93 โรคอวน (Obesity) โรคอว นเปน สภาวะท่รี า งกายมีไขมนั สะสมตามสว นตา งๆ ของรางกายมากเกนิ กวา เกณฑป กติ ซงึ่ ตามหลกั สากลกําหนดวาผูชายไมควรมีปริมาณของไขมันในตัวเกินกวา 12-15% ของน้ําหนักตัว ผูหญิงไมควรมีปริมาณของไขมนั ในตวั เกินกวา 18-20% ของนา้ํ หนักตวั ซ่ึงการตรวจนหี้ ากจะใหไดผ ล แนน อนควรไดร ับการตรวจจากหองปฏิบัติการ แตน กั เรยี นอาจประเมินวาเปน โรคอวนหรือไมดวยวิธี งายๆ ดวยวธิ ีตรวจสอบกบั ตารางนาํ้ หนักและสว นสงู ของกรมอนามยั ดงั ตารางท่เี รียนมาแลว สําหรับในผใู หญอ าจประเมินไดจ าก การหาคาดัชนีมวลกาย (Body Mass Index) ไดจากสูตร ดงั นี้ BMI = นํ้าหนัก (กโิ ลกรัม) สวนสงู 2(เมตร) คาทีไ่ ดอยูระหวาง 18.5-24.9 ถอื วาอยใู นเกณฑป กติ ไมอว นหรือผอมเกินไป สาเหตุ 1. กรรมพนั ธุ 2. การรับประทานอาหารเกินความตองการของรางกาย และมีพฤติกรรมการรับประทาน อาหารทีไ่ มดี เชน กนิ จุบจิบ 3. ขาดการออกกําลงั กาย 4. สภาวะทางจติ และอารมณ เชน บางคนเมือ่ เกดิ ความเครียดก็จะหันไปรับประทานอาหาร มากจนเกนิ ไป 5. ผลขางเคียงจากการไดรับฮอรโมนและการรับประทานยาบางชนิด เชน ยาคุมกําเนิด ฮอรโ มนสเตยี รอยด เปนตน อาการ มไี ขมนั สะสมอยูในรางกายจํานวนมาก ทาํ ใหมรี ปู รา งเปล่ียนแปลงโดยการขยายขนาดขึ้นและ มีนา้ํ หนักตวั มากขึ้น การปอ งกนั 1. กรรมพันธุ หากพบวามีประวัติของบุคคลในครอบครัวเปนโรคอวน ควรตองเพิ่มความ ระมัดระวัง โดยมพี ฤติกรรมสุขภาพในเร่อื งตางๆ ทีเ่ กยี่ วขอ งกบั โรคอว นอยา งเหมาะสม 2. รับประทานอาหารแตพอสมควรโดยเลือกรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน หลีกเล่ียง อาหารรสหวานและอาหารที่มไี ขมันสงู รับประทานผักและผลไมมากๆ และหลากหลาย
94 3. ออกกาํ ลังกายสมํา่ เสมออยางนอยสปั ดาหล ะ 3 วนั วันละ 30 นาที 4. หาวธิ กี ารควบคมุ และจดั การความเครยี ดอยางเหมาะสม พักผอ นใหเ พียงพอ 5. การใชย าบางชนดิ ท่ีอาจมผี ลขางเคยี ง ควรปรึกษาแพทย และใชยาตามที่แพทยแนะนําอยาง เครง ครัด การดแู ลสขุ ภาพและมีพฤติกรรมบริโภคทถ่ี กู ตอ ง “ไมตามใจปากและไมต ามใจอยาก” โรคอว นกอ็ าจไมมาเยือน การลดความอว นกไ็ มจ าํ เปน
95 บทที่ 5 โรคระบาด สาระสําคญั การมีความรคู วามเขา ใจเกยี่ วกับสาเหตุ อาการ การปองกัน และการรักษาโรคตดิ ตอ ท่ี แพรระบาดและเปนปญหาตอสุขภาพของประชาชนในชุมชน จะชวยใหรูวิธีปองกันตนเองและ ครอบครวั และรวมมอื ปอ งกนั การแพรก ระจายเช้อื โรคไปสูบุคคลอื่น อันจะเปนแนวทางสาธารณสุข ของประเทศได ผลการเรียนรูทค่ี าดหวัง เพื่อใหผูเ รยี นสามารถ 1. บอกความหมาย ความสาํ คญั และการแพรก ระจายของเชื้อโรคได 2. อธบิ ายสาเหตุ อาการ การปอ งกนั และการรกั ษาโรคตดิ ตอทแี่ พรร ะบาดและเปน ปญหาสาธารณสุขได ขอบขายเนอ้ื หา เรือ่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั และการแพรกระจายของเช้อื โรค เรอ่ื งท่ี 2 โรคท่เี ปนปญหาสาธารณสุขของประเทศ
96 เร่ืองท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ และการแพรกระจายของเช้ือโรค ความหมายและความสาํ คญั โรคติดตอ จดั เปน ปญหาสาธารณสขุ ทีส่ ําคญั ของประเทศ เมอ่ื เกิดการระบาดจะนํามาซึ่งความ สญู เสียสขุ ภาพ ชวี ติ และมีผลกระทบตอ เศรษฐกจิ ของประเทศอยางมาก เพราะขณะเจ็บปวยบุคคลนั้น ไมสามารถเรียนหรอื ทํางานไดต ามปกติ ซ่ึงจะทาํ ใหเ สยี การเรยี นและรายไดตามทีเ่ คยไดรับ นอกจากนี้ ในขณะเจ็บปว ยกจ็ ะเปน ภาระของบคุ คลใกลชิดหรือคนในครอบครวั ในการดูแลผูปวย รวมท้ังเสียเงิน ในการรักษาพยาบาล ซึ่งในระดับชาติ ประเทศชาติตองเสียงบประมาณในการดูแลรักษาผูปวย คา เวชภัณฑ คาบคุ ลากร รวมถงึ ตอ งสรางอาคารสถานทีใ่ นการดูแลผูปวย ซึ่งเปนการสูญเสียทรัพยากรท่ี จะสามารถนาํ ไปใชพ ัฒนาประเทศดานอื่น ๆ ได โรคติดตอสวนใหญสามารถปองกันได หากทุกคน เหน็ ความสําคญั ตระหนักถงึ อนั ตรายของโรคและมีสวนรวมในการปองกันแกไขปญหาโรคติดตอที่ เกดิ ข้ึน 1.1 ความหมายของโรคตดิ ตอ โรคติดตอ หมายถงึ โรคทีเ่ กดิ จากเชอื้ โรคแลวสามารถติดตอ จากคนไปสูบุคคลอนื่ ได หรอื อาจตดิ ตอระหวา งคนสูคน หรือสัตวสูคนได หรือติดตอระหวางสัตวดวยกันเองได โดยมีพาหะ เชน คน สตั ว หรอื มตี ัวกลางนําเชอ้ื โรค เปนตน โรคระบาดเปนโรคติดตอที่แพรกระจายไปยังคนอ่ืน ๆ ไดรวดเร็ว บางโรคตองใช เวลาในการรักษาเปนเวลายาวนานและใชวิธีรักษาท่ีซับซอน ส้ินเปล้ืองคาใชจายในการรักษาเปน จํานวนมาก โดยโรคท่เี ปนสาเหตุของการเจ็บปวยและเสียชีวิตท่ีนับวาสําคัญ ไดแก ไขมาลาเรีย โรค ไขห วัดนก โรคซารส โรคอหิวาตกโรค และโรคไขหวดั ใหญส ายพนั ธุใหม 2009 ลกั ษณะของโรคตดิ ตอ 1. เช้ือโรคสามารถแพรกระจายไปยังบุคคลอื่นไดอ ยางรวดเรว็ 2. การแพรกระจายของโรคมักเกิดจากพฤติกรรมของบุคคลหรือปญหาสุขาภิบาล สง่ิ แวดลอ ม 3. มอี ัตราการเจ็บปวยคอ นขา งสูงและโอกาสท่จี ะเกิดโรคเปนไดท กุ เพศทุกวยั โรคตดิ ตอทค่ี วรทราบและตอ งแจง ความ โรคตดิ ตอ ที่ควรทราบมี 14 โรค ไดแ ก ไขทรพษิ กาฬโรค ไขเหลอื ง โรคอหิวาตกโรค โรคบาดทะยักในเด็กเกิดใหม โรคคอตีบ โรคโปลิโอ โรคพิษสุนัขบา โรคไขสมองอักเสบ ไขรากสาด ใหญ โรคแอนแทรกซ โรคทรคิ ิโนซีส โรคไขกาฬหลงั แอน โรคคดุ ทะราดระยะตดิ ตอ
97 1.2 ชนิดของเชือ้ โรค เชื้อโรคทต่ี ดิ ตอ ไดแ บง ออกเปน 5 ชนดิ คือ แบคทเี รยี ไวร ัส รกิ เกตเซีย รา ปรสติ แบคทีเรีย จัดอยใู นจําพวกพชื เซลลเ ดียว มีขนาดเล็กมากตอ งใชก ลองจุลทรรศนขยาย จงึ จะมองเหน็ ได สามารถดํารงชีวติ อยูไ ดในสภาวะแวดลอมแทบทกุ อยา ง ไวรัส ไมสามารถมองเห็นดว ยตาเปลา ตอ งดดู วยกลองจุลทรรศนชนิดพิเศษ เช้ือไวรัส จะมีอยทู ่วั ไปในอากาศโรคที่เกิดจากเชือ้ ไวรัสมหี ลายโรค เชน ไขห วดั หดั ไขท รพิษ คางทมู ไขเลือดออก อีสกุ อีใส เปน ตน รกิ เกตเซีย มีขนาดเล็กกวา แบคทเี รีย สามารถมองเห็นดวยกลองจุลทรรศนมักอาศัยอยู รวมกับส่งิ มชี ีวิตอื่น ๆ เชน เห็บ หมดั เหา พยาธิไสเดือน เปนตน โรคทีเกิดจากเช้ือโรคชนิดนี้ไดแก ไข รากสาดใหญ รา เปน เชอ้ื โรคทจ่ี ดั อยใู นจาํ พวกพชื สามารถมองเห็นไดดวยกลองจลุ ทรรศน เชน ยีสต สามารถนาํ มาใชใ นการทาํ ขนมปง แตสวนใหญท ําใหเ กดิ โรคผิวหนงั ตาง ๆ เชน กลาก เกลื้อน นํ้ากัดเทา ปรสิต จดั อยูในจําพวกสัตว มีขนาดใหญกวาชนิดอ่ืน ๆ มีท้ังพวกเซลลเดียวและพวก หลายเซลล เชน เชอ้ื บิด พยาธิใบไม พยาธปิ ากขอ พยาธติ วั ตืด 1.3 การแพรกระจายของเชอ้ื โรค มี 2 ลกั ษณะคือ 1. การสัมผัสโดยตรง หมายถึง การแพรจากแหลงหน่ึงไปยังแหลงหน่ึง โดยไมมี พาหะเปน ตวั นํา สมั ผสั โดยตรงจากผปู ว ย หรือนา้ํ ลาย น้าํ เหลือง หนอง เลอื ด เช้ือโรคเขาสูรางกายแลว ทาํ ใหเ กดิ โรคได 2. การสัมผัสทางออม หมายถึง การแพรโดยมีพาหะเปนตัวนํา เชน หากเชื้อโรค ปะปนอยูในนํา้ อาหาร เมื่อเรารบั ประทานอาหาร ดมื่ น้ํา หรอื ยุงกัด เช้ือโรคก็จะเขาสูรางกายได การเขาสรู างกายของเชือ้ โรค การเขาสูรา งกายของเชื้อโรคสามารถเขา สรู า งกายได 6 ทางดวยกัน คอื 1. ระบบทางเดินหายใจ เมอ่ื เราหายใจเอาเช้ือโรคท่ีลอยอยใู นอากาศเขาสูร า งกายทํา ใหเกิดโรคได เชน ปอดบวม ไขหวัด ไขหวัดใหญ วัณโรค เปนตน เม่ือไอหรือจามควรปดปาก ปด จมูก นอกจากนีก้ ารบว นนา้ํ ลายหรือเสมหะสามารถทาํ ใหเชื้อโรคแพรกระจายเขา สูร า งกายได 2. ระบบทางเดินอาหาร เชื้อโรคบางชนิดอาศัยอยูในนํ้าและอาหาร เมื่อเรา รบั ประทานนํ้าหรืออาหารท่ีมีเช้ือโรคเขาไปเช้ือโรคจะปนเปอนเขาสูรางกายทําใหเกิดโรคติดตอได เชน อหิวาตกโรค บิด อุจจาระรว ง 3. ผวิ หนงั เช้อื โรคบางชนดิ สามารถเขาสูรา งกายโดยผา นผิวหนังไดโ ดยวิธีการตาง ๆ เชน
98 1) จากการรบั เลือดหรือฉีดยา เชน โรคเอดส โรคตับอักเสบชนิดบี 2) โดยการสมั ผสั เชน โรคกลาก โรคเกลอื้ น 3) ถกู สัตวห รือแมลงกดั เชน ไขเลอื ดออก ไขม าลาเรีย 4) เขาทางรอยขดี ขว นหรือบาดแผล เชน บาดทะยัก 5) โดยการไชทะลผุ า นทางผิวหนัง เชน พยาธปิ ากขอ 4. ทางเพศสัมพนั ธ ติดตอ โดยการรวมประเวณกี ับผูปวยทําใหติดโรคได เชน โรค เอดส กามโรค 5. ทางสายสะดือ โรคท่ีติดตอไดทางสายสะดือโดยติดตอจากมารดาสูลูกที่อยูใน ครรภ คือ ซิฟล สิ หดั เยอรมนั 6. ทางเยื่อบุตาง ๆ เชอ้ื โรคบางชนดิ สามารถเขา สูทางเย่อื บตุ าง ๆ ได เชน เยื่อบุปาก เยื่อบุตา ทําใหเกิดโรคเชอื้ ราในชอ งปาก โรคตาแดง เร่ืองที่ 2 โรคทเ่ี ปน ปญหาสาธารณสุขของประเทศ ปจจุบันมีโรคติดตอท่ีแพรระบาดจากคนสูคน และจากสัตวสูคน ซ่ึงทําใหเกิดการ เจ็บปว ยและเสยี ชวี ติ แกป ระชาชนจํานวนมาก โดยมกี ารแพรกระจายเชื้อโรคอยางรวดเร็ว จากชุมชน ไปสูเมือง และจากเมืองแพรกระจายไปยังประเทศตาง ๆ เน่ืองจากการเดินทางติดตอระหวางกัน สามารถทําไดง ายและสะดวกรวดเร็ว ทาํ ใหการแพรก ระจายโรคเปนไปอยางรวดเร็วดวยเชนกัน โรค ระบาดซ่งึ เปนปญ หาสาธารณสุขสําคัญของประเทศในปจจุบันไดแก โรคซารส โรคไขหวัดนก โรค มาลาเรยี โรคอหวิ าตกโรค โรคชคิ นุ กุนยา โรคไขห วัดใหญและไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 เปน ตน โรคซารส โรคซารส เกิดขึ้นคร้ังแรกในประเทศจีน เมื่อเดือนพฤศจิกายน ป พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) และเร่มิ แพรร ะบาดไปทั่วโลกในตนป พ.ศ. 2546 (ค.ศ.2003) องคก ารอนามยั โลก (WHO) ไดร ับ รายงานเกย่ี วกบั ผูทีส่ งสยั วา จะปวยเปนโรคซารสมากกวา 2500 ราย จากเกอื บ 20 ประเทศทั่วโลก โดย ผูปวย สวนใหญเปนผูท่ีเคยเดินทางไปยังพ้ืนท่ีที่มีการระบาดของโรคในชวง 10 วัน กอนเร่ิมแสดง อาการ และเปนผูที่อยใู กลช ิดกบั ผูที่สงสยั วาจะปวยเปนโรคซารส จํานวนผูเสียชีวิตทั้งหมดท่ีรายงาน ท่ัวโลกในเดือนเมษายน ป 2546 มมี ากกวา 100 ราย เชื้อไวรัสซารส หองปฏิบัติการขององคการอนามัยโลก (WHO) ไดตรวจพบเชื้อ ไวรัสชนิดใหมในผูปวยโรคซารส เรียกวา เชื้อโคโรนาไวรัส เช้ือไวรัสซารสมีการกลายพันธุไดเร็ว
99 ปจ จุบนั พบวา มอี ยา งนอ ย 19 สายพนั ธุ เช้ือทก่ี ลายพันธุอาจมีการกออันตรายรุนแรงข้ึนหรืออาจออน ตวั ลง แตส ามารถอยใู นคนเราไดยาวนาน ระยะฟกตัว องคก ารอนามยั โลกกําหนดระยะฟกตัวของเชื้อไวรัสซารสอยูในระยะ 2-7 วัน ไมเ กิน 10 วนั จึงมีการกักบรเิ วณผตู ดิ เชอื้ เพอ่ื เฝาดอู าการเปนระยะเวลา 10-14 วนั อาการ อาการสําคัญของผูปวยโรคซารส ไดแก มีไขตัวรอน หนาวส่ัน ปวดเม่ือย กลามเนอ้ื ไอ ปวดศรี ษะ และหายใจลําบาก สวนอาการอ่ืนท่ีอาจพบไดมีทองเดิน ไอมีเสมหะ นํ้ามูก ไหล คลื่นไสอ าเจียนผูป วยท่ีสงสยั วา จะเปนโรคซารส ผูปวยมีอาการปวยเกี่ยวกับโรคทางเดินหายใจ และสงสยั วาจะเปน โรคซารส ตองมีอาการตามเกณฑท่ี WHO กําหนดไวคือ มีไขสูงเกิน 30 C หรือ 100.4 F และมีอาการไอ หายใจตดิ ขัด และในชวง 10 วนั กอ นมอี าการ เคยไปหรืออาศยั อยูใ นพนื้ ท่ีท่มี ี การระบาดของโรค หรอื ใกลช ิดกบั ผทู ม่ี อี าการปวยเกยี่ วกับโรคทางเดนิ หายใจซง่ึ เดินทางไปในพ้นื ท่ีท่ี มีการระบาดของโรค หรือผทู ส่ี งสัยวาจะเปน โรคซารสแมวา ผูปว ยทม่ี ีอาการขางตนและมีอาการคลาย กบั ปอดบวมหรอื ปอดอักเสบปรากฏในฟล มเอ็กซเรย ก็ไมไดแสดงวาจะตองเปนโรคซารส นอกจาก ตรวจพบเช้ือไวรสั โคโรนาชนดิ ใหมเทานัน้ จงึ จะสรปุ ไดวาเปน โรคซารส การแพรกระจายของเชือ้ โรค เชอื้ โรคซารส ติดตอ ไดท างระบบหายใจ และอาจติดตอทางอาหารการกินไดอีกดวย เน่ืองจากมีการศกึ ษาพบวา เชือ้ นีม้ ีอยูในนาํ้ เหลอื ง อุจจาระและปสสาวะของผูปวย เม่ืออาการปวยยาง เขาสปั ดาหท ่ี 3 การปองกนั และรกั ษา โรคนี้ตดิ ตอไดโดยการสัมผสั ละอองนาํ้ ลาย เสมหะ เขาทางปากและจมูก แตเดิมเช่ือ วา เชื้อไวรัสโคโรนาจะมีชีวติ อยนู อกรางกายมนษุ ยไ ดไ มเกิน 3 ชว่ั โมง แตจากขอมูลการศึกษาใหม ๆ พบวา เช้ือนอ้ี ยูไ ดนานกวา 1 วัน โดยเฉพาะในอุจจาระและปสสาวะจะอยูไดน านหลายวัน การปองกัน ทีด่ ที ่สี ดุ ไดแ ก การลา งมอื การปฏบิ ตั ิตามหลักสขุ อนามัยอยา งเครงครดั และการใสห นากากอนามัย ในการปองกันโรคซารส นน้ั มขี อ แนะนาํ ดังน้ี 1. รักษาสุขภาพใหแข็งแรงอยูเสมอดวยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ พกั ผอ นใหเ พยี งพอ พยายามลดความเครียด และไมเสพสารเสพตดิ
100 2. ใชผาปดปากปดจมูกทุกคร้ังเม่ือไอหรือจาม ขณะที่เปนหวัดควรใชหนากาก อนามยั อยเู สมอ 3. รกั ษาความสะอาดของมอื อยเู สมอ ดว ยการลางมือบอ ย ๆ ดวยนํา้ สบู 4. ไมควรใชม ือขยี้ตา แคะจมูก แคะฟน หากมีความจําเปนตองลางมือใหสะอาดทั้ง กอ นและหลงั การกระทาํ ดงั กลาว 5. อยาใชผา เช็ดตวั หรอื ผาเช็ดหนา รว มกบั ผูอ ่ืน ถา ใชก ระดาษเช็ดน้ํามูกควรท้ิงในถัง ขยะมฝี าปด 6. ใชช อ นกลางเมือ่ รับประทานอาหารรวมกับผอู ื่น 7. รักษาความสะอาดของบา นเรอื น ของใชในบาน เชน โทรศัพทควรเช็ดดวยผาชุบ นาํ้ สะอาดบดิ หมาดหรือแอลกอฮอล 8. เปด ประตหู นา ตางใหอากาศภายในบานถา ยเทไดสะดวก 9. หากมีอาการไข ไอ หรือจาม ควรหลีกเลี่ยงสถานทท่ี ่ีมีคนหนาแนนหรอื การระบาย อากาศไมดี และควรไปพบแพทยทนั ที 10. ในขณะเดินทางอยูบนรถโดยสารไมค วรอยูใกลช ิดผทู ่เี ปนไข ไอ หรือจาม 11. หลีกเลี่ยงการคลุกคลีใกลชิดกับผูปวย และผูท่ีเดินทางมาจากประเทศที่มีการ ระบาด 12. งดหรือหลีกเล่ียงการเดินทางไปตางประเทศ โดยเฉพาะประเทศท่ีมีการแพร ระบาดของโรคนี้ การรกั ษา สว นใหญจ ะเปนการรักษาตามอาการและใชอุปกรณชวยการหายใจ (ใน รายทม่ี ีภาวะหายใจลม เหลว) ไดมกี ารทดลองใชเ ซรมุ จากผปู วยทห่ี ายจากโรค ซง่ึ พบวาจะไดผลหากให เซรมุ ในระยะสัปดาหแรกของโรคในปจ จบุ ันมีการทดลองผลิตยาตา นไวรัสซารสโดยเฉพาะ ซ่ึงอยูใน ระหวา งการพัฒนาและคาดวาจะสามารถนํามาใชไ ดใ นอนาคตอนั ใกล โรคไขม าลาเรยี (Malaria) ไขมาลาเรียหรือไขจับส่ัน เปนโรคติดตอท่ีเกิดจากเช้ือปรสิตจําพวกโปรโตซัว ชื่อ พลาสโมเดยี ม (Plasmodium) ซึง่ เกดิ จากยงุ กน ปลอ งเปนพาหะนาํ โรคมาสูคน และเปน โรคท่ีมีสถติ กิ าร ระบาดสงู มาก โดยเฉพาะในภาคใตและในจังหวัดที่เปนปา เขาทีม่ ฝี นตกชุกอยูบอ ย ๆ สาเหตุ ยงุ กน ปลองเปน พาหะนาํ โรคเมือ่ ยงุ กดั คนท่เี ปนไขม าลาเรยี แลว ไปกัดคนอนื่ ก็จะแพร เชือ้ ใหก บั คนอ่นื ๆ ตอไป
101 อาการ ผูท่ีไดรับเช้ือไขมาลาเรียจะมีอาการวิงเวียนศีรษะ ออนเพลีย มีไขสูง หนาวสั่น อาเจียน และมีเหงอื่ มาก บางรายทเ่ี ปนชนดิ รุนแรงมีไขสูงข้ึนสมอง อาจมีอาการเพอ ชัก หมดสติหรือ ตายในทส่ี ดุ บางรายไมตายแตเพอคล่ัง เสยี สติ และความจาํ เส่อื ม การติดตอ ติดตอโดยยุงกนปลองตัวเมียไปกัดและกินเลือดคนท่ีเปนไขมาลาเรียแลวไดรับเช้ือ มาลาเรยี มาจากคนท่เี ปนไข เชือ้ นน้ั จะเจริญในตวั ยงุ ประมาณ 10 วัน กจ็ ะมอี าการไขม าลาเรีย การปอ งกนั 1. นอนในมุงอยา ใหยงุ กัดได 2. ทําลายแหลงเพาะพนั ธยุ งุ เชน ภาชนะทีม่ ีนํ้าขงั ใหหมดไป 3. เมอื่ เขาปา หรอื แหลงทม่ี ไี ขมาลาเรยี ระบาด ระวงั อยา ใหยงุ กดั โดยใชย ากนั ยงุ ทา 4. ผูอยูในพ้นื ทแ่ี หลงไขมาลาเรยี ระบาดควรปลูกตน ตะไครหอมไวก นั ยุง 5. ถาสงสัยวาเปนไขมาลาเรีย ควรไปรับการตรวจเลือด และรับการรักษาเพ่ือ ปอ งกนั การแพรต อ ไปยงั ผอู ่นื การรกั ษามาลาเรยี เนอื่ งจากในปจจบุ ันพบเชื้อมาลาเรยี ที่ดอ้ื ตอยา และอาจมโี รคแทรกซอ นรา ยแรง (เชน มาลาเรียขึ้นสมอง) โดยเฉพาะอยา งยิ่งสําหรบั ผูท่ีอยใู นเมือง ซงึ่ ไมม ีภูมิตา นทานโรคน้ี ดงั นนั้ ถา หากมีอาการนา สงสัย เชน มีไขหลังกลับจากเขตปาเขาหรือเขตมาลาเรีย ก็ ควรรีบไปหาหมอเพ่อื ตรวจหาเช้ือ โรคไขห วดั นก (Avian Influenza หรอื Bird Flu) เมอ่ื 20 ปที่ผา นมา ไดเ กดิ โรคระบาดที่เกดิ จากเชอ้ื ไวรัสชนิด H5N1 ท่ีเรียกวาไขหวัด นกและระบาดไปท่วั โลก เดิมเช้ือไขหวดั นกเปน เชอื้ ไวรัสโดยธรรมชาติจะติดตอในนกเทานั้น โดยเฉพาะนก ปา นกเปด นาํ้ จะเปนพาหะของโรค เชื้อจะอยูในลําไสนก โดยที่ตัวนกไมมีอาการ แตเม่ือนกเหลาน้ี อพยพไปตามแหลง ตาง ๆ ทั่วโลก ก็จะนําเชื้อน้ันไปดวย เม่ือสัตวอ่ืน เชน ไก เปด หมู หรือสัตวเลี้ยง อ่นื ๆ ไดร ับเชื้อไขห วดั นกกจ็ ะเกิดอาการ 2 แบบ คือ 1. หากไดร ับเชือ้ ชนดิ ไมร นุ แรงสตั วเล้ยี งนั้นอาจจะมีอาการไมม ากและหายไดเ อง 2. หากเชอื้ ที่ไดรับมีอาการรนุ แรงมากกจ็ ะทาํ ใหสตั วเลย้ี งตายไดภายใน 2 วนั ปจจุบันมีการระบาดของไขหวัดมากกลับมาอีกครั้ง โดยเชื้อโรคไดแพรไปท่ัวโลก เกดิ การระบาดของเชือ้ ไขหวดั นกชนิด H5N1 ในไกแ ละแพรก ระจายสคู นทําใหม ผี ูเสียชีวติ จาํ นวนมาก ท่ัวไป จนมกี ารเฝาระวงั โดยหากทราบวา มีไกต ายดวยเชอ้ื ไขหวัดนก จะตองรีบแจงเจาหนาที่รัฐและมี
102 การควบคมุ การแพรเ ชอ้ื โรคดว ยการทําลายไกในพื้นทน่ี น้ั ๆ ทันที เชน การฝงกลบและฉีดพนสารฆา เชือ้ เพื่อตดั วงจรการแพรระบาดสูคนตอไป โรคไขห วัดนก เปน โรคติดตอของสัตวปก ตามปกติโรคนี้ตดิ ตอ มายังคนไดไมงา ยนกั แตค นท่สี ัมผัสใกลช ดิ กับสัตวท่เี ปนโรคอาจติดเชอ้ื ได สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดเอ็ชไฟวเอ็นวัน (H5N1) พบในนก ซึ่งเปนแหลงเชื้อโรคใน ธรรมชาติ โรคอาจแพรมายังสัตวปกตาง ๆ ได เชน ไกท่ีเล้ียงอยูในฟารม เล้ียงตามบานและไกชน รวมทงั้ เปดไลทงุ ดว ย ระยะฟก ตัว ระยะฟกตัวในคน 1 ถึง 8 วัน อาการ ผูปวยมีอาการคลายไขหวัดใหญ ไขสูง หนาวส่ัน ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกลามเน้ือ ออนเพลยี เจบ็ คอ ไอ ผูปวยเด็กเลก็ ผสู งู อายุ หรือผูที่มโี รคประจําตัว หากมภี มู คิ มุ กันไมดี อาจมีอาการ รนุ แรงได โดยจะมอี าการหอบ หายใจลาํ บาก เน่ืองจากปอดอักเสบรุนแรง การตดิ ตอ โดยการสัมผัสซากสตั วปก ทีป่ วยหรอื ตาย เช้อื ท่ีอยใู นน้ํามูก น้ําลาย และมูลสัตวปวย อาจตดิ มากบั มือ และเขาสรู า งกายทางเย่ือบขุ องจมูกและตา ผูท เ่ี สี่ยงตอโรคไขห วดั นก ไดแ ก ผทู ่ีทํางาน ในฟารม สตั วป ก ผูทีฆ่ าหรอื ชาํ แหละสตั วป ก ผเู ลี้ยงสัตวปก ในพน้ื ที่ท่เี กิดโรคไขหวัดนกระบาด การปองกัน 1. รับประทานอาหารประเภทไกและไขที่ปรุงสุกเทานั้น โดยเฉพาะชวงท่ีมีการ ระบาด ของโรค 2. ควรเลอื กซือ้ ไกส ดทีไ่ มม ีลกั ษณะบง ชวี้ าอาจตายดวยโรคตดิ เชอ้ื เชน เน้ือมีสีคลํ้ามี จุดเลือดออก สําหรับไข ควรเลือกฟองที่ไมมีมูลไกติดเปอนท่ีเปลือกไข กอนปรุงควรนํามาลางให สะอาด 3. ไมเลนคลุกคลีหรือสัมผัสตัวสัตว นาํ้ มูก น้ําลาย มลู ของไกและสตั วป ก โดยเฉพาะ สัตวท่ีปว ยหรอื ตาย รวมทงั้ บรเิ วณทเ่ี ล้ยี งสัตวป ก ดว ย
103 4. อาบนาํ้ ใหสะอาดและเปลีย่ นเส้ือผาทุกครั้งหลังสัมผัสหรือคลุกคลีกับสัตวปกทุก ชนิด 5. หามนาํ สัตวป ก ทีป่ ว ยหรอื ตายมารับประทาน หรอื ปรุงเปนอาหารอยา งเด็ดขาด 6. รักษาความสะอาดในบา น ในสถานประกอบการ และบริเวณรอบ ๆ ใหสะอาดอยู เสมอ 7. กําจดั สัตวท ่ปี วยหรอื ตายผิดปกติ ดวยการเผาหรอื ฝงอยางถูกวิธีและราดดวยนํ้ายา ฆา เชื้อโรคหรอื โรยดวยปนู ขาว 8. หากพบไก เปด หรือสัตวปกตายจํานวนมากผิดปกติใหรีบแจงเจาหนาที่ ผูนํา ชุมชน ทนั ที ผลกระทบเมือ่ มกี ารระบาดของไขหวดั นก 1. เมื่อเกิดการระบาดของไขหวัดนกจากคนสูคน เช้ือจะติดตอโดยการจามหรือไอ จากนั้นคนท่ไี ดรับเช้ืออาจจะแพรเ ชอื้ โดยทีย่ งั ไมมอี าการ ทาํ ใหเชอื้ ระบาดไปทัว่ โลกไดอยางรวดเร็ว 2. ประมาณวาจะมีประชากรโลกติดเชอ้ื รอ ยละ 25-30 โดยคาดวา จะมคี นเสยี ชวี ิตจาก การตดิ เชือ้ นี้ประมาณ 2 – 7.4 ลา นคนท่วั โลก ซงึ่ หากเช้อื มีความรุนแรงก็อาจจะมคี นเสียชีวิตมากกวานี้ 3. จํานวนเตียงของโรงพยาบาลจะไมเพียงพอ ทําใหขาดบุคลากรดานการ รกั ษาพยาบาล รวมทัง้ การดแู ลรกั ษาจะไมทวั่ ถึง 4. จะขาดแคลนเวชภัณฑ ยาปฏิชีวนะหรอื วคั ซนี ท่ใี ชใ นการรกั ษา 5. เกดิ ปญ หาตอเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศน้ัน ๆ 6. การชวยเหลือจากนานาชาติอาจทําไดนอยลง เน่ืองจากแตละประเทศก็ตองดูแล และหวงใยประชาชนของตนเอง สรปุ คนตดิ เชือ้ โรคไขหวัดนกไดอ ยางไร
104 เมื่อนกน้ําอพยพไปอาศัยท่ีใดก็จะถายอุจจาระที่มีเชื้อโรค สัตวเล้ียง เชน ไก เมื่อ ไดรับเชื้อโรคก็จะเกิดการติดเชื้อ ซ่ึงสามารถแพรสูคนได เม่ือไกตายหรือปวย อาจมีการสัมผัสไก เหลาน้ันหรือนําไปบริโภคโดยท่ีไมไดทําใหสุกเสียกอน ก็จะทําใหคนติดเชื้อไขหวัดนกจากไก นอกจากนก้ี ารตดิ ตออาจเกิดขณะทาํ การเชือดไก ถอนขนไกหรอื ทาํ ความสะอาดเครอื่ งในไกไ ด อยา งไรก็ตาม โรคไขหวดั นกเปนโรคติดตอ ของสตั วปก ตามปกติ เช้ือโรคน้ีจะติดตอ มายังคนไดไ มงายนัก หากมีการระมัดระวังไมสัมผัสไกปวย ไกตายหรือไกที่มีเชื้อโรคโดยตรง หรือ รบั ประทานไกทีป่ รุงสกุ ในอุณหภูมิ 70 C ขึ้นไปกจ็ ะปลอดภัยจากโรคไขหวดั นกได อหิวาตกโรค อหวิ าตกโรค (Cholera) คือ โรคระบาดชนิดหนึ่งมีอาการทองรวง อาเจียน รางกายจะ ขับนํ้าออกมาเปน จํานวนมาก อหิวาตกโรคเปนโรคในระบบทางเดินอาหารที่เกิดข้ึนเฉียบพลัน เกิดจากเช้ือ แบคทีเรียใน สายพันธุเฉพาะช่ือ ไวบริโอ คอเลอรี (Vibrio cholerae) โดยทั่วไปมีอาการไมมาก แต ประมาณ 1 ใน 10 ราย อาจเกิดอาการทอ งเสียอยางรุนแรง อาเจียน และเปนตะคริวที่ขาได เปนผลไม เกดิ การสูญเสยี นาํ้ และเกลือแรอ ยางรวดเรว็ เกดิ ภาวะขาดนํ้าและหมดสติ ถาไมไดรับการรักษาอาจถึง แกช วี ิต การติดตอ และแพรก ระจายของเชอ้ื โรค อหวิ าตกโรคติดตอ ไดจากการรับประทานอาหารหรือด่ืมนํ้าที่ปนเปอนอุจจาระหรือ อาเจียนของผูติดเช้ือหรือโดยการรับประทานหอยดิบ ๆ จากแหลงน้ําท่ีมีเช้ือนี้ แตไมติดตอโดยการ สมั ผสั ผวิ เผินกับผูต ดิ เชอื้ การระบาดมักเกิดในบริเวณที่มีระบบทอระบายอุจจาระและแหลงน้ําสะอาดไม เพียงพอ ไมก่ีปมาน้ีโรคอหิวาตกโรคเกิดระบาดตอเน่ืองกันหลายครั้งในพื้นท่ีบางแหงของทวีป แอฟริกา เอเชีย อเมริกาใต และอเมริกากลาง (แมตามปกติจะมีแหลงน้ําสะอาดพอเพียง แต อหวิ าตกโรคก็อาจเกดิ ข้ึนหลงั จากมีภยั ธรรมชาติ เชน แผนดนิ ไหวหรือนํ้าทวมได) อยางไรก็ดี ผูท่ีเขา ไปในบรเิ วณแพรร ะบาด ของโรค แตระมัดระวงั เร่อื งการกินอาหารกม็ ีความเสี่ยงท่จี ะติดเชอื้ นอ ย ระยะเวลาฟกตัว ผทู ไี่ ดร ับเชอื้ จะเกิดอาการไดตัง้ แต 24 ช่วั โมง ถึง 5 วัน แตโดยเฉล่ียแลว จะเกิดอาการ ภายใน 1-2 วัน
105 อาการ 1. เปนอยางไมรุนแรง พวกนี้มักหายภายใน 1 วัน หรืออยางชา 5 วัน มีอาการถาย อุจจาระเหลวเปน น้ํา วันละหลายครงั้ แตจาํ นวนอจุ จาระไมเกินวันละ 1 ลิตร ในผูใหญอาจมีปวดทอง หรอื คล่ืนไสอาเจยี นได 2. เปนอยางรุนแรง อาการระยะแรก มีทองเดิน มีเนื้ออุจจาระมาก ตอมามีลักษณะ เปนน้ําซาวขาว เพราะวามีมูกมาก มีกลิ่นเหม็นคาว ถายอุจจาระไดโดยไมมีอาการปวดทอง บางคร้ัง ไหลพุงออกมาโดยไมรูสึกตัว มีอาการอาเจียนโดยไมคล่ืนไส อุจจาระออกมากถึง 1 ลิตรตอช่ัวโมง และจะหยดุ เองใน 1-6 วนั ถาไดน้ําและเกลอื แรช ดเชยอยา งเพียงพอ แตถ าไดน้ําและเกลอื แรทดแทนไม ทนั กับท่ีเสยี ไป จะมีอาการขาดน้ําอยางมาก ลกุ น่ังไมไหว ปส สาวะนอย หรือไมมีเลย อาจมีอาการเปน ลม หนา มืด จนถงึ ชอ็ ก ซึง่ เปนอนั ตรายถงึ ชวี ติ ได ขอควรปฏิบตั เิ มอื่ เกิดอาการทองเสยี 1. งดอาหารที่มรี สจดั หรือเผ็ดรอน หรือของหมักดอง 2. ดื่มนา้ํ ชาแกแทนนาํ้ บางรายตองงดอาหารชว่ั คราว เพ่อื ลดการระคายเคอื งในลาํ ไส 3. ดม่ื นาํ้ เกลือผง สลับกบั น้ําตมสุก ถา เปนเดก็ เล็กควรปรึกษาแพทย 4. ถา ทอ งเสยี อยางรุนแรง ตอ งรบี นําสงแพทยดว น การปอ งกนั 1. รบั ประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม ๆ และด่ืมน้ําสะอาด เชน นํ้าตมสุก ภาชนะท่ีใส อาหารควรลางสะอาดทกุ คร้งั กอ นใช หลีกเล่ยี งอาหารหมกั ดอง สกุ ๆ ดิบ ๆ อาหารท่ีปรุงท้ิงไวนาน ๆ อาหารทีม่ ีแมลงวันตอม 2. ลางมือฟอกสบูใหสะอาดทุกครั้งกอนกินอาหารหรือกอนปรุงอาหารและหลัง เขา สว ม 3. ไมเ ทอุจจาระ ปส สาวะและสิง่ ปฏกิ ูลลงในแมนาํ้ ลําคลอง หรือทิ้งเร่ียราด ตองถาย ลงในสว มท่ีถูกสขุ ลักษณะและกาํ จดั สิง่ ปฏิกูลโดยการเผาหรอื ฝงดนิ เพอื่ ปองกันการแพรของเชื้อโรค 4. ระวงั ไมใหน าํ้ เขา ปาก เมื่อลงเลน หรอื อาบนํ้าในลาํ คลอง 5. หลกี เล่ียงการสมั ผสั ผูป วยทีเ่ ปน อหวิ าตกโรค 6. สําหรับผูท ี่สมั ผสั โรคนี้ ควรรบั ประทานยาทแ่ี พทยใหจนครบ การรักษาทางการแพทย การรักษาฉุกเฉิน คือ การรักษาภาวะขาดน้ําโดยดวน ดวยการใหน้ําและเกลือแร ทดแทนการสูญเสียทางอุจจาระ ถาผูปวยอยูในภาวะขาดน้ํารุนแรง ตองใหน้ําทางเสนโลหิตอยาง เรงดว น จนกวาปริมาณนํ้าในรา งกาย ความดันโลหติ และชพี จรจะกลับสูภาวะปกติ
106 สําหรับผูปวยในระดับปานกลางท่ัวไป การใหดื่มนํ้าเกลือแรทดแทนจะใหผลดี สวนผสมของนา้ํ เกลอื แรส ตู รมาตรฐานไดแ ก กลโู คส 20 ก. โซเดียมคลอไรด 3.5 ก. โปแตสเซียม 1.5 ก. และโตรโซเดียมซเิ ทรต 2.9 ก. หรือโซเดยี มไบคารบอเนต 2.5 ก. ตอ น้ําสะอาด 1 ลิตร โรคชิคนุ กนุ ยา (Chikungunya) การตดิ เชื้อ Chikungunya virus เดิมมรี กรากอยใู นทวปี อาฟริกา ในประเทศไทยมีการ ตรวจพบครงั้ แรกพรอมกับที่มไี ขเ ลือดออกระบาดและเปน ครั้งแรกในทวีปเอเชีย เมื่อ พ.ศ. 2501 โดย Prof.W McD Hamnon แยกเชื้อชคิ นุ กนุ ยา ไดจ ากผูป วยโรงพยาบาลเด็ก กรุงเทพมหานคร ลักษณะโรค โรคชิคนุ กนุ ยา เปน โรคติดเช้ือไวรัสชิคุนกุนยาที่มียุงลายเปนพาหะนําโรค มีอาการ คลายไขแ ดง แตตางกันท่ีไมมีการร่วั ของพลาสมาออกนอกเสนเลือด จึงไมพบผูปวยท่ีมีอาการรุนแรง มากจนถงึ มีอาการช็อก สาเหตุ เกดิ จากเชอื้ ไวรัสชิคนุ กนุ ยา (Chikungunya virus) โดยมียุงลาย เปน พาหะนาํ โรค วธิ กี ารตดิ ตอ ตดิ ตอ กันไดโ ดยมียุงลาย Aedes aegypti เปนพาหะนําโรคที่สําคัญ เม่ือยุงลายตัวเมีย กดั และดูดเลือดผูปวยที่อยูในระยะไขสูง ซ่ึงเปนระยะที่มีไวรัสอยูในกระแสเลือด เชื้อไวรัสจะเขาสู กระเพาะยุง และเพมิ่ จาํ นวนมากข้นึ แลวเดินทางเขา สูตอมนํ้าลาย เมอ่ื ยุงทีม่ เี ช้ือไวรัสชิคุนกุนยาไปกัด คนอืน่ กจ็ ะปลอ ยเชอื้ ไปยังคนทถี่ กู กดั ทําใหคนนนั้ เกิดอาการของโรคได ระยะฟก ตัว โดยทวั่ ไปประมาณ 1-12 วัน แตท่พี บบอ ยประมาณ 2-3 วนั ระยะติดตอ ระยะไขสงู ประมาณวันท่ี 2-4 เปนระยะท่มี ไี วรสั อยูในกระแสเลอื ดมาก อาการและอาการแสดง ผูปวยจะมอี าการไขสูงอยา งฉับพลัน มีผืน่ แดงขน้ึ ตามรา งกายและอาจมอี าการคนั รวม ดว ย พบตาแดง (conjunctiva injection) แตไ มคอยพบจดุ เลอื ดออกในตาขาว สว นใหญแลวในเด็กจะมี อาการไมร นุ แรงเทาในผใู หญ ในผใู หญอ าการทเี่ ดน ชัดคืออาการปวดขอ ซงึ่ อาจพบขออักเสบได สวน ใหญจ ะเปน ทีข่ อ เลก็ ๆ เชน ขอมอื ขอเทา อาการปวดขอจะพบไดห ลาย ๆ ขอ เปลี่ยนตําแหนงไปเรื่อย ๆ อาการจะรุนแรงมากจนบางครั้งขยับขอไมไ ด อาการจะหายภายใน 1-12 สปั ดาห ผูป ว ยบางรายอาจมี
107 อาการปวดขอเกิดข้ึนไดอ ีกภายใน 2-3 สปั ดาหตอ มา และบางรายอาการปวดขอจะอยไู ดน านเปน เดือน หรอื เปนป ไมพ บผปู ว ยทมี่ ีอาการรนุ แรงถึงช็อก ซ่ึงแตกตางจากโรคไขเลอื ดออก โรคน้จี ะพบมากในฤดฝู น เมื่อประชากรยงุ เพ่ิมขนึ้ และมีการติดเช้ือในยุงลายมากขึ้น พบโรคนีไ้ ดใ นทกุ กลุมอายุ ซึ่งตางจากไขเ ลอื ดออกและหดั เยอรมนั ทส่ี วนมากพบในผูอายุนอยกวา 15 ป ในประเทศไทยพบมีการระบาดของโรคชิคุนกุนยา 6 ครั้ง ในป พ.ศ. 2531 ท่ีจังหวัดสุรินทร พ.ศ. 2534 ที่จังหวัดขอนแกนและปราจีนบุรี ในป พ.ศ. 2536 มีการระบาด 3 ครั้ง ท่ีจังหวัดเลย นครศรีธรรมราช และหนองคาย และกลับมาระบาดอกี ในป พ.ศ. 2551 การรักษา ไมมีการรักษาท่ีจําเพาะเจาะจง (specific treatment) การรักษาเปนการรักษาแบบ ประคับประคอง (supportive treatment) เชน ใหยาลดอาการไข ปวดขอ และการพกั ผอน การปองกนั การปองกันทดี่ ีควรปฏบิ ตั ิเชน เดยี วกับการปองกันโรคไขเลือดออก คือ ทําลายแหลง เพาะพันธุยุงลาย และนอนกางมุง หรือนอนในหองท่ีมีมุงลวด หากตองออกไปในท่ีมียุงชุกชุม ควร ทายากนั ยุงปองกนั ทกุ คร้งั โรคไขหวดั ใหญแ ละไขห วัดใหญส ายพันธใุ หม 2009 โรคไขห วดั ใหญ โรคไขหวดั ใหญ เปน โรคตดิ เช้อื ระบบทางเดินหายใจ เกดิ จากเชอ้ื ไวรัส พบไดท ้ังเด็ก และผใู หญ สามารถติดตอ กันไดงา ยจะมอี าการรุนแรงกวาโรคหวดั ธรรมดา ผปู ว ยจะมไี ขสงู ปวดศีรษะ ปวดเมอ่ื ยกลามเนือ้ ออนเพลยี คัดจมูก นาํ้ มูกไหล ตาแดง ไอ จาม บางรายอาจมีอาการคลื่นไส อาเจียน เบ่ืออาหาร ทองเดิน และอาจมีโรคแทรกซอนได เชน หลอดลมอักเสบ กลามเน้ือหัวใจอักเสบ ปวดบวม ตอมทอนซิลอักเสบ เปนตน ซึ่งภาวะแทรกซอน เหลา นีม้ กั เกดิ ในเด็กเลก็ คนสงู อายุ ผปู ว ยเบาหวาน คนทส่ี บู บุหรีจ่ ดั หรือผูป วยทเ่ี ปน โรคปอดเรอ้ื รงั ถาปวยเปน โรคไขห วัดใหญควรไปรับการตรวจรักษาจากแพทย เพราะจะไมหายงาย ๆ เหมอื นโรคหวัดธรรมดา สาํ หรับการปฏิบัติตนหลังการตรวจรักษาก็ควรพักผอนมาก ๆ งดการทํางาน หนกั หรอื การออกกาํ ลังกาย สวมเส้อื ผาใหร า งกายอบอนุ อยาอาบน้ําเย็น ดื่มน้ําอุนมาก ๆ เพ่ือชวยลด ไข รบั ประทานอาหารออน ๆ ใชผ าชุบนํา้ ธรรมดาเช็ดตัวเม่ือเวลามีไข และรับประทานยาตามแพทยส่งั ในการปองกันโรคนี้ก็เหมือนกับการปองกันโรคหวัดธรรมดาและในปจจุบันน้ีก็มี วัคซีนปองกนั โรคไขหวัดใหญ ซึ่งผูที่ควรไดรับวัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญ ไดแก ผูสูงอายุ ผูปวย ดว ยโรคเร้อื รัง
108 ตาง ๆ เชน โรคเบาหวาน โรคหอบหดื โรคไต โรคเลือด โรคหัวใจ โรคปอด เปนตน ผูปวยติดเชื้อเอช ไอวี เดก็ ทม่ี โี รคเรอ้ื รงั เกี่ยวกบั ระบบทางเดินหายใจ ผทู กี่ ําลงั จะเดินทางไปตางประเทศและผูที่ทํางาน บริการสาธารณชน โรคไขห วดั ใหญ ติดตอเฉยี บพลันของระบบทางเดินหายใจไดรวดเร็ว มักระบาดใน ฤดูฝน ไขห วดั ใหญม ีหลายชนดิ บางชนดิ รนุ แรงทาํ ใหผูปว ยเสียชีวติ ได สาเหตุ เกดิ จากเชื้อไวรัส มีอยู 3 ชนิด คือ ชนิดเอ ชนิดบี และชนิดซี บางครั้งใชชื่อ ตามเมืองที่ระบาด เชน ไขหวดั ฮองกง หรอื ไขห วัดใหญ 2009 เปนตน การติดตอ เหมอื นกบั ไขห วดั ธรรมดา ติดตอ โดยการสัมผัสโดยตรง ดว ยการไอหรือ จามรดกนั หายใจเอาเช้อื โรคท่ปี ะปนอยใู นอากาศและติดตอทางออมโดยการใชสิ่งของ เสื้อผา ปะปน กับผปู ว ย ระยะฟก ตวั ของโรค ประมาณ 1-3 วัน สําหรับเด็กเล็กอาจแพรเ ชื้อไดน านถงึ 7 วนั อาการ มอี าการรนุ แรงมากกวา ไขหวัดธรรมดา มักเกิดขึ้นทันทีทันใด ดวยการปวด ศรี ษะ หนาวสน่ั มีไข ปวดเมอ่ื ยกลา มเน้ือ ออ นเพลยี เบอื่ อาหาร การรักษาพยาบาล ไขหวัดใหญไมมียารักษา ตองรักษาตามอาการของโรคและ ปอ งกันการเกิดโรคแทรกซอน การปฏบิ ัติตน เมอื่ มีอาการโรค ควรรักษาตามอาการของโรค โดยปรึกษาแพทยและ รับประทานยาตามแพทยสั่ง พักผอนใหมาก ๆ รับประทานอาหารใหครบ 5 หมู ควรทําใหรางกาย อบอุน เชน การนอนหม ผา เวลาไอหรอื จามควรใชผาหรอื กระดาษปด ปากปด จมกู เพ่อื ปองกันเชื้อโรค ไมใหแ พรกระจายไปสูผ ูอ่นื การปองกันและควบคุมโรค ควรปฏบิ ัตดิ งั นี้ 1. ไมค วรคลุกคลกี ับผูปวย ควรแยกใหอยตู า งหาก 2. ไมใ ชข องใชร วมกบั ผูปวย 3. เวลาไอหรอื จามควรปด ปาก ปดจมูก 4. รกั ษารา งกายใหแขง็ แรงอยเู สมอ โรคไขหวดั ใหญสายพนั ธุใหม 2009 ไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 หรือไขหวัดใหญสายพันธุใหมชนิดเอ (H1N1) ท่ี แพรระบาดเปนปญหาสาธารณสุขของประเทศไทยอยูในขณะน้ี ทําใหมีผูเสียชีวิตแลวหลายสิบราย และมผี ูติดเชือ้ กวาพันราย (ขอมูลเดอื นสิงหาคม 2552) ปจจุบันการแพรระบาดของโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ชนิดเอ (H1 N1) กําลัง ขยายตัวไปท่ัวโลก และขณะน้ีประเทศไทยพบการระบาดภายในประเทศแลว โดยเฉพาะอยางยิ่ง สถานศึกษาและสถานประกอบการ ซึ่งอาจแพรระบาดอยางรวดเร็ว ไขหวัดใหญสายพันธุใหมนี้มี
109 อาการคลา ยกับไขห วดั หรอื ไขหวดั ใหญธรรมดา สวนใหญม ีอาการนอยและหายไดโดยไมตองรับการ รักษาท่โี รงพยาบาล สําหรับผูปวยจํานวนไมมากในตางประเทศที่เสียชีวิต มักเปนผูท่ีมีโรคประจําตัว เรือ้ รงั เชน โรคปอด หอบหดื โรคหวั ใจและหลอดเลือด เบาหวาน เปนตน ผูมีภูมิตานทานตํ่า โรค อวน ผูสงู อายุมากกวา 65 ป เดก็ อายุต่าํ กวา 5 ป และหญิงมคี รรภ สําหรับวิธีการติดตอและวิธีการปองกันโรค จะคลายกับไขหวัดใหญธรรมดา กระทรวงสาธารณสุขจึงขอใหคําแนะนําในการปองกันและควบคุมโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ชนิดเอ (เอช1 เอ็น1) ดังตอ ไปน้ี คําแนะนาํ สาํ หรบั ประชาชนทัว่ ไป 1. ลา งมือบอ ย ๆ ดวยน้ําและสบู หรือใชแอลกอฮอลเ จลทําความสะอาดมอื 2. ไมใ ชแกว น้ํา หลอดดดู นาํ้ ชอนอาหาร ผาเชด็ มอื ผาเช็ดหนา ผา เชด็ ตัว รวมกับ ผูอ ื่น 3. ไมค วรคลุกคลใี กลชิดกับผูปวยท่ีมอี าการไขห วัด 4. รกั ษาสขุ ภาพใหแขง็ แรง ดว ยการกนิ อาหารที่มีคณุ คาทางโภชนาการ ดื่มน้ํามาก ๆ นอนหลับพกั ผอนใหเพยี งพอ และออกกําลังกายอยา งสม่ําเสมอ 5. ควรหลกี เลย่ี งการอยใู นสถานทท่ี มี่ ผี ูค นแออดั และอากาศถายเทไมดีเปนเวลานาน โดยไมจาํ เปน 6. ติดตามคาํ แนะนาํ อ่นื ๆ ของกระทรวงสาธารณสุขอยางใกลชดิ คาํ แนะนาํ สาํ หรับผปู ว ยไขหวดั หรือไขห วดั ใหญ 1. หากมีอาการปวยไมรุนแรง เชน ไขไมสูง ไมซึม และรับประทานอาหารได สามารถรกั ษาตามอาการดวยตนเองท่ีบา นได ไมจ ําเปนตองไปโรงพยาบาล ควรใชพาราเซตามอลเพื่อ ลดไข (หามใชย าแอสไพรนิ ) นอนหลับพักผอ นใหเพียงพอ และด่มื นาํ้ มาก ๆ 2. ควรหยดุ เรยี น หยดุ งาน จนกวาจะหายเปนปกติ และหลีกเลี่ยงการคลุกคลีใกลชิด หรือใชสง่ิ ของรวมกบั ผูอ่ืน 3. สวมหนา กากอนามัยเม่ือจําเปนตองอยูกับผูอ่ืน หรือใชกระดาษทิชชู ผาเช็ดหนา ปดปากและจมกู ทุกครงั้ ที่ไอ จาม 4. ลางมือบอย ๆ ดวยน้ําและสบู หรือใชแอลกอฮอลเจลทําความสะอาดมือ โดยเฉพาะหลงั การไอ จาม 5. หากมีอาการรุนแรง เชน หายใจลําบาก หอบเหน่ือย อาเจียนมาก ซึม ควรรีบไป พบแพทย
110 คําแนะนําสําหรบั สถานศึกษา 1. แนะนาํ ใหผูเ รยี นที่มีอาการปวยคลายไขหวัดใหญ พักรักษาตัวที่บานหรือหอพัก หากมอี าการปว ยรุนแรง ควรรบี ไปพบแพทย 2. ตรวจสอบจํานวนผูเรียนท่ีขาดเรียนในแตละวัน หากพบขาดเรียนผิดปกติ หรือ ตั้งแต 3 คนข้ึนไปในหองเรียนเดียวกัน และสงสัยวาปวยเปนไขหวัดใหญใหแจงตอเจาหนาที่ สาธารณสุขในพน้ื ที่ เพ่อื สอบสวนและควบคมุ โรค 3. แนะนาํ ใหผ ูเ รียนทีเ่ ดินทางกลับจากตางประเทศ เฝาสังเกตอาการของตนเองเปน เวลา 7 วนั ถา มอี าการปว ยใหห ยุดพักรกั ษาตัวทีบ่ า น 4. หากสถานศึกษาสามารถใหผูเรียนที่มีอาการปวยคลายไขหวัดใหญทุกคน หยดุ เรยี นไดก จ็ ะปอ งกนั การแพรก ระจายเชอ้ื ไดด ี และไมจาํ เปน ตอ งปดสถานศกึ ษา แตห ากจะพจิ ารณา เปดสถานศึกษา ควรหารอื รวมกนั ระหวางสถานศึกษากบั เจาหนา ทสี่ าธารณสุขในพน้ื ท่ี 5. ควรทําความสะอาดอุปกรณ ส่ิงของ เคร่ืองใชท่ีมีผูสัมผัสจํานวนมาก เชน โตะ เรียน ลูกบดิ ประตู โทรศัพท ราวบนั ได คอมพวิ เตอร ฯลฯ โดยการใชน ้ําผงซกั ฟอกเช็ดทาํ ความสะอาด อยา งนอ ยวนั ละ 1-2 ครัง้ จดั ใหม อี างลางมือ น้ําและสบูอ ยา งเพียงพอ ในบางวันควรเปดประตูหนาตาง ใหอ ากาศถา ยเทไดส ะดวก และแสงแดดสอ งไดท่ัวถงึ คําแนะนําสาํ หรับสถานประกอบการและสถานที่ทาํ งาน 1. แนะนําใหพนักงานท่ีมีอาการปวยคลายไขหวัดใหญ พักรักษาตัวท่ีบาน หากมี อาการปว ยรุนแรง ควรรบี ไปพบแพทย 2. ตรวจสอบจํานวนพนักงานที่ขาดงานในแตละวัน หากพบขาดงานผิดปกติ หรือ ตง้ั แต 3 คนขนึ้ ไปในแผนกเดียวกัน และสงสยั วาปว ยเปน ไขหวัดใหญ ใหแจง ตอเจาหนาทีส่ าธารณสุข ในพน้ื ท่ี เพื่อสอบสวนและควบคมุ โรค 3. แนะนําใหพนักงานท่ีเดินทางกลับจากตางประเทศ เฝาสังเกตอาการของตนเอง เปน เวลา 7 วัน ถา มีอาการปว ยใหหยดุ พักรักษาตวั ที่บา น 4. ในสถานการณปจจุบัน ยงั ไมแ นะนาํ ใหป ดสถานประกอบการหรือสถานท่ีทํางาน เพื่อการปองกนั การระบาดของโรคไขหวัดใหญ 5. ควรทําความสะอาดอุปกรณ ส่ิงของ เคร่ืองใช ที่มีผูสัมผัสจํานวนมาก เชนโตะ ทํางาน ลกู บิดประตู โทรศัพท ราวบันได คอมพิวเตอร ฯลฯ โดยการใชน ้ําผงซักฟอกทั่วไปเชด็ ทาํ ความ สะอาดอยางนอยวันละ 1-2 ครง้ั จัดใหมีอา งลางมือ นํ้าและสบูอยางเพียงพอ ในบางวันควรเปดประตู หนา ตาง ใหอ ากาศถายเทไดสะดวก และแสงแดดสองไดทั่วถึง 6. ควรจัดทําแผนการประคองกิจการในสถานประกอบการและสถานท่ีทํางาน เพ่อื ใหสามารถดําเนนิ กจิ การตอ ไปไดอ ยา งตอ เนอ่ื ง หากเกิดการระบาดใหญ
111 แหลง ขอ มลู การติดตอเพ่อื ปรกึ ษากับเจาหนาทส่ี าธารณสขุ ในพ้ืนที่ 1. กรุงเทพมหานคร ติดตอไดที่ กองควบคุมโรค สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร โทรศพั ท 0-2245-8106, 0-2246-0358 และ 0-2354-1836 2. ตางจงั หวัด ตดิ ตอไดท่ี สาํ นักงานสาธารณสขุ จังหวดั ทุกแหง ติ ด ต า ม ข อ มู ล แ ล ะ ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ พิ่ ม เ ติ ม ไ ด ที่ เ ว็ บ ไ ซ ต ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข www.moph.go.th และหากมีขอสงสัย สามารถติดตอไดท่ี ศูนยปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค หมายเลข โทรศัพท 0-2590-3333 และศูนยบ ริการขอ มลู ออนไลน กระทรวงสาธารณสุข หมายเลขโทรศัพท 0- 2590-1994 ตลอด 24 ชว่ั โมง กจิ กรรม ใหผ เู รียนศกึ ษาและรวบรวมขอ มูลการเจบ็ ปวยดวยโรคตดิ ตอที่ระบาดอยูใ นชว งเวลา ปจ จุบัน พรอมบอกวธิ ีการปองกนั และแกปญ หาในชุมชน ชอื่ โรค..................................................................................... อาการ ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… เช้ือโรคและพาหะนาํ โรค ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………
112 การปอ งกนั และการรกั ษา ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… การแกปญ หาการแพรร ะบาดในชุมชน โดยวธิ ี ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………
113 บทท่ี 6 ยาแผนโบราณและยาสมุนไพร สาระสาํ คญั ปจ จุบนั ประชาชนหนั มานิยมใชยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพรกนั มากข้ึน การศึกษา ถงึ สรรพคณุ และวธิ ีการใชยาแผนโบราณและยาสมุนไพรที่ถูกตองจะชวยใหประชาชนรูจักการดูแล รักษาสขุ ภาพดว ยตนเองอยางมีประสทิ ธิภาพและปลอดภยั ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั เพ่อื ใหผ ูเรยี นสามารถ 1. บอกสรรพคุณและวธิ กี ารใชย าแผนโบราณและยาสมุนไพรท่สี าํ คัญได 2. อธบิ ายอันตรายทอี่ าจเกดิ ขนึ้ จากการใชย าแผนโบราณและยาสมุนไพรได ขอบขายเนอื้ หา เร่อื งท่ี 1 หลกั และวธิ กี ารใชยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพร เรอื่ งท่ี 2 อันตรายจากการใชยาแผนโบราณและยาสมุนไพร
114 เรอ่ื งที่ 1 หลักและวธิ กี ารใชยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพร ปจ จบุ นั มกี ารสนับสนุนใหใช “สมุนไพร” ในการรักษาโรคตาง ๆ และมีผลิตภัณฑ สมนุ ไพรออกมามากจนเกดิ การสบั สนระหวาง “สมุนไพร” และ “ยาแผนโบราณ” ซึ่ง “ยาสมุนไพร” นนั้ จะหมายถึง ยาทีไ่ ดจ ากพฤกษชาติ สตั ว หรอื แร ซ่งึ มิไดผ สมปรุงหรือแปรสภาพในขณะที่ “ยาแผน โบราณ” เปน การนําเอาสมุนไพรมาแปรรูปแลวอาจจะอยูในรูปยาน้ํา ยาเม็ด หรือแคปซูล ซ่ึงยาแผน โบราณนี้ การจะผลติ หรือนําสั่งเขา มาจะตองไดรับอนญุ าตจาก อย. กอน รวมท้งั การขายยาแผนโบราณ ตองขายเฉพาะในรา นขายยาแผนโบราณหรอื ในรา นขายยาแผนปจ จุบนั เทา น้ัน 1.1 หลักและวิธกี ารใชย าแผนโบราณ ความหมายของยาแผนโบราณ ตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2510 ไดแบงออกเปน 2 แบบ คือ ยาแผนปจจุบันและยา แผนโบราณ “ยาแผนโบราณ” คอื ยาที่มงุ หมายสําหรับใชในการประกอบโรคศิลปแ ผนโบราณ ซึ่งเปน ยาทีอ่ าศัยความรจู ากตาํ ราหรือเรียนสืบตอกันมา อันมิใชการศึกษาตามหลักวิทยาศาสตร และยาแผน โบราณ ที่ยอมรับของกฎหมายยาจะตองปรากฏในตํารายาที่รัฐมนตรีประกาศหรือเปนยาที่รัฐมนตรี ประกาศหรือรบั ขึ้นทะเบียนเทาน้นั การควบคุมยาแผนโบราณตามกฎหมายท่ีควรรู 1. การผลิต นําเขา และการขายยาแผนโบราณ จะตองไดรับอนุญาตจากสํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา หรือสาํ นักงานสาธารณสุขจงั หวัด และตอ งจัดใหผูประกอบโรคศลิ ปแผน โบราณเปน ผูมหี นา ทปี่ ฏบิ ตั ิการประจาํ อยตู ลอดเวลาทเี่ ปด ทาํ การ 2. หามมิใหผูรับอนุญาตผลิตยา ขาย หรือนําเขายาแผนโบราณนอกสถานที่ท่ีได กําหนดไวในใบอนญุ าต เวน แตเปนการขายสงตรงตอผูรับอนุญาตขายยาแผนโบราณ 3. ตํารับยาแผนโบราณท่ีผลิตหรือนําเขาอยางถูกตองตามกฎหมาย จะตองขอขึ้น ทะเบยี นตาํ รบั ยาและไดเลขทะเบยี นจงึ จะผลติ หรอื นําเขาได
115 4. ยาแผนโบราณที่รับขึ้นทะเบียน ตองเปนยาท่ีมีสรรพคุณเปนที่เชื่อถือไดและ ปลอดภยั ในการใช 5. ผูผลิต ขาย หรือนําเขายาแผนโบราณ โดยไมไดรับอนุญาต จะมีความผิดตอง ระวางโทษจาํ คุกไมเ กิน 3 ป และปรับไมเกนิ 5,000 บาท (หาพันบาท) 6. ผูผลิต ขาย หรือนําเขายาท่ีไมไดข้ึนทะเบียน จะมีความผิดตองระวางโทษจําคุก ไมเ กิน 3 ป หรอื ปรับไมเกิน 5,000 บาท (หาพนั บาท) หรอื ทงั้ จาํ ท้ังปรับ 7. ผูท่ีผลิตยาปลอมจะมีความผิดตองระวางโทษจําคุกตั้งแต 3 ปถึงตลอดชีวิต และ ปรบั ตั้งแต 10,000 บาท – 50,000 บาท (หน่ึงหมน่ื ถึงหา หม่นื บาท) 8. ผูท่ีขายยาปลอมจะมีความผิด ตองระวางโทษจําคุกต้ังแต 1 ป – 20 ป และปรับ ตง้ั แต 2,000 – 10,000 บาท (สองพันถึงหนงึ่ หม่นื บาท) 9. ผทู โี่ ฆษณาขายยาโดยฝาฝนกฎหมาย ตองระวางโทษ ปรับไมเกิน 100,000 บาท (หน่ึงแสนบาท) รายละเอียดจะกลา วตอ ไป ปญหายาแผนโบราณท่พี บในปจ จบุ ัน แมวาจะมีกฎหมายและหนวยงานที่คอยควบคุมการผลิตและการขายยาแผนโบราณเพื่อ คมุ ครองใหผูบ รโิ ภคปลอดภยั จากการใชยาแผนโบราณ แตก็ไมสามารถที่จะขจัดปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ได ไมวาจะเปนการลักลอบผลิตและขายยาแผนโบราณโดยไมไดขออนุญาตผลิตและขายจาก สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาหรือสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด การขายยาแผนโบราณท่ี ไมไ ดข นึ้ ทะเบยี นหรอื ยาปลอม อนั ตรายจากการรับประทานยาแผนโบราณทีไ่ มไ ดขึ้นทะเบียนหรอื ยาปลอม ในปจจุบันพบวา มียาแผนโบราณที่ไมไดขึ้นทะเบียนหรือยาปลอมกอใหเกิดอันตรายตอ ผูบริโภคได เชน มีการปนเปอนของจุลินทรียที่กอใหเกิดโรค หรือการนําสารเคมีท่ีไมปลอดภัยตอ ผบู ริโภคมาใสในยาแผนโบราณ เชน เมธิลแอลกอฮอล คลอโรฟอรม การใสยาแกปวด แผนปจจุบัน เชน อินโดเมทาซนิ หรอื แมแตการนํายาเฟนิลบิวตาโวนและสเตียรอยด ซ่ึงเปนยาควบคุมพิเศษ ซ่ึงมี ผลขางเคยี งสงู ผสมลงในยาแผนโบราณ เพ่อื ใหเกิดผลในการรักษาท่ีรวดเร็ว แตจะทําใหเกิดอันตราย ตอผูบรโิ ภค คอื ทําใหเกิดโรคกระดกู ผุ โรคความดนั โลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคกระเพาะได เปน ตน
116 การเลอื กซือ้ ยาแผนโบราณ เพื่อความปลอดภัยในการใชยาแผนโบราณ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาขอ แนะนําวิธกี ารเลือกซื้อยาแผนโบราณ ดังน้ี 1. ควรซอ้ื ยาแผนโบราณจากรา นขายยาท่มี ใี บอนุญาตและมีเลขทะเบยี นตํารบั ยา 2. ไมค วรซ้ือยาแผนโบราณจากรถเรขาย เพราะอาจไดรับยาที่ผลิตขึ้นโดยผูผลิตที่ ไมไดมาตรฐาน ซึ่งอาจมีการปนเปอนของจุลินทรียในระหวางการผลิตอาจทําใหเกิดอันตรายตอ ผูบรโิ ภคได 3. กอ นซื้อยาแผนโบราณ ควรตรวจดูฉลากยาทกุ ครง้ั วา มีขอความดงั กลา วน้ีหรอื ไม ชื่อยาเลขทหี่ รอื รหัสใบสําคัญการข้ึนทะเบียนยา ปริมาณของยาท่ีบรรจุ เลขทีห่ รืออักษรแสดงคร้ังทีผ่ ลติ ชื่อผูผลิตและจงั หวัดท่ีตั้งสถานที่ผลิตยาวัน เดือน ป ท่ีผลิตยา คําวา“ยา แผนโบราณ” ใหเห็นไดชดั เจน คําวา “ยาใชภายนอก” หรือ “ยาใชเฉพาะที่” แลวแตกรณี ดวยอักษรสี แดงเห็นไดชดั เจน ในกรณเี ปนยาใชภายนอกหรอื ยาใชเฉพาะที่ คําวา “ยาสามัญประจําบาน” ในกรณี เปน ยาสามญั ประจาํ บา น คาํ วา “ยาสําหรับสตั ว” ในกรณเี ปน ยาสําหรบั สตั ว วธิ สี ังเกตเลขทะเบยี นตํารับยาแผนโบราณ มดี งั น้ี 1. หากเปนยาแผนโบราณท่ีผลิตในประเทศ จะขึ้นตนดวยอักษร G ตามดวยเลข ลําดบั ท่อี นุญาต/ป พ.ศ. เชน เลขทะเบียน G20/42 2. หากเปนยาแผนโบราณทีน่ าํ เขา จากตา งประเทศ จะข้ึนตนดวยอักษร K ตามดวย เลขลําดับท่ีอนญุ าต/ป พ.ศ. เชนเลขทะเบยี น D15/42 สาํ หรบั การโฆษณายาทุกชนิดไมว าจะเปนยาแผน โบราณหรอื แผนปจ จบุ ัน ตามพระราชบัญญัตยิ า พ.ศ. 2510 มาตรา 88 โดยสรปุ คอื หามโฆษณาโออวด สรรพคณุ วา สามารถบําบัด บรรเทา รักษาหรือปองกันไดอยางศักดิ์สิทธิ์หรือหาย นอกจากน้ียังหาม โฆษณาเปน เทจ็ หรอื เกิดความจริง หามโฆษณาสรรพคุณยาวาสามารถบําบัดบรรเทา รักษาหรือปองกัน โรคหรืออาการของโรคทร่ี ัฐมนตรีประกาศตามมาตรา 77 ไดแก โรคเบาหวาน มะเร็ง อัมพาต วัณโรค โรคเร้ือน โรคหรืออาการโรคของสมอง หัวใจ ปอด ตับ มาม และไต (เวนแตจะเปนการโฆษณา โดยตรงตอผปู ระกอบโรคศลิ ป ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผูประกอบการบําบัดโรคสัตว) ผูใด โฆษณา ขายยาโดยฝา ฝน มาตรา 88 ตอ งระวางโทษปรับไมเ กนิ หน่ึงแสนบาท ดงั น้นั ถาผบู รโิ ภคพบ เหน็ การโฆษณาโออวดดงั กลาว สามารถแจง รองเรยี นไดทสี่ ํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ ที่สาํ นกั งานสาธารณสุขจังหวดั ทุกแหง การซื้อยาแผนโบราณคร้ังใดควรเลือกยาที่มีเลขทะเบียนตํารับยาและซื้อจากรานที่มี ใบอนุญาตเทานั้น จงึ จะปลอดภยั ในการใชยาแผนโบราณ
117 1.2 หลักและวธิ กี ารใชยาสมนุ ไพร ในปจจุบันคาใชจายทางดานสุขภาพของคนไทยเพิ่มขึ้นตามลําดับ ในแตละป ประเทศชาติตองเสียงบประมาณในการสั่งซื้อยา และเวชภัณฑจากตางประเทศเปนจํานวนมาก กระทรวงสาธารณสุขไดพยายามหากลวิธีในการใชทรัพยากรและภูมิปญญาทองถิ่น เพ่ือการปองกัน สงเสริมสุขภาพและรักษาโรค สมุนไพรไทยและการแพทยแผนไทยนับเปนทางเลือกหนึ่งของ ประชาชนซึ่งกําลังไดรับความนิยมอยางแพรหลาย เพราะเปนการใชทรัพยากรและภูมิปญญาไทยที่ นอกจากมคี วามปลอดภัยแลว ยงั เปน การประหยัดเงนิ ตราของประเทศอีกดว ย สมนุ ไพรตามพระราชบัญญตั ิยา หมายถงึ ยาทีไ่ ดจากพชื สตั ว หรอื แรธ าตุ ซ่ึงยังไมได ผสม ปรุง หรือแปรสภาพ แตในทางการคาสมนุ ไพรมักจะถูกดัดแปลงสภาพไป เชน ห่ันเปนช้ินใหเล็กลง บด เปนผงใหละเอยี ด นาํ ผงที่บดมาอัดเปนเมด็ หรือนํามาใสแ คปซูล ในปจจบุ นั ไดมีการนําสมุนไพรมาใชอยา งกวา งขวาง เชน ใชเปนอาหาร อาหารเสริม เคร่อื งดื่ม ยารักษาโรค เครือ่ งสาํ อาง สวนประกอบในเครือ่ งสําอาง ใชแ ตงกล่ินและสีอาหาร ตลอดจน ใชเปน ยาฆาแมลง สว นของพชื ท่นี าํ มาใชเปน สมนุ ไพร สว นของพชื ท่เี รานาํ มาใชเ ปนยาน้ันมีหลายสวนขึ้นอยูกับตัวยาวาใชสวนใดของพืช ซง่ึ สว นของพืชทนี่ ํามาใชเ ปนสมุนไพร มีดังนี้ 1. ราก (Root) รากของพชื จะมี 2 แบบ คอื แบบที่มีรากแกวและรากฝอย ซึ่งสามารถ นํามาใชทําเปนยาไดทง้ั 2 แบบ 2. ลาํ ตน (Stem) สามารถแบงไดเปน 2 ชนิด คอื
118 ลาํ ตนเหนือดิน (Aerial Stem) ไดแก พืชที่มีลําตนอยูเหนือดินท้ังหลาย มีท้ังตน ใหญและตน เล็ก อาจนาํ เปลอื กหรอื เนื้อไมม าทาํ เปนยาได ลําตนใตดิน (Underground Stem) จะมีลักษณะคลายราก แตจะมีขนาดใหญ มี รปู รา งตา ง ๆ ซึ่งเราเรยี กสว นท่อี ยูใตดนิ วา “หัว” หรือ “เหงา” 3. ใบ (Leaf) ใบของพชื จะมรี ูปรา งแตกตา งกันไป เชน รูปเรียวยาว รูปรี รูปไข รูป ใบหอก รูปหัวใจ รปู ไต รปู โล เปนตน 4. ดอก (Flower) ดอกไมจะประกอบดวย กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู และเกสร ตัวเมยี ซงึ่ จะตดิ อยบู นฐานรองดอก 5. ผล (Fruit) อาจเรียกเปนผลหรอื เปนฝก กไ็ ด สมุนไพรไทยท่คี วรรจู ัก สมนุ ไพรไทยทจี่ ะกลาวในท่นี จ้ี ะกลาวเฉพาะชื่อของพืชที่สามารถนํามาใชเปนยาใน การรกั ษา ปองกัน และเสริมสรา งสขุ ภาพได ซ่ึงสมนุ ไพรไทยนัน้ มจี ํานวนมากมายมหาศาล ตอไปนี้จะ กลาวเฉพาะท่ีเราไดพบเห็นกันอยูบอย ๆ บางครั้งอาจคิดไมถึงวาเปนสมุนไพร พอจะยกตัวอยางได ดงั น้ี กระเทียม หอม กระชาย กะเพรา กระวานไทย กานพลู ขา ขิง ขมิ้นชัน ดีปลี ตะไคร พริกไทย มะละกอ สบั ปะรด กลวยนาํ้ วา ข้ีเหล็ก ฝกคูน ชุมเห็ดเทศ ชุมเห็ดไทย มะขาม มะขามเทศ มะขามปอ ม หญาคา หญา หนวดแมว หญาปก กิ่ง วา นหางจระเข ใบบวั บก ใบพลบั พลงึ ใบแมงลัก เพชรสังฆาต ฝร่งั ทบั ทิม มงั คุด ฟาทะลายโจร ยอ ผักคราดหัวแหวน บอระเพ็ด ชิงชา ลาลี ยานาง กระเจ๊ียบแดง ขลู ออยแดง มะกรูด มะนาว แวงเครือ เพกา มะแวง ตนไพล พลู ชองระอา หญา ปลองทอง วา นมหากาฬ ผกั บงุ ทะเล สาบเสอื กะเม็ง วานหางชาง เหงือกปลาหมอ
119 ทองพันชงั่ ประคําดคี วาย พญาไรใ บ นอ ยหนา สม ปอย เอ็นออน วานชักมดลูก หนุมานประสาน กาย วา นนาํ้ แกนขนุน ชะลดู เปราะหอม วา นนางคํา วธิ ีใชสมุนไพร สมุนไพรที่มกี ารนํามาใชในปจจบุ นั นี้มักนํามาปรุงเปนยาเพื่อใชรักษา ปองกัน และ สรา งเสรมิ สุขภาพ แตส ว นมากจะเปน การรักษาโรค ท่ีพบมากมีดังน้ี 1. ยาตม อาจเปนสมุนไพรชนิดเดียวหรือหลาย ๆ ชนิดก็ไดที่นํามาตม เพื่อให สาระสาํ คญั ท่ีมีในสมุนไพรละลายออกมาในน้ํา วิธีเตรียมทําโดยนําสมุนไพรมาใสลงในหมอ ซึ่งอาจ เปนหมอดินหรอื หมอ ท่เี ปนอะลมู ิเนียม สแตนเลสกไ็ ด แลว ใสน้ําลงไปใหทว มสมุนไพร แลวจึงนําไป ตั้งบนเตาไฟ ตมใหเดือดแลวเค่ียวตออีกเล็กนอย วิธีรับประทานใหรินนํ้าสมุนไพรใสถวยหรือแกว หรอื จะใชถวยหรือแกว ตกั เฉพาะน้าํ ข้ึนมาในปริมาณพอสมควร หรอื ศกึ ษาจากผูข ายยาบอก ยาตมบาง ชนดิ สามารถใชไดเกินกวา 1 คร้งั ดวยการเติมนํ้าลงไปแลวนาํ มาตมแลวเคี่ยวอีกจนกวารสยาจะจืดจึง เลิกใช เรามกั เรยี กยาน้วี า “ยาหมอ” จะมีรสชาติและกล่ินที่ไมนารับประทาน นํ้าหนักของสมุนไพรท่ี นาํ มาตม นั้น แตละชนิดมักจะชงั่ ซงึ่ มีหนว ยนํ้าหนกั เปน บาท ตามรา นที่ขายจะมีเครื่องช่ังชนิดนี้ แตถา หมอที่จายยาไมช่ังก็จะใชวิธีกะปริมาณเอง ในการตมยานี้ถาเปนสมุนไพรสดจะออกฤทธ์ิดีกวา สมุนไพรแหง แตต ามรานขายยาสมนุ ไพรมกั เปน สมุนไพรแหง เพราะจะเก็บไวไ ดนานกวา 2. ยาผง เปนสมนุ ไพรทนี่ ํามาบดใหเ ปนผง ซ่ึงตามรานขายยาสมุนไพรจะมีเคร่ือง บด โดยคดิ คา บดเพ่มิ อกี เลก็ นอย อาจเปนสมุนไพรชนิดเดียวหรือหลายชนิดก็ไดท่ีนํามาบดใหเปนผง แลวนํามาใสก ลอง ขวด หรอื ถุง วธิ รี ับประทานจะละลายในนํ้าแลวใชดื่มก็ได หรือจะตักใสปากแลว ดม่ื นา้ํ ตามใหละลายในปากได ปจจุบันมีการนํามาใสแคปซูล เพื่อสะดวกในการรับประทาน พกพา และจําหนา ย 3. ยาชง วิธเี ตรยี มจะงายและสะดวกกวา ยาตม มกั มีกลนิ่ หอม เตรยี มโดยหนั่ เปน ชิ้น เล็ก ๆ ตากหรอื อบใหแหงแลว นํามาชงนํ้าดื่มเหมือนกับการชงนํ้าชา ปจจุบันมีสมุนไพรหลายอยางท่ี นํามาชงดม่ื มักเปน สมนุ ไพรชนดิ เดยี ว เชน ตะไคร หญา หนวดแมว ชาเขยี วใบหมอ น หญาปกก่ิง เปน ตน ในปจจบุ ันมกี ารนาํ สมนุ ไพรมาบดเปน ผงแลวใสซองมีเชือกผกู ติดซอง ใชช งในนาํ้ รอนบางชนิดมี การผสมนาํ้ ตาลทรายแดงเพ่ือใหม ีรสชาตดิ ขี ึน้ แลว นํามาชงกับนํา้ รอนดื่ม ซึ่งทง้ั สองรูปแบบน้ีมีขายอยู ทวั่ ไป 4. ยาลกู กลอน เปนการนํายาผงมาผสมกับน้ําหรือน้ําผึ้งแลวปนเปนลูกกลม ๆ เล็ก ๆ วิธรี ับประทานโดยการนาํ ยาลกู กลอนใสป าก ดื่มนํา้ ตาม
120 5. ยาเม็ด ปจจุบันมีการนํายาผงมาผสมนํ้าหรือน้ําผ้ึงแลวมาใสเครื่องอัดเปนเม็ด เครอื่ งมือนี้หาซอื้ ไดงา ย มีราคาไมแพง ใชม อื กดได ไมตองใชเครื่องจักร ตามสถานที่ปรุงยาสมุนไพร หรือวดั ท่ีมกี ารปรงุ ยาสมุนไพรมกั จะซอ้ื เครือ่ งมือชนิดน้ีมาใช 6. ยาดองเหลา ไดจากการนําสมุนไพรมาใสโหลแลวใสเหลาขาวลงไปใหทวม สมุนไพร ปดฝาท้ิงไวประมาณ 1-6 สัปดาห แลว รนิ เอานาํ้ มาดม่ื เปนยา ปจจุบนั มีการจําหนายเปน “ซุม ยาดอง” ซง่ึ มใี หพบเหน็ อยูบา ง 7. นํามาใชสด ๆ อาจนํามาใชทาบาดแผล หรือใชทาแกพิษ เชน วานหางจระเข ผักบุงทะเล เปนตน นาํ มาตําใหแหลกแลวพอติดไวที่แผล เชน หญาคา ใบชุมเห็ด เปนตน นํามายาง ไฟแลวประคบ เชน ใบพลับพลึง เปน ตน หรือนํามาใชเ ปน อาหาร เชน หอม กระเทียม กลวยนํ้าวา ขา ขงิ ใบบัวบก เปน ตน
121 เรื่องที่ 2 อนั ตรายจากการใชยาแผนโบราณและยาสมุนไพร อันตรายจากยาแผนโบราณ จากปญหาของยาแผนโบราณในสังคมไทย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) รว มกับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) ไดมีการติดตามตรวจสอบและเฝาระวังการแพร ระบาดของยาสมนุ ไพรที่ไมไดขึ้นทะเบียนตํารับยาแผนโบราณ ซึ่งเปนยาปลอมอยางสม่ําเสมอ และ จากผลการตรวจวิเคราะหยาปลอมเหลานัน้ พบวา มกี ารปนเปอนของจุลนิ ทรยี ทกี่ อใหเกิดโรคหรอื การ ลักลอบนําสารเคมีที่ไมปลอดภัยตอผูบริโภคมาใสในยาแผนโบราณ เชน เมธทิลแอลกอฮอล คลอโรฟอรม การใสย าแกปวดแผนปจ จบุ นั เชน อินโดเมทาซิน หรือแมแตการลักลอบนํายาเฟนิลบิว ตาโซน และสเตียรอยด ซ่งึ เปนยาควบคมุ พเิ ศษท่มี ผี ลขา งเคยี งตอรางกายสูง ผสมลงในยาแผนโบราณ เพอื่ ใหเ กดิ ผลในการรกั ษาที่รวดเร็ว ซึ่งลว นแตเปนอันตรายตอผูบริโภคได โดยเฉพาะสารสเตียรอยด มักจะพบเพรดนิโซโลนและเดกซามีธาโซน (Prednisolone) และ (Dexamethasone) ผสมอยูใน สมนุ ไพรแผนโบราณท่ไี มไ ดขึ้นทะเบียน สารสเตียรอยดท่ีผสมอยูในยาแผนโบราณกอใหเกิดอันตรายตอรางกายไดมากมาย เชน - ทําใหเกิดแผลในกระเพาะอาหาร อาจถึงขั้นทําใหกระเพาะทะลุ ซ่ึงพบในผูที่ รับประทานยากลมุ นี้หลายรายที่กระเพาะอาหารทะลุ ทําใหหนามืด หมดสติ และอาจอันตรายถึงชีวิต ได โดยเฉพาะในผูสูงอายุ หรือผูทม่ี โี รคประจาํ ตัวอยแู ลว - ทําใหเ กิดการบวม (ตึง) ที่ไมใชอ ว น - ทาํ ใหก ระดกู ผกุ รอน และเปราะงา ย นําไปสูความทพุ พลภาพได - ทาํ ใหค วามดันโลหติ สงู และระดับนํ้าตาลในเลือดสูงพบในบางรายท่ีสูงจนถึงขั้น เปน อนั ตรายมาก - ทําใหภ มู คิ มุ กันรางกายตาํ่ มโี อกาสตดิ เช้อื ไดง าย นําไปสูความเสย่ี งที่จะติดเช้ือและ อาจรุนแรงถงึ ขนั้ เสียชวี ติ ได บทกําหนดโทษตามกฎหมาย บทกาํ หนดโทษตามกฎหมายสาํ หรบั ผูกระทําความผิดฝาฝนกฎหมายในเรื่องของยา แผนโบราณ มีดังนี้ ฝา ฝน กฎหมายบทกําหนดโทษ 1. ผผู ลิต ขาย หรอื นําเขายาแผนโบราณ โดยไมไดรับอนญุ าตผูฝาฝนตองระวางโทษ จาํ คกุ ไมเ กนิ 3 ป และปรับไมเ กนิ 5,000 บาท (หา พันบาท)
122 2. ผูผลิต ขาย หรือนาํ เขา ยาทไี่ มไดข นึ้ ทะเบียนตํารับยาจะมีความผิดตองระวางโทษ จําคกุ ไมเกิน 3 ป หรือปรับไมเ กิน 5,000 บาท (หาพนั บาท) หรอื ทง้ั จําทั้งปรับ 3. ผูที่ผลิตยาปลอมจะมีความผิดตองระวางโทษจําคุกต้ังแต 3 ปถึงตลอดชีวิต และ ปรบั ตั้งแต 10,000 – 50,000 บาท (หน่ึงหมน่ื ถงึ หา หมน่ื บาท) 4. ผทู ่ขี ายยาปลอมจะมีความผดิ ตอ งระวางโทษจําคุกตั้งแต 1 ป – 20 ป และปรับตั้ง แต 2,000 – 10,000 บาท (สองพนั ถงึ หนึ่งหม่นื บาท) 5. ผูท่ีโฆษณาขายยาโดยฝาฝนกฎหมายตองระวางโทษปรับไมเกิน 100,000 บาท (หนึง่ แสนบาท) หลกี เลย่ี งการซ้อื ยาแผนโบราณทีอ่ าจนาํ มาซึง่ อันตรายเพื่อความปลอดภยั ในการใชยา แผนโบราณ มคี าถาทเ่ี ปนขอ หา มซึง่ ทานควรทอ งจําไวใ หข นึ้ ใจ 1. หา มซ้อื ยาแผนโบราณจากรถเรขายตามวัดหรือตามตลาดนัดโดยเด็ดขาด เพราะ อาจไดรบั ยาท่ีผลติ ข้ึนโดยผผู ลิตท่ีไมไดม าตรฐาน ไมไ ดร บั อนุญาตใหผลติ ยา ไมไดขอข้ึนทะเบยี นตาม ตาํ รบั ยา เพราะยาอาจมกี ารปนเปอนของจุลินทรียในระหวางการผลิต หรือมีการลักลอบผสมยาแผน ปจจุบนั อาทิ สารสเตียรอยด ฯลฯ เพอื่ เรงผลการรกั ษาใหเ รว็ ข้ึน นํามาซ่ึงอันตรายตอ ผบู รโิ ภคได 2. หา มซอื้ ยาแผนโบราณตามคาํ โฆษณาชวนเชื่อวา ยาแผนโบราณนั้นสามารถรักษา โรคตา ง ๆ ไดครอบจกั รวาล เชน แกปวดเมอ่ื ย เบ่อื อาหาร นอนไมห ลับ โรคตบั โรคไต โรคหวั ใจ หรอื โฆษณาวา รักษาโรคมะเร็ง โรคเอดสได เพราะลวนเปน การโฆษณาที่โออวดเกินจริง ไมไดรับอนุญาต ใหทาํ การโฆษณา 3. หา มใชยาท่มี ีผูอ่ืนมาเชิญชวนใหลองใชโดยอางวาเขาเคยใชมาแลวไดผล อาการ เจ็บปว ยหายทนั ที หรืออาการเจบ็ ปวยหายขาด เลือกซือ้ ยาแผนโบราณอยา งไรจงึ ปลอดภยั หากทานมอี าการเจบ็ ปว ย และมคี วามจาํ เปน ทีจ่ ะตอ งซอ้ื ยาแผนโบราณมาใชโ ปรด 1. ซ้อื ยาจากรานขายยาทมี่ ใี บอนุญาตขายยาเทา นน้ั 2. สงั เกตฉลากยาแผนโบราณทต่ี อ งการซอ้ื (จากรานขายยาท่มี ใี บอนุญาตขายยา) ท่ฉี ลากตองมีขอ ความสําคัญตาง ๆ ดงั นี้ - ชื่อยา - เลขที่หรือรหัสใบสําคัญการขนึ้ ทะเบียนยา ซง่ึ ก็คอื เลขทะเบียนตํารับยานนั่ เอง - ปรมิ าณของยาทีบ่ รรจุ - เลขท่ีหรอื อกั ษรแสดงครง้ั ที่ผลติ - ช่อื ผูผ ลติ และจังหวดั ท่ตี ัง้ สถานท่ีผลิตยา - วัน เดอื น ป ท่ผี ลิตยา
123 - คําวา “ยาแผนโบราณ” ใหเหน็ ชัดเจน - คําวา “ยาใชภายนอก” หรือ “ยาใชเฉพาะท่ี” แลวแตกรณีดวยอักษรสีแดง เห็นไดชดั เจน ในกรณที ่ีเปนยาใชภ ายนอก หรือยาใชเฉพาะที่ - คําวา “ยาสามญั ประจาํ บา น” ในกรณเี ปน ยาสามัญประจาํ บาน - คาํ วา “ยาสาํ หรบั สัตว” ในกรณเี ปน ยาสาํ หรับสัตว อยางไรก็ตามในกรณีที่ฉลากบนภาชนะบรรจุยาแผนโบราณมีขนาดเล็กต้ังแต 3 ตารางนว้ิ ลงมาผผู ลติ จะไดร บั การยกเวนใหไมตองแสดงบางขอ ความท่ีกลาวขา งตน อยา งไรกต็ าม ฉลากยาแผน โบราณอยางนอยจะตองแสดงขอความ ชื่อยา เลขทะเบียนตํารับยา วันเดือนปท่ีผลิตใหผูบริโภค รบั ทราบ วิธสี ังเกตเลขทะเบียนตํารับยาแผนโบราณ มีดังนี้ 1. หากเปน ยาแผนโบราณที่ผลิตในประเทศ จะขึน้ ตน ดว ยอักษร G ตามดว ยเลขลําดับ ทีอ่ นุญาต........../ป พ.ศ. ...... เชน เลขทะเบยี น G20/42 2. หากเปนยาแผนโบราณทน่ี ําเขาจากตา งประเทศ จะข้ึนตน ดว ยตัวอักษร K ตามดัวย เลขลําดับทอี่ นุญาต........../ป พ.ศ. ...... เชน เลขทะเบยี น K15/42 3. หากเปน ยาแผนโบราณทีแ่ บงบรรจุ จะขนึ้ ตน ดว ยตวั อักษร H ตามดวยเลขลําดับท่ี อนญุ าต........../ป พ.ศ. ...... เชน เลขทะเบียน H999/45 พบปญ หาหรอื มขี อ สงสยั เกย่ี วกับยาแผนโบราณตดิ ตอ ทใ่ี ด 1. พบยาแผนโบราณทไ่ี มม เี ลขทะเบียนตาํ รบั 2. พบการขายยาจากรถเรข าย การขายยาตามวดั แผงลอยและตลาดนัด และสงสัยวา เปน ยาปลอม 3. พบการโฆษณายาแผนโบราณที่โออ วดสรรพคุณวาสามารถบําบัด บรรเทา รักษา หรือปองกนั โรคไดอยางศกั ด์สิ ิทธห์ิ รอื หายขาด 4. สงสัยเก่ียวกับยาแผนโบราณทานสามารถติดตอไปไดที่สํานักงานสาธารณสุข จังหวัดทกุ แหง หรือสํานักงานคณะกรรมการอาหารและโปรดอยาลืม....... ซื้อยาแผนโบราณครั้งใด ตองซอ้ื จากรานขายยาท่ีมีใบอนุญาตเทานั้น และตรวจสอบฉลากใหรอบคอบกอนซ้ือ วายานั้นมีเลข ทะเบียนตาํ รับยาทถี่ ูกตอง
124 2.2 อันตรายจากการใชย าสมนุ ไพร การใชสมุนไพรเพ่ือการบํารุงสุขภาพและรักษาโรคไดสืบทอดมาชานาน ปจจุบัน ไดรับความนิยมมากขึ้น และไดรับการสนับสนุนจากกระทรวงสาธารณสุข โดยมีการศึกษาคนควา อยา งจริงจงั เชน การสง เสรมิ ใหใ ชยาสมนุ ไพรและการบริการทางการแพทยแผนไทยในโรงพยาบาล ทวั่ ไป ผลิตภณั ฑส มุนไพรทวั่ ไปจดั อยใู นจาํ พวกอาหารหรือสว นประกอบอาหารที่ฉลากไม ตองระบุสรรพคุณทางการแพทยหรือขนาดรบั ประทาน ดงั นั้น ผูใ ชผ ลติ ภณั ฑส มนุ ไพรสว นมากจงึ ตอ ง ศึกษาจากหนังสอื หรือขอคาํ ปรึกษาจากผรู ูห รอื แพทยท างเลอื ก เชน แพทยแ ผนไทย แพทยแผนจนี เปน ตน สาํ หรบั สมนุ ไพรท่ีใชเ ปนยาสวนมากจะทําในรูปชา สําหรับใชชงดื่ม ซ่ึงมักมีรสขม หรือมรี สเฝอ น ท้ังนีไ้ มค วรหลงเช่อื ชาสมนุ ไพรรสดที ่ีมขี ายทั่วไป เพราะมักมียาสมุนไพรผสมอยูนอย มาก นอกจากนยี้ าสมนุ ไพรที่อยูในรปู ของยาชงดมื่ แลว ยงั มียาตม ยาดอง ยาผง ยาลูกกลอน และยาใช ภายนอกดว ย เปน ยากพอกหรือยาประคบ ขอ ควรระวังในการใชย าสมุนไพร 1. พืชสมนุ ไพรหลายชนิดมีพิษโดยเฉพาะถา ใชไมถูกสวน เชน ฟาทะลายโจร ควร ใชสวนใบออน แตไมควรใชกานหรือลําตน เพราะมีสารไซยาไนตประกอบอยู ดังน้ันกอนใชยา สมนุ ไพรตอ งแนใจวา มอี ะไรเปนสว นประกอบบา ง 2. กอ นใชยาสมนุ ไพรกบั เด็กและสตรีมีครรภ ตอ งปรกึ ษาแพทยกอ นทกุ คร้งั 3. การรบั ประทานยาสมนุ ไพรควรรับประทานตามปริมาณและระยะเวลาที่แพทย แนะนาํ หากใชในปริมาณที่เกนิ ขนาดอาจเกิดผลขา งเคยี งทเ่ี ปน อันตรายมาก 4. ตองสังเกตเสมอวา เมื่อใชแลวมีผลขางเคียงอะไรหรือไม หากมีอาการผิดปกติ เชน ผืน่ คนั เวยี นศรี ษะ หายใจไมสะดวก หรอื มอี าการถายรนุ แรง ควรรีบปรกึ ษาแพทยโ ดยเรว็ สรปุ ยาทุกประเภทมีท้ังคุณและโทษ การใชย าโดยขาดความรูความเขาใจหรือใชไม ถูกกับโรค ไมถูกวิธี นอกจากไมเกิดประโยชนในการรักษาแลว ยังอาจกอใหเกิดอันตรายได โดยเฉพาะยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพรท่ีมขี ายอยูท ัว่ ไป มีจาํ นวนไมม ากนักท่ผี านกระบวนการผลิต ทไี่ ดมาตรฐาน ดงั นั้น การเลือกใชยาดังกลาวจึงตองคัดเลือกยาท่ีไดรับมาตรฐานอาหารและยา (อย.) ตลอดจนตองทราบสรรพคุณและวิธกี ารใชท ่ีถูกกับสภาพและอาการเจบ็ ปว ยของแตละบคุ คล จึงจะเกดิ ประโยชนต อ สขุ ภาพอยางแทจรงิ ทัง้ นี้ กอนใชย าทุกประเภทควรคํานึงถึงหลกั การใชยาทั่วไป โดยอา น ฉลากยาใหล ะเอยี ดและใชอ ยา งระมัดระวัง ดังนี้
125 ถกู ขนาด หมายถงึ ใชย าในปริมาณทไี่ ดผ ลในการรกั ษา ไมใชในปรมิ าณที่มาก หรือนอ ยเกนิ ไป ถกู เวลา หมายถึง ใชย าใหถ ูกตองตามวธิ กี ารใชท่ีระบใุ นฉลากยา ถูกวิธี หมายถึง ใชยาใหถ กู ตอ งตามเวลาที่ระบุในฉลาก เชน - ยากอนอาหาร ควรรับประทานกอนมอ้ื อาหารอยาง นอยครึง่ ชั่วโมง - ยาหลงั อาหาร ควรรบั ประทานหลังอาหารไปแลว อยา งนอย 15 นาที - ยากอ นอาหาร ควรปรับประทานหลงั อาหารม้อื เย็น ประมาณ 3-4 ชว่ั โมง ถกู โรค หมายถงึ ใชยาใหถูกกบั อาการเจบ็ ปวยหรอื โรคทเ่ี ปน ซง่ึ จะตอ ง ไดร ับ การวนิ ิจฉยั จากแพทยหรอื ผูร เู ฉพาะดานอยา งถูกตอง เสยี กอ น กิจกรรม ใหผูเรียนรวบรวมขอมูลตํารับยาแผนโบราณและยาสมุนไพรที่มีในทองถิ่นอยางนอย 2 ชนิด พรอมบอกสรรพคณุ วิธกี ารใช สว นประกอบสาํ คัญ และผลขา งเคียงหรือขอควรระวังในการใช ดงั น้ี ยาแผนโบราณ ชื่อยา สรรพคณุ สวนประกอบสําคญั วธิ ีการใช ขอควรระวงั ยาสมนุ ไพร ช่อื ยา สรรพคณุ สวนประกอบสาํ คัญ วธิ กี ารใช ขอ ควรระวงั
126 บทท่ี 7 การปองกนั สารเสพติด สาระสําคญั ความรูความเขาใจเก่ียวกับปญหา สาเหตุ ประเภท และอันตรายของสารเสพติด ตลอดจนลกั ษณะอาการของผตู ิดสารเสพตดิ และสามารถรวู ิธีการปอ งกนั และหลีกเล่ยี งพฤตกิ รรมเสยี่ ง ตอสารเสพตดิ ได ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวัง เพือ่ ใหผ ูเรยี นสามารถ 1. อธบิ ายและบอกประเภทและอนั ตรายของสารเสพตดิ ได 2. อธิบายและบอกลกั ษณะอาหารของผูตดิ สารเสพติดได 3. อธบิ ายถงึ วิธกี ารปอ งกันและหลกี เลย่ี งพฤติกรรมเสย่ี งตอ สารเสพตดิ ได ขอบขา ยเนือ้ หา เรอ่ื งที่ 1 ปญ หา สาเหตุ ประเภท และอันตรายของสารเสพติด เรอ่ื งที่ 2 ลักษณะอาการของผูต ดิ ยาเสพตดิ เรือ่ งที่ 3 การปองกันและหลีกเล่ียงการตดิ สารเสพติด
127 เรือ่ งท่ี 1 ปญ หา สาเหตุ ประเภท และอนั ตรายของสารเสพติด สถานการณป จ จุบนั พบวา ภาวการณแ พรระบาดของการใชสารเสพติดไดแพรร ะบาด เขา ไปถึงทุกเพศทกุ วยั ทุกกลุมอายุ สงผลกระทบตอ สขุ ภาพพลานามัยของบคุ คลกลุม น้ัน ๆ โดยเฉพาะ การใชย าเสพตดิ ในทางทผ่ี ดิ ของกลมุ เยาวชนทีก่ าํ ลังศึกษาเลาเรียนในสถานศึกษา หรอื นอกสถานศกึ ษา หรือกลมุ เยาวชนนอกระบบการศกึ ษา สารเสพติด หมายถงึ ยาเสพตดิ วัตถอุ อกฤทธิ์ และสารระเหย ยาเสพติด ท่ีจะกลาวในท่ีนี้คือ ยาเสพติดใหโทษ ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให โทษ พ.ศ. 2522 (ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2528 และฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2530) ซึ่งหมายถึงสารเคมีวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่ง เมื่อเสพเขาสูรางกายไมวาจะรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือดวยประการใด ๆ แลวทําใหเกิดผลตอ รางกายและจติ ใจในลกั ษณะสําคัญ เชน ตองเพิม่ ขนาดการเสพขึน้ เปนลาํ ดบั มกี ารถอนยาเมื่อขาดยา มี ความตองการเสพท้ังทางรางกายและจติ ใจอยางรนุ แรงตลอดเวลา และสขุ ภาพโดยท่ัวไปจะทรุดโทรม ลงกบั ใหร วมตลอดถึงพืชหรอื สวนของพืชที่เปน หรอื ใหผ ลผลิตเปนยาเสพตดิ ใหโทษ หรืออาจใชผลิต เปนยาเสพตดิ ใหโ ทษ และสารเคมที ีใ่ ชในการผลติ ยาเสพติดใหโ ทษดวย ทง้ั นตี้ ามที่รัฐมนตรีประกาศใน ราชกจิ จานุเบกษา แตไ มห มายความถงึ ยาสามัญประจาํ บานบางตําราตามกฎหมายวา ดวยยาทีม่ ียาเสพตดิ ใหโทษผสมอยู 1.3 ประเภทของสารเสพตดิ ยาเสพติดใหโทษแบงได 5 ประเภท [ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 135 (พ.ศ. 2539) เรื่องระบุช่ือและประเภทยาเสพติดใหโทษตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522] ดงั น้ี 1. ยาเสพติดใหโ ทษประเภท 1 เชน เฮโรอีน เมทแอมเฟตามีน เอ็มดีเอ็มเอ (ยาอี) ยา เสพตดิ ใหโทษประเภทนีไ้ มใชประโยชนทางการแพทย 2. ยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 2 เชน มอรฟน โคเคอีน เพทิดีน เมทาโดน และฝน ยา เสพติดใหโทษประเภทน้ีมีประโยชนทางการแพทย แตก็มีโทษมาก ดังนั้นจึงตองใชภายใตความ ควบคมุ ของแพทย และใชเ ฉพาะในกรณีท่จี าํ เปน เทานน้ั 3. ยาเสพตดิ ใหโทษประเภท 3 เปนยาสาํ เร็จรูปที่ผลิตข้ึนตามทะเบียนตํารับ ที่ไดรับ อนญุ าตจากกระทรวงสาธารณสขุ แลว มีจาํ หนายตามรานขายยา ไดแ ก ยาแกไอ ที่มตี วั ยาโคเคอีน หรือ ยาแกทอ งเสยี ท่มี ีตวั ยาไดเฟนอกซิน เปนตน ยาเสพติดใหโทษประเภท 3 มีประโยชนทางการแพทย และมโี ทษนอ ยกวา ยาเสพติดใหโ ทษอ่นื ๆ 4. ยาเสพติดใหโทษประเภท 4 เปน นาํ้ ยาเคมีท่ีนาํ มาใชใ นการผลิตยาเสพติดใหโทษ ประเภท 1 ไดแ ก น้ํายาเคมี อาซติ กิ แอนไฮไดรด อาซติ ลิ คลอไรด เอทลิ ิดีน ไดอาเซเตท สารเออรโกเมทรีน
128 และคลอซูโดอีเฟดรีน ยาเสพติดใหโทษประเภทน้ีสวนใหญไมมีการนํามาใชประโยชนในการ บาํ บัดรักษาอาการของโรคแตอยา งใด 5. ยาเสพติดใหโทษประเภท 5 ไดแก พืชกัญชา พืชกระทอม พืชฝน และพืชเห็ด ขี้ควาย ยาเสพติดใหโ ทษประเภทนไ้ี มมปี ระโยชนท างการแพทย พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ กําหนดบทลงโทษสําหรับผูทําการผลิต นําเขา สง ออก จาํ หนาย มีไวครอบครอง และการเสพยาเสพติดใหโ ทษประเภท 1, 2, 3 และ 5 นอกจากนี้ยังมี บทลงโทษสาํ หรบั ผูย ยุ ง หรอื สงเสริม หรือกระทําการใด ๆ อันเปนการชว ยเหลือ หรือใหความสะดวก ในการทีผ่ ูอ ่ืนเสพยาเสพตดิ ใหโ ทษ การเสพ หมายถึง การรับยาเสพติดใหโทษเขาสูรางกายไมวาดวยวิธีการใด ๆ เชน รับประทาน สูดดม ฉดี ผตู ิดยาเสพติดใหโ ทษ ถาสมัครเขารับการบําบัดรักษาในสถานพยาบาลท่ีกระทรวง สาธารณสุขกําหนดเปนสถานพยาบาลสําหรับบําบัดรักษาผูติดยา กอนท่ีความผิดจะปรากฏและได ปฏิบัติครบถว นตามระเบยี บของสถานพยาบาลแลว กฎหมายจะเวนโทษสาํ หรบั การเสพยา วัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท หรือวัตถุออกฤทธ์ิ ตามพระราชบัญญัติวัตถุท่ีออก ฤทธต์ิ อจติ และประสาท พ.ศ. 2518 ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2528) ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2535) หมายถึง “วัตถุที่ออกฤทธิ์ ตอ จิตและประสาทที่เปน สงิ่ ธรรมชาติหรือไดจ ากสง่ิ ธรรมชาติ หรอื วตั ถทุ อี่ อกฤทธิ์ตอจติ และประสาท ทเี่ ปนวตั ถสุ งเคราะห ทง้ั น้ีตามทรี่ ัฐมนตรปี ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา” วัตถุออกฤทธ์ิแบงได 4 ประเภท [ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับท่ี 97 (พ.ศ. 2539) เรื่องระบุชอ่ื และจัดแบงประเภทวัตถอุ อกฤทธ์ิตามความในพระราชบญั ญัตวิ ตั ถทุ อ่ี อกฤทธิ์ตอ จิต และประสาท พ.ศ. 2518] ดังนี้ 1. วัตถุออกฤทธ์ิประเภท 1 มีความรุนแรงในการออกฤทธ์ิมาก ทําใหเกิดอาการ ประสาทหลอน ไมมีประโยชนใ นการบําบัดรกั ษาอาการของโรค ไดแก ไซโลไซบนั และเมสคาลีน 2. วตั ถอุ อกฤทธิ์ประเภท 2 เชน ยากระตุน ระบบประสาท เชน อเี ฟดรนี เฟเนทิลลีน เพโมลนี และยาสงบประสาท เชน ฟลูไนตราซีแพม มิดาโซแลม ไนตราซีแพม วัตถุประเภทนี้มีการ นาํ ไปใชใ นทางที่ผดิ เชน ใชเปน ยาแกงว ง ยาขยัน หรอื เพอ่ื ใชมอมเมาผอู ่ืน 3. วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 3 ใชในรูปยารักษาอาการของโรค สวนใหญเปนยากด ระบบประสาทสวนกลาง เชน เมโพรบาเมต อะโมบารบิตาล และยาแกปวด เพตาโซซีน การใชยา จาํ พวกน้ีจําเปนตอ งอยูในความควบคุมดูแลของแพทย 4. วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 4 ไดแก ยาสงบประสาท/ยานอนหลับในกลุมของบารบิ ตูเรต เชน ฟโนบารบิตาล และเบ็นโซไดอาซีปนส เชน อัลปราโซแลม ไดอาซีแพม สวนใหญมีการ นํามาใชอยางกวางขวาง ท้ังนี้เพื่อบําบัดรักษาอาการของโรค และการนํามาใชในทางที่ผิด การใชยา วัตถุออกฤทธปิ์ ระเภทน้ตี องอยภู ายใตการควบคุมของแพทยเชนเดียวกับการใชวัตถอุ อกฤทธป์ิ ระเภท3
129 สารระเหย ตามพระราชกําหนดปองกันการใชสารระเหย พ.ศ. 2533 หมายถึง “สารเคมี หรอื ผลิตภัณฑทร่ี ัฐมนตรปี ระกาศวา เปนสารระเหย” สารระเหย เปนสารเคมี 14 ชนิด และผลิตภัณฑ 5 ชนิด [ประกาศกระทรวง สาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับท่ี 14 (พ.ศ. 2538) เร่ืองกําหนดชื่อ ประเภท ชนิด หรือขนาด บรรจุของสารเคมี หรือผลติ ภัณฑเปน สารระเหย] สารเคมี 14 ชนิด ไดแ ก อาซโี ทน เอทิลอาซีเตท โทลอู นี เซลโลโซลฟ ฯลฯ ผลิตภัณฑ 5 ชนิด ไดแก ทินเนอร แลคเกอร กาวอินทรียสังเคราะห กาวอินทรีย ธรรมชาติ ลกู โปง วิทยาศาสตร การตดิ ยากบั การเสพยา องคการอนามยั โลกไดใหการนยิ ามของภาวะทเ่ี กีย่ วขอ งกับยาเสพติดไว ดงั น้ี 1. การใชยาในทางทีผ่ ิด (Harmful use, abuse) หมายถึง การใชยาเสพติดในลักษณะ อนั ตรายตอสุขภาพ ท้ังทางดานรา งกายและดา นจติ ใจ เชน ภาวะซมึ เศราจากการด่มื สรุ าอยางหนกั 2. การติดสารเสพติด (Depenedence syndrome) หมายถึง ภาวะผิดปกติทางดาน ปญ ญา ความคิดอา น และระบบสรีระรา งกายซึ่งเกิดภายหลังจากการใชสารเสพติดซ้ํา ๆ และมีอาการ ตาง ๆ ดังตอไปน้รี วมดวย 1) มคี วามตอ งการอยา งรนุ แรงทจี่ ะใชสารตัวนั้น ๆ 2) มคี วามยากลาํ บากในการควบคุมการใชท ง้ั ปรมิ าณและความถี่ 3) ยงั คงใชส ารนัน้ ตอ ไปทงั้ ๆ ท่ีรูวา จะเปนอันตรายตอรางกาย 4) หมกมุนอยกู ับการใชส ารเสพติดมากกวาการทํากิจกรรมอืน่ ที่สาํ คัญกวา 5) มอี าการด้ือยา คอื ตองเพ่มิ ปริมาณการใช เพื่อใหไดผ ลเทา เดมิ 6) เมื่อหยุดการใชยาจะเกิดอาการขาดยาหรืออยากยาทางรางกาย (Physical with)
130 1.4 สาเหตุของการตดิ สารเสพตดิ 1. สาเหตุทเ่ี กิดจากความรเู ทา ไมถงึ การณ 1) อยากทดลอง เกดิ จากความอยากรูอยากเห็นซงึ่ เปน นิสยั ของคนโดยทว่ั ไป และโดยทไี่ มค ดิ วา ตนจะตดิ สง่ิ เสพตดิ นไ้ี ด จงึ ทาํ การทดลองใชส งิ่ เสพติดนนั้ ในการทดลองใชค รง้ั แรก ๆ อาจมคี วามรูสึกดหี รอื ไมด กี ต็ าม ถายงั ไมต ดิ ส่ิงเสพตดิ น้นั กอ็ าจประมาท ไปทดลองใชในส่ิงเสพติด น้นั อีก จนในที่สดุ กต็ ิดส่งิ เสพติดนน้ั หรือถาไปทดลองใชส่ิงเสพติดบางชนิด เชน เฮโรอีน แมจะเสพ เพยี งครงั้ เดียวกอ็ าจทําใหตดิ ได 2) ความคกึ คะนอง คนบางคนมีความคึกคะนอง ชอบพูดอวดเกงเปนนิสัย โดยเฉพาะวัยรนุ มกั จะมนี สิ ัยดังกลา ว คนพวกนอ้ี าจแสดงความเกงกลาของตน ในกลุมเพ่ือนโดยการ แสดงการใชส่ิงเสพติดใหเพ่ือนฝูงยอมรับวาตนเกง โดยมิไดคํานึงถึงผลเสียหายหรืออันตรายที่จะ เกดิ ขน้ึ ภายหลงั แตอ ยางไร ในทสี่ ุดตนเองก็กลายเปนคนติดส่งิ เสพติดนัน้ 3) การชักชวนของคนอ่ืน อาจเกิดจากการเช่ือตามคําชักชวนโฆษณาของ ผูขายสินคา ที่เปนสิ่งเสพติดบางชนิด เชน ยากระตุนประสาทตาง ๆ ยาขยัน ยาบา เปนตน โดยผูขาย โฆษณาสรรพคุณของสิ่งเสพติดนั้นวามีคุณภาพดีสารพัดอยางเชน ทําใหมีกําลังวังชา ทําใหมีจิตใจ แจมใส ทาํ ใหม ีสุขภาพดี ทําใหมีสติปญ ญาดี สามารถรกั ษาโรคไดบางชนิด เปนตน ผูท่ีเช่ือคําชักชวน โฆษณาดังกลาวจึงไปซื้อตามคําชักชวนของเพ่ือนฝูง ซ่ึงโดยมากเปนพวกที่ติดส่ิงเสพติดน้ันอยูแลว ดวยความเกรงใจเพอื่ น หรือเชอื่ เพื่อน หรือตองการแสดงวา ตวั เปนพวกเดียวกับเพ่ือน จึงใชสิ่งเสพติด นั้น 2. สาเหตทุ ีเ่ กิดจากการถูกหลอกลวง ปจ จุบันน้มี ผี ขู ายสินคา ประเภทอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่มบางรายใชสิ่งเสพติด ผสมลงในสินคา ท่ขี าย เพ่ือใหผ ูซอ้ื สินคานนั้ ไปรับประทานเกิดการติด อยากมาซื้อไปรับประทานอีก ซ่ึงในกรณีนี้ ผูซื้ออาหารนั้นมารบั ประทาน จะไมร สู ึกวา ตนเองเกดิ การตดิ ส่งิ เสพติดข้ึนแลว รูแตเพียง วา อยากรับประทานอาหาร ขนม หรือเคร่ืองดมื่ ท่ีซื้อจากรา นนน้ั ๆ กวา จะทราบก็ตอเมอ่ื ตนเองรูสึกผิด สังเกตตอความตองการ จะซ้ืออาหารจากรานน้ันมารับประทาน หรือตอเมื่อมีอาการเสพติดรุนแรง และมีสุขภาพเส่อื มลง 3. สาเหตทุ ีเ่ กดิ จากความเจ็บปวย 1) คนที่มีอาการเจ็บปวยทางกายเกิดขึ้นเพราะสาเหตุตาง ๆ เชน ไดรับ บาดเจ็บรุนแรง เปนแผลเรอ้ื รัง มคี วามเจ็บปวดอยูเปน ประจาํ เปนโรคประจําตัวบางอยาง เปนตน ทํา ใหไดร บั ทกุ ขทรมานนั้น ซ่ึงวิธีหน่งึ ทที่ าํ ไดงา ยคอื การรบั ประทานยาทมี่ ีฤทธ์ิระงับอาการเจ็บปวดนั้น ได ซง่ึ ไมใ ชเ ปนการรกั ษาที่เปนตน เหตุของความเจ็บปว ย เพียงแตร ะงบั อาการเจ็บปวดใหหมดไปหรือ ลดนอ ยลงไดชว่ั ขณะ เมื่อฤทธิ์ยาหมดไปกจ็ ะกลบั เจบ็ ปวดใหม ผปู วยกจ็ ะใชยาน้ันอีก เมื่อทําเชนนี้ไป นาน ๆ เกดิ อาการตดิ ยานัน้ ขนึ้
131 2) ผูท่ีมีจิตใจไมเปน ปกติ เชน มคี วามวติ ก กังวล เครียด มีความผิดหวังใน ชวี ิต มีความเศราสลด เสียใจ เปนตน ทาํ ใหส ภาวะจติ ไมเ ปน ปกตจิ นเกดิ การปวยทางจิตข้นึ จึงพยายาม หายาหรือสิ่งเสพติดท่ีมีฤทธิ์สามารถคลายความเครียดจากทางจิตไดชั่วขณะหน่ึงมารับประทาน แต ไมไดรกั ษาที่ตนเหตุเม่ือยาหมดฤทธิ์ จิตใจก็จะกลับมาเครียดอีก และผูปวยก็จะเสพสิ่งเสพติด ถาทํา เชนนีไ้ ปเรอื่ ย ๆ ก็จะทําใหผ ูนัน้ ตดิ ยาเสพติดในท่สี ดุ 3) การไปซอ้ื ยามารับประทานเองโดยไมทราบสรรพคุณยาที่แทจริง ขนาด ยาทคี่ วรรับประทาน การรับประทานยาเกินจํานวนกวาที่แพทยไดสั่งไว การรับประทานยาบางชนิด มากเกนิ ขนาด หรอื รับประทานติดตอกนั นาน ๆ บางครงั้ อาจมีอาการถงึ ตายได หรือบางครั้งทําใหเกิด การเสพติดยานั้นได 4. สาเหตุอืน่ ๆ การอยูใกลแหลง ขายหรือใกลแหลง ผลิต หรือเปนผขู ายหรือผูผลิตเอง จึงทําใหมี โอกาสติดส่ิงเสพตดิ ใหโทษนัน้ มากกวาคนท่ัวไปเม่ือมีเพื่อนสนิทหรือพี่นองท่ีติดสิ่งเสพติดอยู ผูน้ัน ยอ มไดเ หน็ วิธกี ารเสพของผทู ีอ่ ยใู กลช ดิ รวมทง้ั ใจเห็นพฤตกิ รรมตาง ๆ ของเขาดวย และยังอาจไดรับ คาํ แนะนาํ หรือชักชวนจาก ผูเสพดวย จึงมีโอกาสตดิ ได 1) คนบางคนอยูใ นสภาพทม่ี ปี ญหา เชน วา งงาน ยากจน คาใชจายเพิ่มโดย มรี ายไดลดลง หรือคงที่ มีหนีส้ นิ มาก ฯลฯ เมือ่ แกป ญหาตาง ๆ เหลานี้ไมไดก็หันไปใชส่ิงเสพติดชวย ผอ นคลายความรสู ึกในความทุกขย ากตา ง ๆ เหลา น้ี แมจะรวู าเปน ช่ัวครชู ่ัวยามก็ตาม เชน กลมุ ใจท่ีเปน หน้ีคนอ่ืนกไ็ ปกนิ เหลา หรอื สูบกัญชาใหเ มาเพ่ือทจ่ี ะไดลืมเรื่องหนี้สิน บางคนตองการรายไดเพ่ิมข้ึน โดยพยายามทาํ งานใหห นักและมากขน้ึ ทั้ง ๆ ทรี่ า งกายออ นเพลยี มากจงึ รับประทานยากระตนุ ประสาท เพ่ือใหส ามารถทํางานตอไปได เปน ตน ถา ทาํ อยเู ปนประจาํ ทําใหติดสงิ่ เสพตดิ น้นั ได 2) การเลียนแบบ การท่ไี ปเหน็ ผทู ตี่ นสนิทสนมรกั ใครห รอื เพื่อน จึงเห็นวา เปน สิ่งนา ลอง เปนสิง่ โกเก เปนสิ่งแสดงความเปน พวกเดียวกนั จงึ ไปทดลองใชส ง่ิ เสพตดิ นั้นจนตดิ 3) คนบางคนมีความผดิ หวงั ในชวี ิตตนเอง ผิดหวังในชีวิตครอบครัว หรือ ผิดหวังในชีวติ สังคม เพื่อเปน การประชดตนเองหรือคนอื่น จึงไปใชส่ิงเสพติดจนติดท้ัง ๆ ที่ทราบวา เปน สิง่ ไมดกี ็ตาม
132 1.5 อันตรายและโทษของสารเสพตดิ สารเสพตดิ ใหโทษมหี ลายชนิดไดแพรร ะบาดเขามาในประเทศไทย จะพบในหมูเด็ก และเยาวชนเปนสวนมาก นับวาเปนเรื่องรายแรงเปนอันตรายตอผูเสพและประเทศชาติเปนอยางย่ิง ผูเรียนควรทราบอนั ตรายจากสารเสพติดในแตล ะชนิด ดงั น้ี 1. ฝน (Opium) ฝน จะมฤี ทธก์ิ ดประสาท ทาํ ใหนอนหลบั เคลบิ เคลมิ้ ผูท ีต่ ิดฝน จะมี ความคดิ อานชาลง การทํางานของสมอง หัวใจ และการหายใจชาลง นอกจากนี้ ยังพบวาฝนทําใหตับ เสื่อมสมรรถภาพปลายประสาทและกลามเนื้อหัวใจอักเสบ ระบบยอยอาหารเสื่อมสมรรถภาพ เบื่อ อาหาร ทองผูก ระบบฮอรโมนเปลี่ยนแปลง ผูหญิงอาจเกิดการขาดประจําเดือน ผูชายอาจหมด สมรรถภาพทางเพศ และรา งกายทรดุ โทรม อาการขาดยา จะเริม่ หลังจากไดรับยาครั้งสุดทาย 4-10 ช่ัวโมง แลวไมสามารถ หายาเสพไดอ ีก จะมอี าการกระวนกระวาย หงดุ หงดิ โกรธงา ย ตื่นเตน ตกใจงาย หาวนอนบอ ย ๆ นาํ้ มกู นํ้าตา นํ้าลาย และเหง่อื ออกมาก ขนลกุ กลามเนอ้ื กระตุก ตัวสนั่ มานตาขยาย ปวดหลังและขามาก ปวด ทอง อาเจียน ทองเดนิ บางรายมอี าการรนุ แรงถงึ ขนาดถา ยเปนเลือด ที่ภาษาชาวบานเรียกวา “ลงแดง” ผู ตดิ ยาจะมีความตอ งการยาอยางรุนแรงจนขาดเหตุผลที่ถูกตอง อาการขาดยานี้จะเพ่ิมข้ึนในระยะ 24 ช่วั โมงแรก และจะเกดิ มากที่สุดภายใน 48-72 ช่ัวโมง หลงั จากนั้นอาการจะคอย ๆ ลดลง 2. มอรฟน (Morphine) เปนแอลคาลอยดจากฝนดิบ มีฤทธ์ิท้ังกดและกระตุน ระบบประสาทสว นกลาง ทําใหศ นู ยประสาทรับความรูสึกชา อาการเจ็บปวดตาง ๆ หมดไป กลามเนื้อ คลายตวั มคี วามรสู ึกสบายหายกังวล นอกจากนี้ยังมีฤทธ์ิกดศูนยการไอทําใหระงับอาการไอ กดศูนย ควบคุมการหายใจ ทําใหรางกายหายใจชาลง เกิดอันตรายถึงแกชีวิตได สวนฤทธ์ิกระตุนระบบ ประสาทสวนกลางจะทําใหคลื่นไส อาเจียน มานตาหร่ี บางรายมีอาการตื่นเตนดวย กระเพาะอาหาร และลําไสท าํ งานนอยลง หูรดู ตาง ๆ หดตวั เล็กลง จงึ ทาํ ใหมีอาการทองผกู และปส สาวะลาํ บาก 3. เฮโรอีน (Heroin) สกัดไดจากมอรฟนโดยกรรมวิธีทางเคมี ซึ่งเกิดปฏิกิริยา ระหวางมอรฟ นและนา้ํ ยาอะซติ คิ แอนไฮไดรด เปนยาเสพติดท่ีติดไดงายมาก เลิกไดยาก มีความแรง สูงกวามอรฟ น ประมาณ 5-8 เทา แรงกวาฝน 80 เทา และถาทําใหบริสุทธ์ิจะมีฤทธิ์แรงกวาฝนถึง 100 เทาตวั เฮโรอนี เปนยาเสพติดใหโทษที่รายแรงท่ีสุด ใชไดทั้งวิธีสูบฉีดเขากลามเนื้อหรือเสนเลือดดํา ละลายไดดใี นน้าํ เฮโรอนี มฤี ทธิ์ทําใหงวงนอน งนุ งง คล่นื ไส อาเจียน เบอ่ื อาหาร รา งกายผอมลงอยาง รวดเรว็ ออ นเพลยี ไมกระตือรอื รน ไมอยากทาํ งาน หงุดหงิด โกรธงา ย มกั กอ อาชญากรรมไดเสมอ มัก ตายดวยมโี รคแทรกซอ น หรือใชย าเกินขนาด 4. บารบ ิทเู รต (Barbiturates) ยาที่จัดอยูใ นพวกสงบประสาทใชเปนยานอนหลับ ระงับความวิตกกงั วล ระงบั อาการชักหรือปอ งกนั การชัก ทีใ่ ชกันแพรห ลายไดแ ก เซดคบารบิตาลออก ฤทธก์ิ ดสมอง ทําใหสมองทํางานนอยลง ใชยาเกินขนาดทําใหมีฤทธิ์กดสมองอยางรุนแรง ถึงขนาด
133 หมดความรสู กึ และเสยี ชวี ิต จะมีอาการมึนงงในคอหงุดหงิด เล่ือนลอย ขาดความรับผิดชอบ มีความ กลา อยา งบาบิน่ ชอบทะเลาะววิ าท กาวรา ว ทํารายตนเอง คลุมคลัง พูดไมชัด เดินโซเซคลายกับคนเมาสุรา ขาดความอาย อาทิ สามารถเปลื้อง เสือ้ ผาเพ่อื เตน โชวไ ด 5. ยากลอ มประสาท (Tranquilizers) เปนยาที่มีฤทธิ์กดสมอง ทําใหจิตใจสงบหาย กังวล แตฤทธิ์ไมร นุ แรงถงึ ขนั้ ทาํ ใหห มดสติหรอื กดการหายใจ การใชยาเปน เวลานาน จะทาํ ใหร างกาย เกดิ ความตา นทานตอยาและเกิดการเสพติดไดและมีแนวโนมจะปวยดวยโรคความดันโลหิตตํ่า โรค กระเพาะ โรคทางเดนิ อาหาร ฯลฯ 6. แอมเฟตามนี (Amphetamine) มีชือ่ ท่บี ุคคลทัว่ ไปรูจัก คือ ยาบา หรือยาขยันเปน ยาทีม่ ีฤทธกิ์ ระตุน ประสาทสวนกลาง และระบบประสาทสว นปลาย ทําใหมีอาการต่ืนตัว หายงวง พูด มาก ทาํ ใหหลอดเลอื ดตีบเลก็ ลง หัวใจเตน เร็วข้นึ ความดันเลือดสูง มือส่ันใจส่ัน หลอดลมขยาย มาน ตาขยาย เหงื่อออกมาก ปากแหง เบื่ออาหาร ถาใชเกินขนาดจะทําใหเวียนศีรษะนอนไมหลับ ตัวสั่น ตกใจงา ย ประสาทตงึ เครียด โกรธงาย จติ ใจสบั สน คลื่นไส อาเจยี น ทองเดินและปวดทอ งอยางรุนแรง มีอาการชกั หมดสติ และตายเนอ่ื งจากหลอดเลือดในสมองแตกหรอื หัวใจวาย 7. กัญชา (Cannabis) เปนพชื ลมลกุ ชนดิ หน่ึง ขนึ้ ไดง า ยในเขตรอน อาทิ ไทย อินเดีย เม็กซิโก ผลที่เกิดข้ึนตอรางกายจะปรากฏหลังจากสูบ 2-3 นาที หรือหลังจากรับประทานคร่ึงถึง 1 ชั่วโมง ทําใหมีอาการตืน่ เตน ชางพูด หัวเราะสงเสยี งดัง กลามเนื้อแขนขาออ นเปล้ียคลา ยคนเมาสรุ า ถา ไดร บั ในขนาดสงู ความรูสกึ นึกคดิ และการตัดสินใจเสียไป ความจําเส่ือม ประสาทหลอน หวาดระแวง ความคิดสับสน ไมสนใจสิ่งแวดลอม การสูบกัญชา ยังทําใหเกิดหลอดลมอักเสบเรื้อรัง โรคหืด หลอดลม มะเร็งที่ปอด บางรายมีอาการทองเดิน อาเจียน มือส่ันเปนตะคริว หลอดเลือดอุดตัน หัว ใจเตน เรว็ ความรูสึกทางเพศลดลงหรือหมดไป และเปนหนทางนําไปสูการเสพติดยาชนดิ อืน่ ๆ ไดงาย 8. ยาหลอนประสาท (Hallucinogen) เปนยาท่ีทําใหประสาทการเรียนรูผิดไปจาก ธรรมดา ยาทีแ่ พรหลายในปจ จบุ ัน ไดแก แอลเอสดี ดีเอ็มที เอสทีพี เมสคาลีน เห็ดข้ีควาย ตนลําโพง หัวใจเตนเร็วข้ึน ความดันเลือดสูง มานตาขยาย มือเทาสั่น เหง่ือออกมากท่ีฝามือ บางรายคลื่นไส อาเจยี น สงผลตอจติ ใจ คอื มอี ารมณออนไหวงาย ประสาทรับความรูสึกแปรรวน ไมสามารถควบคุม สติได ทายสุดผเู สพมกั ปว ยเปนโรคจิต 9. สารระเหย สารระเหยจะถกู ดูดซึมผานปอด เขาสูกระแสโลหิต แลวเขาสูเน้ือเย่ือ ตาง ๆ ของรางกาย เกิดพิษซ่ึงแบง ไดเ ปน 2 ระยะ คือ พิษระยะเฉียบพลัน ตอนแรกจะรูสึกเปนสขุ รา เริง ควบคุมตัวเองไมได คลายกับ คนเมาสุรา ระคายเคอื งเยื่อบุภายในปากและจมูก น้ําลายไหลมาก ตอมามีฤทธ์ิกดทําใหง ว งซมึ หมดสติ ถา เสพในปรมิ าณมากจะไปกดศนู ยห ายใจทําใหตายได
134 พษิ ระยะเร้ือรงั หากสดู ดมสารระเหยเปนระยะเวลานานติดตอกัน จะเกิดอาการ ทางระบบประสาท วิเวียนศีรษะ เดินโซเซ ความคิดสับสน หัวใจเตนผิดปกติ เกิดการอักเสบของ หลอดลม ถายทอดทางพันธกุ รรม เปนเหตใุ หเ ด็กทเ่ี กิดมามคี วามพิการได เซลลสมองจะถูกทําลายจน สมองฝอ จะเปน โรคสมองเสอื่ มไปตลอดชวี ติ 10. ยาบา เปนชื่อท่ีใชเรียกยาเสพติดที่มีสวนของสารเคมีประเภทแอมเฟตามีน (Amphetamine) สารประเภทนี้แพรร ะบาดอยู 3 รปู แบบดวยกนั คอื 1) แอมเฟตามนี ซัลเฟต (Amphetamine Sulfate) 2) เมทแอมเฟตามนี (Methamphetamine) 3) เมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด (Methamphetamine Hydrochloride) ซ่งึ จากผลการตรวจพิสูจนย าบา ปจจบุ ันทีพ่ บอยใู นประเทศไทยมักพบวา เกอื บทั้งหมดมีเมทแอมเฟตามีน ไฮโดรคลอไรด ผสมอยู ยาบา จัดอยูในกลุมยาเสพติดที่ออกฤทธ์ิกระตุนประสาท มีลักษณะเปนยาเม็ด กลมแบนขนาดเล็ก เสนผานศูนยกลางประมาณ 6-8 มิลลิเมตร ความหนาประมาณ 3 มิลลิเมตร น้ําหนักเม็ดยาประมาณ 80-100 มลิ ลิกรมั มีสีตางๆ กัน เชน สสี ม สนี ํ้าตาลสีมวง สีเทา สีเหลือง และสี เขียว มีสัญลักษณท่ีปรากฏบนเม็ดยา เชน ฬ, M, PG, WY สัญลักษณรูปดาว, รูปพระจันทรเสี้ยว, 99 หรือ อาจเปนลักษณะของเสนแบงคร่ึงเม็ด ซึ่งลักษณะเหลานี้อาจปรากฏบนเม็ดยาดานหนึ่งหรือท้ัง สองดา นหรือ อาจเปน เม็ดเรียบทั้งสองดา นก็ได อาการผูเ สพ เมื่อเสพเขา สูรางกาย ในระยะแรกจะออกฤทธิ์ทําใหรางกายตื่นตัว หัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตสูง ใจส่ัน ประสาทตึงเครียด แตเม่ือหมดฤทธิ์ยา จะรูสึกออนเพลียมากกวาปกติ ประสาทลา ทําใหก ารตดั สนิ ใจชา และผดิ พลาด เปน เหตุใหเกดิ อุบัติเหตรุ า ยแรงได ถาใชติดตอกันเปน เวลานาน จะทําใหส มองเสอ่ื ม เกดิ อาการประสาทหลอน เห็นภาพลวงตา หวาดระแวงคลุม คลั่ง เสียสติ เปนบาอาจทํารายตนเองและผูอื่นได หรือในกรณีที่ไดรับยาในปริมาณมาก (Overdose) จะไปกด ประสาทและระบบการหายใจทาํ ใหห มดสติ และถงึ แกค วามตายได อนั ตรายท่ีไดรับ การเสพยาบากอใหเ กดิ ผลรายหลายประการ ดังน้ี 1. ผลตอจิตใจ เม่ือเสพยาบาเปน ระยะเวลานานหรอื ใชเปน จํานวนมาก จะทาํ ใหผู เสพมคี วามผิดปกติทางดา นจติ ใจกลายเปน โรคจิตชนดิ หวาดระแวง สง ผลใหม พี ฤตกิ รรมเปลี่ยนแปลง ไป เชน เกิดอาการหวาดหว่ัน หวาดกลัว ประสาทหลอน ซ่ึงโรคน้ีหากเกิดขึ้นแลว อาการจะคงอยู ตลอดไป แมในชว งเวลาท่ีไมไดเ สพยากต็ าม 2. ผลตอระบบประสาท ในระยะแรกจะออกฤทธิ์กระตุนประสาท ทําให ประสาทตงึ เครียด แตเม่ือหมดฤทธย์ิ าจะมีอาการประสาทลา ทาํ ใหการตัดสินใจในเร่ืองตาง ๆ ชา และ
135 ผิดพลาด และหากใชติดตอกันเปนเวลานานจะทําใหสมองเส่ือม หรือกรณีที่ใชยาในปริมาณมาก (Overdose) จะไปกดประสาทและระบบการหายใจ ทาํ ใหหมดสตแิ ละถึงแกความตายได 3. ผลตอพฤติกรรม ฤทธข์ิ องยาจะกระตนุ สมองสว นทค่ี วบคมุ ความกา วราว และ ความกระวนกระวายใจ ดังน้ันเมอ่ื เสพยาบา ไปนาน ๆ จะกอ ใหเ กิดพฤติกรรมท่ีเปลี่ยนแปลงไป คือ ผู เสพจะมีความกา วราวเพิ่มข้นึ และหากยงั ใชต อไปจะมีโอกาสเปน โรคจิตชนิดหวาดระแวง เกรงวาจะมี คนมาทาํ รา ยตนเอง จงึ ตองทํารายผูอื่นกอน 11. ยาอ,ี ยาเลิฟ ยาอี ยาเลิฟ เอค็ ซตาซี (Ecstasy) เปน ยาเสพตดิ กลุม เดียวกนั จะแตกตางกันบางใน ดา นโครงสรา งทางเคมี ลักษณะของยาอี มีทั้งท่ีเปนแคปซูลและเปนเม็ดยาสีตางๆ แตท่ีพบในประเทศ ไทย สวนใหญมีลักษณะเปนเม็ดกลมแบน เสนผาศูนยกลาง 0.8-1.2 ซม. หนา 0.3-0.4 ซม. ผิวเรียบ และปรากฏสัญลักษณบนเมด็ ยา เปนรูปตา งๆ เชน กระตาย, คา วคาว, นก, ดวงอาทติ ย, PT ฯลฯ เสพโดยการรับประทานเปนเม็ด จะออกฤทธ์ภิ ายในเวลา 45 นาที และฤทธ์ิยาจะ อยใู นรางกายไดน านประมาณ 6-8 ซม. ยาอี ยาเลฟิ เอค็ ซตาซี เปนยาท่ีแพรระบาดในกลมุ วัยรนุ ทีช่ อบเท่ียวกลางคืนออก ฤทธ์ิใน 2 ลกั ษณะ คอื ออกฤทธ์ิกระตุนระบบประสาท ในระยะสั้นๆ หลักจากน้ัน จะออกฤทธ์ิหลอก ประสาทอยางรุนแรง ฤทธิข์ องยาจะทาํ ใหผเู สพรูส กึ รอน เหง่ือออกมาก หัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิต สูง การไดยินเสียง และการมองเห็นแสงสีตาง ๆ ผิดไป จากความเปนจริง เคลิบเคล้ิม ไมสามารถ ควบคุมอารมณของตนเองได อันเปนสาเหตุที่จะนําไปสูพฤติกรรมเส่ือมเสียตาง ๆ และจากการ คนควาวิจัยของแพทย และนักวิทยาศาสตรหลายทาน พบวา ยาชนิดนี้มีอันตรายรายแรง แมจะเสพ เพียง 1-2 คร้ัง ก็สามารถทําลายระบบภูมิคุมกันของรางกาย สงผลใหผูเสพมีโอกาสติดเชื้อโรคตาง ๆ ไดง าย และยังทาํ ลายเซลลส มองสวนที่ทําหนาที่สงสารซีโรโทนิน (Serotonin) ซ่ึงเปนสาระสําคัญใน การควบคมุ อารมณใหม ีความสขุ ซง่ึ ผลจากการทาํ ลายดังกลาว จะทําใหผเู สพเขาสูสภาวะของอารมณท ี่ เศรา หมองหดหอู ยา งมาก และมแี นวโนมการฆาตวั ตายสงู กวาปกติ อาการผเู สพ เหงอื่ ออกมาก หัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตสูง ระบบประสาทการรับรูเกิดการ เปลีย่ นแปลงทงั้ หมด (Psychedelic) ทําใหการไดยินเสยี งและการมองเห็นแสงสีตางๆ ผิดไปจากความ เปนจรงิ เคลบิ เคลิ้ม ควบคุมอารมณไ มได
136 อันตรายท่ีไดรบั การเสพยาอี กอใหเกิดผลรา ยหลายประการดังน้ี 1. ผลตอ อารมณ เมื่อเร่ิมเสพในระยะแรกยาอีจะออกฤทธ์ิกระตุนประสาทใหผู เสพรูสึกต่ืนตัวตลอดเวลา ไมสามารถควบคุมอารมณของตนเองได เปนสาเหตุใหเกิดพฤติกรรมสํา สอนทางเพศ 2. ผลตอ การรสู ึก การรบั รูจะเปลี่ยนแปลงไปจากความเปนจรงิ 3. ผลตอ ระบบประสาท ยาอีจะทําลายระบบประสาท ทําใหเซลลสมองสวนท่ี ทาํ หนาทหี่ ล่งั สารซีโรโทนนิ (Serotonin) ซงึ่ เปนสาระสาํ คญั ในการควบคมุ อารมณน น้ั ทํางานผิดปกติ กลาวคือ เมื่อยาอีเขาสูสมองแลว จะทําใหเกิดการหล่ังสาร “ซีโรโทนิน” ออกมามากเกินกวาปกติ สงผลใหจิตใจสดช่ืนเบิกบาน แตเม่ือระยะเวลาผานไปสารดังกลาวจะลดนอยลง ทําใหเกิดอาการ ซึมเศราหดหูอยางมาก อาจกลายเปนโรคจิต ประเภทซมึ เศรา (Depression) และอาจเกดิ สภาวะอยากฆา ตัวตาย นอกจากนี้การทสี่ ารซโี รโทนนิ ลดลง ยังทาํ ใหธ รรมชาตขิ องการหลบั นอนผิดปกติ จาํ นวนเวลา ของการหลบั ลดลง นอนหลับไมสนิท จึงเกิดอาการออนเพลียขาดสมาธิในการเรียน และการทํางาน ออ นเพลียขาดสมาธใิ นการเรียน และการทาํ งาน 4. ผลตอ สภาวะการตายขณะเสพ มักเกิดเมื่อผูเสพสูญเสียเหง่ือมาก ทําใหเกิด สภาวะขาดน้ําอยา งฉับพลัน หรอื กรณีที่เสพยาอีพรอมกับดื่มแอลกอฮอลเขาไปมาก หรือผูท่ีปวยเปน โรคหัวใจ จะทาํ ใหเกิดอาการชอ็ กและเสยี ชวี ติ ได สรุป สารเสพติดมีหลายชนิด มีฤทธิ์รายแรงทําลายสุขภาพ มีผลตอระบบประสาทเปน อยางมาก ผูเ สพจะมีอาการในลกั ษณะท่ีควบคมุ ตนเองไมคอยได เปนไปตามฤทธิ์ของยาเสพติดแตละ ชนิดเม่ือเสพติดตอกันไประยะหนึ่ง จะทําใหมีความตองการโดยขาดไมได และจะมีความตองการ เพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ ในที่สุดรางกายจะทรุดโทรมลงและเสียชีวิตในที่สุด ยาเสพติดเหลานี้ไดแก ฝน มอรฟน เฮโรอีน ยากลอมประสาท กัญชา ยาอี ฯลฯผเู รียนไมควรริลอง เพราะจะทําใหเกิดการเสพติดโดยงาย ทําใหเสยี การเรยี น เสียอนาคตในทส่ี ุด
137 เรือ่ งท่ี 2 ลกั ษณะอาการของผูต ิดสารเสพติด ลกั ษณะการตดิ ยาเสพติด ยาเสพตดิ บางชนดิ กอใหเ กดิ การตดิ ไดท งั้ ทางรา งกายและจิตใจ แตย าเสพติดบางชนิด ก็กอใหเกิดการติดทางดา นจิตใจเพียงอยางเดียว ลกั ษณะท่วั ไป 1. ตาโรยขาดความกระปรี้กระเปรา น้ํามูกไหล นํ้าตาไหล ริมฝปากเขียวคลํ้าแหง แตก (เสพโดยการสูบ) 2. เหง่อื ออกมาก กล่นิ ตัวแรง พดู จาไมส ัมพันธก บั ความจริง 3. บรเิ วณแขนตามแนวเสน โลหติ มีรอ งรอยการเสพยาโดยการฉีดใหเ หน็ 4. ทท่ี องแขนมรี อยแผลเปน โดยกรีดดวยของมีคมตามขวาง (ติดเหลาแหง ยากลอม ประสาท ยาระงบั ประสาท) 5. ใสแ วนตากรอบแสงเขมเปนประจาํ เพราะมานตาขยายและเพือ่ ปด นยั นต าสีแดงกํ่า 6. มักสวมเสื้อแขนยาวปกปดรอยฉีดยา โปรดหลีกใหพนจากบุคคลท่ีมีลักษณะ ดังกลา ว ชีวติ จะสุขสนั ตตลอดกาล 7. มีความตองการอยา งแรงกลาท่จี ะเสพยาน้นั ตอไปอกี เรื่อย ๆ 8. มีความโนม เอยี งที่จะเพม่ิ ปรมิ าณของส่งิ เสพติดใหมากข้ึนทุกขณะ 9. ถาถึงเวลาทีเ่ กิดความตองการแลวไมไดเสพจะเกิดอาการขาดยาหรืออยากยาโดย แสดงออกมาในลักษณะอาการตาง ๆ เชน หาว อาเจียน น้ํามูกน้ําตาไหล ทุรนทุราย คลุมคล่ัง ขาดสติ โมโห ฉุนเฉยี ว ฯลฯ 10. สงิ่ เสพติดนนั้ หากเสพอยูเสมอ ๆ และเปนเวลานานจะทําลายสุขภาพของผูเสพ ทง้ั ทางรางกายและจติ ใจ 11. ทําใหรางกายซูบผอมมีโรคแทรกซอน และทําใหเกิดอาการทางโรคประสาท และจติ ไมปกติ การติดยาทางกาย เปนการตดิ ยาเสพติดท่ีผูเสพมีความตอ งการเสพอยา งรนุ แรง ทง้ั ทางรางกายและจิตใจ เมอื่ ถึงเวลาอยากเสพแลว ไมไ ดเ สพ จะเกิดอาการผิดปกติอยา งมาก ท้งั ทางรา งกายและจิตใจ ซึ่งเรียกวา “อาการขาดยา” เชน การตดิ ฝน มอรฟ น เฮโรอนี เมอื่ ขาดยาจะมกี ารคลนื่ ไส อาเจยี น หาว น้ํามูก นํ้าตา ไหล นอนไมห ลบั เจ็บปวดทัว่ รางกาย เปนตน
138 การตดิ ยาทางใจ เปน การตดิ ยาเสพตดิ เพราะจิตใจเกิดความตองการหรือเกิดการตดิ เปน นสิ ยั หากไมได เสพรางกายก็จะไมเกิดอาการผิดปกติ หรือทุรนทุรายแตอยางใด จะมีบางก็เพียงเกิดอาการหงุดหงิด หรอื กระวนกระวาย วธิ สี ังเกตอาการผูตดิ ยาเสพติด จะสงั เกตวาผูใดใชหรือเสพยาเสพติด ใหสังเกตจากอาการและการเปลี่ยนแปลงทั้ง ทางรา งกายและจติ ใจตอไปนี้ ทองแขน 1. การเปลีย่ นแปลงทางรา งกาย จะสังเกตไดจาก - สุขภาพรา งกายทรุดโทรม ซูบผอม ไมม แี รง ออ นเพลีย - รมิ ฝปากเขยี วคลา้ํ แหง และตก - รางกายสกปรก เหง่ือออกมาก กลิน่ ตวั แรงเพราะไมช อบอาบนํา้ - ผิวหนังหยาบกราน เปนแผลพุพอง อาจมีหนองหรือน้ําเหลือง คลายโรค ผิวหนัง - มีรอยกรีดดวยของมีคม เปนรอยแผลเปนปรากฏที่บริเวณแขน และ/หรือ - ชอบใสเสือ้ แขนยาว กางเกงขายาว และสวมแวนตาดําเพ่อื ปดบงั มานตาที่ขยาย 2. การเปลย่ี นแปลงทางจิต ความประพฤติและบคุ ลิกภาพ สงั เกตไดจ าก - เปน คนเจา อารมณ หงุดหงิดงาย เอาแตใจตนเอง ขาดเหตุผล - ขาดความรับผดิ ชอบตอ หนา ที่ - ขาดความเช่อื ม่นั ในตนเอง - พดู จากา วรา ว แมแ ตบ ดิ ามารดา ครู อาจารย ของตนเอง - ชอบแยกตัวอยคู นเดียว ไมเ ขาหนาผอู ื่น ทําตวั ลึกลับ - ชอบเขาหอ งนาํ้ นาน ๆ - ใชเ งินเปลืองผิดปกติ ทรัพยสนิ ในบา นสูญหายบอ ย - พบอปุ กรณเกี่ยวกบั ยาเสพติด เชน หลอดฉดี ยา เขม็ ฉีดยา กระดาษตะกั่ว - มัว่ สมุ กับคนที่มพี ฤติกรรมเกยี่ วกบั ยาเสพตดิ - ไมสนใจความเปน อยขู องตนเอง แตงกายสกปรก ไมเรยี บรอย ไมคอยอาบนํ้า - ชอบออกนอกบานเสมอ ๆ และกลับบานผดิ เวลา - ไมช อบทํางาน เกียจครา น ชอบนอนตนื่ สาย - อาการวิตกกงั วล เศราซมึ สีหนาหมองคลํา้
139 3. การสงั เกตอาการขาดยา ดงั ตอ ไปนี้ - นา้ํ มกู น้าํ ตาไหล หาวบอ ย - กระสบั กระสาย กระวนกระวาย หายใจถี่ ปวดทอง คล่นื ไส อาเจยี น เบอื่ อาหาร นาํ้ หนักลด อาจมอี จุ จาระเปนเลือด - ขนลกุ เหง่ือออกมากผิดปกติ - ปวดเม่อื ยตามรา งกาย ปวดเสียวในกระดูก - มา นตาขยายโตขึน้ ตาพราไมส แู ดด - มีการสน่ั ชัก เกร็ง ไขขนึ้ สงู ความดันโลหิตสงู - เปน ตะคริว - นอนไมหลบั - เพอ คลมุ คลง่ั อาละวาด ควบคุมตนเองไมไ ด เรอื่ งที่ 3 การปองกนั และหลีกเล่ยี งการติดสารเสพตดิ การดําเนินงานปองกันสารเสพติด จําเปนตองสรางใหกลุมเปาหมายมี “ภูมิคุมกัน” เกิดขนึ้ กบั ตัวเอง มที ักษะชีวิต (Life Skill) เพยี งพอท่จี ะไมใหตนเองตองติดยาเสพติดและสามารถเฝา ระวงั พฤติกรรมเสยี่ ง ปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมเสี่ยง เพ่อื ปอ งกันมใิ หบคุ คลทตี่ นรกั เพ่อื นสนทิ ฯลฯ ตดิ ยา เสพติดได โดยสามารถดําเนนิ การไดด งั น้ี 1. ปองกนั ตนเอง ไมใ ชยาโดยมไิ ดร บั คาํ แนะนําจากแพทย และจงอยาทดลองเสพ ยาเสพติดทกุ ชนดิ โดยเดด็ ขาด เพราะติดงายหายยาก 2. ปองกันครอบครัว ควรสอดสองดูแลเด็กและบุคคลในครอบครัวหรือท่ีอยู รว มกันอยา ใหเก่ยี วขอ งกบั ยาเสพติด ตอ งคอยอบรมสั่งสอนใหรูส กึ โทษและภัยของยาเสพติด หากมีผู เสพยาเสพตดิ ในครอบครวั จงจัดการใหเ ขา รกั ษาตวั ท่โี รงพยาบาล ใหห ายเดด็ ขาด การรกั ษาแตแ รกเรม่ิ ตดิ ยาเสพตดิ มโี อกาสหายไดเร็วกวาทีป่ ลอ ยไวนาน ๆ 3. ปอ งกนั เพ่อื นบาน โดยชวยชแ้ี จงใหเ พอ่ื นบา นเขา ใจถึงโทษและภยั ของยาเสพตดิ โดยมใิ หเ พื่อนบา นรเู ทา ไมถึงการณ ตองถูกหลอกลวง และหากพบวาเพ่ือนบานติดยาเสพติด จงชวย แนะนาํ ใหไ ปรกั ษาตวั ท่ีโรงพยาบาล 4. ปองกนั โดยใหค วามรว มมอื กับทางราชการ เมื่อทราบวาบานใด ตําบลใด มียาเสพ ติดแพรระบาดขอใหแ จง เจาหนาที่ตํารวจทุกแหงทุกทองที่ทราบ หรือที่ศูนยปราบปรามยาเสพติดให โทษ สํานักงานตํารวจแหงชาติ (ศปส.ตร.) โทร. 0-2252-7962, 0-2252-5932 และที่สํานักงาน คณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (สาํ นักงาน ป.ป.ส.) สํานกั นายกรฐั มนตรี โทร. 0-2245-9350-9
140 การปองกนั และหลกี เลย่ี งสารเสพตดิ ในชมุ ชน มแี นวทางดังน้ี 1. ปองกนั ตนเอง ทาํ ไดโ ดย ศึกษาหาความรูเพ่ือใหร เู ทาทันโทษพษิ ภัยของยาเสพติด ไมทดลองใชย าเสพตดิ ทกุ ชนิดและปฏิเสธเมื่อถูกชักชวน ระมดั ระวงั เรอ่ื งการใชยา เพราะยาบางชนิดอาจทาํ ใหเสพตดิ ได ใชเ วลาวางใหเปนประโยชน เลือกคบเพ่ือนดี ที่ชกั ชวนกนั ไปในทางสรางสรรค เมอื่ มปี ญ หาชีวิต ควรหาหนทางแกไ ขทไี่ มข องเก่ยี กับยาเสพติดหากแกไ ขไมไ ด ควรปรึกษาผใู หญ 2. ปองกันครอบครวั ทาํ ไดโดย สรางความรัก ความอบอนุ และความสมั พันธอ นั ดรี ะหวางสมาชกิ ในครอบครัว รแู ละปฏิบตั ติ ามบทบาทหนา ที่ของตนเอง ดแู ลสมาชิกในครอบครวั ไมใ หข องเก่ียวกับยาเสพตดิ ใหก ําลังใจและหาทางแกไข หากพบวา สมาชิกในครอบครวั ติดยาเสพตดิ 3. ปองกันชมุ ชน ทําไดโ ดย ชว ยชมุ ชนในการตอ ตา นยาเสพติด เม่ือทราบแหลงเสพ แหลงคา หรือผลิตยาเสพติด ควรแจงใหเจาหนาท่ีทราบ ทันทีที่ - สํานกั งาน ป.ป.ส. โทร. 0-2245-9414 หรือ 0-2247-0901-19 ตอ 258 โทรสาร 0-2246-8526 - ศูนยร บั แจงขาวยาเสพตดิ สํานักงานตํารวจแหงชาติ โทร. 1688 สรุป สารเสพติดไดแพรระบาดเขาไปถึงกลุมคนทุกกลุม สงผลกระทบตอสุขภาพ ของกลมุ คนเหลาน้ัน และมีผลตอประเทศชาติในท่ีสุด การดําเนินงานปองกันสารเสพติด จึงควรให ภมู คิ ุมกันแกกลุม เปาหมาย โดยมหี ลกั การ รปู แบบกจิ กรรมเพอื่ ปองกันสารเสพติดใหโ ทษที่ชัดเจน
141 กิจกรรมที่ 1 ใหผูเรยี นอธิบายตามประเด็นดังตอ ไปนี้ 1. ถาผูเรียนทราบแหลงซอ้ื ขายยาอี ยาบา ผูเ รยี นจะดาํ เนนิ การอยางไร ........................................................................................................... ....................................... .................................................................................................... .............................................. .................................................................................................... .............................................. 2. ถา มีเพือ่ นชกั ชวนไปเสพสารเสพติด ผูเ รียนจะปฏิบตั อิ ยา งไร ...................................................................................................................... ............................ .................................................................................................... .............................................. .................................................................................................... .............................................. 3. ผูเ รียนมีวธิ ีชว ยเหลอื อยางไร เม่ือมเี พือ่ นสนทิ ตดิ สารเสพตดิ ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................... .............................................. .................................................................................................... .............................................. กิจกรรมท่ี 2 ใหผูเรียนเลาประสบการณก ารมสี วนรว มในการปองกนั และแกปญหาสารเสพติดทั้ง ในสถานศกึ ษา สถานท่ที ํางาน และในชุมชน .................................................................................................... .................................................... ......................................................................................................................................................... .................................................................................................... .................................................... ...................................................................................................................... ..................................
142 บทท่ี 8 อันตรายจากการประกอบอาชพี สาระสําคญั ความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึนในการประกอบอาชีพตลอดจน วธิ ีการปองกันแกไขและวธิ ปี ฐมพยาบาลเมอ่ื เกดิ อันตรายจากการประกอบอาชีพได ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั 1. สามารถอธิบายถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในการประกอบอาชีพตลอดจนแนว ทางการปองกนั แกไ ขได 2. สามารถอธบิ ายถึงวิธีการปฐมพยาบาลเม่อื เกิดอนั ตรายจากการประกอบอาชีพได ขอบขา ยเนอื้ หา เรอื่ งท่ี 1 การปองกันอันตรายจากการประกอบอาชพี เรอ่ื งท่ี 2 การปฐมพยาบาลเบอื้ งตน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208