหยดั การใช้ ทรพั ยากร และเปลย่ี นแปลงวธิ กี ารบรโิ ภค ทั้งยังกระต้นุ ให้เกิดความจ�ำเปน็ ในการหมุนเวียนทรัพยากรเพอื่ ทดแทน ขน้ั ตอนการดำ� เนนิ กิจกรรม 1. ดำ� เนินการจบั กลุม่ เพื่อท�ำกิจกรรม โดยมจี ำ� นวนสมาชิกในกลุ่ม ไมเ่ กนิ จ�ำนวน 5 คน 2. ด�ำเนนิ การรว่ มอภิปรายเหตุการณว์ ิกฤตการณต์ ามโจทย์ 3. ดำ� เนินการตอบคำ� ถามแสดงตามสไลด์คำ� ถามใบกจิ กรรมที่ 2 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook