Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฟิลิปปินส์-philippines

ฟิลิปปินส์-philippines

Published by E-book Library กศน.ตำบลสำโรง, 2019-04-25 01:11:30

Description: ฟิลิปปินส์-philippines

Search

Read the Text Version

• ลดอตั ราการลาหยดุ ของหวั หน้า ผู้บริหารท้องถน่ิ (LCES) การปฏริ ูปในภาคความม่ันคง • การด�ำเนินการ AFP IPSP • การรักษาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ เพอ่ื การดแู ลพลเรอื นใน CAAs • โครงการภาคประชาสังคมทีน่ �ำไป ส่กู ารตดิ ตาม SSR • มเี ครอ่ื งมือด้านนโยบายท่นี �ำไปสู่ การปฏิรูปและเพ่ิมความช�ำนาญด้าน การรกั ษาความปลอดภัย ทด่ี นิ ของบรรพบรุ ษุ • CADTs ทีอ่ อกให้ IPs เพ่มิ ขน้ึ • LGUs มีการป้องกันการรบกวน จนกวา่ การท�ำเหมอื งแรจ่ ะเขา้ สรู่ ะบบ ใบอนญุ าตในพ้นื ทพ่ี งึ ระวงั ใน IP • ความผิดปกติในปฏิบัติงานตามข้ัน ตอนของ The FPIC ในการเชือ่ มตอ่ กับข้อมลู CP ไดร้ ับการขัดขวาง การส่งเสริมเสถียรภาพและ • ลดจ�ำนวนเหตกุ ารณ์ ความยง่ั ยนื ภายใน และอาชญากรรม • ปรับปรงุ อัตราร้อยละการแก้ปัญหา อาชญากรรมทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ (CSE) 100

• ก�ำจัดภัยจากกลุ่มเอกชนติดอาวุธ (PAGs) และกลุ่มคกุ คามอืน่ ๆ ท่ีเป็นภัย มาตรฐานสูงสุดของความ • การเพม่ิ ของจ�ำนวนอาคารและ สามารถและความพรอ้ มในการ ผกู้ อ่ สรา้ งทม่ี รี ะเบยี บวนิ ยั ในการตดิ ตงั้ ป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รหัสสัญญาณไฟเทียบกับจ�ำนวนรวม และความหายนะทไี่ ด้รับ ของการชักน�ำไปสูก่ ารตรวจจบั • อตั ราสว่ นรอ้ ยละของการตอบสนอง ต่อกรณีฉุกเฉิน/เหตุอัคคีภัยภายใน ระยะเวลาทกี่ �ำหนดเพ่ิมข้ึน • เพิ่มจ�ำนวนการสืบสวนหาสาเหตุ และทมี่ าของอคั คภี ยั ในเวลาทกี่ �ำหนด เทียบกบั จ�ำนวนรวมการตรวจสอบใน การด�ำเนนิ การ • เพ่ิมจ�ำนวนการช่วยเหลือฉุกเฉิน ทางการแพทยแ์ ละอ่นื ๆ ทไี่ ม่ใช่ โทรศัพท์ฉุกเฉินที่ตอบสนองภายใน 10 นาที การปฏิรูปภาคความปลอดภัย • เพม่ิ ความโปรง่ ใสและความรบั ผดิ ชอบ และความทนั สมัย ในการตดิ ตามและความส�ำเรจ็ ของการรกั ษาความปลอดภัย ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ิปปนิ ส์ 101

• เพ่ิมความสามารถในการปรับปรุง พฒั นา กระทรวงยุติธรรม (Department of Justice-DOJ) ยุทธศาสตร์ ภารกจิ การปฎิบตั ิการปกครองที่ • เพมิ่ อตั ราร้อยละดัชนีชี้วัดธรรมา- โปร่งใสและมปี ระสิทธภิ าพ ภิบาลโลก การเจรจาการแกป้ ัญหาทาง • ลดระดับของการต่อสู้ติดอาวุธและ การเมืองของความขัดแย้งใน การใชค้ วามรนุ แรงท่ีเกดิ จากการกอ่ กองทัพทง้ั หมด (OPAPP) กบฏ การละเมิดสทิ ธิมนุษยชน • คดีวิสามัญฆาตกรรม (EJKs) และ การละเมดิ สิทธมิ นุษยชน (HRVs) ได้ รบั การตัดสิน การส่งเสริมเสถียรภาพและ • เพม่ิ อตั รารอ้ ยละการสบื พบความผดิ ความยั่งยนื ภายใน ทางอาญาและการสืบสวนอย่างแน่ว- แน่ • เพ่ิมอัตราร้อยละการแก้ปัญหาการ สบื สวนทางเทคนคิ • เพ่มิ อตั ราร้อยละการแก้ปัญหา เพ่อื การสรปุ สาเหตทุ นี่ า่ จะเปน็ 102

เพิ่มขดี ความสามารถในการ • เพิม่ อตั รารอ้ ยละการแก้ปัญหากรณี รักษาอ�ำนาจอธิปไตยและ การทุจรติ ตรวจคนเข้าเมอื ง บูรณภาพแหง่ ดนิ แดนของรฐั อย่างแนน่ อน • เพ่มิ อตั รารอ้ ยละการแก้ปญั หากรณี การเนรเทศ กระทรวงแรงงานและการจ้างงาน (Department of Labor and Employment-DOLE) ยุทธศาสตร์ ภารกจิ การเตบิ โตของภาพรวมและลด • การปรับปรุงสภาพตลาดแรงงานท่ี ปญั หาความยากจน มเี งือ่ นไขเอือ้ ตอ่ การเจรญิ เติบโต • เพิ่มโปรแกรมการจา้ งงานในชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจ้างงานใน กรณฉี ุกเฉินทมี่ สี ่วนประกอบเพม่ิ ข้ึน • พัฒนาการด�ำรงชีวิตอย่างย่ังยืนใน โอกาสต่างๆ ของผู้ประกอบการเพื่อ พัฒนาแรงงานท่ีมีความเปราะบาง หรือเส่ียง เช่น แรงงานนอกระบบ เยาวชนและสตรี ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟิลปิ ปนิ ส์ 103

• เพ่ิมความสามารถของแรงงานท่ีไม่ เข้มแข็งเพื่ออ�ำนวยความสะดวกใน การรวมกลุ่มตลาดแรงงาน • การคุ้มครองทางสังคมส�ำหรับการ ขยายแรงงานข้ามชาติชาวฟิลิปปินส์ โดยการเข้าไปให้ความคุ้มครองทาง สังคมท่ีมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการป้องกันและการพัฒนา เพื่อรองรับความต้องการขั้นพ้ืนฐาน ใหแ้ กผ่ ้ยู ากจน การจ้างงานท่ีเกดิ จากภาค • เพิ่มขนึ้ 4.67 ลา้ น อุตสาหกรรมและบรกิ ารท่ี เพ่ิมขึ้น ยกระดบั การคมุ้ ครองทางสงั คม • ลดอัตราร้อยละการจ้างงานที่มี เพอื่ การเข้าถงึ การบริการการ ความเสย่ี งจากรอ้ ยละ 41.7 ในปี พ.ศ. คมุ้ ครองทางสังคมที่มคี ณุ ภาพ 2553 • การเพิ่มของจ�ำนวนแรงงาน นอกระบบ คนวา่ งงาน รายไดค้ ่าจ้าง แรงงานข้ันต่�ำ และ OFWs และ ครอบครัวด้วยบริการท่ีสร้างความ สามารถในการด�ำรงชวี ติ 104

เสาหลักท่ี 3 • การเพิ่มจ�ำนวนการจ้างงานใน (PAMANA Pillar 3) ทอ้ งถ่ิน • การเพ่ิมจ�ำนวนงานท่ีสร้างขึ้นใน ภาครฐั ตามโครงการจา้ งงานในชมุ ชน • เริ่มโครงการระดับย่อยในส่วน ภมู ภิ าค กระทรวงกลาโหม (Department of National Defense-DND) ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ การเจรจาการแก้ปัญหาความ • ลดระดบั ของการตอ่ สู้ติดอาวธุ และ ขัดแย้งทางการเมืองในกองทัพ การใช้ความรุนแรงรูปแบบอื่นที่เกิด ทง้ั หมด (OPAPP) จากการก่อกบฏ การละเมดิ สิทธิมนษุ ยชน • คดีวิสามัญฆาตกรรม (EJKs) และ การปฏิรปู ความม่งั คง การละเมิดสิทธมิ นษุ ยชน (HRVs) ได้ รบั การตัดสิน • ด�ำเนินการภายใต้โครงการ AFP IPSP • เพิ่มการดูแลสิทธิมนุษยชน โดย เฉพาะอย่างยิ่งการดูแลพลเรือนใน CAAs ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟิลปิ ปินส์ 105

• ตดิ ตามโครงการภาคประชาสงั คมท่ี น�ำไปสู่โครงการ SSR • เพิ่มจ�ำนวนความช�ำนาญในเครื่อง มือด้านนโยบายท่ีน�ำไปสู่การปฏิรูป การรกั ษาความปลอดภัย การส่งเสริมเสถียรภาพและ • ก�ำจัดภัยจากกลุ่มเอกชนติดอาวุธ ความยัง่ ยนื ภายใน (PAGs) และกล่มุ ภยั คกุ คามอ่นื ๆ • ตดิ ตามกลมุ่ ตดิ อาวธุ ทไี่ มเ่ ปน็ ปญั หา และภยั คกุ คามตอ่ ความมน่ั คงภายใน รัฐ เพม่ิ ขดี ความสามารถทจี่ ะรกั ษา • เพ่มิ ความสมั พันธ์กับพนั ธมติ รและ อ�ำนาจอธปิ ไตยและบูรณภาพ เพอ่ื นบา้ นในการรกั ษาความปลอดภยั แห่งดนิ แดนของรฐั อยา่ ง และการพฒั นาดแู ลการสอ่ื สาร  และ แน่นอน ความสามารถในการยบั ยงั้ อนั ตราย มาตรฐานสูงสุดของความ • เพ่ิมการปฏิบัติการและขีดความ สามารถและความพรอ้ ม สามารถในการรบั ผดิ ชอบตอ่ ภยั พบิ ตั ิ ปอ้ งกันภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ ทีไ่ ด้รบั 106

การปฏิรปู เพอื่ ความปลอดภยั • เพ่ิมความโปร่งใสและความ และความทันสมัย รับผิดชอบในติดตามความส�ำเร็จ การรกั ษาความปลอดภัย • ยกระดับความสามารถในการ ปรับปรงุ การท�ำงานด้านความ ปลอดภัย กระทรวงงานสาธารณะและทางหลวง (Department of Public Works and Highways-DPWH) ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ พัฒนาคุณภาพ ความเพียงพอ • การขนส่งทางบก และความสามารถในการเขา้ ถงึ - เพม่ิ ถนน และสะพาน ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกและ - เพ่มิ พ้นื ที่ ความยาวของถนนและ บริการโครงสรา้ งพน้ื ฐาน ไหลท่ าง เพม่ิ ขน้ึ ทเี่ ออื้ อ�ำนวยตอ่ - เพิ่มความยาวของถนนสายหลัก การขนส่งทางบก ท้งั หมดดว้ ยดชั นคี วามขรุขระ ที่ 3.0 (กิโลเมตร) - เพมิ่ ความยาวถนนคอนกรตี ร้อยละ 93 - เพิ่มอตั ราส่วนร้อยละ 100 ของ ความยาวสะพานถาวรตามแนว ถนนสายหลกั แหง่ ชาติ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 107

• ทรัพยากรทางน้ำ� (Water Resources) สขุ อนามยั ทอ่ ระบายนำ้� และการก�ำจัดของเสยี - เป้าหมายของ MDG: เพม่ิ อัตรา รอ้ ยละของประชากรท่ีมกี ารเขา้ ถงึ สขุ อนามยั ขนั้ พนื้ ฐานเชน่ สขุ ภณั ฑ์ หอ้ งน�้ำ โดยคิดเป็นร้อยละของ ประชากร (MDG) - เพิม่ อตั ราร้อยละของครัวเรือน ในศูนย์กลางเมืองใหญต่ ่างๆ ท่ี เชื่อมต่อกบั ระบบท่อนำ�้ เสยี (ร้อยละของ HH) • การระบายน้ำ� และการบรหิ าร จดั การนำ้� ทว่ ม - ร้อยละการสูญเสียชวี ิตของ ประชากรที่ไดร้ บั ผลกระทบรวม เนอ่ื งจากเหตกุ ารณน์ ำ้� ท่วม (รายปี) ลดลง - ลดพืน้ ท่ีเสี่ยงน�้ำทว่ ม (เฮกตาร์) - ลดระยะเวลานำ�้ ท่วม (ต่อชั่วโมง) ในพ้นื ทนี่ ้ำ� ท่วมในเมืองอยา่ ง ต่อเนื่อง 108

ยกระดบั การคมุ้ ครองทางสงั คม • การเพิ่มของจ�ำนวนงานท่ีสร้างขึ้น เพ่ือการเข้าถึงการบริการการ ในภาครัฐตามโครงการจ้างงานใน คุ้มครองทางสงั คมทมี่ คี ุณภาพ ชมุ ชน เสาหลกั ท่ี 3 • เร่ิมโครงการระดับย่อยในส่วน (PAMANA Pillar 3) ภูมิภาค มลพษิ ทางอากาศในกรงุ มะนลิ า • การลดลงของฝนุ่ ละอองทลี่ อยอยใู่ น และกลางเมอื งส�ำคญั อื่นๆ อากาศ (TSP) ในเขตนครหลวง (NCR) ลดลง และกลางเมืองส�ำคัญๆ ท่ีมีอยู่ใน ระดับสูงกว่า 90 ไมโครกรัม/Ncm (ตามหลกั ของมลพษิ ทางอากาศ: ยาน พาหนะ: ร้อยละ 65) กระทรวงสวสั ดิการสังคมและการพัฒนา (Department of Social Welfare and Development-DSWD) ยุทธศาสตร์ ภารกจิ พัฒนาคุณภาพ ความเพียงพอ • จดั หาทรัพยากรน�้ำ และความสามารถในการเข้าถึง • จดั ท�ำประปา สิ่งอ�ำนวยความสะดวกและ • หลักชัยการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ บริการในโครงสร้างพน้ื ฐาน (MDG) เป้าหมาย: เพิ่มสัดส่วน เพมิ่ ขึน้ ในด้านทรัพยากรน�้ำ ประชากรที่มีการเข้าถึงน้�ำดื่ม (ใน เพอื่ บรโิ ภคและอุปโภค ระดบั ที1่ และ 2) ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ิปปนิ ส์ 109

ยกระดบั การคมุ้ ครองทางสงั คม • การเพ่ิมจ�ำนวนครัวเรือนท่ียากจน เพื่อการเขา้ ถงึ บรกิ ารการ ที่ไดร้ ับการโอนเงินสดตามเง่อื นไข คุ้มครองทางสังคมทมี่ ีคุณภาพ • การเพ่ิมของตวั เลขผสู้ ูงอายยุ ากจน ที่ได้รับการคุ้มครองโดยเงินบ�ำนาญ สงั คม (กฎหมายของพลเมืองอาวุโส) การแทนทภี่ ายใน • จดั ท�ำโครงการภายในเพอื่ ผพู้ ลดั ถน่ิ เสาหลกั PAMANA 2 ภายในประเทศ (IDPs) (PAMANA Pillar 2) • การเพม่ิ ขน้ึ ของครวั เรอื นและชมุ ชน ใน CAAs ท่ีได้รับผลตอบแทนโดย การโอนเงินสดตามตามเงอ่ื นไข และ ชุมชนท่ีขบั เคลอ่ื นการพฒั นา (CDD) ตามโครงการและการด�ำรงชีวิตใน ชุมชน ความสงบสขุ และการอยรู่ ว่ มกนั • โครงสร้างการสร้างสันติภาพ การ ในสงั คม เยียวยา และการเร่ิมกระบวนการ ประนีประนอมหรือการสร้างความ เข้มแข็งในพื้นท่ีท่ีได้รับผลกระทบ จากความขดั แยง้ 110

• การเสริมสร้างศักยภาพบนความ อ่อนไหวและความขัดแย้งเพื่อสร้าง สันติภาพให้กับ LGUs และคู่ค้าใน ทอ้ งถ่ินอ่ืนๆ • โครงการขับเคล่ือนชุมชน CAAs เสร็จสมบรู ณ์ กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Department of Science and Technology-DOST) ยุทธศาสตร์ ภารกจิ พัฒนาคุณภาพ ความเพียงพอ • การพฒั นาคุณภาพทรัพยากร และความสามารถในการเข้าถึง ทางน้ำ� (Water Resources) สิ่งอ�ำนวยความสะดวกและ ให้เพยี งพอตอ่ ความต้องการ บรกิ ารโครงสรา้ งพื้นฐานใน • การดูแลการระบายนำ้� และ ด้านทรพั ยากรน้�ำเพ่มิ ขนึ้ การบรหิ ารจัดในการเกดิ นำ�้ ท่วม (การระบายน�้ำ และการบรหิ าร • ร้อยละการสูญเสียชีวติ ของ จดั การน้ำ� ท่วม) ประชากรทไี่ ดร้ บั ผลกระทบโดยรวม เนอื่ งจากเหตกุ ารณน์ ำ้� ทว่ ม (รายป)ี • ลดพ้นื ท่เี ส่ียงน้�ำท่วม (เฮกตาร)์ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟิลปิ ปนิ ส์ 111

กระทรวงการทอ่ งเท่ียว (Department of Tourism-DOT) ยุทธศาสตร์ ภารกจิ การเพิ่มผลติ ภาพ • จ�ำนวนนกั ท่องเท่ียวที่เขา้ มา ภายในประเทศเพ่ิมมากขนึ้ • จ�ำนวนรายรับจากนกั ทอ่ งเทีย่ วท่ี เพม่ิ สงู ข้ึน ยกระดับการคุ้มครองทางสังคม • การเพิ่มจ�ำนวนงานทสี่ ร้างข้ึน เพ่ือ การเข้าถึงการบริการการ ของภาครฐั ในโครงการจ้างงาน คุ้มครองทางสงั คมที่มีคุณภาพ ในชมุ ชน กระทรวงการคมนาคมและการส่อื สาร (Department of Transportation and Communications-DOTC) ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ ยกระดับการคุ้มครองทางสังคม • การเพิ่มจ�ำนวนงานท่ีสร้างข้ึนใน เพื่อการเข้าถึงการบริการการ ภาครัฐตามโครงการจ้างงานใน คมุ้ ครองทางสงั คมทีม่ คี ุณภาพ ชมุ ชน ลดมลพิษทางอากาศในกรุง- • ลดปริมาณของฝุ่นละอองท่ีลอย มะนิลาและใจกลางเมืองส�ำคัญ อยู่ในอากาศ (TSP) ในเขต อ่นื ๆ นครหลวง (NCR) และใจกลางเมอื ง 112

ส�ำคัญๆ ท่ีอยู่ในระดับสูงกว่า 90 ไมโครกรัม/Ncm (ตามหลักของ มลพิษทางอากาศ: ยานพาหนะ: รอ้ ยละ 65) กระทรวงการคา้ และอุตสาหกรรม (Department of Trade and Industry-DTI) ยุทธศาสตร์ ภารกิจ ความส�ำเรจ็ ในเศรษฐกจิ มหภาคท่ี • เพมิ่ ความยดื หยนุ่ ในการสนบั สนนุ มัน่ คง จากบุคคลภายนอก โดย - เพิ่มการสง่ ออกสนิ ค้า (BOP) คิดเปน็ มูลคา่ 109.4 ล้าน ดอลลา่ ร์สหรฐั ภายในปี พ.ศ. 2559 - เพ่ิมการน�ำเขา้ สนิ คา้ (BOP) คิด เปน็ มูลค่า 167.8 ลา้ นดอลลา่ ร์ สหรฐั ภายในปี พ.ศ. 2559 ภาคอุตสาหกรรม บริการ และ • ความสามารถในการแขง่ ขนั และ นวัตกรรมท่ีสามารถแข่งขันได้ใน การจัดอันดับความสามารถในการ ตลาดโลก แข่งขันระดับโลกสัมพันธ์กับการ ด�ำเนนิ งานที่ดขี องภาค อตุ สาหกรรมและการบรกิ าร ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 113

• ข้ึนเป็นอันดับสามของการจัด อันดบั การแขง่ ขันระดบั โลก การจา้ งงานท่ีเกิดจากภาค • เพิม่ ขน้ึ เปน็ 4.67 ล้าน อตุ สาหกรรมและบรกิ ารทเ่ี พม่ิ ขนึ้ ความพึงพอใจของประชาชนและ • รอ้ ยละ 100 ที่ LGUs ระบุอันดับ ธรุ กจิ ที่มตี ่อการบรกิ ารสาธารณะ หน่ึงในสามของการปฏิบัติงานท่ี (รูปแบบท่ลี ดลงท้ังวันทีแ่ ละ ทนั สมัย คอื ประมวลผลข้อมูลเพ่ือ ขัน้ ตอนท่ไี ดร้ บั การปรบั ปรงุ ) การด�ำเนินธุรกิจใหม่หรือน�ำธุรกิจ ทีม่ ีอยู่มาปรับปรงุ พัฒนา ปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มทางธรุ กจิ • ความพงึ พอใจของประชาชนและ ธรุ กิจท่ีมตี ่อการใหบ้ รกิ าร สาธารณะทีด่ ขี ึน้ (การลดรปู แบบ ท้งั วันทีแ่ ละข้ันตอนการท�ำงาน) • การปฏิบัติหน้าท่ีเต็มในการขึ้น ทะเบียนธรุ กิจของฟิลิปปนิ ส์ การเพมิ่ ผลิตภาพ • ได้รับอนุมตั กิ ารลงทุนรวมที่ เพิม่ ขึน้ • เพิ่มมูลคา่ สุทธิ MSME 114

การคุ้มครองสวัสดิภาพของ • เพิ่มระดับการรับรู้ของผู้บริโภค ผบู้ รโิ ภคท่เี พิ่มขนึ้ ดา้ นสทิ ธแิ ละความรบั ผดิ ชอบ รวม ถึงความพึงพอใจด้านคุณภาพ สินค้าและบริการ (การส�ำรวจการ รับรู้ของผู้บริโภคท่ีมีต่อคุณภาพ ของสนิ ค้าและบรกิ าร) พัฒนาคุณภาพ ความเพียงพอ • การลดงบประมาณ และความสามารถในการเขา้ ถงึ สงิ่ • เพิ่มร้อยละค่าใช้จ่ายท้ังหมดใน อ�ำนวยความสะดวกและบริการ โครงสร้างพ้ืนฐานของผลิตภัณฑ์ โครงสร้างพื้นฐานเพิ่มข้ึน (ไฟฟ้า มวลรวมภายในประเทศ (GDP) น้ำ� และถนน) การตอบสนองของ NGAs, GOC- • ติดอันดบั เร่อื งความสะดวกใน Cs และ LGUs เพมิ่ ขนึ้ การท�ำธุรกิจทดี่ ี ยกระดับการคุ้มครองทางสังคม • การเพม่ิ จ�ำนวนงานทส่ี รา้ งข้นึ เพื่อการเข้าถึงการบริการการ ในภาครัฐตามโครงการจ้างงาน ค้มุ ครองทางสังคมท่ีมคี ุณภาพ ในชุมชน เสาหลกั ที่ 3 (PAMANA Pillar 3) • เรม่ิ โครงการระดับยอ่ ย ในสว่ นภูมภิ าค ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ิปปนิ ส์ 115

116

5 .2 AหนSE่วAยNงานหลกั ที่รบั ผดิ ชอบงานทเ่ี ก่ยี วกบั Office of ASEAN Affairs สังกัดกระทรวงต่างประเทศ (Depart- ment of Foreign Affairs) เปน็ ส�ำนกั เลขาธิการอาเซยี นแห่งประเทศ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ท�ำหนา้ ทจี่ ดั และด�ำเนนิ กจิ กรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั อาเซยี นในระดบั ประเทศ ส�ำนักงานอาเซียนเป็นผู้รับผิดชอบต่อการมีส่วนร่วมของฟิลิปปินส์ ในกจิ การอาเซยี น ใหค้ �ำแนะน�ำ นโยบาย และการสนบั สนุนแก่บุคลากร ในการเจรจา ประสานงาน การก�ำกับดูแล ตรวจสอบ บูรณาการ การรายงาน และการด�ำเนนิ งานของรัฐบาลแหง่ ชาตใิ นอาเซียน โดยแบง่ ออกเปน็ 5 สว่ น คอื นโยบายการพฒั นา ความรว่ มมอื ทางการ เมอื ง วฒั นธรรมและข่าวสาร ความร่วมมือในการปฏิบัตงิ าน และความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจ ส�ำนักงานเอเชียและแปซฟิ ิก (The Office of Asian and Pacific Affairs: ASPAC) เป็นผู้รับผิดชอบในการใหค้ �ำแนะน�ำ และให้ความช่วย เหลือกระทรวงการต่างประเทศในการวางแผน จัดระเบียบ ก�ำกับ ประสานงาน บรู ณาการ และประเมนิ ความสมั พนั ธ์ทวิภาคีของประเทศ ฟลิ ปิ ปนิ สก์ บั ประเทศในภมู ภิ าคเอเชยี แปซฟิ กิ ในเรอ่ื งทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ความ สัมพันธ์ระหวา่ งประเทศของฟลิ ิปปินส์ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟิลปิ ปนิ ส์ 117

หนา้ ทข่ี องส�ำนักอาเซยี น • ก�ำหนดการเจรจาตอ่ รองการสง่ เสริม  และการด�ำเนินงานของ ขอ้ ตกลงทวภิ าคเี กย่ี วกบั การพฒั นาความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ การคา้ การ ลงทนุ ตา่ งประเทศ วฒั นธรรมการคมุ้ ครองแรงงานดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีการเก็บภาษี และเรื่องอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ ระหวา่ งประเทศในภมู ิภาคเอเชียแปซฟิ กิ • ให้การสนับสนุนท่ีส�ำคัญส�ำหรับการด�ำเนินงานของสถาน ประกอบการฟิลิปปินส์ในต่างประเทศภายในขอบเขตอ�ำนาจศาลทาง ภูมิศาสตรข์ องตน รายละเอียด ส�ำนกั อาเซยี นแหง่ ประเทศฟลิ ปิ ปินส์  สามารถคน้ คว้า ได้ที่  https://www.dfa.gov.ph/main/index.php/of- fice-of-the-undersecretary-for-policy 118

6 ระบบการพัฒนาข้าราชการ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ปิ ปนิ ส์ 119

บุคลากรในภาครัฐของฟิลิปปินส์ [24] ประกอบด้วย นักบริหาร (Career Executive Service-CES) และนักบริหารระดับสูง (Career Executive Service Officers-CESO) โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี นกั บรหิ าร (Career  Executive  Service-CES)  เปน็ ต�ำแหน่งราชการระดับ  3 หรอื ระดับบริหารในกลมุ่ ต�ำแหนง่ งานราชการของประเทศฟิลปิ ปนิ ส์ ซงึ่ ก�ำเนดิ ขนึ้ โดยพระราชกฤษฎกี าการกระจายอ�ำนาจในการปฏบิ ตั งิ านของ บุคลากร และการปรบั โครงสร้างคณะกรรมาธิการเพ่อื น�ำไปสรู่ ูปแบบท่ี ดี การเลือกสรรและการพัฒนาในการปรับตัวผู้บริหารที่เหมาะสมและ ซอ่ื สตั ย์ เปน็ ระบบทก่ี �ำหนดเพอื่ จดั ท�ำบญั ชผี บู้ รหิ ารทไ่ี ดร้ บั การเลอื กสรร มาเปน็ อยา่ งด ี เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซง่ึ ผบู้ รหิ ารทม่ี คี วามสามารถ  และมคี วาม นา่ เช่อื ถือของรฐั บาล โดยภายใตก้ ลุ่มนกั บริหารระบบราชการมีการแบง่ ข้าราชการเป็น 2 กลุ่ม เรียกว่า กลุ่มข้าราชการ (Career Service) และกลุ่มท่ีไม่ใช่ ข้าราชการ (Non-Career Service) โดยทั้ง 2 กลมุ่ แบง่ เป็น 3 ระดบั เรยี กวา่ ระดบั 1, 2 และ 3 โดยกลมุ่ ขา้ ราชการจะมกี ารรบั ราชการตลอด ชวี ติ มคี วามมนั่ คงในอาชพี สามารถเลอ่ื นขน้ั เลอ่ื นเงนิ เดอื นไดต้ ามเกณฑ์ ส่วนกลุ่มท่ีไม่ใช่ข้าราชการจะเป็นต�ำแหน่งทางการเมือง เช่น ต�ำแหน่ง ประธานาธบิ ดี ประธานคณะกรรมาธกิ าร สมาชกิ คณะกรรมการของสภา เปน็ ตน้ โดยตารางที่ 4 ไดน้ �ำเสนอระดับข้าราชการ ดงั น้ี 120

ตารางที่ 4 ระดบั ข้าราชการ ระดบั อาชพี 1 ผทู้ �ำงานเสมยี น ชา่ งฝมี อื ซง่ึ ต�ำแหนง่ เหลา่ นไ้ี มไ่ ดเ้ ปน็ ต�ำเเหนง่ วิชาชีพเฉพาะ หรืออาจเป็นวิชาชีพในบางกลุ่ม ซ่ึงอาจมีวุฒิ ต�ำ่ กวา่ ปริญญาตรี 2 ต�ำแหน่งวิชาชีพเฉพาะทาง วิชาการ และวิทยาศาสตร์ ซ่ึง คุณสมบตั ขิ ั้นตำ�่ นั้น จะต้องจบปรญิ ญาตรี ต�ำแหนง่ สงู สดุ ใน ระดบั น้ี คอื ผอู้ �ำนวยการกอง 3 การด�ำรงต�ำแหนง่ ทางการบริหาร 6.1 ภาพรวมของการพัฒนาข้าราชการ การกระจายการจัดการและการบริหารทรัพยากรมนุษย์เป็นตัวช้ีน�ำ ทส่ี �ำคญั ของระบบราชการในฟลิ ปิ ปนิ สเ์ พอ่ื ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ [24] คณะ กรรมการข้าราชการพลเรือน (CSC) ได้ท�ำเป็นหนังสือเวียนฉบับท่ี 20 (พ.ศ. 2533) โดยให้หน่วยงานทม่ี ีอ�ำนาจไดป้ รับปรุงแผนพัฒนาและฝกึ อบรมตนเอง โดยการจดั การฝกึ อบรมทีจ่ �ำเปน็ ส�ำหรับ 1,464 หน่วยงาน ซึ่งเป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นการทดสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ ยังได้มีการเพ่ิมจ�ำนวนทุนการศึกษาแก่บุคลากรภาครัฐท่ีมี คณุ ภาพ โครงการน้เี กดิ ขน้ึ จากการอนมุ ตั ขิ องรัฐบาล โดยใหข้ า้ ราชการ ได้แบ่งปันประสบการณ์ และการได้มีส่วนร่วมที่ส�ำคัญในการสนับสนุน การพฒั นาระบบราชการในประเทศฟิลิปปินส์ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟิลิปปนิ ส์ 121

6.2 กลยทุ ธก์ ารพฒั นาข้าราชการ มกี ารสนบั สนนุ โครงการทนุ การศกึ ษาทอ้ งถนิ่ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ให้โอกาสทางการศึกษา[24] โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับบัณฑิตศึกษาให้ กบั บคุ ลากรของรฐั ซง่ึ มคี ณุ สมบตั เิ หมาะสมในการเตรยี มความพรอ้ มเพอ่ื ความรบั ผดิ ชอบท่ีสูงขน้ึ โดยเปน็ การเสรมิ สรา้ งความรู้ ทักษะ ทศั นคตทิ ี่ มตี อ่ อาชพี และความเจรญิ กา้ วหนา้ ของแตล่ ะคน โครงการทนุ การศกึ ษา เหลา่ นีไ้ ดเ้ ช่ือมโยงกบั การให้ความช่วยเหลอื จากหน่วยงานทีใ่ หค้ วาม ชว่ ยเหลอื ดา้ นการพฒั นา โดยประเทศทใ่ี หก้ ารชว่ ยเหลอื  ไดแ้ ก่ สหรฐั อเมรกิ า ออสเตรเลีย ญ่ีปุน และกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรป ข้าราชการได้รับ อนญุ าตท่จี ะใหศ้ กึ ษาจนจบระดบั ปริญญา ขณะยังคงด�ำรงต�ำแหน่งและ ไดร้ บั คา่ ตอบแทนบนเงอ่ื นไขในการกลับมารบั ราชการ 6.3 หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบดา้ นการพฒั นาขา้ ราชการ ระบบราชการในประเทศฟิลิปปินส์เร่ิมพัฒนามาจากระบบราชการ ของอเมริกาในปี พ.ศ. 2443[24] เนื่องจากช่วงระหว่างที่ข้ึนกับประเทศ อเมรกิ า รฐั บาลอเมริกาไดช้ ว่ ยจัดระบบราชการ โดยก�ำหนดไว้วา่ ผู้ที่จะ เข้ารับราชการต้องผ่านการสอบวิชาท่ีประกอบด้วยระบบศักดินา การเมอื ง และรายวิชาอนื่ ๆ โดยผดู้ ูแลระบบราชการในชว่ งแรก คอื The Second Philippines Commission ประกอบดว้ ย ประธาน เลขา และ หวั หนา้ ผสู้ อบ ท�ำหนา้ ทจ่ี ดั สอบ ตามก�ำหนดอายผุ เู้ ขา้ สอบ และแบง่ ระดบั 122

ขา้ ราชการ ตอ่ มาหนว่ ยงานดงั กลา่ วมกี ารปรบั โครงสรา้ งและเพม่ิ บทบาท ให้หน่วยงานดงั นี้ คอื ดแู ลและรบั บุคลากรเข้าปฏบิ ัตงิ านใน 3 ระดับ คือ ระดบั ประเทศ ระดับทอ้ งถนิ่ และวสิ าหกิจ นอกจากนีย้ งั รบั ผดิ ชอบใน การแต่งต้ัง โยกย้าย ลงโทษ หรือการให้ออกจากราชการ และยังเพ่ิม บทบาทการก�ำหนดนโยบายด้านคน การเลื่อนข้ัน การประเมินและ ติดตามผลการปฏบิ ัติงาน และการมีสว่ นรว่ มของบุคลากร ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2515-2518 ได้มีการกระจายอ�ำนาจการ บริหารข้าราชการ เช่น การจัดสอบ การแต่งตั้งและโยกย้าย และการ ก�ำหนดกฎระเบียบบริหารงานบุคคล โดยมีความพยายามทจี่ ะปรบั ปรุง บทบาทของหน่วยงานท่ีดูแลด้านบุคคลให้ทันสมัยมากข้ีน โดยปี พ.ศ. 2530 ในรฐั ธรรมนญู ไดม้ กี ารก�ำหนดความเปน็ มอื อาชพี ในระบบราชการ เพ่ิมขึ้น โดยมีการก�ำหนดให้ใช้ชื่อใหม่ว่า “คณะกรรมการบริหารงาน บุคคล (Civil Service Commission)” ท�ำหนา้ ทีบ่ รหิ ารงานบคุ ลากรใน ระบบราชการทุกกระทรวง ภาพท่ี 8 โลโก้คณะกรรมการบรหิ ารงานบคุ คล ท่ีมา: http://excell.csc.gov.ph/cscweb/images/csclogo_new.png ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ิปปินส์ 123

6.4 การสรรหาและคดั เลือก การสรรหาและคดั เลอื กในภาครฐั [24] จะเรม่ิ ดว้ ยการประกาศรบั สมคั ร และก�ำหนดคุณสมบัติ โดยมีส�ำนักงานวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รับผิดชอบ โดยทั่วไปการเข้ารับราชการไม่ได้เป็นอาชีพที่น่าสนใจใน ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส ์ เนอื่ งจากไดค้ า่ ตอบแทนนอ้ ย อกี ทง้ั กระบวนการคดั เลอื ก ไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ  ซง่ึ บางครง้ั จะมกี ารแทรกแซงจากการเมอื ง  และ มกี ารขัดขวางความกา้ วหนา้ ในอาชพี ราชการ ดงั นน้ั คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื นไดพ้ ยายามสรา้ งแรงจงู ใจดว้ ย การจดั ใหม้ โี ครงการจดุ ประกายคนเกง่ ในระบบราชการ (The Brightest for The Bureaucracy) เพ่ือดึงดูดบัณฑิตเกียรตินิยมและผู้มีความ สามารถเข้าสู่ระบบราชการของฟิลิปปินส์ หน่วยงานต่างๆ ของรัฐเป็น ผู้จัดสรรต�ำแหน่งต่างๆ ตามความเหมาะสมส�ำหรับโครงการดังกล่าว มีการทดสอบวิชาพื้นฐานและวิชาชีพ เช่น วิศวกร แพทย์ พยาบาล กฎหมาย และการทตู เปน็ ต้น ในปี พ.ศ. 2551 การสอบข้าราชการพลเรอื นมจี �ำนวน 132,602 คน (วชิ าชพี เฉพาะทาง โดยจบปรญิ ญาในมหาวทิ ยาลยั ) โดยผา่ นการทดสอบ จ�ำนวนท้ังส้นิ 12,279 คน หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.1 คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนได้กล่าวถึง การเข้าถึงและการ กระจายการสอบของภาครัฐ เพ่อื ใหส้ ามารถเข้าถงึ การสอบมากขึน้ โดย การใช้ระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย ระบบได้ถูกออกแบบมาเพื่อการ ปรบั ปรงุ กระบวนการสอบส�ำหรบั คน้ หาบคุ ลากรทม่ี คี ณุ สมบตั เิ หมาะสม และเป็นส่วนหน่ึงของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน กล่าวคือ เป็น 124

โปรแกรมซอฟตแ์ วรท์ สี่ รา้ งขน้ึ เพอื่ ปฏวิ ตั งิ านประเภทกระดาษและดนิ สอ ของการสอบระบบราชการ CAT เป็นการช่วยอ�ำนวยความสะดวกของ ระบบการเกบ็ ขอ้ มลู การปรบั ระบบให้ทันสมยั การฟ้นื ฟู ซอ่ มแซมการ ตรวจสอบและการประเมินให้คะแนนข้อมูลผู้เข้ารับการทดสอบโดย ซอฟตแ์ วร์ การทดสอบ The CAT-VIP ไดเ้ รมิ่ ตน้ โดยคอมพวิ เตอรท์ ไ่ี วตอ่ เสยี งเข้ามาชว่ ยเหลอื และเครอื่ งมอื ต่างๆ ท่ถี ูกออกแบบเป็นพิเศษ หรอื แป้นพิมพ์ส�ำหรับผูพ้ กิ าร 6.5 ค่าตอบแทนและการจ�ำแนกต�ำแหน่งงาน ชว่ งสมัยประธานาธบิ ดีคอราซอน อาคโี น (Corazon Aquino) และ เลขาธกิ ารคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น ปาตเิ ซยี อารากอน ซานโต้ โทมสั (Patricia Aragon Santo Tomas) มกี ารน�ำกฎหมายมาตรฐาน เงนิ เดอื น  (The  Standardiation  Law:  SSL)  มาด�ำเนนิ การจนเปน็ ผลส�ำเร็จ[24] ตลอดจนการประกาศใช้กฎหมายพระราชบัญญัติแห่ง สาธารณรฐั มาตรา 6758 “พระราชบญั ญตั ไิ ดแ้ กไ้ ขปรบั ปรงุ คา่ ตอบแทน และระบบการจ�ำแนกต�ำแหนง่ ในภาครฐั ” และ “พระราชบญั ญตั ิ ปี พ.ศ. 2532 คา่ ตอบแทนและการจ�ำแนกต�ำแหนง่ ”ตราขน้ึ เมอื่ วนั ท่ี 21 สงิ หาคม 2532 ซึ่งครอบคลมุ ทกุ ต�ำแหนง่ ในภาครฐั วา่ ดวั ยการจา่ ยคา่ ตอบแทน กรมงบประมาณและการจัดการตลอดจนส�ำนักจ�ำแนกต�ำแหน่งงาน และค่าตอบแทน (Compensation and Position Classification: CPCB) ซ่ึงในเวลานี้ได้ต้ังเป็นองค์การเพื่อการจ�ำแนกต�ำแหน่งงานและ คา่ ตอบแทน (Organization Position Classification and Compen- ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ิปปินส์ 125

sation Bureau: OPCCB) ไดก้ �ำหนดต�ำแหน่งและระดบั ชัน้ ที่เทียบเทา่ ในระบบขน้ั เงนิ เดอื น การจ�ำแนกต�ำแหน่งงาน  และคา่ ตอบแทนให้ รายละเอยี ดเกยี่ วกบั กฎหมายมาตรฐานคา่ ตอบแทน (SSL) ต�ำแหนง่ บคุ ลากร ของรฐั บาลแหง่ ชาติ (The National Government: NG) และต�ำแหนง่ ผู้บริหารที่ส�ำคัญ ตลอดจนต�ำแหน่งถาวรอ่ืนๆ ซ่ึงได้ถูกจัดประเภท ต�ำแหนง่ ตา่ งๆ ตามรฐั ธรรมนญู  (จ�ำนวน 315 ต�ำแหนง่ ทถ่ี กู บรรจใุ นป ี พ.ศ. 2548) ครอบคลมุ ระดบั สงู สุดทัง้ ในระดับการเลอื กตั้งและการแต่งต้ังใน หน่วยงานภาครัฐ รวมท้ังประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี ประธาน วฒุ สิ ภา ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร ประธานศาลฎกี า ประธานและคณะ กรรมาธิการเก่ียวกับรัฐธรรมนูญ รวมถึงผู้ตรวจการแผ่นดิน ต�ำแหน่ง ผบู้ รหิ ารทส่ี �ำคญั หมายถงึ ฝา่ ยบรหิ ารในการบรหิ ารจดั การ และหวั หนา้ หรือต�ำแหนง่ เทยี บเทา่ (เช่น เลขานุการผบู้ ริหาร เลขานกุ ารฝา่ ย) ซ่ึงใน ปี พ.ศ. 2548 มีจ�ำนวนท้งั สน้ิ 21,280 ต�ำแหน่ง และต�ำแหน่งถาวรอ่นื ๆ ไดร้ บั การยกเวน้ จากกฎหมายมาตรฐานเงนิ เดอื น (SSL) และบคุ ลากรใน เคร่ืองแบบ 1,129,086 ต�ำแหน่ง ซึ่งได้บรรจุในปี พ.ศ. 2548 (DBM 2005) ต�ำแหนง่ ตา่ งๆ มรี ะดบั ชน้ั และขน้ั เงนิ เดอื นทง้ั สนิ้ 33 ระดบั ซง่ึ ใน แต่ขน้ั น้ันมี 8 ล�ำดบั และรายการเทียบเท่าอตั ราคา่ ธรรมเนยี มรายเดือน และประธานาธิบดีมี 33 ระดับ กับค่าใช้จ่ายรายเดือน 57,750 เปโซ ฟิลปิ ปนิ ส์ (PHP) หรือประมาณ 1,200 ดอลลา่ รส์ หรฐั (USD) (ค�ำนวณ ท่ี 1 USD เทา่ กบั 47 PHP) ตารางดา้ นล่างไดแ้ สดงขน้ั เงนิ เดือนเทยี บกบั ต�ำแหน่งตา่ งๆ ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งอยูใ่ นช่วงระหวา่ ง 33 และ 30 SGs แสดงให้เหน็ ถึงค่าตอบแทนรายเดอื นข้าราชการในฟลิ ปิ ปนิ ส์ 126

ขน้ั เงนิ เดือนของบคุ ลากรภาครฐั ท่ีส�ำคัญ ตาราง 5 ขนั้ เงนิ เดอื นของบคุ ลากรภาครฐั ท่สี �ำคญั Positions ต�ำแหน่ง SG ข้นั รายได้ ประธานาธบิ ดี President 33 รองประธานาธิบดี Vice-president 32 ประธานวฒุ ิสภา President of the Senate 32 ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร 32 Speaker of the House of Representatives หวั หนา้ ผู้พพิ ากษาของศาลฎกี า 32 Chief Justice of the Supreme Court สมาชิกวุฒิสภา Senator 31 31 สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร์ 31 Members of The House of Representatives ผู้พิพากษาศาลฎีกา 31 Associate Justice of the Supreme Court ประธานคณะกรรมาธกิ ารเกีย่ วกบั รฐั ธรรมนูญ Chairman, Constitutional Commission คณะกรรมาธกิ ารเก่ียวกบั รัฐธรรมนูญ 30 Commissioner, Constitutional Commission ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 127

อตั ราเงนิ เดือน ตารางท่ี 6 อตั ราเงนิ เดอื น Salary Grade Monthly rate (in Php) No. of Positions ขนั้ เงนิ เดือน อตั รารายเดือน จ�ำนวนต�ำแหนง่ (ฟลิ ิปปินส์) 33 57,750 1 32 46,200-54,917 4 31 40,425-48,052 355 30 28,875-34,323 412 29 25,333-30,113 2,999 5 7,043-8,375 10,765 4 6,522-7,751 32,198 3 6,039-7,177 21,635 2 5,540-6,585 6,764 1 5,082-6,041 23,677 128

ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟิลปิ ปนิ ส์ 129

6.6 การประเมินการผลปฏบิ ัติงาน เป็นกระบวนการวัดผลการปฏิบัติงานตามวัตถุประสงค์ และ เป้าหมายของหน่วยงาน[24]  โดยรัฐบาลใช้ระบบการประเมินผลการ ปฏิบัติงาน โดยอาศัยผู้เช่ียวชาญการบริหารตามแบบวัตถุประสงค์ ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากรอย่างถูกตอ้ ง เปน็ รปู ธรรม และ เชอ่ื มสง่ิ เหลา่ นก้ี บั การตดั สนิ ใจทางการบรหิ ารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเลอ่ื นขน้ั และการให้รางวัล ในปี พ.ศ. 2547 คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ไดพ้ ฒั นา  และปรบั ปรงุ ระบบการจดั การการปฏบิ ตั  ิ โดยยดึ เอาแนวคดิ การปฏิบัติงานเช่ือมกับประสิทธิภาพและประสิทธิผลของบุคลากรกับ หลกั ประกนั ความมนั่ คงในการปฏบิ ตั งิ าน ตอ่ มาในป ี พ.ศ. 2548 ไดพ้ ฒั นา การประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยประเมินตามวัตถุประสงค์ ภารกิจ และกลยทุ ธ์ มีการอธบิ ายเพื่อท�ำความเข้าใจเกย่ี วกับเป้าหมายที่ต้องท�ำ ให้ส�ำเร็จ และบริหารจัดการบุคลากรให้สามารถท�ำได้ โดยการประเมนิ ตามวตั ถปุ ระสงค์ 4 ขนั้ ตอน คอื มกี ารวางแผนการประเมนิ มกี ารตดิ ตาม และสอนงาน มีการประเมินและให้ข้อมูลย้อนกลับ  มีการประเมินผล การปฏบิ ัตแิ ละการวางแผนอาชพี 130

7 กฎหมายสำ�คัญทคี่ วรรู้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 131

7.1 กฎระเบียบขา้ ราชการ กฎระเบยี บราชการซงึ่ มคี วามส�ำคญั ทบ่ี ง่ บอกถงึ ทศิ ทางทตี่ อ้ งปฏบิ ตั ิ ไมว่ า่ จะอยทู่ ไี่ หน ต�ำแหน่งใด ประเทศฟลิ ปิ ปินส์ให้ความส�ำคญั ซงึ่ ศกึ ษา ไดด้ งั น้ี 7.1.1 ต�ำแหน่งในระบบข้าราชการพลเรอื นของสาธารณรฐั ฟิลปิ ปนิ ส์ ต�ำแหน่งในระบบข้าราชการพลเรือนของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์[21] สามารถแบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภท ได้แก่ 1) ขา้ ราชการประจ�ำ (Career Service) มีลกั ษณะ ดงั น้ี - เขา้ มาด�ำรงต�ำแหนง่ โดยการสอบแขง่ ขนั ตามระบบคณุ ธรรม - เปิดโอกาสให้บคุ คลท่มี ีคุณสมบัตทิ างเทคนิคเข้ามาด�ำรง ต�ำแหน่งที่สงู กวา่ เดิม - มคี วามม่ันคงในการด�ำรงต�ำแหนง่ ส�ำหรบั ต�ำแหนง่ ข้าราชการประจ�ำ (Career Service) ประกอบด้วย (1) ต�ำแหน่งเปดิ ไดแ้ ก่ ต�ำแหน่งท่ีแต่งตงั้ จากผมู้ ีคุณสมบัตทิ ่ี เหมาะสมโดยจะต้องผา่ นการสอบ (2) ต�ำแหนง่ ปิด ไดแ้ ก่ ต�ำแหน่งทางเทคนิค หรือวทิ ยาศาสตร์ รวมถึงต�ำแหน่งอาจารย์ในมหาวิทยาลัย วิทยาลยั และ สถาบนั ต่างๆ ต�ำแหนง่ นกั วทิ ยาศาสตร์หรือต�ำแหน่งทาง เทคนคิ หรอื นกั วิจยั ในสถาบนั ต่างๆ ซึง่ สามารถก�ำหนด ระเบยี บต่างๆ ตามระบบคณุ ธรรมเองได้ 132

(3) ต�ำแหนง่ นักบริหาร (Career Executive Service) ไดแ้ ก่ ต�ำแหนง่ ปลดั กระทรวง ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ าร ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั ผูช้ ่วยผู้อ�ำนวยการเขต หวั หน้าหน่วยงาน และต�ำแหน่งอ่นื ๆ ทเ่ี ทยี บเทา่ ซงึ่ จะก�ำหนดโดยคณะกรรมการบรหิ าร (Career Executive Service Board) และต�ำแหนง่ ดงั กลา่ วจะได้รบั แตง่ ต้ังจากประธานาธบิ ดี (4) ต�ำแหนง่ อน่ื ๆนอกจากต�ำแหนง่ นกั บรหิ าร (Career Executive Service) ทไี่ ด้รบั การแตง่ ตง้ั โดยประธานาธิบดี เช่น ต�ำแหนง่ ขา้ ราชการต่างประเทศของกระทรวงต่างประเทศ (5) ต�ำแหน่งข้าราชการในคณะกรรมการตา่ งๆ และทหารใน กองทัพ โดยต�ำแหน่งดังกล่าวจะมีระบบที่แยกออกจาก ระบบปกติ (6) บุคลากรของรัฐ หรอื บุคลากรของหน่วยงานทางการบรกิ าร อ่ืนๆ ทท่ี �ำหน้าท่ขี องรฐั ซึ่งไมใ่ ช่ขา้ ราชการ และ (7) ลกู จา้ งประจ�ำ ทม่ี คี วามสามารถเชงิ ทกั ษะ กง่ึ ทกั ษะ หรอื ไมม่ ี ทกั ษะ 2) ข้าราชการไม่ประจ�ำ (Non Career Service) มีลักษณะ ดงั นี้ - เข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งโดยวธิ ีการที่แตกต่างจากการบริการ ด้านวิชาชพี ข้าราชการประจ�ำ (Career Service) ทีต่ ้องมี การทดสอบตามระบบคณุ ธรรม และ - มรี ะยะเวลาในการด�ำรงต�ำแหนง่ ตามทกี่ ฎหมายก�ำหนด หรอื เป็นบุคคลท่ผี ู้มีอ�ำนาจในการแตง่ ต้งั เหน็ ควรให้เข้าด�ำรง ต�ำแหนง่ โดยจะก�ำหนดระยะเวลาตามโครงการ หรอื ตาม วัตถุประสงค์ของการจา้ ง ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ 133

ส�ำหรับต�ำแหน่งข้าราชการไม่ประจ�ำ (Non Career Service) ประกอบด้วย (1) เจา้ หนา้ ท่ที ่เี ขา้ มาโดยการเลอื กตงั้ หรอื ต�ำแหน่งท่ตี ้องรกั ษา ความลบั หรือปฏบิ ัติงานใหบ้ คุ คลดังกลา่ วโดยตรง (2) ต�ำแหน่งหวั หนา้ หน่วยงาน หรอื ต�ำแหน่งอ่นื ๆ ในคณะ รฐั มนตรีทเ่ี ขา้ มาโดยความเห็นชอบของประธานาธิบดี และ ต�ำแหนง่ ทีต่ ้องรกั ษาความลับ หรือปฏิบัติงานให้บุคคล ดงั กล่าวโดยตรง (3) ประธาน (Chairman) และสมาชิกของคณะกรรมการ (Commission) ที่มีระยะเวลาในการด�ำรงต�ำแหนง่ ตามที่ ก�ำหนด และเป็นต�ำแหนง่ ทีต่ อ้ งรักษาความลบั หรอื ปฏบิ ตั งิ านให้บุคคลดงั กลา่ วโดยตรง (4) ต�ำแหน่งที่เข้ามาโดยการท�ำสญั ญา หรอื ต�ำแหนง่ ที่รัฐบาล วา่ จ้างใหเ้ ขา้ มาเพือ่ ปฏบิ ตั ิงานในลกั ษณะของโครงการ หรอื งานพเิ ศษอนื่ ๆ ซงึ่ ตอ้ งการบคุ คลทมี่ ที กั ษะทไ่ี มส่ ามารถหาได้ ในหนว่ ยงานของรฐั โดยจะตอ้ งปฏบิ ตั งิ านใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายใน ระยะเวลาที่ก�ำหนด (ปกติจะมีระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี) ผู้ท่ี เข้ามาจะต้องปฏิบัติงานตามหน้าท่ี โดยหัวหน้าหน่วยงาน (ผวู้ า่ จ้าง) จะเปน็ ผคู้ วบคมุ (5) ต�ำแหน่งทม่ี คี วามจ�ำเป็น หรอื ต�ำแหน่งตามฤดูกาล 7.1.2 สิทธขิ องข้าราชการพลเรอื น สิทธิของขา้ ราชการพลเรือน[32] มดี งั น้ี 134

(1) สิทธิการรับเงินชดเชยตามกฎหมายในกรณีท่ีได้รับบาดเจ็บ ตายหรือเจ็บปว่ ย อนั เนือ่ งมาจากการปฏิบตั ริ าชการ (2) สิทธกิ ารให้ตนเอง ภรรยา และบุตร เขา้ รับการรกั ษาพยาบาล ในโรงพยาบาลของรัฐโดยไมเ่ สียค่าใช้จา่ ย (3) สิทธิการออกความคิดเห็นทางการเมือง การเลือกถือศาสนา โดยไมอ่ ยูใ่ ตอ้ าณตั ิของผู้ใด (4) สทิ ธกิ ารไมถ่ กู พกั หรอื ปลดออกจากราชการ นอกจากทไ่ี ดบ้ ญั ญตั ิ ไว้ในกฎหมาย (5) ไดร้ บั การยกเวน้ สง่ เงนิ บ�ำรงุ พรรคการเมอื ง หรอื อ�ำนวยบรกิ ารให้ แก่พรรคการเมอื งระหวา่ งการเลือกตง้ั 7.1.3 การลงโทษขา้ ราชการพลเรือน การลงโทษขา้ ราชการ การลงโทษข้าราชการพลเรือน โดยข้าราชการพลเรือนจะถูกปลด พักราชการ หรอื ถูกปรับไดเ้ ฉพาะกรณี ดังต่อไปนี้ (1) ทจุ ริต (2) ใชอ้ �ำนาจหนา้ ที่ขม่ ขู่ผอู้ ืน่ (3) ประพฤตติ นเป็นท่ีเสือ่ มเสยี อยา่ งรา้ ยแรง (4) ละทง้ิ หนา้ ท่ี (5) ละเมิดระเบยี บของส�ำนกั งานท่ีมเี หตุผล (6) เพ่อื ผลประโยชนส์ ่วนรวมของประชาชน (ในกรณีที่ข้าราชการ ท�ำความผดิ พลาดและขดั ต่อมโนส�ำนึกของชุมชน) ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ปิ ปนิ ส์ 135

ขอ้ หา้ มส�ำหรบั ขา้ ราชการ รัฐธรรมนูญได้บัญญัติข้อห้ามมิให้ข้าราชการพลเรือน ตลอดจน พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี และขา้ ราชการทหาร สนบั สนนุ ปฏบิ ตั กิ ารของพรรค การเมืองใดๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม และสมัครเข้ารบั เลือกตง้ั ในการ เลอื กตงั้ ใดๆ กไ็ มไ่ ด้ นอกจากใชส้ ทิ ธใิ นการลงคะแนนเสยี งเลอื กตงั้ เทา่ นนั้ และหา้ มไม่ให้สง่ คา่ บ�ำรงุ แก่โครงการทางการเมืองใดๆ การท่ีขา้ ราชการ พลเรือน ตลอดจนพนักงานใหข้ องขวญั ท่ีมคี ่าแกผ่ บู้ งั คับบัญชากด็ ี หรือ ชว่ ยเงินบ�ำรุงแกผ่ บู้ งั คบั บญั ชาก็ดี ถอื ว่าเปน็ การไมค่ วร 7.1.4 กฎการใชจ้ รรยาบรรณและมาตรฐานทางจรยิ ธรรม ของข้าราชการและลกู จ้าง กฎการใช้จรรยาบรรณและมาตรฐานทางจริยธรรมของข้าราชการ และลกู จ้าง[15] ตามบทบญั ญัตขิ องมาตรา 12 ของสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปินส์ พระราช- บัญญัติฉบับท่ี 6713 หรือท่ีเรียกว่า “จรรยาบรรณและมาตรฐานทาง จริยธรรมของข้าราชการและพนักงาน” ได้รับการอนุมัติเมื่อวันท่ี 20 กมุ ภาพันธ์ 2532 และมีผลวันท่ี 25 มีนาคม 2532 เปน็ ไปตาม มาตรา 17 น้นั กฎตอ่ ไปน้จี ะขอน�ำมาใชเ้ พอื่ ทจี่ ะด�ำเนินการตามบทบญั ญัติแห่ง ประมวลกฎหมายกลา่ วว่า กฎข้อทหี่ นง่ึ : ความคมุ้ ครอง มาตรา 1 กฎเหลา่ นจ้ี ะครอบคลมุ ถงึ เจา้ หนา้ ทแี่ ละพนกั งานทกุ คนใน รัฐบาล ไม่ว่ามาจากการคดั เลอื กหรือแต่งตงั้ ไม่วา่ จะเป็นพนักงานถาวร 136

หรอื ชว่ั คราว ไมว่ า่ จะมีอาชพี หรอื ไม่มอี าชีพให้บริการ รวมท้งั ทหารและ ต�ำรวจ โดยไม่ค�ำนงึ ถงึ ว่าบุคคลเหลา่ นี้ ได้รบั ผลตอบแทนหรือไม่กต็ าม กฎข้อทีส่ อง: การตคี วาม มาตรา 1 กฎเหล่าน้ีจะได้รับการตีความในแง่ของการประกาศ นโยบายทพ่ี บในประมวลกฎหมาย มาตรา 2 วา่ เปน็ นโยบายของรฐั ทจ่ี ะ สง่ เสริมให้เจา้ หนา้ ท่ีของรฐั และพนกั งานมมี าตรฐานสูงในด้านจรยิ ธรรม การบรกิ ารสาธารณะตลอดเวลา และตอ้ งมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ประชาชน และปฏิบัติหน้าท่ีของตนด้วยความรับผิดชอบสูงสุดตามความสามารถ และความจงรกั ภกั ดี กระท�ำดว้ ยความรกั ชาตแิ ละความยตุ ธิ รรม น�ำไปสู่ ชีวิตพอประมาณ และรักษาผลประโยชน์ของประชาชนมากกว่าผล ประโยชน์ส่วนตน กฎข้อทสี่ าม: การปฏริ ปู ระบบการบรหิ ารสาธารณะ มาตรา 1 ทกุ หนว่ ยงาน ส�ำนกั งานและตวั แทนสาขา จะตอ้ งใหบ้ รกิ าร ท่ีรวดเรว็ ทสี่ ดุ ในกรณที ี่ไมเ่ กนิ เก้าสบิ วนั นบั จากวนั บังคับกฎเหล่าน้ีเรมิ่ ต้น การด�ำเนนิ การพฒั นาโครงการส�ำหรบั เจา้ หนา้ ท ่ี และพนกั งานของรฐั ในการเสรมิ สรา้ งความมงุ่ มนั่ ทจี่ ะบรกิ ารสาธารณะ  และใหค้ วามส�ำคญั กับผลประโยชน์ของประชาชนมากกว่าผลประโยชน์ส่วนตน ในการ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทต่ี ามโครงการดงั กลา่ ว และความพยายามอน่ื ๆ ในการพฒั นา โดยให้รวมถงึ ส่งิ เหลา่ น้ี (1) จรยิ ธรรม และศีลธรรม (2) สิทธิ หนา้ ท่ี และความรับผดิ ชอบของขา้ ราชการ (3) ชาตนิ ยิ ม และความรกั ชาติ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ิปปินส์ 137

(4) ความยตุ ธิ รรม และสิทธมิ นษุ ยชน (5) ประชาธิปไตยในสงั คม (6) ประวตั ิศาสตร์ วฒั นธรรม และประเพณีของฟิลปิ ปินส์ (7) เงื่อนไขทางเศรษฐกจิ และสงั คมทีเ่ กดิ ขึน้ ในประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในพ้ืนท่ีที่ขาดแคลน และต้องการมาตรฐานทาง จริยธรรม จงึ จ�ำเปน็ ตอ้ งจัดท�ำหลักสตู รการฟ้นื ฟูอยา่ งต่อเนอ่ื ง และการ สัมมนาหรือการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพ่ือส่งเสริมมาตรฐานด้าน จริยธรรมในการให้บริการสาธารณะสงู ขึน้ มาตรา 2 โปรแกรมการศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ หลักการทาง วิทยาศาสตร์ และทางเทคนิคมีส่วนช่วยยกระดับความเป็นมืออาชีพ ความช�ำนาญการ ความเปน็ เลศิ ทงั้ ดา้ นความร ู้ และทกั ษะในการปฏบิ ตั งิ าน อกี ทงั้ ท�ำใหบ้ คุ ลากรภาครฐั สามารถปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ดว้ ยความรบั ผดิ ชอบได้ โปรแกรมเหล่าน้ีจะถูกจัดให้กับบุคลากรภาครัฐทุกคน และอาจรวมถึง เนือ้ หาวชิ าอนื่ ๆท่อี าจมกี ารเพ่มิ เตมิ ขึ้นอีกด้วย มาตรา 3 เปน็ ความรบั ผิดชอบของหวั หนา้ หนว่ ยงาน ส�ำนกั งานและ ตวั แทนสาขา เพอ่ื ใหแ้ นใ่ จวา่ พนกั งานและลกู จา้ งเขา้ รว่ มโครงการพฒั นา และมสี ่วนรว่ มในการพัฒนาคณุ ค่าไปพรอ้ มกัน มาตรา 4 ทกุ หนว่ ยงาน ส�ำนกั งานและตวั แทนสาขาจะตอ้ งด�ำเนนิ การ ศึกษาอย่างต่อเน่ือง และวิเคราะห์ระบบงานและวิธีการของตนในการ ปรบั ปรงุ การใหบ้ รกิ ารประชาชน เพอ่ื น�ำไปสกู่ ารศกึ ษาและการวเิ คราะห์ ต่างๆ ดังน้ี (1) ระบุระบบและวิธีการท่ีน�ำไปสู่พฤติกรรมด้านลบของ ขา้ ราชการ (2) ลดความซบั ซอ้ นของกฎระเบยี บและวธิ กี ารทจี่ ะหลกี เลย่ี ง กฎนัน้ และ (3) สร้างหรือใชร้ ะบบและวิธีการทีจ่ ะสง่ เสรมิ ใหพ้ นักงานมี ขวญั ก�ำลังใจในการท�ำงาน และเกดิ ความพึงพอใจ 138

แต่ละส�ำนักงานหรือหน่วยงานจะต้องพัฒนาคู่มือการให้บริการหรือ คู่มือการปฏิบัติงาน ซ่ึงจะต้องมีการปรับปรุงอย่างสม�่ำเสมอ และให้ บริการแก่ประชาชนในการทําธรุ กรรม แสดงแผนภูมิขน้ั ตอนการท�ำงาน ในสถานที่ที่สามารถเห็นได้ชัดเจนในส�ำนักงานหรือหน่วยงานส�ำหรับ ขอ้ มูลและค�ำแนะน�ำแก่ทุกฝ่ายท่ีเกีย่ วขอ้ ง เมอ่ื มกี ารรอ้ งขอจากส�ำนกั งบประมาณและการบรหิ ารจดั การหนว่ ยงาน จะตอ้ งชว่ ยส�ำนกั งานและหนว่ ยงานในการประเมนิ ผล  และยอมรบั การท�ำงานของระบบการและวิธีการที่จะเป็นสถาบันการจัดการ บรรยากาศทีเ่ อื้อตอ่ ความรับผดิ ชอบต่อประชาชน มาตรา 5 ทกุ หนว่ ยงาน ส�ำนกั งานและตวั แทนสาขาจะตอ้ งใหค้ �ำปรกึ ษา แก่ประชาชนทรี่ ับบรกิ าร เพื่อวตั ถุประสงค์ในการรวบรวมความคดิ เห็น และขอ้ เสนอแนะทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ  และมปี ระสทิ ธผิ ลตอ่ การใหบ้ รกิ าร จะตอ้ งสรา้ งกลไกเพอ่ื ใหม้ นั่ ใจวา่ การด�ำเนนิ งานของภาครฐั และการปรกึ ษา ในการพจิ ารณาคดี มาตรา 6 ทกุ หนว่ ยงาน ส�ำนกั งานและตวั แทนสาขาจะตอ้ งด�ำเนนิ การ อย่างต่อเน่ืองในเรื่องการวิจัยและการทดลองเกี่ยวกับมาตรการและ การน�ำวธิ กี ารมาใช้ ซงึ่ จะท�ำใหเ้ กดิ แรงจงู ใจกบั เจา้ หนา้ ทแ่ี ละพนกั งานใน การเพิ่มระดับของการปฏิบัติตามมาตรฐานด้านจริยธรรมการบริการ สาธารณะ มาตรา 7 ทกุ หนว่ ยงาน ส�ำนกั งาน และตวั แทนสาขา ตอ้ งปรกึ ษาหารอื กับส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ท่ีจะแต่งต้ังหรือมอบหมายให้ผู้ตรวจ การแผน่ ดนิ หรอื ผแู้ ทนทอี่ าศยั อยใู่ นพน้ื ท ี่ ท�ำหนา้ ที่ ทนั ทที มี่ กี ารรอ้ งขอ ความช่วยเหลอื ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ิปปินส์ 139

มาตรา 8 เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั จะตอ้ งมคี วามสามารถในการใหค้ �ำปรกึ ษา แกป่ ระชาชน กฎข้อทีส่ :ี่ ความโปร่งใสของการท�ำธรุ กรรมและการเขา้ ถงึ ข้อมลู มาตรา 1 ภายใต้เงื่อนไขทเ่ี หมาะสมตามกฎหมายก�ำหนดและวธิ ีการ ด�ำเนนิ นโยบายของการเปดิ เผยขอ้ มลู ตอ่ ประชาชนเตม็ รปู แบบในการท�ำ ธรุ กรรมท้ังหมดที่เกีย่ วข้องกบั ผลประโยชน์ของประชาชน มาตรา 2 เป็นความรับผดิ ชอบของหัวหนา้ หน่วยงาน ส�ำนักงานและ ตวั แทนสาขาทจี่ ะก�ำหนดมาตรการและมาตรฐานทจี่ ะท�ำใหเ้ กดิ ความโปรง่ ใส และการเปดิ กวา้ งในการท�ำธรุ กรรมตอ่ ประชาชนภายในส�ำนกั งานของตน เชน่ การประมลู ซอ้ื ขาย การท�ำธรุ กรรมภายในอน่ื ๆ รวมทงั้ สญั ญาสถานะ ของโครงการ และเรอื่ งอนื่ ๆ ทีเ่ กยี่ วข้องกบั ความสนใจของประชาชน โดยจะต้องสรา้ งระบบขอ้ มูลเพื่อแจง้ ใหป้ ระชาชนได้รบั ทราบ ดังต่อไปนี้ (ก) นโยบายกฎระเบียบและขั้นตอน (ข) วิธีการด�ำเนิน โครงการและเปา้ หมายการปฏบิ ตั งิ าน (ค) รายงานผลการด�ำเนนิ งาน และ (ง) เอกสารอ่ืน ๆ ทง้ั หมดตามท่ีจะมีการจดั ท�ำเปน็ ขอ้ มูลสาธารณะ ข้อมูลดังกล่าวจะต้องถูกน�ำมาใช้ส�ำหรับวัตถุประสงค์ในการแจ้งแก่ ประชาชนเพียงอยา่ งเดยี ว นโยบาย วิธีการด�ำเนินการ และความส�ำเร็จ ดังกล่าวต้องไม่สร้างภาพลักษณ์แก่พนักงานหรือลูกจ้างเพื่อความ ก้าวหนา้ และผลประโยชน์ส่วนตัว มาตรา 3 ทุกหนว่ ยงาน ส�ำนกั งานและตวั แทนสาขาจะตอ้ งให้ข้อมูล อย่างเป็นทางการ ในการบันทึกเอกสารใดๆ ที่มีต่อประชาชนที่ร้องขอ ยกเว้นในกรณี (ก) ข้อมลู บนั ทกึ ขอ้ ความ เอกสารทีเ่ ปน็ ความลบั ต่อผลประโยชน ์ 140

ในการปอ้ งกนั ระดับชาติ การรักษาความปลอดภยั หรือ การด�ำเนนิ งานของกิจการในตา่ งประเทศ (ข) การเปิดเผยข้อมลู ดงั กล่าวจะท�ำให้ชวี ติ และความปลอดภัยของ บุคคลตกอยู่ในอนั ตราย (ค) ข้อมลู บนั ทึกหรือเอกสารทอ่ี ยู่ภายในแนวคิดสิทธพิ ิเศษทจ่ี ดั ต้งั ขน้ึ หรอื ขอ้ ยกเวน้ ทไี่ ดร้ บั การยอมรบั ตามกฎหมาย นโยบายตดั สนิ หรอื ค�ำส่งั ศาล (ง) ขอ้ มลู การบนั ทึกหรอื เอกสารฉบับร่างท่ปี ระกอบการตดั สนิ ใจ ตา่ งๆ ค�ำสั่งการปกครอง การตดั สินใจดา้ นนโยบาย หรือบันทกึ ความเข้าใจ ฯลฯ (จ) การเปิดเผยข้อมูลลักษณะส่วนบคุ คลที่จะเป็นการละเมิดสิทธิ ส่วนตวั (ฉ) การเปดิ เผยบนั ทึกสืบสวน การปฏิบัติตามเพื่อการบงั คบั ใชท้ าง กฎหมาย หรือข้อมูลที่ถ้าเขียนจะได้รับการบรรจุอยู่ในบันทึก ดงั กลา่ ว หรอื ข้อมลู ที่จะ (1) ยุ่งเกีย่ วกับการด�ำเนินการบงั คับ (2) การกดี กันผู้มสี ทิ ธิในการพจิ ารณาคดที ่ีเป็นธรรมหรือการ ตัดสนิ ท่ีเปน็ ธรรม (3) เปดิ เผยตวั ตนของแหล่งท่มี าของความลับ และในกรณขี องการบนั ทกึ ทร่ี วบรวมโดยผมู้ อี �ำนาจในการบงั คบั ใชก้ ฎหมายทางอาญาในหลกั สตู รของการสบื สวนคดอี าชญากรรม หรอื โดยหนว่ ยงานด�ำเนนิ การตรวจสอบความถกู ต้องตาม กฎหมายของประเทศ หนว่ ยสืบราชการลับการรกั ษาความ ปลอดภยั ทเี่ ปน็ ความลบั (4) ไมส่ ามารถแสดงเหตผุ ลเปดิ เผยดา้ น เทคนคิ การสบื สวนและขน้ั ตอน ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟิลปิ ปนิ ส์ 141

(ช) การเปดิ เผยขอ้ มลู กอ่ นเวลาอันควร (1) ในกรณีทหี่ นว่ ยงาน หรือ ส�ำนกั งาน  หรือตวั แทนสาขา  ที่เปน็ ตวั แทนควบคุมสกุลเงิน หลกั ทรพั ยส์ นิ คา้ โภคภณั ฑจ์ ากสถาบนั การเงนิ ทมี่ แี นวโนม้ ทจ่ี ะ น�ำไปสกู่ ารเก็งก�ำไรทางการเงนิ อย่างมนี ยั ส�ำคญั ในสกุลเงิน หลกั ทรพั ยห์ รอื สนิ คา้ โภคภณั ฑอ์ ยา่ งมนี ยั ส�ำคญั หรอื เปน็ อนั ตราย ตอ่ ความมัน่ คงของสถาบนั การเงนิ (2) ในกรณใี ด ๆ ที่หนว่ ยงาน หรือส�ำนักงาน  หรือตัวแทนสาขา  มีแนวโน้มหรือมีนัยส�ำคญั ที่ การด�ำเนินการไม่ประสบความส�ำเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ของ การปฏบิ ตั ซิ งึ่ ยกเวน้ ตามอนวุ รรค (ฉ) หวั ขอ้ (2) แลว้  จะไมส่ ามารถ ประยกุ ตใ์ ชก้ บั ขอ้ บงั คบั ในกรณใี ดๆ ทหี่ นว่ ยงาน  หรอื ส�ำนกั งาน หรอื ตัวแทนสาขา มกี ารเปิดเผยตอ่ สาธารณะไปแลว้ ไม่ว่าสว่ นที่ เป็นเน้ือหาหรอื ธรรมชาติของวัตถุประสงคก์ ารปฏิบัติการ  หรือ ในกรณที หี่ นว่ ยงาน หรอื ส�ำนกั งาน หรอื ตวั แทนสาขา ถกู ก�ำหนด ตามกฎหมายทจ่ี ะใหเ้ ปดิ เผยโดยหนว่ ยงานเอง อยา่ งเชน่ ขอ้ เสนอ โครงการหรอื แผนงาน มาตรา 4 หัวหน้าหน่วยงาน ส�ำนักงานและตัวแทนสาขารวมทั้ง ตวั แทนทกุ คนตอ้ งจดั ระบบขอ้ มลู และเครอื ขา่ ยทจี่ ะมผี ลตอ่ การกระจาย ข้อมูลให้มากที่สุดเกี่ยวกับบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายเมื่อเทียบ กับนโยบาย  และโครงการดงั กลา่ ว กฎขอ้ ท่ี 5: แรงจูงใจและระบบรางวัล มาตรา 1 แรงจูงใจและผลตอบแทน  ที่จะได้รับจากพนักงานและ ลูกจ้าง ที่ได้แสดงให้เห็นถึงบริการที่เป็นแบบอย่าง และด�ำเนินการบน พนื้ ฐานของการปฏบิ ตั ิ โดยบรรทดั ฐานของการปฏบิ ตั ทิ วี่ างไวใ้ นทมี่ าตรา 142

4 ของประมวลกฎหมาย คือ (ก) ความมุ่งมนั่ ในผลประโยชนข์ องประชาชน เจา้ หนา้ ทแี่ ละพนกั งานของรฐั ตอ้ งรกั ษาผลประโยชนข์ องประชาชน และทรัพยากรท้ังหมดของรัฐ ภายใต้อ�ำนาจของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องใน ส�ำนกั งานและหนว่ ยงานในการจา้ งงาน และการท�ำงานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ มปี ระสทิ ธผิ ล ท�ำดว้ ยความซอื่ สตั ยแ์ ละประหยดั โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ตอ้ ง หลกี เลี่ยงท่ีจะสูญเสยี เงนิ และรายไดข้ องประชาชน (ข) ท�ำงานอยา่ งมืออาชพี เจา้ หนา้ ทแ่ี ละพนกั งานจะด�ำเนนิ การและปฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี ว้ ยความ เป็นเลิศแบบมืออาชีพท้ังทางความรู้และความสามารถในการน�ำมาให้ บรกิ ารแกป่ ระชาชน ดว้ ยความจงรกั ภกั ดสี งู สดุ และอทุ ศิ ตนใหก้ บั การปฏบิ ตั ิ หน้าท่ี และพยายามท่ีจะกีดกนั สิ่งทีไ่ มถ่ กู ตอ้ งในบทบาทของตน (ค) ความยุติธรรม และความจริงใจ เจา้ หนา้ ทแ่ี ละพนกั งานของรฐั จะตอ้ งมคี วามจรงิ ใจกบั ประชาชน ตลอดเวลา จะตอ้ งกระท�ำดว้ ยความเปน็ ธรรมและจรงิ ใจ  และไมม่ คี วาม แตกต่างกัน  โดยเฉพาะอย่างย่ิงต่อประชาชนที่ยากจนและด้อยโอกาส เจ้าหน้าท่ีจะละเว้นจากการกระท�ำอันขัดต่อกฎหมาย ศีลธรรม และ ประเพณอี นั ดไี มไ่ ด ้ และรกั ษา นโยบายสาธารณะของรฐั ตอ่ ความปลอดภยั รวมถึงผลประโยชน์ของประชาชน เจ้าหน้าทจี่ ะไมจ่ ัดการหรือขยายความ ชว่ ยเหลอื เพอ่ื ญาตขิ องตน ไมว่ า่ จะโดยสายเลอื ดเดยี วกนั หรอื ความสมั พนั ธ์ ในสายงานของส�ำนกั งาน (ง) ความเปน็ กลางทางการเมอื ง เจ้าหน้าที่และพนักงานของรัฐต้องให้บริการกับทุกคน โดยไม่ เลอื กปฏิบตั  ิ หรือปฏิบัตโิ ดยไม่ค�ำนึงถึงพรรคหรือความชอบ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 143

(จ) การตอบสนองให้ประชาชน เจา้ หน้าทแ่ี ละพนกั งานของรัฐ จะตอ้ งเพิ่มความสภุ าพนอบน้อม ใหเ้ พยี งพอตอ่ การใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชน เวน้ แตจ่ ะก�ำหนดไวเ้ ปน็ อยา่ งอนื่ ตามกฎหมาย หรือเม่ือจ�ำเป็นต้องให้ความสนใจต่อประชาชนเจ้าหน้าท่ี และพนักงานของรัฐจะต้องใหข้ ้อมูลเกีย่ วกับนโยบายและวิธกี ารของตน ในภาษาที่ชัดเจนและเข้าใจได้ ให้ความมั่นใจในการเปิดกว้างของข้อมูล การใหค้ �ำปรกึ ษาแกป่ ระชาชนในการพจิ ารณาคดเี มอื่ ใดกต็ ามทเ่ี หมาะสม ใหค้ �ำแนะน�ำทงี่ า่ ยและประมวลนโยบาย หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารหลกี เลยี่ ง ความผดิ และการพฒั นาความเขา้ ใจในเงอื่ นไขทางเศรษฐกจิ และสงั คมที่ เกิดข้นึ ในประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในพ้นื ทชี่ นบทและในเมือง (ฉ) ชาตินยิ มและความรักชาติ เจ้าหน้าทีแ่ ละพนักงานของรฐั จะต้องมคี วามภักดตี อ่ สาธารณรัฐ เพอ่ื ชาวฟิลิปปนิ สต์ ลอดเวลา โดยสง่ เสรมิ การใชส้ ินคา้ ทีผ่ ลติ ในประเทศ ทรพั ยากร และเทคโนโลยี สง่ เสรมิ ความชน่ื ชมและภาคภมู ใิ จในประเทศ และประชาชน พยายามทจ่ี ะรกั ษาและปกปอ้ งอธปิ ไตยของฟลิ ปิ ปนิ สจ์ าก การรุกรานจากต่างประเทศ (ช) มุ่งม่ันในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย เจ้าหน้าท่ีและพนักงานของรัฐจะต้องกระท�ำตนไปสู่หนทาง ประชาธิปไตยของชีวิตและค่านิยม รักษาหลักการของความรับผิดชอบ แกป่ ระชาชนใหเ้ ปน็ ทปี่ ระจกั ษ ์ โดยยอมรบั วา่ อ�ำนาจสงู สดุ มาจากพลเรอื น วา่ มอี �ำนาจเหนอื กองทพั  เจา้ หนา้ ทจ่ี ะรกั ษารฐั ธรรมนญู และความจงรกั ภกั ดี ตอ่ ประเทศเหนอื กวา่ ความจงรกั ภักดตี ่อบุคคล หรอื พรรคการเมอื ง (ซ) การใช้ชีวติ เรยี บงา่ ย เจา้ หนา้ ทแ่ี ละพนกั งานของรฐั และครอบครวั จะตอ้ งด�ำรงชวี ติ อยู่ 144

อยา่ งพอประมาณเหมาะสมกับต�ำแหน่งและรายได้ของตน เจ้าหนา้ ทจ่ี ะ ไมห่ ลงระเรงิ ในการแสดงความฟมุ่ เฟอื ย หรอื โออ้ วดความมงั่ คงั่ ในรปู แบบ ใดๆ มาตรา 2 เกณฑต์ อ่ ไปน้ีจะตอ้ งไดร้ บั การพจิ ารณาในการให้รางวัล (ก) จ�ำนวนปีหรอื อายงุ านในการให้บรกิ าร (ข) คณุ ภาพและความสอดคล้องของการปฏบิ ัติงาน (ค) ความไม่ชดั เจนของต�ำแหนง่ (ง) ระดับเงนิ เดือน (จ) ความมีเอกลักษณ์และคุณภาพท่ีเปน็ แบบอยา่ งของความ ส�ำเรจ็ (ฉ) ความเสยี่ งหรอื สง่ิ ล่อใจโดยธรรมชาติในการท�ำงานนนั้ (ช) สถานการณใ์ ดๆทค่ี ลา้ ยกนั ตอ้ งการพจิ ารณาจากความด ี ความชอบในการท�ำงาน โดยเฉพาะการให้รางวลั ตา่ งๆ มาตรา 3 การสร้างแรงจูงใจและผลตอบแทนให้แก่ข้าราชการและ พนักงานแห่งปี อาจจะใช้รูปแบบใดรูปแบบหน่ึงต่อไปนี้ การพิจารณา โดยคณะกรรมการท่ไี ด้รับรางวัลทีจ่ ัดตั้งข้นึ ภายใตป้ ระมวลกฎหมาย (ก) โบนสั (ข) การกล่าวถึง (ค) การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในองค์กรท่รี ัฐบาลเป็นเจ้าของ หรือดแู ล (ง) ให้ทุนการศกึ ษาในประเทศ และตา่ งประเทศ (จ) ให้วันหยุดพกั ผ่อน (ฉ) การเลอ่ื นต�ำแหนง่ อตั โนมตั เิ พอื่ ต�ำแหน่งท่สี ูงข้นึ ทีเ่ หมาะสม ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟิลปิ ปินส์ 145

กับคุณสมบัติ และเงินเดือนสูงข้ึน หากไม่มีต�ำแหน่งท่ีสูงขึ้นไปหรือ ต�ำแหนง่ ทีส่ งู ขึน้ ไปไม่วา่ ง สามารถบอกไดว้ า่ ต�ำแหนง่ ท่จี ะไดร้ ับรวมอยู่ ในงบประมาณปตี อ่ ไปของส�ำนกั งาน ยกเวน้ เมอ่ื มกี ารสรา้ งต�ำแหนง่ ใหม่ เชน่ ต�ำแหนง่ เฉพาะตวั ซง่ึ ท�ำใหเ้ สมอื นการบดิ เบอื นโครงสรา้ งขององคก์ ร คือการสร้างให้มีต�ำแหน่งสูงข้ึน ได้เงินเดือนมากขึ้น ทั้งๆท่ีไม่มีใน โครงสรา้ งเดิม และ เมื่อบคุ คลนี้ไปรบั ต�ำแหน่งเทยี บเท่า หรอื ต�ำแหนง่ ท่ีสูงข้ึนตามโครงสร้างเดิมต�ำแหน่งเฉพาะตัวที่สร้างข้ึนมาใหม่จะว่างลง และถกู ยกเลิกทันที มาตรา 4 รางวลั ทนุ การศึกษาจะถูกควบคุมดว้ ยความดีและหลักการ ทีเ่ หมาะสม (ก) ระบบจะต้องได้รับการบริหารงานโดยคณะกรรมการท่ีได้รับ รางวัลข้าราชการดีเดน่ และลกู จ้าง ประกอบไปดว้ ย (1) ผูต้ รวจการแผน่ ดนิ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานรว่ ม (2) ประธาน CSC ด�ำรงต�ำแหน่งประธานร่วม (3) ประธาน COA เป็นสมาชกิ (4) พนกั งานของรฐั 2 คน ทไี่ ดร้ บั การแตง่ ตง้ั จากประธานาธบิ ดี (ข) ในการน้ีคณะกรรมการจะด�ำเนินการดังต่อไปนี้ตามหน้าที่และ ความรบั ผดิ ชอบ (1) ด�ำเนินการตามระยะเวลาตรวจสอบอย่างตอ่ เนือ่ งของการ ปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หนา้ ทแ่ี ละพนกั งานในทกุ แผนกส�ำนกั งาน และหนว่ ยงาน (2) สร้างระบบแรงจูงใจและผลตอบแทนประจ�ำปี เพื่อสร้าง แรงจงู ใจในการท�ำงานใหแ้ กเ่ จา้ หนา้ ทแ่ี ละพนกั งานทม่ี คี วามดี โดดเด่นบนพื้นฐานของมาตรฐานท่ีก�ำหนดไวใ้ นมาตรา 2 พระราชบัญญตั ินต้ี ามกฎข้อที่ 5 146

(3) ก�ำหนดรูปแบบผลตอบแทนท่ีไดร้ ับ (4) ก�ำหนดและน�ำกฎมาใชใ้ นการควบคมุ ความประพฤติของ กิจกรรม ซึ่งจะรวมถงึ แนวทางในการประเมนิ ผลและการ เสนอกลไก ทต่ี ระหนกั ถงึ การใหร้ างวลั และการก�ำหนดคณะ อนกุ รรมการในการตดั สนิ ซง่ึ ในการประเมนิ ผลของการเสนอ ชอ่ื ให้คณะกรรมการอาจได้รบั การช่วยเหลือโดยผ้เู ชี่ยวชาญ ทางเทคนคิ การคดั เลือกจากภาครฐั และภาคเอกชน มาตรา 5 ส�ำนกั งาน ขา้ ราชการพลเรอื นตอ้ งจดั ใหม้ กี ารบรกิ ารทส่ี �ำนกั เลขาธิการคณะกรรมการ มาตรา 6 ไมม่ เี งอื่ นไข หรอื ขอ้ หา้ มทหี่ นว่ ยงาน ส�ำนกั งานหรอื ตวั แทน สาขาจะตง้ั โครงการใหร้ างวลั บคุ ลากรในหนว่ ยงาน แตต่ อ้ งไมน่ อกเหนอื กฎกตกิ า หรอื ขดั กบั กฎระเบยี บทมี่ อี ยู่ และการใหร้ างวลั น ี้ ตอ้ งค�ำนงึ ถงึ ระบบคณุ ธรรมและความยุติธรรมเปน็ พนื้ ฐาน มาตรา 7 งบประมาณทค่ี รอบคลมุ คา่ ใชจ้ า่ ยทง้ั หมดในการด�ำเนนิ การ ตามกฎข้อน้ีจะต้องได้รับจัดต้ังข้ึนตามการจัดสรรของคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน กฎขอ้ ท่ีหก: หน้าที่ของขา้ ราชการและลูกจา้ ง มาตรา 1 ในฐานะทเ่ี ปน็ กฎทว่ั ไปเมอื่ มกี ารรอ้ งขอหรอื ค�ำรอ้ ง ไมว่ า่ จะ เป็นลายลักษณ์อักษรหรือทางวาจา สามารถกระท�ำอย่างรวดเร็ว ทันท่วงที และอย่างเป็นทางการ และจะต้องด�ำเนินการได้ทันทีโดยไม่ เลอื กปฏบิ ตั ิ และตอ้ งไมเ่ กนิ กวา่ สบิ หา้ วนั ท�ำการนบั จากไดร้ บั การรอ้ งขอ หรือค�ำร้อง ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ิปปนิ ส์ 147

มาตรา 2 ในหน่วยงานของส�ำนักงานหรือหน่วยงานท่ีมีปริมาณงาน และผู้ใชบ้ ริการมาก หัวหน้าหน่วยงาน ส�ำนักงานหรอื ตวั แทนสาขาตอ้ ง ออกแบบกลไกเพอ่ื ปอ้ งกนั การรอรบั บรกิ ารทน่ี านจนเกนิ ไป โดยใหแ้ ตล่ ะคน มบี ตั รควิ ทจี่ ะตอ้ งระบวุ นั ทแี่ ละเวลาในการเขา้ รบั บรกิ าร เมอ่ื ผทู้ ม่ี รี ายชอื่ ตามนดั เขา้ รบั บรกิ าร พนกั งาน/เจา้ หนา้ ทจี่ ะสามารถใหบ้ รกิ ารโดยเรว็ ยงิ่ ขน้ึ กลา่ วได้วา่ ผู้มีสทิ ธิจะได้รับบรกิ ารตอ่ เมื่อแสดงบัตรนัดตามล�ำดับที่ มาตรา 3 ในกรณที มี่ กี ารรอ้ งขอ การเขยี นขอ้ รอ้ งเรยี น หรอื การเขยี น จดหมาย โทรเลข หรอื ส่งิ ที่คลา้ ยกัน พนกั งานหรอื ลูกจา้ งในความดแู ล จะกระท�ำการเชน่ เดยี วกนั ภายในสบิ หา้ วนั ท�ำการ นบั จากไดร้ บั จดหมาย ดังกล่าวโดยมีเงื่อนไขวา่ (ก) ถา้ มกี ารสอ่ื สารทอ่ี ยใู่ นอ�ำนาจของส�ำนกั งานหรอื หนว่ ยงานทเ่ี ปน็ ทางการ ลูกจ้างจะตอ้ ง (1) เขยี นบันทกึ หรือหนงั สอื รับทราบเร่ืองอยา่ งสม่ำ� เสมอ จาก การกระท�ำที่อาจจะด�ำเนนิ การใดๆ ตามวธิ ีปกติทางธรุ กจิ ของกรมส�ำนักงานหรอื หน่วยงานที่ระบวุ ันที่ เม่อื เรื่อง ดงั กล่าวจะไดร้ บั การจ�ำหนา่ ย  ต้องบันทึกชอื่ ของเจา้ หน้าท่ี หรือลกู จ้างท่ดี แู ลการออกจดหมายหรือเอกสารดังกล่าวไว้ (2) ในกรณีท่ไี มม่ กี ารท�ำงานโดยปกติหรือมีประเดน็ ยากๆเข้า มาเกย่ี วขอ้ ง การเขยี นบนั ทกึ หรอื ท�ำจดหมายตอบรบั ใหก้ ลมุ่ ผสู้ นใจ ผรู้ อ้ งเรยี น หรือผู้สือ่ ขา่ ว  จะกระท�ำได้กต็ ่อเมอ่ื มี การรอ้ งขอหรือมีการรับขอ้ รอ้ งเรียน  และสามารถด�ำเนิน การไดใ้ นกรณีท่ีมคี วามจ�ำเปน็ ต้องส่งขอ้ มูลเพม่ิ เติม รวมทง้ั ข้อก�ำหนด เอกสารบันทึก หรอื   หนังสือรบั ทราบทจ่ี ะให้ รฐั ก�ำหนดระยะเวลาทเ่ี หมาะสมใน   การทจ่ี ะตอบรบั และ 148

ลงนามอย่างเปน็ ทางการ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงต้องประสาน กบั พนกั งานหรอื ลูกจา้ งทรี่ บั เร่อื งและดแู ลจดหมายดงั กลา่ ว ของหนว่ ยงาน  ซึ่งจะตอ้ งเปน็ ผแู้ จง้ ใหบ้ คุ คลผู้สนใจ  และ ผ้รู อ้ งเรียน หรือผสู้ อื่ ขา่ วทราบถงึ กระบวนการด�ำเนนิ การ (ข) ถ้ามกี ารส่อื สารนอกเขตอ�ำนาจของตนเจ้าหนา้ ที่หรอื ลกู จ้างต้อง (1) ดจู ดหมายโทรเลขค�ำรอ้ งหรอื ค�ำขอดว้ ยวาจาสง่ ไปยงั หนว่ ยงาน ส�ำนักงาน หรอื ตัวแทนสาขาท่ีเหมาะสม (2) รบั ทราบการสอื่ สารโดยเนอ้ื หาของบนั ทกึ หรอื จดหมายตอบรบั ในกลมุ่ ผู้สนใจ ผรู้ อ้ งเรยี น หรือผู้สอ่ื ขา่ ว และแนบส�ำเนา จดหมายหรอื หนังสอื อ้างองิ ไปยงั หน่วยงาน ส�ำนักงาน หรือ ตัวแทนสาขาท่ีเหมาะสม หนว่ ยงาน ส�ำนกั งาน หรอื ตวั แทนสาขาทไ่ี ดร้ บั จดหมาย โทรเลขค�ำรอ้ ง หรอื ค�ำขอวาจา ตอ้ งวจิ ารณญาณทเี่ หมาะสมและด�ำเนนิ การใหส้ อดคลอ้ ง กับส่วนยอ่ ย (ก) สว่ นที่ 1 และ 2 ของขอ้ ตกลงฉบบั น้ี ระยะเวลาสบิ หา้ วนั ท�ำการในทน่ี ี้ นบั จากวนั ทไ่ี ดร้ บั การสอ่ื สารทเ่ี ปน็ ลายลักษณ์อักษรหรือทางวาจาโดยกรมส�ำนักงานหรือหน่วยงานที่ เกีย่ วข้อง มาตรา 4 เอกสารท้ังหมดรวมทั้งเอกสารท่ีจะต้องด�ำเนินการ  และ แลว้ เสรจ็ ภายในระยะเวลาทเี่ หมาะสมจากการเตรยี มความพรอ้ มจดหมาย ดงั กลา่ ว  ระยะเวลาทเ่ี หมาะสมจะไดร้ บั การพจิ ารณาตามหลกั เกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) ในกรณที ี่กฎหมายหรือกฎท่ีใช้บงั คบั ออกตามก�ำหนดระยะเวลา น้ันในการตัดสินใจท่ีจะได้รับการแสดงผลหรือการกระท�ำที่น�ำมาน้ันจะ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ าม ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ปิ ปนิ ส์ 149


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook