Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 1

กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 1

Published by panyaponphrandkaew2545, 2019-12-01 06:23:31

Description: กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 1

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 การปฐมนิเทศ จุดประสงคข์ องการฝึ กอบรมวชิ าลกู เสือวิสามัญ ในพระราชบญั ณตั ลิ กู เสอื พ.ศ. 2528 ไดก้ าหนดไวใ้ นมาตราที่ 35 ว่า ลกู เสือทเ่ี ป็น หญิงอาจจะใชข้ ื่อเรยี กวา่ เนตรนารี ซ่งึ ไดค้ วามเห็นชอบจากคณะกรรมการบรหิ าร ลกู เสอื แหง่ ชาติ และบรรดาคาว่า \"ลูกเสือ\" ในพระราชบญั ญตั ินี้ ใหห้ มายถงึ ลกู เสอื ท่ี เป็นหญิงดว้ ย ลกู เสอื และเนตรนารมี ีธรรมเนยี มและกจิ กรรมเหมอื นกนั การฝึกอบรมลูกเสอื วสิ ามญั เป็นการจดั ใหเ้ ยาวชนทก่ี าลงั ศกึ ษาอยใู่ นมธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย หรอื ระดบั อาชวี ศกึ ษา และระดบั อดุ มศึกษา เพ่อื เป็นการชกั จงู ใหค้ นวัย หน่มุ สาวไดป้ ระพฤติปฏบิ ตั ติ นอยใู่ นขบวนการลกู เสอื โดยมวี ตั ถปุ ระสงคด์ งั นี้ 1. เพ่อื เป็นการส่งเสริมความเป็นพลเมืองดขี องเยาวชน 2. เพื่อใหค้ นวยั หนมุ่ สาวไดบ้ รกิ ารชมุ ชนและบริการคณะลูกเสอื แห่งชาติ 3. เพือ่ เป็นการจดั ประสบการณต์ า่ ง ๆ ทีม่ ีประโยชนแ์ ละทา้ ทายความสามารถ 4. เพ่ือเปิดโอกาสใหเ้ ยาวชนไดม้ กี ารพฒั นาศกั ยภาพของตนเอง 5. เพอ่ื ใหเ้ ยาวชนสามารถดารงชวี ิตอยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสขุ และมี ประสิทธิภาพ 6. เพอื่ ใหเ้ ยาวชนไดม้ ีสว่ นรว่ มอย่างจรงิ จงั ในการพฒั นาชมุ ชน สงั คม ประเทศชาติ ตามอดุ มการณข์ องคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ อดุ มการณข์ องลกู เสอื วิสามญั \"บริการ\" ลกู เสือวสิ ามญั จึงตอ้ งพฒั นาตนเองใหไ้ ปสู่ อดุ มการณเ์ พื่อจะไดเ้ ป็นพลเมอื งดี มีคณุ ภาพและบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องคณะลกู เสือ แหง่ ชาติ ที่ไดต้ ราไวใ้ นพระราชบญั ญตั ิลกู เสอื (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2528 มาตรา 7 ซงึ่

ระบวุ ่า \"คณะลกู เสือแหง่ ชาติมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื พฒั นาลกู เสือทงั้ ทางกาย สติปัญญา จติ ใจและศีลธรรมใหเ้ ป็นพลเมอื งดี มคี วามรบั ผิดชอบ ชว่ ยสรา้ งสรรคส์ งั คมใหม้ ีความ เจริญกา้ วหนา้ เพ่อื ความสงบสขุ และม่นั คงของประเทศชาติ\" ตามแนวทางตอ่ ไปนี้ 1. ใหม้ ีนิสยั ในการสงั เกต จดจา เช่อื ฟัง และพ่งึ ตนเอง 2. ใหซ้ ่อื สตั ยส์ จุ ริต มีระเบียบวินยั และเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ น่ื 3. ใหร้ ูจ้ กั บาเบญ็ ตนเพื่อสาธารณประโยชน์ 4. ใหร้ ูจ้ กั ทาการฝีมอื และฝึกฝนใหท้ ากิจกรรมตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม 5. ใหร้ ูจ้ กั รกั ษา และสง่ เสรมิ จารตี ประเพณี วฒั นธรรม และความม่นั คงของ ประเทศชาติ ทงั้ นโี้ ดยไม่เก่ยี วขอ้ งกบั ลทั ธิการเมืองใด ๆ ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั ธรรมนญู ขององคก์ ารแห่งโลก ว่าดว้ ยขบวนการลกู เสอื ท่ไี ดก้ าหนด วตั ถปุ ระสงคข์ องขบวนการลกู เสอื ไวด้ งั ต่อไปนี้ “จดุ ม่งุ ประสงคข์ องขบวนการลกู เสอื คือ การสนบั สนนุ การพฒั นาอย่างเต็มทซี่ ึง่ ศกั ยภาพทางกาย สตปิ ัญญา สงั คม จติ ใจและศีลธรรม ใหแ้ กเ่ ยาวชนเป็น รายบคุ คล เพ่อื ใหเ้ ขาเป็นพลเมืองดี มคี วามรบั ผิดชอบ ในฐานะทเี่ ป็นสมาชกิ ของ ชมุ ชนในทอ้ งถน่ิ ในชาติ และในชมุ ชนระหว่างนานาชาต”ิ การที่จะดาเนนิ การฝึกอบรมเยาวชนใหบ้ รรลอุ ดุ มการณข์ องลกู เสืออย่างสงู สดุ ดู เหมือนวา่ จะเป็นปัญหาทย่ี ากมาก ถา้ หากจะพิจารณาจากปัจจยั และสิง่ ต่าง ๆ ท่ีจะ เขา้ มามสี ่วนในการท่ีจะชวี้ ่า ความเพยี รพยายามของเราทจ่ี ะฝึกอบรมเยาวชนนน้ั ประสบความสาเร็จหรอื ลม้ เหลวอย่างไร ซงึ่ จะไม่มีคาตอบสาเร็จรูปที่จดั ทาไว้ แต่เรา จะตอ้ งเพียรพยายามรวบรวมขอ้ มลู และรายละเอียดตา่ ง ๆ ท่ีเราพจิ ารณาเห็นว่าเป็น

เงอื่ นไขแห่งความสาเร็จเป็นค่มู อื หรือแนวทางขนึ้ ไว้ ถา้ หากไดป้ ฏบิ ตั ติ ามเงอ่ื นไขนีใ้ ห้ ครบถว้ นบริบรู ณแ์ ลว้ กห็ วงั ไดว้ ่าโอกาสท่ีจะประสบความสาเรจ็ นน้ั อาจจะพึงหวงั ได้ แมว้ ่าจะไมส่ ามารถรบั ประกนั ไดก้ ็ตาม แต่ถา้ ผใู้ ดละทงิ้ เง่ือนไขที่ไดร้ วบรวมไวน้ นั้ ไป เพยี งขอ้ หนงึ่ ขอ้ ใด ความลม้ เหลวในการพฒั นาลกู เสือ ใหบ้ รรลตุ ามอดุ มการณข์ อง คณะลกู เสอื แหง่ ชาตนิ น้ั ก็อาจเกดิ ขนึ้ ได้ ซงึ่ การกระทาเยย่ี งนีส้ ามารถรบั ประกนั ความลม้ เหลวไดอ้ ยา่ งแนน่ อน การบรรลถุ งึ อดุ มการณแ์ หง่ คณะลกู เสือแห่งชาติ ควรประกอบดว้ ยสิง่ ต่อไปนี้ 1. การจดั กาหนดการที่ดีสาหรบั เยาวชน ก. กาหนดการนนั้ จะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและความปรารถนาของเยาวชน ทงั้ นตี้ อ้ งคานึงถงึ องคป์ ระกอบหลายประการ เช่น อายุ เวลา สถานที่ และเทคนคิ วิธีการต่าง ๆ ทนี่ ามาใชด้ ว้ ย ข. ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของสงั คมนนั้ ๆ โดยเฉพาะ ดงั นน้ั การ ลอกเลยี นแบบกาหนดการจากสงั คมหนง่ึ เพือ่ มาใชก้ บั อกี สงั คมหน่ึง จะไมเ่ ป็นการ สมควรเพราะในแตล่ ะสงั คมจะมคี วามแตกตา่ งกนั ค. ตอ้ งเรา้ ใจและมีความกา้ วหนา้ การจดั ประสบการณค์ วรเป็นไปในทางท่จี ะให้ เกิดประสบการณใ์ หม่ และเป็นประสบการณท์ นี่ า่ สนใจ เรา้ ใจแก่ลกู เสือ กบั ทั้งคงให้ มกี ารเพ่มิ พนู ความรูแ้ ละการพฒั นาทกั ษะใหม่ ๆ ดว้ ย หากการจดั กาหนดการแบบ ซา้ ซากไม่ทา้ ทายความสามารถและไมเ่ กิดความกา้ วหนา้ แลว้ ไม่ชา้ เยาวชนจะละทงิ้ กจิ การลกู เสอื ไป

ง. ใหเ้ ป็นไปตามวิธีของกจิ การลกู เสอื คอื การสนบั สนนุ การคน้ พบที่กา้ วหนา้ และ ตอ่ เนอื่ งกนั ในเรื่องค่านิยมอนั มีอยใู่ นกฎและคาปฏิญาณของลกู เสือ และในเวลา เดียวกนั ควรยดึ ถอื วา่ กฎและคาปฏญิ าณของลกู เสอื เป็นกตกิ าของกิจกรรมทกุ อยา่ ง ดว้ ย 2. การฝึกอบรมผกู้ ากบั ลกู เสือ ความตอ้ งการของผูก้ ากบั ลกู เสือจะมีความ แตกต่างกนั ออกไป แตโ่ ดยสรุปแลว้ จะมีอยู่ 3 ประการทสี่ าคญั อนั จะนาไปพฒั นา เยาวชน คือ ก. ความรู้ ข. ทกั ษะ ค. เจตคติ 3. การใหก้ ารสนบั สนนุ อยา่ งเพียงพอ เชน่ บคุ ลากร งบประมาณ วิธีการ ดาเนินงาน การจดั การฝึกอบรมในระดบั ต่าง ๆ การบริหาร การประชาสมั พนั ธ์ ฯลฯ เป็นตน้ เครอ่ื งแบบลูกเสอื วสิ ามัญ

เคร่อื งแบบลกู เสือวสิ ามญั ฝ่ ายชาย

๑.หมวกทรงอ่อนสีเเขยี ว มตี ราหนา้ หมวกรูปตราคณะลูกเสอื แห่งชาติ ทาดว้ ยโลหะสี ทอง เวลาสวมหมวกใหต้ ราหนา้ หมวกอย่เู หนอื ควิ้ ซา้ ย ๒.เสอื้ คอพบั สีกากแี ขนสน้ั เหนอื ขอ้ ศอกผ่าอกตลอด อกเสอื้ ทาเป็นสาบกวา้ ง ๓.๕ ซม. มีกระดมุ เหนอื เขม็ ขดั ๔ เมด็ อกเสอื้ มกี ระเป๋ าปะขา้ งละ ๑ กระเป๋ า มีแถบตรง กึ่งกลางตามทางดิ่ง ปกรูปมน ชายกลางแหลม เจาะรงั ดมุ กึง่ กลางกระเป๋ า ๑ ดมุ มี อินทรธนสู ีเดยี วกบั เสอื้ อย่เู หนือบ่าทงั้ ๒ ขา้ ง ดา้ นไหล่กวา้ ง ๓.๕ ซม. เย็บตดิ กบั ตะเขบ็ ไหลเ่ สอื้ ดา้ นคอกวา้ ง ๒.๕ ซม. ปลายมน มีดมุ ท่ปี ลายอนิ ทรธนทู างดา้ นคอ ดา้ นละ ๑ ดมุ ดมุ ลกั ษณะกลมแบนทาดว้ ยวสั ดสุ นี า้ ตาลแก่ ตดิ อนิ ทรธนสู เี ขียว ปลาย อนิ ทรธนมู อี กั ษร ” ลว.” สเี หลอื ง ใหส้ อดชายเสอื้ อยภู่ ายในกางเกง

๓.ผา้ ผกู คอรูปสามเหลยี่ มหนา้ จ่วั ดา้ นฐาน ๑๐๐ ซม. ดา้ นตงั้ ๗๕ ซม. สตี ามเขต การศกึ ษา ดา้ นหลงั ติดเคร่ืองหมายจงั หวดั และหว่ งสวมผา้ ผกู คอทไี่ ม่ใช่หว่ งกลิ เวลล์ ๔.กางเกงสีกากี (สีเดียวกบั เสอื้ ) ขาสนั้ เหนอื เขา่ ประมาณ ๕ ซม. มีหรู อ้ ยเขม็ ขดั ยาวไม่เกนิ ๖ ซม. กวา้ ง ๑ ซม. มกี ระเป๋ าตามแนวตะเขบ็ ขา้ งละ ๑ กระเป๋ า ๕.เข็มขดั หนงั สีนา้ ตาล กวา้ งไมเ่ กนิ ๓ ซม. หวั ชนดิ หวั ขดั ทาดว้ ยโลหะสีทอง มี ลายดนุ รูปตราคณะลกู เสอื แห่งชาตภิ ายในกรอบช่อชยั พฤกษด์ า้ นล่างมีคตพิ จน์ ลกู เสือ ” เสียชีพอย่าเสียสตั ย”์ ๖.ถงุ เทา้ ยาวสีกากี พบั ขอบไวใ้ ตเ้ ขา่ ใตพ้ ับขอบมรี อบรดั ถงุ และมีพสู่ ีแดง ขา้ งละ ๒ พู่ ๗.รองเทา้ หนงั หรือผา้ ใบสนี า้ ตาลแก่ ไมม่ ีลวดลายหมุ้ สน้ ชนดิ ผกู ๘.เครอื่ งหมายหมทู าดว้ ยผา้ รูปสเี่ หลย่ี มผนื ผา้ ยาว ๑๔ ซม. กวา้ ง ๒ ซม. ถา้ ยงั ไม่ เขา้ ประจากอง จานวน ๔ ชิน้ ชิน้ นอกสีเขยี ว ๒ ชิน้ และชนิ้ ในสเี หลือง ๒ ชิน้ ถา้ เขา้ ประจากองแลว้ ๖ ชิน้ จากนอกไปใน สแี ดง ๒ ชนิ้ สีเหลอื ง ๒ ชิน้ และสีเขียว ๒ ชิน้ ตดิ ทแ่ี ขนเสอื้ ใตต้ ะเขบ็ ไหล่ซา้ ยประมาณ ๑ ซม. ๙.เคร่ืองหมายวชริ าวธุ ทาดว้ ยผา้ สขี าบ รูปไข่ ยาว ๔ ซม. กวา้ ง ๓.๕ ซม. ขลบิ ริม สเี หลือง มรี ูปวชริ าวธุ ในพระมหามงกฎุ เปลง่ รศั มี สีเหลือง ตดิ ท่ีอกเสอื้ ดา้ นขวาเหนอื กระเป๋ าเสอื้ ๑๐.เครื่องหมายวิชาพเิ ศษ ตดิ ทีอ่ กเสอื้ ดา้ นขวาเหนือกระเป๋ าเสอื้ ๑๑.เคร่อื งหมายนายหมู่ ทาดว้ ยผา้ สกั หลาดสีแดง กวา้ ง ๑.๕ ซม. ๒ เสน้ ติดท่ี กระเป๋ าเสอื้ ขา้ งซา้ ย ขา้ งแถบตรงกึ่งกลางตามทางดง่ิ ซา้ ย ขวา ขา้ งละ ๑ เสน้ ถา้ เป็น

รองนายหมู่ ใหต้ ดิ ๑ เสน้ ทาง ขวาของแถบกระเป๋ า คลอ้ งสายนกหวดี สีเหลือง ทบั ผา้ ผกู คอ ปลายสายผกู นกหวดี สอดในกระเป๋ าเสอื ขา้ งซา้ ย ๑๒.ใชไ้ มง้ ่ามและธงหม่เู ป็นหมายเลข เคร่ืองแบบลกู เสือวิสามัญฝ่ ายหญงิ ๑.หมวกทรงอ่อนสเี เขยี ว มีตราหนา้ หมวกรูปตราคณะลกู เสอื แห่งชาติ ทาดว้ ยโลหะสี ทอง เวลาสวมหมวกใหต้ ราหนา้ หมวกอย่เู หนอื ควิ้ ซา้ ย ๒.เสอื้ คอพบั สกี ากีแขนสนั้ เหนอื ขอ้ ศอกผา่ อกตลอด อกเสอื้ ทาเป็นสาบกวา้ ง ๓.๕ ซม. มกี ระดมุ เหนือเข็มขดั ๔ เมด็ อกเสอื้ มีกระเป๋ าปะขา้ งละ ๑ กระเป๋ า มีแถบตรง กึ่งกลางตามทางดง่ิ ปกรูปมน ชายกลางแหลม เจาะรงั ดมุ กงึ่ กลางกระเป๋ า ๑ ดมุ มี อนิ ทรธนสู เี ดียวกบั เสอื้ อยเู่ หนือบ่าทงั้ ๒ ขา้ ง ดา้ นไหล่กวา้ ง ๓.๕ ซม. เยบ็ ติดกบั

ตะเขบ็ ไหล่เสอื้ ดา้ นคอกวา้ ง ๒.๕ ซม. ปลายมน มดี มุ ที่ปลายอนิ ทรธนทู างดา้ นคอ ดา้ นละ ๑ ดมุ ดมุ ลกั ษณะกลมแบนทาดว้ ยวสั ดสุ นี า้ ตาลแก่ ตดิ อนิ ทรธนสู เี ขียว ปลาย อินทรธนมู ีอกั ษร ” ลว.” สเี หลือง ใหส้ อดชายเสอื้ อย่ภู ายในกางเกง ๓.ผา้ ผกู คอรูปสามเหลีย่ มหนา้ จ่วั ดา้ นฐาน ๑๐๐ ซม. ดา้ นตงั้ ๗๕ ซม. สีตามเขต การศกึ ษา ดา้ นหลงั ติดเครือ่ งหมายจงั หวดั และหว่ งสวมผา้ ผกู คอทไี่ มใ่ ช่หว่ งกลิ เวลล์ ๔.กางเกงสกี ากี (สีเดียวกบั เสอื้ ) ขาสน้ั เหนือเขา่ ประมาณ ๕ ซม. มีหรู อ้ ยเขม็ ขดั ยาวไม่เกิน ๖ ซม. กวา้ ง ๑ ซม. มกี ระเป๋ าตามแนวตะเข็บขา้ งละ ๑ กระเป๋ า ๕.เข็มขดั หนงั สีนา้ ตาล กวา้ งไม่เกิน ๓ ซม. หวั ชนดิ หวั ขดั ทาดว้ ยโลหะสีทอง มี ลายดนุ รูปตราคณะลกู เสอื แหง่ ชาตภิ ายในกรอบชอ่ ชยั พฤกษ์ดา้ นล่างมีคตพิ จน์ ลกู เสอื ” เสียชีพอย่าเสยี สตั ย”์ ๖.ถงุ เทา้ สน้ั สกี ากี ๗.รองเทา้ หนงั หรือผา้ ใบสนี า้ ตาลแก่ ไม่มีลวดลายหมุ้ สน้ ชนดิ ผกู ๘.เครอื่ งหมายหมทู าดว้ ยผา้ รูปสีเ่ หล่ยี มผนื ผา้ ยาว ๑๔ ซม. กวา้ ง ๒ ซม. ถา้ ยงั ไม่ เขา้ ประจากอง จานวน ๔ ชิน้ ชิน้ นอกสเี ขียว ๒ ชนิ้ และชนิ้ ในสเี หลือง ๒ ชิน้ ถา้ เขา้ ประจากองแลว้ ๖ ชิน้ จากนอกไปใน สีแดง ๒ ชนิ้ สีเหลอื ง ๒ ชิน้ และสีเขียว ๒ ชิน้ ตดิ ทีแ่ ขนเสอื้ ใตต้ ะเข็บไหล่ซา้ ยประมาณ ๑ ซม. ๙.เครอื่ งหมายวชิราวธุ ทาดว้ ยผา้ สขี าบ รูปไข่ ยาว ๔ ซม. กวา้ ง ๓.๕ ซม. ขลบิ รมิ สเี หลอื ง มรี ูปวชิราวธุ ในพระมหามงกฎุ เปลง่ รศั มี สีเหลอื ง ติดท่ีอกเสอื้ ดา้ นขวาเหนอื กระเป๋ าเสอื้ ๑๐.เครอ่ื งหมายวิชาพเิ ศษ ติดทอ่ี กเสอื้ ดา้ นขวาเหนือกระเป๋ าเสอื้

๑๑.เครือ่ งหมายนายหมู่ ทาดว้ ยผา้ สกั หลาดสีแดง กวา้ ง ๑.๕ ซม. ๒ เสน้ ตดิ ที่ กระเป๋ าเสอื้ ขา้ งซา้ ย ขา้ งแถบตรงก่ึงกลางตามทางดิง่ ซา้ ย ขวา ขา้ งละ ๑ เสน้ ถา้ เป็น รองนายหมู่ ใหต้ ิด ๑ เสน้ ทาง ขวาของแถบกระเป๋ า คลอ้ งสายนกหวดี สเี หลือง ทบั ผา้ ผกู คอ ปลายสายผกู นกหวดี สอดในกระเป๋ าเสอื ขา้ งซา้ ย ๑๒.ใชไ้ มง้ า่ มและธงหมเู่ ป็นหมายเลข การจดั แบ่งลูกเสอื เป็ นหมู่ กอง และกลมุ่ การบรหิ ารงานลูกเสือในสถานศกึ ษา ๑. โครงสร้างของกองลูกเสือ ๑.๑ กองลกู เสอื สารอง ๑ กอง ไม่นอ้ ยกว่า ๒ หมู่ ไม่เกิน ๖ หมู่ ๑ หมู่ ไมน่ อ้ ยกว่า ๔ คน ไมเ่ กิน ๖ คน รวมนายหมแู่ ละรองนายหมดู่ ว้ ย ๑.๒ กองลกู เสือสามญั ๑ กอง ไมน่ อ้ ยกว่า ๒ หมู่ ไมเ่ กิน ๖ หมู่ ๑ หมู่ ไม่นอ้ ยกวา่ ๖ คน ไม่เกิน ๘ คน รวมนายหม่แู ละรองนายหมดู่ ว้ ย ๑.๓ กองลกู เสือสามญั รุน่ ใหญ่ ๑ กอง ไมน่ อ้ ยกว่า ๒ หมู่ ไม่เกิน ๖ หมู่ ๑ หมู่ ไม่นอ้ ยกว่า ๔ คน ไมเ่ กิน ๘ คน รวมนายหม่แู ละรองนายหมดู่ ว้ ย ๑.๔ กองลกู เสอื วิสามญั ๑ กอง ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๐ คน ไม่เกิน ๔๐ คน ๑ หมู่ ๔ – ๖ คน รวมนายหม่แู ละรองนายหม่ดู ว้ ย ๑.๕ ลกู เสือทกุ ประเภท ๑ กอง มผี กู้ ากบั กอง ๑ คน รองผกู้ ากบั กองอยา่ งนอ้ ย ๑ คน ผกู้ ากบั กองตอ้ งผา่ นการฝึกอบรมอยา่ งนอ้ ยขนั้ ความรูเ้ บือ้ งตน้ ในประเภทลกู เสอื ทีข่ อ แตง่ ตงั้ รองผกู้ ากบั กองไมผ่ ่านการฝึกอบรมมาก่อนกแ็ ต่งตงั้ ได้ และผกู้ ากบั กอง ลกู เสอื สารอง และสามญั ควรมีอายไุ มน่ อ้ ยกวา่ ๒๐ ปี

รองผกู้ ากบั กองลกู เสอื สารอง และสามญั ควรมอี ายไุ มน่ อ้ ยกว่า ๑๘ ปี ผกู้ ากบั กองลกู เสอื สามญั รุน่ ใหญ่ และวสิ ามญั มีอายไุ มน่ อ้ ยกว่า ๒๕ ปี รองผกู้ ากบั กองลกู เสือสามญั รุน่ ใหญ่ และวิสามญั มีอายไุ ม่นอ้ ยกว่า๒๐ ปี ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสือ ผตู้ รวจการลกู เสอื กรรมการลกู เสอื เจา้ หนา้ ทล่ี กู เสืออายไุ ม่ นอ้ ยกว่า๑๘ ปี ๒. โครงสรา้ งกลุ่มลูกเสือ ๒.๑ ลกู เสอื ประเภทเดียวกนั ๔ กองขนึ้ ไป เท่ากบั ๑ กลมุ่ ๒.๒ ลกู เสอื ตา่ งประเภทกนั ประเภทละ ๒ กองขนึ้ ไป เทา่ กบั ๑ กล่มุ ๒.๓ มผี กู้ ากบั กล่มุ ๑ คน รองผูก้ ากบั กลมุ่ ๑ คน / ๑ กล่มุ ๓. การดาเนนิ การขอตง้ั กองและขอแต่งตั้งผบู้ งั คบั บัญชาลูกเสือ ๓.๑ หวั หนา้ สถานศึกษากรอกขอ้ ความและลงนามในแบบ ลส.๑ ใบคารอ้ งขอตงั้ กลมุ่ ตงั้ กอง ลกู เสอื ๓.๒ ผสู้ มคั รเป็นผบู้ งั คบั บญั ชากรอกขอ้ ความในแบบ ลส.๒ ใบสมคั รเป็น ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสือ ๓.๓ เด็กทสี่ มคั รเป็นลกู เสือ กรอกรายละเอียดในแบบ ลส.๓ ใบสมคั รเขา้ เป็นลกู เสอื ๓.๔ รวบรวมแบบ ลส.๑ จานวน ๓ ฉบบั ไวท้ ี่สถานศกึ ษา ๑ ฉบบั และแบบ ลส.๒ คนละ ๓ ฉบบั นาส่งสานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาท่ีสงั กดั ๓.๕ เจา้ หนา้ ทลี่ กู เสือสานกั งาน เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา ดาเนินการจดั ทาใบอนญุ าตตงั้ กองลกู เสือ ลส.๑๒ และใบแตง่ ตงั้ ผบู้ ังคบั บญั ชาลกู เสอื ลส.๑๓ เสนอผอู้ านวยการ

สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา ลงนามแทนผอู้ านวยการลกู เสอื จงั หวดั ในแบบ อนญุ าตตงั้ กอง ใบแตง่ ตงั้ ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสือ ๓.๖ เขตพนื้ ที่การศึกษา นาส่งสถานศกึ ษาทีข่ ออนญุ าตตงั้ กองและขอแต่งตงั้ ผบู้ งั คบั บญั ชา เป็นอนั เสร็จสนิ้ การจดั ตงั้ กล่มุ ลกู เสือและแต่งตงั้ ผกู้ ากบั รองผกู้ ากบั กล่มุ ลกู เสือ ๔. การดาเนินการขอต้งั กลุ่มลกู เสือ เมอื่ มีกองลกู เสือประเภทเดยี วกนั ครบ ๔ กอง หรือต่างประเภทกนั ประเภทละ ๒ กอง เขา้ เกณฑท์ ี่จะจดั ตงั้ กล่มุ ลกู เสือ ใหด้ าเนนิ การดงั นี้ ๔.๑ เขียนคารอ้ งในแบบ ลส.๑ ๔.๒ เขยี นใบสมคั รเป็นผกู้ ากบั กลุ่ม/รองผกู้ ากับกล่มุ ในแบบ ลส.๒ ๔.๓ นาสง่ เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาทสี่ งั กดั ๔.๔ เจา้ หนา้ ที่ลกู เสือเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา จดั ทาใบอนญุ าตตงั้ กล่มุ ลส.๑๑ และใบ แตง่ ตงั้ ผบู้ งั คบั บญั ชา ลส.๑๓ เสนอผอู้ านวยการสานกั งานพนื้ ท่ีการศึกษา ๔.๕ ผอู้ านวยการสานกั งานพนื้ ท่ีการศกึ ษา ลงนามแทนผอู้ านวยการลกู เสอื จงั หวดั ๔.๖ เขตพนื้ ทีก่ ารศึกษานาสง่ สถานศกึ ษา เป็นอนั เสรจ็ สนิ้ การขอนมุ ตั ติ งั้ กล่มุ และ แตง่ ตงั้ ผกู้ ากบั กล่มุ รองผกู้ ากบั กลมุ่ ลกู เสอื การจดั ตงั้ กลมุ่ หรือกองลกู เสอื ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเลขาธิการคณะกรรมการบรหิ าร ลกู เสือแห่งชาติ หรอื ผอู้ านวยการลกู เสอื จงั หวดั แลว้ แตก่ รณี (ขอ้ บงั คบั พ.ศ. ๒๕๐๙ ขอ้ ๖๔)

การท่ีจะขอตงั้ กลมุ่ ลกู เสือไดจ้ ะตอ้ งมกี องลกู เสอื ตงั้ แต่ ๔ กองขนึ้ ไป กล่มุ ลกู เสอื แบง่ ออกไดเ้ ป็น ๒ ลกั ษณะ คือ ๑. กลมุ่ ลกู เสอื ท่สี มบูรณ์ ประกอบดว้ ยกองลกู เสือสารอง ๑ กอง สามญั ๑ กอง สามญั รุน่ ใหญ่ ๑ กอง วิสามญั ๑ กอง ๒. กล่มุ ลกู เสือท่ไี มส่ มบูรณ์ ประกอบดว้ ย กล่มุ ลกู เสอื ๒-๓ ประเภท ๆ ละ ๒ กองขนึ้ ไป หรอื มปี ระเภทเดียว ๔ กองขนึ้ ไป (ขอ้ บงั คบั ขอ้ ๖๓ พ.ศ. ๒๕๐๙)เมอ่ื รวมกองลกู เสือ ๔ กอง เป็น ๑ กล่มุ แลว้ จะตอ้ งมผี กู้ ากบั กลมุ่ ๑ คน และ มรี องผกู้ ากบั กลมุ่ เป็นผชู้ ว่ ย ผกู้ ากบั กลมุ่ ลกู เสอื โดยปกตใิ หแ้ ต่งตงั้ จากบรุ ุษ ควรมอี ายตุ งั้ แต่ ๓๐ ปีขนึ้ ไป แต่ถา้ จาเป็นอาจแต่งตงั้ จากบคุ คลทีม่ อี ายไุ ม่นอ้ ยกวา่ ๒๕ ปีกไ็ ด้ (ในขอ้ บงั คบั มิไดก้ าหนด ว่าตอ้ งผา่ นการอบรมแต่ อยา่ งใด) ขอ้ บงั คบั พ.ศ. ๒๕๐๙ ขอ้ ๖๖ และ ๖๗ ถา้ แต่งตงั้ ครูสตรเี ป็นผกู้ ากบั กล่มุ ลกู เสือ จะตอ้ งไดร้ บั เคร่อื งหมายวชิ าผกู้ ากบั ลกู เสือ ขนั้ วดู แบดจก์ ่อน(มติคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแห่งชาติ ครงั้ ท่ี๗/๒๕๐๙) ส่วนรองผกู้ ากบั กล่มุ นนั้ แต่งตงั้ จากบรุ ุษและสตรีได้ ควรมอี ายตุ งั้ แต่ ๓๐ปีขนึ้ ไป หรือ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒๕ ปีก็ได้ ขอ้ บงั คบั พ.ศ. ๒๕๐๙ขอ้ ๖๗ (และมิไดก้ าหนดวา่ ตอ้ งผา่ น การอบรม แตอ่ ย่างใด) หมายเหตุ ผกู้ ากบั กลมุ่ ลกู เสอื ควรจะไดแ้ ก่ ครูใหญ่ ผชู้ ว่ ยครูใหญ่ อาจารยใ์ หญ่ ผชู้ ว่ ยอาจารยใ์ หญ่ หรือครูอาวโุ ส

(จากคาแนะนาของสานกั งานคณะกรรมการบริหารลกู เสือแห่งชาติ เรอ่ื งขอ้ บงั คบั คณะลกู เสือแห่งชาติ ว่าดว้ ยการปกครอง หลกั สตู ร และวชิ าพเิ ศษลกู เสอื พ.ศ.๒๕๐๘ ขอ้ ๑๐) แบบพมิ พล์ ูกเสือ ลส.๑ คารอ้ งขอตงั้ กลมุ่ ลกู เสอื หรือกองลกู เสอื ลส.๒ ใบสมคั รขอเป็นผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสือ ผตู้ รวจการลกู เสอื และเจา้ หนา้ ท่ีลกู เสอื ลส.๓ ใบสมคั รเขา้ เป็นลกู เสอื ลส.๔ ใบโอนกองลกู เสือ ลส.๕ รายงานการลกู เสอื ประจาปี ลส.๖ ทะเบยี นกองลกู เสอื สารอง ลส.๗ ทะเบยี นกองลกู เสือสามญั ลส.๘ ทะเบยี นกองลกู เสือสามญั รุน่ ใหญ่ ลส.๙ ทะเบียนกองลกู เสือวสิ ามญั ลส.๑๐ รายงานการเงนิ ลกู เสอื ลส.๑๑ ใบตงั้ กลมุ่ ลกู เสือ ลส.๑๒ ใบตงั้ กองลกู เสือ ลส.๑๓ ใบตงั้ ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสือ ผตู้ รวจการลกู เสือ กรรมการลกู เสอื ลส.๑๔ ใบสาคญั ค่กู ับเข็มลกู เสือสมนาคณุ

ลส.๑๕ บตั รประจาตวั ลกู เสือสารอง ลส.๑๖ บตั รประจาตวั ลกู เสอื สามญั ลส.๑๗ บตั รประจาตวั ลกู เสือสามญั รุน่ ใหญ่ ลส.๑๘ บตั รประจาตวั ลกู เสอื วิสามญั ลส.๑๙ ใบเสรจ็ รบั เงนิ ค่าบารุงลกู เสอื หมายเหตุ – ลส.๑ คารอ้ งขอตงั้ กล่มุ ลกู เสอื หรอื กองลกู เสอื เกบ็ ไวส้ าหรบั หวั หนา้ ผดู้ แู ลกิจการลกู เสือในสถานศึกษาหรือหนว่ ยงานทางลกู เสอื – ลส.๒ ใบสมคั รขอเป็นผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื สาหรบั ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสือ ในสถานศึกษาหรอื หน่วยงานใหม่ ทีม่ ี ลส.๑๑ ใบตงั้ กล่มุ ลกู เสือหรอื ลส.๑๒ ใบตงั้ กองลกู เสอื แลว้ กรณีผมู้ ารบั งานในสถานศึกษา หรือหน่วยงานใหม่ ลส. ๑๓ เดิมถือว่าสนิ้ สดุ ใหผ้ รู้ บั งานใหมก่ รอกใบ ลส.๒ ใบ สมคั รขอเป็นผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสือ ในสถานศกึ ษาหรอื หน่วยงานใหมอ่ ีกครง้ั – ลส.๓ ใบสมคั รเขา้ เป็นลกู เสือ ใหใ้ ชส้ าหรบั สมคั รเขา้ เป็นลกู เสอื ใหม่ของแตล่ ะประเภท หรอื โอนมาจากสถานศึกษา ใหม่ -ลส.๔ ใบโอนกองลกู เสือ ใหใ้ ชส้ าหรบั ลกู เสือทีย่ า้ ยไปสถานศึกษาใหมข่ องแตล่ ะประเภท – ลส.๕ รายงานการลกู เสือประจาปี

รายงานการลกู เสอื ประจาปี ใหร้ าบงานภายในเดือนมถิ นุ ายนทกุ ปี – ลส.๑๙ ใบเสรจ็ รบั เงินค่าบารุงลกู เสือ การจัดหม่ลู กู เสอื การจดั หมู่ ตามปกตใิ นการฝึกอบรมผบู้ งั คบั บัญชาลกู เสอื กองหนึ่งแบง่ ออกเป็น 5 หม่ๆู ละ 8 คน โดยกาหนดหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบและจดั ตามตาแหน่ง ดงั นี้ 1.นายหมู่ 2.พลาธิการ 3.คนครวั 4.ผชู้ ่วยคนครวั 5.คนหานา้ 6.คนหาฟื น 7.ผชู้ ว่ ยเหลอื ท่วั ไป 8.รองนายหมู่ ชอื่ ของหม่ใู หเ้ ป็นไปตามประเภทของลกู เสอื ทก่ี าหนดไวใ้ นกฎกระทรวงว่าดว้ ย เคร่อื งแบบลกู เสือ (สาหรบั การฝึกอบรมหลกั สตู รทีไ่ มไ่ ดก้ าหนดชื่อหมไู่ ว้ ใหใ้ ชต้ วั เลข เรยี งตามลาดบั ) การกาหนดตวั บคุ คลท่ีจะใหแ้ ตล่ ะหม่มู ีสภาวะใกลเ้ คยี งกนั จึงควรไดแ้ บ่ง เฉล่ยี ชาย, หญิง, อาย,ุ วฒุ ิ, ภมู ลิ าเนา, ตาแหนง่ หนา้ ท่ีการงาน ใหก้ ระจายอยใู่ น

หม่ใู นอตั ราส่วนใกลเ้ คยี งกนั และใหม้ ีนายหม่ทู เ่ี ป็น ชาย, หญิง ในแต่ละวนั คละกนั เพ่ือความเหมาะสมยิ่งขนึ้ การเปลย่ี นหนา้ ทภ่ี ายในหมู่ ในเวลา 12.00 น. ทกุ วนั เป็นการใหผ้ รู้ บั การ ฝึกอบรมทกุ คนไดห้ มนุ เวยี นกนั รบั ผดิ ชอบในหนา้ ท่ีต่างๆ เพิ่มพนู ความรู,้ ประสบการณแ์ ละสรา้ งความเป็นประชาธิปไตย การเปิ ด-ปิ ดประชมุ กอง เร่อื ง พธิ เี ปิ ดและปิ ดประชมุ กอง ( สาหรบั ผสู้ อน ) 1. พธิ ีเปิ ดประชุมกอง ผกู้ ากบั ลกู เสือ ยืนหนา้ เสาธง ห่างเสาธงประมาณ 3 กา้ ว ใหส้ ญั ญาณเรียก แถว “ กอง ” ทาสญั ญาณมือเรยี กแถวครงึ่ วงกลม ลกู เสอื เขา้ แถวเป็นรูปครง่ึ วงกลม หมทู่ ่ี 1 อยทู่ างซา้ ยมือผกู้ ากบั เรียงลาดบั ไป จนถึงหมสู่ ดุ ทา้ ย นายหมขู่ องหมทู่ ่ี 1 ผกู้ ากบั และรองนายหม่ขู องหมสู่ ดุ ทา้ ย ยืน อยแู่ นวเดยี วกนั สว่ นรองผกู้ ากบั จะยนื อย่หู ลงั เสาธงเป็นแถวหนา้ กระดาน แถว เดียวห่างจากเสาธงพอประมาณ การจดั แถวระยะเคียงใหล้ กู เสอื ยกศอกขา้ งซา้ ย ฝามอื แตะเอว สว่ นรองนายหมู่ (ยกเวน้ หม่สู ดุ ทา้ ย) ใหเ้ หยยี ดแขนชา้ ยออกดา้ นขา้ ง เพื่อเวน้ ชอ่ งว่างระหว่างหมู่ 1 ช่วงแขน และลกู เสือทกุ คนสะบดั หนา้ ไปทางขวา ( ยกเวน้ นายหม่ขู องหมทู่ ่ี 1 ) ผกู้ ากบั ลกู เสือ เมือ่ เห็นเรยี บรอ้ ย ส่งั ” กอง – น่งิ “ ลกู เสอื ลดมือลงและสะบดั หนา้ กลบั มาอย่ใู นทา่ ตรง

ผู้กากบั ลูกเสอื ส่งั “ ตามระเบยี บพัก ” ลูกเสอื อยใู่ นทา่ ตามระเบยี บพกั ผกู้ ากบั ลูกเสือ ยนื ท่าตามระเบียบพกั ดว้ ย ผู้กากับลกู เสอื นดั หมายลกู เสือหมบู่ รกิ าร ชกั ธงชาติ 2 คน นารอ้ งเพลงชาติ 1 คน และนาสวดมนต์ 1 คน เสร็จแลว้ ส่งั “ กอง - ตรง ” ลกู เสอื อย่ใู นทา่ ตรง ผ้กู ากบั ลกู เสือ เมื่อส่งั เสรจ็ แลว้ ใหก้ า้ วถอยหลงั เฉียงไปทางขวาหรอื ซา้ ย กไ็ ด้ (ขอ้ เสนอแนะควรอย่ตู รงขา้ มกบั หม่บู ริการเพ่อื มิใหข้ วางทางลกู เสอื หม่บู ริการท่ี จะออกมาชกั ธงชาติ และควรอย่ใู นแนวเดยี วกบั เสาธง) ลูกเสอื หมทู่ ี่ทาหนา้ ที่บริการ 2 คน ฝากอาวธุ ไวก้ บั ลกู เสือขา้ งเคียงแลว้ วิ่ง ไปยนื ทีห่ นา้ เสาธงพรอ้ มกนั ยืนห่างเสาธงประมาณ 3 กา้ ว ทาวนั ทยหตั ถพ์ รอ้ ม กนั แลว้ ลดมอื ลง ผทู้ ยี่ นื ทางขวามอื กา้ วเทา้ ไปขา้ งหน้า 2 กา้ ว (กา้ วเทา้ ซา้ ย ถอยเทา้ ซา้ ย) แลว้ ชดิ เทา้ อยใู่ นทา่ ตรง แกเ้ ชือกผกู ธง แลว้ ถอยหลงั กลบั มายืนท่า เดิม สง่ เชอื กเสน้ หนงึ่ ใหค้ นขา้ งๆ โดยใหเ้ ชอื กเสน้ ทมี่ ผี นื ธงชาตอิ ย่ทู างขวามือ ชายธงอยรู่ ะดบั บา่ ผู้กากบั ลกู เสอื ส่งั “ กอง – วนั ทยาวธุ ” ลกู เสือ ผทู้ อ่ี ยใู่ นแถวทาวนั ทยาวธุ ทกุ คน ผกู้ ากบั ลกู เสือและรองผกู้ ากบั ลกู เสือ ทาวนั ทยหตั ถท์ กุ คน ลูกเสอื ตวั แทนหมบู่ รกิ าร 1 คน นารอ้ งเพลงชาติ เมื่อเพลงชาติจบและ

ธงชาติขนึ้ ส่ยู อดเสาแลว้ ผทู้ เ่ี ขา้ ไปแกเ้ ชือกก็จะเป็นผเู้ ขา้ ไปผูกเชือก ใชข้ นั้ ตอนการ กา้ วเทา้ เขา้ และกา้ วเทา้ ออกเหมือนการเขา้ ไปแกเ้ ชือกแลว้ กลบั มายืนคกู่ นั ทา วนั ทยหตั ถพ์ รอ้ มกนั ลดมอื ลง กลบั หลงั หนั วง่ิ กลบั ทเ่ี ดิม นาอาวธุ กลบั มาทา วนั ทยาวธุ เหมอื นกบั ลกู เสือคนอนื่ ๆ ผูก้ ากบั ลูกเสือและรองผกู้ ากบั ลูกเสอื เม่ือลกู เสอื ผชู้ กั ธงชาตลิ ดมือลง ผู้ กากบั รองผกู้ ากบั ก็ลดมอื ลงพรอ้ มกนั ดว้ ย ผู้กากับลกู เสอื จะกลบั ไปยนื ในตาแหนง่ เดมิ และส่งั “ เรียบ - อาวธุ ” อาจจะส่งั “ เตรยี มตวั สวดมนต์ ” ดว้ ยกไ็ ด(้ หรอื ไม่ส่งั กไ็ ดห้ ากไดป้ ฏิบตั ิในการเปิด ประชมุ กองบ่อยครงั้ โดย ลกู เสือจะสงั เกตผกู้ ากบั ถา้ ผกู้ ากบั ถอดหมวก ลกู เสือก็จะ ปฏิบตั ิตาม และยนื อย่ใู นท่าตรง เพือ่ เป็นการเตือนใหล้ กู เสือทกุ คนปฏบิ ตั ิพรอ้ มกนั ) ส่วนผกู้ ากบั และรองผกู้ ากบั ถอดหมวก ลกู เสือ จะยกอาวธุ ใหโ้ คนอาวธุ อย่รู ะหว่างปลายเทา้ ทงั้ สองขา้ ง และ ชิดเทา้ ขวา พงิ อาวธุ ไวท้ แี่ ขนขา้ งซา้ ย ใชม้ ือขวาถอดหมวกและหนบี หมวกดว้ ยฝ่ามอื ทงั้ สองขา้ ง ใหด้ า้ นในของหมวกอยทู่ างซา้ ย หนั ตราคณะลกู เสือแหง่ ชาตเิ ขา้ หา ตวั ตวั แทนหม่บู ริการ นาสวดมนต์ สงบนิ่ง โดยหยอ่ นแขนทงั้ สองลงมาดา้ นหนา้ ใช้ มือขวาจบั ขอบหมวก ใหด้ า้ นในของหมวกหนั เขา้ หาตวั ตราคณะลกู เสอื แห่งชาติ อย่ทู างขวาและใชม้ ือซา้ ยจบั ทีห่ ลงั มือขวา ในลกั ษณะประคอง

ผู้กากับลกู เสือ ส่งั “สวมหมวก” (หรือไม่ส่งั กไ็ ดห้ ากไดป้ ฏิบตั ใิ นการเปิดประชมุ กองบอ่ ยครง้ั โดย ลกู เสอื จะสงั เกตผกู้ ากบั ถา้ ผกู้ ากบั สวมหมวก ลกู เสอื กจ็ ะปฏบิ ตั ิ ตาม และยืนอยใู่ นท่าตรง ) ผกู้ ากบั ส่งั “ ตามระเบียบ –พกั ” ลกู เสือ อยใู่ นทา่ ตามระเบียบพกั การตรวจและการรายงาน การตรวจในพิธีเปิดประชมุ กองนี้ จะตรวจได้ 2 วิธี ถ้ารองผกู้ ากบั มี จานวนเพยี งพอก็จะใหร้ องผกู้ ากบั เป็นผตู้ รวจ แต่ถา้ จานวนรองผกู้ ากบั ไมเ่ พยี งพอ กจ็ ะใหน้ ายหม่เู ป็นผตู้ รวจ รองผู้กากบั ลกู เสือเป็ นผ้ตู รวจและรายงาน ผกู้ ากบั ลกู เสือจะนดั หมายรองผกู้ ากบั กอ่ นที่จะทาการตรวจ เชน่ จะใหต้ รวจเลบ็ มอื ฟัน ผา้ เช็ดหนา้ เชือก อปุ กรณก์ ารเรยี นอน่ื ๆ หรอื อาวธุ ประจาตวั ผูก้ ากับลูกเสอื ส่งั ใหร้ องผกู้ ากบั ตรวจอาวธุ ประจาตวั รองผู้กากบั ลูกเสอื เดินออกมาทาวนั ทยหตั ถแ์ สดงความเคารพผกู้ ากบั แลว้ เดนิ ไปยนื ตรงหนา้ นายหม่ลู กู เสือ ( สมมตุ ิวา่ เป็นหม่นู เรศวร ) โดยหา่ งจาก นายหม่ลู กู เสือประมาณ 3 กา้ ว นายหมลู่ กู เสอื ส่งั “ หม่นู เรศวร - ตรง ” “ วนั ทยา - วธุ ” ลกู เสือหมู่ นเรศวร ทกุ คนทาวนั ทยาวธุ รองผูก้ ากบั ลกู เสือ ทาวนั ทยหตั ถ์ รบั การเคารพ

นายหมลู่ กู เสอื เรียบอาวธุ แลว้ กา้ วเทา้ ซา้ ยมาขา้ งหนา้ 1 กา้ ว ทา วนั ทยาวธุ และรายงานว่า “ หมนู่ เรศวร พรอ้ มท่ีจะรบั การตรวจแลว้ ครบั ” เรียบ อาวธุ และถอยหลงั เขา้ ที่เดมิ ทาวนั ทยาวธุ และส่งั ลกู เสือในหม่นู เรศวรวา่ “ เรยี บ อาวธุ ” รองผ้กู ากบั ลูกเสือ กา้ วเทา้ ซา้ ยไปขา้ งหนา้ 1 กา้ ว โดยกา้ วเทา้ ซา้ ยเขา้ ไป เทา้ ขวาชิดตาม เพ่อื ตรวจนายหม่กู อ่ นแลว้ แยกเทา้ ไปทางขวาทลี ะกา้ ว ตรวจลกู เสอื คนตอ่ ๆ ไป จนครบทกุ คน นายหมู่ลกู เสอื เมื่อรบั การตรวจแลว้ ใหก้ า้ วออกมาขา้ งหนา้ 2 กา้ ว นาอาวธุ ออกมาดว้ ยแลว้ กลบั หลงั หนั หนั หนา้ เขา้ หาลกู เสอื ในหมขู่ องตนเอง แยก เทา้ กา้ วตามรองผกู้ ากบั ไปเรือ่ ย ๆ ( นายหม่จู ะอยทู่ างซา้ ยมือ และเยอื้ งหลงั รองผู้ กากบั เล็กนอ้ ย ) รองผู้กากบั ลกู เสือ ถา้ เหน็ ลกู เสือคนใด ไมม่ ีอาวธุ ประจาตวั กใ็ หบ้ อก ขอ้ บกพรอ่ งกบั นายหมู่ นายหมู่ลกู เสือ เมอื่ ตรวจเสร็จ นายหมจู่ ะวิง่ ออ้ มหลงั รองผกู้ ากบั และ ออ้ มหลงั แถว ไปยืนที่เดมิ รองผูก้ ากบั ลูกเสอื กจ็ ะเดินกลบั มายืนอยใู่ นทีเ่ ดิมเช่นกนั เพอ่ื รอรบั การขอบคณุ จากลกู เสอื นายหมลู่ กู เสอื ส่งั “ วนั ทยา – วธุ ” หม่นู เรศวร ขอขอบคณุ ครบั “ เรียบ – อาวธุ ” และ “ ตามระเบียบ – พกั ”

รองผู้กากับลกู เสือ ทาวนั ทยหตั ถต์ อบลกู เสอื ลดมือลงและทากลบั หลงั หนั รายงานผลการตรวจตอ่ ผกู้ ากบั ใครเสร็จก่อนรายงานกอ่ น โดยยืนอยู่ ตรงหนา้ หมลู่ กู เสือท่ีตนเองตรวจ หา่ งจากผกู้ ากบั พอประมาณ จะยืนในทศิ ทางใด ก็ได้ ทาวนั ทยหตั ถแ์ ลว้ รายงาน “ ตามท่ีขา้ พเจา้ ไดร้ บั มอบหมายจากผกู้ ากบั ใหไ้ ป ตรวจอาวธุ ประจาตวั ลกู เสือหม่นู เรศวรปรากฏว่ามคี รบทกุ คนครบั ” ลดมอื ลง แลว้ กลบั ไปยนื หลงั เสาธง ผ้กู ากบั ลกู เสือ ทาวนั ทยหตั ถ์ รบั การเคารพทกุ ครง้ั เมื่อลดมอื ลงแลว้ ส่งั “ กองตรง ” “ กองแยก ”ลกู เสอื ทาขวาหนั แลว้ แยกแถวออกไปอย่ใู นท่บี ริเวณ ใกล้ ๆ เพ่ือเตรียมตวั เลน่ เกมหรอื รอ้ งเพลงตามทีผ่ สู้ อนไดเ้ ตรยี มไว้ นายหมตู่ รวจและรายงาน ในบางครง้ั รองผกู้ ากบั มีจานวนนอ้ ยหรือไมม่ เี ลย ผกู้ ากบั จะใหน้ ายหม่เู ป็น ผตู้ รวจและรายงานแทนรองผกู้ ากบั โดยวธิ ีการดงั นี้ ผู้กากบั ลูกเสือ ส่งั “ นายหมตู่ รวจอาวธุ ประจาตวั ในหม่ขู องตน “ นายหมลู่ ูกเสอื เมือ่ ไดย้ ินคาส่งั นายหม่จู ะทาวนั ทยาวธุ ส่วนลกู เสือทกุ คนจะอยู่ ในทา่ ตามระเบยี บพกั ผกู้ ากับลกู เสือ วนั ทยหตั ถร์ บั การเคารพ ( ทาทกุ ครงั้ ) นายหมลู่ ูกเสอื เรียบอาวธุ แลว้ กา้ วเทา้ ออกมา 3 กา้ ว กลบั หลงั หนั ไปหาหมู่ ของตน

รองนายหมลู่ ูกเสือ เม่ือนายหม่กู า้ วเทา้ ออกมาขา้ งหนา้ รองนายหม่กู ลบั หลงั หนั วงิ่ ออ้ มหลงั หม่ขู องตนไปทาหนา้ ที่แทนนายหมู่ ( รองนายหม่ทู าหนา้ ทีเ่ หมือนนายหมู่ และนายหม่ทู าหนา้ ทเี่ หมอื นรองผกู้ ากบั ทกุ อยา่ ง ยกเวน้ การออกไปรายงาน ) การรายงานของนายหมู่ การรายงาน หมใู่ ดตรวจเสร็จก่อน ใหก้ ลบั หลงั หนั มาหาผกู้ ากบั แลว้ ยืนรอจนกว่านายหม่บู ริการจะตรวจเสร็จ เมอ่ื หม่บู รกิ ารตรวจเสรจ็ แลว้ จะนานายหมู่ ทกุ หมอู่ อกมาเขา้ แถวหนา้ กระดานหนา้ ผกู้ ากบั หา่ งประมาณ 6 กา้ ว ใหน้ ายหมู่ บรกิ ารอย่ทู างซา้ ยมือของผกู้ ากบั เรยี งตามลาดบั การรายงาน 1. เมอื่ หมทู่ ่ี 2 เป็นหมบู่ รกิ าร นายหมทู่ ่ี 2 จะเป็นผรู้ ายงาน 2. นายหมู่ หม่ทู ี่ 2 วนั ทยาวธุ - เรียบอาวธุ แลว้ กา้ วเทา้ ซา้ ยออกมา ขา้ งหนา้ 1 กา้ ว ทาวนั ทยาวธุ และสะบดั หนา้ ไปทางผกู้ ากบั ( รายงานเหมือนกับ ที่ รองผกู้ ากบั เป็นผรู้ ายงาน ) เสรจ็ แลว้ เรยี บอาวธุ ถอยหลงั ไปยืนทเี่ ดิม ทา วนั ทยาวธุ ขณะเดยี วกนั นายหมู่ หม่ทู ี่ 3 ที่จะเป็นผรู้ ายงานคนต่อไป ใหท้ าวนั ทยาวธุ พรอ้ ม กบั นายหมู่ หม่ทู ี่ 2 ดว้ ย และเรียบอาวธุ พรอ้ มกนั 3. นายหมู่ หม่ทู ่ี 3 กา้ วออกมาขา้ งหนา้ 1 กา้ ว ทาวนั ทยาวธุ สะบดั

หนา้ ไปทางผกู้ ากบั นายหมู่ หมทู่ ่ี 3 เมือ่ กล่าวรายงานจบใหเ้ รยี บอาวธุ ถอยหลงั ไปยนื ทเี่ ดิม ทาวนั ทยาวธุ ขณะเดียวกนั นายหมู่ หม่ทู ่ี 4 ทาวนั ทยาวธุ พรอ้ มกบั นายหมู่ หมทู่ ่ี 3 และเรียบอาวธุ พรอ้ มกนั จะรายงานโดยวิธีดงั กล่าวนจี้ นครบทกุ คน ผูก้ ากับลกู เสอื จะทาความเคารพตอบทกุ ครง้ั เมอ่ื ลกู เสือทาความเคารพ และจะลดมือลงทกุ ครง้ั เม่ือลกู เสอื เรียบอาวธุ คนสดุ ทา้ ยรายงานแลว้ ก็จะส่งั “ เขา้ ที่ ” นายหม่ลู ูกเสือ เมื่อไดร้ บั คาส่งั ใหเ้ ขา้ ทจี่ ะทาขวาหนั พรอ้ มกัน แลว้ วงิ่ กลบั ที่ เดมิ รองนายหมู่ลกู เสอื เมอื่ นายหม่วู ่ิงกลบั มาทหี่ มขู่ องตน ใหก้ ลบั หลงั หนั แลว้ วิ่งออ้ มไปยนื อย่ทู า้ ยแถวของหม่เู หมือนเดิม ทงั้ นายหม่แู ละรองนายหมู่ จะมายนื อย่ใู นทา่ ตามระเบยี บพกั เหมอื นกบั ลกู เสอื ในหมขู่ องตน 2. เกมหรอื เพลง เกมทใ่ี ชส้ อนควรใหเ้ หมาะสมกบั เพศและวยั ผเู้ ล่น หรือจะนาเพลงมา รอ้ งกไ็ ด้ เพอ่ื ที่จะนาเขา้ ส่เู นอื้ หาต่อไป 3. การสอนตามเนือ้ หา เนอื้ หาวชิ าที่จะนามาสอน ตอ้ งเตรียมไวแ้ ลว้ จะเป็นการสอนแบบฐาน หรอื เป็นการบรรยายรวมก็ตอ้ งมีการเตรยี มล่วงหนา้ ไวก้ อ่ น ถา้ ไมเ่ ตรยี มการสอนผเู้ รยี น อาจจะเบ่อื ความสนใจก็จะไม่มใี นทสี่ ดุ กจ็ ะไม่ชอบในกิจกรรมลกู เสือเลย 4. การเลา่ นิทานหรือเรอ่ื งสน้ั ทเี่ ป็ นคติสอนใจ

ผสู้ อนจะตอ้ งเตรียมนทิ าน หรือเรือ่ งสน้ั ท่เี ป็นคติสอนใจ หรือสถานการณท์ ่ี สอดคลอ้ งกบั บทเรยี น และอย่าลืมใหเ้ หมาะสมกบั เพศและวัยดว้ ยเชน่ กนั 5. พธิ ีปิ ดประชมุ กอง ผกู้ ากบั ลูกเสอื ใชส้ ญั ญาณ เรียกแถวครงึ่ วงกลมเหมอื นพธิ ีเปิดประชมุ กอง การจดั แถวและคาส่งั ก็เหมือนกบั พิธีเปิดประชมุ กอง แลว้ ส่งั ตามระเบยี บพกั นดั หมาย เก่ยี วกบั การเตรียมการในการเรียนของสปั ดาหต์ ่อไป แลว้ ส่ังใหร้ องผู้ กากบั ตรวจเคร่อื งแบบลกู เสือ เพราะลกู เสอื จะตอ้ งแต่งกายใหเ้ รยี บรอ้ ยและถกู ตอ้ ง กอ่ นที่จะไปเรยี นวิชาอน่ื หรอื กลบั บา้ น รองผกู้ ากับลกู เสือ เดนิ ไปยงั หมลู่ กู เสือท่ตี นเองไดร้ บั หมายใหต้ รวจ ยืน ห่าง จากนายหมู่ 3 กา้ ว ปฏบิ ตั ิเหมือน กบั พธิ ีเปิดประชมุ กอง การตรวจ เคร่ืองแบบ ใหต้ รวจนายหม่กู ่อน หลงั จากนายหมรู่ ายงานเหมอื นพธิ ีเปิดแลว้ รองผู้ กากบั จะกา้ ว ไปขา้ งหนา้ 1 กา้ ว ตรวจเครอ่ื งแบบดา้ นหนา้ ของนายหมู่ เสรจ็ แลว้ ส่งั ใหน้ ายหมู่ “ กลบั หลงั - หนั ” นายหม่กู ลบั หลงั หนั คนเดียว รองผกู้ ากบั จะตรวจเคร่ืองแบบ ดา้ นหลงั ของนายหมแู่ ลว้ ส่งั “ กลบั หลงั – หนั ” นายหม่ทู ากลบั หลงั หนั รองผกู้ ากบั เดินตรวจเคร่อื งแบบลกู เสือคนถดั ไป โดยการกา้ วเทา้ ไปทางขวาเชน่ เดียวกบั การ ตรวจในพิธีเปิดประชมุ กอง นายหมกู่ า้ วเทา้ ออกไปขา้ งหนา้ 2 กา้ ว แลว้ ทากลบั หลงั หนั และกา้ วเทา้ ตามรองผกู้ ากบั ไปเชน่ เดยี วกบั การตรวจในพธิ ีเปิดประชมุ กอง ขณะทีก่ า้ วเทา้ ใหเ้ ยือ้ งมาทางขา้ งหลงั รองผกู้ ากบั เล็กนอ้ ย รองผกู้ ากบั เมอื่ ตรวจ เครอ่ื งแบบดา้ นหนา้ ของคนสดุ ทา้ ยเสร็จแลว้ ใหเ้ ดินออ้ มหลงั เพอื่ ตรวจดา้ นหลงั การ

ปฏบิ ตั ทิ าเช่นเดียวกบั การเดินตรวจดา้ นหนา้ โดยมนี ายหมกู่ า้ วเทา้ ตามไปจนถึง ลกู เสอื คนอย่หู วั แถว และ นายหมจู่ ึงเขา้ ที่เดมิ รองผกู้ ากบั ลกู เสือ เดนิ มายนื หนา้ นายหม่ลู กู เสือ นายหมู่ลูกเสือ ส่งั “ วนั ทยา – วธุ หม่นู เรศวรขอขอบคณุ ครบั ” “ เรยี บ – อาวธุ ” และ “ ตามระเบยี บ – พกั ” รองผูก้ ากับลูกเสือ ออกไปรายงานผลการตรวจเหมอื นพธิ ีเปิดประชมุ กองเสรจ็ แลว้ ก็กลบั ไปยืนหลงั เสาธงเช่นเดมิ ผกู้ ากับลูกเสอื ส่งั “ กอง – ตรง ” แลว้ กา้ วถอยหลงั ไปยนื ในแนวเดียวกบั เสา ธง ลกู เสอื หมทู่ ีท่ าหนา้ ท่บี รกิ าร 2 คน ฝากอาวธุ ไวก้ บั ลกู เสอื ขา้ งเคยี ง แลว้ วิง่ ไปยืนทหี่ นา้ เสาธงพรอ้ มกนั ยืนห่างเสาธงประมาณ 3 กา้ ว ทาวนั ทยหตั ถ์ พรอ้ มกนั แลว้ ลดมือลงผทู้ ่ยี นื ทางขวามอื จะกา้ วเทา้ ไปขา้ งหนา้ 2 กา้ ว แลว้ ชดิ เทา้ อย่ใู นทา่ ตรง แกเ้ ชอื กผกู ธงชาตแิ ลว้ ถอยหลงั กลบั มายืนท่าเดมิ สง่ เชือกเสน้ หนึง่ ใหล้ กู เสอื คนขา้ ง ๆ โดยใหเ้ ชอื กที่มีผนื ธงชาติอยทู่ างขวามือชายธงอย่รู ะดบั บ่า ผกู้ ากบั ลูกเสือ ส่งั “ กอง – วนั ทยา-วธุ ” ลกู เสือ ผชู้ กั ธงคอื คนทอ่ี ยดู่ า้ นขวา สาวเชอื กนาธงชาตลิ ง โดยการสาวเชือกยาว 3 ครงั้ และครงั้ ท่ี 4 ใหก้ ระตกุ เชอื กธงชาติสนั้ ๆ อย่าใหช้ ายธงถึงพนื้ ควรใหอ้ ยู่ แนวบา่ คนทางขวานาเชือกไปผกู ท่ีเสาธง ปฏบิ ตั เิ หมือนพิธีเปิดประชมุ กองแลว้ กลบั ไปยนื ทีห่ มขู่ องตนเอง นาอาวธุ มาถืออยใู่ นท่าวนั ทยาวธุ เหมือนกบั ลกู เสือคน อืน่ ๆ ผู้กากบั ลูกเสอื และรองผกู้ ากับลกู เสือ ปฏิบตั ิเช่นเดียวกบั การชกั ธงชาติ ขนึ้

ผกู้ ากบั ลูกเสือ เมอื่ ลกู เสอื หม่บู ริการกลบั ไปยนื ทเ่ี ดิมแลว้ ผกู้ ากบั ลกู เสอื จะกา้ ว มายืนหนา้ เสาธงตามเดิม แลว้ ส่งั “ เรียบ – อาวธุ ” ลกู เสอื เรียบอาวธุ ทกุ คน ผ้กู ากับลกู เสือ ส่งั “ กอง – เลิก ” ลูกเสือ ทาวนั ทยาวธุ และกล่าวคา “ ขอบคณุ ครบั ” แลว้ เรียบอาวธุ โดยไม่ตอ้ งมี คาส่งั แลว้ ทาขวาหนั แยกยา้ ยกนั กลบั ไป หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 ประวัตกิ ารลูกเสอื โลกและการลูกเสือ ไทย ประวตั ิการลูกเสือโลก โรเบิรต์ สตีเฟนสนั สไมธ์ เบเดน-โพเอลล์ (Robert Stephenson Smyth Baden - Powell) หรือมกั จะเรยี กกนั สนั้ ๆ ว่า ลอรด์ เบเดน-โพเอลล์

และรูจ้ กั กนั ดใี นวงการลกู เสือในนาม บี.พี. (B.P.) คือผทู้ ่ีใหก้ าเนดิ กจิ การลกู เสือ (SCOUT) ขนึ้ มาในโลกใบนี้ การกาเนดิ ของลกู เสอื ไม่ไดเ้ กิดขนึ้ เพียงขา้ มคนื แต่บ่ม เพาะอยใู่ นตวั ของท่าน บี.พ.ี มาอย่างยาวนาน เม่ืออายไุ ด้ 19 ปี ทา่ นไดเ้ ขา้ รว่ มกบั กองทหารมา้ ขององั กฤษไปประจาอยทู่ ี่ อนิ เดีย ความสามารถอนั โดดเดน่ ดา้ นการใชช้ ีวติ กลางแจง้ ของท่าน แสดงใหเ้ หน็ จาก การทท่ี า่ นไดร้ บั รางวลั การลา่ หมปู ่าบนหลงั มาดว้ ยหอกเลม่ เดยี ว (Pig Sticking) ซ่งึ เป็นกีฬาท่อี นั ตราย และไดร้ บั ความนยิ มอยา่ งมาก บ.ี พี. มีพน่ี อ้ ง 7 คน อย่กู บั มารดา โดยกาพรา้ บดิ าตงั้ แต่อายุ 3 ขวบ ในวยั เด็ก ของท่านแสดงใหเ้ หน็ ถึงนิสยั รกั ผจญภยั และชอบใชช้ วี ิตกลางแจง้ ทา่ นมกั จะเดนิ ทางไกลไปพกั แรมรว่ มกบั พ่ีนอ้ งของทา่ นตามท่ีตา่ ง ๆ ในองั กฤษ ชอบท่องเท่ียวในป่า รอบโรงเรียน ซมุ่ ดสู ตั วต์ ่าง ๆ นอกจากนนั้ ยงั เป็นผรู้ กั ษาประตมู ือดี และเป็นนกั แสดง ละครท่ไี ดร้ บั ความนยิ มในโรงเรยี น รวมทงั้ รกั ดนตรี และวาดภาพอีกดว้ ย ในปี ค.ศ. 1887 บี.พ.ี ไดไ้ ปประจาการอยใู่ นแอฟรกิ า ซ่ึงตอ้ งรบกบั ชนเผา่ พนื้ เมอื งท่ปี ่าเถ่ือนดรุ า้ ย ไมว่ ่าจะเป็น ซลู ู อาซนั ติ หรอื มาตาบีลี และดว้ ย ความสามารถของท่านในการสอดแนม การสะกดรอย รวมทงั้ ความกลา้ หาญของท่าน ทาใหท้ ่านเป็นท่หี วาดกลวั ของบรรดาชนพนื้ เมอื งจนถึงกบั ตงั้ ฉายาท่านวา่ \"อมิ ปีซ่า\" (Impeesa) หมายความวา่ \"หมาป่าผไู้ ม่เคยหลบั นอน\" และดว้ ยความสามารถ ของทา่ น ทาใหท้ า่ นไดเ้ ลอื่ นยศอยา่ งรวดเร็ว ในปี ค.ศ. 1889 องั กฤษมปี ัญหาดา้ นความสมั พนั ธก์ บั สาธารณรฐั ทราน สวาล พนั เอก เบเดน-โพเอลล์ ไดร้ บั คาส่งั ใหน้ าทหารมา้ สองกองพนั เดินทางไป ปอ้ งกนั เมอื งมาฟอคี ิง ซง่ึ เป็นเมืองยทุ ธศาสตรส์ าคญั เพราะตงั้ อยู่ใจกลางของ แอฟริกาใต้ ทน่ี ีเ่ องเป็นสถานทีท่ ี่ทาใหท้ ่านไดร้ บั ชอื่ เสียงเป็นอย่างมาก ในการรกั ษา

เมืองไวจ้ ากเงอื้ มมือของขา้ ศกึ ท่ลี อ้ มอยดู่ ว้ ยกาลงั มากกวา่ อยา่ งมหาศาลไวไ้ ดถ้ ึง 217 วนั จนกระท่งั กองทหารขององั กฤษไดบ้ กุ เขา้ ไปชว่ ยเหลอื เป็นผลสาเรจ็ หลงั จากศกึ คราวนี้ ท่านไดเ้ ลื่อนยศเป็นพลตรี และไดร้ บั การนบั ถือจากชาว องั กฤษใหเ้ ป็นวรี บรุ ุษ ในปี ค.ศ. 1901 บี.พี. เดนิ ทางกลบั ไปยงั องั กฤษ และดว้ ยชื่อเสยี งของ ทา่ นในฐานะวรี บรุ ุษ ทาใหห้ นงั สอื ทท่ี า่ นเขียนขนึ้ เพอื่ ใหท้ หารอ่าน ช่ือ \"Aids to Scouting\" หรือ \"การสอดแนมเบอื้ งตน้ \" ไดร้ บั ความนยิ มจนกระท่งั นาไปใชเ้ ป็น แบบเรียนในโรงเรยี นชายมากมาย จดุ นเี้ อง ทาให้ บี.พ.ี เกดิ ประกายความคดิ ถงึ โอกาสทีจ่ ะพฒั นาเด็กองั กฤษใหเ้ ตบิ โต ขนึ้ เป็นผใู้ หญ่ท่ีเขม้ แขง็ เพราะถา้ หนงั สือสาหรบั ผใู้ หญเ่ ก่ยี วกบั การปฏบิ ตั กิ ารสอด แนม สามารถดงึ ดดู ความสนใจของเด็กได้ ถา้ ท่านทาหนงั สอื สาหรบั เด็กโดยเฉพาะก็ คงจะไดผ้ ลมากยิง่ ขนึ้ บ.ี พี. จึงเริม่ ศึกษาเรื่องราวของการฝึกอบรมเดก็ จากทกุ ยคุ ทกุ สมยั และ นาประสพการณใ์ นอินเดยี และแอฟริกา มาดดั แปลง และค่อย ๆ พัฒนาความคิด เก่ยี วกบั การลกู เสอื อย่างชา้ ๆ ดว้ ยความระมดั ระวงั จนกระท่งั ฤดรู อ้ นของปี ค.ศ. 1907 ทา่ นจึงไดร้ วบรวมเด็กยีส่ บิ คน ไปพกั แรมกบั ทา่ นท่เี กาะบราวซี

(Brownsea) ในช่องแคบองั กฤษ ซงึ่ นบั เป็นการอย่คู า่ ยพกั แรมของลกู เสอื ครง้ั แรกของโลก และประสบผลสาเรจ็ อยา่ งงดงาม ตน้ ปี ค.ศ. 1908 บ.ี พี. ไดจ้ ดั พิมพค์ ่มู ือการฝึกอบรมขนึ้ แบ่งออกเป็น หกตอนในชือ่ \"Scouting for Boys\" หรอื \"การสอดแนมสาหรบั เด็ก\" ซง่ึ มี ภาพประกอบที่เขียนโดยตวั ทา่ นเองอย่ดู ว้ ย เมอ่ื หนงั สือเรม่ิ วางจาหนา่ ย แม่แต่ตวั ท่าน เองก็ไมน่ ึกไมฝ่ ันวา่ มนั จะเป็นจดุ ทีท่ าใหเ้ กิดกองลกู เสือขนึ้ มากมาย ไม่เฉพาะใน องั กฤษเทา่ นนั้ แต่แพรห่ ลายไปในหลาย ๆ ประเทศอกี ดว้ ย เมื่อกจิ การลกู เสือเติบโตขนึ้ บี.พ.ี ไดม้ องเหน็ โอกาสทจี่ ะไดท้ าประโยชนใ์ หก้ บั สงั คมได้ ดว้ ยการใชก้ ารลกู เสอื บ่มเพาะเด็กรุน่ ใหม่ใหเ้ ป็นพลเมอื งดี แทนท่ีจะตอ้ งมาฝึกผใู้ หญ่ ใหเ้ ป็นทหาร ทา่ นจึงไดล้ าออกจากกองทพั ในปี ค.ศ. 1910 ขณะท่มี ียศพนั โท เพือ่ เดนิ เขา้ ส่ชู ีวิตทท่ี า่ นเรียกว่า \"ชวี ติ ท่ีสอง\" (Second Life) ที่ใหบ้ รกิ ารโลกใบนดี้ ว้ ย กจิ การลกู เสอื และไดร้ บั ผลรางวลั เป็นความรกั และนบั ถือจากลกู เสอื ท่วั โลก เมอ่ื บี.พ.ี มีอายคุ รบ 80 ปี กาลงั ของท่านก็เรม่ิ ทรุดลง ท่านไดก้ ลบั ไป พกั ผ่อนในชว่ งบนั้ ปลายชีวติ ในแอฟรกิ าทีท่ ่านรกั และถึงแก่กรรมในวนั ท่ี 8 มกราคม ค.ศ. 1941 เมอ่ื มอี ายุ 84 ปี ค.ศ. 1907 - มีการเขา้ คา่ ยพกั แรมลกู เสอื เป็นครง้ั แรก ทเ่ี กาะบราวซี

ค.ศ. 1908 - หนงั สือ Scouting for Boys ตีพิมพ์ และเริ่มกาเนดิ กองลกู เสือขนึ้ ในหลายประเทศ ค.ศ. 1909 - จดั ตงั้ สานกั งานลกู เสือองั กฤษ และมกี ารชมุ นมุ ลกู เสือองั กฤษเป็นครง้ั แรก ค.ศ. 1910 - จดั ตงั้ กองลกู เสือหญิง (Girl Guide) โดยมแี อกนสี นอ้ งสาวของ บ.ี พ.ี เป็นหวั หนา้ ค.ศ. 1911 - จดั ตงั้ กองลกู เสอื สมทุ ร ค.ศ. 1912 - บี.พี. เดินทางไปเยี่ยมลกู เสือในประเทศต่าง ๆ รอบโลก ค.ศ. 1914 - เกดิ สงครามโลกครง้ั แรก บี.พี. มอบลกู เสือใหท้ าหนา้ ทชี่ ว่ ยทหาร เชน่ รกั ษาสะพาน และสายโทรศพั ท์ ทาหนา้ ที่ผสู้ อื่ ข่าว ช่วยงานในโรงพยาบาล ค.ศ. 1916 - จดั ตงั้ กองลกู เสือสารอง ค.ศ. 1918 - จดั ตงั้ กองลกู เสือวสิ ามญั (Rover Scout) ค.ศ. 1919 - ตงั้ กิลเวลลป์ ารด์ (Gi well Park) และเร่ิมดาเนินการฝึกอบรมวิชาผู้ กากบั ลกู เสอื ขนั้ วดู แบดจ์ ค.ศ. 1920 - มีการชมุ นมุ ลกู เสอื โลกครง้ั แรกที่กรุงลอนดอน ประเทศองั กฤษ และ บ.ี พ.ี ไดร้ บั เลือกใหเ้ ป็นประมขุ ของคณะลกู สือโลก (Chief Scout of the World) ค.ศ. 1922 - บี.พี. เขียนหนงั สอื \"Revering to Success\" หรอื \"การทอ่ งเท่ียว สคู่ วามสาเรจ็ \" ซงึ่ เป็นค่มู ือสาหรบั ลกู เสือวสิ ามญั ค.ศ. 1926 - จดั ตงั้ กองลกู เสือพิการ

ค.ศ. 1937 - บี.พ.ี ไดร้ บั พระราชธานบรรดาศกั ดิเ์ ป็น Lord Baden Powell of Gi well ค.ศ. 1941 - บี.พี. ถึงแก่กรรมเมอื่ อายไุ ด้ 84 ปี ปี ค.ศ. 1912 บ.ี พี. เดินทางรอบโลกไปพบปะกบั ลกู เสอื ในประเทศตา่ ง ๆ และ เริม่ ตน้ เสรมิ สรา้ งการเป็นพน่ี อ้ งกนั ของลกู เสือท่วั โลก นา่ เสยี ดายทส่ี งครามโลกครง้ั ท่ี หน่งึ ทาใหง้ านนตี้ อ้ งหยดุ ชงกั ลงช่วั ขณะ แตก่ ็เร่มิ สานตอ่ หลังจากสงครามสนิ้ สดุ ลง จนกระท่งั ปี ค.ศ. 1920 กไ็ ดจ้ ดั ใหม้ กี ารชมุ นมุ ลกู เสือระหว่างประเทศขนึ้ ในกรุง ลอนดอน ซึง่ ถอื เป็นการชมุ นมุ ลกู เสอื โลกเป็นครง้ั แรก (1at World Jamboree) และในคนื วนั สดุ ทา้ ยของการชมุ นมุ บรรดาลกู เสือท่ีเขา้ รว่ มชมุ นมุ ก็ รว่ มกนั ประกาศให้ บี.พี. ดารงตาแหนง่ ประมขุ ของคณะลกู สือโลก (Chief Scout of the World) และเมอื่ กิจการลกู เสอื ดาเนินมาครบ 21 ปี พระเจา้ ยอรช์ ที่ 5 ก็ ไดพ้ ระราชทานบรรดาศกั ดิใ์ หท้ ่านเป็นขนุ นาง มีช่อื ยศวา่ Lord Baden Powell of Gi well องคก์ รลกู เสือ องคก์ ารลกู เสือโลก ปัจจบุ นั การลกู เสือไดเ้ จรญิ เติบโตและแพรข่ ยายไปท่วั โลก ซง่ึ มีสมาชกิ กว่า 30 ลา้ น คน ใน 161 ประเทศ และเขตปกครอง อาณานิคมแควน้ ตา่ งๆ ท่วั โลก มีองคก์ าร ลกู เสือโลก (World Organization of the Scout Movement) โดยสานกั งานลกู เสอื โลก (World Scout Bureau) ซง่ึ ตงั้ อย่ทู ี่กรุงเจนีวา ประเทศสวสิ เซอรแ์ ลนด์ ทาหนา้ ท่ี เป็นสานกั งานเลขาธิการฯ ผดู้ แู ลการดาเนนิ งานของประเทศสมาชกิ ใหพ้ ฒั นาไปตาม

กรอบนโยบายและแนวทางของ องคก์ ารลกู เสือโลก และตามมตขิ องทปี่ ระชมุ สมชั ชา ลกู เสอื โลก (World Scout Conference) ซ่ึงจัดใหม้ ีขนึ้ ในทกุ ๆ 4 ปี นอกจากสานกั งานลกู เสือโลก (World Scout Bureau) กรุงเจนวี า แลว้ ยงั มีสานกั งาน ลกู เสอื ภาคพนื้ อยใู่ นภมู ิภาคท่วั โลก อกี 6 แหง่ ไดแ้ ก่ 1. ภาคพนื้ ยโุ รป (Europe) - มีประเทศสมาชกิ 41 ประเทศ สานกั งานใหญต่ งั้ อย่ทู ก่ี รุงเจนวี า ประเทศสวสิ เซอรแ์ ลนด์ และกรุงบรส้ เซลส์ ประเทศเบลเยี่ยม 2. ภาคพนื้ ยเู รเชยี (Eurasia) - มีประเทศสมาชกิ 9 ประเทศ สานกั งานใหญ่ตงั้ อย่ทู สี่ าธารณรฐั ยเู ครน และสานกั งานสาขา ท่กี รุงมอสโคว์ ประเทศรสั เซยี 3. ภาคพนื้ อนิ เตอรอ์ เมริกา (InterAmerican) - มปี ระเทศสมาชกิ 32 ประเทศ สานกั งานใหญ่ตงั้ อย่ทู ก่ี รุงซานตเิ อโก ประเทศชลิ ี 4. ภาคพนื้ อาหรบั (Arab) - มีประเทศสมาชกิ 18 ประเทศ สานกั งานใหญต่ งั้ อย่ทู ่กี รุงไคโร ประเทศอียปิ ต์ 5. ภาคพนื้ อาฟริกา (Africa) - มีประเทศสมาชกิ 37 ประเทศ สานกั งานใหญต่ งั้ อยทู่ ก่ี รุงไนโรบี ประเทศเคนยา - สานกั งานสาขา 1. ตงั้ อยทู่ ่กี รุงดาการ์ ประเทศเซเนกลั - สานกั งานสาขา 2. ตงั้ อยทู่ ่ี กรุงเคปทาวน์ ประเทศอาฟริกาใต้ 6. ภาคพนื้ เอเชยี -แปซิฟิก (Asia-Pacific) - มปี ระเทศสมาชิก 24 ประเทศ

สานกั งานใหญ่ตงั้ อย่ทู ่ีกรุงมนิลา ประเทศฟิลปิ ปินส์ วตั ถปุ ระสงค์ หลักการสาคัญ และวิธกี ารของลกู เสือ การลกู เสอื เป็นขบวนการทางการศกึ ษาสาหรบั เยาวชน ทีม่ ีวตั ถปุ ระสงคจ์ ะสรา้ ง บคุ ลกิ ภาพ และพฒั นาการทางสงั คมใหก้ บั เยาวชนเพื่อใหเ้ ป็นพลเมอื งดีของประเทศ โดยใชว้ ธิ ีการของลกู เสือ ยดึ ม่นั ในกฎและคาปฏญิ าณ (Scout Promise and Laws) การเรยี นรูโ้ ดยการกระทา (Learning by Doing) เนน้ การปฏิบตั ิกิจกรรมกลางแจง้ (Outdoor Activities) การใชร้ ะบบหมู่ (Patrol System) และความกา้ วหนา้ ของ บคุ คล โดยใชห้ ลกั สตู รและวชิ าพิเศษลกู เสอื (Proficiency Badges) การลกู เสอื เป็นการอาสาสมคั รทางานใหก้ ารศกึ ษาพฒั นาเยาวชนโดยท่วั ไป ไม่มกี ารแบง่ แยกกีดกนั ในเรอื่ งเชอื้ ชาติ ผวิ พรรณ วรรณะ ลทั ธิทางศาสนาใดๆ และไม่ อย่ภู ายใตอ้ ทิ ธิพล หรอื เก่ยี วขอ้ งกบั การเมอื ง โดยยดึ ปฏิบตั ติ ามอดุ มการณข์ องผใู้ ห้ กาเนิดลกู เสือโลกอยา่ งม่นั คง วงการศกึ ษาท่วั โลกถือวา่ การลกู เสอื เป็นขบวนการท่ี ใหก้ ารศึกษาแกเ่ ยาวชนนอกระบบโรงเรียน (Non-formal Education Movement) ภายใตพ้ นื้ ฐาน ดงั นี้ 1. มีหนา้ ท่ตี อ่ ศาสนาทตี่ นเคารพนบั ถอื 2. มีความจงรกั ภกั ดตี ่อชาตบิ า้ นเมือง 3. มคี วามรบั ผดิ ชอบในการพฒั นาตนเอง 4. เขา้ รว่ มในการพฒั นาสงั คมดว้ ยการยกยอ่ งและเคารพในเกยี รตขิ องบคุ คล อื่น 5. ช่วยเสรมิ สรา้ งสนั ตภิ าพความเขา้ ใจอนั ดี เพอ่ื ความม่นั คงเป็นอนั หนึง่ อนั เดียวกนั ท่วั โลก

พันธกจิ หลกั ปัจจบุ นั พนั ธกจิ หลกั ของการลกู เสอื ในการฝึกอบรมเยาวชนผา่ นกระบวนการ ลกู เสือ มี 3 ประการ คือ 1.ใหเ้ ด็กไดเ้ ป็นลกู เสือแตเ่ ยาวว์ ยั - โดยจดั ในรูปกิจกรรมอาสาสมคั ร หรือ กิจกรรมเสริมหลกั สตู ร 2.ใชว้ ธิ ีการฝึกลกู เสอื ในการพฒั นาเยาวชนใหม้ ีคณุ สมบตั ทิ ่ีพงึ ประสงค์ 4 ประการ คอื 2.1) เป็นผทู้ ี่เชอื่ ถือได้ 2.2) สามารถพึ่งตนเองได้ 2.3) มีความรบั ผดิ ชอบ 2.4) กลา้ สงู้ านหนกั 3.ตอ้ งพฒั นาระบบการฝึกอบรมใหม้ ีประสิทธิภาพ ในการขดั เกลาคณุ ธรรม จริยธรรมของเยาวชนโดยใชก้ ฎลกู เสอื เป็นหลกั จากพนั ธกิจหลกั (Mission) ทงั้ 3 ประการนี้ นาไปสยู่ ทุ ธศาสตรห์ ลกั (Strategy) ทใ่ี ช้ ในการพฒั นาการลกู เสอื ใหต้ อบสนองสอดคลอ้ งกบั พนั ธกิจ ยทุ ธศาสตร์ 1. ใหเ้ ยาวชนเขา้ มามีส่วนรว่ มคิด รว่ มทา และรว่ มตดั สนิ ใจ 2. ใหผ้ ใู้ หญ่เขา้ มาใหก้ ารสนบั สนนุ กิจกรรมลกู เสือ

3. ฝึกอบรมลกู เสือชาย-หญิงอยา่ งเสมอภาค ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในสทิ ธิและ หนา้ ท่ี ทงั้ ตอ่ ตนเองและผอู้ ืน่ 4. ใหท้ ่มุ เทงานหนกั 5. ใชร้ ะบบอาสาสมคั ร 6. องคก์ รลกู เสอื ตอ้ งปรบั ตวั ใหม้ ีความยดื หย่นุ สอดคลอ้ งกบั กระแสโลกาภิวตั น์ 7. ปรบั ระบบลกู เสือใหเ้ ขม้ แข็ง 8. ใชเ้ ทคโนโลยกี ารส่อื สารอย่างมีประสทิ ธิภาพ เพือ่ ใหก้ ารทางานทนั สมยั ทนั คน ทนั เหตกุ ารณ์ 9. สง่ เสริมการเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธผ์ ลงาน เพอื่ รายงานความกา้ วหนา้ ให้ สงั คมรบั รู้ 10. สรา้ งเครือขา่ ยการทางานรว่ มกนั ในองคก์ รลกู เสือ ทงั้ ในระดบั ประเทศและ ระหวา่ งประเทศ 11. สรา้ งเครอื ข่ายการทางานรว่ มกบั องคก์ รเอกชนและองคก์ รเยาวชนอน่ื ๆ 12. สนบั สนนุ ใหม้ ปี ระเทศสมาชิกใหม่ เขา้ รว่ มองคก์ ารลกู เสือโลก และสง่ เสรมิ การเพม่ิ จานวนสมาชิกลกู เสือในประเทศ 13. จดั ตงั้ กองทนุ เพอ่ื หาเงนิ สนบั สนนุ กจิ การลกู เสืออยา่ งเป็นระบบและม่นั คง เหรียญสดุดลี กู เสอื โลก BRONZE WOLF AWARD: เหรียญสดุดลี ูกเสือโลก รางวลั Bronze Wolf ซึ่งเป็นรางวลั เดียวทม่ี อบโดยคณะกรรมการลกู เสอื โลก ใหก้ บั บคุ คลท่ีกระทาประโยชน์ และคณุ งามความดีอยา่ งดีเยย่ี มใหก้ บั

การลกู เสอื ในช่วงแรกเร่ิมของการพฒั นากิจการลกู เสอื ลอรด์ เบเดน โพเวลส์ รเิ รมิ่ การมอบรางวลั Silver Wolf ใหก้ บั บคุ คลซ่ึงกระทะคณุ งามความดแี ก่ การลกู เสือ แต่รางวลั Silver Wolfเป็นรางวลั ท่มี อบจากการสมาคมลกู เสอื องั กฤษ เท่านน้ั ในปี พ.ศ. 2467 คณะกรรมการลกู เสอื โลก ไดต้ ดั สินใจวา่ คณะกรรมการลกุ เสือ โลกจะตอ้ งมรี างวลั ทีอ่ อกในนามของตวั เอง จึงขออนญุ าตจาก ลอรด์ เบเดน โพเวลส์ ผซู้ ึง่ ตอ้ งการทจี่ ะกาหนดจานวนของการมอบรางวลั และการเสนอของ คณะกรรมการลกู เสอื โลกก็ยงั อยรู่ ะหวา่ งการพิจารณา การสนทนาเร่ืองรางวลั มกี ารเรม่ิ ขนึ้ อีกครงั้ ในปี พ.ศ. 2475 และก็ได้ ขอ้ สรุป ใน เดอื นมิถนุ ายน พ.ศ. 2477 คณะกรรมการลกู เสือโลกไดอ้ นมุ ตั ิ การมอบ รางวลั Bronze Wolf อย่างเป็นทางการวนั ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2478 ทีก่ รุง StockHolm ประเทศสวเี ดน และไดป้ ระทานรางวลั Bronze Wolf จาก การเสนอของ นายเวอเทอต์ เฮดด์ ครง้ั แรกใหแ้ ก่ ลอรด์ เบเดน โพเวลส์ ในการทจี่ ะทาใหก้ ารมอบรางวลั สมเกยี รติ คณะกรรมการลกู เสือโลกไดจ้ ากดั จานวนการมอบรางวลั ใหแ้ กบ่ คุ คล 2 คน ในชว่ งระยะเวลา 2 ปี ถึง กระนน้ั การมอบรางวลั ก็ยงิ่ มีนอ้ ยกว่าคือมกี ารมอบรางวลั แค่ 12 ครงั้ จากปี พ.ศ. 2474 ถงึ ปี 2498 เนือ่ งจากการลกู เสอื เจรญิ มากขนึ้ การมอบรางวลั กม็ ีมากขนึ้ ดว้ ย ระหวา่ งปี 2498 ถึง 2545 มกี ารมอบรางวลั มากถงึ 308 ครงั้ ทางคณะกรรมการ

ลกู เสอื โลกไดก้ าหนดวา่ การมอบรางวลั 1 ครง้ั ต่อจานวนสมาชกิ ท่วั โลก 2,000,000 คน ลกู เสอื ไทยทีไ่ ดร้ บั Bronze Wolf Award พ.ศ. 2551 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช พ.ศ. 2514 นายอภยั จนั ทวมิ ล พ.ศ. 2519 นายจติ ร ทงั สบุ ตุ ร พ.ศ. 2525 นายกอง วสิ ทุ ธารมณ์ พ.ศ. 2531 นายเพทาย อมาตยกลุ พ.ศ. 2533 นายแพทยบ์ ญุ สม มารต์ ิน พ.ศ. 2539 นางสมุ น สมสาร พ.ศ. 2540 นายสธุ รรม พนั ธศุ กั ด์ิ พ.ศ. 2551 นายแพทยย์ งยทุ ธ วชั รดลุ ย์ เอเชีย-แปซิฟิ ก Mission & Vision of the APR ภารกิจและวิสยั ทศั นข์ องสานักงานลกู เสือภาคพนื้ เอเชียแปซฟิ ิ ก ภารกิจของการลกู เสือคือการใหก้ ารศึกษาแกเ่ ยาวชนผา่ นกระบวนการ ทาง หลกั ศีลธรรมจากกฎและคาปฎญิ าณของลกู เสอื เพือ่ ชว่ ยสรา้ งโลกท่ีดี ที่ซึง่ มีบุคคคมี หนา้ ท่แี ก่สงั คม โดยการ - ใหเ้ ยาวชนไดร้ บั การศึกษา

- ใชก้ ระบวนการท่ที าใหเ้ ยาวชนเป็นคนทีพ่ ง่ึ ตนเองได้ สนบั สนนุ สงั คม และมี ความรบั ผิดชอบ - ใหก้ ารชว่ ยเหลอื เสรมิ สรา้ งหลกั ศลี ธรรม ตามกฎและคาปฎิญาณของลกู เสือ วสิ ัยทศั น์ สานักงานลกู เสือภาคพืน้ เอเชยี แปซฟิ ิ กตอ่ การลูกเสือในปี 2556 - เป็นการศึกษาท่ีมคี ณุ ค่า และน่าเชอื่ ถือ - เป็นการรว่ มมือทางดา้ นศึกษา - ใหเ้ ยาวชนมีสว่ นรว่ มในการตดั สนิ ใจ - สานกั งานลกู เสือสามารถพง่ึ ตนเองได้ อิสระ และมกี ารจดั การทีด่ ี - มีจานวนสมาชิกลกู เสือมากขนึ้ - ขยายไปส่ปู ระเทศที่ยงั ไมเ่ ป็นสมาชกิ - มคี วามเช่ือถือ และใสสะอาด - มกี ารใชข้ อ้ มลู ขา่ วสารผา่ นเทคโนโลยมี ากขนึ้ - มสี ว่ นสนบั สนนุ สงั คมและประเทศชาติ - มคี วามแน่นแฟ้นในกิจการลกู เสอื - อนรุ กั ษธ์ รรมชาติ - สง่ เสริมเสรภี าพทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ โดยใหค้ วามสาคญั ตอ่ เยาวชน ในการเปลย่ี นแปลง ประวตั ลิ กู เสือไทย

พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อย่หู วั เม่อื พระชนมายไุ ด้ 13 พรรษา ไดเ้ สดจ็ ไป ทรงศึกษา ณ ประเทศองั กฤษ ทวีปยโุ รป ระหว่างที่ทรงศกึ ษาอยนู่ น้ั ไดท้ รงทราบเร่อื ง การสรู้ บเพอ่ื รกั ษาเมืองมาฟิคิง (Mafeking) ของ ลอรด์ เบเดน โพเอลล์ (Lord Baden Powell) ซ่ึงไดต้ งั้ กองทหารเด็กเป็นหนว่ ยสอดแนมชว่ ยรบในการรบกบั พวกบวั ร์ (Boar) จนประสบผลสาเร็จ และไดต้ งั้ กองลกู เสือขนึ้ เป็นครงั้ แรกของโลก ที่ประเทศ องั กฤษ เมื่อ พ.ศ. 2450 เมือ่ พระองคเ์ สดจ็ นิวตั ิสปู่ ระเทศไทย ก็ไดท้ รงจดั ตงั้ กองเสอื ป่า (Wild Tiger Corps) ขนึ้ เมอื่ วนั ท่ี 6 พฤษภาคม 2454 มีจดุ ม่งุ หมายเพือ่ ฝึกหดั ให้ ขา้ ราชการและพลเรือนไดเ้ รียนรูว้ ิชาทหาร เพือ่ เป็นคณุ ประโยชนต์ อ่ บา้ นเมอื ง รูจ้ กั ระเบียบวนิ ยั มีความจงรกั ภกั ดีต่อสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ต่อจากนนั้ อีก 2 เดอื น ก็ไดพ้ ระราชทานกาเนดิ ลกู เสอื ไทยขนึ้ เม่อื วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2454 ดว้ ยทรงมพี ระราชปรารภว่า เมอ่ื ฝึกผใู้ หญ่เป็นเสือป่า เพอื่ เตรียมพรอ้ มในการ ช่วยเหลอื ชาติบา้ นเมืองแลว้ เห็นควรทีจ่ ะมกี ารฝึกเด็กชายปฐมวยั ใหม้ คี วามรูท้ างเสือ ป่าดว้ ย เม่ือเตบิ โตขนึ้ จะไดร้ ูจ้ กั หนา้ ท่ีและประพฤติตนใหเ้ ป็นประโยชนต์ อ่ ชาติบา้ น เมอื ง

จากนนั้ ทรงตงั้ กองลกู เสอื กองแรกขนึ้ ท่ีโรงเรียนมหาดเลก็ หลวง (โรงเรียน วชริ าวธุ ในปัจจบุ นั ) และจดั ตงั้ กองลกู เสอื ตามโรงเรยี น ต่าง ๆ ใหก้ าหนดขอ้ บงั คบั ลกั ษณะปกครองลกู เสือขนึ้ รวมทงั้ พระราชทาน คาขวญั ใหล้ กู เสอื ว่า “เสยี ชพี อยา่ เสียสตั ย์ ” ผทู้ ไ่ี ดร้ บั ยกย่องว่าเป็นลกู เสอื ไทยคนแรก คือ นายชพั ท์ บนุ นาค ซง่ึ ตอ่ มา ไดร้ บั พระราชทานบรรดาศกั ดเิ์ ป็น “นายลิขติ สารสนอง” ปี พ.ศ. 2463 ไดจ้ ดั สง่ ผแู้ ทนคณะลกู เสือไทย จานวน 4 คน ไปรว่ มงานชมุ นมุ ลกู เสือโลก ครงั้ ที่ 1 (1st World Scout Jamboree) ซงึ่ จดั เป็นครง้ั แรกของโลก ณ อาคารโอลิมเปีย กรุงลอนดอน ประเทศองั กฤษ ปี พ.ศ. 2465 คณะลกู เสอื ไทย ไดส้ มคั รเขา้ เป็นสมาชิกของสมชั ชาลกู เสอื โลก ซึง่ ขณะนนั้ มสี มาชกิ รวมทงั้ สนิ้ 31 ประเทศ ประเทศทงั้ 31 ประเทศนี้ นบั เป็นสมาชิก รุน่ แรก หรอื สมาชกิ ผกู้ ่อการจดั ตงั้ (Foundation Members) สมชั ชาลกู เสือโลกขนึ้ มา ปี พ.ศ. 2467 ไดจ้ ดั สง่ ผแู้ ทนคณะลกู เสือไทย 10 คน ไปรว่ มงานชมุ นมุ ลกู เสือ โลก ครงั้ ที่ 2 ณ ประเทศเดนมารก์ ปี พ.ศ. 2468 พระบาทสมเดจ็ พระมงกฏุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ สวรรคต เมือ่ วนั ท่ี 24 พฤศจิกายน 2468 พ.ศ. 2454 (ค.ศ. 1911)

- พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อย่หู วั รชั กาลที่ 6 ทรงก่อตงั้ กิจการลกู เสอื ไทย เมื่อวนั ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 พ.ศ. 2463 (ค.ศ. 1920) - ส่งผแู้ ทนคณะลกู เสอื ไทยไปรว่ มงานชมุ นมุ ลกู เสือโลก ครงั้ ที่ 1 ณ ประเทศองั กฤษ พ.ศ. 2465 (ค.ศ. 1922) - คณะลกู เสอื แหง่ ชาติ เขา้ เป็นสมาชกิ สมชั ชาลกู เสือโลก พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) - ส่งผแู้ ทนคณะลกู เสือไทยไปรว่ มงานชมุ นมุ ลกู เสือโลก ครงั้ ท่ี 2 ณ ประเทศเดนมารก์ พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927) - จดั งานชมุ นมุ ลกู เสือแห่งชาติ ครง้ั ท่ี 1 (1st National Jamboree) พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) - เป็นสมาชกิ ของสานกั งานลกู เสือภาคตะวนั ออกไกล ซง่ึ เพ่งิ จดั ตงั้ ขนึ้ ขณะนน้ั มี ประเทศสมาชิกอยู่ 10 ประเทศ พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) - เฉลมิ ฉลองครบรอบ 50 ปีการลกู เสอื ไทย พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) - เป็นเจา้ ภาพจดั การประชมุ ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ภาคตะวนั ออกไกล ครง้ั ท่ี 3 (3rd Far East Scout Conference) ณ ศาลาสนั ตธิ รรม

1. ยคุ กอ่ ต้ัง (พ.ศ. 2454 – 2468) รวม 14 ปี อยู่ในรัชกาลท่ี 6 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 ทรงจดั ตงั้ กองเสือป่า (Wild Tiger Corps) เพ่ือให้ ขา้ ราชการและพลเรือนไดม้ ีโอกาสฝึกหดั วชิ าทหารเพ่อื เป็นคุณ ประโยชนต์ อ่ ตนเอง และบา้ นเมืองในอนั ทจ่ี ะทาใหร้ ูจ้ กั ระเบียบวินยั มีกาลงั ใจ กาลงั กายเขม้ แข็ง มีความ จงรกั ภกั ดตีี ่อสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ - 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 ทรงสถาปนาลกู เสือไทย โดยตราขอ้ บงั คบั ลกั ษณะ ปกครองลกู เสอื และจดั ตงั้ กองลกู เสือขนึ้ ตามโรงเรยี น และสถานทอ่ี นั สมควร และ พระราชทานคาขวญั ใหก้ บั ลกู เสือไวว้ า่ “เสยี ชพี อย่าเสียสตั ย”์ จากนนั้ ไดต้ งั้ สภา กรรมการกลางจดั การลกู เสอื แห่งชาติ ขนึ้ โดยพระองคท์ รงดารงตาแหน่งสภานายก และหลงั จากนน้ั พระมหากษัตรยิ อ์ งคต์ อ่ มาทรง เป็นสภานายกสภาลกู เสอื แห่งชาติ ตลอดมาจนถึงปี พ.ศ. 2490 ในยคุ นมี้ เี หตกุ ารณส์ าคญั ๆ เช่น พ.ศ. 2454 - ตงั้ ลกู เสอื กองแรกที่ โรงเรยี นมหาดเลก็ ( คือ โรงเรียนวชริ าวธุ ปัจจบุ ัน ) เป็นกองลกู เสือ ใน พระองค์ เรยี กวา่ กองลกู เสอื กรุงเทพฯ ท่ี 1 - พ.ศ. 2458 - พระราชทานเหรียญราชนยิ มใหแ้ กล่ กู เสอื โท ฝา้ ย บญุ เลยี้ ง (ต่อมาเป็นขนุ วรศาสนด์ รุณกจิ )

- พ.ศ. 2459 - ตงั้ โรงเรียงผกู้ ากบั ลกู เสือในพระบรมราชปู ถมั ภข์ นึ้ ณ สโมสร เสอื ป่าจงั หวดั พระนคร หลกั สตู ร 2 เดอื น เปิดได้ 4 ปีกล็ ม้ เลิก - พ.ศ. 2463 - ส่งผแู้ ทนลกู เสือไทย 4 คน ไปรว่ มงานชมุ นมุ ลกู เสือโลกครงั้ ที่ 1 (World Scout Jamboree) ณ โคลมั เบยี กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยมี นาย สวสั ด์ิ สมุ ติ ร เป็นหวั หนา้ คณะ - พ.ศ. 2465 - คณะลกู เสือไทยสมคั รเขา้ เป็นสมาชกิ ของสมชั ชาลกู เสอื โลก เป็นกล่มุ แรกมปี ระเทศตา่ งๆ รวม 31 ประเทศ และถอื เป็นสมาชกิ ผกู้ ่อตงั้ (Foundation Members) ขององคก์ าร ลกู เสอื โลก - พ.ศ. 2467 - สง่ ผแู้ ทนคณะลกู เสือไทย 10 คน ไปรว่ มงานชมุ นมุ ลกู เสอื โลก ครงั้ ที่ 2 ณ ประเทศ เดนมารก์ โดยพระยาภรตราชา เป็นหวั หนา้ คณะ - พ.ศ. 2468 - การลกู เสอื ไทยสญู เสยี พระผพู้ ระราชทานกาเนิดลกู เสอื ไทย รชั กาลที่ 6 2. ยุคสง่ เสรมิ (พ.ศ. 2468 – 2482) สมัยรชั กาลที่ 7 จนถงึ สงครามโลกคร้ังท่ี 2 ยุคนแี้ บง่ ออกเป็ น 2 ตอน คือ 2.1 กอ่ นเปลย่ี นแปลงการปกครอง รชั การที่ 7 ยงั ทรงเป็นสภานายกสภา กรรมการกลางจดั การลกู เสือแห่งชาตอิ ยู่ - พ.ศ. 2470 - มีการชมุ นมุ ลกู เสือแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 1 (1st National Scout Jamboree) ณ พระราชอทุ ยาน สราญรมย์ กรุงเทพฯ และกาหนดใหม้ งี านชมุ นมุ ลกู เสือแห่งชาตคิ รงั้ ตอ่ ไปในทกุ ๆ 3 ปี - พ.ศ. 2472 - สง่ ผแู้ ทนไปรว่ มชมุ นมุ ลกู เสือโลกครงั้ ที่ 3 ณ ประเทศองั กฤษ

- พ.ศ. 2473 - มกี ารชมุ นมุ ลกู เสือแหง่ ชาติครงั้ ท่ี 2 ณ พระรามราชนเิ วศน์ จงั หวดั เพชรบรุ ี ซงึ่ มคี ณะลกู เสอื ตา่ งประเทศจากญ่ีป่นุ มารว่ มงานดว้ ย โดยจดั หลกั สตู ร 2 เดือน ดาเนนิ การได้ 2 ปี กล็ ม้ เลกิ เพราะเปลี่ยนการปกครอง 2.2 ภายหลงั การเปลยี่ นแปลงการปกครอง รชั กาลที่ 7 ก่อนสละราชสมบตั แิ ละ รชั กาลท่ี 8 จนถึงสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 (พ.ศ. 2475 – 2482) - พ.ศ. 2475 - หลงั เปลย่ี นแปลงการปกครอง ไดจ้ ดั ตงั้ “ลกู เสอื สมทุ รเสนา” ขนึ้ อกี หนง่ึ เหล่า โดยจดั ตงั้ กองลกู เสือเหล่าสมทุ รเสนาในจงั หวดั แถบชายทะเลเพ่ือใหเ้ ด็ก ในทอ้ ง ถิน่ มีความรู้ ความสามารถในวิทยาการทางทะเล - พ.ศ. 2476 - ตงั้ กรมพลศึกษาขนึ้ ในกระทรวงศกึ ษาธิการ โดยมีกองลูกเสืออยู่ ในกรมพลศกึ ษา และสง่ ผแู้ ทนไปรว่ มชมุ นมุ ลกู เสือโลกครงั้ ท่ี 4 ประเทศฮงั การี โดยมี นายอภยั จนุ ทวิมล เป็น หวั หนา้ - ไดจ้ ดั ทาตราคณะลกู เสือแหง่ ชาติขนึ้ เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สากล ท่คี ณะ ลกู เสอื ตา่ งๆ ท่วั โลก ต่างก็มตี ราคณะลกู เสือของตนเองทงั้ สนิ้ โดยจดั ทาตราเป็นรูป (Fleur de lis) กบั รูปหนา้ เสอื ประกอบกนั และมีตวั อกั ษรคาขวญั อยภู่ ายใตว้ า่ “เสีย ชพี อย่าเสียสตั ย”์ และ ประกาศ ใชต้ ราประจาคณะลกู เสอื แห่งชาติ และกฎลกู เสอื 10 ขอ้ - เปิดการฝึกอบรมวชิ าผกู้ ากับลกู เสือ ซง่ึ เรียกในทางราชการว่า การฝึกอบรม วิชาพลศึกษา (ว่าดว้ ยลกู เสือ) ประจาปี 2478 เป็นเวลา 1 เดอื น - ประกาศตงั้ ลกู เสือสมทุ รเสนา พ.ศ. 2479 ประกาศใชห้ ลกั สตู รลกู เสอื เสนา และสมทุ รเสนา

- พระราชบญั ญตั ธิ ง พ.ศ. 2479 กาหนดลกั ษณะธงประจากองคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ และธง ประจากองลกู เสือ - พ.ศ. 2482 - พระราชบญั ญัติลกู เสือขนึ้ ส่ิงสาคญั คอื ใหค้ ณะลกู เสือแหง่ ชาติมี สภาพเป็นนติ บิ คุ คล ได้ จดั ตงั้ สภากรรมการกลางจดั การลกู เสอื แห่งชาติ จงั หวดั ลกู เสอื อาเภอลกู เสอื และ แบง่ ลกู เสอื ออกเป็น 2 เหลา่ คอื ลกู เสอื เสนา และลกู เสอื สมทุ รเสนา - มีพระราชบญั ญัติใหท้ รพั ยส์ นิ กองเสอื ป่าเป็นของคณะลกู เสือแหง่ ชาติ - รฐั บาลไดจ้ ดั ตงั้ “ยวุ ชนทหาร” ขนี้ มาซอ้ นกบั กจิ การลกู เสือ การฝึกยวุ ชน ทหารแตกต่างจากการฝึกลกู เสอื โดยเป็นการฝึกเยาวชนของชาตใิ นทางทหารอย่าง แทจ้ รงิ 3. ยุคประคับประคอง (พ.ศ. 2483 – 2489) ระยะนลี้ ูกเสอื ซบเซาลงมาก เน่อื งจากอยูภ่ าวะสงคราม - พ.ศ. 2485 - มกี ารออกพระราชบัญญัตลิ กู เสอื (ฉบบั ปี พ.ศ. 2485) มี สาระสาคญั คือ กาหนดใหพ้ ระมหากษตั รยิ ์ ทรงดารงตาแหนง่ บรมราชปู ถมั ภค์ ณะ ลกู เสอื แห่งชาติ - พ.ศ. 2488 - สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 สนิ้ สดุ การลกู เสอื เร่มิ ฟื้นฟทู ่วั โลก - รชั กาลท่ี 8 เสดจ็ นิวตั ิสพู่ ระนคร และถกู ลอบปลงพระชนม์ 4. ยคุ กา้ วหนา้ (พ.ศ. 2489 – 2514) เริ่มตน้ รชั กาลที่ 9 แบง่ ออกเป็น 2 ระยะ คือ 4.1 ระยะเริ่มกา้ วหนา้ (พ.ศ. 2489 – 2503)

- พ.ศ. 2496 - เรม่ิ ดาเนินการสรา้ งคา่ ยลกู เสอื วชริ าวธุ ตาบลบางพระ อาเภอ ศรรี าชา จงั หวดั ชลบรุ ี - พ.ศ. 2497 - มีการชมุ นมุ ลกู เสือแหง่ ชาติครงั้ ที่ 3 ณ สนามกฬี าแหง่ ชาติ - พ.ศ. 2500 - ส่งผแู้ ทนจากประเทศไทยไปรว่ มชมุ นมุ ลกู เสือโลกครงั้ ท่ี 9 ณ ประเทศองั กฤษ เพอ่ื เฉลิมฉลองอายคุ รบ 100 ปี ของลอรด์ เบเดน โพเอลล์ - พ.ศ. 2501 - เปิดการฝึกอบรมวชิ าผกู้ ากบั ลกู เสือสารอง ขนั้ ความรูเ้ บือ้ งตน้ เป็รครง้ั แรกในประเทศไทย - จดั ตงั้ กองลกู เสือสารองกองแรกขนึ้ ในประเทศไทย 5 สิงหาคม 2501 พ.ศ. 2503 - เปิดการฝึกอบรมวิชาผกู้ ากบั ลูกเสอื สารอง ขนั้ วดู แบดจ์ ครงั้ ท่ี 1 ณ พระ ตาหนกั อ่าวศลิ า จงั หวดั ชลบรุ ี - สง่ ผแู้ ทนไปรว่ มประชมุ สมชั ชาลกู เสือโลกครงั้ ที่ 2 ณ ประเทศพมา่ 4.2 ระยะกา้ วหนา้ (2504 – 2514) - พ.ศ. 2504 - มกี ารชมุ นมุ ลกู เสือแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 4 ณ สวนลมุ พนิ ี พระนคร เพ่ือเฉลมิ ฉลองที่คณะลกู เสือไทยมีอายคุ รบ 50 ปี - เปิดการฝึกอบรมวชิ าผกู้ ากับลกู เสอื สามญั ขนั้ วดู แบดจ์ รุน่ ท่ี 1 ณ ค่าย ลกู เสือวชริ าวธุ - วางศิลาฤกษศ์ าลาวชิราวธุ - พ.ศ. 2505 - พลเอกถนอม กิตติขจร รองนายกรฐั มนตรี เปิดคา่ ยลกู เสอื วชิราวธุ

- 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 รชั กาลที่ 9 ทรงประกอบพิธีเปิดศาลาวชริ าวธุ - พ.ศ. 2506 - เปิดการฝึกอบรมผกู้ ากบั ลกู เสอื วิสามญั ขนั้ วดู แบดจ์ รุน่ ท่ี 1 ณ คา่ ยลกู เสอื วชิราวธุ - จดั ตงั้ กองลกู เสือวิสามญั วนั ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2506 - ไดม้ กี ารฝึกอบรมลกู เสอื ชาวบา้ นขนึ้ ครง้ั แรก ณ อาเภอดา่ นชา้ ง จงั หวดั เลย โดยกองกากบั การตารวจตระเวนชายแดน เป็นผรู้ เิ รม่ิ ดาเนนิ การ ซ่งึ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ฯ ทรงรบั กิจการลกู เสอื ชาวบา้ นไวใ้ นพระบรมราชานเุ คราะห์ - ส่งผแู้ ทนคณะลกู เสอื ไทยเขา้ ไปร่วมการประชมุ ลกู เสือโลกครง้ั ที่ 13 ณ ประเทศญ่ีป่ นุ 5. ยคุ ประชาชน (พ.ศ. 2514 – ปัจจบุ ัน) เน่อื งจากปี 2514 เป็ นปี ทีม่ ีการ ฝึ กอบรมลูกเสือชาวบ้านเป็ นครง้ั แรก - พ.ศ. 2516 - รบั กจิ การลกู เสือชาวบา้ นเป็นสว่ นหนง่ึ ของคณะลกู เสือแห่งชาติ - กระทรวงศึกษาธิการมีคาส่งั ใหน้ าวิชาลกู เสอื เขา้ อย่หู ลกั สตู รโรงเรียน

- มีการจดั ตงั้ กองลกู เสือวิสามญั ขนึ้ ในโรงเรยี น - รชั กาลที่ 9 ทรงประกอบพิธีเปิดการชมุ นมุ ลกู เสอื แหง่ ชาติ ครงั้ ที่ 8 ณ ค่าย ลกู เสือวชิราวธุ - พ.ศ. 2518 - ส่งผแู้ ทนไปรว่ มการประชมุ ลกู เสือโลก ครง้ั ที่ 14 ณ ประเทศ เดนมารก์ - ส่งผแู้ ทนเขา้ รว่ มประชมุ สมชั ชาลกู เสือโลก ครง้ั ท่ี 14 ณ ประเทศเดนมารก์ - นายแพทย์ บญุ สม มารต์ ิน ไดร้ บั เลอื กตงั้ เป็นกรรมการลกู เสอื โลกจากการ ประชมุ สมชั ชาลกู เสือโลก ครง้ั ที่ 28 ณ เมอื งดาการ์ ประเทศเซเนกลั - พ.ศ. 2536 - เป็นเจา้ ภาพจดั การประชมุ สมชั ชาลกู เสอื โลก ครง้ั ที่ 13 ณ กรุงเทพฯ (13 rd World Scout Conference) - พ.ศ. 2544 - จดั งานชมุ นมุ ลกู เสือแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 16 / งานชมุ นมุ เตรยี มงาน ชมุ นมุ ลกู เสอื โลก ครง้ั ที่ 20 (16th National Jamboree / Pre 20th Scout Jamboree, 2003) เพอื่ เฉลมิ ฉลองครบรอบ 90 ปี คณะลกู เสือไทย - 28 ธนั วาคม 2544 - เป็นเจา้ ภาพจดั งานชมุ นมุ ลกู เสือโลก ครงั้ ท่ี 20 (20th 7, dik8, 2547 World Scout Jamboree, 2003) ณ บริเวณหาดยาว ฐานทพั เรอื สตั หีบ อาเภอสตั หบี จงั หวดั ชลบรุ ี ซึ่งมีเยาวชนลกู เสอื ชาย – หญิง กว่า 30,000 คน จาก 151 ประเทศท่วั โลกมารว่ มงาน - 5-9 ธันวาคม 2546 - จดั งานชมุ นมุ ลกู เสอื มฮู ิบบาห์ (12th Muhibbah Jamboree) ณ คา่ ยลกู เสอื ไทยเฉลมิ พระเกยี รติ จงั หวดั ตรงั มลี กู เสือไทย จานวน 1,266 คน และลกู เสือต่างประเทศในแถบชายแดนภาคใต้ ไดแ้ ก่ มาเลเซีย 15 คน ศรี ลงั กา 4 คน และสหรฐั อเมรกิ า 6 คน เขา้ รว่ มงานทงั้ สนิ้ 1,736 คน

- 20-24 กรกฏาคม 2547 - จดั งานชมุ นมุ ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ครง้ั ที่ 3 (INDABA) ณ คา่ ยลกู เสอื วชริ าวธุ อาเภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบรุ ี มผี บู้ งั คบั บญั ชา ลกู เสอื เขา้ รว่ มงานชมุ นมุ ฯ จานวน 3,500 คน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 กิจการของคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ความเป็ นมาของคณะลกู เสือแหง่ ชาติ การลกู เสอื ไทยไดก้ าเนดิ ขนึ้ ในประเทศไทย หลงั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฏุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงประกาศจดั ตงั้ กองเสอื ป่าขนึ้ เมื่อวนั ท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 โดยมี พระราชประสงคท์ ่ีจะหดั ขา้ ราชการพลเรือนทงั้ หลายท่ีมไิ ดเ้ ป็นทหาร ใหไ้ ดเ้ รยี นรูว้ ชิ า ทหารไวเ้ ป็นกาลงั ของชาติในยามสงครามและในยาทสงบกจ็ ะไดช้ ว่ ยขา้ ราชการใน การปราบปรามโจรผรู้ า้ ยหรอื การจลาจลไดด้ ว้ ย การเสอื ป่าไดเ้ ป็นทีส่ นใจของขา้ ราชการพลเรือนในสมยั นน้ั อย่างดียง่ิ ทกุ อย่าง เป็นไปตามพระราชประสงคท์ กุ ประการ ต่อมาพระบาทสมเดจ็ พระมงกฏุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดม้ พี ระราชดารทิ ่ีจะตัง้ กองลกู เสอื ขนึ้ อีกหน่วยหนง่ึ เพอ่ื ฝึกหดั เด็กๆ ใหเ้ ป็น เดก็ ท่มี พี ลามยั ทดี่ ี มีจติ ใจกลา้ หาญ ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ จงรกั ภกั ดตี อ่ ชาติ ศาสนา และ พระมหากษตั ริย์ ฝึกหดั ใหม้ ีระเบียบวนิ ยั รูจ้ กั หนา้ ที่ในการช่วยเหลือชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ตามกาลงั ความสามารถของเด็ก เพอ่ื จะไดเ้ ป็นพลเมืองทด่ี ีของชาติ ในโอกาสต่อไป จงึ มพี ระราชปรารภและโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ตงั้ เป็นกองลกู เสอื ขนึ้ เมือ่ วนั ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 หลงั จากท่ไี ดโ้ ปรดเกลา้ ฯใหต้ งั้ กองเสือป่าซ่ึงเป็นเรอื่ ง ของผใู้ หญ่มาได้ 2 เดือน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook