Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฟิลิปปินส์-philippines

ฟิลิปปินส์-philippines

Published by E-book Library กศน.ตำบลสำโรง, 2019-04-25 01:11:30

Description: ฟิลิปปินส์-philippines

Search

Read the Text Version

เจตนจ์ �ำนงคข์ องประธานาธบิ ดี BENIGNO S. AQUINO III 2.1 วิสยั ทศั น์ “การเติบโตอย่างทัว่ ถงึ บรรลผุ ล การสรา้ งโอกาสการจา้ งงาน และลดความยากจน” “Achieve Inclusive Growth, Create Employment Opportunities, and Reduce Poverty” 2.2 เป้าหมาย • การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ทสี่ งู ขน้ึ รอ้ ยละ 7-8 ตอ่ ปี เปน็ เวลาอยา่ ง นอ้ ย 6 ปี • การเติบโตของการจ้างงานจ�ำนวนมาก • การเตบิ โตทช่ี ว่ ยลดความยากจน รวมทงั้ ความส�ำเรจ็ ตามเปา้ หมาย ของการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDGs) 50

ภาพรวม: “แผนวิสยั ทศั น์: การเตบิ โตอย่างท่วั ถงึ ” 2.3 ยทุ ธศาสตร์ แผนกลยุทธ์ 1) บรรลกุ ารเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ในระดบั สูงและย่งั ยนื เพมิ่ โอกาส การจ้างงานท่ีมีประสิทธิผล เพื่อให้บรรลุการนี้ต้องมีการเปลี่ยนแปลง โครงสร้าง ซึ่งจะต้องด�ำเนินการไปพร้อมกับอัตราการเติบโตท่ีสูง  และ ไดร้ ับนโยบายที่เหมาะสม ในทางเศรษฐกจิ จะต้องมีรายไดต้ ่อหัวท่ีสงู ข้ึน มีประสิทธภิ าพ และลดความยากจน 2) การเข้าถึงโอกาสในการพัฒนาที่เท่าเทียมกันในพ้ืนท่ีทั่วไปทาง ภมู ศิ าสตรแ์ ละรายไดท้ แี่ ตกตา่ งกนั รวมทง้ั คณุ ภาพในการศกึ ษาในสงั คม ทแ่ี ตกต่าง การดแู ลสุขภาพเบ้อื งตน้ การยกระดับสถานทอ่ี อกก�ำลงั กาย ให้เทา่ เทยี ม โครงสรา้ งพ้นื ฐานต่างๆ รวมท้ังที่ดนิ และการก�ำกบั ดแู ลที่ดี ขึ้นจะช่วยให้เกิดการขยายตัวของโอกาสในการจ้างงานที่น�ำไปสู่การลด ความยากจน ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 51

3) การก�ำหนดและการด�ำเนนิ การ การใชต้ าขา่ ยความปลอดภยั ทาง สงั คมท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ และตอบสนองตอ่ ผู้ที่ไมส่ ามารถเขา้ รว่ มได้ โดย สามารถจับตาดูได้ทันที กระบวนการในการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ ใหมเ่ หลา่ นี้ ตอ้ งมตี าขา่ ยความปลอดภยั ทางสงั คมทจ่ี ะสนบั สนนุ และให้ อ�ำนาจแกส่ งั คมทเี่ ปราะบาง ไมเ่ พยี งแตค่ วามยากจน แตย่ งั สง่ ผลกระทบ ตอ่ บรรยากาศทีเ่ ปลยี่ นแปลงในสงั คมอกี ด้วย ภาพรวม: “แผนยุทธศาสตร”์ 52

3 ประวตั ิความเปน็ มาของระบบราชการ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ิปปนิ ส์ 53

ระบบราชการของสาธารณรฐั ฟิลิปปนิ ส์ เร่ิมมขี น้ึ ต้ังแตเ่ มือ่ สเปนเข้า มาครอบครองฟลิ ปิ ปนิ ส์ และมกี ารพฒั นาเมอ่ื อยภู่ ายใตก้ ารปกครองของ สหรฐั อเมรกิ า จนกลายมาเปน็ ระบบราชการทมี่ เี อกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั ของ ฟลิ ปิ ปนิ สเ์ อง 3 .1   ฟ((Pพิลr.ิปeศปc.2oิน1lส0o์ภ6nา-i2ยa4lใต4Pก้1Hา)-รSปpกaคnรisอhงขCอoงlสoเnปiนzation) กอ่ นการเขา้ มาของสเปน[40] ชาวพนื้ เมอื งบนเกาะฟลิ ปิ ปนิ สอ์ ยกู่ นั เปน็ หมบู่ า้ นยอ่ มๆ เรียกว่า “บารงั ไก” หลายหมู่บ้านทีอ่ ยู่ใกลช้ ายฝง่ั พฒั นา จนกลายเปน็ ชมุ ชนคา้ ขายขนาดใหญ่ จนในปพี .ศ. 2108 สเปนไดร้ บชนะ ชนพน้ื เมอื ง และไดต้ งั้ ฐานทพั แหง่ แรกทเ่ี กาะเชบู จากนนั้ สเปนไดต้ ง้ั สภา การปกครองข้ึน ซง่ึ มี เกล โลเปซ เด เลกซั ปี (Miguel López de Le- gazpi) เปน็ นายกเทศมนตรีคนแรก และตงั้ มะนลิ าเป็นสถานกี ารคา้ สเปนได้เขา้ มาจดั ระบบชนช้นั ในสงั คมใหม่ โดยเรียกชนชั้นปกครอง ว่า “พรนิ ซพิ าเลยี ” ซึง่ หมายถึงชนช้ันสงู สดุ ประกอบด้วย ผนู้ �ำเดิมของ แตล่ ะบารงั ไกและผปู้ กครองเมอื งทไี่ ดร้ บั มอบอ�ำนาจจากสเปน โดยชนชน้ั ดังกล่าวจะได้รับสิทธ์ิในการออกเสียงแสดงความคิดเห็นทางการเมือง และไดร้ บั อนญุ าตใหท้ �ำงานในหนว่ ยงานปกครอง โดยชายจะมคี �ำน�ำหนา้ ชือ่ วา่ “ดอน” และหญงิ มีค�ำน�ำหน้าชอื่ วา่ “ดอนญา่ ” อย่างไรก็ตาม ใน ยุคที่สเปนปกครองน้ี มีกฎห้ามชาวต่างชาติถือครองท่ีดินในฟิลิปปินส์ ท�ำใหช้ าวสเปนและชาวตา่ งชาตนิ ยิ มแตง่ งานกบั เจา้ ของทดี่ นิ หรอื ชนชนั้ 54

พ้นื เมอื งท่รี ่�ำรวยเพอื่ ให้มสี ิทธใิ นทด่ี ินเพมิ่ ข้ึน ด้วยเหตนุ จ้ี ึงเปน็ ทีม่ าของ ชนช้นั ใหม่ท่ีเรยี กวา่ “เมสซีโต (ผ้ชู าย) และเมสตีซา (ผหู้ ญงิ )” การจดั แบง่ ชนชนั้ ดงั กลา่ วท�ำใหส้ เปนมคี วามสะดวกในการใชม้ าตรการแสวงหา ผลประโยชนจ์ ากชาวพน้ื เมือง โดยใชร้ ะบบ “โปโล” (Polo System)[38] เปน็ ระบบเกณฑ์แรงงานท่ีใหช้ าวพื้นเมอื งทุกคน ยกเว้นหัวหนา้ เผ่าและ ลูกชายคนแรกของหัวหน้าเผ่าต้องอทุ ศิ แรงงานใหแ้ ก่ทางราชการ ชนชั้นเมสซิโต ถือเป็นชนชั้นกลางที่เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษท่ี 17[35] ถอื เปน็ ชนชนั้ ทมี่ อี ยมู่ ากในฟลิ ปิ ปนิ ส์ ไดแ้ ก ่ พอ่ คา้   เจา้ ของทดี่ นิ   และ ลกู ครง่ึ  ซงึ่ สามารถเขยบิ ฐานะใหท้ ดั เทยี มกบั ชาวสเปนได ้ ชนชน้ั นน้ี ยิ มสง่ บตุ รหลานไปเรยี นยงั ตา่ งประเทศกนั มาก เมอื่ กลบั มายงั ประเทศของตน กไ็ ดร้ ับราชการ มหี นา้ ทบี่ ริหารมากขึ้น และไดเ้ ห็นความเหล่ือมล้�ำต่�ำสูง ทางสงั คม การทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ของขา้ ราชการสเปน การกดขขี่ ม่ เหงของ สเปนต่อชาวฟิลิปปินส์ ฯลฯ ท�ำให้เกิดความรักชาติ และเรียกร้องการ ปฏิรปู ขน้ึ อย่างไรก็ตาม ระบบการปกครองของสเปนน้ีเองที่สรา้ งให้เกิดระบบ อุปถมั ภข์ ้นึ ในระบบราชการของฟลิ ิปปนิ ส์ [14] 3 .  2 ฟ((Mพิล.ิปaศlป.oนิ2lo4สs4์ภR1าe-ย2pใ4ตu8ก้b9าl)iรcป-AกmครeอrงicขaอnงสCหoรloฐั nอiเzมaรtกิ ioาn) ภายใตก้ ารปกครองของสหรฐั อเมรกิ า สังคมฟิลิปปินส์เปลย่ี นแปลง ไปเป็นอย่างมาก เนื่องจากสหรัฐอเมริกาส่งเสริมและให้อิสระเสรีภาพ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟิลิปปินส์ 55

มากกว่าสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสเปน มีการจัดสวัสดิการให้แก่ ชนชนั้ กรรมกร การคมุ้ ครองแรงงานสตรี เด็ก และคนพิการ ในสว่ นของ ระบบราชการ สหรฐั อเมรกิ าไดจ้ ดั ตง้ั “The Philippine Civil Service” ข้ึนในปี พ.ศ. 2443[10] ภายใตพ้ ระราชบัญญตั ิท่ี 2260 (Republic Act 2260) เกยี่ วกบั กฎหมายขา้ ราชการพลเรอื น ซง่ึ ถอื เปน็ จดุ ทมี่ กี ารพฒั นา ระบบราชการอยา่ งชดั เจนในสมยั ทฟี่ ลิ ปิ ปนิ สอ์ ยภู่ ายใตก้ ารปกครองของ สหรัฐอเมริกา ภาพที่ 5 คณะกรรมการฟลิ ปิ ปนิ ส์ชดุ ที่สอง จากซ้าย: Dean C. Worcester, Henry Clay Ide, William Howard Taft, Bernard Moses, and Luke Wright ทีม่ า: http://celebratepcsa.wordpress.com/history/ 56

อย่างไรก็ตามการเข้ารับราชการในสมัยการปกครองของอเมริกานั้น ถกู จ�ำกดั ดว้ ย 2 เงอื่ นไข[41] ประการแรก คอื  ดา้ นความรกั ชาต ิ ซง่ึ ขา้ ราชการ จะถกู จ�ำแนกออกโดยวตั ถปุ ระสงคใ์ นการใหค้ �ำสตั ยป์ ฏญิ าณทวี่ า่  “จงตระหนกั และยอมรบั อ�ำนาจสงู สดุ ของสหรฐั อเมรกิ าบนเกาะแหง่ น ี้ จะตอ้ งรกั ษาไว้ ซง่ึ ความศรทั ธาและมคี วามจงรกั ภกั ด”ี  ประการทสี่ อง คอื  การเขา้ รบั ราชการ นัน้ จะถกู ตดั สนิ จากขอ้ ดี และความเหมาะสมต่างๆ ทีถ่ ูกก�ำหนดไว้ผ่าน การแข่งขันแบบเปิดในการสอบแข่งขัน โดยข้าราชการจะมีต�ำแหน่ง หน้าท่ีการงานท่ีม่ันคง  และการเล่ือนต�ำแหน่งน้ันก็ขึ้นอยู่กับศักยภาพ ในการท�ำงาน ขา้ ราชการทมี่ คี วามเปน็ มอื อาชพี ตามหลกั แลว้ ตอ้ งไมฝ่ กั ใฝ่ ทางการเมอื ง ซึ่งเปน็ ไปตามค�ำสตั ยป์ ฏิญาณท่ีให้ไว้ ขา้ ราชการได้ชอ่ื ว่า ท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพและน่าเช่ือถือ จนกระทั่งสงครามโลกคร้ังที่ 2 เกดิ ข้ึน คณะกรรมาธิการเชื่อว่าชาวอเมริกาจะยึดกับสัดส่วนส�ำคัญใน ต�ำแหน่งทางราชการเป็นเวลาอีกนาน แต่ช่วงก่อนปีพ.ศ. 2439 มีการ ลงทุนเพิ่มมากข้ึน การให้เงินเดือนท่ีสูงของภาคเอกชนในฟิลิปปินส์ได้ จ�ำกัดจ�ำนวนชาวอเมริกันที่เข้ามาร่วมและท�ำงานในหน่วยงานราชการ ดังนั้นในระยะเวลาไม่นานชาวฟิลิปปินส์ก็ยึดครองต�ำแหน่งทางราชการ เป็นสว่ นใหญ่ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ปิ ปินส์ 57

3 . 3 ย(Iคุ nอdสิ eรpภeาnพdแeลnะcปeระaชnาdธปิ Dไeตmย ocratization) หลังจากฟิลิปปินส์ได้รับอิสรภาพจากสหรัฐอเมริกา ได้เกิดการ เปลยี่ นแปลงทส่ี �ำคญั ตา่ งๆ มากมาย ในสว่ นของระบบราชการเองกเ็ ชน่ กนั ในช่วงปี  พ.ศ.  2515  ฟิลปิ ปินสไ์ ดม้ กี ารปฏิรปู ระบบราชการทีส่ �ำคญั ครั้งใหญ่ โดยใช้ช่ือว่า “Intergrated Reorganization Plan” โดยมี สาระส�ำคัญในการปฏิรปู [39] ดังน้ี 1) การปรับปรุงโครงสร้างส่วนราชการในส�ำนักงานประธานาธิบดี มีจุดมุ่งหมายเพ่ือลดหน่วยงานท่ีสังกัดส�ำนักงานประธานาธิบดี โดย ก�ำหนดหลกั เกณฑใ์ หแ้ กห่ น่วยงานท่ีสงั กดั ส�ำนักงานประธานาธิบดี ดงั น้ี (1) สว่ นราชการหรอื องคก์ รทที่ �ำหนา้ ทใ่ี หค้ �ำปรกึ ษาแกฝ่ า่ ยบรหิ าร ในเรอ่ื งทมี่ คี วามส�ำคญั ตอ่ การบรหิ ารราชการเทา่ นนั้  (Purely Adivisory and Consultative Body) (2) สว่ นราชการหรอื องคก์ รที่ท�ำหน้าที่ให้ความชว่ ยเหลอื ด้านวิชาการ หรือด้านอ�ำนวยการแก่ผู้บริหารโดยตรง (Direct Staff Assistance) (3) ส่วนราชการหรือองค์กรท่ีมีหน้าที่เก่ียวข้องกับหลายส่วน ราชการ (Involve Several Departments and Agencies) (4) สว่ นราชการ หรอื องคก์ รทผี่ บู้ รหิ ารประเทศตอ้ งดแู ลอยา่ ง ใกลช้ ิด (Require The Personal Attention) 2) การก�ำหนดรปู แบบโครงสรา้ งสว่ นราชการภายในกระทรวง โดย ใหท้ กุ กระทรวงแบง่ สว่ นราชการทท่ี �ำหนา้ ทอ่ี �ำนวยการและวชิ าการ ออก เป็น 4 ส่วน 58

(1) งานวางแผน (Planning Service) (2) งานคลังและการจัดการ (Financial and Management Service) (3) งานบรหิ ารทั่วไป (Admistrative Service) (4) งานวชิ าการ (Technical Service) ดา้ นงานหลกั หรอื ดา้ นการปฏบิ ตั กิ าร จะแบง่ ออกเปน็ กรม (Bureaus) และส�ำนกั งานเขต (Regional Offices) จนกระท่งั ปี พ.ศ. 2529 ได้มีการปฏริ ปู ระบบราชการอกี ครัง้ โดยมี การตั้งคณะกรรมการขน้ึ หน่ึงชดุ เรียกวา่ Presidential Commission on Government Reorganization และไดม้ กี ารปรบั ปรงุ สว่ นราชการ และการบริหาร เพือ่ เนน้ ดา้ นการบรหิ ารการพัฒนา และสอดรบั กับการ ใหภ้ าคประชาชนเข้ามามสี ว่ นร่วมในการบรหิ ารประเทศ ต่อมาใน ป ี พ.ศ. 2539  ในสมยั ของประธานาธิบดีฟิเดล  รามอส (Fidel  Ramos)  ไดม้ กี ารปฏริ ปู ระบบราชการอกี ครง้ั หนง่ึ   โดยใชช้ อื่ วา่ “Reengineering of the Bureaucracy Program”  มจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบราชการ  ปรับเปลี่ยน ภาคราชการให้เกิดความเข้มแข็ง และให้ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทใน การพัฒนาประเทศเพิ่มมากขึ้น โดยการกระจายงานระหว่างหน่วยงาน ของรัฐในระดับต่างๆ ให้เหมาะสม และขจัดการปฏิบัติงานที่ไม่จ�ำเป็น ออกไป ในการปฏิรูประบบราชการในแต่ละคร้ัง จะต้องมีการแต่งตั้งคณะ กรรมการ เพ่ือน�ำเสนอนโยบาย หลักการ แนวทาง มาตรการ และ แผนการด�ำเนินงาน เสนอต่อประธานาธิบดี จากนั้นคณะกรรมการชุด ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ 59

ดังกล่าวจะถูกยุบตัวลง และมีกระทรวงงบประมาณและการจัดการ (Department of Budget and Management) เข้ามาท�ำหนา้ ท่เี ป็น ฝา่ ยเลขานกุ ารของคณะกรรมการและรบั ผดิ ชอบในการศกึ ษา วเิ คราะห์ และจดั ท�ำรายงานสรปุ ขอ้ เสนอเกยี่ วกบั นโยบาย แนวทาง มาตรการ และ แผนการด�ำเนนิ การตามมติของคณะกรรมการ เพื่อเสนอประธานาธิบดี พจิ ารณาสั่งการให้กระทรวงต่างๆ ไปด�ำเนินการตอ่ ตลอดจนมหี นา้ ท่ีให้ ค�ำปรึกษา แนะน�ำ ติดตาม เร่งรัดให้กระทรวงต่างๆ ด�ำเนินการตาม นโยบาย หลกั การ มาตรการ และแผนการด�ำเนนิ การตามทปี่ ระธานาธบิ ดี เห็นชอบ และมคี �ำส่ังใหก้ ระทรวงต่างๆ ด�ำเนินการ 60

4 ภาพรวมของระบบราชการ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ิปปนิ ส์ 61

4 .1   รปัฐรบะาชลาคนมโอยบาเาซยียรนฐั บาล และนโยบายการเข้าส ู่ ฟิลปิ ปนิ ส์ถอื เปน็ 1 ใน 5 ประเทศเรมิ่ แรกในการก่อตั้งอาเซยี น ซึ่งมี วัตถุประสงค์เพื่อร่วมมือกันท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ระหว่างประเทศสมาชิก จนต่อมาได้ขยายขอบเขตไปสู่ความร่วมมือ ทางการเมืองด้วย จึงมีประเด็นที่ควรเรียนรู้ในภาครัฐของประเทศ ฟิลปิ ปนิ ส์ดงั นี้ 4.1.1 ดา้ นการศึกษา ในปี พ.ศ. 2523 รัฐบาลฟิลิปปินส์ได้เร่ิมส่งเสริมนโยบายด้านการ ศึกษาเพ่ือดึงดูดนักศึกษาต่างชาติเข้าประเทศ ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 รฐั ไดเ้ พมิ่ นโยบายสนบั สนนุ ใหป้ ระเทศเปน็ ศนู ยก์ ลางการศกึ ษาแหง่ เอเชยี (Education Center in Asia) โดยอ�ำนวยความสะดวกในการออกวีซ่า ให้นักเรียนต่างชาติ และจัดโปรแกรมแลกเปลี่ยนระหว่างสถาบันการ ศกึ ษาในฟลิ ปิ ปนิ สก์ บั มหาวทิ ยาลยั ในตา่ งประเทศ รวมถงึ ปรบั ปรงุ ระบบ การศึกษาและคุณภาพบุคลากร เพื่อเตรียมความพร้อมในการเปิดรับ นกั ศึกษาต่างชาติด้วย ทุกวันน้ีฟิลิปปินส์เป็นอีกชาติในอาเซียนที่มีแนวโน้มว่าจะกลายเป็น ศนู ยก์ ลางการศกึ ษานานาชาตใิ นภูมิภาคเอเชีย-แปซฟิ กิ โดยเฉพาะการ เรียนดา้ นภาษาองั กฤษ (English Language Courses) กลายเปน็ สาขา ยอดนยิ มในหมนู่ กั เรยี นตา่ งชาติ ปจั จบุ นั มนี กั เรยี นเขา้ เรยี นในสถาบนั การ 62

ศึกษาของฟิลปิ ปินสก์ ว่า 2,100 แห่ง ฟิลิปปินส์ยังถือเป็นผู้ริเร่ิมโครงการ ASEAN Children’s Forum (ACF) ซึ่งเป็นโครงการภายใต้กรอบความร่วมมือด้านสังคมและ วัฒนธรรมในอาเซียน[40] โดยร่วมกับประเทศไทย ซึ่งทั้งสองประเทศได้ ด�ำเนนิ การกอ่ ตง้ั ภาคคี วามรว่ มมอื ระหวา่ งผปู้ ฏบิ ตั งิ าน นกั การศกึ ษา และ สถาบนั การศกึ ษาดา้ นสงั คมสงเคราะหใ์ นอาเซยี น เพอ่ื ใหเ้ กดิ การแลกเปลยี่ น เรียนรู้ พัฒนาบุคลากร ก�ำหนดมาตรฐานการด�ำเนินงาน และการศึกษา รวมทงั้ สง่ เสรมิ การเรยี นการสอนและการประกอบวชิ าชพี สงั คมสงเคราะห์ ในอาเซียน โดยมีเป้าหมายสุดท้าย คือ การจัดสวัสดิการสังคมส�ำหรับ ประชากรอาเซียนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและไดม้ าตรฐาน นอกจากนี้ฟิลิปปินส์ยังได้ด�ำเนินการน�ำร่อง และให้การสนับสนุน การบูรณาการทางการศึกษาในภูมภิ าค โดยการเสริมสร้างศักยภาพการ แขง่ ขันของอาเซียนในเวทีโลก และไดด้ �ำเนนิ การตา่ งๆ เชน่ 1) ริเริ่มโครงการ 2 ภาษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดย ฟิลปิ ปินสไ์ ด้ด�ำเนนิ ยุทธศาสตรเ์ รือ่ งดงั กลา่ วในโรงเรยี นระดับประถม 2) เสริมสร้างความแข็งแกร่งทางการศึกษา จัดการศึกษาปฐมวัย และการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียน เสริมสร้างความแข็งแกร่งของการ พฒั นาและการดแู ลเดก็ ปฐมวัย โดยจดั ท�ำแนวปฏิบัติเกย่ี วกับมาตรฐาน การจดั การศึกษาปฐมวัยเพอื่ แบง่ ปนั ในภมู ภิ าค 3) บูรณาการด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศในหลักสูตรการศึกษา เพื่อให้นักเรียนในอาเซียนสามารถเรียนรู้ผ่านส่ือการศึกษาทางเว็บไซต์ หรอื สือ่ การสอนโดยใชเ้ ทคโนโลยแี บบตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งทว่ั ถึง ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ิปปนิ ส์ 63

4) รเิ ริ่มโครงการจดั การศกึ ษาส�ำหรบั ผู้ด้อยโอกาส (Reaching the Unreached Children) ภายใต้กรอบการด�ำเนินงานขององค์การ รฐั มนตรีศกึ ษาแหง่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรอื SEAMEO ฟิลิปปินส์ยังนับเป็นผู้น�ำในการจัดการศึกษาส�ำหรับผู้ด้อยโอกาสใน อาเซียน เพราะมีการท�ำงานตามแนวนโยบายที่สนับสนุนการศึกษาให้ ผดู้ ้อยโอกาสอย่างครอบคลมุ และหลากหลาย เช่น 1) การจดั ระบบการตดิ ตามนกั เรยี นทอ่ี อกจากโรงเรยี นกลางคนั และ ประชากรกลมุ่ ทย่ี ังไมไ่ ดร้ ับการศกึ ษา 2) การจัดการศึกษาในภาวะวิกฤต (Education in Emergencies) เพ่ือเตรียมความพร้อมรบั ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติ เชน่ ไตฝ้ นุ่ สึนามิ ภเู ขาไฟ ระเบดิ เปน็ ตน้ ในสว่ นภมู ภิ าค ฟลิ ปิ ปนิ สไ์ ดจ้ ดั การศกึ ษาเพอื่ เตรยี มความ พรอ้ มรบั ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตแิ ละภาวะฉกุ เฉนิ ตา่ งๆ โดยรว่ มด�ำเนนิ การกบั อนิ โดนีเซีย ทั้งนี้ฟิลิปปินส์ยังมีความร่วมมือทางด้านการศึกษา โดยเฉพาะกับ องคก์ ารซีมีโอ หรือ องคก์ ารรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ (Southeast Asian Ministers of Education Organization: SEAMEO) โดยรบั เปน็ ประเทศแกนน�ำในการด�ำเนนิ โครงการ 3 โครงการ ไดแ้ ก่ การ ศกึ ษาในสถานการณฉ์ กุ เฉนิ การจดั การศกึ ษาส�ำหรบั เดก็ ดอ้ ยโอกาส และ การพฒั นาการดูแลเด็กปฐมวัย 64

4.1.2 ด้านเศรษฐกจิ Mrs. Jocelyn S. Batoon-Garcia (โจเซลีน บาตอน-การ์เซีย) เอกอัครราชทูตของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์และผู้แทนถาวรฟิลิปปินส์ ประจ�ำสหประชาชาติ ใหส้ มั ภาษณก์ บั หนงั สอื พมิ พ์ “ฐานเศรษฐกจิ ” ถงึ ความพร้อมของฟิลิปปินส์กับการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558[23] วา่ “เราจดั ล�ำดบั ความส�ำคญั ของกจิ กรรมในการเสรมิ สรา้ ง การรับรู้ของ AEC ต่างๆ โดยมงุ่ เน้นไปทก่ี ลุ่ม Micro และ SMEs ซ่งึ มี จ�ำนวนกว่ารอ้ ยละ 99 และถือวา่ เปน็ สว่ นใหญ่ของประเทศ โดยที่กลุม่ น้ี จะสามารถพัฒนาไปเป็นกระดูกสันหลังทางเศรษฐกิจของประเทศได้ และจะส่งต่อไปถึงการพัฒนาเศรษฐกิจในแถบชนบทด้วยเช่นกัน เรามี โครงการท�ำระบบการรบั รองสินค้าและอาชพี ท่ีใช้ระบบการรับรองรว่ ม กันในประเทศอาเซียน ซึ่งขณะนี้เราก็ได้ท�ำบันทึกความเข้าใจ (MOU) รว่ มกบั สปป.ลาว และอนิ โดนเี ซยี ไปแลว้ นอกจากนเ้ี รายงั ไดท้ �ำการเจรจา ทางการคา้ และการใหบ้ รกิ ารอกี หลายประเภท ซงึ่ เราคดิ วา่ มคี วามจ�ำเปน็ ที่จะต้องใช้ระบบร่วมกัน และเราก�ำลังอยู่ในช่วงการเจรจาต่อรองกับ หลายๆ ประเทศ เชน่ เรอ่ื งการศึกษา การศึกษาของเราทจี่ ากเดมิ มีเกรด 10 กไ็ ด้เพม่ิ ใหม้ ถี งึ เกรด 12 เพ่อื ให้เหมอื นกบั อกี หลายๆ ประเทศ” ทั้งนี้ฟิลิปปินส์มีแผนพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (2547-2553) ท่มี วี ตั ถปุ ระสงค์เพอื่ ส่งเสรมิ ใหว้ สิ าหกจิ มีความแขง่ แกรง่ บริหารงานได้อย่างมืออาชีพ ผลิตสินค้าและบริการที่มีมาตรฐาน โดย ศกั ยภาพดงั กลา่ วจะท�ำใหส้ ามารถแขง่ ขนั ไดใ้ นเวทโี ลก[33] โดยมี KPI ดงั นี้ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ิปปินส์ 65

• ผลิตภัณฑ์มวลรวมที่มาจากวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม เพ่มิ ขน้ึ เปน็ รอ้ ยละ 40 ของผลติ ภัณฑ์มวลรวมทัง้ ประเทศ • ส่งเสรมิ ให้วสิ าหกจิ สามารถเพม่ิ ผลผลิต และการจ�ำหนา่ ยสินคา้ ได้มากข้ึน • การเพมิ่ มลู คา่ การสง่ ออกของวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม โดยเฉลย่ี ในแต่ละปไี มน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 16 ของมูลคา่ การส่งออก ทงั้ หมด • ส่งเสริม สนับสนนุ ให้เกิดกจิ การในกล่มุ วสิ าหกจิ รายยอ่ ยทเี่ นน้ ธุรกิจแบบสร้างสรรค์ 66

4.2 จ�ำนวนและรายชอื่ กระทรวงพร้อมทตี่ ิดต่อ ฟิลิปปินส์มีกระทรวงทั้งหมด 20 กระทรวง ประกอบด้วย รายช่ือ พร้อมทีอ่ ยู่ติดตอ่ ดงั ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 รายช่อื กระทรวง และจำ�นวนพรอ้ มท่ี กระทรวง ขอ้ มลู ติดตอ่ เอวีเบ็มไลซ ต ์ www.president.gov.ph/ [email protected] ทโทอ่ี รยศู่ ัพ ท ์ (M6a3l2a)c7a8ñ4a-n42P8a6lace Compound Office of the President J. P. Laurel St., San Miguel, Manila Department of เวบ็ ไซต์ www.da.gov.ph/ Agriculture (DA) อโทีเมรศล ัพ ท ์ w(6e3b2@) 2d7a3.g-AoGv.RpIh(2474) 928-8756-65 ที่อยู่ Elliptical Road, Diliman, Quezon City, Philippines 1107 ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ิปปินส์ 67

กระทรวง ขอ้ มลู ตดิ ตอ่ Department of อเวเี บ็มลไซ ต ์ [email protected]/ Agrari(aDnARRe) form ทโที่อรยศู่ ัพ ท ์ E(6ll3ip2t)ic9a2l8R-7o0a3d1,-D39iliman, Quezon City, Philippines เว็บไซต์ www.dbm.gov.ph/ อีเมล [email protected] โโททรรศสาัพรท ์ ((663322)) 735-4878 Department of 735-4936 Budget and ท่อี ยู่ General Solano St., San Miguel, Manila Management (DBM) EdDuecpaatirotmn e(DnEtPoEfD) เอวีเบ็มไลซ ต ์ [email protected]/h โทท่อี รยศู่ พั ท ์ D(6e32T)x6t3A6c-1ti6o6n3C(6e3n)t9e1r94560027 Department of โเวทบ็ รไศซัพตท์ ์ (w6w32w).4d7o9e-.2go90v.0ph/ Energy (DOE) ท ีอ่ ย่ ู BEnoenrifgayciCoe,nGtleorb, aRlizCailtyD,rive, 68 Taguig City, 1632

กระทรวง ข้อมลู ตดิ ต่อ Department of เโวทบ็ รไศซัพตท ์ ์ w(6w32w).9d2e9n-r6.g6o2v6.ph/ EnvironmReesnotuarcneds Natural ที่อยู่ Visayas Avenue, Diliman, 1100 Quezon City, Philippines (DENR) เอวีเบ็มไลซ ต ์ [email protected]/v.ph Department of โททีอ่ รยศู่ พั ท ์ (D6O32F)B5l2d3g-.,6B0S5P1 Complex, Roxas Finance (DOF) Blvd., 1004 Metro Manila, Philippines Department of อเวีเบ็มไลซ ต ์ [email protected] Foreign Affairs โทรศพั ท ์ (632) 834-4000, (632) 834-3000 Department of ที่อยู่ DFA Bldg., 2330 Roxas Boulevard, Pasay City Health เวบ็ ไซต์ www.doh.gov.ph โทรศัพท์ (632) 651-7800 ท ่ีอ ย ู่ RSaiznalLAavzaernoueC,oSmtap.oCurnudz,, Manila ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟิลปิ ปนิ ส์ 69

กระทรวง ขอ้ มลู ติดต่อ DeapnadrtLmoecanlt GoofvtehrenmInteenrtior เวบ็ ไซต ์ www.dilg.gov.ph โทรศพั ท ์ (632) 925-8888 โทรสาร (632) 925-0332 ท ่อี ย ู่ AED. FSrAanccoirs.cMoaGpoalgdmCaohnadloSmt.,inium II, Diliman, Quezon City Department of เว็บไซต์ www.doj.gov.ph/ Justice (DOJ) โอทเี มรศล ัพ ท ์ (C6o3m2)[email protected] ที่อยู่ Padre Faura Street Ermita, Manila 1000 Republic of the Philippines Department of เวบ็ ไซต์ www.dole.gov.ph/ Labor an(dDOEmLEp)loyment เวบ็ ไซต์ www.dnd.gov.ph DepartmDeenftenosfeNational อเี มล [email protected] [email protected] โทรศพั ท์ (632) 982-5600 ท ีอ่ ยู่ QCaumezpoGneCniteyral Emilio Aguinaldo, 70

กระทรวง ขอ้ มูลตดิ ต่อ Department of เวบ็ ไซต ์ www.dpwh.gov.ph APnudblHicigWhworakyss อีเมล [email protected] โทรศพั ท์ (632) 304-3000 ทอ่ี ย ู่ Bonifacio Drive, Port Area, Manila Department of Social Welfare เวบ็ ไซต์ www.dswd.gov.ph/ and Development โทรศัพท์ (632) 931-8101-07 (DSWD) เว็บไซต์ www.dost.gov.ph/ โโททรรศสาพั รท ์ ((663322)) 837-2071 to 82 837-8937 DepaTretcmhennotloogfyS(cDieOnScTe) and ทอ่ี ยู่ DOST Building, Gen. Santos Avenue, Bicutan, Taguig City Metro Manila 1631 DToeuprairstmme(DnOt To)f เอวเี บ็มไลซ ต ์ [email protected] [email protected] ทโท่ีอรยศู่ พั ท ์ 345519-S5e20n0a-t5o2r3G0ilตP่อuy2a1t1Aหvรeอื nu2e1,2 Makati City, 1200 ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟิลิปปนิ ส์ 71

กระทรวง ข้อมลู ตดิ ต่อ Department of Transportation เวบ็ ไซต ์ www.dotc.gov.ph/ and Co(mDmOTuCn)ications ที่อยู่ The Columbia Tower, Ortigas Avenue, Wack-Wack, Mandaluyong, Metro Manila Department of Trade เว็บไซต์ www.dti.gov.ph and Industry ทีอ่ ยู่ 385 Gil Puyat Avenue, Bel-Air, Makati, Philippines 72

4 .3 จหอ�าลำนเกัซวยี หนนรขือ้าครณุาชลกักาษรณท่วั ะปหรละกั เใทนศกพารรเอ้ ขม้าคสณุู่ปรละักชษาณคมะ 4.3.1 จ�ำนวนข้าราชการท่ัวประเทศ จ�ำนวนขา้ ราชการโดยประมาณในไตรมาสที่ 2 ของปี พ.ศ. 2553 มี ขา้ ราชการทง้ั หมด 1,312,508 คน โดยเปน็ บคุ ลากรในหนว่ ยงานราชการ (NGA) ร้อยละ 63.6 หรอื 834,327 คน และในรฐั วสิ าหกจิ (GOCCs) ร้อยละ 7.2 หรือ 94,756 คน และบุคลากรสนับสนุนในหน่วยงาน ท้องถนิ่ (LGUs) รอ้ ยละ 29.2 หรอื 383,422 คน ภาพท่ี 6 จ�ำนวนข้าราชการท่วั ประเทศของฟิลิปปินส์ในไตรมาสที่ 2 ของ ปี 2553 ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟิลิปปนิ ส์ 73

โดยจ�ำนวนบุคลากรในปัจจุบัน สามารถแยกตามระดับต�ำแหน่งได้ ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 จ�ำนวนบุคลากรในภาครฐั [24] ระดบั หนว่ ยงานราชการ รัฐวสิ าหกจิ หนว่ ยงานท้องถ่ิน รวม ต�ำแหน่ง (NGAs) (GOCCs) (LGUs) จ�ำนวน รอ้ ยละ จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน รอ้ ยละ ระดบั 1 148,528 18.6 33,275 40.4 169,021 62.0 350,824 30.4 ระดบั 2 628,146 78.7 46,173 56.0 101,863 37.4 776,182 67.3 ระดบั 3 10,305 1.3 2,080 2.5 931 0.3 13,316 1.2 ไม่ใช ่ นกั 11,605 1.5 929 1.1 795 0.3 13,329 1.2 บริหาร รวม 798,584 69 82,457 7 272,610 24 1,153,651 100 4.3.2 คุณลกั ษณะหลกั ของขา้ ราชการ หน่วยงานข้าราชการในประเทศฟิลิปปินส์[24] ได้มีบทบาทใน การพัฒนาประเทศ โดยให้ท�ำหน้าท่ีส่งเสริม สนับสนุนการท�ำงานของ ข้าราชการ และมวี สิ ยั ทศั น์คอื “The Civil Service: Strengthening its own integrity” หมายถงึ การใหบ้ รกิ ารอยา่ งมศี กั ด์ศิ รี โดยมีภารกิจ หลกั ในการปรบั ปรงุ การท�ำงาน โดยยดึ หลกั ความมศี กั ดศิ์ รดี งั นี้ คอื มมี ติ ิ การท�ำงานร่วมกันและค�ำนึงถึงค่านิยมขององค์การท่ีสนับสนุน การท�ำงานดว้ ยความตง้ั ใจ กฎระเบยี บทมี่ ตี อ้ งสามารถปรบั และประยกุ ต์ 74

ใชไ้ ด้ ไมย่ ึดหลกั เกณฑม์ ากเกนิ ไป น�ำระบบหรือวิธีการประเมินทมี่ ุ่งให้มี การท�ำงานทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ และมจี รยิ ธรรม ใหข้ า้ ราชการทกุ คน มใี จบริการ เพราะนี่คอื หนา้ ทขี่ องขา้ ราชการ CSC 2030 AGENCY VISION CeSxCcesllheanlcl ebefoAr ssitar’astelegaicdiHngR caenndteOrDof PARTNERS FINANCE PEOPLE PROCESSES STAKE HOLDERS Recognized as a Center for Excellece CORE PURPOSE High performing, competent and credible civil servants LingGkoadw-iBngayani Providperoecxecseslelesnt HR pEeJnrtusodurirmceieaaeffinlffcfceueecnnotcitfvtieoQnuasansdi- ang Bawat Kawani Enhance the competency of our workforce CORE VALUES Ensure efficient management of financial resources ■ Love of God and Cultivate partnerships with local and intemational institutions Country ■ Excellence ■ Integrity ภาพที่ 7 CSC Strategy Map ท่ีมา: http://excell.csc.gov.ph/cscweb/pgs.html จากภาพ จะเห็นได้ว่าค่านิยมหลักของข้าราชการของประเทศ ฟิลิปปินส์ยึดหลักการ 3 ข้อ ประกอบด้วย ความรักในพระเจ้าและ ประเทศ ความเปน็ เลศิ และความซอื่ สตั ย์ (Love of God and Country, Excellence, and Integrity) ซ่ึงต้องมีอยู่ในขา้ ราชการฟลิ ปิ ปินสท์ กุ คน ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 75

4.3.3 คณุ ลักษณะหลักของขา้ ราชการในการเขา้ สปู่ ระชาคม อาเซียน [24] ประชาคมอาเซียน เป็นความร่วมมือของกลุ่มประเทศในแถบเอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใต้รวม 10 ประเทศ  โดยในกรอบความร่วมมอื ตา่ งๆ มคี วามรว่ มมอื ในเรอ่ื งของขา้ ราชการพลเรอื น  โดยมชี อื่ วา่  “ASEAN Conference on Civil Service Matters (ACCSM)” เป็นการประชมุ ที่ช่วยกันเสริมสร้างความร่วมมือระดับภูมิภาคเพ่ือระบบราชการที่มี ประสิทธิภาพ โดยก่อตั้งในปี พ.ศ. 2524 ซ่ึงแต่ละประเทศสมาชิกจะ ด�ำเนนิ การฝกึ อบรมขา้ ราชการระหวา่ งประเทศสมาชกิ ตามความช�ำนาญ ของประเทศนั้นๆ ซึ่งประเทศฟิลิปปินส์ได้รับผิดชอบในส่วนของการ ทดสอบ[16] ซง่ึ คณุ ลักษณะหลกั ของ ACCSM ในปี พ.ศ. 2558 ยงั ด�ำรง ความต่อเน่ืองท่ีต้องการเห็นประสิทธิภาพในการพัฒนาความสามารถ ความรับผิดชอบ และการตอบสนองของข้าราชการพลเรือน ทั้งได้เน้น ใหม้ กี ารบรหิ ารราชการที่มีประสิทธิภาพมากข้ึน ผา่ นการมีส่วนร่วมของ ภาคประชาชนและการตอบสนองทม่ี ากขึ้นของโครงสรา้ งองคก์ ร ระบบ คุณภาพ การพัฒนาความสามารถด้านแรงงาน การเรียนรู้ในสภาพ แวดลอ้ ม การมอบหมายอ�ำนาจ และการก�ำกบั ดแู ลแรงงานทมี่ ตี อ่ สภาพ การเรียนร้ทู ่ีช่วยมอบอ�ำนาจ โดยทาง ACCSM ยงั ไดจ้ ัดให้มีเวทีเพื่อรว่ ม กนั พฒั นาการบรหิ ารจัดการภาครัฐทที่ ันสมัยมากยง่ิ ข้ึน เพ่อื การบรหิ าร จดั การบริการสาธารณะของอาเซียน จากคณุ ลกั ษณะทไ่ี ดก้ ลา่ วมา จงึ เปน็ แนวทางในการพฒั นาขา้ ราชการ พลเรีอนของประเทศในกลุ่มอาเซียนให้สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน รวมทง้ั ประเทศฟลิ ปิ ปนิ สท์ พ่ี ฒั นาบคุ ลากรตามแนวทางทถ่ี กู ตง้ั ไวด้ งั กลา่ ว ข้างตน้ 76

5 ยทุ ธศาสตร์ และภารกิจของแตล่ ะ กระทรวง และหน่วยงานหลกั ทร่ี บั ผดิ ชอบ งานทเ่ี ก่ียวกบั ASEAN ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ิปปนิ ส์ 77

5.1 ยทุ ธศาสตร์ และภารกจิ ของแต่ละกระทรวง[4] สามารถแยกยุทธศาสตร์ และภารกิจของแต่ละหน่วยงานได้ตาม ตารางท่ี 3 ดังนี้ กระทรวงเกษตร (Department of Agriculture-DA) ยุทธศาสตร์ ภารกจิ ปรับปรุงความปลอดภัยด้าน • เพม่ิ สดั ส่วนของขา้ วทีป่ ลูกใน อาหารให้ดีขนึ้ ประเทศ (คดิ เป็นร้อยละ) เพม่ิ ความยืดหยุ่นต่อความเส่ียง • ลดการสูญเสียรายปีโดยเฉล่ียใน ในการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ การผลิตด้านการเกษตรและการ มากขึ้น ประมง อนั เนอื่ งมาจากสภาพอากาศ และภยั พบิ ตั ดิ า้ นภมู อิ ากาศ (พนั ลา้ น เปโซ) เพ่ิมความเจริญเติบโตในด้าน • เพิ่มมูลค่าโดยรวมด้านการเกษตร การเกษตรและการประมง และการประมง (GVA) (ล้านเปโซ ณ ราคาคงท่ีปี พ.ศ. 2528) • พืช (Crops) • ปศสุ ัตว์ (Livestock) • สัตว์ปีก (Poultry) • การประมง (Fisheries) 78

เพ่ิมการผลติ และผลผลิต • ผลผลติ ของสนิ คา้ โภคภณั ฑท์ สี่ �ำคญั สูงขนึ้ (เมตรกิ ตันตอ่ หนว่ ย) เพม่ิ การเข้าถงึ สินเช่ือ • เพมิ่ สดั สว่ นของผกู้ ทู้ เี่ ปน็ เกษตรกร/ ชาวประมงที่ได้รับสินเช่ือจากแหล่ง สนิ เชือ่ (คิดเปน็ ร้อยละ) พัฒนาคุณภาพ ความสามารถ • พฒั นาความหนาแนน่ ของพชื ทป่ี ลกู ในการเข้าถึงส่ิงอ�ำนวยความ (อัตราส่วนของพื้นที่เพาะปลูกต่อ สะดวก โครงสร้างพ้ืนฐานและ พืน้ ท่ีทั้งหมด) บริการต่างๆ ในด้านทรัพยากร • ตัวชี้วัดข้าวท่ีเพาะปลูกเองใน นำ้� (ระบบชลประทาน) ประเทศ: เพม่ิ สดั ส่วนของข้าวที่ผลติ ต่อปรมิ าณขา้ วที่ตอ้ งการ • เพ่มิ ผลผลิตขา้ วตอ่ พน้ื ท่ี 1 เฮกตาร์ (ตัน/เฮกตาร)์ • เพ่ิมผลผลิตข้าวต่อปริมาณน้�ำที่ใช้ (MT/m3) หรอื ลดปรมิ าณนำ�้ ทง้ั หมด ที่ต้องใช้ในการชลประทานเพื่อปลูก ข้าว (GIWR) (หน่วยเปน็ ลบ.กม./ปี) • อัตราส่วนของพ้ืนที่เกษตรกรรมท่ี ไดร้ บั การชลประทานตอ่ พนื้ ทที่ งั้ หมด ท่สี ามารถรับการชลประทานได้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปินส์ 79

สร้างสิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการ • ด�ำเนนิ โครงการรเิ รม่ิ การปฏริ ปู และ ปรบั ปรงุ และสรา้ งความเขม้ แขง็ การออกกฎหมายดังน้ี: Coopera- ให้ระบบการเงนิ แขง็ แกรง่ tive Code, CISA,PERA, REIT, MSME, Agri-Agra และ FRIA ยกระดบั การคมุ้ ครองทางสงั คม • เพิม่ จ�ำนวนงานทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับภาค เพ่ือ การเข้าถึงการบริการการ รฐั ในชุมชน คุม้ ครองทางสงั คมทม่ี คี ณุ ภาพ ข้อพพิ าทท่ีดนิ • สรา้ งเครอื่ งมอื ทใี่ ชก้ �ำหนดนโยบาย (Land Disputes) และสร้างกลไกที่ใช้ในการแก้ไข/ เสาหลกั ที่ 3 ระงับข้อพพิ าทท่ดี ินเพิ่ม (PAMANA Pillar 3) • กอ่ ตงั้ โครงการระดับยอ่ ย ของภูมภิ าค ทดี่ ินของบรรพบุรษุ • เพ่มิ จ�ำนวน CADT ท่อี อกให้ IP ป้องกันไม่ให้ LGU ก้าวก่ายตราบ ท่ีมีการใส่ใจกับปัญหาการอนุญาต ท�ำเหมอื งและตดั ไมใ้ นพืน้ ที่ IP ป้องกันความผิดปกติในขั้นตอน การให้ชาวบ้านในชุมชนมีส่วนร่วม ตัดสินใจเกย่ี วกับ CP Applications 80

ปรับปรุงการคุ้มครองความ • ป้องกันการสูญพันธุ์ของสายพันธุ์ หลากหลายทางชวี ภาพและการ ดอกไมท้ ่เี ส่ยี งตอ่ การสญู พนั ธ์ุ อนุรักษ์ • ปรับปรุงจ�ำนวนของสายพันธุ์ท่ี เสยี่ งตอ่ การสญู พนั ธอ์ุ ยา่ งนอ้ ย 3 สาย พันธ์ุ การจัดการทรัพยากรทางทะเล • รอ้ ยละที่เพิ่มข้ึนของภาคพ้ืนดนิ และชายฝ่ังทเ่ี พิ่มข้นึ นำ�้ จดื และพน้ื ทท่ี างทะเลและชายฝง่ั ทสี่ �ำคญั ส�ำหรบั ความหลากหลายทาง ชีวภาพพร้อมบริการทางระบบนิเวศ ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ  และมี การจัดการอย่างเท่าเทียมกันผ่าน NIPAS และพนื้ ที่ตามมาตรการ การอนุรกั ษ์อืน่ ๆ ท่มี ีประสิทธภิ าพ ปรบั ปรงุ การบรหิ ารและจัดการ • สร้างจุดการย่อยสลายที่ดินพร้อม ท่ดี ิน พัฒนาการจัดการท่ีดินอย่างย่ังยืน (SLM) ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ิปปนิ ส์ 81

กระทรวงการปฏริ ูปการเกษตร (Department of Agrarian Reform-DAR) ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ พัฒนาคุณภาพ ความเพียง • ความเข้มข้นในการปลูกพืชดีขึ้น พอ และความสามารถในการ (อตั ราสว่ นของพน้ื ทสี่ ทุ ธริ วมกบั ทด่ี นิ ตวั เขา้ ถงึ สงิ่ อ�ำนวยความสะดวก บ่งชี้ของข้าวที่พอเพียงต่ออัตราส่วนที่ และบริการโครงสร้างพื้น เพ่ิมขึ้นของการผลิต (PP) เทียบกับ/ ฐานในการจัดการด้าน เทยี บเทา่ ของความตอ้ งการขา้ ว ทรพั ยากรทางนำ�้ เพม่ิ ขน้ึ เชน่ • เพ่ิมผลผลติ Palay ตอ่ เฮกตาร์ (ตัน/ ระบบชลประทาน เฮกตาร์) • เพม่ิ ผลผลติ Palay ต่อปรมิ าณของนำ้� บรโิ ภค (MT/m3) หรอื ลดความตอ้ งการ รวมน�้ำชลประทาน (GIWR) เพ่ือ Palay • อตั ราสว่ นของน้�ำชลประทานต่อพนื้ ที่ ทัง้ หมดของพืน้ ท่ีท่ตี ้องการชลประทาน สร้าง และปรับปรุงสภาพ • การออกกฎหมายและการปฏิรูป การ แวดล้อมในระบบการเงินที่ เร่มิ ด�ำเนินการ: ตอ้ งอาศัยความรว่ มมอื แข็งแกร่ง จาก CISA, PERA, REIT, MSME, Agri- Agra และ FRIA 82

ยกระดับการคุ้มครองทาง • การเพิ่มของจ�ำนวนงานที่สร้างขึ้นใน สังคมเพ่ือ การเข้าถึงการ โปรแกรมการจ้างงานภาครฐั ในชมุ ชน บริการการคุ้มครองทาง สังคมทม่ี คี ุณภาพ การเข้าถึงกองทุนการปฏิรูป • การเพมิ่ ของตวั เลขของทด่ี นิ ทเี่ ผยแพร่ (Access to Asset Reform) ภายใต้ CARP ขอ้ พพิ าทที่ดนิ • จ�ำนวนเคร่ืองมือทางนโยบายท่ีสร้าง ทด่ี ินของบรรพบรุ ษุ ข้ึนมาและกลไกท่ีจัดตั้งขึ้นเพื่อแก้ไข/ ระงบั ข้อพิพาททด่ี ิน • ออก CADTs ให้ IPs เพม่ิ ข้นึ • ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ LGU ก้าวกา่ ยและใส่ใจ กับปัญหาการอนุญาตท�ำเหมืองและตัด ไมใ้ นพ้ืนท่ี IP • ป้องกนั ความผิดปกติระหว่างชาวบา้ น ในชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มตดั สนิ ใจเกยี วกบั CP applications ปรบั ปรงุ การบรหิ ารและการ • สร้างจุดการย่อยสลายที่ดินพร้อมกับ จดั การทดี่ ิน พัฒนาการจัดการที่ดินอย่างยั่งยืน (หนว่ ยเป็นเฮกตาร์) ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ิปปินส์ 83

กระทรวงงบประมาณและการบริหารจดั การ (Department of Budget and Management-DBM) ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ สรา้ งเศรษฐกจิ มหภาคทมี่ น่ั คงให้ • สรา้ งภาคการคลงั ทยี่ ง่ั ยนื ใหเ้ กดิ ขนึ้ เกิดขึ้น • การลดการขาดดุลการคลัง อัตราส่วนต่อ GDP ร้อยละ 2.0 ในปี พ.ศ. 2559 • ปรบั ปรงุ อตั ราสว่ นของงบประมาณ หลักตอ่ GDP ให้เพมิ่ ข้ึนร้อยละ 0.4 ภายในปี พ.ศ. 2559 • ปรับปรุงอัตราส่วนค่าใช้จ่ายต่อ GDP หลักใหเ้ ป็นร้อยละ 16.2 • ลดอัตรารอ้ ยละของการจ่าย ดอกเบี้ยในงบประมาณทั้งหมดให้ เหลือรอ้ ยละ 13.1 ในปี พ.ศ. 2559 • สรา้ งนโยบายการเงนิ ทไี่ มส่ นบั สนนุ การเจรญิ เตบิ โตของภาวะเงนิ เฟอ้ ให้ เกดิ ข้ึน 84

พัฒนาคุณภาพ ความเพียงพอ • เพิ่มอัตราส่วนของค่าใช้จ่าย และความสามารถในการเข้าถึง ทง้ั หมดในโครงสรา้ งพน้ื ฐานตอ่ GDP สิ่งอ�ำนวยความสะดวกและ บรกิ ารเพมิ่ ข้ึนในโครงสรา้ ง พื้นฐาน สรา้ งการก�ำกบั ดูแลท่ีมี • ปรับปรุงอัตราร้อยละในตัวช้ีวัด ประสทิ ธิภาพและโปร่งใส ความโปรง่ ใสใหด้ ขี น้ึ สร้างความเข้มแข็งให้เกิดแก่ • พัฒนาคะแนนดัชนีชี้วัดความ สถาบนั ประชาธปิ ไตย โปร่งใสในการรายงานข้อมูลเกี่ยว กบั งบประมาณใหส้ าธารณชนทราบ กระทรวงศกึ ษาธิการ (Department of Education-DepEd) ยุทธศาสตร์ ภารกจิ พัฒนาคุณภาพ ความเพียงพอ • การเพ่ิมอัตราส่วนห้องเรียนต่อ และความสามารถในการเข้าถึง นกั เรียน สิ่งอ�ำนวยความสะดวกและ บริการโครงสร้างพื้นฐานเพ่ิมข้ึน เชน่ การสรา้ งหอ้ งเรยี น หอ้ งสขุ า ใหเ้ พยี งพอตอ่ อตั ราสว่ นนกั เรยี น ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟิลปิ ปนิ ส์ 85

• เพมิ่ อตั ราสว่ นของสงิ่ อ�ำนวยความ สะดวกในการจัดหาน�้ำดื่ม มีห้อง สุ ข า แ ล ะ ก า ร ก�ำ จั ด ส่ิ ง ป ฏิ กู ล (WATSAN) อย่างขยะ ให้เพียงพอ ตอ่ อัตราสว่ นนกั เรยี น ปรับปรุงการเข้าถึงการศึกษา • เพ่ิมอัตราร้อยละการรู้หนังสือ การฝกึ อบรม และวัฒนธรรม เบือ้ งตน้ • เพ่ิมอัตราร้อยละการรู้หนังสือ เฉพาะทาง • อตั ราร้อยละในการลงลงทะเบยี น สุทธใิ นระดับอนุบาล (เม่ืออายุ 5 ป)ี เพ่ิมข้ึน • อัตราร้อยละการลงทะเบียนสุทธิ เพม่ิ ขึ้นในระดับประถมศกึ ษา • อัตราร้อยละสุทธิการลงทะเบียน เพิม่ ขนึ้ ในระดับมัธยมศึกษา • อัตราร้อยละการส�ำเร็จการศึกษา ระดับประถมศกึ ษาเพิ่มข้ึน • อัตราร้อยละการส�ำเร็จการศึกษา ระดบั มัธยมศกึ ษาเพิ่มขึน้ • อัตราร้อยละการคงอยู่ในการ ศึกษาประถมศกึ ษาเพ่มิ ขึน้ อัตราร้อยละการคงอยู่ในการศึกษา มัธยมศึกษาเพิ่มขึน้ 86

ยกระดับการคุ้มครองทางสังคม • การเพิ่มรายได้ครัวเรือนที่ยากจน เพ่ือ การเข้าถึงการบริการการ ให้ครอบคลุมโดยการจ่ายเงินสด คุ้มครองทางสงั คมที่มคี ณุ ภาพ ตามเงื่อนไข • การเพิ่มจ�ำนวนงานที่สร้างขึ้นใน ภาครัฐตามระบบการจ้างงานใน ชมุ ชน เสาหลกั PAMANA 2 • จ�ำนวนครัวเรอื นและชมุ ชนใน (PAMANA Pillar 2) CAAs เพม่ิ ขนึ้  และได้รับผลตอบแทน เปน็ เงนิ สดตามเง่อื นไขชมุ ชน ที่ขับเคลอื่ นการพัฒนา (CDD) ตามโครงการ  และการด�ำรงชวี ิต ของชุมชน กระทรวงพลังงาน (Department of Energy-DOE) ยุทธศาสตร์ ภารกิจ พัฒนาคุณภาพ ความเพียงพอ • เพ่ิมนักลงทุนในภาคเอกชน ให้ และความสามารถในการเข้าถึง สามารถเป็นเจา้ ของสาธารณูปโภค สิ่งอ�ำนวยความสะดวกและ บริการโครงสร้างพื้นฐานในด้าน พลังงานเพิ่มขึ้น (การจัดหา พลังงาน) ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟิลปิ ปนิ ส์ 87

• หาแหล่งพลงั งานท่ผี ลิตใช้อย่าง พอเพียง • ระดับพลังงานที่ผลิตใช้พอเพียง (Self-sufficiency level) • ประสิทธิภาพการใช้พลังงานและ การป้องกนั การสูญเสีย • เพิ่มการประหยัดจากการลดการ บริโภคไฟฟ้าและน�้ำมันเช้อื เพลงิ กระทรวงสิง่ แวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติ (Department of Environment and Natural Resources-DENR) ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ พัฒนาคุณภาพ ความเพียงพอ • จ�ำนวนขององค์กรพ้ืนที่ลุ่มน�้ำ มี และความสามารถในการเข้าถึง สดั สว่ นตวั เลขตามจ�ำนวนอา่ งนำ�้ ทมี่ ี สิ่งอ�ำนวยความสะดวกและ ความส�ำคญั บรกิ ารโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ในดา้ น • จ�ำนวนแผนแมบ่ ทการพฒั นาพน้ื ที่ ทรัพยากรทางน้�ำเพ่ิมขึ้น เช่น ลุ่มน�ำ้ 6 แผน อ่างเกบ็ นำ�้ เป็นตน้ การตอบสนองของ NGAs, • ติดอันดบั เรอ่ื งความสะดวกในการ GOCCs และ LGUs เพ่ิมขึ้น ด�ำเนนิ ธุรกิจท่ดี ี 88

ขอ้ พพิ าททดี่ นิ (Land Disputes) • จ�ำนวนเครอื่ งมอื ดา้ นนโยบายและ กลไกท่ีถูกสร้างและจัดตั้งข้ึนเพ่ือ แก้ไข/ระงับขอ้ พพิ าทท่ดี ิน ท่ีดนิ ของบรรพบุรษุ • CADTs ท่ีออกให้ IPs เพ่มิ ขึน้ • LGUs มีการป้องกันการรบกวน จนกว่าการท�ำเหมืองแร่จะเข้าสู่ ระบบใบอนุญาตในพ้ืนท่ีพึงระวังใน IP • ความผิดปกติในการด�ำเนิน กระบวนการพันธสัญญาในการ ป้องกันการเช่ือมต่อกับโปรแกรม CP การจดั การปา่ ไมแ้ ละแหลง่ ตน้ นำ�้ • อัตราร้อยละของพื้นท่ีท่ีปกคลุม อยา่ งยัง่ ยนื ด้วยปา่ ไม้เพมิ่ ข้นึ ปรบั ปรุงการคุ้มครองความ • การสูญพันธ์ขุ องสายพนั ธพ์ุ ชื และ หลากหลายทางชวี ภาพและ สัตว์ป่าคุ้มครองท่ีถูกคุกคามอย่าง การอนุรกั ษ์ทีด่ ขี ้นึ น้อย 3 สายพนั ธ์ุ การจัดการทรัพยากรทางทะเล • เพ่ิมอัตราร้อยละของแหล่งน้�ำจืด และชายฝั่งท่ีเพม่ิ ขึ้น ในภาคพ้ืนดนิ และพื้นทชี่ ายฝั่งทาง ทะเลทสี่ �ำคญั ส�ำหรบั การรกั ษาความ หลากหลายทางชวี ภาพและระบบ- ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟิลิปปนิ ส์ 89

นเิ วศไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และได้ รบั การจดั การอยา่ งเสมอภาคโดยใช้ NIPAS และมาตรการการอนุรักษ์ ตามพน้ื ท่ี รวมถึงมาตรการอ่นื ๆ ทม่ี ี ประสทิ ธิภาพ ปรับปรุงการบริหาร • เพ่ิมจ�ำนวนผู้รับผลประโยชน์จาก และการจัดการทดี่ ิน การถือครองท่ีดินที่แน่นอนในพ้ืนที่ การเกษตรและพื้นที่ท่ีอยู่อาศยั • สร้างจุดย่อยสลายท่ีดินพร้อม พัฒนาการจัดการที่ดินอย่างยั่งยืน (SLM) จัดการทรัพยากรแร่ด้วยการใช้ • ฟืน้ ฟูเหมืองร้าง ทรัพยากรแร่ให้เกิดประโยชน์ สงู สุดอยา่ งเสมอภาค ลดมลพษิ ในกรงุ มะนลิ าและเมอื ง • ลดปริมาณสุทธิของฝุ่นละอองท่ี ส�ำคัญอน่ื ๆ ลอยอยู่ในอากาศ (TSP) ลง ทั้งใน เขตเมืองหลวง (NCR) และเมือง ส�ำคญั ตา่ งๆ ทม่ี ีระดับฝุ่นละอองสูง กวา่ 90 ไมโครกรัม/Ncm • ลดมลพิษทางอากาศท่ีเกิดจาก ยานพาหนะท่มี ีสูงถึงร้อยละ 60 90

ลดมลพษิ ทางน้ำ� • ปรับปรุงคุณภาพน้�ำที่ดีขึ้นของ แมน่ ้ำ� สายตา่ งๆ ทม่ี ีความส�ำคัญอัน ดับต้นๆ ภายใต้โครงการ Sagip Ilog และแหล่งน้�ำที่ส�ำคัญอันดับ ต้นๆ ซึ่งรวมถึงอ่าว Manilla และ แม่น้�ำ Pasig ดว้ ย • รักษาระดับ BOD ในแม่น้�ำสาย ส�ำคัญอันดับต้นๆ ให้อยู่ในเกณฑ์ คณุ ภาพน�้ำทีต่ ั้งไว้ ลดปรมิ าณของเสยี และปรบั ปรงุ • เพิ่มอตั ราการลดขยะมลู ฝอย การก�ำจดั ของเสีย กระทรวงการคลัง (Department of Finance-DOF) ยุทธศาสตร์ ภารกิจ สรา้ งเศรษฐกจิ มหภาคทมี่ นั่ คงให้ • สรา้ งการคลังทีย่ ัง่ ยนื ใหเ้ กดิ ขึน้ เกดิ ขนึ้ • ลดอัตราส่วนการขาดดุลการคลัง ตอ่ GDP ใหเ้ หลอื ร้อยละ 2 ภายใน ปี พ.ศ. 2559 ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ิปปนิ ส์ 91

• เพมิ่ อตั ราสว่ นงบประมาณหลกั ตอ่ GDP เป็นร้อยละ 0.4 ภายในปีพ.ศ. 2559 • เพ่ิมอัตราส่วนของรายได้ภาครัฐ ตอ่ GDP เปน็ รอ้ ยละ 16.6 ภายใน ปี พ.ศ. 2553 • ลดหนจ้ี ากหนุ้ NG ซง่ึ เปน็ สว่ นแบง่ จาก GDP ให้เหลือร้อยละ 42.8 ภายในปี พ.ศ. 2559 พัฒนาคุณภาพ ความเพียงพอ • เพม่ิ คา่ ใชจ้ า่ ยรอ้ ยละของโครงสรา้ ง และความสามารถในการเข้าถึง พืน้ ฐานท้ังหมดต่อ GDP ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกและ บริการเพ่ิมขึ้นในโครงสร้าง พื้นฐาน สรา้ งความเขม้ แขง็ และปรบั ปรงุ • สร้างกฎระเบียบที่ความเข้มแข็ง สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อระบบ และเหมาะสม รวมท้ังการใช้ระบบ การเงิน การให้รางวลั ข้าราชการตามผลงาน ในการแตง่ ตงั้ คณะกรรมการกองทนุ บ�ำเหนจ็ บ�ำนาญขา้ ราชการ • ออกกฎหมายและรเิ่ ริม่ การปฏริ ปู ดังนี้: Cooperative Code, CISA, PERA, REIT, MSME, Agri-Agra และ FRIA 92

• วางกรอบกฎหมายดังต่อไปน้ี: กรอบความมน่ั คงทางการเงนิ โดยมี กฎหมายกลางของภาคการเงิน ก ฎ ห ม า ย ร ะ บ บ ก า ร จ ่ า ย เ งิ น กฎหมายระบบจัดการการลงทุน รวม กฎหมายการจดทะเบียน อสังหารมิ ทรัพย์และการจ�ำนอง กระทรวงตา่ งประเทศ (Department of Foreign Affairs-DFA) ยุทธศาสตร์ ภารกิจ สร้างความม่ันใจแก่กระทรวงให้ • พัฒนาความสัมพันธ์ด้านความ มีความสามารถเต็มท่ีในการ ม่ันคงกับประเทศท่ีเป็นพันธมิตร รกั ษาอธปิ ไตยและความมนั่ คงใน และประเทศเพื่อนบา้ น ดนิ แดนของรัฐ กระทรวงสาธารณสุข (Department of Health-DOH) ยุทธศาสตร์ ภารกิจ พัฒนาคุณภาพ ความเพียงพอ • ท�ำประปาชุมชน และความสามารถในการเข้าถึง ส่งิ อ�ำนวยความสะดวกและ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟิลปิ ปนิ ส์ 93

บริการโครงสร้างพื้นฐาน เช่น • เสรมิ สร้างสขุ อนามัย จัดท�ำระบบ การท�ำประปาหมู่บา้ น ท�ำระบบ ระบายน�ำ้ และปอ้ งกันการติดเชื้อ ระบายน�้ำ และป้องกันการ • ลดอัตราของประชากรทขี่ บั ถ่ายไม่ ติดเชือ้ ถูกสุขอนามัย (คิดเป็นร้อยละของ ประชากร) โดยเปา้ หมายของ MDG: เพิ่มเป็นร้อยละของประชากรที่เข้า ถงึ สขุ อนามยั ขนั้ พนื้ ฐาน เชน่ หอ้ งนำ�้ (คดิ เป็นรอ้ ยละของประชากร) • โครงสร้างพื้นฐานทางสังคมโดย ท�ำให้ทุกชุมชนสามารถเข้าถึงการ ดแู ลสุขภาพ • เพิ่มอัตราร้อยละของโรงพยาบาล DOH ที่มีเทคโนโลยีบ�ำบัดของเสีย โดยไมใ่ ชว้ ธิ เี ผา • เพมิ่ อตั รารอ้ ยละของสถานอี นามยั Barangay (BHS) หนว่ ยสาธารณสขุ ชนบท (RHU) ซง่ึ ตอ้ งมหี นว่ ยบรกิ าร พื้นฐาน ได้แก่ ห้องคลอดฉุกเฉิน และหอ้ งดูแลทารกแรกเกิด (BEmONC) 94

ปรับปรุงการเข้าถึงบริการด้าน • ลดอัตราการเสียชีวิตของมารดา สุขอนามัยและโภชนาการท่ีมี ต่อเด็กแรกเกดิ 100,000 คน คณุ ภาพต่อประชากร • ลดอตั ราการเสยี ชวี ติ ของทารกแรก เกดิ ตอ่ เด็กแรกเกดิ 100,000 คน • ลดอตั ราของโรคเดก็ นำ�้ หนกั นอ้ ยท่ี อายุต่�ำกว่าห้าปี • ลดอัตราของครัวเรือนที่มีการ บริโภคอาหารไม่ครบหมู่ต่อหัว ตำ�่ กวา่ รอ้ ยละ 100 • เพ่ิมอัตราการคมุ ก�ำเนิด (ทุกวิธีการ) • ลดการแพรเ่ ช้ือของ HIV นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 1 ในปี พ.ศ. 2558-2559 • ลดอตั ราการป่วยโรคมาลาเรยี • ลดอัตราการแพร่กระจายของโรค วัณโรคต่อ 100,000 • เพิม่ อตั ราการตรวจพบโรควณั โรค • ลดอตั ราการติดเชื้อวัณโรคจาก 85 ในปี พ.ศ. 2558-2559 เพมิ่ อตั ราสว่ น ของประชากร (HH) ท่ีมีการได้รับ น้ำ� ทสี่ ะอาดและปลอดภยั ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟิลิปปนิ ส์ 95

• เพมิ่ อัตราสว่ นของประชากร (HH) ทม่ี กี ารเขา้ ถงึ สงิ่ อ�ำนวยความสะดวก ในห้องน�้ำ และสขุ ภัณฑ์ • เพิ่มประชากรท่ีมีการเข้าถึงยาที่ ส�ำคญั ในราคาทีไ่ มส่ งู • เพิ่มความครอบคลุมของโครงการ ประกันสุขภาพแห่งชาติ • เพ่ิมอัตราการลงทะเบียนของ โครงการประกันสุขภาพแห่งชาติ จากร้อยละ 74 เปน็ ร้อยละ 100 ใน ปี พ.ศ. 2556-2559 ยกระดับการคุ้มครองทางสังคม • เพิ่มจ�ำนวนครัวเรอื นที่ยากจนที่ได้ เพ่ือการเข้าถึงการบริการการ รับการโอนเงนิ สดตามเง่อื นไข ค้มุ ครองทางสังคมที่มีคณุ ภาพ เสาหลัก PAMANA 2 • เพมิ่ จ�ำนวนครวั เรอื นและชุมชนใน (PAMANA Pillar 2) CAAs และไดร้ บั ผลตอบแทน โดยได้ รับการโอนเงินสดตามเง่อื นไขชุมชน ทข่ี บั เคล่ือนการพัฒนา (CDD) ตาม โครงการและการด�ำรงชีวิตของ ชุมชน 96

กระทรวงมหาดไทยและการปกครองท้องถน่ิ (Department of the Interior and Local Government-DILG) ยุทธศาสตร์ ภารกิจ ปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ ม • สร้างความพึงพอใจของประชาชน ทางธุรกจิ ใหด้ ีข้นึ แ ล ะ ธุ ร กิ จ ที่ มี ต ่ อ ก า ร ใ ห ้ บ ริ ก า ร สาธารณะที่ดีขึ้น (การลดรูปแบบทั้ง วันทแ่ี ละขัน้ ตอนการท�ำงาน) • การปฏบิ ัติงานอยา่ งเตม็ ท่ีในการข้ึน ทะเบียนธรุ กิจฟิลิปปนิ ส์ พฒั นาคุณภาพ ความเพยี งพอ • จัดหาแหลง่ น�้ำใหท้ ้องถน่ิ และความสามารถในการเขา้ ถงึ • จดั ท�ำประปาให้ทว่ั ถึง สิ่งอ�ำนวยความสะดวก และ • เปา้ หมายการพัฒนาแหง่ สหสั วรรษ บริการโครงสร้างพ้ืนฐานเพิ่ม (MDG) โดยเพมิ่ สดั สว่ นของประชากร ขน้ึ เช่น การขุดเจาะน้�ำบาดาล ทม่ี กี ารเขา้ ถงึ นำ้� ดมื่ (ในระดบั ท่ี 1 และ เพื่อใชส้ อย จัดสร้างประปาให้ 2) ทั่วถึงทุกท้องท่ี • เปา้ หมายชอง MDG: ลดจ�ำนวนพนื้ ท่ี ทไี่ มม่ นี ำ้� สขุ อนามยั ทอ่ ระบายนำ้� เสยี การก�ำจัดของเสยี • เป้าหมายของMDG: เพ่ิมอัตรา รอ้ ยละของประชากรทมี่ กี ารเขา้ ถงึ สขุ อนามยั ขน้ั พนื้ ฐานเชน่ สขุ ภณั ฑห์ อ้ งนำ�้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟิลปิ ปินส์ 97

• เพ่ิมอัตราร้อยละของครัวเรือนใน กลางเมืองใหญ่ต่างๆ ที่เช่ือมต่อกับ ระบบทอ่ นำ�้ ทงิ้ (เป็นร้อยละของ HH) • เพ่ิมอัตราส่วนของครัวเรือนท่ี ครอบคลมุ โดยระบบการจดั การก�ำจดั ของเสีย (รอ้ ยละของ HH) • การระบายน�้ำ และการบริหาร จัดการน้�ำท่วม โดยลดอัตราร้อยละ การสูญเสียชีวิตของประชากรที่ได้รับ ผลกระทบรวมเนื่องจากเหตุการณ์ น้�ำทว่ ม (รายปี) • ลดพืน้ ท่ีเสย่ี งน�้ำทว่ ม (เฮกตาร์) • ลดระยะเวลาน้�ำท่วม (ต่อชั่วโมง) ส�ำหรับพ้ืนท่ีน้�ำท่วมในเมืองท่ีเกิดข้ึน อย่างต่อเนือ่ ง การปฎิบัติงานการปกครองที่ • เพ่ิมอัตราร้อยละของดัชนีช้ีวัดด้าน โปร่งใสและมีประสทิ ธภิ าพ ธรรมาภิบาลโลก การตอบสนองของ NGAs, • ติดอันดับความสะดวกในการท�ำ GOCCs และ LGUs เพมิ่ ข้นึ ธุรกิจทดี่ ี • เพิ่มจ�ำนวน LGUs ให้ได้คะแนน มาตรฐานเปรยี บเทยี บระดบั 4 (ระดบั สงู ) ในการก�ำกบั ของรฐั ทอ้ งถน่ิ ทมี่ กี าร ปฏบิ ตั งิ านต่อพื้นท่ี 98

• เพมิ่ จ�ำนวนจงั หวดั ใหถ้ งึ ระดบั เปรยี บ เทยี บมาตรฐานที่ 3 (ระดบั พอใจ) ของ รฐั ท่ีมีการพัฒนา • เพ่ิมจ�ำนวน LGUs ผ่านการตรวจ ดแู ลรักษาความสะอาดทด่ี ี • เพิม่ จ�ำนวน LGUs ต่อรางวัลท่ีได้รับ ความเข้มแขง็ • เพมิ่ จ�ำนวน LGUs ทผ่ี กู พนั กบั CSOs ของสถาบนั ประชาธิปไตย ยกระดับการคุ้มครองทาง • เพิ่มจ�ำนวนงานที่สร้างขึน้ ในภาครัฐ สงั คมเพอ่ื เขา้ ถงึ การบรกิ ารการ ตามโครงการจา้ งงานในชมุ ชน คุ้มครองทางสังคมทีม่ ีคุณภาพ การเจรจาแกป้ ัญหาทาง • ลดระดบั ของการต่อสู้ติดอาวุธ และ การเมอื งจากความขัดแยง้ รปู แบบอน่ื ในการใชค้ วามรนุ แรงทเ่ี กดิ ในกองทัพทงั้ หมด (OPAPP) จากการก่อกบฏลดลง การละเมดิ สิทธิมนษุ ยชน • คดีวิสามัญฆาตกรรม (EJKs) และ ธรรมาภิบาล การละเมิดสิทธิมนษุ ยชน (HRVs) ได้ (Good Governance) รับการตัดสิน • มีเคร่ืองมือ และการด�ำเนินงาน ระบบธรรมาภิบาลที่โปร่งใส และ นโยบายสาธารณะที่ดี • มคี วามโปรง่ ใสและกลไกความรบั ผดิ ชอบในการด�ำเนนิ การเกีย่ วกับ CAAs ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปินส์ 99


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook