Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฟิลิปปินส์-philippines

ฟิลิปปินส์-philippines

Published by E-book Library กศน.ตำบลสำโรง, 2019-04-25 01:11:30

Description: ฟิลิปปินส์-philippines

Search

Read the Text Version

(ข) ในกรณที ไ่ี มม่ กี ารก�ำหนดระยะเวลาโดยกฎหมายหรอื กฎบงั คบั นนั้ ใหห้ ัวหนา้ หน่วยงาน ส�ำนกั งาน หรอื ตัวแทนสาขา ออกกฎระเบียบและ ข้อบังคบั ก�ำหนดเป็นระยะเวลาที่เหมาะสมโดยค�ำนงึ ถึงปจั จยั ตอ่ ไปน้ี (1) พจิ ารณาตามธรรมชาต ิ ความยากงา่ ยหรอื ความซบั ซอ้ นของ หวั ข้อ เนอ้ื หาของเอกสารราชการหรือการประมวลผลของ หนว่ ยงาน ส�ำนักงานหรอื ตัวแทนสาขา (2) พจิ ารณาจากความสมบรู ณค์ รบถว้ นหรอื ความไมเ่ พยี งพอของ ความตอ้ งการในข้อมูลดบิ และข้อมลู ทีม่ ีการประมวลแลว้ เพอ่ื การตดั สนิ ใจหรือการปฏบิ ัติ (3) พจิ ารณาจากความขาดแคลนหรอื ความไมส่ มบรู ณข์ องสาเหตุ แหลง่ ทม่ี า ทอ่ี ยนู่ อกเหนอื การควบคมุ ของหนว่ ยงาน ส�ำนกั งาน หรอื ตวั แทนสาขา หรือพนกั งานหรอื ลูกจา้ งทเี่ กยี่ วข้อง (4) พจิ ารณาจากข้อจ�ำกดั ทางกฎหมาย เช่น ค�ำสงั่ กักขัง หรอื ค�ำสงั่ ห้ามท่ีออกโดยค�ำส่ังศาล หรือก่งึ ตลุ าการหรืออ�ำนาจ ของฝ่ายการบริหารจัดการ (5) พจิ ารณาจากจากความผดิ พลาด ความลม้ เหลว  หรอื ความประมาท เลนิ เลอ่ ของบุคคลทเ่ี ก่ียวข้อง ซ่งึ ท�ำให้การ ตดั สนิ ใจช่วยเหลือหรอื การปฏิบัตทิ ่เี ปน็ ไปไม่ได้  หรือท�ำไป ไดไ้ ม่เต็มที่ (6) พิจารณาจากเหตสุ ุดวสิ ยั มาตรา 5 ระเบยี บและการด�ำเนนิ การทเ่ี ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรใดๆ หรอื การตดั สนิ ใจทจ่ี ะตอ้ งมกี ารลงนามนนั้  ตอ้ งมไี มเ่ กนิ สามชอื่ ยอ่ หรอื ลายเซน็ ยกเว้นกฎหมายหรอื ระเบียบ ได้ก�ำหนดไว้เป็นอยา่ งอ่นื แต่ในกรณีที่ผูม้ ี อ�ำนาจลงนามไม่อยู่ ใหผ้ ู้มีต�ำแหนง่ ถดั ไป หรือผ้ดู �ำรงต�ำแหนง่ รักษาการ 150

ในต�ำแหนง่ หรอื บคุ คลทม่ี อี �ำนาจตามเวลาทก่ี �ำหนด สามารถลงนามแทน ตามความรบั ผดิ ชอบ ซงึ่ หวั หนา้ หนว่ ยงาน ส�ำนกั งาน หรอื ตวั แทนสาขา จะก�ำหนด ค�ำสง่ั ส�ำนกั งานท่ีท�ำส�ำรองไว้ อยา่ ง เชน่ กฎระเบยี บเกย่ี วกับ ผมู้ อี �ำนาจท่ีเหมาะสมทจี่ ะลงนาม  ในกรณีท่ีผ้ลู งนามตามปกติไม่อยู่ ดังต่อไปนี้ (1) ในกรณี ทม่ี ผี ดู้ �ำรงต�ำแหนง่ ถดั ไป เพยี งคนเดยี ว ใหบ้ คุ คลนน้ั มีอ�ำนาจลงนามโดยอัตโนมตั ิ (2) ในกรณี ทมี่ ผี ดู้ �ำรงต�ำแหนง่ ถดั ไป 2 คนหรอื มากกวา่ นน้ั ให้ ส�ำนกั งานพจิ ารณาตามความเหมาะสม ตามล�ำดบั ความส�ำคญั ของเจา้ หนา้ ท่ีภายในหน่วยงานเดยี วกัน (3) ในกรณี ที่ไม่มผี ู้ด�ำรงต�ำแหนง่ ถัดไปในปัจจบุ ัน ใหห้ วั หน้า หนว่ ยงาน ส�ำนกั งาน หรอื ตวั แทนสาขา เลอื กผเู้ ขา้ มารบั ผดิ ชอบ คนใดคนหน่ึงจากเจา้ หน้าท่รี ะดับตำ�่ กว่าภายในหน่วยงาน เดยี วกัน มาตรา 6 เอกสารสาธารณะทกุ คนจะตอ้ งเขา้ ถงึ ได้ และพรอ้ มส�ำหรบั การตรวจสอบโดยประชาชนในช่วงเวลาท�ำงาน ยกเว้นที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 3 ของกฎขอ้ ทส่ี ี่ มาตรา 7 หวั หนา้ หรอื เจา้ หนา้ ทผี่ รู้ บั ผดิ ชอบของส�ำนกั งานหรอื หนว่ ยงาน ของรัฐบาล และองค์กรท่ีรัฐบาลเป็นเจ้าของจะต้องจัดท�ำเป็นรายงาน ฉบบั เตม็ และสมบรู ณต์ ามทก่ี �ำหนดในกฎหมายและกฎระเบยี บทตี่ อ้ งท�ำ รายงานให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับจากสิ้นสุดการท�ำงาน ซ่ึง รายงานการปฏิบัตินี้จะส่งไปยังคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนเพ่ือ พิจารณา โดยอาจก�ำหนดให้เจ้าหน้าท่ีต้องให้ข้อมูลเพ่ิมเติม หรือให้ส่ง เอกสารเพิ่มเติมในกรณจี �ำเป็น ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ิปปินส์ 151

มาตรา 8 เจา้ หนา้ ทแ่ี ละพนกั งาน รวมทงั้ ครอบครวั จะตอ้ งด�ำเนนิ ชวี ติ ทเ่ี รียบง่ายและพอประมาณเหมาะสมกบั ต�ำแหน่งและรายได้ จะตอ้ งไม่ หลงระเริงในสิ่งท่ฟี ่มุ เฟือย หรอื โออ้ วดความมงั่ ค่ังในรูปแบบใดๆ กฎข้อทเ่ี จ็ด: การเปิดเผยข้อมลู สาธารณะ มาตรา 1 เจา้ หนา้ ทแ่ี ละพนกั งานทกุ คน  ยกเวน้ ผทู้ �ำหนา้ ทใ่ี นฐานะ เจ้าหน้าท่ีกิตติมศักด์ิหรือพนักงานชั่วคราว ต้องแสดงสินทรัพย์ หน้ีสิน และมูลคา่ สุทธิ และเปดิ เผยผลประโยชน์ทางธุรกิจ รวมท้ังการเช่ือมตอ่ ทางการเงินของคู่สมรส บุตรท่ียังไม่แต่งงานและอายุไม่เกินสิบแปดปี ทอ่ี ยู่ในครวั เรอื น และอายตุ ามรูปแบบทก่ี �ำหนดไวใ้ นภาคผนวก (ก) เนื้อหาของแถลงการณ์ (1) งบแสดงสินทรัพย์ หนี้สิน และมูลค่าสุทธิจะต้องมีข้อมูล เกย่ี วข้องดังตอ่ ไปน้ี (ก) ทรัพย์สนิ ทเี่ ปน็ จรงิ และได้รบั การปรับปรุงตน้ ทนุ ตาม ราคาซือ้ คณุ ค่าทีไ่ ด้รับการประเมิน และมูลคา่ ใน ตลาดซ้อื ขายที่เปน็ จรงิ (ข) ทรพั ย์สินส่วนบคุ คล และต้นทนุ ตามราคาซอ้ื (ค) ทรัพย์สินอ่นื ๆ เช่น การลงทนุ ต่างๆ เงินสดในมือหรือใน ธนาคาร หุ้น พนั ธบตั ร หรือสง่ิ ท่ใี กลเ้ คยี งกนั (ง) หนสี้ ินทางการเงินในระยะสั้นและระยะยาว (2) การเปิดเผยข้อมูลผลประโยชน์ทางธุรกิจและการเช่ือมต่อ ทางการเงิน  จะตอ้ งมีข้อมลู เก่ยี วกบั ผลประโยชน์ท่ีมอี ยู่  หรอื ความ เชอ่ื มโยงทม่ี อี ยกู่ บั ผปู้ ระกอบการธรุ กจิ หรอื หนว่ ยงาน ไมว่ า่ จะเปน็ เจา้ ของ นักลงทนุ หุน้ สว่ น ผถู้ ือหุ้น เจ้าหน้าที่ กรรมการผูจ้ ดั การบรหิ าร เจา้ หนี้ 152

ทนายความ ที่ปรกึ ษาด้านกฎหมาย บญั ชี ผู้สอบบญั ชี และชอื่ และทอี่ ยู่ ของสถานประกอบการหรอื หนว่ ยงานเมอ่ื ผลประโยชนห์ รอื การเชอื่ มตอ่ ดงั กลา่ วเปน็ ทยี่ อมรบั และรายละเอยี ดอน่ื ๆ  เชน่   จะแสดงลกั ษณะของ ผลประโยชน์หรอื ความเช่อื มโยง (ข) เมื่อขอ้ มูลเอกสารดงั กล่าวตามประมวลกฎหมายตอ้ งย่ืน (1) ภายในสามสิบวนั หลังจากการเข้ารบั ต�ำแหนง่ ในส�ำนักงาน หรือหน่วยงาน รายการบัญชีทางการเงินจะถูกพจิ ารณา ซงึ่ จะนบั เปน็ วนั แรกทร่ี บั บรกิ าร การตรวจสอบของหนว่ ยงาน ทรี่ ับผดิ ชอบของรฐั (2) ในวนั ทหี่ รอื กอ่ นวนั ท ่ี 30 เมษายนทกุ ปี จากบญั ชที างการเงนิ ที่จะตอ้ งน�ำมาค�ำนวณ ณ สิ้นปีกอ่ นหน้านนั้ (31 ธนั วาคม) (3) ภายในสามสบิ วนั หลังจากแยกออกจากการตรวจสอบของ หน่วยงานที่รบั ผดิ ชอบของรฐั ซงึ่ รายการบญั ชที างการเงนิ จะตอ้ งค�ำนงึ ถงึ เปน็ วนั สดุ ทา้ ยของการด�ำรงต�ำแหนง่ ในส�ำนกั งาน หรอื หนว่ ยงาน (ค) ขอ้ มลู งบแสดงสนิ ทรพั ย์ หนส้ี นิ และมลู คา่ สทุ ธิ การเปดิ เผยขอ้ มลู ผลประโยชนท์ างธรุ กจิ และการเชอ่ื มตอ่ ทางการเงนิ จะไดร้ บั การยน่ื หรอื ส่งไปยงั บุคคลและสถานทดี่ งั ตอ่ ไปน:้ี (1) ประธานาธิบด ี รองประธานาธิบดี  และเจา้ หน้าท่ีของ ศาลรัฐธรรมนญู กบั ส�ำนกั งานผู้ตรวจการแผน่ ดนิ แหง่ ชาติ (2) สมาชิกวฒุ สิ ภาและสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร กบั เลขาธิการ วฒุ ิสภาและสภาผู้แทนราษฎรตามล�ำดบั ผู้พพิ ากษากับ เสมยี นของศาลศาลฎกี า ผพู้ พิ ากษากบั ผดู้ แู ลระบบศาลและ เจา้ หนา้ ทผ่ี บู้ รหิ ารระดบั ชาต ิเชน่  คณะรฐั มนตร ีรองเลขาธกิ าร ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟิลปิ ปนิ ส์ 153

และผชู้ ว่ ยเลขาธกิ าร รวมถงึ การใหบ้ รกิ ารในตา่ งประเทศ และ หวั หนา้ องคก์ รทรี่ ฐั บาลเปน็ เจา้ ของหรอื ควบคมุ ดว้ ยกฎบตั ร ท่เี ปน็ ตน้ ฉบบั และองคก์ รยอ่ ย วทิ ยาลัย และมหาวิทยาลัย ของรฐั กบั ส�ำนักงานประธานาธิบดี (3) เจา้ หนา้ ทร่ี ะดับภมู ภิ าคและทอ้ งถิน่ และพนกั งานทั้งแต่งตง้ั และเลอื กตงั้ รวมทง้ั เจา้ หนา้ ทอี่ น่ื ๆ และพนกั งานขององคก์ ร ท่ีรัฐบาลเป็นเจา้ ของหรือบริษัทควบคุมและองค์กรสาขา วทิ ยาลยั และมหาวทิ ยาลยั ของรฐั ทมี่ รี องผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ในภมู ภิ าคของตน (4) ขา้ ราชการจากกองทพั ทม่ี ยี ศตงั้ แตพ่ นั เอกหรอื นาวาเอก กบั ส�ำนกั งานประธานาธบิ ดี และขา้ ราชการในระดบั ยศทตี่ ำ�่ กวา่ พร้อมด้วยรองผู้ตรวจการแผ่นดนิ ในภูมิภาคของตน (5) เจา้ หนา้ ทที่ ั้งหมดและพนักงานอนื่ ๆ ทีก่ �ำหนดไวใ้ นพระราช บญั ญัติสาธารณรฐั ฉบับที่ 3019  ซึง่ แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยคณะ กรรมการข้าราชการพลเรือน ส�ำเนาของงบดงั กลา่ วจะถกู ยน่ื ใหก้ บั หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งในหนว่ ยงาน ส�ำนกั งานหรอื ตวั แทนสาขาต่างๆ (ง) บัญชีทั้งหมดของสินทรัพย์ หนี้สินและมูลค่าสุทธิ ลงวันที่ 31 ธนั วาคม 2531 ในขอ้ มลู ทม่ี ใี นหนว่ ยงานของตน  ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย และตามข้อมูลที่เป็นจริง ซ่ึงรูปแบบใหม่ที่ก�ำหนดไว้ในกฎหมายเหล่านี้ ก�ำหนดไว้ก่อนวันท่ี 30 เมษายน 2533 และทุกปหี ลงั จากนัน้ (จ) พนกั งานและเจา้ หนา้ ทท่ี กุ คนจะตอ้ งด�ำเนนิ การภายในสามสบิ วนั นับจากวันที่เข้ารับต�ำแหน่งในส�ำนักงาน ผู้มีอ�ำนาจท่ีจ�ำเป็นในการ สนบั สนนุ ของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ทจี่ ะไดร้ บั จากหนว่ ยงานภาครฐั ทเี่ หมาะสม รวมทงั้ ส�ำนกั สรรพากร  เอกสารประเภทแสดงสนิ ทรพั ยห์ นส้ี นิ มลู คา่ สทุ ธิ 154

ของพวกเขา รวมถงึ ผลประโยชนท์ างธรุ กจิ และการเชอื่ มโยงทางการเงนิ ในปีก่อนหน้า รวมทั้งถ้าเป็นไปได้ในปีแรกของการรับหน้าท่ีใดๆ ใน รัฐบาล (ฉ) คสู่ มรสทมี่ ที งั้ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั และพนกั งานอาจยนื่ บญั ชสี นิ ทรพั ย์ ท่ีจ�ำเป็นร่วมกันหรือแยกจากกนั มาตรา 2 เจ้าหน้ารัฐหรือพนักงานจะสามารถเปิดเผยข้อมูลของ ส�ำนกั งาน ภายใตค้ �ำสาบานในการใหบ้ รกิ ารทด่ี ที ส่ี ดุ จากขอ้ มลู ทร่ี บั รู้ เพอื่ รักษาระดับความสัมพันธ์ของภาครัฐต่อพลเรือนเพ่ือความสมดุลตาม รูปแบบท่ีก�ำหนดไว้ในภาคผนวก โดยสามารถแสดงขอ้ มลู ได้ (ก) ภายในสามสบิ วนั หลังจากการเข้ารับต�ำแหนง่ ในส�ำนักงาน (ข) ภายในหรือก่อนวันที่ 30 เมษายนของทุกปี เนื่องจากวนั ที่ 30 เปน็ วนั สุดท้ายทเ่ี ปดิ ใหส้ ่งขอ้ มลู การเสียภาษี ซงึ่ เปน็ ภาษขี องปที ผี่ ่านมา ข้อมูลที่ต้องค�ำนงึ ถึงจงึ เป็นข้อมลู ณ วันสิ้นปีกอ่ นหนา้ นัน้ มาตรา 3 (ก) ทกุ ขอ้ ความใดๆ ทย่ี นื่ กอ่ นหนา้ นตี้ อ้ งสอดคลอ้ งกบั ขอ้ ความขา้ งตน้ และตอ้ งพร้อมใหป้ ระชาชนตรวจสอบได้ในเวลาทเี่ หมาะสม (ข) บัญชีทรัพย์สินดังกล่าวจะต้องสะดวกต่อการถ่ายส�ำเนาหรือน�ำ มาพมิ พใ์ หมไ่ ด้ ภายหลงั 10 วนั ท�ำการ ซง่ึ ผยู้ นื่ เอกสารไดท้ �ำตามกฎหมาย ก�ำหนด ซ่ึงเป็นเหตุเปน็ ผลท่ีต้องยกย่อง (ค) ผมู้ ีอ�ำนาจรบั รองส�ำเนาถกู ต้อง จะตอ้ งออกส�ำเนาค�ำสั่ง และจะ ตอ้ งจา่ ยคา่ บรกิ ารทเ่ี หมาะสมตามทก่ี �ำหนดโดยคณะกรรมการขา้ ราชการ พลเรอื นเพอ่ื ครอบคลมุ คา่ ใชจ้ า่ ยการท�ำส�ำเนา  และจดหมายของค�ำสงั่ ดงั กล่าว ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ปิ ปินส์ 155

(ง) ค�ำส่ังใดๆ ที่ย่ืนภายใต้ประมวลกฎหมายจะสามารถใช้ได้กับ ประชาชนภายใตข้ อ้ จ�ำกัดทีก่ ล่าวมาแลว้ เปน็ ระยะเวลาสิบปี หลงั จากท่ี ไดร้ ับค�ำส่ัง และค�ำส่งั อาจถูกยกเลกิ หลังจากระยะเวลาดังกลา่ ว จนกวา่ จะมคี วามจ�ำเป็นในการตรวจสอบตอ่ ไป กฎขอ้ ทแ่ี ปด: การทบทวนและการปฏิบัตติ ามข้ันตอน ส่วนท่ี 1 กรณีต่อไปน้ีจะต้องมีการก�ำหนดข้ันตอนการปฏิบัติตาม กระบวนการตรวจสอบ เพื่อตรวจสอบว่าข้อความใดๆ ดังกล่าวข้างต้น ไดผ้ า่ นการด�ำเนนิ งานจนส�ำเรจ็ อย่างถกู ตอ้ ง (ก) ในกรณีที่รัฐสภาก�ำหนดให้คณะกรรมการของวฒุ ิสภา  และ สภาผแู้ ทนราษฎรเปน็ ผู้อนมุ ตั ิหวั ข้อ  ซง่ึ จะได้การรบั รอง โดยอาศยั การลงมติของเสยี งสว่ นใหญ่ (ข) ในกรณขี องหน่วยงานฝา่ ยบรหิ าร  หวั หนา้ ของหน่วยงาน  และ ส�ำนักงาน  และสาขาตัวแทนทีม่ ีความเกย่ี วข้องได้รับอนุมตั ิ การท�ำงานจากรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงยุติธรรม (ค) ในกรณขี องแผนกยุตธิ รรม อนุมัตโิ ดยหวั หน้าผ้พู ิพากษาของ ศาลฎกี า (ง) ในกรณขี องคณะกรรมการรฐั ธรรมนญู และส�ำนกั งานรฐั ธรรมนญู อนมุ ัติโดยประธาน  และบรรดาสมาชิกท่ีเก่ยี วขอ้ ง  นอกจากนี้ ในกรณที ส่ี �ำนกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ  อนมุ ตั โิ ดยผตู้ รวจการแผน่ ดนิ เจ้าหน้าท่ีดังกล่าวข้างต้นมีอ�ำนาจที่จะให้แสดงความคิดเห็นในการ ตีความบทบัญญัติเกี่ยวกับข้ันตอนการตรวจสอบและการปฏิบัติตามใน การเปิดเผยงบบญั ชสี ินทรพั ย์หนี้สินมลู ค่าสุทธิ 156

ในกรณีที่เจ้าหน้าท่ีตรวจสอบพบว่าบัญชีทรัพย์สินไม่ได้ถูกยื่นอย่าง ถูกตอ้ ง จะตอ้ งแจง้ ให้บคุ คลท่ีส่งรายงานโดยตรง และจะต้องด�ำเนินการ แก้ไขเพื่อใหต้ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ โดยผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ งสามารถแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั สถานการณท์ ี่ เกดิ ขน้ึ จริง และแสดงตามหนา้ ทีโ่ ดยสจุ ริต ซง่ึ ไม่ไดอ้ ยภู่ ายใตก้ รอบใดๆ ทรี่ ะบุไว้ในบทบญั ญัติ กฎขอ้ ท่ีเก้า: การลดความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ มาตรา 1 (ก) เจา้ หนา้ ทห่ี รอื ลกู จา้ งตอ้ งหลกี เลย่ี งความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ ตลอดเวลา (ข) ความขดั แย้งทางผลประโยชนจ์ ะเกิดขน้ึ เมอื่ (1) ลูกจ้างอย่างเปน็ ทางการ (ก) เปน็ ผู้ถือหุ้นอย่างมีนยั ส�ำคัญ หรือ (ข) เป็นสมาชิกของคณะกรรมการ หรือ (ค) เป็นเจา้ หน้าทข่ี องบรษิ ัท หรือ (ง) เปน็ เจ้าของ หรือมีความสนใจอยา่ งมากในธุรกิจ หรอื (จ) เป็นหนุ้ สว่ นในห้างหนุ้ สว่ น และ (2) ผลประโยชนข์ องบรษิ ทั ดังกล่าว หรอื ธุรกจิ หรือสิทธิ หรอื หน้าที่นั้น ซึ่งตรงข้ามกับผลประโยชน์ของหน่วยงานรัฐที่สังกัดและ ขัดแย้งในการปฏบิ ัติงานที่ซื่อสตั ย์ของเจา้ หนา้ ที่ (ค) ผ้ถู อื หุ้นท่ีส�ำคัญเป็นบคุ คลทเ่ี ปน็ เจ้าของโดยตรงหรือโดยออ้ ม มี หุน้ เพียงพอทจี่ ะเลอื กผ้อู �ำนวยการของบริษทั ใดๆ จะใชบ้ งั คับกับบคุ คล ทจ่ี ะลงคะแนนไวว้ างใจ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ 157

(ง) การลงคะแนนไวว้ างใจ หมายถึง ขอ้ ตกลงระหว่างผถู้ อื หนุ้ ของ บรษิ ทั เพอ่ื วตั ถปุ ระสงคใ์ นการหารอื กบั ผดู้ แู ลหรอื คณะกรรมาธกิ ารสทิ ธิ ในการออกเสยี งลงคะแนนและสทิ ธอิ นื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การซอื้ หนุ้ ส�ำหรบั รอบระยะเวลาทก่ี �ำหนดและภายใตเ้ งอ่ื นไขอนื่ ๆ เชน่ บญั ญตั ใิ นกฎหมาย บริษัท มาตรา 2 (ก) เมอื่ ความขดั แยง้ เกดิ ขนึ้ กบั เจา้ หนา้ ทหี่ รอื พนกั งานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง จะ ตอ้ งลาออกจากต�ำแหนง่ ในองคก์ รธรุ กจิ เอกชนภายในสามสบิ วนั นบั จาก วนั ลาออกจากต�ำแหนง่ ส�ำนกั งาน หรอื การลาออกจากสว่ นแบง่ ทถี่ อื ครอง หรือผลประโยชน์ภายในหกสิบวัน นับจากวันลาออกจากต�ำแหน่ง ดังกล่าว ส�ำหรับผู้ท่ีมีหุ้นอยู่แล้วและเกิดความขัดแย้ง เจ้าหน้าที่หรือ ลูกจ้างดังกล่าว จะต้องลาออกจากต�ำแหน่งในองค์กรธรุ กิจเอกชน หรือ ลาออกจากการถอื ครองหนุ้   หรอื ผลประโยชนข์ องตนภายในระยะเวลา ทรี่ ะบไุ วข้ า้ งตน้ น ี้ เมอื่ เกดิ ความขดั แยง้ ขน้ึ   จะใชก้ ฎเดยี วกนั ระหวา่ ง เจา้ หนา้ ท่หี รือลูกจา้ งท่เี ปน็ หุน้ สว่ นในห้างห้นุ ส่วน (ข) ถ้าเงือ่ นไขในส่วนท่ี 1 (ก) ขัดขอ้ ง การขายต้องบังคบั ใช้ส�ำหรับ พนักงานหรือลูกจ้าง แม้ว่าเขาได้ลาออกจากต�ำแหน่งในองค์กรธุรกิจ เอกชนแลว้ (ค) การขายเงินลงทุนจะต้องขายให้กับบุคคลอ่ืนท่ีไม่ใช่คู่สมรสและ ญาตใิ นระดับพลเรือนทีม่ สี ายเลือดเดียวกันหรือมีความสัมพนั ธก์ นั (ง) ขอ้ ก�ำหนดส�ำหรบั การขายเงนิ ลงทนุ นนั้ จะตอ้ งไมน่ �ำไปใชก้ บั ผทู้ ่ี ได้รับอนุญาตตามกฎหมายเฉพาะและผู้ท่ีท�ำหน้าที่ของรัฐบาลในฐานะ กติ ตมิ ศักดิ์ หรอื คนงานและคนงานชัว่ คราว 158

กฎขอ้ ท่สี ิบ: ขอบเขตส�ำหรบั การด�ำเนินการจดั การทางวนิ ยั มาตรา 1 ในขอบเขตท่ีนอกเหนือไปจากการด�ำเนินการทางวินัยให้ บริหารตามท่ีก�ำหนดภายใต้กฎหมายที่มีอยู่ การกระท�ำและการละเลย ของเจ้าหน้าท่ีหรือพนักงานคนใดไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐหรือ พนกั งานจา้ งชวั่ คราว ใหถ้ อื วา่ ผดิ กฎหมายหรอื ตอ้ งหา้ ม จะตอ้ งด�ำเนนิ การ ทางวินัยโดยปราศจากอคตทิ างอาญาและทางแพง่ เชน่ (ก) การด�ำเนนิ การโดยทางตรงหรอื โดยออ้ มทม่ี ผี ลประโยชนเ์ กย่ี วขอ้ ง กับการเงินและส่วนประกอบในการท�ำธุรกรรมใดๆ ที่จ�ำเป็นต้องได้รับ อนมุ ตั จิ ากส�ำนกั งาน ซง่ึ ผลประโยชนท์ างการเงนิ และสว่ นประกอบถกู ให้ ค�ำจดั ความวา่ เปน็ เรอ่ื งของเงินและการเปน็ ผูค้ รอบครอง ดงั นน้ั บุคคลที่ เป็นผู้ด�ำเนินธุรกรรมอาจได้รับผลประโยชน์หรืออาจจะต้องสูญเสีย บางอยา่ ง (ข) การเป็นเจ้าของ การควบคุม การจัดการ หรือการจ้างงานของ เจ้าหน้าที่ ลูกจ้าง ที่ปรึกษา ที่ปรึกษากฎหมาย นายหน้าซ้ือขายหุ้น ตัวแทน ผู้ได้รับมอบหมายให้ดูแล หรือตัวแทนท่ีได้รับการแต่งต้ังใน องคก์ รเอกชนใดๆ ตอ้ งถกู ตอ้ งตามกฏขอ้ บงั คบั ถกู ควบคมุ ดแู ล หรอื ตอ้ ง ไดร้ บั อนญุ าตจากส�ำนกั งานองคก์ รนนั้ ๆ เวน้ แตไ่ ดร้ บั อนญุ าตอยา่ งชดั แจง้ โดยกฎหมาย (ค) การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติของตนที่ไม่เก่ียวข้องกับหน้าท่ี เว้นแต่ได้รับการอนญุ าตตามรฐั ธรรมนญู กฎหมาย หรอื ระเบียบ โดยมี เง่ือนไขว่าการปฏิบัติดังกล่าวจะไม่เกิดความขัดแย้งหรือมีแนวโน้มที่จะ ขัดแย้งกบั หนา้ ทขี่ องเจ้าหน้าท่ี (ง) การแนะนําบคุ คลในองคก์ รเอกชนทม่ี กี ารท�ำงาน หรอื อยรู่ ะหวา่ ง ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ิปปินส์ 159

ด�ำเนินการกับส�ำนักงาน เว้นแต่ข้อเสนอแนะดังกล่าว หรือการอ้างอิง เป็นไปตามข้อบังคบั (1) กฎหมาย หรอื (2) ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ และเปน็ ภาระผกู พนั ใดๆ หรอื เปน็ ส่วนหนง่ึ ของการท�ำงานของส�ำนกั งาน การกระท�ำเหลา่ นจ้ี ะยงั คงถกู หา้ มเปน็ เวลาหนง่ึ ปี หลงั จากการลาออก เกษียณอายุ หรือแยกออกจากส�ำนักงาน ยกเว้นในกรณีของวรรค (ค) ขา้ งต้น แต่ผู้ช�ำนาญที่เกย่ี วข้องไม่สามารถเช่ือมโยงกบั อาชีพของเขากบั เรื่องใดๆ ของส�ำนักงานได้ภายในหน่ึงปีหลังจากการลาออกดังกล่าว การเกษียณอายุหรือการละเมิดใดๆ ในที่น้ี จะต้องเป็นพ้ืนฐานส�ำหรับ การด�ำเนนิ การทางวินยั ในการบรหิ ารเมอื่ กลับเขา้ รบั ราชการ (จ) การเปิดเผยข้อมูล หรือวัตถุประสงค์ท่ีเป็นความลับ หรือเป็นท่ี รู้จักกันอย่างเป็นทางการ กับเหตุผลของการท�ำงานของเขา และไม่ให้ บริการแก่ประชาชนเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว หรือให้ประโยชน์เกินควร แก่ทกุ คน หรือมีอคตติ ่อประชาชน (ฉ) การชกั ชวน หรอื การรบั ของขวัญ ของชอบ สงิ่ บันเทงิ เงินกู้ หรอื สิ่งท่ีมีมูลค่าเป็นตัวเงินท้ังโดยทางตรงหรือทางอ้อมในระหว่างปฏิบัติ หนา้ ท่ี ซงึ่ อาจจะสง่ ผลกระทบตอ่ การท�ำงานของส�ำนกั งานทไี่ มเ่ หมาะสม หรือไม่ถูกต้องดังกล่าวข้างต้น จะถูกก�ำหนดค่าความสัมพันธ์ระหว่าง ผใู้ ห้และผรู้ บั และแรงจงู ใจเร่อื งของคา่ เงนิ ของขวญั หมายถงึ ของใหเ้ ปลา่ หรอื การกระท�ำในการใหค้ วามเออ้ื เฟอ้ื เผ่ือแผ่ใดๆ ตามความชอบของอีกผู้หนึ่งท่ียอมรับส่ิงดังกล่าว ซ่ึง หมายรวมถึง การขายแบบไมเ่ หมาะสมกบั คณุ ค่าหรอื ราคา เพ่อื จัดการ ตามภาระทีอ่ ีกฝ่ายให้กระท�ำ 160

สนิ เชอื่ ครอบคลมุ ทง้ั การกยู้ มื เงนิ รวมทง้ั คำ้� ประกนั การจดั หาเงนิ ทนุ หรือการจัดห้องพักไว้เพื่อให้แน่ใจว่าการอนุมัติ การยืมเงิน หมายถึง สญั ญาดว้ ยเหตอุ ยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ของบคุ คลทม่ี อบใหก้ บั สงิ่ ทไี่ มส่ นิ้ เปลอื ง อื่น เพ่ือที่หลังจากน้ันอาจจะใช้เหมือนกันส�ำหรับเวลาที่แน่นอนและส่ง กลับมา ขอ้ หา้ มน้จี ะไมร่ วมถงึ (1) ของขวัญท่ีไม่พึงประสงค์ มูลค่าน้อย หรือไม่มีนัยส�ำคัญใดๆ ไม่ได้ให้ในความหมายเพ่ือแลกเปลี่ยนส�ำหรับการสนับสนุนจาก ขา้ ราชการหรอื ลกู จา้ ง หรอื รบั หลงั จากการท�ำธรุ กรรมเสรจ็ สมบรู ณ์ หรอื เป็นสิ่งที่ของขวัญท่ีมีค่าน้อยขึ้นอยู่กับสถานการณ์ของแต่ละกรณี โดย ค�ำนงึ ถงึ เงนิ เดอื นของเจา้ หนา้ ทห่ี รอื ลกู จา้ ง ความถใี่ นการใหผ้ ลประโยชน์ และปัจจัยอืน่ ๆ ทค่ี ล้ายกัน (2) ของขวัญจากสมาชิกในครอบครัวหรือญาติท่ีไม่ได้ก�ำหนดไว้ ในประมวลกฎหมาย ซงึ่ ในโอกาสของการเฉลมิ ฉลองในครอบครวั โดยทวั่ ไป ไม่มีการคาดหวังก�ำไรเงนิ หรือประโยชนใ์ ดๆอยูแ่ ล้ว (3) การบรจิ าคจากบคุ คลทก่ี �ำหนด โดยไมม่ ีการท�ำธรุ กรรม หรือ อยรู่ ะหวา่ งด�ำเนนิ การท�ำธรุ กรรม หรอื วา่ มผี ลกบั การท�ำงานของหนว่ ยงาน ส�ำนกั งาน หรอื ส�ำนกั งานสาขาทเ่ี จา้ หนา้ ทห่ี รอื ลกู จา้ งมกี ารเชอื่ มโยง และ ไมม่ ีความคาดหวังของการเพม่ิ เงินหรือประโยชนใ์ ด ๆ (4) การบรจิ าคจากองคก์ รเอกชนไมว่ า่ จะเปน็ ในประเทศหรอื ตา่ ง ประเทศ ซง่ึ ไดร้ บั การพจิ ารณาและไดร้ บั การยอมรบั ดา้ นมนษุ ยธรรมและ เห็นแกผ่ ู้อนื่ ในวัตถปุ ระสงคแ์ ละภารกจิ (5) การบริจาคของภาครัฐให้แก่หน่วยงานรัฐเพื่อเป็นของขวัญ หรือเงนิ สนับสนุนจากรฐั บาลตา่ งประเทศทร่ี ฐั สภายินยอม เชน่ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟิลปิ ปินส์ 161

● การรบั และการเกบ็ รกั ษาของขวญั จากมลู คา่ ทรี่ ะบใุ นค�ำเสนอซอ้ื หรือไดร้ ับเป็นของทีร่ ะลกึ หรือเครอื่ งหมายของมารยาท ● การรบั และการเกบ็ รกั ษาของขวญั ในลกั ษณะของทนุ การศกึ ษา หรือการรักษาทางการแพทย์ ● การยอมรับทุนการเดินทาง หรอื คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทาง ทั้งหมดท่ีเกิดขึ้นนอกประเทศฟิลิปปินส์ (เช่น ค่าใช้จ่ายการขนส่ง อาหาร และท่ีพัก) เกินกวา่ มูลค่าทร่ี ะบุวา่ ได้รับดังกลา่ ว แตม่ คี วามเหมาะสม หรือสอดคล้องกับผลประโยชน์ของฟิลิปปินส์ และได้รับอนุญาตจาก หวั หนา้ ส�ำนักงานหรือหนว่ ยงาน นอกจากนไี้ มม่ สี ว่ นใดในบญั ญตั  ิ ทจ่ี ะถกู ตคี วามเพอื่ จ�ำกดั   หรอื หา้ ม การศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื โครงการแลกเปลยี่ นทางวฒั นธรรมใดๆ ภายใตข้ ้อก�ำหนดการรกั ษาความปลอดภยั แห่งชาติ (ช) การไดร้ ับค�ำส่ังใดๆ ทย่ี ื่นภายใตบ้ ทบญั ญตั ิ เพือ่ วัตถปุ ระสงคใ์ ดๆ ทขี่ ดั ตอ่ ศลี ธรรม หรอื นโยบายสาธารณะ หรอื เพอ่ื การคา้ ใดๆ ทน่ี อกเหนอื จากการขา่ วและการสอ่ื สารส�ำหรบั การเผยแพร่ไปยงั ประชาชนทว่ั ไป (ซ) การเลือกปฏิบัติท่ีไม่เป็นธรรมในการแสดงผลการบริการ สาธารณะ (ฌ) การทุจรติ ตอ่ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ และชาวฟิลปิ ปนิ ส์ (ญ) ความลม้ เหลวในการท�ำหน้าท่ี และการรอ้ งขอทจ่ี ะไดร้ บั ยกเวน้ ตามทก่ี �ำหนดไว้เปน็ อยา่ งอน่ื ในกฎหมายภายในสิบห้าวนั (ฎ) ความล้มเหลวในการประมวลผลเอกสาร และการด�ำเนินการ เกย่ี วกบั เอกสารในการท�ำงานทส่ี มบรู ณ์ ภายในระยะเวลาอนั สมควรจาก การเตรียมความพร้อมดังกล่าว ยกเว้นท่ีระบุไว้เป็นอย่างอ่ืนใน กฎเหลา่ น้ี 162

(ฏ) ความล้มเหลวท่ีจะร่วมกับบุคคลอ่ืน เพื่อผลประโยชน์ในการให้ บริการของส�ำนักงาน หรือท่ีจะท�ำในหน้าท่ี การท�ำธุรกรรมส่วนบุคคล ของประชาชนอย่างทันทแี ละรวดเรว็ (ฐ) ความลม้ เหลวในการย่ืนเอกสารของทรพั ยส์ ิน หน้สี ิน และมูลค่า สุทธิ เพอ่ื เปดิ เผยผลประโยชน์ทางธรุ กจิ และการเช่ือมต่อทางการเงนิ (ฑ) ความล้มเหลวที่จะลาออกจากต�ำแหน่งในองค์กรธุรกิจเอกชน ภายในสามสิบวัน นับจากวันลาออกจากต�ำแหน่งในส�ำนักงานภาครัฐ เมื่อเกิดความขัดแย้งข้ึนหรือความล้มเหลวท่ีจะปลดตนเองจากการถือ หุ้นหรอื ผลประโยชน์ในองคก์ รธุรกิจเอกชนภายในหกสบิ วนั นับจากวนั ลาออกจากต�ำแหน่งดังกล่าวของส�ำนักงานภาครัฐ   เมื่อความขัดแย้ง ทางผลประโยชนเ์ กดิ ขน้ึ อยา่ งเปน็ ทางการ ลกู จา้ งตอ้ งทงั้ ลาออกและปลด ตนเองจากผลประโยชน์ดงั กล่าวภายในระยะเวลาที่ระบุไว้ขา้ งตน้ น้ี กฎข้อท่ีสบิ เอด็ : บทลงโทษ มาตรา 1 ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่หรือลูกจ้าง ไม่ว่าจะด�ำรงต�ำแหน่งหรือ ถูกจ้างงานช่ัวคราวหรือถาวร กระท�ำการละเมิดจรรยาบรรณใดๆ ต้อง ระวางโทษปรับไมเ่ กินหกเทา่ ของเงนิ เดือน หรอื ระงบั ไม่เกินหนึง่ ปี หรอื ให้ออก ข้ึนอยู่กับความผิดในการกระท�ำผิดตามกฎหมาย หลังจากแจ้ง ให้ทราบลว่ งหน้า หรอื หากแจ้งแล้วและละเมดิ มโี ทษหนักกว่าโทษตาม กฎหมายอนื่ ทจ่ี ะถกู ด�ำเนินคดตี ามกฎหมายการละเมดิ มาตรา 7 8 หรือ 9 จะถูกลงโทษด้วยการจ�ำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินห้าพันเปโซ (P 5,000.00)  หรือทั้งสองอยา่ ง ขน้ึ อยกู่ ับดลุ พนิ จิ ของศาลท่มี อี �ำนาจ การฝา่ ฝนื พระราชบญั ญตั นิ ไ้ี ดร้ บั การพสิ จู นใ์ นการด�ำเนนิ การบรหิ าร จดั การทเี่ หมาะสมเปน็ สาเหตเุ พยี งพอส�ำหรับการเลกิ จ้างเจา้ หนา้ ท่หี รอื ลูกจ้าง ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟิลิปปนิ ส์ 163

ภาคเอกชนทม่ี สี ว่ นในการวางแผนรว่ ม เปน็ ผวู้ า่ จา้ งรว่ ม ผสู้ มรรู้ ว่ มคดิ หรอื การใชเ้ จา้ หนา้ ท ี่ หรอื พนกั งานในการละเมดิ บญั ญตั ทิ อ่ี ยภู่ ายใต้ บทลงโทษทางอาญาเช่นเดียวกับเจ้าหน้าท่ีหรือพนักงานและจะต้องถูก ลงโทษรว่ มกนั เจา้ หน้าทห่ี รอื ลกู จ้างทีเ่ ก่ยี วข้องอาจถกู ด�ำเนนิ การรวมกบั ผ้ทู ีม่ ี ผลประโยชนร์ ว่ มกนั เพอ่ื รายงานวตั ถปุ ระสงคต์ อ้ งหา้ มตามมาตรา 8 (ง) ของบทบญั ญัติ ศาลจะพจิ ารณาการกระท�ำดังกล่าวให้ลงโทษในจ�ำนวน ไมเ่ กิน 25,000 เปโซ (P 25, 000.00) หากอนมุ ัตติ ามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามกฎหมายอื่นๆ อีกหลังใชบ้ งั คบั มาตรา 2 การด�ำเนินการจดั การส�ำหรับการละเมดิ กฎเหลา่ น้ี จะเปน็ ไปตามกฎหมายและระเบยี บขา้ ราชการพลเรอื น กฎขอ้ ทส่ี ิบสอง: การบริการโดยสมคั รใจ มาตรา 1 พระราชบญั ญตั นิ ้ี (ก) ใหบ้ รกิ ารโดยสมคั รใจ หมายถงึ การใหบ้ รกิ ารโดยบคุ คลในรฐั บาล โดยไมต่ อ้ งจา่ ยคา่ ตอบแทน หรือ (ข) การให้บรกิ ารโดยไม่เสียคา่ ใชจ้ า่ ยของเจ้าหน้าท่ี มดี งั น้ี (1) การออกเอกสารทางราชการท่ีเหมาะสม (2) สถานทีท่ �ำงานเหมาะสมกบั หนา้ ทีแ่ ละความรับผิดชอบใน ต�ำแหน่ง (3) การปฏบิ ัตติ ามกฎในการท�ำงาน (ค) หนา้ ทห่ี รอื บรกิ ารท่ีเจา้ หนา้ ที่สามารถด�ำเนนิ การได้ ดังน้ี (1) เปน็ ทีป่ รึกษา (2) ใหค้ �ำปรึกษา (3) ใหค้ �ำแนะน�ำ (4) ให้บริการระดับมืออาชพี 164

(5) การท�ำงานของพนกั งาน เช่น การวางแผนหรอื การวิจัย หรือ   ด้านมนษุ ยธรรม (ง) ผทู้ สี่ มคั รใจรบั บรกิ ารโดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ยของรฐั บาล จะครอบคลมุ ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) กฎหมายเกย่ี วกบั ผลตอบแทนและส่งิ จูงใจ (2) บรรทดั ฐานของมาตรฐานความประพฤติและจรยิ ธรรม (3) หน้าทแี่ ละภาระหน้าท่ขี องเจ้าหนา้ ท่รี ัฐและพนกั งาน (4) ขอ้ ห้ามและบทลงโทษทร่ี ะบุในกฎเหล่าน้ี (5) ความรบั ผดิ ชอบทางแพ่งและอาญา (จ) ผู้ท่ีให้บริการฟรีโดยสมัครใจ ต้องเปิดเผยหน้ีสินและมูลค่าสุทธิ ทางการเงิน เพ่ือก�ำหนดหน้าที่ท่ีเหมาะสมกับความปลอดภัยในการ ท�ำงาน เว้นแต่จะก�ำหนดไว้เป็นอย่างอื่นในแง่ของอาสาสมัครที่ไม่ได้รับ อนญุ าตจาก (1) ใช้สทิ ธหิ นา้ ทกี่ ารควบคมุ ดแู ลบคุ ลากร (2) ใชส้ ทิ ธหิ นา้ ทข่ี องต�ำแหนง่ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การรกั ษาความปลอดภยั แหง่ ชาติ (3) มกี ารเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ความลบั  เวน้ แตไ่ ดร้ บั อนญุ าตจากหนว่ ยงาน ท่ีเหมาะสม (4) ครอบครองต�ำแหนง่ ทไี่ ดร้ ับการก่อต้งั อย่างสมำ�่ เสมอ (5) มกี ารใหบ้ ริการดงั กลา่ วเปน็ บริการเครดิตของรฐั บาล และเป็น ประโยชน์ต่อผลประโยชน์ของตัวเองในการเกษยี ณอายุ (6) การใช้สงิ่ อ�ำนวยความสะดวกและทรัพยากรในส�ำนกั งานเพอื่ วัตถุประสงคท์ างการเมอื งพรรค ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ิปปนิ ส์ 165

(7) การไดร้ ับผลประโยชนเ์ ปน็ ตวั เงินใดๆ เชน่ ค่าวิชาชพี คา่ เบี้ย ประชมุ และเงินพเิ ศษอน่ื ๆ ของส�ำนกั งาน กฎขอ้ ที่สบิ สาม: การแกไ้ ข มาตรา 1 ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนอาจแก้ไขหรือ ปรบั เปล่ียนกฎระเบยี บเหล่านี้ตามความจ�ำเปน็ กฎข้อทส่ี บิ ส:ี่ การบังคับ มาตรา 1 กฎเหลา่ นี้จะเรม่ิ มผี ล 30 วัน หลงั จากเสรจ็ ส้ินการประกาศ ในราชกจิ จานเุ บกษาอย่างเปน็ ทางการ หรอื ในหนงั สอื พมิ พ์รายวนั 7.2 กฎหมายแรงงาน ฟิลิปปินส์เป็นประเทศหน่ึงท่ีให้ความส�ำคัญต่อการคุ้มครองแรงงาน ในการท�ำงาน กฎหมายแรงงานของฟิลิปปินส์ (Labor Code of The Philippines) เป็นกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวกับการจ้างงานและ แรงงานสัมพันธ์ในประเทศฟิลิปปินส์ ประกาศใช้ในวันแรงงานปี พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) โดยประธานาธบิ ดเี ฟอรด์ นิ านด์ มารก์ อส (Ferdinand Marcos) กฎหมายแรงงานถูกบรรจุไว้เป็นส่วนหนึ่งของกฎหมาย รัฐธรรมนูญฟิลิปปินส์ปี พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) ซึ่งได้ก�ำหนดสิทธิ แรงงานไวด้ ังน้ี - อิสระตอ่ การควบคุมโดยองคก์ ร มีอ�ำนาจเจรจาต่อรอง และด�ำเนิน กิจกรรมร่วมกนั อย่างสงบ รวมถึงสทิ ธิในการชุมนมุ เรียกรอ้ งที่ก�ำหนดไว้ ตามกฎหมาย 166

- ประกันความคุ้มครอง หลักมนุษยธรรมในการท�ำงาน และ คา่ ครองชพี - การมสี ว่ นรว่ มในนโยบาย และกระบวนการตดั สนิ ทมี่ ผี ลกระทบตอ่ สิทธแิ ละผลประโยชนข์ องแรงงานตามที่กฎหมายบญั ญตั ิไว้ - ไดร้ บั สว่ นแบง่ ในผลประกอบการ ทง้ั นขี้ นึ้ อยกู่ บั สทิ ธขิ องนายจา้ งที่ จะใหผ้ ลตอบแทนทีเ่ หมาะสมในการลงทุน ในขณะเดียวกัน  รฐั ธรรมนญู ฉบบั นกี้ ็ให้ความส�ำคัญตอ่ สทิ ธอิ ัน ชอบธรรมของนายจ้างในการลงทุนและการขยายการเติบโตทางธุรกิจ โดยนายจา้ งมสี ทิ ธใิ นการก�ำหนดหลกั เกณฑ์ และกฎระเบยี บทเ่ี หมาะสม สิทธิในการคัดเลือกแรงงาน การย้ายแรงงาน การลดและการเลิกงาน แรงงานตามความจ�ำเป็นของธุรกิจภายใต้ข้อบังคับของกฎหมาย ฟิลิปปนิ ส์ และสัญญาแรงงาน กฎหมายแรงงานฟลิ ปิ ปินส์ประกอบดว้ ย สว่ นส�ำคญั ท่เี กีย่ วขอ้ งกบั แรงงานดังน้ี 7.2.1 ขอ้ ตกลงและเงอื่ นไขของการจ้างงาน (Terms and Conditions of Employment) คา่ จ้างแรงงานขนั้ ต�่ำ กฎหมายฟลิ ปิ ปนิ สว์ า่ ดว้ ยอตั ราคา่ จา้ งแรงงานขนั้ ตำ่� มคี วามแตกตา่ ง กนั ไปตามแต่ละภมู ภิ าค  ถูกก�ำหนดโดยคณะกรรมการค่าจ้าง และ การผลติ แหง่ ชาติ (National Wages and Productivity Commission- NWPC) อตั ราคา่ จา้ งแรงงานขน้ั ตำ่� พนื้ ฐานขนั้ ตน้ ทมี่ ผี ลบงั คบั ใชล้ า่ สดุ เมอื่ วนั ที่ 3 มถิ ุนายน 2555 (ค.ศ. 2012) อยา่ งอตั ราคา่ จ้างในเขตมะนิลาอยู่ ท่ี 456 เปโซตอ่ วนั และอตั ราคา่ จา้ งแรงงานขนั้ ตำ�่ สดุ ในเขตมมิ าโรปา คอื 205 เปโซต่อวัน ส�ำหรับค่าจ้างแรงงานในภาคเกษตรกรรมน้ัน มีอัตรา ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ิปปินส์ 167

สูงสุดในเขตเมอื งหลวงเช่นกัน คอื 419 เปโซตอ่ วนั ตำ�่ สุดในเขตอีโลกอส คอื 205 เปโซตอ่ วนั ซงึ่ คา่ จา้ งแรงงานขน้ั ตำ�่ นจี้ ะขน้ึ อยกู่ บั พนื้ ทแี่ ละระบบ เศรษฐกิจท้องถ่นิ ชวั่ โมงการท�ำงานและการท�ำงานล่วงเวลา ชั่วโมงการท�ำงานปกติไมค่ วรเกนิ วันละ 8 ชั่วโมง ลกู จา้ งท่ีท�ำงานใน ส่วนที่เกินจากวันละ 8 ช่ัวโมงมีสิทธิท่ีจะได้รับค่าล่วงเวลาเท่ากับอัตรา คา่ จา้ งทีใ่ ช้บังคับในอัตราเพิ่มขึ้นอยา่ งน้อยรอ้ ยละ 25 ของอตั ราค่าจา้ ง ดังกลา่ ว อยา่ งไรกต็ าม กฎหมายแรงงานฟิลปิ ปินส์ไดก้ �ำหนดให้ลกู จา้ งในบาง สายอาชพี ไมส่ ามารถรบั การจา่ ยคา่ ตอบแทนการท�ำงานลว่ งเวลาดงั กลา่ ว ซงึ่ มีก�ำหนดไว้ดงั นี้ (1) ข้าราชการ (2) ลกู จา้ งระดับบริหารจัดการข้ึนไป (3) ลกู จา้ งฝา่ ยบคุ คล (4) ครอบครวั ของนายจา้ ง (5) ผูช้ ่วยส่วนตัว (6) ลูกจ้างท่ีรบั คา่ จา้ งตอบแทนตามผลงาน ซ่งึ ถูกก�ำหนดเปน็ กฎระเบยี บท่ีเหมาะสมโดยเลขาธิการกรมแรงงานและการจัดหางาน วนั หยุดประจ�ำสปั ดาห์ นายจ้างสามารถให้ลูกจ้างท�ำงาน 6 วันต่อสัปดาห์ และมีวันหยุด ประจ�ำสัปดาหอ์ ย่างน้อย 1 วนั ส�ำหรับงานทีท่ �ำในวันหยดุ นายจ้างจะ 168

ต้องจ่ายค่าชดเชยให้เท่ากับอัตราค่าจ้างท่ีใช้บังคับเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 30 ของอัตราดงั กล่าว วนั หยดุ นักขตั ฤกษ์และวนั หยดุ พิเศษ วันหยุดนักขัตฤกษ์มีทั้งส้ิน 12 วันต่อปี นายจ้างจะต้องจ่ายค่า ตอบแทนในการท�ำงานวันหยุดนักขัตฤกษ์ให้กับลูกจ้างที่มีสิทธิได้รับค่า ชดเชยที่กฎหมายมิไดก้ �ำหนดไวเ้ ป็นขอ้ ยกเว้น และได้รับคา่ จา้ งในอัตรา อย่างน้อยร้อยละ 200 ของอัตราค่าจ้างที่ใช้บังคับในการท�ำงานในวัน หยดุ นั้นๆ วนั หยดุ พิเศษมที ้งั สิ้น 3 วันตอ่ ปี ดงั น้ี 1) Benigno S. Aquino Jr. Day (ตรงกบั วนั จันทรท์ ี่ใกลเ้ คียงวนั ที่ 21 สงิ หาคม) 2) All Saints Day (วนั ท่ี 1 พฤศจิกายน) 3) Last day of the year (วันที่ 31 ธนั วาคม) ลกู จา้ งทมี่ สี ิทธิได้รับคา่ ชดเชยการท�ำงานในวนั หยดุ พิเศษ จะต้องได้ รับค่าตอบแทนในการท�ำงานวันหยดุ อยา่ งน้อยรอ้ ยละ 30 ของอตั ราคา่ จ้างท่ีใช้บังคับ ในกรณีที่วันหยุดพิเศษนั้นตรงกับวันหยุดประจ�ำสัปดาห์ ของลูกจ้าง ค่าตอบแทนจะเป็นอัตราอย่างน้อยร้อยละ 50 ของอัตรา ค่าจ้างท่ีใชบ้ งั คับ ท้งั น้อี ตั ราค่าตอบแทนดังกลา่ วไม่รวมถงึ การท�ำงานใน วันหยุดพเิ ศษเวลากลางคืน วันหยดุ พักผอ่ นประจ�ำปี (Service Incentive Leave) ลูกจา้ งทีม่ ีสทิ ธไิ ด้รบั วนั หยดุ พักผ่อน 5 วันตอ่ ปี เม่อื ท�ำงานครบ 1 ปี ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ปิ ปินส์ 169

วนั หยดุ พกั ผอ่ นประจ�ำปสี ามารถเปลย่ี นเปน็ เงนิ ใหก้ บั ลกู จา้ งทไ่ี มป่ ระสงค์ จะใช้วันลาพักร้อนน้ีเม่ือครบก�ำหนดวันสิ้นปี ท้ังนี้บริษัทมีสิทธิในการ จัดสรรวันหยุดพักผอ่ นประจ�ำปีให้กบั ลกู จ้างได้ตามความเหมาะสม เวลาพกั นายจา้ งมหี นา้ ทกี่ �ำหนดเวลาพกั ระหวา่ งวนั ใหก้ บั ลกู จา้ งอยา่ งนอ้ ย 1 ชวั่ โมงตอ่ วนั อยา่ งไรกต็ าม นายจา้ งสามารถจดั สรรเวลาพกั ใหก้ บั ลกู จา้ ง นอ้ ยกว่า 1 ช่วั โมงได้ในบางกรณี แตไ่ ม่นอ้ ยกว่า 20 นาทตี อ่ วัน ทงั้ นจ้ี ะ ต้องชดเชยเวลาพักดังกล่าวท่ีลดลงไปนับเป็นช่ัวโมงการท�ำงานปกติให้ กับลกู จ้างแทน สิทธิประโยชน์ส�ำหรับการเกษียณอายุ (Private Retirement Benefit) ลกู จา้ งมสี ทิ ธไิ ดร้ บั สทิ ธปิ ระโยชนส์ �ำหรบั การเกษยี ณอายุ ซง่ึ เกดิ จาก รายไดภ้ ายใต้กฎหมายท่บี งั คับใช้ ข้อตกลง หรือพนั ธะสญั ญาอน่ื ๆ ทัง้ นี้ สิทธิประโยชน์ท่ีได้รับจะต้องไม่น้อยกว่าสิทธิประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้โดย กฎหมายแรงงาน ในกรณีทไี่ มม่ บี ทบัญญัตใิ ดๆ ส�ำหรับการเกษยี ณอายุ ลูกจา้ งมสี ิทธทิ ่ี จะเกษียณ และไดเ้ งนิ บ�ำเหน็จเมื่ออายุตง้ั แต่ 60 ปีข้นึ ไป และมอี ายงุ าน อยา่ งนอ้ ย 5 ปี กอ่ นเกษยี ณอายกุ บั นายจา้ งปจั จบุ นั ลกู จา้ งมอี ายคุ รบวยั เกษียณภาคบังคับเมอื่ อายุ 65 ปี นายจา้ งสามารถเกษยี ณและจ่ายเงิน เกษยี ณอายุ ทง้ั นไี้ มร่ วมถงึ ลกู จา้ งเหมอื งแรท่ มี่ สี ทิ ธจิ ะเกษยี ณและไดเ้ งนิ บ�ำเหน็จเม่อื อายุตงั้ แต่ 50 ปี ขน้ึ ไป และมีอายุงานอยา่ งนอ้ ย 5 ปี ก่อน เกษยี ณอายกุ บั นายจา้ งปจั จบุ นั  เมอ่ื ลกู จา้ งมอี ายคุ รบวยั เกษยี ณภาคบงั คบั 170

60 ปี นายจ้างสามารถเกษยี ณและจ่ายเงนิ เกษียณอายุ  ลกู จา้ งเกษียณ มสี ทิ ธทิ จี่ ะไดร้ บั เงนิ เกษยี ณอยา่ งนอ้ ยเทา่ กบั เงนิ เดอื น 0.5 เดอื น คณู ดว้ ย อายุงานเป็นจ�ำนวนปี  ทั้งน้ีเศษของเดือนท่ีมากกว่า 6 เดือนขึ้นไปนับ เปน็ 1 ปี ค�ำวา่ “เงนิ เดอื นครงึ่ เดอื น” โดยทวั่ ไปหมายถงึ เงนิ เดอื น 15 วนั ของ เงินเดอื นลา่ สดุ เงนิ ชดเชยวนั หยุดพักผ่อนประจ�ำปี 5 วนั และ 1 ใน 12 สว่ นของเงนิ เดอื น เดอื นที่ 13 รวมถงึ ผลประโยชนอ์ น่ื ๆ ทงั้ หมดทนี่ ายจา้ ง และลกู จา้ งไดต้ กลงร่วมกนั ในการค�ำนวณเงนิ เกษยี ณ ประเภทการลา กฎหมายแรงงานฟิลิปปินส์ก�ำหนดให้มีประเภทการลางานต่างๆ ไว้ ดังน้ี 1) การลาคลอด (Maternity Leave) ลูกจ้างหญิงต้ังครรภ์ในภาคเอกชนสามารถลาคลอดได้ 60 วัน ส�ำหรบั การคลอดปกติ และ 78 วันในกรณีการแทง้ คลอดก่อนก�ำหนด และการผ่าคลอด ในระหว่างการลาคลอดลูกจ้างมีสิทธิได้รับเงินเดือน ตลอดการลาคลอด 60 และ 78 วนั สามารถใช้สิทธิการลาคลอดได้ 4 คร้ังแรกเทา่ น้ัน  ซง่ึ รวมถึงกรณีการแทง้ บุตรด้วย  นายจ้างจะตอ้ งจ่าย สทิ ธปิ ระโยชนก์ รณลี าคลอดใหก้ บั ลกู จา้ งภายใน 30 วนั นบั ตงั้ แตว่ นั ทยี่ นื่ ใบลาคลอด ระบบประกันสังคมจะต้องจ่ายเงินสมทบส่วนนายจ้างเต็ม จ�ำนวนของสิทธิประโยชน์การคลอดบุตรล่วงหน้าให้กับลูกจ้าง ท้ังน้ี ลูกจ้างต้องแสดงเอกสารการช�ำระเงินท่ีถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อเป็น หลักฐานการจ่ายเงนิ สิทธปิ ระโยชน์ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปินส์ 171

2) การลาระหวา่ งภรรยาคลอดบุตร (Paternity Leave) เป็นสทิ ธิวันลาส�ำหรับลกู จ้างชายในกรณีภรรยาทสี่ มรสอยา่ ง ถกู ตอ้ งตามกฎหมายมกี �ำหนดคลอด โดยสามารถใชส้ ทิ ธวิ นั ลาประเภทนี้ ได้ 4 ครง้ั แรกของการคลอดเทา่ นนั้ ครงั้ ละ 7 วนั และไดร้ บั คา่ จา้ งเหมอื น วนั ท�ำงานปกติ โดยไมน่ อ้ ยกว่าค่าจา้ งแรงงานข้นั ต�่ำทีก่ �ำหนดไว้ การลา ประเภทนี้ไม่สามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้ หากลูกจ้างประสงค์ไม่ใช้สิทธิ- การลา 3) การลาเพื่อดูแลบุตร (Parental Leave) ใช้สทิ ธิได้ไม่เกนิ 7 วนั ตอ่ ปี จนกระทงั่ บตุ รอายุครบ 18 บรบิ รู ณ์ หรือตลอดอายุงานหากบุตรเป็นผู้พิการตามกฎหมาย ส�ำหรับลูกจ้างที่ เปน็ พ่อแม่เล้ียงเด่ยี ว (Single Parents) สิทธินีส้ ามารถยกเลิกได้ หาก ลูกจา้ งมีการสมรสใหม่ 4) การลาอันเนื่องจากความรุนแรงในครอบครัว (Leave due to Domestic Violence) ใหส้ ทิ ธเิ ฉพาะลกู จา้ งหญงิ และลกู จา้ งทมี่ บี ตุ รเปน็ เหยอ่ื ของความ รุนแรงเทา่ น้นั ซ่ึงมสี ิทธลิ าพิเศษ 10 วนั โดยไดร้ ับค่าจ้าง และวันหยุด เหล่านี้ครอบคลมุ ถงึ การลาเพื่อพบแพทย์ การรกั ษา และการตดิ ตอ่ ทาง กฎหมาย 5) การลาเพื่อการผ่าตัดเนื่องจากความผิดปกติทางนรีเวช (Leave due to Gynecological Disorders) ใหส้ ทิ ธสิ �ำหรบั ลกู จา้ งหญงิ ทต่ี อ้ งการเขา้ รบั การรกั ษาทางการแพทย์ เนื่องจากความผิดปกติทางนรีเวช โดยมีสิทธิหยุดงานได้เป็นระยะเวลา 2 เดอื นโดยไดร้ ับค่าจ้าง ทงั้ น้ีลูกจา้ งจะตอ้ งมอี ายงุ านต่อเนือ่ งอยา่ งน้อย 6 เดอื น ในระยะเวลา 12 เดือนทผ่ี า่ นมา 172

การจ่ายคา่ จา้ งเดือนท่ี 13 (13th Month Pay) จากการประกาศกฎหมายเพิ่มเติมว่าด้วยการจ่ายค่าจ้างเดือนท่ี 13 ส�ำหรับพนักงานระดับปฏิบัติการ ซึ่งหมายถึงการจ่ายโบนัสให้กับ พนักงานทุกคนที่มีอายุงานอย่างน้อย 1 เดือนข้ึนไป ภายในวันที่ 24 ธนั วาคมของทกุ ปี ทงั้ นน้ี ายจา้ งสามารถแบง่ จา่ ยโบนสั นล้ี ว่ งหนา้ ในเดอื น มถิ ุนายนจ�ำนวนก่งึ หนง่ึ ก่อนโรงเรียนเปดิ ภาคการศกึ ษา และอีกกงึ่ หน่งึ ภายในวันท่ี 24 ธันวาคม โดยสว่ นใหญแ่ ล้วคา่ จา้ งเดือนท่ี 13 มกั จะถกู ก�ำหนดไวใ้ นสญั ญาการจา้ งงานตงั้ แตต่ น้ ส�ำหรบั พนกั งานระดบั ปฏบิ ตั กิ าร 7.2.2 ประเภทการจา้ งงาน (Type of Employment) โดยปกติประเภทการจ้างงานในประเทศฟิลิปปินส์มีหลากหลาย รูปแบบ ข้ึนอยู่กับประเภทและความต้องการของการด�ำเนินธุรกิจ ซ่ึง กฎหมายแรงงานของฟลิ ปิ ปนิ สไ์ ดก้ �ำหนดประเภทของการจา้ งงานไวด้ งั น้ี 7.2.2 ประเภทการจ้างงาน (Type of Employment) การจา้ งงานทั่วไป (Regular Employment) เป็นการจ้างงานส�ำหรับต�ำแหน่งที่องค์กรระบุไว้อย่างชัดเจนว่ามี ความส�ำคัญต่อการด�ำเนินธุรกิจ ซ่ึงโดยปกติจะมีระยะการทดลองงาน เปน็ ระยะเวลาสูงสุด 6 เดอื น นับจากวันแรกของการเร่มิ งาน และมักจะ ไมม่ กี ารขยายระยะเวลาการทดลองงาน ในกรณที ่ีลูกจ้างท�ำงานจนครบ ก�ำหนดระยะเวลาทดลองงาน และยังไม่มกี ารแจง้ ยนื ยนั การเป็นลกู จา้ ง ประจ�ำจากองคก์ ร โดยในระหว่างนนั้ ลกู จา้ งยงั คงท�ำงานต่อไป ให้ถอื วา่ ลูกจ้างผ่านการทดลองงานโดยชอบด้วยกฎหมาย ท้ังนี้ก่อนหรือในช่วง ระยะเวลาทดลองงาน นายจา้ งจะต้องตกลงก�ำหนดมาตรฐานและความ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปินส์ 173

คาดหวังผลการปฏิบัติงานในช่วงเวลาดังกล่าว มิฉะนั้นจะถือว่าลูกจ้าง ท่านน้ันเป็นลูกจ้างประจ�ำต้ังแต่วันแรกที่เร่ิมท�ำงาน โดยไม่มีระยะเวลา ทดลองงาน การจ้างงานตามโครงการ (Project Employment) เป็นการจ้างงานท่ีมีการก�ำหนดระยะเวลาเร่ิมต้นและส้ินสุดสัญญา การจ้างงานอยา่ งแน่นอนตามก�ำหนดระยะเวลาด�ำเนนิ โครงการ ลูกจ้าง สามารถเปล่ียนเป็นลูกจ้างประจ�ำได้หากองค์กรเห็นว่าต�ำแหน่งน้ันมี ความจ�ำเปน็ และมคี วามส�ำคญั ต่อการด�ำเนินธรุ กจิ ขององคก์ ร การจ้างงานตามฤดูกาล (Seasonal Employment) เปน็ การจา้ งงานทมี่ ชี ว่ งเวลาระบไุ วแ้ นน่ อนส�ำหรบั ทกุ ๆ ปตี ามฤดกู าล ของงาน การจา้ งงานช่ัวคราว (Casual Employment) เป็นการจ้างงานที่มีการก�ำหนดระยะเวลาต่องานท่ีเกิดขึ้น โดยไม่มี การวางแผนรับบุคลากรไว้ล่วงหน้า เป็นงานท่ีมีก�ำหนดช่วงระยะเวลา สั้นๆ ทงั้ น้ี หากลกู จ้างรายนี้ถกู ตอ่ สญั ญาจนกระทั่งมีอายงุ านอย่างนอ้ ย 1 ปี จะถอื วา่ การจา้ งงานแบบชวั่ คราวจะถกู ปรบั เปน็ การจา้ งงานประจ�ำ หากหนา้ ทีง่ านทเี่ กดิ ขึ้นยังคงด�ำเนนิ ต่อไป การจา้ งงานแบบก�ำหนดเวลาการจา้ ง (Fixed-Period Employment) เปน็ การจา้ งงานทม่ี กี �ำหนดระยะเวลาการเรม่ิ ตน้ และสนิ้ สดุ ระยะเวลา 174

ment) การจา้ งงานไวอ้ ยา่ งชดั เจน ทง้ั นก้ี ารจา้ งงานประเภทน้ี จะตอ้ งเปน็ ไปตาม เง่ือนไข 2 ประการ ดงั น้ี 1) ระยะเวลาการจ้างงานต้องเกิดจากการยินยอมและสมัครใจของ ทงั้ สองฝ่าย 2) เป็นการจ้างงานส�ำหรับต�ำแหน่งทางเทคนิค หรือต�ำแหน่งท่ี ต้องการลูกจา้ งระดับการศึกษาคอ่ นขา้ งสงู 7.2.3 การเลกิ จา้ งงาน (Termination of Employment) โดยทวั่ ไป นายจา้ งมอี �ำนาจบอกเลกิ จา้ งโดยชอบธรรมตามเหตอุ นั ควร ทก่ี �ำหนดไวใ้ นกฎหมายแรงงานฟลิ ปิ ปนิ ส์ ทง้ั นก้ี ารเลกิ จา้ งโดยนายจา้ งนน้ั จะตอ้ งมเี หตอุ นั ควรแกก่ ารเลกิ จา้ ง และจา่ ยชดเชยคา่ บอกกลา่ วลว่ งหนา้ กรณีเลิกจ้างกะทันหัน ในทางตรงกันข้าม ลูกจ้างอาจบอกเลิกการจ้างงานด้วยเหตุผลใด กต็ ามโดยแจง้ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรไปยงั นายจา้ งลว่ งหนา้ อยา่ งนอ้ ยหนงึ่ เดือน (คือ 30 วัน) ในกรณีทีล่ ูกจ้างไมไ่ ด้แจ้งให้ทราบลว่ งหนา้ นายจา้ ง อาจให้ลูกจ้างรับผิดชอบต่อความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได้ ในบางกรณี ลกู จ้างอาจบอกเลิกการจา้ งโดยไม่ต้องแจง้ ให้ทราบลว่ งหน้า สาเหตกุ ารเลิกจา้ ง นายจา้ งมอี �ำนาจยกเลกิ การจา้ งงานโดยชอบดว้ ยกฎหมาย หากพสิ จู น์ ได้ว่าสาเหตุของการเลิกจ้างน้ันถูกก�ำหนดไว้ในกฎหมายแรงงาน ซ่ึงมี ขอบเขตของสาเหตุตา่ งๆ ดงั ต่อไปน้ี ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ิปปนิ ส์ 175

1) ลูกจ้างประพฤติผิดร้ายแรง หรือละเมิดค�ำสั่งโดยชอบด้วย กฎหมายของนายจ้างหรือผู้แทนโดยชอบด้วยกฎหมายของนายจ้างที่ เก่ียวขอ้ งกับการท�ำงาน 2) ลกู จา้ งละเลยตอ่ หนา้ ทที่ ี่ไดร้ บั มอบหมาย 3) ลูกจ้างทุจริตหรือละเมิดโดยเจตนา ก่อให้เกิดความไม่ไว้วางใจ จากนายจ้าง หรือผ้แู ทนนายจ้าง 4) ลกู จา้ งกอ่ อาชญากรรมหรอื กระท�ำความผดิ ตอ่ นายจา้ ง ครอบครวั ของนายจ้าง หรือผู้แทนโดยชอบด้วยกฎหมายของนายจา้ ง 5) สาเหตุอ่นื ๆ ทค่ี ล้ายคลึงกับสาเหตดุ งั กลา่ วข้างต้น ในขณะเดยี วกนั นายจา้ งสามารถเลิกจา้ งด้วยสาเหตอุ ่นื ๆ ดังน้ี 1) มีการติดตั้งอุปกรณ์ทีล่ ดการใช้แรงงานจากการจ้างงาน 2) ลดความซ�้ำซอ้ นของหนว่ ยงาน 3) ปดิ หรือระงับการด�ำเนนิ กจิ การ 4) โรคตดิ ตอ่ ซงึ่ ก�ำหนดไวเ้ ปน็ โรคตอ้ งหา้ มโดยกฎหมาย เพอื่ ปอ้ งกนั ความเสี่ยงท่จี ะเกดิ โรคติดต่อไปยังลกู จ้างอื่นๆ ในกรณที นี่ ายจา้ งเลกิ จา้ งโดยมชิ อบดว้ ยกฎหมาย นายจา้ งจะตอ้ งคนื ต�ำแหนง่ ทางธรุ กจิ สทิ ธิพิเศษอ่นื ๆ ทไี่ ดร้ บั รวมถงึ คา่ ชดเชยของคา่ จ้าง เตม็ จ�ำนวน เบย้ี เลยี้ ง รวมถงึ ผลประโยชนอ์ นื่ ๆ ทส่ี ามารถค�ำนวณเปน็ เงนิ ใหก้ บั ลกู จา้ งตลอดระยะเวลาทถ่ี กู บอกเลกิ จา้ ง จนกระทง่ั วนั ทไ่ี ดก้ ลบั มา ท�ำงานโดยปกติ กระบวนการการเลกิ จ้าง การเลิกจ้างด้วยสาเหตุที่บัญญัติไว้ในกฎหมายแรงงาน นายจ้างจะ 176

ตอ้ งแจง้ ลกู จา้ งและกระทรวงแรงงานและกรมการจดั หางานเปน็ ลายลกั ษณ์ อกั ษรลว่ งหนา้ อยา่ งนอ้ ย 30 วนั  กอ่ นวนั ก�ำหนดเลกิ จา้ ง ในกรณกี ารเลกิ จา้ ง ทม่ี สี าเหตจุ ากการเจบ็ ป่วย จะต้องมหี นังสือรับรองผลการตรวจสุขภาพ จากองค์กรสาธารณสุขว่าโรคดังกล่าวไม่สามารถรักษาภายใน 6 เดือน การเลิกจ้างด้วยสาเหตุท่ีบัญญัติไว้ในกฎหมายแรงงานนี้ ลูกจ้างจะต้อง ไดร้ บั ค่าชดเชยการบอกเลิกจ้างในอัตรา 0.5 หรือ 1 เทา่ ของเงนิ เดือน ส�ำหรับอายงุ านท้งั หมด ข้ึนอยู่กบั สาเหตุของการเลกิ จา้ ง ในกรณที ี่ลูกจา้ งถูกเลิกจ้างด้วยกระบวนการทไ่ี ม่เหมาะสม ลูกจ้างมี สิทธิได้รับค่าท�ำขวัญ ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของศาลตัดสิน ศาลอาจ พจิ ารณาสภาวะแวดลอ้ มทีเ่ ก่ียวขอ้ งตามระดับความรุนแรงของการ ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอนการเลกิ จา้ ง คา่ ท�ำขวญั ถอื เปน็ คา่ ปรบั นายจา้ งตาม ความผดิ ขา้ งตน้ 7.2.4 ประกนั สังคม (Social Insurance) กฎหมายประกันสังคมปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) พระราชบัญญัติ ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตปิ ี พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) และกฎหมายกองทนุ รวมเพ่อื การพฒั นาปี พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) ได้ก�ำหนดให้นายจ้างและ ลูกจ้างจะต้องได้รับความคุ้มครองและดูแลโดยรัฐ ซึ่งอาจเรียกว่า กฎหมายสังคม (Social Legislations) ภายใต้ข้อก�ำหนดข้างต้น ลูกจ้างและนายจ้างฟิลิปปินส์จะต้องเป็น สมาชกิ ของระบบประกนั สงั คม (Social Security System: SSS) ประกนั สขุ ภาพ (Philippine Health Insurance Corporation: PhiHealth) ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟิลิปปินส์ 177

และกองทุน Pag-IBIG โดยก�ำหนดให้นายจ้างและลูกจ้างส่งเงินสมทบ ตามอัตราค่าจ้างรายเดือน ซ่ึงนายจ้างเป็นผู้มีหน้าท่ีน�ำส่งเงินสมทบทั้ง ส่วนนายจ้างและลูกจ้าง และสามารถหักเงินสมทบส่วนลูกจ้างจากเงิน เดอื นในแตล่ ะเดอื นไดใ้ นอตั ราเดยี วกนั กบั เงนิ สมทบสว่ นนายจา้ ง เพอ่ื น�ำ ส่งกองทุนประกันสงั คม กองทุนเงนิ ทดแทน และกองทุนประกันสขุ ภาพ ตามก�ำหนดระยะเวลาทีป่ ระกาศไว้ ในกรณีที่นายจ้างไม่น�ำส่งเงินสมทบตามท่ีก�ำหนดไว้ กฎหมายระบุ โทษทงั้ จ�ำทง้ั ปรบั โดยก�ำหนดใหช้ �ำระคา่ ปรบั พรอ้ มดอกเบย้ี ตง้ั แตว่ นั แรก ที่มีการผิดนัดจนถึงวันที่ช�ำระเงิน รวมกับเงินสมทบท่ีจะต้องน�ำส่ง การลงโทษทางวนิ ยั แกอ่ งคก์ ร ผมู้ อี �ำนาจลงนามในฐานะผแู้ ทนองคก์ รจะ เปน็ ผูร้ ับผดิ ชอบการลงโทษกรณดี งั กล่าว 7.3 กฎหมายเขา้ เมือง การเขา้ เมอื งท่ีถูกต้อง คอื การขอวีซา่ ทจี่ ะบอกรายละเอยี ดและการ อนุญาตให้อยู่ได้นานเพียงใดข้ึนอยู่กับประเภทของวีซ่า ซ่ึงดูข้ันตอนได้ ดงั น้ี 7.3.1 การขอวซี ่า การขอวีซ่า[26] ผู้ถือหนังสือเดินทางไทยได้รับการยกเว้นไม่ต้องใช ้ วีซ่าเขา้ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ในกรณีท่อี ยูไ่ ม่เกนิ 21 วัน ส�ำหรับผทู้ ่ีตอ้ งการอยู่เกิน 21 วนั สามารถตดิ ตอ่ ขอท�ำวซี า่ ไดท้ ่ี สถานทตู ฟลิ ปิ ปนิ ส์ เลขท่ี 760 ถนน 178

สุขุมวิท กทม. 10110 โทรศัพท์ 02-260-6243 และ 02-260-6245 โทรสาร 02-260-6244 ข้อควรระวัง - เอกสารและเวลาที่ใช้ในการยื่นวีซ่าอาจมีการเปลี่ยนแปลงโดยไม่ ตอ้ งแจ้งใหท้ ราบล่วงหน้า - ผู้เดินทางจะต้องไปกรอกแบบฟอรม์ วซี า่ ท่ีสถานทตู 3 ชุด 7.3.2 ศลุ กากร และของตอ้ งห้ามในการน�ำเข้า ศลุ กากร และของตอ้ งหา้ มในการน�ำเขา้ [31] ผเู้ ดนิ ทางเขา้ ฟลิ ปิ ปนิ สจ์ ะ ได้รับการยกเว้นภาษขี าเขา้ ส�ำหรบั ของใชส้ ว่ นตัว ดังนี้ - เคร่ืองทองรูปพรรณ มีปรมิ าณพอสมควรแก่ฐานะ - บุหร่ี 200 มวน หรอื ซิการ์ 50 มวน หรอื ยาเส้น 250 กรมั - สรุ า หรอื เหล้าองนุ่ คนละ 2 ลติ ร - ยา และเครื่องส�ำอางคท์ ีเ่ ป็นของใชส้ ่วนตัว - กล้องถา่ ยรูป กลอ้ งวิดีโอ คอมพิวเตอร์กระเปา๋ หิ้ว และเครอื่ งใช้ ไฟฟา้ ที่เปน็ ของใช้สว่ นตวั ของต้องห้ามในการน�ำเข้า คือ อาวุธทุกชนิด เช่น วัตถุระเบิด ปืน กระสนุ ปืน ยาเสพตดิ อุปกรณแ์ ละสง่ิ พิมพ์ลามก ของตอ้ งห้ามในการน�ำออกจากฟิลปิ ปินส์ คือ ปะการัง และเปลอื ก หอยบางชนดิ ประเทศฟลิ ปิ ปนิ สม์ หี อยพนั ธต์ุ า่ งๆ มากกวา่ 12,000 ชนดิ เปลือกหอยหายากและราคาแพงท่ีสุดในโลกมีชื่อเรียกว่า “หอยเต้าปูน แหง่ ท้องทะเล” หรอื “Glory of the Sea” ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ิปปนิ ส์ 179

7.4 กฎหมายอื่นๆ ทค่ี วรรู้ กฎหมายในฟิลิปปินส์มีหลากหลาย แต่ที่น่ารู้คือกฏหมายด้านการ ลงทนุ ทเี่ ปดิ โอกาสใหม้ กี ารลงทนุ มกี ารสรา้ งงาน แตย่ งั คงสงวนอาชพี ให้ ชาวฟิลปิ ปนิ ส์ ซ่ึงดโู ดยสรุปได้ดงั ตอ่ ไปน้ี 7.4.1 กฎระเบยี บด้านการลงทนุ ในประเทศ ตามกฎหมายการลงทนุ ชาวตา่ งชาตปิ ี พ.ศ. 2534 นักลงทุนต่างชาติ สามารถเป็นเจ้าของกิจการ โดยไม่ต้องมีคนท้องถ่ินร่วมทุน ซ่ึงต้องท�ำ ตามเงื่อนไขท่ีเขียนไว้ส�ำหรับการลงทุนส�ำหรับชาวต่างชาติ (Foreign Investments Negative List-FINL) โดยมีรายละเอยี ดดังนี้ List A: กจิ การทม่ี ขี อ้ จ�ำกดั การลงทนุ ของตา่ งชาตติ ามบทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมาย 1) กิจการทีห่ า้ มตา่ งชาติลงทุน 1. กิจการสอื่ สารมวลชน ยกเว้นการบันทกึ ต่างๆ 2. การปฏบิ ตั งิ านทกุ อยา่ งทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ทกั ษะเฉพาะทางวชิ าชพี ดงั น้ี 1) วศิ วกรรม 2) การแพทย์ และวิชาชีพช�ำนาญการทีเ่ กย่ี วข้อง 3) การบญั ชี 180

4) สถาปตั ยกรรม 5) อาชญาวิทยา 6) เคมี 7) ตัวแทนรับสง่ สินค้าท่ีเกี่ยวกบั ศลุ กากร 8) การวางแผนสง่ิ แวดล้อมป่าไม้ 9) ธรณวี ทิ ยา 10) การออกแบบภายใน 11) การออกแบบภมู ทิ ศั น์ 12) กฎหมาย 13) บรรณารกั ษศ์ าสตร์ 14) เจ้าหน้าท่ีประจ�ำเรอื 15) เจ้าหน้าท่ีประจ�ำห้องเครื่องเคร่ืองเรอื 16) ผ้เู ชย่ี วชาญระบบทอ่ 17) เทคโนโลยีเก่ียวกับนำ้� ตาล 18) สังคมสงเคราะห์ 19) การสอน 20) การเกษตร 21) การประมง 3. ร้านคา้ ปลกี ท่ีทุนจดทะเบียนช�ำระแลว้ นอ้ ยกวา่ 2,500,000 ดอลล่ารส์ หรัฐ 4. สหกรณ์ 5. บริษทั รกั ษาความปลอดภยั เอกชน 6. การท�ำเหมอื งขนาดเล็ก ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ิปปนิ ส์ 181

7. การใช้ทรัพยากรทางทะเลในบริเวณหมู่เกาะ อาณาบริเวณ ทะเลและเขตเศรษฐกิจท่ีส�ำคัญ รวมถึงการใช้ประโยชน์ของทรัพยากร- ธรรมชาตบิ นพี้นทขี่ นาดเลก็ เช่นแมน่ ้ำ� ทะเลสาบ อา่ ว หรอื ลากนู 8. การเป็นเจ้าของ เปิดด�ำเนินการ และบริหารจัดการสนาม ชนไก่ 9. การประดษิ ฐ์ ซอ่ มแซม เกบ็ กกั ตนุ และจ�ำหนา่ ยหรอื กระจาย อาวุธนิวเคลียร์ 10. การประดษิ ฐ์ ซอ่ มแซม เกบ็ กกั ตนุ และจ�ำหนา่ ยหรอื กระจาย อาวธุ ชีวภาพ เคมีและวทิ ยุระเบดิ และการโจมตีส่วนบคุ คล 11. การประดิษฐป์ ระทัดไฟ  และอุปกรณก์ ารผลิตการท�ำ ดอกไม้ไฟอ่นื ๆ 2) กจิ การทีอ่ นญุ าตใหต้ า่ งชาติลงทนุ ไดไ้ ม่เกนิ รอ้ ยละ 20 เครอื ข่ายการสื่อสารดา้ นวทิ ยุภาคเอกชน 3) กจิ การท่อี นญุ าตใหต้ ่างชาตลิ งทนุ ไดไ้ มเ่ กนิ รอ้ ยละ 25 1. บรษิ ทั การสรรหาเอกชน ไมว่ า่ จะหาคนงานทอ้ งถน่ิ หรอื คนงาน ในต่างแดน 2. สัญญาเพื่อการก่อสร้างและการซ่อมแซมของกองทุนท้องถิ่น ในงานสาธารณะ ยกเวน้ (ก) โครงสร้างพ้ืนฐานหรือการพัฒนาโครงการที่ครอบคลุม ใน RA No. 7718 (ข) โครงการท่ีเป็นกองทุนต่างประเทศ หรือการช่วยเหลือ และถกู ก�ำหนดให้อยภู่ ายใต้การประมูลนานาชาติ (ค) ข้อตกลงเพื่อการก่อสร้างโครงสร้างท่ีเก่ียวข้องกับการ ป้องกนั 182

4) กิจการที่อนุญาตให้ต่างชาติลงทุนได้ไม่เกินร้อยละ 30 ได้แก่ การโฆษณาประชาสมั พันธ์ 5) กิจการที่อนุญาตใหต้ า่ งชาตลิ งทุนได้ไม่เกินร้อยละ 40 1. การส�ำรวจ การพัฒนา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร- ธรรมชาติ 2. เป็นเจ้าของหรือมีท่ดี นิ สว่ นตัว 3. การด�ำเนนิ งานและการบรหิ ารจดั การบริการสาธารณะ 4. เป็นเจ้าของหรือผู้ก่อต้ัง และการบริหารจัดการสถาบันการ ศึกษา 5. ผลิตผลจากการเพาะปลูก ผลผลิต โรงสีข้าว กระบวนการที่ เก่ียวข้อง การค้ายกเว้นการค้าย่อยของข้าวและข้าวโพดและสง่ิ เพ่ิมเติม โดยการแลกเปล่ยี น ซอ้ื ขายหรืออะไรก็ตามทไี่ ด้ชือ่ วา่ ท�ำมาจากขา้ วหรือ ข้าวโพด 6. ข้อสัญญาเพอ่ื การหาวัสดุ สนิ ค้า และเครือ่ งอุปโภคบริโภคกับ รฐั บาลหรือหน่วยงานทรี่ ัฐก�ำกบั บริษทั ตวั แทน หรอื เทศบาล 7. โครงการทร่ี ับการสนับสนุน  และการด�ำเนินการของ คณะกรรมการสง่ เสรมิ การลงทนุ โครงการทกี่ �ำหนดสทิ ธกิ ารเปน็ ตวั แทน ผลประโยชนส์ าธารณะ 8. การด�ำเนินการจับปลาในทะเลลึกเพอ่ื การค้า 9. บริษทั ประเมินราคา 10. เป็นเจ้าของคอนโดมิเน่ียมท่ีมีพื้นที่ส่วนกลางในโครงการที่ เปน็ เจ้าของรว่ มกันโดยเจา้ ของหลายคนหรอื บรษิ ัท 6) กิจการทอ่ี นญุ าตใหต้ ่างชาตลิ งทนุ ไดไ้ ม่เกินร้อยละ 60 1. กฎข้อบังคับบริษัททางการเงินถูกก�ำกับโดยคณะกรรมการ ก�ำกบั หลักทรพั ย์และตลาดหลักทรพั ย์ (SEC) ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 183

2. กฎข้อบังคับการลงทุนด้านที่อยู่อาศัยถูกก�ำกับโดยคณะ กรรมการก�ำกับหลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรัพย์ (SEC) List B: กิจการท่ีมีข้อจ�ำกัดการลงทุนของต่างชาติด้วยเหตุผลด้าน ความมั่นคง การป้องกันประเทศ สุขภาพอนามัย วัฒนธรรม หรือเพ่ือ ปกปอ้ งอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม 7) กิจการทอี่ นญุ าตใหต้ ่างชาติลงทนุ ไดไ้ มเ่ กินรอ้ ยละ 40 1. กจิ การประดษิ ฐ์ ซ่อมแซม เก็บรกั ษา และจ�ำหนา่ ยผลติ ภัณฑ์ ทส่ี �ำนักงานต�ำรวจแหง่ ชาตกิ �ำหนดให้จ�ำหนา่ ยหมดไป 2. กจิ การการผลติ การซอ่ มแซม เกบ็ รกั ษา/จดั จ�ำหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ ท่ีกระทรวงกลาโหมก�ำหนดให้จ�ำหนา่ ยหมดไป 3. กิจการการผลิตและจัดจ�ำหน่ายของยาอันตราย 4. กจิ การซาวนา่ และหอ้ งอบไอนำ้�  คลนิ กิ ส�ำหรบั นวด และกจิ กรรม อ่ืนๆ ทีม่ ีลักษณะเช่นนถี้ ูกก�ำกับด้วยกฎหมาย เน่อื งจากมคี วามเสย่ี งตอ่ การสาธารณสขุ และศลี ธรรม 5. กจิ การพนันทุกประเภท เชน่ การแข่งม้า ฯลฯ 6. กิจการท่ีมีมูลค่าในตลาดภายในประเทศน้อยกว่า 200,000 ดอลลา่ รส์ หรัฐ 7. กิจการตลาดภายในประเทศที่ใช้เทคโนโลยีท่ีก้าวหน้าหรือ จ้างพนักงานโดยตรงอย่างน้อย 50 คนท่ีมีมูลค่าน้อยกว่า 100,000 ดอลล่ารส์ หรัฐ นอกจากน้ีประเทศฟิลิปปินส์ได้ตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ หรือ“Eco- 184

zones” เพ่ือกระตุ้นการพัฒนาเศรษฐกิจ ซ่ึงอยู่ภายใต้การก�ำกับดูแล ของ  Philippine  Economic  Zone  Authority  (PEZA)  อนั เปน็ หนว่ ยงานทต่ี ง้ั ขน้ึ ตามกฎหมายเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษป ี พ.ศ. 2538 (Special Economic Zone Act of 1995) ทแ่ี บง่ ไดเ้ ปน็ 5 ประเภท คือ 1. นิคมอตุ สาหกรรม (Industrial Estate IEs) 2. เขตสนิ ค้าสง่ ออก (Export Processing Zone EPZs) 3. เขตการคา้ ปลอดภาษี (Free Trade Zone FTZs) 4. เขตเศรษฐกจิ เพื่อการทอ่ งเท่ยี ว (Tourism Ecozones) และ 5. IT Parks และ IT Building ส�ำหรับกจิ การท่ตี งั้ อยใู่ นเขตส่งเสริมการลงทุนภายใต้การก�ำกบั ดแู ล ของ PEZA และมกี ารสง่ ออกอยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 70 จะไดร้ บั สทิ ธปิ ระโยชน์ ในการลงทนุ ท่สี �ำคญั ดงั น้ี 1. การยกเวน้ ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล ผปู้ ระกอบการจะไดร้ บั ยกเวน้ ภาษี เงนิ ได้นิติบุคคลเป็นเวลา 4 ปี และขยายไดอ้ ีกไม่เกิน 4 ปี หลงั จากนัน้ สามารถเลือกเสียภาษีเงินได้ในอัตราพิเศษ (Special Income Tax) ร้อยละ 5 ของรายได้รวม (Gross Income) แทนการเสยี ภาษีเงินได้และ ภาษีทอ้ งถ่ินในอัตราทว่ั ไปได้ 2. การยกเว้นภาษีน�ำเข้า ผู้ประกอบการได้รับยกเว้นภาษีน�ำเข้า เคร่ืองจกั ร อปุ กรณ์ ชิน้ ส่วน อะไหล่ และวัตถดุ ิบทั้งหมด 3. การยกเว้นค่าธรรมเนียมท่าเรือ ภาษีส่งออก และค่าธรรมเนียม การน�ำเข้า ผู้ประกอบการจะได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมท่าเรือ ภาษี ส่งออก และค่าธรรมเนยี มในการน�ำเขา้ สินคา้ ตา่ งๆ 4. สิทธิการพ�ำนักถาวร ผู้ประกอบการต่างชาติและครอบครัวจะมี ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟิลิปปนิ ส์ 185

สิทธิการพ�ำนักถาวร หากมีการลงทุนเริ่มต้นไม่น้อยกว่า 150,000 ดอลลาร์สหรฐั 5. การผอ่ นคลายพธิ กี ารศลุ กากร ผปู้ ระกอบการจะไดร้ บั ความสะดวก ในการน�ำเขา้ และสง่ ออกสนิ คา้ โดยการผอ่ นคลายระบบพธิ กี ารศลุ กากร ใหค้ ล่องตัวขึน้ ส่วนขั้นตอนการขออนุมัติลงทุนน้ัน เม่ือยื่นขอเสนอโครงการ (Proposal) พร้อมแบบฟอร์มขอส่งเสริมการลงทุน (BOI Form 501) และหลักฐานประกอบต่อคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment) ของฟลิ ิปปินส์ ซง่ึ BOI จะพิจารณาอนุมตั ภิ ายใน 30 วัน 186

8 ลกั ษณะเดน่ ของระบบราชการท่ีนา่ เรียนรู้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐฟิลิปปนิ ส์ 187

8.1 ระบบอุปถมั ภ์ [11a] [37] [38] สงั คมฟลิ ปิ ปนิ สเ์ ปน็ สงั คมเครอื ญาติ มกี ารอบรมสงั่ สอนในครอบครวั ให้ชว่ ยเหลือกันและกันระหวา่ งเครือญาติ พ่ีนอ้ ง เพอ่ื นฝงู และให้ส�ำนกึ บุญคณุ ผทู้ ี่ชว่ ยเหลือตน เกดิ เปน็ ค่านยิ มท่ตี ดิ ในเรือ่ งการเปน็ หนีบ้ ุญคณุ (Utang na Loob  หรอื   Internal Dept of Gratitude)  รวมทั้งการ กลอ่ มเกลาทางสงั คม โดยมคี า่ นยิ มทางศาสนาตงั้ แตย่ คุ สเปน คอื พอ่ แม่ อปุ ถมั ภท์ คี่ อยชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ในทกุ วถิ ที าง โดยมเี งนิ และอ�ำนาจเปน็ ปัจจยั สนบั สนุน ท�ำให้ความช่วยเหลือไมจ่ �ำกดั ขอบเขตและเวลา ทัง้ การ ตอบแทนบญุ คณุ ทไ่ี มจ่ �ำแนกวา่ เหมาะสมหรอื ไมป่ ระการใด จงึ กลายเปน็ ระบบอุปถัมภท์ ท่ี �ำให้เกิดการตดิ สนิ บนการทุจริตไปทุกวงการ 188

8.2 ความเทา่ เทียม และความเสมอภาคทางเพศ ในยุคสมัยกอ่ นสเปนเขา้ มาปกครอง  ฐานะของสตรีฟลิ ปิ ปนิ ส์มีสิทธิ เท่าเทียมชาย สตรีสามารถมีสมบัติเป็นของตัวเองและรับมรดกท่ีเป็น ทรัพย์สิน ทั้งสามารถท�ำการค้าขายด้วยตัวเอง รวมถึงการสืบทอด ต�ำแหน่งหัวหน้าเผ่าจากบิดาได้ อีกทั้งมารดามีสิทธิท่ีต้ังช่ือให้ลูกด้วย ตนเอง[3] และจากการศึกษาของสดี า สอนสี [36]  พบสถานภาพของสตรี ฟลิ ปิ ปนิ สเ์ ปน็ ทย่ี อมรบั จากสงั คมมากกวา่ ประเทศใดๆ ในเอเชยี ตะวนั ออก เฉียงใต้ ตั้งแตส่ มยั สเปนเขา้ มาครอบครอง  สตรีกม็ อี �ำนาจและบทบาท ในการควบคมุ การเงนิ ในครอบครวั   เมอื่ สหรฐั อเมรกิ าเขา้ ครอบครองการ ยอมรบั สตรกี ม็ สี งู มากขน้ึ ทง้ั ในวงการเมอื งและการศกึ ษา ในปี พ.ศ. 2443 มสี ตรเี ปน็ ผรู้ หู้ นงั สอื สงู กวา่ บรุ ษุ ในฟลิ ปิ ปนิ ส ์ และสตรสี ามารถกา้ วเขา้ สู่ ต�ำแหน่งประธานาธิบดี วุฒิสมาชิก พิพากษาศาลฎีกา ประธานคณะ กรรมการเลอื กตง้ั   ฯลฯ  และหากเกดิ ปญั หากบั สตรกี ม็ อี งคก์ รสตรที ี่ เขม้ แข็งและรฐั ยอมรบั เชน่ 1) Isis International Manila เป็นองค์กรเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน สตรแี ละการสรา้ งพลังสตรีเพ่ือพฒั นา 2) National Commission on the Role of Filipino Woman (NCRFW) เป็นองค์กรทด่ี แู ลผลกั ดนั ใหร้ ัฐเข้ามาดูแลบทบาทของสตรีให้ สูงขนึ้ 3) Kababaihan เปน็ องคก์ รทรี่ ณรงคส์ ตรเี พอื่ สรา้ งพลงั ใหม้ สี ว่ นรว่ ม ในการปกครองท้อนถ่ิน เป็นองค์กรที่จัดฝึกอบรมสัมมนาวางโครงการ และนโยบายการพัฒนาท้องถ่นิ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟลิ ิปปนิ ส์ 189

4) Woman’s Media Circle (WMC), Political Leaders เป็น องค์กรที่ส่งเสริมบทบาทของสตรีต้ังแต่ระดับประธานาธิบดี จนถึงผู้น�ำ ชมุ ชนระดบั ลา่ ง โดยจดั เวทใี หส้ ตรเี หลา่ นไ้ี ดแ้ ลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และ รว่ มกนั แก้ปญั หาทเ่ี ผชิญอยู่ 190

บรรณานุกรม ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ิปปินส์ 191

[1] ฟลิ ปิ ปินส ์ ค้นวนั ท่ี 20 กุมภาพนั ธ์ุ 2555 จาก http://www.boi. go.th/thai/asean/Philippines/capt4_p_n.html. [2] A Roadmap to The Philippines’ future: towards a knowledge-based economy. n.d. Philippines. [3] Agoncillo, Teodoro A. 2006. History of Filipino People. 8th. Quezon City: Garotech Publishing. [4] Authority, t. C. n.d. Philippine Development Plan 2011-2016. Retrieved April 15, 2014 from http://devplan.neda.gov.ph/ about-the-plan.php. [5] Civil service commission. Retrieved June 3, 2014, from http:// excell.csc.gov.ph/cscweb/IGP2Q2010.pdf. [6] The Philippine Flag and Its Symbols. Retrieved May 18, 2014 from http://www.philippinecover.com/philippineflag.html. [7] Civil Service Commission. Republic Act No. 6713. Retrieved April 21,2014 from http://excell.csc.gov.ph/cscweb/RA6713. html. [8] Development, I. 2013. IMD World Competitiveness Yearbook 2013. Lausanne Switzerland: the World Competitiveness Center. [9] Economic Intelligence Center: EIC . Economic and business intelligence for effective decision making. Retrieved February 6 , 2014 from http://www.scbeic.com/THA/ document/topic_mb_phillipines/. [10] History of the Philippine Civil Service. Retrieved April 17 , 2014 from 113TH Philippine civil service anniversary: http:// celebratepcsa.wordpress.com/history/. [11] International Cooperation Study Center Thammasat University. 192

International Cooperation Study Center Thammasat University. คน้ วนั ท่ี 10 กุมภาพันธุ์ 2557 จาก http://www.apecthai.org/ apec/th/profile1.php?continentid=2&country=p9. [12] Monsod, t. C. n.d.  The Philippine Bureaucracy: Incentive structures and implications for. U.P. School of Economic. Philippines: Human Development Network. [13] Preginet, P. C. n.d. The Official Gazette. Retrieved April 15, 2014 from http://www.gov.ph/about/gov/exec/. [14] Reyes, D. R. 2003. Public Administration in the Philippines: History, Heritage and Hubris. In V. A. Bautista, Public Administration in the Philippines: A Reader. Quezon: National College of public Adminstration and Governance University of the Philippines Diliman. [15] Rules implement the code of conduct and ethical standards for public officials and emplotees (Republic Act No. 6713). Retrieved April 21, 2014. from https://www.landbank.com/ assets/downloads/IRR6713.pdf. [16] Secretariat, T. A. 2013, 9 10. Work Plans of the ASEAN Conference on Civil Service Matters (ACCSM). Retrieved May 18, 2014 from http://www.asean.org/resources/publications/ asean-publications/item/work-plans-of-the-asean-conference -on-civil-service-matters-accsm?category_id=382. [17] World Health Organization (WHO), 2012. Health Service Delivery Profile Philippines 2012. Retrieved June 2, 2014 from http://www.wpro.who.int/health_services/service_ delivery_profile_philippines.pdf?ua=1. [18] World Population Review. 2014. The Philippine’s Population. ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ฟิลปิ ปนิ ส์ 193

Retrieved July21, 2014 from http://worldpopulationreview. com/countries/the-philippines-population/. [19] กรมสง่ เสรมิ การส่งออก กระทรวงพาณชิ ย์. 2555. คู่มือ การคา้ และ การลงทนุ สาธารณรัฐฟลิ ิปปนิ ส์. กรุงเทพฯ: ส�ำนักข่าวพาณิชย์ กรมส่งเสรมิ การสง่ ออก. [20] กระทรวงต่างประเทศ.  29 เมษายน 2556. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง ประเทศและภมู ภิ าคตา่ งๆ. คน้ วนั ท ี่ 21 มนี าคม 2557 จาก สาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปินส:์ http://www.mfa.go.th/main/th/world/70/10253. [21] ชาญวิทย์ ไกรฤกษแ์ ละคณะ. 2548. ระบบข้าราชการระดบั สูงของ ต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: บริษทั พ.ี เอ.ลีฟวงิ่ จ�ำกดั . [22] ณชั มน ทะลิ. 2556. การปรบั ตัวทางวัฒนธรรมของชาวฟิลิปปินส์ที่มี ตอ่ การท�ำงานในประเทศไทย. การคน้ ควา้ วจิ ยั อสิ ระปรญิ ญามหาบณั ฑติ สถาบันบัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร.์ [23] โต๊ะขา่ วเออีซี. 2556 (11 สิงหาคม). คน้ วันท ี่ 5 เมษายน 2557 จาก หนังสือพมิ พ์ฐานเศรษฐกจิ AEC World: http://www.insightaec. com/detail.php?lg=en&id=194. [24] บุญอนันต์ พินัยทรพั ย์. 2557. การบริหารทรพั ยากรมนุษย์ในภาครัฐ ของประเทศฟลิ ปิ ปนิ สแ์ ละอนิ โดนเิ ซยี . ในรายงานสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ กาสครบรอบปีท่ี 48 แห่งการสถาปนาสถาบัน บณั ฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์. กรงุ เทพฯ: สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร.์ หน้า 58. [25] ประชาชาตธิ รุ กจิ ออนไลน.์ 2556 (6 มถิ นุ ายน). ประชาชาตธิ รุ กจิ . คน้ วันท่ ี 11 เมษายน 2557 จาก http://www.prachachat.net/ news_detail.php?newsid=1370487572. [26] ประเทศฟลิ ปิ ปินส์ เจาะลึกข้อมลู การท่องเทย่ี วประเทศฟิลปิ ปนิ ส์. 8 กรกฎาคม 2556. ค้นวันท ี่ 16 เมษายน 2557 จาก http:// philippines.moohin.in.th/?p=99. 194

[27] มรกตวงศ์ ภมู พิ ลบั . ม.ป.ป. จะเตรยี มตัวอยา่ งไรเม่อื ต้องไปใชช้ ีวติ ใน ประเทศอาเซียน กรณีสิงคโปรและฟิลปิ ปินส.์ คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์ [28] รายงานการศกึ ษากฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ระบบงาน และแนว ปฏบิ ตั ขิ องกระทรวงยตุ ธิ รรม  และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ระบบงาน ยตุ ิธรรมของประเทศในอาเซียน. ม.ป.ป. [29] วรางคณา นพิ ัทธ์สุขกจิ . 2555. ฟลิ ปิ ปนิ ส์:ประวตั ิศาสตร์การตอ่ สู.้ กรุงเทพฯ: ส�ำนักพมิ พเ์ มืองโบราณ. [29a] ศัพท์การขนสง่ สัปดาห์ละค�ำ ค้นวนั ท่ี 27 ตลุ าคม 2557 จาก http://www.tri.chula.ac.th/twwwroot/word/word032.htm [30] ศภุ การ สริ ไิ พศาล, และ สมุ าลี ทองด.ี ม.ป.ป. ระบบการศกึ ษากบั การ พฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ : ศึกษากรณปี ระเทศสงิ คโปร.์ วารสารส�ำนัก หอสมุดมหาวิทยาลยั ทกั ษณิ ปีที่ 5 ฉบับท่ี 1 เดือนมกราคม - มิถนุ ายน 2549: 75 - 76. [31] ศภุ ลกั ษณ์ สนธิชยั . 2548. คู่มือนักเดินทางฉบบั พกพา. กรงุ เทพฯ: ส�ำนกั พมิ พอ์ ทิตตา. [32] เศวต โกมลภมู ิ. 2530. สาธารณรัฐฟลิ ปิ ปนิ ส์. กรุงเทพฯ. [33] ส�ำนักงานสง่ เสรมิ วิสาหกจิ ชุมชนขนาดกลางและขนาดยอ่ ม. ม.ป.ป. การศกึ ษาเปรียบเทียบนโยบายและมาตรฐานการรองรับประชาคม เศรษฐกจิ อาเซยี นส�ำหรบั ผปู้ ระกอบการ SMEs ในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น. กรุงเทพฯ: สสว. [34] ส�ำนกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรม.  ม.ป.ป. ความสอดคล้องของกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับ ระบบงาน และ แนวทางการปฏบิ ตั ขิ องกระทรวงยตุ ธิ รรมและหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ระบบงานยุติธรรมของประเทศไทยกบั กระทรวงยุตธิ รรม และหน่วย งานท่เี ก่ยี วข้องกบั ระบบงานยตุ ิธรรมของประเทศอ่ืนๆในอาเซียน. กระทรวงยตุ ิธรรม. ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ปิ ปนิ ส์ 195

[35] สดี า สอนศร.ี 2530. การเมอื ง เศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ ฟลิ ิปปนิ ส์ (ค.ศ.1972-1986). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์ [36] สีดา สอนศร.ี 2545. คูม่ ือประเทศฟิลปิ ปนิ ส์. กรุงเทพฯ: บริษัทกรนี พร้ินท จ�ำกดั . [37] สดี า สอนศร.ี 2551. จากอดตี สปู่ จั จบุ นั (ค.ศ.1986-2006). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พม์ หาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์ [38] สดี า สอนศรี. 2552. เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้: การเมอื ง เศรษฐกิจ และการต่างประเทศ (ค.ศ.1997-2007). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . [39] สมาน รงั สิโยกฤษฏ.์ 2540. การปฏริ ปู ภาคราชการ: แนวคิดและ ยุทธศาสตร.์ กรงุ เทพฯ. [40] อังคณา ทองพูล. 2556. 100 เร่ืองนา่ รใู้ นฟลิ ิปปินส.์ กรงุ เทพ อมรนิ ท์พร้ินต้ิงแอนท์พับลิชชิ่ง. [41] โอ. ด.ี คอรป์ สุ แปลโดย สดี า สอนศร.ี 2556. ประวตั ศิ าสตรเ์ ศรษฐกจิ ของฟิลปิ ปินส์. กรงุ เทพฯ: THE TOYOTA FOUDATION. 196

ภาคผนวก ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ฟิลิปปนิ ส์ 197

198

ตารางอกั ษรยอ่ ของหนว่ ยงานราชการ AFP Armed Forces of the Philippines BOI Board of Investments CAA Conflict-Affected Area CADT Certificate of Ancestral Domain Title CARP Comprehensive Agrarian Reform Program CISA Credit Information System Act CP Certificate of Precondition FRIA Financial Rehabilitation and Insolvency Act GDP Gross Domestic Product HH Household HIV Human Immunodeficiency Virus IP Indigenous People IPSP Internal Peace and Security Plan ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐฟลิ ปิ ปินส์ 199


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook