Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 1

กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 1

Published by panyaponphrandkaew2545, 2019-12-01 06:23:31

Description: กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 1

Search

Read the Text Version

1.จดั ใหม้ พี ธิ ีเขา้ ประจากองในตอนกลางคนื ในสถานที่เงยี บสงบ มดื จนกวา่ จะเสร็จพิธีเขา้ ประจากองลกู เสือวิสามญั 2.ลกู เสือวสิ ามญั แตง่ เครื่องแบบครบเรยี บรอ้ ย เขา้ น่งั ทีท่ ี่จดั ไว้ อนั เป็นทนี่ ่งั ท่ี สบายพอสมควรและสงบเงียบ 3.ประธานในพธิ ี กล่าว ปราม ชีแ้ จงถึงวตั ถปุ ระสงคข์ องการสารวจตวั เอง และ พธิ ีเขา้ ประจากองใหท้ กุ คนปฏิบตั ดิ ว้ ยศรทั ธา สงบ จริงใจ และมสี มาธิท่ีแนว่ แน่ ใหถ้ อื วา่ เป็นพิธีการทสี่ าคญั ศกั ดิส์ ิทธิ์ไมค่ วรทาเล่น ๆ หรือสนกุ สนาน ทกุ คนตอ้ งสงบและสารวมอย่างแทจ้ ริง 4.หลงั จากที่ประธานกลา่ วถงึ วตั ถปุ ระสงคใ์ นขอ้ ๓ แลว้ ประธานจะกลา่ ว ญาณ โดยปราศรยั ถงึ เกาะแก่งแหง่ ชีวติ ซ่ึงจะเป็นตวั อปุ สรรคขดั ขวางมิใหก้ าร ดาเนินชวี ติ ของคนเราดาเนนิ ไปดว้ ยดี เกาะแกง่ แหง่ ชวี ติ ดังกล่าว คอื อบายมขุ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ สรุ า นารี ภาชี กฬี าบตั ร พรอ้ มกล่าวอวยพรใหป้ ระสบ ความสาเร็จในชวี ิตและโชคดีตลอดไป 5.กองลกู เสอื วสิ ามญั ไดเ้ ตรียมแผนการสารวจตวั เองไวล้ ่วงหนา้ ก่อนแลว้ โดย เขียนกฎลกู เสอื ๑๐ ขอ้ เพยี งยอ่ ๆ เช่น “มเี กียรต”ิ “ประพฤตชิ อบ” ลงบนกอ้ น หินท่ีมีขนาดโตหรือในกระดาษแผน่ โตสดุ แตก่ รณี เพอื่ ใหผ้ พู้ บอ่านงา่ ย จานวน ๑๐ แหง่ ครบจานวนกฎทงั้ ๑๐ ขอ้ แลว้ นากอ้ นหินหรือกระดาษตอกติดเสา หรอื ตน้ ไม้ ไปตงั้ ไวใ้ นป่า (หากมี) หรือรอบ ๆ สนาม โดยวางใหห้ ่าง ๆ กนั ตามลาดบั กฎขอ้ ๑-๑๐ ระยะทางที่วางใหม้ ีระยะห่างพอสมควร (สิ่งตา่ ง ๆ ดงั กลา่ วในขอ้ นตี้ อ้ งเตรียมไวก้ ่อนลว่ งหนา้ ในตอนเย็นของวนั สารวจตวั เอง) พรอ้ มทงั้ กาหนดตวั บคุ คลจานวน ๑๑ คน ไวป้ ระจาจดุ ทงั้ ๑๐ จดุ รวมทงั้ ผทู้ ี่ จะกล่าวสรุปอกี ๑ คน อยรู่ วมกบั กฎขอ้ ท่ี ๑๐ ทงั้ นผี้ ปู้ ระจาตามจดุ ทงั้ ๑๐ ตอ้ งมไี ฟฉายติดตวั ดว้ ยเพ่อื ไวอ้ า่ นขอ้ ความ ซง่ึ อธิบายความหมายของกฎ

ลกู เสอื แบบผใู้ หญ่ได้ และอย่าลมื วา่ ตามจดุ ตา่ ง ๆ ดงั กลา่ วตอ้ งมีตะเกียงจดุ ตงั้ ไวเ้ พอื่ แสดงจดุ ท่ีตงั้ ดว้ ย เพราะลกู เสอื จะตอ้ งเดนิ ผา่ นโดยมผี กู้ ากบั ลกู เสอื นาทางไปเมอ่ื ลกู เสอื ไดฟ้ ังเรื่อง “การกล่าวญาณ” จบแลว้ 6.๖. ผกู้ ากบั ลกู เสอื หรือรองผกู้ ากบั ลกู เสือคนหน่ึง จะเป็นผพู้ ากองลกู เสอื ออก เดินทางไปในระหวา่ งความมดื ซ่งึ เปรียบเสมอื นผา่ นวิธีทางแห่งชวี ติ ลกู เสอื โดยเรยี กแถวลกู เสือใหอ้ ยใู่ นรูปแถวตอนหม(ู่ ตอนลกึ ) เมื่อเรยี บรอ้ ยแลว้ ถอื ไฟ ฉายเดินนาลกู เสอื ไปชา้ ๆ ทกุ คนอย่ใู นภาวะสงบ ไมพ่ ดู ไม่คยุ ส่งิ ใดทงั้ สนิ้ และ เดนิ ตามผนู้ าไป เมอื่ ถงึ กฎขอ้ ๑ ใหผ้ นู้ าแถว ส่งั ใหแ้ ถวลกู เสอื หยดุ แลว้ ให้ สญั ญาณดว้ ยไฟฉายแก่ผปู้ ระจาฐาน ซึง่ ซอ่ นตวั อย่ไู ม่ใหล้ กู เสือเหน็ อ่าน ขอ้ ความของกฎขอ้ ๑ และคาสอนประกอบดงั ๆ และชา้ ๆดว้ ยเสียงท่หี นกั แนน่ ในทา่ มกลางความมืดอนั สงบเงียบนน้ั เมอ่ื จบขอ้ ความแลว้ ผนู้ าแถวกน็ า ลกู เสอื ผา่ นฐานตอ่ ไปตามลาดบั จนครบกฎขอ้ ๑๐ และแลว้ ตอนทา้ ยสดุ จะมผี ู้ กลา่ วสรุปกฎทงั้ ๑๐ ขอ้ อีกครงั้ หนึ่งซึง่ เป็นการสง่ เสรมิ ใหล้ กู เสือไดเ้ ขา้ ใจและ แปลความหมายของกฎของลกู เสือแบบผใู้ หญ่ 7.หลงั จากการกล่าวสรุปแลว้ ผนู้ าแถวจงึ นาแถวไปสลู่ านกวา้ งอกี แห่งหนึง่ ซ่ึง มโี ต๊ะหมบู่ ชู าตงั้ อยพู่ รอ้ มแลว้ ผนู้ าแถวเชิญประธานจดุ ธูปเทยี นบชู าพระ รตั นตรยั ผนู้ าแถวและลกู เสือยนื พนมมือเสรจ็ แลว้ ผนู้ าแถวมอบเทยี น พรอ้ ม ทงั้ คาสารวจตวั เอง (ขอ้ บงั คบั ฯ ขอ้ ๒๙๗) ใหล้ กู เสือทกุ คน นาเทยี นไปต่อไฟ จากเทยี นทโี่ ตะ๊ หม่บู ชู า หรือจากประธานในพิธี ลกู เสือแตล่ ะคนเมือ่ รบั ของ ดงั กล่าวแลว้ ใหแ้ ยกกนั ไปหาทนี่ ่งั ทจี่ ดุ ใดจดุ หนง่ึ ในบริเวณนนั้ ต่างคนต่างน่งั ใหห้ า่ งกนั เสมอื นน่งั อย่โู ดดเดีย่ วแลว้ พจิ ารณาตวั เองตามขอ้ ความทงั้ ๒๑ ขอ้ ในแผ่นกระดาษคาสารวจตวั เองทไ่ี ดร้ บั แจกมา หากมีขอ้ ใดที่ไม่อาจปฏิบตั ไิ ด้ หรอื ยากแกก่ ารปฏบิ ตั ิ ใหพ้ ิจารณาสารวจตวั เองในขอ้ นน้ั นาน ๆ อีกครง้ั หน่งึ

หากยงั ถอื ปฏบิ ตั ิไม่ไดเ้ ชน่ เดิม ลกู เสอื ผนู้ นั้ มีสทิ ธิ์เดนิ ออกไปจากบริเวณท่ี สารวจตวั เองได้ และไม่มีสทิ ธิท์ จี่ ะเขา้ รว่ มพิธีประจากองลกู เสือวสิ ามญั ในวนั นน้ั จนกว่าลกู เสือผนู้ น้ั จะผา่ นการสารวจตวั เองทกุ ขอ้ จงึ จะเขา้ พิธีประจากอง ลกู เสือวสิ ามญั ไดใ้ นวนั ตอ่ ไป 8.เมอ่ื ผนู้ าแถวเหน็ วา่ ลกู เสอื ไดก้ ระทาการสารวจตวั เองเรยี บรอ้ ยแลว้ ใหน้ า ลกู เสือเขา้ ส่สู ถานทท่ี ีจ่ ะประกอบพิธีเขา้ ประจากองลกู เสือวิสามญั และตดิ แถบสามสตี ่อไป สถานทท่ี ีจ่ ะประกอบพธิ ีเขา้ ประจากองลกู เสือวิสามญั ควร จะเป็นคหู าลกู เสอื วสิ ามญั หรอื พทุ ธศาสนา หรอื โบสถ์ ซ่ึงเป็นสถานท่สี งบเงยี บ ต่อจากนน้ั กองลกู เสอื วิสามญั ทาพธิ ีเขา้ ประจากอง ตามขอ้ บงั คบั คณะลกู เสอื แห่งชาติ เมื่อลกู เสอื ไดต้ ิดแถบสามสีเรยี บรอ้ ยแลว้ ผกู้ ากบั ลกู เสอื กลา่ วให้ โอวาท ลกู เสือเก่า (ถา้ ม)ี หรอื ผกู้ ากบั ลกู เสอื จบั มอื แสดงความยินดีเป็นอนั เสร็จพิธี พธิ เี ข้าประจากองลกู เสอื -เนตรนารวี ิสามัญ พิธีเขา้ ประจากองลกู เสอื วิสามญั พิธีเขา้ ประจากองลกู เสือวิสามญั ใหป้ ฏบิ ตั ดิ งั นี้ ใหน้ าเตรยี มลกู เสอื วิสามญั ในเครื่องแบบมายนื ขา้ งหนา้ กองลกู เสือวิสามญั และระหว่างพี่เลยี้ ง ทงั้ สองคน มโี ตะ๊ พิธีซึ่งปดู ว้ ยธงชาติ ผกู้ ากบั ยืนดา้ นหนึง่ ของโต๊ะพธิ ี หนั หนา้ เขา้ หาลกู เสือที่เขา้ ประจากอง (รูปท่ี 1) แลว้ เรียกชอื่ ผจู้ ะเขา้ พธิ ี และถามดงั นี้

ผ้กู ากับเรยี กช่อื สมัคร “เจา้ มาที่นี่เพอ่ื ทจ่ี ะเขา้ เป็นลกู เสือวสิ ามญั ในคณะ พ่ีนอ้ งลกู เสอื แห่งโลกอนั ย่งิ ใหญห่ รือ” ผู้สมคั ร “ครบั ” ผู้กากบั “ถงึ แมว้ ่าเจา้ จะมีขอ้ ย่งุ ยากมาบา้ งแลว้ ในอดีต แต่ บดั นเี้ จา้ กไ็ ดต้ งั้ ใจทจี่ ะทาใหด้ ที ี่สดุ เพ่ือเป็นผมู้ เี กยี รติ มีสจั จะ มคี วามซ่ือตรงใน งานทงั้ ปวง พรอ้ มทีจ่ ะปฏิบตั ิชอบดว้ ยกาย วาจา ใจ ใชห่ รอื ไม่” ผสู้ มคั ร “ใชค่ รบั ” ผกู้ ากับ “เจา้ คดิ รอบคอบดีแลว้ หรอื วา่ เจา้ พรอ้ มทจี่ ะเขา้ เป็นลกู เสอื วิสามญั ” ผู้สมคั ร “ขา้ ไดค้ ดิ รอบคอบดแี ลว้ ” ผูก้ ากบั “ เจา้ เขา้ ใจหรือไมว่ า่ คาว่า “บรกิ าร” นนั้ หมายความว่า ตลอดเวลาเจา้ จะตอ้ งมีใจหนกั แน่นตอ่ ผอู้ ่ืนทกุ คนและเจา้ ทาดี ทส่ี ดุ เพอ่ื ช่วยเหลือผอู้ ่ืน ถึงแมว้ า่ การช่วยเหลอื นนั้ ไมส่ ะดวกหรอื ไมพ่ งึ พอใจ หรือไม่เป็นท่ีปลอดภยั แกต่ วั เอง และเจา้ จะไมห่ วงั สง่ิ ตอบแทนใด ๆ ในการ ใหบ้ รกิ ารนนั้ ” ผสู้ มคั ร “ขา้ เขา้ ใจดีแลว้ ” ผกู้ ากบั “เจา้ เขา้ ใจหรอื ไมว่ า่ การทเ่ี จา้ เป็นลกู เสอื วิสามญั นน้ั เจา้ กาลงั จะรว่ มอยใู่ นคณะลกู เสือท่ตี อ้ งการจะช่วยเหลอื เจา้ ใหส้ ามารถปฏบิ ตั ิ ตามอดุ มคตขิ องเจา้ และ เราขอใหเ้ จา้ ปฏิบตั ติ ามขอ้ บงั คบั และคตพิ จนข์ องเรา ในเรือ่ งการใหบ้ ริการแก่ผอู้ น่ื ” ผู้สมัคร “ขา้ เขา้ ใจดแี ลว้ ” ผู้กากับ “เพ่อื ความบริสทุ ธิ์ของพิธีการนี้ ขา้ ขอใหเ้ จา้ ชาระ ลา้ งมอื ของเจา้ เสียกอ่ น เพ่ือเป็นเครอื่ งยนื ยนั วา่ เจา้ จะไดช้ าระมลทินอนั มวั

หมองของเจา้ ในอดตี หมดแลว้ จติ ใจของเจา้ ผอ่ งแผว้ บริสทุ ธิด์ แี ลว้ เจา้ จะ ยนิ ยอมตามท่เี ราขอนหี้ รอื ไม”่ ผสู้ มคั ร “ขา้ ยินยอม” (ลา้ งมือ) ผู้กากบั “ถา้ เช่นนน้ั ขา้ ขอใหเ้ จา้ กลา่ วคาปฏญิ าณของ ลกู เสือและพึงเขา้ ใจไวด้ ว้ ยว่า เจา้ แปลความหมายคาปฏญิ าณนี้ ไม่ใชอ่ ย่าง เด็ก แตจ่ ะแปลอยา่ งผใู้ หญ”่ ผู้สมคั ร (กา้ วออกมาขา้ งหนา้ เอาจบั ซา้ ยจบั ธง มือขวา แสดงรหสั ) ลกู เสอื ในกองลกู เสอื วิสามญั ทกุ คนแสดงรหสั ผู้สมคั ร “ดว้ ยเกยี รติของขา้ ขา้ สญั ญาวา่ ขอ้ 1 ขา้ จะจงรกั ภกั ดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ขอ้ 2 ขา้ จะช่วยเหลอื ผอู้ ่ืนทกุ เมือ่ ขอ้ 3 ขา้ จะปฏบิ ตั ติ ามกฎของลกู เสอื ” ครน้ั แลว้ ผกู้ ากบั ลกู เสือจบั มือลกู เสอื วสิ ามญั ใหมด่ ว้ ยมอื ซ้าย และกลา่ ว ว่า ผ้กู ากบั “ขา้ เชอื่ เจา้ ว่า ดว้ ยเกียรติของเจา้ เจา้ จะปฏบิ ตั ติ ามคา ปฏญิ าณท่ีเจา้ ใหไ้ วแ้ ลว้ ” ผกู้ ากบั ลกู เสอื วิสามญั ติดแถบทไ่ี หล่แก่ลกู เสอื วสิ ามญั และมอบ เคร่ืองหมายใหพ้ รอ้ มกบั กลา่ ววา่ ผกู้ ากับ “แถบทไ่ี หล่นมี้ ีสามสี คือ สีเหลอื ง สีเขียว และสี แดง สเี หลา่ นเี้ ป็นสขี องลกู เสอื ทงั้ สาม ทีอ่ ย่ใู นวงพน่ี อ้ งลกู เสือ ขา้ ขอตอ้ นรบั เจา้ มาอย่ดู ว้ ย ขอใหส้ ีทงั้ สามนี้

จงเป็นเครื่องเตอื นใจใหเ้ จา้ ระลกึ ถึงหนา้ ทข่ี องเจา้ ทีม่ อี ย่ตู ่อลกู เสอื รุน่ นอ้ ง และ ขอใหเ้ จา้ ระลกึ ถึงความรบั ผิดชอบของเจา้ ในฐานะท่ีเป็นลกู เสอื วิสามญั ในการ ท่ีจะ บาเพญ็ ตนใหด้ ีทสี่ ดุ เพ่อื ที่จะเป็นตวั อยา่ งแกล่ ูกเสอื รุน่ นอ้ งต่อไป” ครนั้ แลว้ ใหก้ องลกู เสือวิสามญั กา้ วเขา้ มาลอ้ มรอบลกู เสอื วสิ ามญั ใหม่ จบั มือแลว้ กล่าวคาตอ้ นรบั ขอ้ เสนอแนะ ในการกลา่ วคาตอ้ นรบั นนั้ ควรกลา่ วดว้ ยคาว่า “ขอแสดงความยนิ ดี ยินดีเป็นอยา่ งยงิ่ ทไ่ี ดท้ า่ นมาอยดู่ ว้ ย ฯลฯ” หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 9 ระเบียบแถว 2 การฝึ กเป็ นบุคคลทา่ ถือไมง้ ่าม 1. ท่าตรง – พกั ท่าตรงและท่าพกั ในเวลาถือไมพ้ ลอง เหมือนกบั ท่ามอื เปลา่ ไมพ้ ลองอย่ใู นท่าเรยี บอาวธุ ไมพ้ ลองในทา่ เรยี บอาวธุ คอื ลกู เสอื อยใู่ นทา่ ตรง ถอื ไมพ้ ลองดว้ ย มอื ขวา ตน้ ไมพ้ ลองอยปู่ ระมาณโคนนวิ้ กอ้ ยเทา้ ขวา และชิดกบั เทา้ ขวา ไม้ พลองอย่ใู นระหวา่ งนวิ้ หวั แม่มอื กบั นวิ้ ชี้ นิว้ หวั แม่มอื จบั ไมพ้ ลองชิดขา นิว้ อ่ืน อกี 4 นิว้ จบั ไมพ้ ลองเฉียงลงเบอื้ งลา่ ง นวิ้ เรยี งชดิ ติดกนั ปลายไมพ้ ลองอยู่ ในรอ่ งไหล่ขวาลาไมพ้ ลองตงั้ ตรงแนบตวั สาหรบั พกั ตามระเบียบ เหมือนกบั ท่ามอื เปล่า มือขวาทถ่ี อื ไมพ้ ลอง ใหเ้ ล่ือนขนึ้ มาเสมอเอว แลว้ ผลกั ไมพ้ ลองไปขา้ งหลงั เฉียงไปขา้ งประมาณ 45 องศา มือซา้ ยไพล่หลงั โดยมอื แบกตามธรรมชาติ นิว้ เรยี งชดิ ตดิ กนั

2. ท่าวนั ทยาวธุ – เรยี บอาวธุ ทา่ วนั ทยาวธุ เป็นทา่ แสดงความเคารพ ใชค้ าบอกว่า “วนั ทยา – วธุ ” ใหล้ กู เสือทาจงั หวะเดียวโดยยกแขนซา้ ยขนึ้ มา เสมอแนวไหลศ่ อกงอไปขา้ งหนา้ ใหต้ งั้ ฉากกบั ลาตวั ฝ่ามอื แบคา่ รวบ นวิ้ หวั แมม่ ือกบั นวิ้ กอ้ ยจรดกนั คงเหลือนวิ้ ชี้ นวิ้ กลาง และนวิ้ นาง เหยยี ด ตรงและชิดติดกนั ใหข้ า้ งปลายนวิ้ ชแี้ ตะไมพ้ ลอง หรือไมง้ ่ามในรอ่ งไหล่ขวา เมือ่ เลกิ ทาความเคารพใชค้ าบอก “เรียบ – อาวธุ ” ใหล้ กู เสอื ลดแขน ซา้ ยมาอย่ทู เี่ ดิมโดยเร็ว ถา้ ผรู้ บั การเคารพมาทางขวา (ซา้ ย) หรอื ตรงหนา้ จะบอกโดยกล่าว ทศิ ทางทม่ี าเสียกอ่ นกไ็ ดว้ ่า “ขวา (ซา้ ยหรือตรงหนา้ ) ระวงั – วนั ทยา – วธุ ” ใหล้ กู เสอื ทาวนั ทยาวธุ มือซา้ ยดนั ไมพ้ ลองขนึ้ ไปอยใู่ นท่าแบกอาวธุ ดงั เดิม พรอ้ มกบั หนั หนา้ แลตรง ลดแขนขวาลง แขนแกวง่ ตอ่ ไปในทา่ เดินตามปกติ

3. ทา่ แบกอาวธุ – เรียบอาวธุ ท่าแบกอาวธุ ใชค้ าบอกว่า “แบก – อาวธุ ” ใหล้ กู เสอื ทาเป็น 2 จงั หวะ จงั หวะท่ี 1 ยกไมพ้ ลองดว้ ยมอื ขวาผ่านหนา้ เฉียดลาตวั ไปทางซา้ ย ใหต้ น้ ไมพ้ ลองอยใู่ นองุ้ มือซา้ ย ลาไมพ้ ลองตงั้ อยตู่ รง รอ่ งไหล่ซา้ ย มอื ขวาคงจบั ไมพ้ ลองอย่ทู ่เี ดิม ศอกงอไปขา้ งหนา้ แนวเดยี วกบั ไหล่ จงั หวะท่ี 2 ดนั ไมพ้ ลองดว้ ยมือซา้ ย พรอ้ งกบั ส่งไมพ้ ลองดว้ ยมือขวา ใหไ้ มพ้ ลองพาดขนึ้ ไปบนบา่ ซา้ ย แขนซา้ ยท่อนบนแนบชิดตดิ ลาตวั ศอก ซา้ ยงอ หนา้ แขนตงั้ ไดฉ้ ากกบั ลาตวั ขณะเดยี วกนั ลดมอื ขวาลงในทา่ ตรง โดยเรว็ ข้อควรระวงั ขณะที่ลกู เสอื ทาทา่ แบกอาวธุ จงั หวะท่ี 2 ระวงั อย่าให้ ศรี ษะเคลอ่ื นหลบไมพ้ ลอง ทรงศรี ษะใหค้ งท่ีเหมือนอยใู่ นทา่ ตรงเสมอ ให้ แขนซา้ ยอย่ใู นลกั ษณะทถี่ กู ตอ้ งและ ไมเ่ คลอ่ื นไหว ปลายไมพ้ ลองจึงจะได้ ระดบั และไม่เอยี งไปมา

เรียบอาวธุ ใชค้ าบอก “เรียบ – อาวธุ ” ใหล้ กู เสือทาเป็น 3 จงั หวะ จงั หวะท่ี 1 ยกมือขวาขนึ้ จบั ไมพ้ ลอง ศอกงอไปขา้ งหนา้ ในแนวเดียวกบั ไหล่ พรอ้ มกบั เหยียดแขนซา้ ยโดย ลดไมพ้ ลองลงชิดกบั ลาตวั จงั หวะที่ 2 นาไมพ้ ลองดว้ ยมือขวามาไวข้ า้ งลาตวั ในรอ่ งไหล่ขวา (แขนซา้ ยเหยยี ดเกอื บ สดุ ระยะที่มอื ขวาจบั ไมพ้ ลองในท่าเรยี บอาวธุ ) ขณะเดยี วกนั ยกมือซา้ ยขนึ้ กนั ไมพ้ ลองทรี่ อ่ งไหล่ขวา ศอกงอไปขา้ งหนา้ ในแนวเดียวกบั ไหล่ จงั หวะท่ี 3 ลดแขนซา้ ยลงอย่ใู นทา่ เรยี บอาวธุ ตามเดิม (ในจงั หวะนเี้ หยยี ดแขนขวาลง สดุ ระยะท่มี อื ขวาจบั ไมพ้ ลองอยใู่ นท่าเรยี บอาวธุ ตน้ ไมพ้ ลองอยู่ในทา่ เรียบ อาวธุ ตน้ ไมพ้ ลองจรดพนื้ ) ข้อสังเกต ตอนเหยยี ดแขนขวาจากจงั หวะท่ี 2 ลงสดุ ระยะท่ีมอื ขวาจบั ไมพ้ ลองในท่าเรียบอาวธุ ในจงั หวะท่ี 3 จะรูส้ กึ ว่าตน้ ไมพ้ ลองจรดพนื้ การสวนสนาม การเดินสวนสนาม เป็นระเบยี บแถวอยา่ งหน่ึงที่ใชใ้ นพิธีการทีส่ าคญั ของ กิจการลกู เสือ เป็นการรวมลกู เสอื จานวนมากเพ่อื รบั การตรวจพลสวนสนาม เนื่องในโอกาส สาคญั ต่าง ๆ เช่น วนั สถาปนาลกู เสอื แหง่ ชาติ วนั ปิยมหาราช หรือการเดินสวนสนาม เฉพาะพระพกั ตรพ์ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เป็นตน้ บางครงั้ อาจเป็นการเดนิ สวนสนามเพ่ือฝึกความพรอ้ มเพรียง ความแขง็ แรงของลกู เสอื ซงึ่ เป็นการฝึกใหล้ กู เสอื รูจ้ กั ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีข่ องตน ในการปฏิบตั ริ ว่ มกนั เป็นหม่คู ณะ 1 . การจดั แถวสวนสนาม

การจดั ลกู เสือเป็นแถวสวนสนามอาจจดั ไดเ้ ป็นหมแู่ ถวตอนหรอื หมแู่ ถวหนา้ กระดาน โดยมีรูปแบบการจดั ดงั นี้ 1. ถา้ ลกู เสือทงั้ จงั หวดั รวมกนั สวนสนามใหจ้ ดั แถวเดินเป็นอาเภอ ๆ ไป เวน้ ระยะต่อระหว่างอาเภอ 20 กา้ ว ผอู้ านวยการลกู เสอื หรอื ผแู้ ทนเป็นผบู้ อก แถวสวนสนามของอาเภอ ผอู้ านวยการลกู เสือจงั หวดั หรอื ผแู้ ทนเป็นผบู้ อก แถวสวนสนามจงั หวดั 2. การเดินสวนสนามใหเ้ วน้ ระยะตอ่ ดงั นี้ 1.1 ระยะตอ่ ระหว่างกอง 20 กา้ ว 1.2 ระยะตอ่ ระหวา่ งลกู เสืออาเภอ 20 กา้ ว 1.3 ระยะตอ่ ระหวา่ งลกู เสอื จงั หวดั 30 กา้ ว

การเดนิ - สวนสนาม 1.เมอ่ื จดั แถวพรอ้ มแลว้ ผบู้ งั คบั ขบวนสวนสนามจะบอก “แบก – อาวธุ ” และ “ซอยเทา้ ” แถวลกู เสือจะซอยเทา้ จดั แถวรออยู่ 2.ใหแ้ ตรวงและแตรเด่ียวออกเดนิ จนถึงกองลกู เสอื ทอ่ี ยหู่ นา้ สดุ 3.ผบู้ งั คบั ขบวนสวนสนามบอก “หนา้ - เดิน” ผบู้ งั คบั บญั ชาและลกู เสอื ทงั้ หมดออกเดินตามระยะที่จดั ไว้ 3. ทา่ เดนิ สวนสนาม 1.เมือ่ ผกู้ ากบั บอก “สวนสนาม หนา้ – เดิน” ใหล้ กู เสอื เตะเทา้ ซา้ ยออกไปก่อน อยา่ งแข็งแรง ขาตึงปลายเทา้ งมุ้ ยกสน้ เทา้ สงู จากพนื้ ดนิ ประมาณ 1 คืบ

2.ขณะเตะเทา้ ใหแ้ กวง่ แขนตรงขา้ มกบั เทา้ ไปขา้ งหนา้ ตดั กบั ลาตวั ใหฝ้ ่ามือผ่านประมาณก่ึงกลางลาตวั เสมอแนวเขม็ ขดั ห่างเขม็ ขดั ประมาณ 1 ฝ่ ามือ แบมอื นวิ้ ชิดติดกนั ตามธรรมชาติ และแกวง่ แขนเลยเฉียงไปทางดา้ นหลงั พอ งาม งอศอกเล็กนอ้ ย 3.เม่อื วางเทา้ เต็มฝ่าเทา้ และกา้ วเทา้ ต่อไป ขณะวางเทา้ กา้ วไปขา้ งหนา้ ใหโ้ นม้ ตวั ไปขา้ งหนา้ เลก็ นอ้ ย แลว้ ตบฝ่าเทา้ อย่างแข็งแรง ยดึ ตวั ตรงองอาจ 4.เตะเทา้ อีกขา้ งหนึง่ ขนึ้ ปฏิบตั เิ ชน่ เดียวกบั ขอ้ 2-3 ทาสลบั เทา้ ซา้ ยและขวา เมอ่ื ตอ้ งการเปล่ยี นทา่ เดนิ สวนสนามเป็นเดนิ ปกติใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “เดนิ ตามปกต”ิ 4. การทาความเคารพขณะเดนิ สวนสนาม การจดั สถานที่บรเิ วณสวนสนาม ดา้ นหนา้ ผเู้ ป็นประธานในพธิ ีหรือผรู้ บั การ เคารพ จะมีธงปักเป็นเครื่องหมาย 3 ธง คือ ธงท่ี 1 (ธงสีเหลือง) ปักห่างจากจดุ ทาความเคารพ 20 กา้ ว ธงท่ี 2 (ธงสีเขียว) ปักหา่ งผรู้ บั การเคารพ 10 กา้ ว ธงท่ี 3 (ธงสแี ดง) อย่ถู ดั ผรู้ บั การเคารพไปอกี 10 กา้ ว

การทาความเคารพในขณะเดินสวนสนาม จะปฏบิ ตั ดิ งั นี้ 1.เมื่อคนทางขวาของแถวแรกเดินถึงธงแรก ผบู้ อกแถวบอก “ระวงั ” ลกู เสือตบ เทา้ เดิน แขง็ แรงและอยใู่ นระเบียบอย่างดีที่สดุ 2.เมอ่ื ใกลธ้ งที่ 2 ใหผ้ บู้ อกแถวบอกวา่ “แลขวา – ทา” ผบู้ อกทาวนั ทยหตั ถ์ สะบดั หนา้ แลขวา ตาจบั ผรู้ บั ทาความเคารพ สว่ นลกู เสือสะบดั หนา้ แลขวา ตาจบั ผรู้ บั การเคารพ มือไม่แกว่ง คนขวาสดุ ของแตล่ ะตบั แลตรงรกั ษาแถวให้ ตรงไว้ 3.เมอ่ื พน้ ธงท่ี 3 สะบดั หนา้ แลตรง เลกิ ทาความเคารพมอื ลงและแกวง่ แขน ตามปกติ 4.เมอ่ื ธงคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ธงลกู เสือประจาจงั หวดั ผา่ นมากบั ขบวนลกู เสือ สวนสนาม ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาทกุ คนทอ่ี ยตู่ รวจพลสวนสนามแสดงความเคารพ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 10 เงอื่ นเชือก

ความสาคญั ของเง่อื นเชอื ก ในอดตี มนษุ ยร์ ูจ้ กั การนาเงือ่ นมาใชใ้ นการดารงชวี ิต โดยใชเ้ สน้ ใยที่เกิดจาก ธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นเถาวลั ย์ เย่ือเปลอื กไม้ มาทาเป็นเชอื กเพ่ือผกู รดั หนิ หรือวสั ดแุ ขง็ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ตามธรรมชาติ แลว้ นาไปใชเ้ ป็นอาวธุ ในการล่าสตั ว์ ดงั ท่ี เราเห็นในสารคดีตา่ งๆ ต่อมาเมอ่ื มนษุ ยใ์ นยคุ ตา่ งๆเจริญมากขนึ้ จงึ เรม่ิ ใชเ้ ชอื กทท่ี าจาก วสั ดดุ งั กลา่ วมาผกู รดั เป็นเงอ่ื นปม ใชใ้ นการมดั วสั ดตุ า่ งๆ เช่น มดั ทอ่ นซงุ ลา ไมไ้ ผ่ เพอ่ื ใชใ้ นการต่อเป็นพาหนะในการดาเนนิ ชวี ติ และลา่ สตั วห์ าอาหารทงั้ ทางบกและทางนา้ โดยจะเหน็ จากการท่มี นษุ ยเ์ รม่ิ มีแพในการเดินทางทางนา้ การปลกู สรา้ งบา้ นในสมยั โบราณ แลอนื่ ๆอีกมาก กิจกรรมลกู เสอื เป็นกจิ กรรมหน่ึงทต่ี อ้ งการใหผ้ รู้ ว่ มกิจกรรมรูจ้ กั ใช้ วสั ดุ ทม่ี ีอยตู่ ามธรรมชาติมาใชใ้ นการดารงชีวติ เลยี นแบบธรรมชาติเพือ่ การ ดารงความ เป็นอยอู่ ยา่ งอิสระโดยไม่พง่ึ ตนเองมากที่สดุ ประกอบกบั การ เรียนรูเ้ รอื่ งเง่อื นเชือกเป็นศาสตรแ์ ละศิลป์ อย่างหนึง่ ทล่ี กู เสือจาเป็นตอ้ งเรยี นรู้ เมอ่ื เขา้ รว่ มกิจกรรมในการอย่คู า่ ยพกั แรม การสรา้ งฐานผจญภยั การตงั้ คา่ ย พกั แรม การใชเ้ งือ่ นในการช่วยผเู้ จบ็ ป่วย เป็นตน้ คุณสมบตั ิของเชือกและประโยชนข์ องการเรยี นรูเ้ รื่องเงอ่ื นเชือก ตน้ มะพรา้ ว เชอื กท่นี ามาใชใ้ นการจดั กจิ กรรมลกู เสือนน้ั มอี ย่หู ลายชนดิ ดว้ ยกนั ในที่นจี้ ะขอกลา่ วเฉพาะท่เี ชือกทสี่ าคญั ๆ ดงั นี้ คอื 1. เชอื กมนลิ า เป็นเชือกท่ีมถี ่นิ ฐานมาจากประเทศฟิลิปปินส์ มคี ณุ สมบตั ิ เหนียวและแขง็ แรง เชือกมนลิ านที้ ามาจากตน้ อะคาบา ซ่ึงพบไดม้ ากใน ประเทศฟิลปิ ปินส์ มปี ระโยชนใ์ นการใชเ้ ป็นเชอื กผกู เรอื และใชร้ ว่ มกบั รอกทาส ลิง

2. เชือกป่าน ทามาจาก ตน้ ไมช้ นดิ หนงึ่ ทเ่ี รียกวา่ ตน้ เฮมพ์ มสี เี หลืองออ่ น มคี วามเหนยี วในตวั มคี วามทนทานนอ้ ย ผกุ รอ่ นไดง้ า่ ย ดงั นน้ั การนาเชอื ก ชนดิ นมี้ าใช้ จงึ จาเป็นตอ้ งนาไปชบุ ในนา้ มนั ดนิ เสยี ก่อนเพื่อใหเ้ กดิ ความ ทนทานในการใชง้ าน ดงั นนั้ บางครง้ั จึงเรยี กเชือกชนดิ นวี้ ่า “ เชอื ก นา้ มนั ” เชอื กนา้ มนั หรือเชือกป่านนี้ เป็นเชอื กทีน่ ามาใชใ้ นงานลกั ษณะท่ี เก่ยี วขอ้ งกบั นา้ ทงั้ นเี้ พราะนา้ มนั จะชว่ ยปอ้ งกนั การกดั ผกุ รอ่ นของนา้ ไดเ้ ป็น อยา่ งดี 3. เชือกกาบมะพรา้ ว ทามา จากกาบของเบา และสามารถลอยตวั ในนา้ ไดด้ ี เนอ่ื งจากเชอื กชนิดนี้ มคี วามฝืด และหยาบ ตลอดจนลอยตวั ในนา้ ได้ จึง นยิ มนามาใชใ้ นงานที่เก่ยี วกบั การประมงเช่น การลากพว่ งเรือและการลากเรอื เป็นตน้ 4. เชือกลวด เป็นเชอื กที่ผลติ จากเสน้ โลหะและ อโลหะผสมกนั การใช้ เชือกชนดิ นตี้ อ้ งระมดั ระวงั การเกดิ สนิมเป็นพเิ ศษ ทงั้ นเี้ พราะโลหะทนี่ ามาใช้ ในการถกั ทอนนั้ มกั เกดิ เป็นสนมิ ไดโ้ ดยงา่ ย เชอื กลวด แบง่ เป็น 2 ชนดิ ใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท ซึ่งไดแ้ ก่ 4.1 เชอื กลวดชนิดอ่อน ชนดิ นเี้ ป็นเชือกลวดทใี่ ชเ้ ชือกชบุ นา้ มนั มาทาเป็น ไส้ ก่อนทาเป็นเกลียวเชอื ก คณุ สมบตั ิของเชือกชนดิ นี้ สามารถนามาขด หรือ พบั ไดง้ ่าย และยงั สามารถนามาผกู ไดอ้ ีกดว้ ย 4.2 เชือกลวดชนดิ แข็ง ชนิดนเี้ ป็นเชือกลวดทีใ่ ชล้ วดเสน้ เล็กๆรอ้ ยทาเป็น ไส้ ชนดิ นใี้ ชง้ านกบั วตั ถปุ ระเภทหนกั มากๆ ไมส่ ามารถนามาขด หรอื พบั ได้ จงึ มกั ใชป้ ระจาท่ใี นการใชง้ าน การบารุงดแู ลรกั ษาเชือกลวดทงั้ 2 ชนิดนี้ ควรหม่นั ใชน้ า้ มนั หรอื จารบชี โลม ใหท้ ่วั หลงั เสร็จสนิ้ การนามาใชง้ าน

5. เชอื กไนล่อน เชอื กชนดิ นผี้ ลติ จากวสั ดสุ งั เคราะห์ ซงึ่ เรยี กตามภาษาใน ทอ้ งตลาดว่า “ ไนลอ่ น ” ปัจจบุ นั ลกู เสอื นิยมใชเ้ ชือกชนิดนมี้ าก ทงั้ นเี้ พราะ เชือกชนดิ นมี้ ีคณุ สมบตั ิ ทีเ่ หนยี ว มคี วามทนทาน แตม่ จี ุดออ่ นท่ี มรี าคาแพง และยืดตวั มากกวา่ เชือกชนิดอ่นื ๆ เชือกชนิดตา่ งๆท่กี ล่าวมาขา้ งตน้ เป็นเชือกทนี่ ยิ มใชใ้ นกจิ กรรมของลกู เสือ ซง่ึ แต่ละชนิด จะมีคณุ สมบตั ิและประโยชนแ์ ตกตา่ งกนั ออกไป ทงั้ นขี้ นึ้ อย่กู บั ลกั ษณะของงาน และคณุ สมบตั ขิ องเชือกชนดิ นนั้ ๆ การนาเชือกมาผกู เป็นเงือ่ นปมมีประโยชนอ์ ยา่ งมากมาย ซ่ึงขนึ้ อยกู่ ับประเภท และชนดิ ต่างๆของเง่ือนเชือก เชน่ หากเป็นเง่ือนประมง จะมปี ระโยชนใ์ น กิจการท่เี ก่ยี วกบั การประมง ซึ่งไดแ้ ก่ ใชใ้ นการต่อเชือกทีม่ ขี นาดเดียวกนั ใน การทาใหเ้ ชือกท่ีสน้ั ใหย้ าวขนึ้ หรือใชต้ ่อสายเอน็ ตกปลา หรอื ใชส้ าหรบั ผกู เพือ่ เป็นทีถ่ ือหวิ้ ภาชนะต่างๆเช่น คอขวด เป็นตน้ หรือเง่ือนผกู รง้ั เป็นเงื่อนที่ ใชป้ ระโยชนใ์ นการจดั ทากิจกรรมไดห้ ลายๆอย่าง เช่น สามารถใชเ้ ง่อื นชนดิ นี้ ใน การยดึ เสาเต๊นท์ เสาธง หรอื สมอบก.. การเลือกใช้เชือกเพอื่ กจิ กรรมลูกเสอื ในการเลอื กใชเ้ ชือกเพอื่ ทากจิ กรรมต่างๆในกระบวนการลกู เสือ ไมว่ ่าจะเป็น การนาเชือกไปใชป้ ระโยชนใ์ นการประมง การใชเ้ ชือกในการลากซงุ การใช้ เชอื กในการทาฐานผจญภยั และการใชเ้ พื่อประโยชนอ์ ื่นๆ มีหลกั การในการ คานวณการใชเ้ ชอื กเพอื่ กิจกรรมต่างๆ ดงั นี้ **ความยาวของเสน้ รอบวงตวั เชอื ก (ยกกาลงั สอง) = แรงรบั น.น.วตั ถุ (คดิ เป็นตนั ) X 18 , 9 , 6 หรือ 3)** หมายเหตุ : ตวั เลข 18, 9 , 6 หรือ 3 เป็นผลลพั ธท์ เี่ กิดจากการใชเ้ ชอื กใน การรบั นา้ หนกั กล่าวคือ

ขนาดเสน้ รอบวงของเชอื กที่มีความปลอดภยั สงู สดุ ใช้ ตวั เลข 18 ในการ คณู ในสตู ร ขนาดเสน้ รอบวงของเชอื กทีม่ ีความปลอดภยั สูง ใช้ ตวั เลข 9 ใน การคณู ในสตู ร ขนาดเสน้ รอบวงของเชอื กที่รบั นา้ หนกั เตม็ ที่ ใช้ ตวั เลข 6 ใน การคณู ในสตู ร ขนาดเสน้ รอบวงของเชือกท่มี อี นั ตราย ใช้ ตวั เลข 3 ใน การคณู ในสตู ร ตวั อย่างท่ี 1 หากเราตอ้ งการสรา้ งฐานผจญภยั ให้ มีความปลอดภยั สงู สดุ ซงึ่ รบั นา้ หนกั ลกู เสอื ได้ 200 กิโลกรมั (0.2 ตนั ) เราจะใชเ้ ชือกท่ีมขี นาดเสน้ รอ บวงเทา่ ใด (ความปลอดภยั สงู สดุ ใช้ ตวั เลข 18 ในการคณู ในสตู ร) สตู รในการคานวณ ความยาวของเสน้ รอบวงตวั เชือก (ยกกาลงั สอง) = แรงรบั น.น.วตั ถุ (คดิ เป็น ตนั ) X 18 = 0.2 ตนั X 9 ความยาวของเสน้ รอบวงตวั เชือก (ยกกาลงั สอง)= 1.8 ตนั เงือ่ นตา่ งๆท่คี วรเรียนรู้ ตามหลกั สตู รของการรบั เคร่อื งหมายลกู เสือโลก เงอื่ นเชือกที่ลกู เสือ จาเป็นตอ้ งเรียนรูเ้ พือ่ ใชใ้ นการรว่ มกิจกรรมลกู เสือ นน้ั มีอย่ดู ว้ ยกนั 10 เงื่อน เชือก ไดแ้ ก่ 1. เง่ือนพริ อด ( Square Knot or Reef Knot ) 2. เง่ือนขดั สมาธิ ( Sheet Bend Knot )

3. เงือ่ นผกู กระหวดั ไม้ ( Two Half Hitch Knot ) 4. เงื่อนบว่ งสายธนู ( Bowline Knot ) 5. เงื่อนตะกรุดเบ็ด ( Clove Hitch Knot ) 6. เงอ่ื นประมง ( Fisherman Knot ) 7. เงือ่ นผกู ซุง ( Timber Hitch Knot ) 8. เงอ่ื นผกู รง้ั ( Tarbuck Knot ) 9. เง่อื นปมตาไก่ ( Stevedore’s Knot ) 10. เงื่อนการผกู แน่น ( Lashing Knot ) 10.1 เงื่อนผกู ประกบ ( Sheer Lashing Knot ) 10.2 เง่อื นผกู กากบาด (Square Lashing Knot ) 10.3 เง่ือนผกู ทะแยง (Diagonal Lashing Knot ) วิธผี ูกเงอื นต่างๆ และประโยชนข์ องเงอื่ น เงอ่ื นพิรอด เป็นเงอ่ื นที่ใชป้ ระโยชนม์ ากในการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั ของเรา โดยเฉพาะการ ต่อปลายเชอื ก 2 ขา้ งเขา้ ดว้ ยกนั ซง่ึ เง่ือนนจี้ ะแนน่ มากแต่ก็แกอ้ อกไดง้ ่าย ประโยชน์ 1. ใชต้ ่อเชือกขนาดเท่ากนั เหนียวเทา่ กนั 2. ใชผ้ กู ปลายเชอื กเสน้ เดยี วกนั เพ่ือผกู มดั หอ่ สง่ิ ของและวตั ถตุ า่ งๆ 3. ใชป้ ระโยชนใ์ นการปฐมพยาบาลผทู้ ่ีไดร้ บั บาดเจ็บ เชน่ ผกู ชาย ผา้ พนั แผล ผกู ชายผา้ 4. ผกู เชือกรองเทา้ ผกู โบ

เง่อื นขดั สมาธิ เง่ือนขดั สมาธิเป็นเงือ่ นทมี่ ปี ระโยชนใ์ นการต่อเชือกท่ีมขี นาดตา่ งกนั หรอื ขนาดเท่ากนั โดยใชเ้ สน้ ใหญท่ าเป็นบ่วง ส่วนเสน้ เล็กเป็นเสน้ พนั ขดั ประโยชน์ 1. ใชต้ ่อเชือกขนาดต่างกนั หรือขนาดเดยี วกนั ก็ได้ 2. ใชต้ อ่ เชอื กแข็งกบั เชือกอ่อน (เสน้ ออ่ นเป็นเสน้ พนั ขดั ) 3. ใชต้ ่อเชอื กทค่ี อ่ นขา้ งแข็ง เช่น เถาวลั ย์ 4. ใชผ้ กู เชอื กกบั ส่ิงทีม่ ลี กั ษณะเป็นขอหรือหอู ยแู่ ลว้ เช่น ธงชาติ 5. ใชต้ อ่ เสน้ ดา้ ย เสน้ ไหมทอผา้

เง่อื นบ่วงสายธนู เง่อื นบ่วงสายธนู เป็นเงอ่ื นท่ไี มร่ ูด ไม่เลอื่ นเขา้ ไปรดั กบั ส่ิงท่ผี กู ตวั บว่ งจะคงท่ี ประโยชน์ 1. ใชผ้ กู สตั วไ์ วก้ บั หลกั หรือตน้ ไม้ เป็นเง่อื นทไ่ี มร่ ูดและไมเ่ ลอ่ื นเขา้ ไปรดั กบั หลกั เพราะสามารถหมนุ รอบได้ 2. ใชผ้ กู เรอื กบั หลกั เมอื่ เวลานา้ ขนึ้ หรือนา้ ลงบว่ งจะเลื่อนขนึ้ ลงไดเ้ อง 3. ใชค้ ลอ้ งกนั ธนเู พ่ือโกง่ คนั ธนู 4. ใชค้ ลอ้ งคนใหห้ ย่อนตวั จากที่สงู ลงส่ทู ต่ี ่าแทนเง่ือนเกา้ อี้ 5. ใชผ้ กู ปลายเชือก ผกู ถงั ตงั้ หรอื ถงั นอน

เงือ่ นประมง เง่ือนประมงเป็นเงือ่ นท่ีใชส้ าหรบั ตอ่ เชอื กท่ีมขี นาดเดียวกนั ซง่ึ เป็นเง่อื นท่ีรูจ้ กั กนั ท่วั ไปอกี ช่อื หน่ึงวา่ เงื่อนหัวลา้ นชนกนั ประโยชน์ 1. ใชต้ อ่ เชือก 2 เสน้ ท่มี ขี นาดเดยี วกนั 2. ใชต้ อ่ เชอื กเสน้ ดา้ ยเลก็ ๆเช่น ดา้ ยเบด็ ต่อเสน้ เอน็ 3. ใชผ้ กู คอขวดสาหรบั ถอื หวิ้ (คอขวดท่ีมีขอบขวด) 4. ใชใ้ ชต้ ่อเชือกท่มี ีขนาดใหญ่ทีล่ ากจงู 5. ใชต้ อ่ สายไฟฟ้า

เงื่อนปมตาไก่ เงื่อนปมตาไกเ่ ป็นเง่ือนที่ขมวดปลายเชอื กใหเ้ ป็นปม แตถ่ า้ ตอ้ งการใหป้ มเชอื ก มีขนาด ใหญก่ ข็ มวดหลายครง้ั ประโยชน์ 1. ใชผ้ กู รอ้ ยหเู ตน็ ท์ 2. ทาปมบนั ไดเชอื ก 3. สามารถผกู เป็นเงื่อนปากขวดได้

เง่อื นผกู ซงุ เงือ่ นผกู ซุงเป็นเง่ือนที่ใชส้ าหรบั ผกู สง่ิ ของต่างๆ ใหย้ ึดตดิ กนั แน่น ซึง่ เป็นเงอ่ื น ทม่ี ี ลกั ษณะพิเศษ คือ ผกู งา่ ย แกง้ า่ ย แต่เป็นเง่ือนทย่ี ่งิ ดงึ ยง่ิ แนน่ ยง่ิ ดึงแรงมาก เท่าไรก็จะยง่ิ แน่นมากขนึ้ เท่านนั้ ประโยชน์ 1. ใชผ้ กู วตั ถทุ อ่ นยาว กอ้ นหิน ตน้ ซงุ เสา เพอ่ื การลากโยง 2. ใชผ้ กู ทแยง 3. ใชผ้ กู สตั ว์ เรือ แพไวก้ บั ทา่ หรือเสาหรอื รวั้ ตน้ ไม้ 4. เป็นเง่อื นท่ผี กู งา่ ย แกย้ าก

เง่ือนตะกรูดเบ็ด เป็นเงอ่ื นท่ีใชง้ านตา่ งๆ มากมาย เช่น ผกู สง่ิ ของตา่ งๆ ผกู เหล็ก ผกู รวั้ ผกู ตอมอ่ ในการสรา้ งสะพาน ผกู แขวนรอก ผกู สมอเรอื ผกู บนั ได ผกู เบ็ด ประโยชน์ 1. ใชผ้ กู เชอื กกบั เสาหรอื หลกั เพอ่ื ลา่ มสตั วเ์ ลยี้ งหรอื แพ 2. ใชผ้ กู บนั ใดเชือก บนั ใดลิง 3. ใชใ้ นการผกู แน่น เช่น ผกู ประกบ ผกู กากบาท

เง่ือนผกู รง้ั เงือ่ นผกู รงั้ เป็นเงอื่ นทใี่ ชผ้ กู ยดึ กบั สิ่งอ่ืน ซงึ่ เป็นเงอื่ นทม่ี ีลกั ษณะพิเศษ คอื สามารถปรบั ใหต้ ึงหรือหย่อนไดต้ ามความตอ้ งการ ประโยชน์ 1. ใชผ้ กู เสาเตน็ ท์ ยึดเสาธงกนั ลม้ ใชร้ ง้ั ตน้ ไม้ 2. เป็นเงอื่ นเล่อื นใหต้ งึ หรือหยอ่ นตามความตอ้ งการ เง่อื นผกู รม่ ประโยชน์ ๑. ใชผ้ กู รน่ เชอื กตรงสว่ นท่ีชารุดเล็กนอ้ ย เพอื่ ใหเ้ ชอื กมีกาลงั เท่าเดิม ๒. เป็นการทบเชือกใหเ้ กิดกาลงั ลากจงู ๓. การรน่ เชือกที่ยาวมากๆ ใหส้ นั้ ตามตอ้ งการ

เงอ่ื นเก้าอี้ ประโยชน์ เป็นเงอื่ นกภู้ ยั ใชช้ ว่ ยคนที่ตดิ อยบู่ นที่สงู ไมส่ ามารถลงทางบนั ไดได้ หรือ ใชช้ ่วยคนขนึ้ จากท่ีต่า ใชป้ ระโยชนเ์ ช่นเดียวกบั บ่วงสายธนู ๒ ชนั้ ยดึ กนั แนน่ โดยมสี ง่ิ ของอย่ตู รงกลางภายในบว่ งเพอ่ื ดงึ ลากสิ่งของไป ระหวา่ งจดุ ๒ จดุ

เงือ่ นคนลาก ประโยชน์ ใชท้ าบว่ งคลอ้ งไหล่เพื่อลากสิง่ ของ จงู สตั ว์ ลากรถ ใชพ้ นั หลกั ใชผ้ กู ลกู ระนาด ใชผ้ ู้ ลกู บนั ได

การผูกแน่น สาระสาคญั 1.ผกู แบบผกู ประกบ 2 แบบกากบาท และแบบผกู ทแยงได้ 2.บอกประโยชนข์ องการผกู แบบ ผกู ประกบ 2 แบบกากบาท และแบบ ผกู ทแยงได้ 3.นาไปประกอบการใชง้ านบกุ เบกิ ในชนั้ สงู ตอ่ ไปได้

การผกู แน่น การผกู เชือกดว้ ยเงอ่ื นต่างๆในวชิ าลกู เสือที่ลกู เสอื ไดเ้ รียนและฝึกผกู มาแลว้ หลายชนิด เงอื่ นแตล่ ะชนิดกใ็ ชผ้ กู เพือ่ ประโยชนก์ ารใชส้ อยต่างๆ กนั ยงั มีการผกู เงอื่ นอีกประเภท หน่ึง ซึ่งมปี ระโยชนต์ ่อกจิ การลกู เสือมาก ไดแ้ ก่ การผกู แนน่ การผกู แน่น เป็นการผกู วตั ถใุ หต้ ดิ กนั แน่นเขา้ ดว้ ยกนั โดยใชเ้ ชือกหรือวสั ดุ คลา้ ยเชือก ซ่งึ มีประโยชนต์ ่อลกู เสือเป็นอย่างมากในการเขา้ คา่ ยพกั แรมหรอื เดิน ทางไกล ซง่ึ แบ่งเป็น 3 ลกั ษณะ 1. การผกู ประกบ (Sheer Lashing) 2. ผกู ทแยง (Diagonal Lashing) 3. ผกู กากบาท (Square Lashing) 1. การผกู ประกบ (Sheer Lashing) ผกู ประกบเป็นการผกู ไมด้ ว้ ยวธิ ีจบั ไม้ 2 ทอ่ นมาเขา้ ค่กู นั แลว้ ผกู ต่อเขา้ ดว้ ยกนั ใหแ้ นน่ ซง่ึ มกี ารผกู หลายวธิ ีแตว่ ิธีทีน่ ิยมกนั มากไดแ้ ก่ ผกู ประกบ 2 ทอ่ น ผกู ประกบ 3 ทอ่ น ประโยชน์ มดี งั นี้ 1. ใชต้ อ่ ไมห้ ลาย ๆ ทอ่ นใหย้ าวออกไป 2. ใชผ้ กู ตอ่ ไมใ้ นการกอ่ สรา้ ง 3. ใชผ้ กู ตอ่ พลองทาเสาธงลอย

วธิ ีการผกู ประกบ 2 ท่อน วิธีการผกู ประกบ 3 ท่อน ผูกทแยง (Diagonal Lashing) การผกู ทแยง เป็นการผกู ท่อนไมท้ ่ีไขวก้ นั อยใู่ หต้ ิดแนน่ เขา้ ดว้ ยกนั เชน่ ใชผ้ กู น่งั รา้ นในการกอ่ สรา้ ง ใชผ้ กู ตอมอ่ สะพาน การสรา้ งท่พี กั อาศยั ของชาวบา้ นดว้ ยไมไ้ ผ่ เป็นตน้ กม็ กั จะใชว้ ธิ ีการผกู แน่นแบบนี้ ประโยชน์ มดี งั นี้ 1.ใชผ้ กู น่งั รา้ นในการกอ่ สรา้ งใหเ้ กิด ความม่นั คง

2.ใชผ้ กู ไมค้ า้ ยนั เสาป้องกนั เสาลม้ 3.ใชผ้ กู ตอมอ่ เสาสะพาน วิธีการผกู ทแยง ผกู กากบาท การผกู กากบาท เป็นการผกู ไมท้ ่ีไขวก้ นั อย่ซู ึ่งคลา้ ยกบั การผกู ทแยง การ ผกู กากบาทแบบธรรมดา และการผกู แบบญี่ป่ นุ ประโยชน์ มีดงั นี้ 1.ใชผ้ กู น่งั รา้ นในการกอ่ สรา้ ง 2. ใชผ้ กู สรา้ งค่ายพกั แรมและอปุ กรณค์ ่ายพกั แรม 3. ใชท้ ารวั้ หรือคอกสตั ว์ 4. ใชผ้ กู ตอมอ่ เสาสะพาน วธิ ีการผกู กากบาทแบบธรรมดา หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 11 แผนท่ี ความหมายและความสาคัญของแผนท่ี ความหมายของแผนท่ี

แผนที่ หมายถงึ การนาเอารูปภาพส่ิงต่างๆ บนพนื้ ผิวโลก (Earth’ surface) มา ย่อสว่ นใหเ้ ล็กลง แลว้ นามาเขยี นลงกระดาษแผน่ ราบ สิง่ ต่างๆบนพนื้ โลกประกอบ ไป ดว้ ยส่ิงทเี่ กิดขนึ้ เองตามธรรมชาต(ิ nature)และส่งิ ทีม่ นษุ ยส์ รา้ งขนึ้ (manmade) ส่ิง เหล่านแี้ สดงบนแผนทโ่ี ดยใชส้ ี เสน้ หรือรูปรา่ งต่างๆที่เป็นสญั ลกั ษณแ์ ทน ความสามารถในการทาแผนท่ีเป็นสญั ชาตญิ าณอยา่ งหนึ่งของมนษุ ยช์ าติ พฤตกิ รรม ที่ แสดงออกทาง แผนทมี่ มี านานแลว้ พวกเอสกิโมรูจ้ กั การทาแผนที่ดว้ ยการใชไ้ มส้ ลกั ตดิ ลงบนหนงั แมวนา้ แสดงแหลง่ ลา่ สตั ว์ ตกปลา ชาวเกาะมารแ์ ชลใชเ้ ปลือกหอยแทน เกาะ กา้ นมะพรา้ ว แทนเสน้ ทางการเดนิ เรือละบริเวณทม่ี คี ล่นื จดั พวก nomad ท่ี เรร่ อ่ นทะเลทรายตามท่ีต่างๆ จะใชโ้ ดยขดี บนผืนทราย แผนที่ที่เก่าแกท่ ่ีสดุ ในโลกคอื แผนทีข่ องชาวเมโสโปเตเมีย เมอ่ื 2,300ปี กอ่ นปี พทุ ธศกั ราช สมยั กรีกโบราณ เป็นผวู้ างรากฐานในการทาแผนท่ี เริม่ ดว้ ยการพสิ จู นป์ ี พ.ศ.323วา่ โลกกลม และมีการวดั ขนาดของโลกโดย อแี รโตสเตนสี โดยใชห้ ลกั ทาคณติ ศาสตร์ โดยสรา้ งเสน้ สมมตุ ทิ ่ีเรยี กว่า เสน้ ขนานและเสน้ เมอรเิ ดยี น ตอ่ มาปี พ.ศ. 370ปี ปโตเลมี นาเอาผลงานของอีแรโตสเตนีสมาปรบั ปรุงกาหนดคา่ มมุ ของเสน้ ขนานและเวน้ เมอรเิ ดียน ความสาคญั ของแผนท่ี แผนท่ีมคี วามสาคญั คือเป็นเครอื่ งชว่ ยในการดาเนนิ งาน หรอื ประกอบกิจการตา่ งๆ มนษุ ยร์ ูจ้ กั ใช้ แผนท่ีมาตงั้ แตโ่ บราณ ประโยชน์ ของแผนที่ในสมยั นน้ั คอื ใชเ้ ป็นเคร่อื ง แสดงเสน้ ทางเดนิ ถิ่นท่อี ยอู่ าศยั แหลง่ อาหารในทางภมู ศิ าสตรถ์ อื วา่ แผนท่ีเป็นศนู ย์ รวมขอ้ มลู ทางภมู ศิ าสตร์ มีความสาคญั ตอ่ การศกึ ษาขอ้ มลู เพื่อประโยชนท์ งั้ ทาง

เศรษฐกจิ ทางสงั คม และทางการเมอื ง ปัจจบุ นั แผนทถ่ี กู นาไปใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ อยา่ งกวา้ งขวางตามความเจรญิ กา้ วหนา้ ในดา้ นเทคโนโลยีจากการที่จานวนประชากร เพิม่ จานวนขนึ้ อย่าง รวดเรว็ ความจาเป็นในการวางผงั เมืองให้ เหมาะสม กบั การ ขยายตวั ของชมุ ชนและการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร ธรรมชาตจิ งึ เพ่มิ มากตาม แผนที่จึงมี ความสาคญั ต่อ การนาขอ้ มลู ไปคดิ วเิ คราะหเ์ พือ่ หาศกั ยภาพภมู ปิ ระเทศ ภมู อิ ากาศ ตลอดจนทรพั ยากรทีม่ ีอย่เู พื่อการพฒั นาทย่ี ่งั ยืน ประโยชนข์ องแผนทมี่ ีมากมาย แต่ ไดจ้ ดั ไว้ ตามการดาเนนิ กจิ กรรมใหญ่ๆ ดงั นี้ 1. ประโยชนท์ างดา้ นการเมืองการปกครองเพื่อใหบ้ รรลเุ ป้าหมายในการรกั ษาความ ม่นั คงของประเทศชาติ ใหค้ งอยู่ จาเป็นจะตอ้ งมีความรูใ้ นเร่ืองภมู ศิ าสตรก์ ารเมือง หรือทเี่ รียกกนั ว่า \"ภมู ิรฐั ศาสตร\"์ และเครือ่ งมือ ทีส่ าคญั ของนกั ภมู ิรฐั ศาสตร์ กค็ ือ แผนที่ เพือ่ ใชศ้ กึ ษาสภาพทางภมู ิศาสตรแ์ ละนามาวางแผนดาเนนิ การเตรียมรบั หรอื แกไ้ ขสถานการณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ได้ อย่างเชน่ แนวพรมแดนระหว่างประเทศ จาเป็นตอ้ ง อาศยั แผนทใี่ นการวางแผนดาเนนิ การ เตรยี มรบั หรอื แกไ้ ขสถานการณท์ ี่อาจเกดิ ขนึ้ อยา่ งถกู ตอ้ ง แผนทีใ่ นกิจกรรมทางการเมอื งนอกจากแผนทแ่ี นวเขตแดนซ่งึ สาคญั แลว้ ยงั ตอ้ งเก่ยี วขอ้ งกบั แผนทตี่ า่ ง ๆ มากมาย 2. ประโยชนท์ างดา้ นการทหารในการพจิ ารณาวางแผนทางยทุ ธศาสตรข์ องทหาร จาเป็นตอ้ ง หาขอ้ มลู หรือขา่ วสารท่เี ก่ยี วกบั สภาพภมู ศิ าสตร์ และตาแหนง่ ทาง สง่ิ แวดลอ้ มทถ่ี กู ตอ้ งแนน่ อนเก่ยี วกบั ระยะทาง ความสงู เสน้ ทาง ลกั ษณะภมู ิ ประเทศทีส่ าคญั 3. ประโยชนท์ างดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม เศรษฐกจิ เป็นเคร่ืองบง่ ชคี้ วามเป็นอยู่ ของ ประชาชนภายในชาติ เพราะฉะนน้ั ทกุ ประเทศกม็ งุ่ ทจี่ ะพฒั นาเศรษฐกิจของตนเพ่อื ความม่งั ค่งั และม่นั คงการดาเนนิ งานเพ่อื พฒั นา เศรษฐกิจของแตล่ ะภมู ิภาคทผ่ี า่ นมา

แผนท่ี เป็นส่งิ แรกทต่ี อ้ งผลิตขนึ้ มาเพอ่ื การใชง้ านในการวางแผนพฒั นาเศรษฐกิจและ สงั คมแหง่ ชาติ กต็ อ้ งอาศยั แผนทเ่ี ป็นขอ้ มลู พนื้ ฐานเพือ่ ใหท้ ราบทาเลทต่ี งั้ สภาพทาง กายภาพแหล่งทรพั ยากรและแผนทีย่ งั ชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจเก่ยี วกบั ภาพรวมและ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างพนื้ ที่ไดม้ ากขนึ้ ทาใหว้ างแผนและพฒั นาเป็นไปไดอ้ ยา่ งสะดวก และมปี ระสทิ ธิภาพ ดา้ นสงั คม สภาพแวดลอ้ มทางสงั คมมกี ารเปล่ยี นแปลงอยเู่ สมอ ท่ีเห็นชดั คือสภาพแวดลอ้ มทางภมู ิศาสตร์ ซ่งึ ทาใหส้ ภาพแวดลอ้ มทางสงั คม เปลย่ี นแปลงไปการศึกษาสภาพการเปลีย่ นแปลงตอ้ งอาศยั แผนทเ่ี ป็นสาคญั และอาจ ชว่ ยใหก้ ารดาเนินการวางแผนพฒั นาสงั คมเป็นไปในแนวทางทีถ่ กู ตอ้ ง 4. ประโยชนท์ างดา้ นจากการเปล่ยี นแปลงสภาพทางภมู ิศาสตร์ ทาใหส้ งิ่ แวดลอ้ มทาง สงั คมเดิมเปลีย่ นแปลงไปการศกึ ษาความเปล่ยี นแปลงดงั กล่าวย่อมตอ้ งอาศยั การ อ่านรายละเอยี ดในแผนทท่ี งั้ ในอดตี และปัจจบุ นั เพือ่ เปรียบเทียบกนั เพ่อื ประโยชนใ์ น การหาขอ้ มลู หรือสมมตุ ฐิ านของ เหตกุ ารณท์ ่ีจะเกดิ ในอนาคตเพื่อหามาตรการและ วางแผนการป้องกนั ผลกระทบจาก ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ ที่จะเกดิ ในอนาคต หรือเพอ่ื วางแผนพฒั นาสงั คมไปในแนวทางทถ่ี กู ตอ้ งอกี ทงั้ ยงั เป็นประโยชนต์ อ่ การ วาง ผงั เมอื ง ใหเ้ หมาะสมกบั การขยายตวั ของชมุ ชนนอกจากนีใ้ นการศึกษาทางดา้ น โบราณคดกี ต็ อ้ งอาศยั แผนที่ เพ่ือคน้ หาแหล่งชมุ ชนโบราณอกี ดว้ ย 5. ประโยชนด์ า้ นการเรียนการสอน แผนทีเ่ ป็นตวั สง่ เสรมิ กระตนุ้ ความสนใจ และ กอ่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจในบทเรียนดขี นึ้ ใชเ้ ป็นแหล่งขอ้ มลู ทงั้ ทางดา้ นกายภาพ ภมู ิภาค วฒั นธรรม เศรษฐกิจ สถิติและการกระจายของสง่ิ ต่าง ๆ รวมทงั้ ปรากฏการณท์ าง ธรรมชาติ และปรากฏการณต์ า่ ง ๆใชเ้ ป็นเครือ่ งช่วยแสดงภาพรวมของพนื้ ท่หี รือของ ภมู ภิ าค อนั จะนาไปศึกษาสถานการณแ์ ละวเิ คราะหค์ วามแตกต่าง หรือความสมั พนั ธ์ ของพนื้ ที่

6. ประโยชนด์ า้ นส่งเสริมการทอ่ งเทยี่ ว แผนที่มคี วามจาเป็นตอ่ นกั ท่องเท่ียวในอันทจ่ี ะ ทาใหร้ ูจ้ กั สถานทีท่ ่องเทย่ี วไดง้ ่าย สะดวกในการวางแผนการเดนิ ทาง หรือเลอื ก สถานทีท่ ่องเทีย่ วตามความเหมาะสม ชนดิ ของแผนท่ี ปัจจบุ นั การจาแนกชนดิ ของแผนที่ อาจจาแนกไดห้ ลายแบบแลว้ แต่จะยดึ ถือส่งิ ใดเป็น หลกั ในการจาแนก เช่น การจาแนกชนิดของแผนทตี่ ามลักษณะที่ปรากฏบนแผนที่ แบง่ ไดเ้ ป็ น 3 ชนิด คอื 1.แผนที่ลายเส้น ( Line Map ) เป็นแผนที่แสดงรายละเอยี ดในพนื้ ท่ีดว้ ยเสน้ และ องคป์ ระกอบของเสน้ ซึ่งอาจเป็นเสน้ ตรง เสน้ โคง้ ทอ่ นเสน้ หรอื เสน้ ใด ๆ ทป่ี ระกอบ เป็นรูปแบบต่าง ๆ เช่น ถนนแสดงดว้ ยเสน้ ค่ขู นาน อาคารแสดงดว้ ยเสน้ ประกอบเป็น รูปสี่เหล่ียม สญั ลกั ษณท์ แี่ สดงรายละเอียดเป็นรูปทป่ี ระกอบดว้ ยลายเสน้ แผนที่ ลายเสน้ ยงั หมายรวมถึงแผนทีแ่ บบแบนราบและแผนท่ที รวดทรง ซงึ่ ถา้ รายละเอยี ดท่ี แสดงประกอบดว้ ยลายเสน้ แลว้ ถอื วา่ เป็นแผนท่ลี ายเสน้ ทงั้ สนิ้ 2.แผนท่ีภาพถ่าย ( Photo Map ) เป็นแผนทซ่ี ง่ึ มรี ายละเอียดในแผนท่ีทีไ่ ดจ้ ากการ ถ่ายภาพดว้ ยกลอ้ งถ่ายภาพ ซึ่งอาจถ่ายภาพจากเครื่องบนิ หรือดาวเทียม การผลติ แผนทท่ี าดว้ ยวธิ ีการนาเอาภาพถา่ ยมาทาการดดั แก้ แลว้ นามาตอ่ เป็นภาพแผน่ เดยี วกนั ในบริเวณท่ตี อ้ งการ แลว้ นามาใสเ่ สน้ โครงพิกดั ใส่รายละเอยี ดประจาขอบ ระวาง แผนท่ภี าพถา่ ยสามารถทาไดร้ วดเรว็ แต่การอ่านค่อนขา้ งยากเพราะตอ้ งอาศยั เคร่ืองมือและความชานาญ

3.แผนท่ีแบบผสม ( Annotated Map ) เป็นแบบทีผ่ สมระหว่างแผนท่ลี ายเสน้ กบั แผนท่ีภาพถ่าย โดยรายละเอยี ดทเ่ี ป็นพนื้ ฐานสว่ นใหญจ่ ะเป็นรายละเอียดท่ไี ดจ้ าก การถา่ ยภาพ ส่วนรายละเอยี ดทีส่ าคญั ๆ เช่น แม่นา้ ลาคลอง ถนนหรือเสน้ ทาง รวมทงั้ อาคารทต่ี อ้ งการเนน้ ใหเ้ ห็นเด่นชดั กแ็ สดงดว้ ยลายเสน้ พิมพแ์ ยกสใี หเ้ ห็น เดน่ ชดั ปัจจบุ นั นิยมใชม้ าก เพราะสะดวกและง่ายแกก่ ารอ่าน มที งั้ แบบแบนราบ และ แบบพิมพน์ นู สว่ นใหญม่ สี มี ากกว่าสองสขี นึ้ ไป การจาแนกชนิดของแผนท่ีตามขนาดของมาตราสว่ น ประเทศตา่ ง ๆ อาจแบง่ ชนิดของแผนที่ตามขนาดมาตราสว่ นไมเ่ หมอื นกนั ทีก่ ลา่ ว ต่อไปนเี้ ป็นการแบ่งแผนท่ตี ามขนาดมาตราส่วนแบบหนง่ึ เทา่ นนั้ 1.แบง่ มาตราส่วนสาหรบั นักภูมศิ าสตร์ - แผนท่ีมาตราส่วนเล็ก ไดแ้ ก่ แผนทีม่ าตราสว่ นเล็กว่า 1:1,000,000 - แผนทีม่ าตราสว่ นกลาง ไดแ้ ก่ แผนที่มาตราสว่ นตงั้ แต่ 1:250,000 ถงึ 1:1,000,000 - แผนที่มาตราส่วนใหญ่ ไดแ้ ก่ แผนท่ีมาตราสว่ นใหญ่กวา่ 1:250,000 2.แบ่งมาตราสว่ นสาหรับนักการทหาร - แผนท่ีมาตราสว่ นเล็ก ไดแ้ ก่ แผนทีม่ าตราสว่ น 1:600,000 และเล็กกวา่ - แผนท่มี าตราสว่ นกลาง ไดแ้ ก่ แผนท่ีมาตราสว่ นใหญ่กวา่ 1:600,000 แต่เล็กกวา่ 1:75,000 - แผนท่ีมาตราส่วนใหญ่ ไดแ้ ก่ แผนที่มาตราสว่ นตงั้ แต่ 1:75,000 และใหญ่กว่า การจาแนกชนิดแผนทต่ี ามลักษณะการใชง้ านและชนิดของ รายละเอยี ดท่ีแสดงไวใ้ นแผนท่ี

1.แผนท่ีทั่วไป (General Map) เป็นแผนทพี่ ืน้ ฐานท่ีใชอ้ ย่ทู ่วั ไปหรอื ทีเ่ รยี กว่า Base map - แผนทีแ่ สดงทางราบ (Planimetric Map) เป็นแผนที่แสดงรายละเอยี ดท่ีปรากฏบน ผิวโลกเฉพาะสณั ฐานทางราบเท่านนั้ - แผนทภ่ี มู ปิ ระเทศ (Topographic Map) เป็นแผนทีแ่ สดงรายละเอยี ดทงั้ ทาง แนวราบและแนวด่ิง หรอื อาจแสดงใหเ้ หน็ เป็น 3 มิติ 2.แผนที่พิเศษ (Special Map or Thematic Map) สรา้ งขนึ้ บนแผนทพ่ี นื้ ฐาน เพื่อใช้ ในกจิ การเฉพาะอย่าง การจาแนกตามมาตรฐานของสมาคมคารโ์ ตกร๊าฟฟ่ี ระหว่างประเทศ (ICA) สมาคมคารโ์ ตกรา๊ ฟฟ่ี ระหว่างประเทศ ไดจ้ าแนกชนดิ แผนท่ี ออกเป็ น 3 ชนดิ แผนทภ่ี มู ปิ ระเทศ (Topographic map) รวมทงั้ ผงั เมอื งและแผนทภ่ี มู ศิ าสตร์ เป็น แผนทที่ ี่ใหร้ ายละเอยี ด โดยท่วั ๆ ไป ของภมู ปิ ระเทศ โดยสรา้ งเป็นแผนทภี่ มู ิประเทศ มาตราสว่ นขนาดเลก็ กลาง และขนาดใหญ่ และไดข้ อ้ มลู มาจากภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายดาวเทยี ม แผนที่มาตราส่วนเล็กบางทีเรยี กว่าเป็นแผนท่ภี มู ิศาสตร์ (Geographical map) แผนทที่ ่วั ไป (General map) และแผนทมี่ าตราสว่ นเล็กมากๆ ก็อาจอย่ใู นรูปของแผนที่เล่ม (Atlas map) ชารต์ และแผนทเ่ี สน้ ทาง (Charts and road map) เป็นแผนทที่ ส่ี รา้ งขนึ้ เป็นเคร่ืองมอื ประกอบการเดนิ ทาง โดยปกตจิ ะเป็นแผนท่ีมาตราสว่ นกลาง หรอื มาตราสว่ นเลก็

และแสดงเฉพาะสิ่งทเี่ ป็นทีน่ า่ สนใจของผใู้ ช้ เชน่ ชารต์ เดินเรอื ชารต์ ดา้ นอทุ กศาสตร์ เป็นตน้ แผนทีพ่ ิเศษ (Thematic and special map) ปัจจบุ นั มีความสาคญั มากขนึ้ เพราะ สามารถใชป้ ระกอบการทาวจิ ยั เชงิ วทิ ยาศาสตร์ การวางแผนและใชใ้ นงานดา้ น วศิ วกรรม แผนท่ีชนิดนจี้ ะแสดงขอ้ มลู เฉพาะเรื่องลงไป เชน่ แผนท่ดี นิ แผนทีป่ ระชากร แผนทพ่ี ืชพรรณธรรมชาติ แผนทีธ่ รณีวทิ ยา เป็นตน้ นอกจากท่ีกลา่ วมานี้ เรายงั สามารถจาแนกแผนท่โี ดยยึดหลกั เกณฑอ์ นื่ ๆ ไดแ้ ก่ พนื้ ท่ี ครง้ั ท่พี ิมพ์ ฯลฯ แต่ไมเ่ ป็นท่ีนยิ มเพราะหลกั เกณฑ์ ไมแ่ นน่ อน องคป์ ระกอบของแผนที่ องคป์ ระกอบของแผนที่ คอื สิ่งตา่ งๆ ทป่ี รากฏอยบู่ นแผนท่ีเพื่อใหผ้ ทู้ ่ใี ชแ้ ผนทไ่ี ดร้ บั ทราบขอ้ มลู ขา่ วสารและรายละเอียดเพยี งพอสาหรบั การใชแ้ ผนทนี่ น้ั ๆ แผนทที่ ่ี สมบรู ณจ์ ะตอ้ งประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบใหญ่ๆ ดงั นี้ 1. ขอบระวางแผนที่ โดยปกตแิ ผนท่ีท่วั ไปจะเป็นรูปส่เี หลี่ยมผนื ผา้ หรอื รูปสี่เหลยี่ ม จตั รุ สั ซึง่ มสี ่วนตา่ งๆ ดงั นี้ 1.1 พนื้ ท่บี รเิ วณทเ่ี ป็นแผนที่ แสดงรายละเอียดท่ปี รากฏในพนื้ ท่ีภมู ิประเทศจรงิ หรือส่งิ ทมี่ นษุ ยส์ รา้ งขนึ้ ตามขนาดท่ีกาหนดของแผนทีแ่ ตล่ ะประเภท 1.2 เสน้ ขอบระวางแผนที่ เป็นเสน้ ทก่ี นั้ ขอบเขตรายละเอียดบริเวณแผนท่กี บั พนื้ ทน่ี อกขอบระวางแผนที่ ห่างจากริมทงั้ สด่ี า้ นของแผนที่ เสน้ ขอบระวางแต่ละดา้ น จะมตี วั เลขบอกคา่ พิกดั กริดและคา่ พิกดั ภมู ิศาสตร์ (ค่าของละตจิ ดู และลองจจิ ดู ) หรอื อยา่ งใดอย่างหน่ึง

1.3 เสน้ ขอบระวางแผนทเ่ี สริม เพ่ือใหเ้ กิดความสวยงาม อาจทาเป็นเสน้ ขอบ หนาขอบบางสองชนั้ หา่ งกนั พอสมควร 1.4 พนื้ ทขี่ อบระวาง เป็นส่วนทอ่ี ยนู่ อกเสน้ ขอบระวางแผนทสี่ าหรบั แสดง รายละเอยี ดขององคป์ ระกอบภายนอกขอบระวางแผนที่ ซง่ึ จะมี ขอบจากดั การแสดงรายละเอียด 1.5 ขอบแผนท่ี เป็นสิ่งทกี่ าหนดขนาดของแผนที่ทัง้ หมด โดยตดั ตามขนาดท่ี ตอ้ งการหลงั จากการพมิ พเ์ สรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ 2. องคป์ ระกอบภายในขอบระวางแผนท่ี เป็นรายละเอียดต่างๆ ท่ีอย่ภู ายในกรอบ ของเสน้ ขอบระวางแผนที่ ซง่ึ เป็นสว่ นทเี่ รยี กว่าแผนท่ี โดยมีองคป์ ระกอบตา่ งๆ ดงั นี้

2.1 สญั ลกั ษณ์ คือ เครอ่ื งหมายหรือสง่ิ ทใี่ ชแ้ ทนรายละเอียดท่ีปรากฏอยู่บน พนื้ ผวิ ภมู ิประเทศหรอื ใหข้ อ้ มลู อ่นื ใดทต่ี อ้ งการแสดงไวใ้ นแผนท่นี น้ั อาจจะเป็น รูปทรง ลายเสน้ ตา่ งๆ โดยมคี าอธิบายความหมายเพือ่ ใหผ้ ใู้ ชเ้ ขา้ ใจความหมายของ สญั ลกั ษณแ์ ละอ่านความหมายในแผนทไ่ี ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและชดั เจน สญั ลกั ษณท์ ี่ใช้ แทนลกั ษณะทีป่ รากฏในภมู ิประเทศจริงในแผนที่นนั้ จาแนกได้ 3 ประเภท ใหญ่ๆ ดงั นี้ 1) ลกั ษณะทางกายภาพ ใชแ้ สดงรายละเอยี ดของสงิ่ ทีเ่ กิดขนึ้ ตาม ธรรมชาติ 2) ลกั ษณะทางวฒั นธรรม ใชแ้ สดงสิ่งต่างๆ ที่เกดิ จากกิจกรรมของมนษุ ย์ 3) ขอ้ มลู เฉพาะเร่อื ง เป็นสญั ลกั ษณท์ คี่ ิดขนึ้ มาแทนขอ้ มลู เฉพาะเรอ่ื งท่ี ผผู้ ลิตตอ้ งการแสดงเป็นพิเศษ เชน่ สญั ลกั ษณท์ ี่ใชแ้ สดงลกั ษณะของหิน ธรณี สณั ฐาน ดนิ หรอื ลกั ษณะทางดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพ เป็นตน้ 2.2 สี สีทใ่ี ชบ้ รเิ วณขอบระวางแผนท่ีจะเป็นสขี องสญั ลกั ษณท์ ใี่ ชแ้ ทน รายละเอยี ดหรอื ขอ้ มลู ตา่ งๆ ของแผนที่ การเลอื กสใี นสญั ลกั ษณต์ า่ งๆ มกั จะเลอื กให้ สอดคลอ้ งกบั รายละเอยี ดทใี่ ชส้ ญั ลกั ษณน์ นั้ ๆ แทน เชน่ สีแดง ใชแ้ สดง ถนนและเสน้ ทางคมนาคม สเี ขียว ใชแ้ สดง บรเิ วณพนื้ ทีป่ ่าไมแ้ ละพนื้ ที่ราบ สนี า้ เงนิ ใชแ้ สดง บรเิ วณที่เป็นนา้ เช่น แม่นา้ ลาคลอง มหาสมทุ ร เป็นตน้ สีนา้ ตาล ใชแ้ สดง ที่สงู และเทอื กเขา

สดี า ใชแ้ สดง สถานทที่ ่ีมนษุ ยส์ รา้ ง สีอ่นื ๆ ใชแ้ สดง รายละเอยี ดพเิ ศษโดยกาหนดไวใ้ น ขอบระวางแผนท่ี 2.3 ชื่อภมู ิศาสตร์ เป็นตวั อกั ษรกากบั รายละเอยี ดต่างๆ เพ่อื บอกใหท้ ราบว่า สถานท่ีนน้ั หรือสิ่งนนั้ มีชื่อวา่ อะไร 2.4 ระบบอา้ งองิ ตาแหน่ง เป็นเสน้ หรอื ตารางทแี่ สดงไวใ้ นขอบระวางแผนท่ี เพ่ือ ใชก้ าหนดคา่ พิกดั ของตาแหน่งต่างๆ บนแผนทน่ี น้ั ระบบอา้ งองิ ในการกาหนด ตาแหน่งมีหลายชนดิ ทนี่ ิยมใชท้ ่วั ไปมี 2 ชนิด คอื 1) พกิ ดั ภมู ศิ าสตร์ ไดแ้ ก่ เสน้ ขนานและเสน้ เมรเิ ดียนท่บี อกคา่ ละติจดู และ ลองจิจดู อาจแสดงเป็นเสน้ ยาวจรดขอบระวางแผนที่หรืออาจแสดงเฉพาะส่วนทต่ี ดั กนั เป็นกากบาท หรืออาจแสดงเป็นเสน้ สน้ั ๆ เฉพาะท่ีขอบ 2) พิกดั กริด ไดแ้ ก่ เสน้ ขนานสองชดุ ท่ีมีระยะหา่ งๆ เท่ากนั ตดั กนั เป็นรูป ส่เี หลี่ยมมมุ ฉาก เสน้ ขนานทงั้ สองชดุ ดงั กลา่ วอาจแสดง ไวเ้ ป็นแนวเสน้ ตรงยาวจรด ขอบระวางหรอื อาจแสดงเฉพาะสว่ นที่ตดั กนั กไ็ ดแ้ ลว้ แต่ความเหมาะสมพกิ ดั ภมู ศิ าสตร์ พิกดั กริด

3. องคป์ ระกอบภายนอกขอบระวาง เป็นพนื้ ทต่ี งั้ แต่เสน้ ขอบระวางไปถงึ ริมแผน่ แผนท่ีทงั้ สี่ดา้ น บริเวณพนื้ ท่ีดงั กล่าวผผู้ ลติ แผนทจี่ ะแสดงรายละเอียดอนั เป็นขอ้ มลู ท่ี

ผใู้ ชแ้ ผนที่ควรทราบ และใชแ้ ผนทน่ี น้ั ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งตรงตามความม่งุ หมายของ ผผู้ ลิตแผนที่ รายละเอยี ดภายนอกขอบระวางจะขนึ้ กบั ชนดิ ของแผนที่ สาหรบั แผนท่ี ภมู ปิ ระเทศที่ผลติ ขนึ้ ใชโ้ ดยท่วั ไปมีรายละเอียด ดงั นี้ 3.1 ระบบบง่ ระวาง เป็นหลกั เกณฑข์ องระบบเรยี กชอ่ื และเลขหมายของแผนท่ี แต่ละชดุ แตล่ ะวาง ประกอบดว้ ย 1) ชือ่ ชดุ เช่น “ประเทศไทย 1 : 50,000” เป็นชื่อชดุ แผนท่ีมลู ฐานมาตรา ส่วน 1 : 50,000 ของประเทศไทย 2) เลขลาดบั ชดุ ตวั อย่างเช่น “L 7018 มาตราสว่ นประเทศไทย 1 : 50,000 ขนาด 15 15 ลิปดา” ซึ่งมีรายละเอียด ดงั นี้ องคป์ ระกอบที่ 1 L คือ ภมู ิภาคในเอเชยี ส่วนใหญ่ เช่น อินเดยี จนี ไทย ลาว พม่า เวยี ดนาม กมั พชู า เป็นตน้ องคป์ ระกอบที่ 2 7 คอื หม่มู าตราส่วนซ่งึ เป็นตวั กาหนดขนาดมาตราสว่ น ระหวา่ ง 1 : 70,000 ถึง 1 : 35,000 องคป์ ระกอบท่ี 3 0 คือ ภมู ิภาคย่อยในเอเชีย ไดแ้ ก่ ไทย ลาว เวยี ดนาม กมั พชู า และมาเลเซีย องคป์ ระกอบที่ 4 18 คือ แผนที่มาตราส่วน 1 : 50,000 ในภมู ภิ าค L

แผนทแี่ สดงแหล่งโบราณคดีบา้ นเมืองดงละคร อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครนายก โดย กรมแผนทท่ี หาร 3) ชอ่ื ระวาง เป็นช่อื ของระวางแผนท่ี โดยท่วั ไปจะเอารายชื่อของ รายละเอยี ดที่สาคญั และเดน่ ท่ีสดุ ในแผนทีร่ ะวางนนั้ 4) เลขหมายระวาง เป็นเลขหมายประจาของแผนทตี่ ามระบบดชั นี แผนที่ เพอ่ื สะดวกในการอา้ งองิ หรอื คน้ หาแผนที่ เลขหมาย ระวางจะ ประกอบดว้ ยเลข 4 ตวั และตอ่ ทา้ ยดว้ ยเลขโรมัน (I, II, III, และ IV) เป็นตวั ท่ี 5 จะ ปรากฏอยมู่ มุ บนขวาและมมุ ซา้ ยลา่ งของแผ่นแผนที่ การอ่านแผนท่ี การอา่ นแผนที่

การอา่ นและการแปลความหมายของแผนที่ เพื่อใหไ้ ดป้ ระโยชนแ์ ละเกดิ ประสิทธิภาพสงู สดุ จาเป็นทจี่ ะตอ้ งศึกษารายละเอียดและความเขา้ ใจในสิ่งตา่ งๆ ที่ ปรากฏอย่ใู นแผนที่ ซ่งึ รวมถงึ องคป์ ระกอบของแผนที่ องคป์ ระกอบของแผนที่ องคป์ ระกอบแผนที่ หมายถงึ ส่ิงตา่ งๆ ที่ปรากฏอยบู่ นแผ่นแผนที่ ซ่งึ ผผู้ ลิตแผน ท่ีจดั แสดงไวเ้ พ่ือเป็นเคร่ืองมือใหผ้ ใู้ ชแ้ ผนทไี่ ดท้ ราบขา่ วสารและรายละเอียดอยา่ ง เพยี งพอสาหรบั การใชแ้ ผนทีไ่ ดอ้ ย่างถกู ตอ้ งและสะดวกรวดเร็ว แผนที่ทจ่ี ดั ทาขนึ้ เพ่ือแสดงพนื้ ทีใ่ ดพนื้ ท่หี นงึ่ เรียกวา่ \"ระวาง\" (Sheet) และใน แผนทีแ่ ต่ละระวางมอี งคป์ ระกอบของแผนที่ 3 ส่วนสาคญั คอื 1. เสน้ ขอบระวาง 2. องคป์ ระกอบภายนอกขอบระวาง 3. องคป์ ระกอบภายในขอบระวาง ซงึ่ มีรายละเอยี ด ดงั นี้ 1. เสน้ ขอบระวาง เป็นเสน้ ท่ีแบง่ พนื้ ทอ่ี อกเป็น 2 สว่ น คอื พืน้ ทภ่ี ายในขอบระวางและพนื้ ทน่ี อก ขอบระวางของแผนที่ โดยท่ีเสน้ ขอบระวางแตล่ ะดา้ น จะมีตวั เลขบอกพกิ ดั กริด (คา่ ตะวนั ออก คา่ เหนือ) และค่าพกิ ดั ภมู ิศาสตร์ หรืออย่างใดอย่างหน่ึง 2. องคป์ ระกอบภายนอกขอบระวาง

คอื รายละเอียดและคาอธิบายส่ิงต่างๆ เก่ยี วกบั แผนท่ี และขอ้ มลู การผลิตแผนท่ี ซง่ึ อยนู่ อกเสน้ ขอบระวางแผนท่ีทงั้ 4 ดา้ น องคป์ ระกอบภายนอกขอบระวาง ประกอบดว้ ย 1. ชอ่ื ชดุ แผนท่ีและมาตราสว่ น (Series Name and Map Scale) เป็นชื่อและมาตราส่วนของแผนท่ี ตวั อยา่ ง คอื ประเทศไทย THAILAND 1:50,000 WGS 84 2. ช่อื ระวาง (Sheet Name) เป็นชือ่ เรยี กประจาระวางหนึง่ ๆ ซ่งึ ส่วนใหญเ่ ป็นชื่อทไ่ี ดม้ าจากรายละเอียด ท่เี ด่นหรือท่สี าคญั ทางภมู ศิ าสตรท์ แ่ี ผนท่ีแผ่นนนั้ ครอบคลมุ อยู่ เชน่ ชือ่ ของจงั หวดั อาเภอ หมบู่ า้ น ตวั อย่าง เชน่ อาเภอละงู AMPHOE LANGU

3. หมายเลขประจาระวาง (Sheet Number) เป็นตวั เลขทบ่ี อกใหท้ ราบวา่ เป็นแผนทร่ี ะวางท่ีเทา่ ไร เพือ่ ความสะดวกใน การอา้ งองิ หรือคน้ หา ตวั อย่างเช่น ระวาง 5135 II Sheet 4. หมายเลขประจาชุด (Series Number) เป็นหมายเลขอา้ งอิงที่แสดงถึงการจดั ทาแผนที่วา่ เป็นแผนทชี่ ดุ ใด ซง่ึ ประกอบดว้ ยตวั อกั ษร และตวั เลข ตวั อยา่ ง เชน่ ลาดบั ชดุ L7017 SERIES

5. การจดั พิมพ์ (Edition number) เป็นสง่ิ บอกใหท้ ราบถงึ อายขุ องแผนที่ ที่เก่ยี วขอ้ งกบั แผนทฉ่ี บบั เดยี วกนั เช่น ปีทพี่ มิ พ์ จานวนครง้ั ที่พมิ พ์ ตวั อยา่ ง เชน่ พิมพค์ รง้ั ที่ 4-RTSD EDITION มคี วามหมายว่า แผนท่ีฉบบั นพี้ มิ พเ์ ป็นครง้ั ท่ี 1 โดยสานกั งาน Royal Thai Survey Department (R T S D = ผท. ทหาร)

6. มาตราส่วนแผนท่ี (Map Scale) เป็นสิง่ ทบ่ี อกใหท้ ราบถึงอตั ราสว่ นระหวา่ งระยะในแผนทกี่ บั ระยะใน ภมู ิประเทศทตี่ รงกนั จะมีหน่วยวดั ท่ีแตกตา่ งกนั เช่น ไมล์ เมตร หลา ไมลท์ ะเล ตวั อย่าง เช่น 7. ศัพทานุกรม (Glossary) เป็นการอธิบายศพั ทส์ าคญั ทีป่ รากฏในแผนที่ โดยเรียงตามลาดบั ตวั อกั ษร ส่วนมากจะมใี นแผนท่ที ่มี ตี งั้ แต่สองภาษาขนึ้ ไป

ตวั อยา่ ง เชน่ 8. สารบาญ (Index) เป็นแผนภาพท่ีแสดงไว้ เพื่อบอกขอ้ มลู ทจี่ าเป็นใหผ้ ใู้ ชแ้ ผนที่เขา้ ใจขอ้ มลู บนแผนทีม่ ากขนึ้ ไดแ้ ก่ แผนภาพแสดงระดบั ความสงู อยา่ งครา่ วๆ บอก เขตการปกครอง เป็นตน้ ตวั อยา่ ง เช่น 9. คาอธบิ ายสัญญลกั ษณ์ (Legend) เป็นรายละเอยี ดท่ีอธิบายความหมายของสญั ลกั ษณ์ (Symbol) ทใ่ี ชแ้ สดง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook