Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา(กลุ่มสื่อฯ)

แผนนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา(กลุ่มสื่อฯ)

Published by ปาริชาติ ปิติพัฒน์, 2021-04-13 05:00:08

Description: แผนนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา(กลุ่มสื่อฯ)

Search

Read the Text Version

แผนการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา กลมุ งานสง เสรมิ พฒั นา ส่อื นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา กลมุ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 นายอดศิ ร โคตรนรินทร นางปารชิ าติ ปต พิ ัฒน นายเจยี มพล บุญประคม ศึกษานเิ ทศก ศกึ ษานิเทศก ศึกษานเิ ทศก หวั หนา กลุม งานสง เสรมิ พัฒนา สอื่ กลุม งานสงเสรมิ พัฒนา ส่อื นวตั กรรม กลุมงานสงเสริม พฒั นา สือ่ นวัตกรรม นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา และเทคโนโลยที างการศกึ ษา และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา

แผนนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา : ก กลมุ งานสงเสริม พฒั นา สอื่ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา คาํ นํา แผนนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา : กลมุ่ งานสง่ เสรมิ พฒั นา สอื นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา เลม่ นีจดั ทาํ ขนึ เพอื เปนเครอื งมอื นิเทศ ตดิ ตาม การจดั การศกึ ษา เพอื การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาตามนโยบาย วสิ ยั ทศั น์ของเขตพนื ที การศกึ ษาและนโยบาย ของสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั พนื ฐานทกี าํ หนด ทงั สว่ นทเี ปนนโยบายจดุ เน้นของหน่วยงานตน้ สงั กดั และกลยทุ ธก์ ารพฒั นา เพอื ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาของสาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 โดยยดึ แนวทางการนิเทศบรู ณาการเพอื การพฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รยี น กลมุ่ งานสง่ เสรมิ พฒั นา สอื นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา

แผนนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา : ข กลมุ งานสง เสรมิ พฒั นา ส่ือ นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา สารบญั ตอนที 1 บทนาํ ตอนที 2 ทศิ ทาง นโยบาย การจดั 1 ความสาํ คญั การศกึ ษา 2 วัตถุประสงค์ 3 เปาหมายการนเิ ทศ 6 พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของสมเดจ็ 3 ภาพความสาํ เร็จ พระวชิรเกล้าเจา้ อยหู่ วั รัชกาลที 10 3 ระยะเวลาดําเนินการ 4 นิยามศพั ท์ 7 ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 - 2580 7 แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560 - 2579 ตอนที 3 การดําเนินการ 8 นโยบายรฐั บาลดา้ นการศึกษาของรฐั บาล นิเทศ และรายงาน 11 นโยบายเรง่ ด่วนดา้ นการศกึ ษา ข้อที 7 11 นโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร 24 ภารกจิ การนิเทศ 12 จุดเนน้ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 24 แนวทางการนเิ ทศ 15 นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษา 25 รูปแบบการนิเทศ 25 กิจกรรมนิเทศเพือส่งเสรมิ คณุ ภาพ ขันพื นฐาน 15 แนวทางการพัฒนาสาํ นักงานเขตพืนทกี ารศกึ ษา การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 31 กระบวนการนเิ ทศ ติดตาม และ ประถมศึกษาหนองบัวลําภู เขต 2 20 การนิเทศการศกึ ษา ประเมินผล 21 พันธกิจ เปาประสงค์ กลยุทธ์ 33 ขนั ตอนการนเิ ทศ 34 การนําการนิเทศเพือการพัฒนาไปใช้ กลุม่ งานส่งเสรมิ พัฒนา สือ นวตั กรรมและ เทคโนโลยีทางการศกึ ษา 22 บทบาทของศึกษานิเทศก์ ตอนที 4 เครองมอื การนิเทศ 35 ปฏทิ นิ การนเิ ทศ 36 ตวั ชีวัดการนิเทศเพือพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 38 เครอื งมือการนเิ ทศ 39 แบบติดตาม ตรวจเยยี ม และนเิ ทศการศกึ ษา การดาํ เนินการเพือพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชอื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid -19) 40 แบบนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการใชส้ อื และเทคโนโลยใี นการจัดการเรียนรู้ 43 แบบนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การเรียนร้โู ดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม (DLTV) 73 แบบนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษาทางไกล ผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) 91 แบบนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การเรียนรวู้ ทิ ยาการคาํ นวณ (CODING) 97 แบบนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เพือพัฒนาแนวคิดเชงิ คํานวณโดยใชเ้ กม เปนฐาน (GBL) 104 แบบนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพือยกระดับผลสัมฤทธขิ องโรงเรยี น ขนาดเลก็ 107 แบบนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ักษะอาชพี เพือการมีงานทาํ

แผนนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา : 1 กลมุ งานสง เสริม พัฒนา ส่อื นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา ตอนที 1 บทนาํ ความสาํ คญั การปฏิรูปกระบวนการเรยี นรูท้ ีตอบสนองต่อการเปลยี นแปลงในศตวรรษที 21 โดยมุ่งเน้นผู้เรยี น ให้มีทักษะการเรยี นรู้ และมีใจใฝเรยี นรูต้ ลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรยี นรใู้ หม่ การเปลยี นบทบาท ครู การเพิมประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษาและการพัฒนาระบบการเรยี นรูต้ ลอด ชีวิตสอดคลอ้ ง กับแผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2560 - 2579 ในยุทธศาสตรท์ ี 3 การพฒั นา ศักยภาพคนทุกช่วง วัยและการสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรูม้ ีเปาหมายให้ผ้เู รยี นมีทักษะและคณุ ลกั ษณะพืนฐานของพลเมืองไทย ทักษะและคุณลกั ษณะทีจําเปนในศตวรรษที 21 มีทักษะความรูค้ วามสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐาน การศึกษา มาตรฐานวิชาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตไดต้ ามศกั ยภาพ สถานศกึ ษาทุกระดับการศกึ ษา สามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน รวมทังแหลง่ เรยี นรู้ สอื ตําราเรยี น และนวัตกรรม ประชาชนสามารถเขา้ ถึงไดโ้ ดยไม่จํากัดเวลา และสถานที มีระบบและกลไก การวัดการติดตาม และประเมินผลมีประสทิ ธภิ าพ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไดร้ บั การ พัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐานการพัฒนาคณุ ภาพศกึ ษาให้เกิดคุณภาพ คุณภาพผู้เรยี นจะเกิดได้และ บรรลหุ ลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 และมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชีวัด (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) โดยมีกระบวนการสคู่ วามสาํ เรจ็ ในการพัฒนา 3 กระบวนการ คอื กระบวนการ บรหิ าร กระบวนการเรยี นการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา ซึงกระบวนการนิเทศการศกึ ษา เปน ภารกิจจําเปนต่อการจัดการศึกษาทีต้องอาศัยความรว่ มมือจากบุคคล หลายฝายโดยเฉพาะอย่างยงิ ทาง ด้านการพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอนบุคลากรทีเกียวข้องในหน่วยงานจัดการศกึ ษา จําเปนต้องพัฒนา และปรบั ปรุงตนเองให้ทันต่อการเปลยี นแปลง เพอื ให้การปฏิบัติงานเปนไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ซึงการ นิเทศการศึกษาเปนกระบวนการทีมีจุดมุ่งหมาย เพือช่วยเหลอื ชีแนะและพัฒนางานให้ประสบผลสาํ เรจ็ ทันต่อสภาพการเปลยี นแปลงทีเกิดขึน อกี ทังเปนองคป์ ระกอบสาํ คัญทีช่วยเหลอื สนับสนนุ ให้กระบวนการ บรหิ าร และกระบวนการเรยี นการสอนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของประเทศ ทังยงั เปนสว่ น สาํ คัญทีต้องพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นให้มีทักษะทีจําเปนในศตวรรษที 21 เพอื เขา้ สกู่ ารปฏิรูปการศกึ ษาและ การจัดการศึกษาในยุคประเทศไทย 4.0 ตลอดทังมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ ทีมุ่งเน้นให้ผเู้ รยี นมคี ุณภาพ มีคุณลกั ษณอนั พึงประสงค์ มีทักษะวิชาการ ทักษะอาชีพ ทักษชีวิต ทักษะการเปนผุ้นําและทักษะการนําไป สกู่ ารสรา้ งนวัตกร กระบวนการขับเคลอื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษาขนั พนื ฐาน การนิเทศการศึกษาจงึ มีความสาํ คัญต่อการพัฒนา ปรบั ปรุง และเพมิ ประสทิ ธภิ าพในการจัดการศกึ ษาในสถานศกึ ษา เพอื ให้ผู้ บรหิ ารและครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจในดา้ นการบรหิ าร จัดการดา้ นหลกั สตู ร การจดั กจิ กรรมการเรยี น การสอนทีมีประสทิ ธิ ภาพ รวมทังการปฏิบตั ิงานอนื ๆ ที สง่ ผลตอ่ การพฒั นาคุณภาพการศึกษา การนิเทศการศึกษาเปนวิชาชีพหนึงทีเกิดขึนมา เพือช่วยเหลอื ครใู นด้านการจัดกิจกรรมการเรยี น การสอน เนืองจากแนวคิดในเรอื งการเรยี นการสอนมีการเปลยี นแปลงและเพมิ ขนึ อย่ตู ลอดเวลา รวมถึง หลกั สตู รทีใช้ในการสอนก็มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา นอกจากนียงั ขยายวงกว้างขนึ จากการเรยี นการสอน ในห้องเรยี นออกไปสชู่ ุมชนสงั คมภายนอก ทําให้ครูต้องการผู้ช่วยเหลอื เพมิ พลงั และปรบั เปลยี นกระบวน ทัศน์ให้สามารถดําเนินการให้ทันต่อการเปลยี นแปลง ทีเกิดขนึ ทําให้เกิดศาสตรด์ ้านการนิเทศการศกึ ษา ซึงกระทรวงศึกษาธกิ ารก็ได้ ให้ความสาํ คญั กับเรอื งนี ด้วยการกําหนดให้มีวชิ าชีพนีขึน ทาํ หน้าทีดแู ล

แผนนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา : 2 กลมุ งานสงเสรมิ พฒั นา สอ่ื นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา ให้คําปรกึ ษา แนะนํา ช่วยเหลอื ครูผู้สอนให้สามารถจัดการเรยี นการสอนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ และมีการ วิจัยและพัฒนางานนิเทศจนกําหนดเปนมาตรฐานวิชาชีพศกึ ษานิเทศก์ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารขึน บทบาทหน้าทขี องกลมุ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา ตามประกาศกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร เรอื ง การแบง่ สว่ นราชการภายในสาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2560 และแกไ้ ขเพมิ เตมิ (ฉบบั ที 2) พ.ศ. 2561 ใหส้ ว่ นราชการภายในสาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศกึ ษามอี าํ นาจหน้าที ดงั ตอ่ ไปนี กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา มอี าํ นาจหน้าที ดงั นี 1) ประสาน สง่ เสรมิ สนับสนนุ และ พฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาขนั พนื ฐาน หลกั สตู รการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั และหลกั สตู รการศกึ ษาพเิ ศษ 2) ศกึ ษา วเิ คราะห์ วจิ ยั เพอื พฒั นาหลกั สตู รการสอนและกระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 3) วจิ ยั พฒั นา สง่ เสรมิ ตดิ ตาม ตรวจสอบ) และประเมนิ เกยี วกบั การวดั และการประเมนิ ผลการศกึ ษา 4) วจิ ยั พฒั นา สง่ เสรมิ มาตรฐานการศกึ ษาและการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา รวมทงั ประเมนิ ตดิ ตาม และตรวจสอบ คณุ ภาพการศกึ ษา 5) นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา 6) ศกึ ษา วเิ คราะห วจิ ยั และพฒั นา สอื นวตั กรรมการนิเทศทางการศกึ ษา 7) ปฏิบตั งิ านเลขานกุ ารคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษาของเขตพนื ทกี ารศกึ ษา 8) ปฏิบตั งิ านรว่ มกบั หรอื สนับสนนุ การปฏิบตั งิ านของ หน่วยงานอนื ทเี กยี วขอ้ งหรอื ทไี ดร้ บั มอบหมาย สาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา โดยกลมุ่ งานสง่ เสรมิ พัฒนาสอื นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา จะดาํ เนินการ นิเทศการศึกษาสถานศึกษาในสงั กัดได้สอดคลอ้ งตามแนวนโยบาย การปฏิรปู การศึกษา ตามจดุ เน้น ของสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ในสว่ นทีกลมุ่ งานสง่ เสรมิ พฒั นา สอื นวตั กรรมและ เทคโนโลยีทางการศึกษา รบั ผิดชอบนิเทศการศึกษาให้กับสถานศกึ ษาทุกแห่งในสงั กัด เน้นการนิเทศ การศึกษาแบบรว่ มคิด รว่ มทํา และรว่ มพัฒนา ดําเนินการสนับสนนุ สง่ เสรมิ ให้โรงเรยี นสามารถแก้ไข ปญหา ปรบั ปรุง พัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรยี นไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพและคุณภาพด้วยตนเอง มีขันตอน 5 ขันตอน ได้แก่ การวางแผนการนิเทศ การพฒั นาทีมนิเทศ การปฏิบตั ิการนิเทศ การประเมินผล การนิเทศ และการสรุปและรายงานการนิเทศ จึงได้จัดทําแผนนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการ ศึกษา เพือให้ศึกษานิเทศก์ใช้เปนเครอื งมือในการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา อนั จะ สง่ ผลให้ผลสมั ฤทธทิ างการเรยี นรูส้ งู ขึนตามมาตรฐานทีกําหนด สถานศกึ ษาสามารถพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษาได้อย่างเปนระบบ มีคุณภาพและประสทิ ธภิ าพสงู ขึน วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพือเปนเอกสารแนวทางการขับเคลอื นการนิเทศบรู ณาการโดยใช้พืนทีเปนฐานให้กับผเุ้ กียวขอ้ ง ในระดับสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน สาํ นักงานเขตพืนทีการศกึ ษา และโรงเรยี น 2. เพือนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดาํ เนินงานตามนโยบาย และจดุ เน้น ของสาํ นักงานคณะ กรรมการการศึกษาขันพืนฐาน สงั กัดสาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 3. เพือนําผลการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาน ศึกษา สงั กัดสาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาํ ภู เขต 2 4. เพือพัฒนาระบบการนิเทศโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5. เพือสง่ เสรมิ ให้ศึกษานิเทศก์ และสถานศึกษา นําระบบการนิเทศโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้ ในการขับเคลอื นนโยบายทุกระดับให้เกิดประสทิ ธภิ าพ

แผนนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา : 3 กลุม งานสง เสริม พัฒนา ส่อื นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศึกษา เปาหมายการนิเทศ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การขบั เคลอื นการพฒั นาคุณภาพ การศกึ ษา ของสถานศึกษาในด้านการจัดการเรยี นการสนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19) การใช้สอื และเทคโนโลยีในการจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) การจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) การจัดการเรยี นรวู้ ิทยาการคาํ นวณ (CODING) การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เพือพัฒนาแนวคิดเชิงคาํ นวณโดยใช้เกมเปนฐาน (GBL) การจัดการเรยี นรู้ เพือยกระดับผลสมั ฤทธขิ องโรงเรยี นขนาดเลก็ การจัดการเรยี นรูท้ ักษะอาชีพ เพือการมีงานทํา เชิงปรมิ าณ สถานศึกษาในสงั กัดได้รบั การนิเทศ กํากับ ติดตาม ตามประเด็นการนิเทศของกลมุ่ งานสง่ เสรมิ พัฒนา สอื นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา รอ้ ยละ 80 เชิงคุณภาพ - สถานศึกษาในสงั กัดได้รบั การนิเทศ กํากับ ติดตามประเด็นการนิเทศ สามารถจัดการศกึ ษา ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ - สถานศึกษาได้รบั การนิเทศ การจัดการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพตอบสนองการเปลยี น แปลงในศตวรรษที 21 - ครูผู้สอนเปลยี นบทบาทจาก ครูผู้สอน เปน Coach - ครูจัดการเรยี นการสอนทีสอดรบั กับทักษะทีจําเปนในศตวรรษที 21 ภาพความสาํ เรจ็ 1. มีแนวทางการขับเคลอื นการปฏิบัติการนิเทศสโู่ รงเรยี น 2. มีข้อมูลสารสนเทศของการนิเทศ 3. มีระบบและกระบวนการนิเทศตามบรบิ ทของสาํ นักงานเขตพนื ทีการศึกษา 4. มีแผนและคู่มือการนิเทศตามบรบิ ทของเขตพนื ทีการศกึ ษา 5. มีการนิเทศ ติดตามนโยบาย และจุดเน้นของสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั พนื ฐาน และ สาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาํ ภู เขต 2 6. มีการสรุปและรายงานผลการนิเทศ ระยะเวลาดาํ เนินงาน ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564

แผนนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : 4 กลุม งานสงเสริม พฒั นา สอื่ นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา นิยามศพั ท์ 1. นิเทศภายใน หมายถึง การให้คําแนะนํา ช่วยเหลอื ชีแนะ เพอื แก้ไข ปรบั ปรงุ พัฒนา การจัด กิจกรรมการเรยี นรูข้ องครูให้มีประสทิ ธภิ าพ ทีสง่ ผลให้นักเรยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานของหลกั สตู ร 2. การจัดการเรยี นการสอนในช่วงสภาวะวกิ ฤต COVID-19 หมายถึง การจัดการเรยี นการสอนภาย ใต้สถานการณ์ระบาดไวรสั COVID-19 เพอื ให้การเรยี นรูข้ องนักเรยี นไม่ขาดช่วย ในรูปแบบการเรยี นการ สอนออนไลน์ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศรว่ มกับเทคโนโลยที างการศกึ ษาในปจจุบนั และเมือเปดภาค เรยี นที ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๓ ในวันที ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ สถานศกึ ษาแต่ละแห่งตา่ งมีมาตราการเพิม ระยะห่างทางสงั คม (Social Distancing) เพือปองกันการแพรร่ ะบาดของเชือไวรสั ในสถานศกึ ษาและ จัดการเรยี นรูไ้ ด้อย่างมีประสทิ ธภิ าพและปลอดภัย 3. การนิเทศบูรณาการโดยใช้พืนทีเปนฐาน หมายถึง การให้คาํ แนะนํา ช่วยเหลอื ชีแนะ เพอื แก้ไข ปรบั ปรุงพัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี นรขู้ องครูทีสง่ ผลต่อคณุ ภาพผู้เรยี นทังในระดบั สาํ นักงานคณะ กรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ระดับสาํ นักงานเขตพืนทีการศกึ ษา ระดับโรงเรยี น โดยม่งุ เน้นให้เกดิ การ ทํางานรว่ มกัน เพือลดความซาซ้อนในการดาํ เนินงานการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา การดาํ เนินงานตาม นโยบายและจุดเน้นสาํ คัญเพือการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 4. ห้องเรยี นเปนฐาน หมายถึง การคํานึงถึงคุณภาพของห้องเรยี นทีมีคุณภาพของครแู ละผู้เรยี น โดยครูจัดการเรยี นรูใ้ นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรูใ้ นห้องเรยี น หรอื นอกหอ้ งเรยี นทีมงุ่ เน้น การจัดการเรยี นรูเ้ ชิงรุก (Active Learning) ครูมีการนําผลการวดั และประเมินผลการเรยี นรไู้ ปใช้พัฒนา ผู้เรยี น ทีคํานึงถึงความแตกต่างของผู้เรยี นเปนรายบคุ คล มุ่งให้ผูเ้ รยี นทุกคนในห้องเรยี นเปนหอ้ งเรยี น แห่งการเรยี นรู้ ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรูแ้ ละสรา้ งองค์ความรดู้ ว้ ยตัวเอง ผเู้ รยี นเอง ผเู้ รยี นมีคณุ ภาพเปนไป ตามทีหลกั สตู รต้องการ มีทักษะทางวิชาการ ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิต 5. คุณภาพการศึกษาขันพืนฐาน หมายถึง ความสาํ เรจ็ ทีเกิดจากการบรหิ ารและการจัดการศึกษา ขันพืนฐานตามนโยบาย เปาหมายของทิศทางการขับเคลอื นคณุ ภาพการศึกษาขนั พนื ฐานของสาํ นักงาน คณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน และประสทิ ธผิ ลทีเกิดขนึ กับผูเ้ รยี นทีแสดงถึงสมรรถนะที จาํ เปนใน ศตวรรษที 21 และตามคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผเู้ รยี นตามหลกั สตู ร 6. การนิเทศด้วย ICT หมายถึง การให้คําแนะนํา ช่วยเหลอื ชีแนะ เพือแก้ไข ปรบั ปรงุ พฒั นาการจัด กิจกรรมการเรยี นการสอนของครู การเรยี นรขู้ องผู้เรยี นในการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการ สอื สารทีหลากหลาย เพือสง่ เสรมิ สนับสนนุ และพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามบรบิ ทของสถาน ศึกษา 7. การจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้สอื เทคโนโลยีทางไกล (DLTV/DLIT) หมายถึง การออกแบบการเรยี นรู้ และการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้สอื เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television : DLTV) ในโรงเรยี นชนาดเลก็ และการออกแบบการเรยี นรแู้ ละการจัดการเรยี นรู้ ผา่ น เทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance Learning Information : DLIT) ในโรงเรยี นขนาดกลาง และโรงเรยี น ขนาดใหญ่ 8. การยกระดับผลสมั ฤทธทิ างการเรยี นของผุเ้ รยี น หมายถึง การทีโรงเรยี นและครผู สู้ อนมีการรว่ ม กันวิเคราะห์ปญหา สาเหตุของปญหา และแนวทางการแก้ไขปญหา และรว่ มกันตัดสนิ ใจเลอื กวิธกี ารแก้ ปญหาในการพัฒนาผู้เรยี นให้มีความก้าวหน้าในการเรยี นอย่างต่อเนือง โดยคํานึงถงึ ความแตกต่างของผู้ เรยี นเปนรายบุคคล

แผนนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา : 5 กลมุ งานสง เสรมิ พัฒนา ส่อื นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา 9. การใช้สอื และเทคโนโลยีในการจัดการเรยี นรู้ หมายถึง การนําเอาสอื วัสดุ เทปบันทึกเสยี ง สไลด์ วิทยุโทรทัศน์ วีดีทัศน์ แผนภูมิ ภาพนิง ซึงบรรจุเนือหาเกียวกับการเรยี นการสอนไปใช้ในกระบวนการ จัดการเรยี นการสอน เพือเชือมโยงความรู้ เนือหาไปยังผู้เรยี น ทําให้เกิดความเข้าใจสงิ ทีถ่ายทอดซึงกัน และกัน สง่ ผลต่อประสทิ ธภิ าพการจัดการเรยี นรูข้ องผสู้ อนได้ผลบรรลตุ ามจดุ มุ่งหมาย ในกระบวนการจัด การเรยี นการสอน 10. การจัดการเรยี นรูว้ ิทยาการคํานวณ หมายถึง กระบวนการเรยี นรูท้ ีมุ่งให้ผู้เรยี นมีความสามารถ ใช้ทักษะการคิดเชิงคํานวณในการคิดวิเคราะห์ แก้ปญหาอยา่ งเปนขันตอนและเปนระบบ มีทกั ษะในการ ค้นหาข้อมูลหรอื สารสนเทศ ประเมิน จัดการ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ และนําสารสนเทศไปใช้ในการแกป้ ญหา เสามารถประยุกต์ใช้ความรูด้ ้านวิทยาการคอมพวิ เตอร์ สอื ดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สาร ในการแก้ปญหาในชีวิตจรงิ การทํางานรว่ มกันอย่างสรา้ งสรรคเ์ พอื ประโยชน์ต่อตนเองหรอื สงั คม และ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สารอย่างปลอดภยั รเู้ ท่าทัน มีความรบั ผิดชอบมีจรยิ ธรรม โดยมีขอบเขตการเรยี นการสอนของวิชาวิทยาการคํานวณ 3 องค์ความรู้ ดังนี 10.1 การคิดเชิงคํานวณ (computational thinking) เปนการสอนให้เดก็ คิดและเชือมโยง ปญหาต่างๆ เปน จนสามารถแก้ปญหาได้อยา่ งเปนระบบ และแก้ปญหาเชิงวิเคราะห์ สามารถใช้ จินตนาการมองปญหาด้วยความคิดเชิงนามธรรม สามารถแก้ปญหาอยา่ งเปนขันตอนและมีลาํ ดบั วธิ คี ดิ ได้ 10.2 พืนฐานความรูด้ ้านเทคโนโลยีดิจิทัล (digital technology) เปนการสอนให้รูจ้ กั เทคนิค วิธกี ารต่างๆ เกียวกับเทคโนโลยีดิจิทัลทีอยู่ในชีวติ ประจําวัน เรยี นรอู้ ย่างรอบด้านการเกษตร อตุ สาหกรรม หรอื คมนาคม และนํามาประยุกต์ใช้งานไดอ้ ย่างเหมาะสม 10.3 พืนฐานการรูเ้ ท่าทันสอื และข่าวสาร (media and information literacy) เปนทกั ษะ เกียวกับการรูเ้ ท่าทันสอื และเทคโนโลยีดิจิทัล แยกแยะไดว้ า่ ขอ้ มูลใดเปนความจรงิ หรอื ความคดิ เห็น โดย เฉพาะข้อมูลบนสอื สงั คมออนไลน์ นอกจากนียงั เปนเรอื งของความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ รกู้ ฎหมายและ ลขิ สทิ ธทิ างปญญาต่างๆ เพือให้เด็กใช้ช่องทางนีได้อยา่ งรูเ้ ท่าทันและปลอดภยั มากทสี ดุ 11. การจัดการเรยี นรูเ้ พือพัฒนาแนวคิดเชิงคํานวณ โดยใช้เกมเปนฐาน (GBL) หมายถึง การจดั การ เรยี นรู้ เพือพัฒนาการคิด โดยเฉพาะการคิดเชิงตรรกะ การคิดเปนเหตุเปนผล การตัดสนิ ใจ ทีเหมาะสมกับ บรบิ ทของสถานศึกษาและสงั คมทีนักเรยี นอาศยั อยู่ โดยเรยี นรผู้ า่ นการลงมือทํา (เลน่ ) อยา่ งสนกุ สนาน การเรยี นรูโ้ ดยใช้เกมเปนฐาน (Game-based Learning) สามารถทําให้เดก็ เปลยี นแนวคิดเชิงนามธรรม เปนรูปธรรม สรา้ งแรงจูงใจให้ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการเรยี นรูท้ ําให้การเรยี นรเู้ ปนไปอย่างมีความหมาย (Meaningful Learning) ทําให้เกิดองค์ความรูท้ ีคงทน ผูเ้ รยี นเขา้ ใจเห็นภาพ เชือมโยงกับชีวติ จรงิ ได้ พรอ้ มกับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที 21 ไปกับการเรยี นรูร้ ว่ มกัน ผู้เรยี นจึงสามารถนําความรแู้ ละทักษะ ทีได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตและการทํางานอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 12. การจัดการเรยี นรูท้ ักษะอาชีพ เพือการมีงานทํา หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรยี นรูท้ ีมุ่งเน้น ให้นักเรยี นรูเ้ สน้ ทางชีวิตตนเองว่า เรยี นมาแลว้ ต้องการเลอื กเสน้ ทางไหนให้กับชีวิตของตน ทังสายสามญั และสายอาชีพ สอดคลอ้ งกับทฤษฎีพัฒนาการทางอาชีพ สรา้ งเสรมิ ประสบการณ์อาชีพ (Work Experience) ให้นักเรยี นเข้าสโู่ ลกของการทํางานตามสภาพจรงิ ในสถานประกอบการ/แหลง่ เรยี นรู้ เพือการเรยี นรูโ้ ลกของอาชีพ สรา้ งเสรมิ ทักษะและพฒั นาคณุ ลกั ษณะทีเกียวข้องกับการทํางาน

แผนนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา : 6 กลุม งานสงเสริม พัฒนา สอื่ นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศึกษา ตอนที 2 ทิศทาง นโยบายการจดั การศกึ ษา การพัฒนาคุณภาพการศึกษาจะสาํ เรจ็ ไดต้ ามเปาหมาย จําเปนต้องมีองค์ประกอบสาํ คัญ ในการพัฒนา คือ กระบวนการบรหิ าร กระบวนการจัดการเรยี นรู้ และกระบวนการนิเทศ ทตี ้องรว่ มกัน สนับสนนุ สง่ เสรมิ ไปด้วยกัน กระบวนการนิเทศการศกึ ษา เปนกระบวนการทีทําให้เกดิ การพัฒนาและ ปรบั ปรุง กระบวนการเรยี นการสอนของครู โดยมุ่งให้เกิดการจัดการเรยี นรู้ ทีมีประสทิ ธภิ าพสง่ ผลถึง คุณภาพของผู้เรยี น กระบวนการนิเทศการศึกษาช่วยทําให้เกิดการพฒั นาคน พฒั นางาน สรา้ งการ ประสานสมั พันธ์ และสรา้ งขวัญกําลงั ใจ ซึงต้องดําเนินงานให้ประสานสมั พนั ธก์ ับกระบวนการอนื ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลตุ ามเปาหมาย ทําให้เกิดการพัฒนาทียังยืนถาวร พระบรมราโชบาย ดา้ นการศกึ ษาของสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที 10 การศึกษาต้องมุ่งสรา้ งพืนฐานให้แก่ผู้เรยี น 4 ดา้ น 1. มีทัศนคติทีถูกต้องต่อบ้านเมือง 1) มีความรูค้ วามเข้าใจต่อชาติบ้านเมือง 2) ยึดมันในศาสนา 3) มันคงในสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ 4) มีความเออื อาทรต่อครอบครวั และชุมชนของตน 2. มีพืนฐานชีวิตทีมันคง – มีคุณธรรม 1) รูจ้ ักแยกแยะสงิ ทีผิด – ชอบ/ชัว – ดี 2) ปฏิบัติแต่สงิ ทีชอบ สงิ ทีดีงาม 3) ปฏิเสธสงิ ทีผิดสงิ ทีชัว 4) ช่วยกันสรา้ งคนดีให้แก่บ้านเมือง 3. มีงานทํา – มีอาชีพ 1) การเลยี งดูลกู หลานในครอบครวั หรอื การฝกฝนอบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งให้เดก็ และเยาวชนรกั งาน สงู้ าน ทําจนงานสาํ เรจ็ 2) การฝกฝนอบรมทังในหลกั สตู รและนอกหลกั สตู รตองมีจุดมุงหมายให้ผูเ้ รยี นทํางาน เปนและมีงานทําในทีสดุ 3) ต้องสนับสนนุ ผู้สาํ เรจ็ หลกั สตู รมีอาชีพมีงานทําจนสามารถเลยี งตัวเองและครอบครวั 4. เปนพลเมืองดี 1) การเปนพลเมืองดี เปนหน้าทีของทุกคน 2) ครอบครวั – สถานศึกษาและสถานประกอบการ ต้องสง่ เสรมิ ให้ทุกคนมีโอกาสทํา หน้าทีเปนพลเมืองดี 3) การเปนพลเมืองดีคือ “เห็นอะไรทีจะทําเพือบ้านเมืองได้ก็ต้องทํา” เช่น งานอาสา สมัครงานบําเพ็ญประโยชน์งานสาธารณกุศล ให้ทําด้วยความมีนาใจ และความเออื อาทร

แผนนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : 7 กลมุ งานสง เสริม พฒั นา ส่อื นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศึกษา ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ.2561 - 2580) “ประเทศไทยมีความมันคง มังคัง ยังยืน เปนประเทศพัฒนาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียง” เปาหมายประเทศไทยในอนาคต ป 2580 “ประเทศไทยมีความมันคง มังคัง ยังยืน เปนประเทศพัฒนาแลว้ ดว้ ยการพัฒนาตามหลกั ปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียง” โดยมีเปาหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมันคง ประชาชนมีความสขุ เศรษฐกิจพฒั นา อย่างต่อเนือง สงั คมเปนธรรมฐานทรพั ยากรธรรมชาติยังยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศไทย ในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เปนคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สรา้ งโอกาสและ ความเสมอภาคทางสงั คม สรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรกับสงิ แวดลอ้ ม และมีภาครฐั ของ ประชาชนเพือประชาชนและประโยชน์สว่ นรวม ประเด็นยุทธศาสตรช์ าติ 1. ยุทธศาสตรช์ าติด้านความมันคง 2. ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั 3. ยุทธศาสตรช์ าติด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 4. ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 5. ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชีวติ ทีเปนมิตรกับสงิ แวดลอ้ ม 6. ยุทธศาสตรช์ าติด้านการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 วิสัยทัศน์ “คนไทยทุกคนได้รบั การศึกษาและเรยี นรูต้ ลอดชีวติ อย่างมีคุณภาพดํารงชีวติ อยา่ งเปนสขุ สอดคลอ้ งกับหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและการเปลยี นแปลงของโลกศตวรรษที 21” วัตถุประสงค์ 1. เพือพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาทีมีคณุ ภาพและมีประสทิ ธภิ าพ 2. เพือพัฒนาคนไทยให้เปนพลเมืองดี มีคุณลกั ษณะ ทักษะ และสมรรถนะทีสอดคลอ้ งกับ บทบัญญัติของรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ และยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) 3. เพือพัฒนาสงั คมไทยให้เปนสงั คมแห่งการเรยี นรู้ และคณุ ธรรม จรยิ ธรรม รูร้ กั สามัคคี และรว่ มมือผนึกกําลงั มุ่งสกู่ ารพัฒนาประเทศอย่างยงั ยนื ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เพือนําประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศทีมีรายได้ปานกลางและความเหลอื มลาภายใน ประเทศลดลงเปาหมายเพือให้บรรลวุ ิสยั ทัศน์และจุดมุ่งหมายในการจัดการศกึ ษาดังกลา่ วข้างต้น แผนการศึกษาแห่งชาติได้วางเปาหมายไว้ 2 ด้าน คอื 1. ด้านผู้เรยี น (Learner Aspiration) 2. ด้านการจัดการศึกษา (Aspiration)

แผนนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา : 8 กลุมงานสง เสริม พัฒนา สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศึกษา เปาหมายของการจัดการศึกษากําหนดไว้ 5 ประการ ดงั นี 1. ประชากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาทีมีคุณภาพและมีมาตรฐานอย่างทัวถึง(Access) 2. ผู้เรยี นทุกคนทุกกลมุ่ เปาหมายได้รบั บรกิ ารการศกึ ษาทีมีคุณภาพตามมาตรฐาน อย่างเท่าเทียม (Equity) 3. ระบบการศึกษาทีมีคุณภาพสามารถพัฒนาผเู้ รยี นให้บรรลขุ ีดความสามารถ เต็มตาม ศักยภาพ(Quality) 4. ระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาทีมีประสทิ ธภิ าพ เพือการลงทุนทางการศึกษาทีคุม้ คา่ และบรรลเุ ปาหมาย(Efficiency) 5. ระบบการศึกษาทีสนองตอบและก้าวทันการเปลยี นแปลงของโลกทีเปนพลวัตและ บรบิ ททีเปลยี นแปลง(Relevancy) นโยบายรฐั บาลดา้ นการศกึ ษาของรฐั บาล ในคําแถลงนโยบายของรฐั บาลโดยพลเอกประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี ต่อรฐั สภา เมือวัน พฤหัสบดีที 25 กรกฎาคม 2562 นโยบายด้านการศึกษากําหนดไว้ในนโยบายที 8 ดังนี 8. การปฏิรูปกระบวนการเรยี นรูแ้ ละการพัฒนาศกั ยภาพของคนไทยทุกช่วงวยั 8.1 สง่ เสรมิ การพัฒนาเด็กปฐมวัย 8.1.1 จัดให้มีระบบพัฒนาเด็กแรกเกิดอย่างต่อเนืองจนถึงเด็กวยั เรยี นให้มีโอกาสพฒั นา ตามศักยภาพเพือสรา้ งคนไทยทีมีพัฒนาการเต็มตามศกั ยภาพผา่ นครอบครวั ทีอบอนุ่ ในทุกรปู แบบ ครอบครวั เพือสง่ ต่อการพัฒนาเด็กไทยให้มีคณุ ภาพสกู่ ารพฒั นาในระยะถัดไปบนฐานการให้ความช่วย เหลอื ทีคํานึงถึงศักยภาพของครอบครวั และพนื ทีเตรยี มความพรอ้ มการเปนพ่อแม่ความรูเ้ รอื งโภชนาการ และสขุ ภาพการอบรมเลยี งดู การสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัยผา่ นการให้บรกิ ารสาธารณะทีเกยี วขอ้ ง โดยเฉพาะการยกระดับคุณภาพสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ทัวประเทศให้ได้มาตรฐานและพัฒนาศกั ยภาพ ของบุคลากรทางการศึกษาและผู้ดูแลเด็กปฐมวยั ให้สามารถจัดการศึกษาได้อยา่ งมีคุณภาพ 8.1.2 สง่ เสรมิ การพัฒนาเด็กปฐมวัยโดยคาํ นึงถึงพหุปญญาทีหลากหลายของเดก็ แต่ละ คน ให้ได้รบั การสง่ เสรมิ และพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพผ่านการออกแบบการจัดการเรยี นรทู้ ีเชือมโยง กับระบบโรงเรยี นปกติทีเปนระบบและมีทิศทางทีชัดเจน 8.2 พัฒนาบัณฑิตพันธใ์ุ หม่ 8.2.1 ปรบั รูปแบบการเรยี นรูแ้ ละการสอนเพือพฒั นาทักษะและอาชีพของคนทุกช่วงวยั สาํ หรบั ศตวรรษที 21 โดยปรบั โครงสรา้ งหลกั สตู รการศึกษาให้ทันสมัยมีการนําเทคโนโลยแี ละการเรยี นรู้ ผ่านประสบการณ์จรงิ เข้ามามีสว่ นในการจัดการเรยี นการสอนและปรบั ระบบดึงดดู การคดั เลอื กการผลติ และพัฒนาครูทีนําไปสกู่ ารมีครูสมรรถนะสงู เปนครยู คุ ใหม่ทีสามารถออกแบบและจดั ระบบการสรา้ งความ รูส้ รา้ งวินัยกระตุ้นและสรา้ งแรงบันดาลใจเปดโลกทัศน์มุมมองของเดก็ และครดู ว้ ยการสอนในเชิงแสดง ความคิดเห็นให้มากขึนควบคู่กับหลกั การทางวชิ าการ 8.2.2 จัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทํางานเพอื พฒั นาสมรรถนะของผเู้ รยี นทังใน สว่ นฐานความรูแ้ ละระบบความคิดในลกั ษณะสหวิทยาการและตรงกับความต้องการของประเทศใน อนาคตและเปนผู้เรยี นทีสามารถปฏิบัติได้จรงิ และสามารถกํากับการเรยี นรขู้ องตนเองไดร้ วมถึงมที ักษะ ด้านภาษาองั กฤษและภาษาทีสามทีสามารถสอื สารและแสวงหาความรูไ้ ดม้ ีความพรอ้ มทงั ทักษะความรู้ ทักษะอาชีพและทักษะชีวิตก่อนเข้าสตู่ ลาดแรงงาน

แผนนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา : 9 กลมุ งานสงเสรมิ พฒั นา สือ่ นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา 8.3 พัฒนาอาชีวะพัฒนาคุณภาพวิชาชีพและพัฒนาแรงงานรองรบั อตุ สาหกรรม 4.0 โดย การจัดระบบและกลไกความรว่ มมือระหว่างหน่วยงานภาครฐั และเอกชนทีชัดเจนเปนระบบในการพัฒนา กําลงั คนทีมีทักษะขันสงู ให้สามารถนําความรูแ้ ละทักษะมาใช้ในการแก้ไขปญหารวมถงึ การสรา้ งและ พัฒนานวัตกรรมซึงต้องครอบคลมุ การพัฒนากําลงั คนทีอยู่ในอตุ สาหกรรมแลว้ กําลงั คนทีกําลงั จะเข้าสู่ อตุ สาหกรรมและเตรยี มการสาํ หรบั ผลติ กําลงั คนในสาขาทีขาดแคลนเพือรองรบั อตุ สาหกรรมและ เทคโนโลยีในอนาคตรวมทังเรง่ รดั และขยายผลระบบคณุ วฒุ ิวิชาชีพการยกระดบั ฝมือแรงงานในกลมุ่ อตุ สาหกรรมทีมีศักยภาพและอตุ สาหกรรมทีใช้แรงงานเข้มขน้ 8.4 ดึงดูดคนเก่งจากทัวโลกเข้ามารว่ มทํางานกับคนไทยและสง่ เสรมิ ผู้มีความสามารถสงู สนับสนนุ ให้ธรุ กิจชันนําในประเทศดึงดูดบุคคลทีมีความสามารถระดบั สงู จากทัวโลกโดยเฉพาะคนไทย เพือกลบั มาเปนผู้นําการเปลยี นแปลงและถ่ายทอดประสบการณ์ความรคู้ วามเชียวชาญให้แกบ่ คุ ลากร ในองค์กรซึงจะช่วยกระตุ้นให้เกิดการสรา้ งธรุ กิจผลติ ภัณฑแ์ ละนวตั กรรมใหม่ๆให้กับประเทศโดยในระยะ แรกให้ความสาํ คัญกับการดึงดูดนักวิจัยผูเ้ ชียวชาญจากต่างประเทศมารว่ มวจิ ัยและพัฒนาเทคโนโลยี ชันแนวหน้าในสาขาอตุ สาหกรรมเปาหมายรวมทังมีพนื ทีให้กลมุ่ ผู้มีความสามารถพเิ ศษทีมศี กั ยภาพสงู ได้ทํางานรว่ มกันหรอื รว่ มกับเครอื ข่ายอนื ๆเพอื สรา้ งองคค์ วามรแู้ ละนวัตกรรมใหม่ๆ ให้กบั ประเทศ 8.5 วิจัยและพัฒนานวัตกรรมทีตอบโจทยก์ ารพัฒนาประเทศ 8.5.1 สง่ เสรมิ การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพอื ขจัดความเหลอื มลาและความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยมุ่งเน้นการพัฒนานวตั กรรมเชิงสงั คมและนวตั กรรมในเชิงพืนทีที สามารถช่วยแก้ปญหาความเหลอื มลาสรา้ งโอกาสสาํ หรบั ผดู้ ้อยโอกาสและยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ผู้สงู วยั ควบคู่ไปกับการพัฒนาทุนมนษุ ย์ให้พรอ้ มสาํ หรบั โลกยุคดจิ ิทัลและอตุ สาหกรรม 4.0 ตามความเหมาะสม ได้อย่างเปนรูปธรรมโดยระยะแรกจะให้ความสาํ คญั กับการสง่ เสรมิ การวิจัยและพฒั นาดา้ นสขุ ภาพของ ประชาชนอย่างครบวงจรทังระบบยาวัคซีนเวชภัณฑแ์ ละเทคโนโลยที ีทันสมัย 8.5.2 สง่ เสรมิ การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี ันสงู เพือสรา้ งความได้เปรยี บในการแข่งขันสามารถตอบสนองต่อความเปลยี นแปลงและสรา้ งความเปนเลศิ ของประเทศในอนาคตโดยมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนานวตั กรรมเพือนํามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในเชิงธรุ กิจ กําหนดวาระการวิจัยแห่งชาติสง่ เสรมิ ความรว่ มมือและการเปนหุ้นสว่ นของทุกฝายทงั ภาครฐั ภาคการ ศึกษาชุมชนและภาคเอกชนในทุกสาขาการผลติ และบรกิ ารสรา้ งสภาพแวดลอ้ มและองค์ประกอบของ ระบบวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมให้เข้มแขง็ รวมทังบูรณาการการวิจัยและพฒั นานวัตกรรมกับการนํา ไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ 8.5.3 สรา้ งเครอื ข่ายการทําวิจัยระหว่างภาคสว่ นต่างๆปฏิรปู และบูรณาการระบบ การเรยี นการสอนกับระบบงานวิจัยและพัฒนาให้เออื ต่อการเพิมศกั ยภาพดา้ นนวัตกรรมของประเทศ เพือสนับสนนุ การสรา้ งความเข้มแข็งของธรุ กิจไทยทุกระดบั ในเวทีการคา้ โลกสง่ เสรมิ กระบวนการการ ทํางานของภาครฐั และภาคเอกชนในการวิจัยและพฒั นาวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยนี วัตกรรมให้เปนระบบเปด และมีการบูรณาการการทํางานกันอย่างมีประสทิ ธภิ าพรวมทังเชือมโยงระบบการศึกษากับภาคปฏิบตั จิ รงิ ในภาคธรุ กิจโดยเฉพาะอย่างยิงการสรา้ งนักวจิ ัยมืออาชีพและนวตั กรทีสามารถสรา้ งมูลคา่ เพิมและยก ระดับงานวิจัยสกู่ ารเพิมศักยภาพด้านเทคโนโลยีและนวตั กรรมของประเทศ

แผนนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา : 10 กลุมงานสง เสริม พฒั นา ส่อื นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา 8.6 สง่ เสรมิ การเรยี นรูแ้ ละพัฒนาทักษะทุกช่วงวยั 8.6.1 มุ่งเน้นการพัฒนาโรงเรยี นควบคู่กับการพฒั นาครเู พมิ ประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ าร จัดการศึกษาในทุกระดับบนพืนฐานการสนับสนนุ ทีคาํ นึงถึงความจําเปนและศักยภาพของสถาบนั การศึกษาแต่ละแห่งพรอ้ มทังจัดให้มีมาตรฐานขันตาของโรงเรยี นในทุกระดบั และสรา้ งระบบวัดผล โรงเรยี นและครูทีสะท้อนความรบั ผิดชอบต่อผลลพั ธท์ ีเกิดกับผเู้ รยี นคนื ครใู ห้นักเรยี นโดยลดภาระงาน ทีไม่จําเปนรวมถึงจัดให้มีระบบฐานข้อมูลเพอื การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยโ์ ดยการเชือมโยงหรอื สง่ ตอ่ ขอ้ มูล ครอบครวั และผู้เรยี นระหว่างหน่วยงานต่างๆตังแต่แรกเกิดจนถึงการพฒั นาตลอดช่วงชีวิตตลอดจน พัฒนาช่องทางให้ภาคเอกชนมีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ 8.6.2 พัฒนาแพลตฟอรม์ การเรยี นรูผ้ ่านระบบดจิ ิทัลพรอ้ มทังสง่ เสรมิ ให้มีการนํา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสรา้ งสรรค์ทีเหมาะสมมาใช้ในการเรยี นการสอนออนไลน์แบบเปดทีหลาก หลายเพือสง่ เสรมิ การเรยี นรูด้ ้วยตนเองตามความสนใจและเหมาะสมกับช่วงวยั ตลอดจนพฒั นาแหลง่ เรยี นรูแ้ ละอทุ ยานการเรยี นรูส้ าํ หรบั เยาวชนทีเชือมโยงเทคโนโลยกี ับวถิ ีชีวติ และสง่ เสรมิ การเรยี นการสอน ทีเหมาะสมสาํ หรบั ผู้ทีเข้าสสู่ งั คมสงู วัย 8.6.3 ลดความเหลอื มลาทางการศึกษาโดยบูรณาการการดําเนินงานระหวา่ งหน่วย จัดการศึกษากับกองทุนเพือความเสมอภาคทางการศึกษามุ่งเน้นกลมุ่ เด็กดอ้ ยโอกาสและกลมุ่ เด็กนอก ระบบการศึกษาปรบั เปลยี นการจัดสรรงบประมาณให้สอดคลอ้ งกับความจําเปนของผู้เรยี นและลกั ษณะ พืนทีของสถานศึกษาจัดระบบโรงเรยี นพีเลยี งจับคูร่ ะหว่างโรงเรยี นขนาดใหญ่ทีมีคณุ ภาพการศึกษาดกี ับ โรงเรยี นขนาดเลก็ เพือยกระดับคุณภาพการศึกษาและการสง่ เสรมิ ให้ภาคเอกชนชุมชนในพืนทีเข้ามา มีสว่ นรว่ มในการออกแบบการศึกษาในพืนทีสนับสนนุ เด็กทีมีความสามารถแต่ไม่มีทุนทรพั ย์เปนกรณีพเิ ศษ ตลอดจนแก้ไขปญหาหนีสนิ ทางการศึกษาโดยการปรบั โครงสรา้ งหนีกองทุนเงินให้กู้ยมื เพอื การศกึ ษาและ ทบทวนรูปแบบการให้กู้ยืมเพือการศึกษาทีเหมาะสม 8.6.4 พัฒนาทักษะอาชีพทุกช่วงวัยโดยกําหนดระบบทีเออื ต่อการพัฒนาทักษะและเพมิ ประสทิ ธภิ าพของทุกช่วงวัยอาทิการพัฒนาคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาให้เชือมโยงกบั ระบบคุณวฒุ ิ วิชาชีพโดยมีกลไกการวัดและประเมินผลเพอื เทียบโอนความรูแ้ ละประสบการณ์หน่วยการเรยี นทีชัดเจนสง่ เสรมิ เยาวชนทีมีศักยภาพด้านกีฬาให้สามารถพัฒนาไปสนู่ ักกีฬาอาชีพการกําหนดมาตรฐานฝมือแรงงาน การจัดให้มีระบบทีสามารถรองรบั ความตอ้ งการพัฒนาปรบั ปรงุ ทักษะอาชีพของทุกช่วงวัยเพอื รองรบั การ เปลยี นสายอาชีพให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานทีอาจจะเปลยี นไปตามแนวโน้มความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีในอนาคต 8.6.5 สง่ เสรมิ หลกั คิดทีถูกต้องโดยสอดแทรกการปลกู ฝงวนิ ัยและอดุ มการณ์ทีถูกต้อง ของคนในชาติหลกั คิดทีถูกต้องด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมการมีจิตสาธารณะการเคารพกฎหมายและกติกา ของสงั คมเข้าไปในทุกสาระวิชาและในทุกกิจกรรมควบคู่ไปกับการสง่ เสรมิ กลไกสรา้ งความเข้มแขง็ ของ สถาบันครอบครวั ในทุกมิติอย่างเปนระบบและมีประสทิ ธภิ าพปรบั สภาพแวดลอ้ มทังภายในและภายนอก สถานศึกษาให้เออื ต่อการมีคุณธรรมจรยิ ธรรมและจติ สาธารณะรวมทังลงโทษผู้ละเมดิ บรรทัดฐานทีดีทาง สงั คมตลอดจนสง่ เสรมิ ให้เกิดการมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการขับเคลอื นประเทศ 8.7 จัดทําระบบปรญิ ญาชุมชนและการจัดอบรมหลกั สตู รระยะสนั เน้นออกแบบหลกั สตู รระยะ สนั ตามความสนใจพัฒนาทักษะต่างๆทีใช้ในการดํารงชีวติ ประจําวันและทักษะอาชีพของคนทุกช่วงวัย ในพืนทีและชุมชนเปนหลกั พรอ้ มทังศึกษาแนวทางการพฒั นาเปนรูปแบบธนาคารหน่วยกิต ซึงเปน การเรยี นเก็บหน่วยกิตของวิชาเรยี นเพือให้ผู้เรยี นสามารถเรยี นขา้ มสาขาวิชาและข้ามสถาบันการศกึ ษา หรอื ทํางานไปพรอ้ มกันหรอื เลอื กเรยี นเฉพาะหลกั สตู รทีสนใจเพือสรา้ งโอกาสของคนไทยทุกช่วงวัย และ ทุกระดับสามารถพัฒนาตนเองทังในด้านการศกึ ษาและการดาํ รงชีวิต

แผนนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา : 11 กลมุ งานสงเสริม พฒั นา ส่อื นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา นโยบายเรง่ ดว่ นดา้ นการศกึ ษา ขอ้ ที 7 7. การเตรยี มคนไทยสศู่ ตวรรษที 21 โดยสรา้ งแพลตฟอรม์ การเรยี นรูใ้ หม่ในระบบดิจิทัล ปรบั ปรงุ รปู แบบการเรยี นรมู้ ุ่งสรู่ ะบบ การเรยี นการสอนวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีดา้ นวศิ วกรรม คณิตศาสตร์ โปรแกรมเมอร์ และภาษาตา่ ง ประเทศ สง่ เสรมิ การเรยี นคอมพิวเตอร์ (Coding) ตังแต่ระดับประถมศึกษา การพัฒนาโรงเรยี นคุณภาพ ในทุกตําบลสง่ เสรมิ การพัฒนาหลกั สตู รออนไลน์ของสถาบนั การศึกษาต่างๆ เพือแบ่งปนความรูข้ อง สถาบันการศึกษาสสู่ าธารณะ เชือมโยงระบบการศึกษากับภาคปฏิบัติจรงิ ในภาคธรุ กิจ สรา้ งนักวจิ ัยใหม่ และนวัตกรเพือเพิมศักยภาพด้านเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมของประเทศ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล สอื ออนไลน์ และโครงข่ายสงั คมออนไลน์ของคนไทยเพือปองกันและลดผลกระทบในเชิง สงั คม ความปลอดภัย อาชญากรรมทางไชเบอร์ และสามารถใช้เทคโนโลยีเปนเครอื งมือในการกระจาย ข้อมูลข่าวสารทีถูกต้อง การสรา้ งความสมานฉันท์และความสามัคคีในสงั คม รวมทังปลกู ฝงคุณธรรม จรยิ ธรรม ทีจําเปนในการดําเนินชีวิต นโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เพือให้การดําเนินการจัดการศึกษาและการบรหิ ารจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร เปนไปด้วยความเรยี บรอ้ ย บรรลเุ ปาหมาย อาศัยอาํ นาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 รฐั มนตรวี ่าการกระทรวง ศึกษาธกิ ารจึงประกาศนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพือให้สว่ นราชการในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ยดึ เปนกรอบดําเนินงานด้านการศกึ ษาให้มคี ณุ ภาพ ประสทิ ธภิ าพทุกมิติ โดยใช้จ่ายงบประมาณอยา่ งค้มุ ค่า เพอื มุ่งเปาหมาย คอื ผู้เรยี นทุกช่วงวัย ดงั นี หลกั การตามนโยบายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 กระทรวงศึกษาธกิ ารมุ่งมันดําเนินการภารกิจหลกั ตามแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580 ) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขบั เคลอื นทุกแผนยอ่ ยในประเด็น 12 การพฒั นาการ เรยี นรู้ และแผนย่อยที 3 ในประเด็น 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทังแผนการปฏิรปู ประเทศ ดา้ น การศึกษา และนโยบายรฐั บาลทังในสว่ นนโยบายหลกั ด้านการปฏิรปู กระบวนการเรยี นรแู้ ละการพฒั นา ศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย และนโยบายเรง่ ด่วน เรอื งการเตรยี มคนไทยสศู่ ตวรรษที 21 นอกจากนี ยังสนับสนนุ การขับเคลอื นแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรป์ ระเด็นอนื ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คม แห่งชาติ ฉบับที 12 (พ.ศ. 2561 – 2564 ) นโยบายและแผนต่างๆ ทีเกียวข้อง โดยคาดหวังว่าผู้เรยี น ทุกช่วงวัยจะได้รบั การพัฒนาในทุกมิติ เปนคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ และมีความพรอ้ มรว่ มขับเคลอื น การพัฒนาประเทศ สคู่ วามมันคง มังคัง และยังยนื ดังนัน ในการเรง่ รดั การทํางานภาพรวมกระทรวง ให้เกิดผลสมั ฤทธเิ พือสรา้ งความเชือมันให้กับสงั คม และผลกั ดันให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและ ประสทิ ธภิ าพในทุกมิติกระทรวงศึกษาธกิ ารจึงกําหนดนโยบายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี 1. ปรบั รอื และเปลยี นแปลงระบบการบรหิ ารจัดการ โดยมุ่งปฏิรูปองค์การเพือหลอมรวมภารกิจ และบุคลากร เช่น ด้านการประชาสมั พันธ์ ดา้ นการต่างประเทศ ดา้ นเทคโนโลยี ดา้ นกฎหมาย ฯลฯ ทีสามารถลดการใช้ทรพั ยากรทับซ้อน เพือประสทิ ธภิ าพและความเปนเอกภาพ รวมทังการนําเทคโนโลยี ดิจิทัลเข้ามาช่วยทังการบรหิ ารงานและการจัดการศึกษารองรบั ความเปนรฐั บาลดิจิทัล

แผนนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา : 12 กลุมงานสงเสริม พฒั นา สือ่ นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา 2. ปรบั รอื และเปลยี นแปลงระบบการบรหิ ารทรพั ยากร โดยมุ่งปฏิรปู กระบวนการวางแผนงาน / โครงการแบบรว่ มมือและบูรณาการทีสามารถตอบโจทย์ของสงั คมและเปนการพัฒนาทียังยืนรวมทัง กระบวนการจัดทํางบประมาณทีมีประสทิ ธภิ าพและใช้จ่ายอย่างคมุ้ คา่ สง่ ผลให้ภาคสว่ นต่างๆ ทังภาครฐั ภาคเอกชน และนานาชาติ เชือมันและรว่ มสนับสนนุ การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษามากยงิ ขนึ 3. ปรบั รอื และเปลยี นแปลงระบบการบรหิ ารจัดการและพฒั นากําลงั คนของกระทรวงศึกษาธกิ าร โดยมุ่งบรหิ ารจัดการอตั รากําลงั ให้สอดคลอ้ งกับการปฏิรูปองค์การ รวมทังพัฒนาสมรรถนะและความรู้ ความสามารถของบุคลากรภาครฐั ให้มีความพรอ้ มในการปฏิบตั ิงานรองรบั ความเปนรฐั บาลดจิ ิทัล 4. ปรบั รอื และเปลยี นแปลงระบบการจัดการศกึ ษาและเรยี นรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลมุ ถึงการจดั การศึกษาเพือคุณวฒุ ิ และการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ ทีสามารถตอบสนองการเปลยี นแปลงในศตวรรษที 21 จดุ เน้นประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 1.1 การจัดการศึกษาเพือคุณวฒุ ิ - จัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมทังแนวทาง การจัดการเรยี นรูเ้ ชิงรุกและการวัดประเมินผลเพือพัฒนาผู้เรยี นทีสอดคลอ้ งมาตรฐานการศกึ ษาแห่งชาติ - สง่ เสรมิ การพัฒนากรอบหลกั สตู รระดับท้องถินและหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามความ ต้องการจําเปนของกลมุ่ เปาหมายและแตกต่างหลากหลายตามบรบิ ทของพนื ที - พัฒนาผู้เรยี นให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าไดอ้ ย่าง มีประสทิ ธภิ าพ โดยจัดการเรยี นรูเ้ ชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ์จรงิ หรอื จากสถานการณ์ จําลองผ่านการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนการจัดการเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพือเปดโลกทัศน์ มุมมองรว่ มกันของผู้เรยี นและครูให้มากขึน - พัฒนาผู้เรยี นให้มีความรอบรูแ้ ละทักษะชีวิต เพอื เปนเครอื งมือในการดํารงชีวติ และ สรา้ งอาชีพ อาทิ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล สขุ ภาวะและทัศนคติทีดตี ่อการดูแลสขุ ภาพ 1.2 การเรยี นรูต้ ลอดชีวิต - จัดการเรยี นรูต้ ลอดชีวิตสาํ หรบั ประชาชนทุกช่วงวยั เน้นสง่ เสรมิ และยกระดับทักษะ ภาษาองั กฤษ (English for All ) - สง่ เสรมิ การเรยี นการสอนทีเหมาะสมสาํ หรบั ผู้ทีเขา้ สสู่ งั คมสงู วยั อาทิ อาชีพที เหมาะสมรองรบั สงั คมสงู วัย กลกั สตู รการพัฒนาคุณภาพชีวิต และหลกั สตู รการดูแลผูส้ งู วัย หลกั สตู ร BUDDY โดยเน้นการมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาชุมชนโรงเรยี น และผู้เรยี น หลกั สตู รการเรยี นรูอ้ อนไลน์ เพือสง่ เสรมิ ประชาสมั พันธส์ นิ ค้าออนไลน์ระดับตําบล - สง่ เสรมิ โอกาสเข้าถึงการศึกษาเพือทักษะอาชีพและการมีงานทํา ในเขตพฒั นาพิเศษ เฉพาะกิจจักหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพนื ทีพเิ ศษ (พืนทีสงู พนื ทีตามแนวตะเข็บ ชายแดน และพนื ที เกาะแก่ง ชายฝงทะเล ทังกลมุ่ ชนต่างเชือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลมุ่ ชนชายขอบ และแรงงาน ต่างด้าว) - พัฒนาครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชํานาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลปญญา ประดิษฐ์ และภาษาองั กฤษ รวมทังการจัดการเรยี นการสอนเพือฝกทักษะการคิดวิเคราะห์อยา่ งเปนระบบ และมีเหตุผลเปนขันตอน

แผนนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา : 13 กลุม งานสงเสรมิ พัฒนา สอ่ื นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา - พัฒนาครูอาชีวศึกษาทีมีความรูแ้ ละความสามารถในทางปฏิบัติ (Hands – on Experience) เพือให้มีทักษะและความเชียวชาญทางวชิ าการ โดยรว่ มมือกับสถาบันอดุ มศกึ ษาชันนํา ของประเทศจัดหลกั สตู รการพัฒนาแบบเข้มข้นระยะเวลาอย่างน้อย 1 ป - พัฒนาสมรรถนะและความรูค้ วามสามารถของบุคลากรกระทรวงศกึ ษาธกิ ารให้มี ความพรอ้ มในการปฏิบัติงานรองรบั ความเปนรฐั บาลดิจิทัลอย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยจัดให้มีศูนย์พฒั นา สมรรถนะบุคลากรระดับจังหวัดทัวประเทศ 2. การพัฒนาการศึกษาเพือความมันคง - การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในพืนทีจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนํายทุ ธศาสตร์ พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เปนหลกั ในการดําเนินการ - เฝาระวังภัยทุกรูปแบบทีเกิดขึนกับผู้เรยี น ครู และสถานศกึ ษา โดยเฉพาะภยั จาก ยาเสพติดอาชญากรรมทางไซเบอร์ การค้ามนษุ ย์ สง่ เสรมิ ให้ใช้ภาษาท้องถินรว่ มกับภาษาไทยเปนสอื จัดการเรยี นการสอนในพืนทีทีใช้ภาษาอย่างหลากหลาย เพือวางรากฐานให้ผู้เรยี นมีพัฒนาการด้าน การคิดวิเคราะห์ รวมทังมีทักษะการสอื สารและใช้ภาษาทีสามในการต่อยอดการเรยี นรูไ้ ดอ้ ย่างมี ประสทิ ธภิ าพ - ปลกุ ฝงผู้เรยี นให้มีหลกั คิดทีถูกต้องด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และเปนผมู้ ีความพอเพยี ง วินัย สจุ รติ จิตอาสา โดยใช้กระบวนการลกู เสอื และยวุ กาชาด 3. การสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน - สนับสนนุ ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาผลติ กําลงั แรงงานทีมีคณุ ภาพตามความเปนเลศิ ของแต่ละสถานศึกษาและตามบรบิ ทของพืนที รวมทังสอดคลอ้ งกับความต้องการของประเทศทังใน ปจจุบันและอนาคต - สนับสนนุ ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาบรหิ ารจัดการอย่างมีคุณภาพ และจัดการเรยี น การสอนด้วยเครอื งมือปฏิบัติทีทันสมัยและสอดคลอ้ งกับเทคโนโลยี โดยเน้นให้ผู้เรยี นมีทักษะการคิด วิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) และทักษะการสอื สารภาษาต่างประเทศ 4. การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา - พัฒนาแพลตฟอรม์ ดิจิทัลเพือการเรยี นรู้ และใช้ดิจิทัลเปนเครอื งมือการเรยี นรู้ - ศึกษาและปรบั ปรุงอตั ราเงินอดุ หนนุ ค่าใช้จ่ายต่อหัวในการจัดการศกึ ษาขนั พืนฐาน ให้สอดคลอ้ งกับสภาพเศรษฐกิจและบทบญั ญัติของรฐั ธรรมนญู - ระดมสรรพกําลงั เพือสง่ เสรมิ สนับสนนุ โรงเรยี นนํารอ่ งพนื ทีนวัตกรรมการศึกษา เพือลดความเหลอื มลาทางการศึกษาให้สอดคลอ้ งพระราชบัญญัติพืนทีนวตั กรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 5. การจัดการศึกษาเพือสรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวิตทีเปนมิตรกับสงิ แวดลอ้ ม - เสรมิ สรา้ งการรบั รู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และสง่ เสรมิ คณุ ลกั ษณะและ พฤติกรรมทีพึงประสงค์ด้านสงิ แวดลอ้ ม - สง่ เสรมิ การพัฒนาสงิ ประดิษฐ์และนวัตกรรมทีเปนมิตรกับสงิ แวดลอ้ มให้สามารถ เปนอาชีพ และสรา้ งรายได้ 6. การปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการ - ปฏิรูปองค์การเพือลดความทับซ้อน เพิมประสทิ ธภิ าพและความเปนเอกภาพของ หน่วยงานทีมีภารกิจใกลเ้ คียงกัน เช่น ด้านประชาสมั พันธ์ ด้านต่างประเทศ ดา้ นเทคโนโลยี ดา้ นกฎหมาย เปนต้น - ปรบั ปรุงกฎหมายและระเบียบทีเปนอปุ สรรคและข้อจํากัดในการดาํ เนินงานโดยคาํ นึง ถึงประโยชน์ของผู้เรยี นและประชาชนตลอดจนกระทรวงศึกษาโดยรวม

แผนนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : 14 กลมุ งานสงเสริม พัฒนา สือ่ นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศึกษา - สนับสนนุ กิจกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมิชอบ - พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการศึกษา (Big Data) - พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการและพัฒนากําลงั คนของกระทรวงศึกษาธกิ าร ให้สอดคลอ้ งกับการปฏิรูปองค์การ - สนับสนนุ ให้สถานศึกษาเปนนิติบุคคล เพอื ให้สามารถบรหิ ารจัดการศึกษาทีมี คุณภาพได้อย่างอสิ ระและมีประสทิ ธภิ าพ ภายใต้กรอบแนวทางของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร - จัดตังหน่วยงานวางแผนทางการเงิน (Financial Plan) ระดบั จังหวดั เพอื พัฒนา คุณภาพชีวิตบุคลากรของกระทรวงศึกษาธกิ าร - สง่ เสรมิ โครงการ 1 ตําบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ โดยเน้นปรบั สภาพแวดลอ้ มทังภายใน และภายนอกบรเิ วณโรงเรยี นให้เออื ต่อการเสรมิ สรา้ งคุณธรรมจรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ การขับเคลือนนโยบายและจุดเน้นสู่การปฏิบัติ 1. ให้สว่ นราชการหน่วยงานในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ าร นํานโยบายและจุดเน้นเปนกรอบ แนวทางมาใช้ในการวางแผนและจัดทํางบประมาณรายจ่ายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยคํานึงถึง มาตรการ 4 ข้อ ตามทีรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ ารได้ให้แนวทางในการบรหิ ารงบประมาณไว้ ดังนี (1) งดดูงานต่างประเทศ 1 ป ยกเว้นกรณีทีมีความจําเปนและเปนประโยชน์ต่อกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2) ลดการจัดอบรมสมั มนาทีมีขนาดใหญ่และใช้งบประมาณมาก (3) ยกเลกิ การจัดงาน Event และ (4) ทบทวนงบประมาณทีมีความซาซ้อน 2. ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขบั เคลอื นนโยบายและจดุ เน้น สกู่ ารปฏิบัติระดับพืนทีโดยให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ ารเปนประธาน สาํ นักงานศึกษาธกิ ารภาค และสาํ นักตรวจราชการและติดตามประเมินผล สป. เปนฝายเลขานิการตามลาํ ดับโดยมีบทบาทภารกจิ ในการตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และจดั ทํารายงานเสนอตอ่ รฐั มนตรวี ่าการ กระทรวงศึกษาธกิ าร และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศกึ ษาของกระทรวง ศึกษาธกิ ารทราบตามลาํ ดับ 3. กรณีมีปญหาในเชิงพืนทีหรอื ขัดข้องในการปฏิบัติงานให้ศึกษา วเิ คราะห์ข้อมูลและดําเนิน การแก้ไขปญหาในระดับพืนทีก่อน โดยใช้ภาคีเครอื ข่ายในการแก้ไขขอ้ ขัดข้อง พรอ้ มทงั รายงานตอ่ คณะ กรรมการติดตาม ฯ ข้างต้น ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ ารตามลาํ ดับ อนึง สาํ หรบั ภารกิจของสว่ นราชการหลกั และหน่วยงานทีปฏิบัติในลกั ษณะงานในเชิงหน้าที (Function) งานในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพืนที (Area) ซึงไดด้ ําเนินการอย่กู อ่ น เมือรฐั บาลหรอื กระทรวงศึกษาธกิ ารมีนโยบายสาํ คัญเพมิ เติมในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 นอกเหนือจาก ทีกําหนดหากมีความสอดคลอ้ งกับหลกั การนโยบายและจุดเน้นขา้ งต้นให้ถือเปนหน้าทีของสว่ นราชการ หลกั และหน่วยงาน ทีเกียวข้องต้องเรง่ รดั กํากับ ติดตาม ตรวจสอบให้การดําเนินการเกิดผลสาํ เรจ็ และมี ประสทิ ธภิ าพอย่างเปนรูปธรรมด้วยเช่นกัน

แผนนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา : 15 กลุมงานสง เสริม พฒั นา สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา นโยบายสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั พนื ฐาน วิสัยทัศน์ “สรา้ งคุณภาพทุนมนษุ ย์ สสู่ งั คมอนาคตทียงั ยนื ” พันธกิจ 1. จัดการศึกษาเพือเสรมิ สรา้ งความมันคงของสถาบันหลกั ของชติและการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปนประมุข 2. พัฒนาผู้เรยี นให้มีความสามารถความเปนเลศิ ทางวิชาการเพอื สรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขัน 3. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้เรยี นให้มีสมรรถนะตามหลกั สตู รและคุณลกั ษณะ ในศตวรรษที 21 4. สรา้ งโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลอื มลา ให้ผู้เรยี นทุกคนได้รบั บรกิ ารทางการศกึ ษา อย่างทัวถึงและเท่าเทียม 5. พัฒนาผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาให้เปนมืออาชีพ 6. จัดการศึกษาเพือพัฒนาคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรกับสงิ แวดลอ้ ม ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และเปาหมายการพัฒนาทียังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) 7. ปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศกึ ษา โดยใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เพอื พัฒนามุ่งสู่ Thailand 4.0 แนวทางการพฒั นา สาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 วิสัยทัศน์ สาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาํ ภู เขต 2 จัดการศึกษาอย่างมี คุณภาพตามมาตรฐานระดับสากลบนพืนฐานของความเปนไทย พันธกิจ 1. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ให้ประชากรวัยเรยี นทุกคนได้รบั การศึกษาอยา่ งเสมอภาค และมี คุณภาพ 2. สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ตามหลกั สตู รและ ค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ 3. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ 4. เสรมิ สรา้ งการบรหิ ารจัดการศึกษาตามหลกั ธรรมาภิบาล เปาประสงค์ 1. ประชากรวัยเรยี นทุกคนได้รบั โอกาสในการศกึ ษาอย่างเสมอภาค 2. ผู้เรยี นระดับก่อนประถมศึกษา มีพัฒนาการเหมาะสมตามวยั 3. ผู้เรยี นทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขันพืนฐาน สมู่ าตรฐานสากล 4. ผู้เรยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ตามหลกั สตู รและคา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ 5. ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีสมรรถนะตรงตามสายงาน มีวัฒนธรรมการทํางาน ทีมุ่งเน้นผลสมั ฤทธิ 6. สาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษา และสถานศึกษา มีการบรหิ ารจัดการศึกษาตามหลกั ธรรมา ภิบาล อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

แผนนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา : 16 กลุมงานสง เสริม พัฒนา ส่ือ นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา ยุทธศาสตร์ 1. จัดการศึกษาเพือความมันคง 2. จัดการศึกษาเพือเพิมความสามารถในการแข่งขัน 3. การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 4. การสรา้ งโอกาสในการเข้าถึงบรกิ ารการศกึ ษาทีมีคุณภาพ มีมาตรฐานอยา่ งทัวถึงและ เท่าเทียม 5. จัดการศึกษาเพือพัฒนาคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรกับสงิ แวดลอ้ ม 6. การปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษา ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แนวทางการดําเนินงาน ยุทธศาสตรท์ ี 1 จัดการศึกษาเพือความมันคง ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี 1 เสรมิ สรา้ งความมันคงของสถาบันหลักและการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปนประมุข 1. น้อมนําแนวพระราชดํารสิ บื สานพระราชปณิธาน และพระบรมราโชบายด้านการศึกษา หรอื “ศาสตรพ์ ระราชา”มาใช้ในการจัดกระบวนการเรยี นรูอ้ ย่างยงั ยืน 2. เสรมิ สรา้ งความรูค้ วามเข้าใจทีถูกต้องเกียวกับสถาบันชาติศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ ผ่านหลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรูป้ ระวติ ิศาสตรแ์ ละความเปนพลเมือง ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี 2 ปลูกฝงผู้เรยี นด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทีพงึ ประสงค์ 1. ปลกู ฝงและเสรมิ สรา้ งวิถีประชาธปิ ไตย ความสามัคคสี ามนฉันท์ สนั ติวิธตี ่อต้านการทุจรติ คอรปั ชัน และยึดมันในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปนประมุข 2. สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจัดกิจกรรมทังในและนอกห้องเรยี น ทีเออื ต่อการพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามหลกั สตู รและคา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ 3. เสรมิ สรา้ งความรูค้ วามเข้าใจเกียวกับภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ เช่น อาชญากรรม และความ รุนแรงในรูปแบบต่าง ๆ สงิ เสพติดภัยพิบัตจิ ากธรรมชาติ ภัยจากโรคอบุ ัติใหม่ ภัยจากไซเบอรฯ์ ลฯ ยุทธศาสตรท์ ี 2 จัดการศึกษาเพือเพิมความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี 1 เสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ในการพัฒนาผ้เู รยี นอยา่ งมีคณุ ภาพด้วยการ ปรบั หลักสูตรการวัดและประเมินผลทีเหมาะสม 1. กิจกรรมปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สตู รการศกึ ษาระดบั ปฐมวัยและหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ขันพืนฐาน และนําหลกั สตู รไปสกู่ ารปฏิบัติให้เกิดประสทิ ธภิ าพ และจดั การเรยี นรูใ้ ห้สอดคลอ้ งกับหลกั สตู ร ตามความจําเปนและความต้องการของผูเ้ รยี น ชุมชน ท้องถิน 2. สง่ เสรมิ การเรยี นการสอนให้ผู้เรยี นมีความมันใจในการสอื สารภาษาองั กฤษ ภาษาประเทศค่คู ้า และภาษาอาเซียนอย่างน้อย 1 ภาษา 3. พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลทุกระดับให้มีคุณภาพและมาตรฐานนําไปสกู่ ารพัฒนาคณุ ภาพ ผู้เรยี นเต็มตามศักยภาพ

แผนนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา : 17 กลุมงานสงเสริม พัฒนา สอื่ นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา ยุทธศาสตรท์ ี 2 จัดการศึกษาเพือเพิมความสามารถในการแข่งขนั ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี 1 เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ในการพฒั นาผู้เรยี นอยา่ งมีคณุ ภาพดว้ ยการ ปรบั หลักสูตรการวัดและประเมินผลทีเหมาะสม 1. กิจกรรมปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สตู รการศึกษาระดบั ปฐมวยั และหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ขันพืนฐาน และนําหลกั สตู รไปสกู่ ารปฏิบัติให้เกิดประสทิ ธภิ าพ และจัดการเรยี นรใู้ ห้สอดคลอ้ งกับหลกั สตู ร ตามความจําเปนและความต้องการของผู้เรยี น ชุมชน ท้องถิน 2. สง่ เสรมิ การเรยี นการสอนให้ผู้เรยี นมีความมันใจในการสอื สารภาษาองั กฤษ ภาษาประเทศคคู่ า้ และภาษาอาเซียนอย่างน้อย 1 ภาษา 3. พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลทุกระดบั ให้มีคุณภาพและมาตรฐานนําไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพ ผู้เรยี นเต็มตามศักยภาพ ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี 2 พัฒนาคุณภาพกระบวนการเรยี นรู้ 1. พัฒนาผู้เรยี นระดับก่อนประถมศึกษา ให้มีพัฒนาการทางด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปญญาให้มีความพรอ้ มเข้าสกู่ ารเรยี นในระดบั ทีสงู ขึน 2. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ผู้เรยี นสามารถอา่ นออกเขยี นไดต้ ามช่วงวัย 3. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ผู้เรยี นมีนิสยั รกั การอา่ น 4. สง่ เสรมิ การจัดการเรยี นรูท้ ีให้ผู้เรยี นได้เรยี นรผู้ ่านกิจกรรมการปฏิบัติจรงิ (Active Learning) เน้นทักษะกระบวนการให้เกิดทักษะการคิดวเิ คราะห์ คดิ แก้ปญหา และคิดสรา้ งสรรค์ ในทกุ กลมุ่ สาระการ เรยี นรู้ ทังในและนอกห้องเรยี น 5. สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นมีทักษะการเรยี นรู้ ในศตวรรษที 21 6. สง่ เสรมิ ทักษะการคิดคํานวณ และทักษะการแก้ปญหาทางคณิตศาสตร์ 7. ปลกู ฝงทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรแ์ ละจิตวิทยาศาสตร์ 8. สนับสนนุ การผลติ จัดหาและใช้สอื การเรยี นการสอนเทคโนโลยี นวตั กรรม และสงิ อาํ นวยความ สะดวกทีหลากหลายรวมทังการพัฒนาห้องสมุดและแหลง่ เรยี นรูภ้ ายในสถานศึกษาในการจัดการเรยี นรไู้ ด้ ทังในห้องเรยี นและนอกห้องเรยี นเพือให้ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรอู้ ย่างเต็มศกั ยภาพ 9.สง่ เสรมิ สนับสนนุ พัฒนาผู้เรยี นทีมีความต้องการพิเศษให้เต็มตามศกั ยภาพด้วยรปู แบบทีเหมาะสม 10. สง่ เสรมิ สนับสนนุ นักเรยี นทีมีความสามารถพิเศษในด้านต่าง ๆ 11. สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจัดกิจกรรมแนะแนวเพือการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพอย่างเข้มแขง้ ต่อเนืองและเปนรูปธรรม ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี 3 สรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขัน 1. ยกระดับผลการประเมินระดับนานาชาติตามโครงการ PISA (Programme for International Student Assessment) 2. สง่ เสรมิ การพัฒนาศักยภาพผู้เรยี นสคู่ วามเปนเลศิ ในดา้ นต่าง ๆ 3. สง่ เสรมิ การเรยี นรูเ้ ชิงบูรณาการแบบสหวทิ ยาการ เช่น สะเต็มศึกษา(Science Technology Engineering andMathematics Education : STEM Education) เพอื พัฒนากระบวนการคดิ และการ สรา้ งสรรค์นวัตกรรมเพือสรา้ งมูลค่าเพิม สอดคลอ้ งกับประเทศไทย 4.0

แผนนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา : 18 กลมุ งานสง เสรมิ พฒั นา สอื่ นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี 4 ส่งเสรมิ สนับสนุนการทําวิจัยและนําผลการวิจัยไปใช้พัฒนาคณุ ภาพ การจัดการศึกษา 1. สง่ เสรมิ การทําวิจัยเพือพัฒนาการบรหิ ารจัดการศึกษา 2. สง่ เสรมิ การทําวิจัยเพือพัฒนาหลกั สตู ร กระบวนการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล โดยเน้นให้มี การวิจัยในชันเรยี น ยุทธศาสตรท์ ี 3 การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี 1 ส่งเสรมิ สนับสนุนการพฒั นาครู และบุคลากรทางการศกึ ษา 1. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถจัดการเรยี นรู้ อยา่ งมีคณุ ภาพ ทังระบบเชือมโยง กับการเลอื นวิทยาฐานะ ในรูปแบบทีหลากหลาย เช่น TEPE Online ชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ PLC การเรยี นรูผ้ ่านกิจกรรมการปฏิบัติจรงิ (Active Learning) 2. พัฒนาระบบการบรหิ ารบุคคลให้มีประสทิ ธิ โดยเชือมโยงกับหน่วยงานทีเกียวข้องในการกาํ หนด แผนอตั รากําลงั การสรรหาการบรรจุแต่งตัง การประเมินและการพฒั นา การสรา้ งแรงจูงใจให้ครู และ บุคลากรทางการศึกษามีขวัญและกําลงั ใจในการทํางาน ยุทธศาสตรท์ ี 4 การสรา้ งโอกาสในการเข้าถึงบรกิ ารการศึกษาทีมีคุณภาพมีมาตรฐาน อย่างทัวถึง และเท่าเทียม ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี 1 เพิมโอกาสการเข้าถึงการศึกษาทีมีคุณภาพ 1. สง่ เสรมิ ประชากรวัยเรยี นทุกคนให้ได้รบั โอกาสในการเขา้ รบั บรกิ ารทางการศึกษาอย่างทัวถึงมี คุณภาพ และเสมอภาค 2. สรา้ งความเข้มแข็งของระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี นระบบสง่ เสรมิ ความประพฤตนิ ักเรยี น ระบบคุ้มครองนักเรยี น และการสรา้ งภูมิค้มุ กันทางสงั คม ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี 2 ลดความเหลือมลาทางการศึกษา 1. ประสานหน่วยงานทีเกียวข้องในการจัดการศึกษาสาํ หรบั เดก็ ดอ้ ยโอกาสทีไม่อย่ใู นทะเบียนราษฎร เช่นเด็กไรส้ ญั ชาติ เด็กพลดั ถิน เด็กต่างด้าว เด็กไทยทีไม่มี เลขประจําตวั ประชาชน เปนตน้ 2.สง่ เสรมิ สนับสนนุ การใช้เทคโนโลยีในการจัดการศกึ ษาให้ครอบคลมุ ทุกพนื ทีอยา่ งทัวถงึ เช่น การ พัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance learning information technology :DLIT) การพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (Distance Learning Television : DLTV) ยุทธศาสตรท์ ี 5 จัดการศึกษาเพือเสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชีวิตทีเปนมิตรกับสงิ แวดลอ้ ม ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี 1 การจัดการศึกษาเพือสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวิตทีเปนมิตรกบั สงิ แวดล้อม 1. แนวคิดตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏิบตั ิการจัดกิจกรรมสรา้ งสาํ นึกรกั ษ์สงิ แวดลอ้ ม ในสถานศึกษาทุกระดับ 2. สง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมปลกู ฝง ความมีคุณธรรม จรยิ ธรรมและนําแนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏิบัติในการดําเนินชีวติ 3. พัฒนาครูผู้สอนในเรอื งการสรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวติ เปนมิตรกับสงิ แวดลอ้ ม คุณธรรม จรยิ ธรรม และการนําแนวคิดตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏิบัติในการดาํ เนินชีวิต

แผนนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา : 19 กลุมงานสงเสริม พัฒนา สอ่ื นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศึกษา ยุทธศาสตรท์ ี 5 จัดการศึกษาเพือเสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชีวิตทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี 1 การจัดการศึกษาเพือสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ทีเปนมิตรกบั สิงแวดล้อม 1. แนวคิดตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏิบัติการจัดกิจกรรมสรา้ งสาํ นึกรกั ษส์ งิ แวดลอ้ ม ในสถานศึกษาทุกระดับ 2. สง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมปลกู ฝง ความมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและนําแนวคิดตามหลกั ปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏิบัติในการดําเนินชีวติ 3. พัฒนาครูผู้สอนในเรอื งการสรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวติ เปนมิตรกับสงิ แวดลอ้ ม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการนําแนวคิดตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏิบัติในการดาํ เนินชีวติ ยุทธศาสตรท์ ี 6 การปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษา ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี 1 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการให้มีประสทิ ธภิ าพ 1. พัฒนาระบบการวางแผน การนําแผนไปสกู่ ารปฏิบัติการกํากับติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพือการบรหิ ารจัดการทีมีประสทิ ธภิ าพโดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล 2. พัฒนาบุคลากรให้สามารถวางแผนการใช้จ่ายงบประมาณอย่างมีประสทิ ธภิ าพและควบคุม กํากับ ติดตามอย่างเปนระบบ 3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีติจิตัลเพือการจัดการศึกษาทีมีมาตรฐานเชือมโยงและเขา้ ถงึ กันได้ 4. สง่ เสรมิ ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เขม้ แข็ง 5. ยกย่องเชิดชูเกียรติสถานศึกษา องค์คณะบคุ คล และบุคลากรทีมีผลงานเชิงประจกั ษ์ 6. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้บุคลากรได้รบั การพฒั นาความรู้ ความสามารถตามภารกิจงานทีได้รบั มอบหมาย เพือนํามาปรบั ปรุงพัฒนางานให้มีประสทิ ธภิ าพมากขนึ ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี 2 สรา้ งความเข้มแขง็ ในการบรหิ ารจัดการและการมีส่วนรว่ ม 1. พัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ ในสงั กัด เพอื ยกระดับคณุ ภาพโรงเรยี น ขนาดเลก็ ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี 3 ส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น 1. ผู้ปกครอง ชุมชน มีสว่ นรว่ มในการจัดจัดการศึกษาของสถานศึกษา

แผนนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา : 20 กลุมงานสงเสริม พฒั นา สื่อ นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา การนิเทศการศกึ ษา การปฏิรูปกระบวนการเรยี นรูท้ ีตอบสนองต่อการเปลยี นแปลงในศตวรรษที 21 โดยมุ่งเน้น ผู้เรยี นให้มีทักษะการเรยี นรู้ และมีใจใฝเรยี นรูต้ ลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรยี นรใู้ หม่ การเปลยี น บทบาทครู การเพิมประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจัดการศึกษาและการพัฒนาระบบการเรยี นรตู้ ลอด ชีวิต สอดคลอ้ งกับแผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2560 - 2579 ในยทุ ธศาสตรท์ ี 3 การพฒั นา ศกั ยภาพ คนทุกช่วงวัยและการสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรูม้ ีเปาหมายให้ผ้เู รยี นมีทักษะและคุณลกั ษณะพนื ฐานของ พลเมืองไทย ทักษะและคุณลกั ษณะทีจําเปนในศตวรรษที 21 มีทักษะความรูค้ วามสามารถ และสมรรถนะ ตามมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานวิชาชีพและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ได้ตามศักยภาพ สถานศึกษาทกุ ระดับ การศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน รวมทัง แหลง่ เรยี นรูส้ อื ตําราเรยี น และนวัตกรรม ประชาชนสามารถเข้าถึงไดโ้ ดยไม่จํากัดเวลา และสถานที มี ระบบและกลไกการวัดการติดตาม และประเมินผลมีประสทิ ธภิ าพ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาได้รบั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐานการพัฒนาคณุ ภาพศกึ ษาให้เกิดคณุ ภาพ คุณภาพผู้เรยี น จะเกิดได้และบรรลหุ ลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั พืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชีวัด (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) โดยมีกระบวนการสคู่ วามสาํ เรจ็ ในการพัฒนา 3 กระบวนการ คือ กระบวนการบรหิ าร กระบวนการเรยี นการสอน และกระบวนการนิเทศการศกึ ษา ซึงกระบวนการนิเทศ การศึกษา เปนภารกิจจําเปนต่อการจัดการศกึ ษาทีต้องอาศยั ความรว่ มมือจากบคุ คล หลายฝายโดย เฉพาะอย่างยิงทางด้านการพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอนบุคลากรทีเกียวข้องในหน่วยงานจัดการ ศึกษา จําเปนต้องพัฒนาและปรบั ปรุงตนเองให้ทันต่อการเปลยี นแปลง เพือให้การปฏิบตั ิงานเปนไปอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ซึงการนิเทศการศึกษาเปนกระบวนการทีมีจุดมุ่งหมาย เพอื ช่วยเหลอื ชีแนะและพัฒนางาน ให้ประสบผลสาํ เรจ็ ทันต่อสภาพการเปลยี นแปลงทีเกิดขนึ อกี ทังเปนองคป์ ระกอบสาํ คัญทีช่วยเหลอื สนับสนนุ ให้กระบวนการบรหิ าร และกระบวนการเรยี นการสอนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของ ประเทศ ทังยังเปนสว่ นสาํ คัญทีต้องพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นให้มีทักษะทีจําเปนในศตวรรษที 21 เพอื เขา้ สู่ การปฏิรูปการศึกษาและการจัดการศึกษาในยคุ ประเทศไทย 4.0 ตลอดทังมาตรฐานการศึกษาของชาติ ทีมุ่งเน้นให้ผู้เรยี นมีคุณภาพ มีคุณลกั ษณอนั พึงประสงค์ มีทักษะวชิ าการ ทักษะอาชีพ ทักษชีวติ ทกั ษะ การเปนผู้นําและทักษะการนําไปสกู่ ารสรา้ งนวตั กร กระบวนการขบั เคลอื นการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ขันพืนฐาน การนิเทศการศึกษาจึงมีความสาํ คัญต่อการพฒั นา ปรบั ปรุง และเพมิ ประสทิ ธภิ าพในการ จัดการศึกษาในสถานศึกษา เพือให้ผู้บรหิ ารและครูผสู้ อนมีความรู้ ความเขา้ ใจในดา้ นการบรหิ าร จดั การ ด้านหลกั สตู ร การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทีมีประสทิ ธิ ภาพ รวมทังการปฏิบัตงิ านอนื ๆ ที สง่ ผล ต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การนิเทศการศึกษาเปนวิชาชีพหนึงทีเกิดขึนมา เพอื ช่วยเหลอื ครใู นด้านการจัดกิจกรรมการเรยี น การสอน เนืองจากแนวคิดในเรอื งการเรยี นการสอนมีการเปลยี นแปลงและเพมิ ขนึ อยูต่ ลอดเวลา รวมถึง หลกั สตู รทีใช้ในการสอนก็มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา นอกจากนียังขยายวงกวา้ งขนึ จากการเรยี นการสอน ในห้องเรยี นออกไปสชู่ ุมชนสงั คมภายนอก ทําให้ครตู ้องการผู้ช่วยเหลอื เพิมพลงั และปรบั เปลยี นกระบวน ทัศน์ให้สามารถดําเนินการให้ทันต่อการเปลยี นแปลง ทีเกิดขนึ ทําให้เกิดศาสตรด์ า้ นการนิเทศการศกึ ษา ซึงกระทรวงศึกษาธกิ ารก็ได้ ให้ความสาํ คัญกับเรอื งนี ดว้ ยการกําหนดให้มีวิชาชีพนีขึน

แผนนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา : 21 กลมุ งานสง เสรมิ พฒั นา สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา พนั ธกจิ เปาประสงค์ กลยทุ ธ์ กลมุ่ งานสง่ เสรมิ พฒั นา สอื นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา กลมุ่ งานสง่ เสรมิ พัฒนา สอื นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา ไดก้ ําหนดพันธกิจ เปาประสงค์ กลยุทธข์ องการนิเทศ รูปแบบการนิเทศ กระบวนการนิเทศ กําหนดขอบ่ายการนิเทศ ตวั ชีวัด และเปาหมายการนิเทศ ดังนี พันธกิจ 1. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพือการบรหิ ารและการนิเทศในด้านสอื นวตั กรรมและเทคโนโลยี ทางการศึกษา 2. พัฒนาการนิเทศเพือมุ่งผลสมั ฤทธดิ ้านสอื นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา 3. ดํารงวัฒนธรรมคุณภาพในการทํางาน 4. วิจัย และพัฒนา เพือพัฒนาคุณภาพการศึกษา เปาประสงค์ 1. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพือการบรหิ ารและการนิเทศ มีระบบข้อมูลสารสนเทศเพือการบรหิ ารและการนิเทศ ทีครบถ้วน เปนปจจุบัน และพรอ้ มใช้ 2. พัฒนาการนิเทศเพือมุ่งผลสมั ฤทธิ มีระบบการนิเทศทีบรรลเุ ปาหมาย และมีประสทิ ธภิ าพ 3. ดํารงวัฒนธรรมคุณภาพในการทํางาน งานมีประสทิ ธผิ ล คนมีความสขุ 4. วิจัย และพัฒนา เพือพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการเผยแพรผ่ ลการวิจัย และนําผลการวจิ ัยไปใช้พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา กลยุทธ์ 1. สง่ เสรมิ สนับสนนุ นิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล วเิ คราะห์ วจิ ัย การพัฒนาหลกั สตู รการ จัดการเรยี นรู้ สอื นวัตกรรมและเทคโนโลยี การวัดและประเมินผล เพือให้นักเรยี นมีคุณภาพตามมาตรฐาน การเรยี นรู้ และการพัฒนาสคู่ วามเปนเลศิ 2. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ทุกภาคสว่ นเข้ามามีสว่ นรว่ มในการยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ างการเรยี น 3. เพิมประสทิ ธภิ าพการนิเทศ การศึกษาเพอื มุ่งผลสมั ฤทธิ

แผนนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา : 22 กลมุ งานสง เสรมิ พัฒนา สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา บทบาทของศกึ ษานิเทศก์ กลมุ่ งานสง่ เสรมิ พัฒนา สอื นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ไดก้ ําหนดบทบาท ของศึกษานิเทศก์ กลมุ่ งานสง่ เสรมิ พัฒนา สอื นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สาํ นักงานเขตพนื ทีการศกึ ษาประถมศึกษาหนองบัวลาํ ภู เขต 2 ดังนี 1. บทบาทการบรหิ ารจัดการข้อมูลสารสนเทศ (Information management) จัดทําข้อมูลสารสนเทศนักเรยี น ครู ผู้บรหิ ารโรงเรยี นและโรงเรยี น ในกลมุ่ เปาหมายตาม จุดเน้น นโยบาย ทีรบั ผิดชอบในด้านต่างๆ อยา่ งหลากหลาย มีการจัดกระทําขอ้ มูลอย่างเปนระบบ และ สามารถดึงข้อมูลทีมีอยู่มาใช้ประโยชน์ในการวางแผนและพัฒนาไดอ้ ยา่ งทันท่วงที ตรงความต้องการของ สภาพปจจุบัน และปญหาอย่างแท้จรงิ ดังนี 1.1 จัดทําข้อมูลสารสนเทศพืนฐานของโรงเรยี นทีรบั ผดิ ชอบอยา่ งรอบด้าน (Profile) เช่น ข้อมูลผลสมั ฤทธทิ างการเรยี น ข้อมูลนักเรยี นอา่ นออกเขยี นได้ ขอ้ มูลอตั รากําลงั ครแู ละความสามารถ ของครูแต่ละคน ข้อมูลรายงานผลการประเมินภายนอก 1.2 จัดทําข้อมูลสารสนเทศในการปฏิบัติงานอย่างเปนระบบ จัดทํารายงานผลการนิเทศ เปนรายครงั และภาพรวม ทังแบบทีเปนเอกสารและออนไลน์ เช่น การจัดทําขอ้ มูลสารสนเทศ รายงานผล การปฏิบัติงานและความก้าวหน้าของการพฒั นาการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี น หรอื ความก้าวหน้าของ การดําเนินงานเปนระยะ ซึงจะสง่ ผลให้เห็นถึงประสทิ ธภิ าพในการดาํ เนินงาน เนืองจากศึกษานิเทศก์จะมี การประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง เพือเปนข้อมูลยอ้ นกลบั สาํ หรบั พฒั นารปู แบบวิธดี าํ เนินงาน ทุกระยะ อนั จะสง่ ผลให้มีการปรบั ปรุงและพัฒนางานให้บรรลเุ ปาหมายการดาํ เนินงานตามทีกําหนดไว้ 2. บทบาทการสง่ เสรมิ และสนับสนนุ การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาตามจดุ นัน (Support and Improvement) เปนบทบาทหลกั ของศึกษานิเทศก์ ทีจะต้องนําข้อมูลสารสนเทศทีวิเคราะห์ไว้แลว้ มาใช้ ในการวางแผนการสง่ เสรมิ และพัฒนาในประเด็นทียงั เปนปญหาทีจําเปนต้องแก้ไขหรอื ปรบั ปรุงอยา่ ง เรง่ ด่วน และวางแผนสนับสนนุ การดําเนินงานของโรงเรยี นทีดหี รอื มีความพรอ้ มอยู่แลว้ ให้มกี ารพฒั นา สคู่ วามเปนเลศิ ต่อไป การสง่ เสรมิ และสนับสนนุ การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาตามจุดนัน วเิ คราะห์ สภาพปจจุบันปญหาและความต้องการรว่ มกับโรงเรยี นให้ได้ โดยทําการวเิ คราะห์รว่ มกับผู้เกียวข้อง ไดแ้ ก่ ผู้บรหิ ารโรงเรยี น ครูผู้สอนและผู้ทีมีสว่ นเกียวขอ้ งกับโรงเรยี น แลว้ รว่ มกันกําหนดเปาหมายในการพฒั นา น้นการพัฒนาโรงเรยี นตามความจําเปนเรง่ ดว่ น โดยใช้จุดเน้นของสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษา ขันพืนฐาน เปนเปาหมายหลกั ในการดําเนินงาน ซึงจําแนกเปนดา้ นต่างๆ ได้ดงั นี 2.1 สง่ เสรมิ สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการศึกษาให้มีประสทิ ธภิ าพ โดยการติดตาม ช่วยเหลอื ดูแล ระบบบรหิ ารจัดการศึกษาของโรงเรยี นโดยการรว่ มคิดรว่ มทํารว่ มกับผูบ้ รหิ ารโรงเรยี น ครูผู้สอน และบุคลากรอนื ๆ ทีเกียวข้องในการเสรมิ สรา้ งระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นให้มี ความเข้มแข็งและมีประสทิ ธภิ าพมากยิงขนึ โดยดาํ เนินการ ดงั นี 1) กําหนดเปาหมายการนิเทศโรงเรยี นทังด้านปรมิ าณ และคณุ ภาพ 2) วางแผนดําเนินการนิเทศโรงเรยี นในความรบั ผดิ ชอบรว่ มกับศึกษานิเทศก์/ ผู้รบั ผิดชอบโครงการต่างๆ 3) จัดเตรยี ม จัดหาสอื /เครอื งมือนิเทศ 4) ดําเนินการนิเทศตามแผนและปรบั ปรุงตามสถานการณ์ให้ปฏิบตั ิได้จรงิ 5) สง่ เสรมิ สนับสนนุ กิจกรรมการเรยี นการสอน การบรหิ าร เช่น การทํางานรว่ มกัน การสรา้ งเครอื ข่าย

แผนนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : 23 กลมุ งานสง เสริม พัฒนา สอ่ื นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา 2.1 สง่ เสรมิ สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการศกึ ษาให้มีประสทิ ธภิ าพ โดยการติดตาม ช่วยเหลอื ดูแล ระบบบรหิ ารจัดการศึกษาของโรงเรยี นโดยการรว่ มคิดรว่ มทํารว่ มกับผบู้ รหิ ารโรงเรยี น ครูผู้สอน และบุคลากรอนื ๆ ทีเกียวข้องในการเสรมิ สรา้ งระบบบรหิ ารจัดการศึกษาของโรงเรยี นให้มี ความเข้มแข็งและมีประสทิ ธภิ าพมากยิงขนึ โดยดําเนินการ ดังนี 1) กําหนดเปาหมายการนิเทศโรงเรยี นทังดา้ นปรมิ าณ และคณุ ภาพ 2) วางแผนดําเนินการนิเทศโรงเรยี นในความรบั ผดิ ชอบรว่ มกับศึกษานิเทศก์/ ผู้รบั ผิดชอบโครงการต่างๆ 3) จัดเตรยี ม จัดหาสอื /เครอื งมือนิเทศ 4) ดําเนินการนิเทศตามแผนและปรบั ปรุงตามสถานการณ์ให้ปฏิบตั ิไดจ้ รงิ 5) สง่ เสรมิ สนับสนนุ กิจกรรมการเรยี นการสอน การบรหิ าร เช่น การทํางานรว่ มกัน การสรา้ งเครอื ข่าย 2.2 สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การพัฒนากระบวนการจัดการเรยี นการสอนของครูให้มี คุณภาพโดยการรว่ มกับครูในการวิเคราะห์หลกั สตู ร ปรบั ปรุง พฒั นากระบวนการจดั การเรยี นการสอน ตลอดจนถึงการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ให้สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของโรงเรยี นและบรบิ ทของผเู้ รยี น มุ่งให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรูอ้ ย่างเต็มศักยภาพ 2.3 สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นสคู่ วามเปนเลศิ โดยรว่ มกับครู ผู้สอนในการหาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น โดยรว่ มกันวเิ คราะห์สภาพปจจบุ ันปญหา และ ออกแบบการเรยี นรูท้ ีช่วยสง่ เสรมิ และพัฒนาให้ผเู้ รยี นมีความเปนเลศิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ 3. บทบาทสง่ เสรมิ วิจัยเพือพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามจดุ เน้น (Research and Development) 3.1 การเปนนักวิจัยเพือพัฒนา 3.2 การกระตุ้นการสรา้ งวัฒนธรรมการวิจยั ในชันเรยี น 3.3 การเปนทีปรกึ ษา แนะนํา สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ให้ครูพฒั นาคุณภาพการจัดการเรยี น การสอนบนพืนฐานการวิจัย 4. บทบาทการสรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมือในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาตามจดุ เน้น (Network) ศึกษานิเทศก์มีบทบาทสาํ คัญในการขบั เคลอื น กระตุ้น หรอื รว่ มเปนผู้ประสานการสรา้ งเครอื ข่าย ทังเครอื ข่ายองค์กร เครอื ข่ายบุคคลและเครอื ข่าย ICT 5. บทบาทการพัฒนาการนิเทศเพือพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาอย่างต่อเนือง โดยคํานึงถึงผล ทีจะเกิดกับผู้รบั การนิเทศมุ่งมันพัฒนา ผู้รบั การนิเทศให้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจนเกิดผลตอ่ การพัฒนา คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนือง โดยสามารถดาํ เนินการได้ ดังนี 5.1 ประเมินตนเอง วิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย และมีการพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนือง 5.2 ศึกษาแนวทางการดําเนินงานนิเทศเต็มพิกัด 5.3 พัฒนาแผนการนิเทศให้สามารถป ิบตั ิได้เกิดผลจรงิ 5.4 พัฒนาและใช้นวัตกรรมการนิเทศการศกึ ษาเพอื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 5.5 จัดทํารายงานผลการนิเทศการศึกษาทังในรปู แบบเอกสารและแบบออนไลน์ อย่างเปนระบบ 5.6 เก็บรวบรวมข้อมูลการนิเทศและการติดตามอนื ๆ ของโรงเรยี นในความรบั ผดิ ชอบ 5.7 นิเทศเชิงพัฒนาโดยใช้กระบวนการวิจยั ในการปฏิบัติการนิเทศและรายงานผล การนิเทศ

แผนนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา : 24 กลุม งานสง เสรมิ พัฒนา สอื่ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา ตอนที 3 การดาํ เนินการนเิ ทศ และรายงาน ภารกจิ การนิเทศ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาจําเปนต้องอาศัยความรว่ มมือจากผ้ทู ีมีสว่ นเกียวขอ้ งทุกฝาย ทงั ใน ระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการทีเกียวกับกระบวนการบรหิ ารจัดการ การจัดการเรยี นการสอน และการ นิเทศการศึกษา อนั จะทําให้การดําเนินการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาดาํ เนินไปได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ หลกั การสาํ คัญของการนิเทศการศึกษาตอ้ งอยบู่ นพนื ฐานทางวชิ าการ มีจุดมุ่งหมายชัดเจน เปน ประชาธปิ ไตย รบั ฟงความคิดเห็นของผู้อนื รวมทังการให้ขวัญและกําลงั ใจแก่ผปู้ ฏิบัติงาน การนิเทศการ ศึกษาจําเปนต้องปรบั เปลยี นบทบาทของผู้นิเทศให้เหมาะสมกับสภาพการจัดการศกึ ษาในปจจบุ นั ด้วยการ ทํางานรว่ มกันระหว่างผู้นิเทศกับผู้รบั การนิเทศ เพอื ให้ประสบความสาํ เรจ็ ในการปฏิบตั งิ าน ซึงผู้นิเทศจะ เกียวข้องโดยตรงกับการพัฒนาครูในการปรบั ปรงุ พัฒนาการเรยี นการสอนให้นักเรยี นมีคณุ ภาพ ดังนัน จึงจําเปนต้องมีการนิเทศ กํากับ ติดตามการดาํ เนินงาน เพอื สนับสนนุ สง่ เสรมิ ระบบ การบรหิ ารจัดการ การจัดสภาพแวดลอ้ มทีเออื ต่อการเรยี นรู้ การสนับสนนุ การจัดการเรยี นการสอน การออกแบบการเรยี นรูท้ ีเน้นกระบวนการสรา้ งความรจู้ ากการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนสอื และอปุ กรณ์ ทีจําเปนในการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้เทคโนโลยที างไกลให้สามารถดาํ เนินการได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ เพือให้เกิดการเปลยี นแปลงในการดําเนินการนิเทศการศึกษาทุกระดับ รวมถึงการนําเอาเทคโนโลยี การสอื สารมาใช้เปนเครอื งมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการนิเทศ แนวทางการนิเทศ แนวทางการนิเทศช่วยเหลอื การทํางานของครูในการจัดการเรยี นการสอนนัน กลมุ่ งานสง่ เสรมิ พัฒนา สอื นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา เน้นให้ใช้กระบวนการทํางานตามศาสตรพ์ ระราชา คอื \"เข้าใจ เข้าถึง พัฒนาบนพืนฐานความเปนกัลยาณมิตรซึงกันและกัน มีสาระสาํ คัญ ดังนี ประการที 1 การเข้าใจ เปนก้าวแรกในการดําเนินการนิเทศ โดยผู้นิเทศและผู้รบั การนิเทศ ต้องทําความเข้าใจเกียวกับความต้องการจําเปนของผู้รบั การนิเทศรว่ มกัน วิเคราะหป์ ญหา เปาหมายของ การจัดการเรยี นการสอน รวมทังกําหนดกิจกรรมการนิเทศรว่ มกัน ทังนี เพือให้ผูน้ ิเทศมีความเข้าใจซึงกัน และกันให้มากทีสดุ ประการที 2 การเข้าถึง เปนก้าวต่อมาในการดําเนินการนิเทศ โดยผู้นิเทศจะต้องเข้าถึงขอ้ มูล ของผู้ทีรบั การนิเทศอย่างแท้จรงิ เช่น อาจมีการสงั เกตกิจกรรมการเรยี นการสอนของครู สาธติ หรอื ให้ ตัวอย่างการจัดกิจกรรมให้กับครู รบั ฟงเหตุผล ปจจยั ทีสง่ ผลต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนของครู ในขณะเดียวกันผู้รบั การนิเทศเองก็ต้องทําความเขา้ ถึงความต้องการของผู้นิเทศดว้ ยเช่นกัน เพอื ให้ การนิเทศแต่ละครงั เกิดประโยชน์สงู สดุ ประการที 3 การพัฒนา เปนก้าวทีสามหลงั จากทีผู้นิเทศ และผู้รบั การนิเทศมีความเขา้ ใจ และเขา้ ถึงข้อมูลซึงกันและกัน ด้วยการสงั เกตการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ผู้นิเทศจะต้องสะท้อนภาพการจัด กิจกรรมการเรยี นการสอนของครูและรว่ มออกแบบ หรอื ปรบั ปรงุ สอื / กิจกรรมการจัดการเรยี นการสอน จาก นัน อาจกลบั มาสงั เกตการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนอกี ครงั หลงั จากนันก็รว่ มสะท้อนภาพ ชืนชม และให้ ข้อเสนอแนะสว่ นทียังไม่สมบูรณ์อกี ครงั

แผนนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : 25 กลุมงานสงเสริม พัฒนา ส่อื นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศึกษา รปู แบบการนิเทศ กลมุ่ งานสง่ เสรมิ พัฒนา สอื นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา กําหนดกระบวนการนิเทศ โดย ยึดโรงเรยี นเปนฐาน เพือพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ได้ตามมาตรฐาน และมีประสทิ ธภิ าพ จึงกําหนด แนวทางการปฏิบัติทีเปนระบบ ดังนี 1. นิเทศทางตรง (Direct Supervision) แบ่งเปน 2 รูปแบบ ได้แก่ 1.1 นิเทศเชิงเดียว (Single supervision) 1.2 นิเทศเปนทีม (Team supervision) ได้แก่ 1.2.1 ทีมสอื นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 1.2.2 ทีมเฉพาะกิจ 2. นิเทศทางไกล (Distance supervision) โดยใช้รูปแบบการนิเทศออนไลน์ (Online supervision) โดยใช้แอพพลเิ คชันนิเทศออนไลน์ ทีกลมุ่ สอื นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา สพป.หนองบัวลาํ ภู เขต 2 ได้พัฒนาขึน กจิ กรรมนิเทศเพอื สง่ เสรมิ คณุ ภาพการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน การนิเทศในสภาวะการระบาดของเชือไวรสั โคโรน่า (Covid -19) โรงเรยี นในสงั กัดใช้วิธกี ารนิเทศ โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สารทีหลากหลาย เพอื สง่ เสรมิ สนับสนนุ และพฒั นา คุณภาพการจัดการศึกษาตามบรบิ ทของสถานศกึ ษา เพือตอบสนองนโยบายการเปนยุคประเทศไทย 4.0 และมาตรฐานการศึกษาชาติ คือผู้เรยี น เปนผสู้ รา้ งนวตั กรรม ครผู สู้ อนใช้นวตั กรรมในการจัดการเรยี น การสอน การดําเนินการนิเทศให้สามารถบรรลเุ ปาหมาย ผู้นิเทศสามารถเลอื กใช้วิธกี ารให้เหมาะสมกบั จุดมุ่งหมายของการนิเทศ ให้สามารถแก้ปญหาและความต้องการแต่ละครงั เพือใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ ดังนัน กลมุ่ งานสง่ เสรมิ พัฒนา สอื นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา จึงไดก้ ําหนดกิจกรรมนิเทศ ทีจะนํามาใช้ในการนิเทศไว้ เพือให้ศึกษานิเทศก์สามารถเลอื กใช้รูปแบบหรอื เทคนิคการนิเทศตามดลุ นิพิจ อย่างอสิ ระ ดังนี 1. การนิเทศรายบุคคล การแนะนําเปนรายบุคคล (Individual Conference) การพบปะกันระหว่างครู และ ศึกษานิเทศก์ เปนวิธหี นึงทีให้โอกาสศึกษานิเทศก์ได้ทํางานเปนรายบคุ คลกับครูในเรอื งปญหาทางวชิ าการ ของแต่ละคน เปนวิธกี ารทีทังสองคนได้ทํางานรว่ มกัน กิจกรรมการนิเทศรายบุคคล ได้แก่ 1.1 การเยียมชันเรยี นและสงั เกตการสอน เปนเทคนิคการนิเทศเพือช่วยครูปรบั ปรุงการสอนให้ดีขนึ มีขนั ตอน ทีจะต้องปฏิบตั ิรว่ ม กันของผู้ให้และผู้รบั การนิเทศ บนพืนฐานวัตถุประสงคร์ ว่ มกัน แนวทางการขบั เคลอื นการนิเทศบรู ณาการ โดยใช้พืนทีเปนฐาน เพือพัฒนาคุณภาพการศึกษา สกู่ ารนิเทศภายในโรงเรยี นโดยใช้ห้องเรยี นเปนฐานเพือ พัฒนาคุณภาพของผู้เรยี นเปนการนิเทศโรงเรยี น เปนฐานตามการแบ่งพืนทีเปนเครอื ขา่ ย/กลมุ่ ความรว่ ม มือทางวิชาการ ตามบรบิ ทของพืนทีการศึกษา ทีศกึ ษานิเทศต้องรุจ้ ักโรงเรยี นโดยรอบดา้ นด้วยขอ้ มูล สารสนเทศของบุคลากร คุณภาพผู้เรยี นและจุดเดน่ ทีเปนแบบอยา่ งได้

แผนนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา : 26 กลมุ งานสงเสริม พฒั นา ส่อื นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา การไปเยียมชันเรยี นในขณะทีครูกําลงั สอน จะทําให้เห็นสภาพทีเปนจรงิ ตลอดจนปญหา ต่างๆ ทีครูประสบอยู่เพือรว่ มมือกับครู หาทางปรบั ปรุงแก้ไขให้การเรยี นการสอนมีประสทิ ธภิ าพยิงขึน การไปเยียมชันเรยี นควรจะไปต่อเมือได้สรา้ งความสมั พันธก์ ับครูเปนอยา่ งดีแลว้ เพราะครูจะไดไ้ มม่ อง ศึกษานิเทศก์ตัวยความหวาดระแวงสงสยั คดิ วา่ จะมาจับผิด การไปเยียมชันเรยี น หากศึกษานิเทศได้แจ้ง วัตถุประสงค์ไห้ครูทราบว่า การมานันไม่ใช่มาเพอื จับผิด หรอื เพือรายงานการปฏิบัติงานของครู แต่มาเพอื ให้คําแนะนําปรกึ ษาช่วยเหลอื ครูเปนพีเลยี งครเู กียวกับการเรยี นการสอน นอกจากนีควรเปดโอกาสให้ครู มีสว่ นรว่ มในการวางแผนงาน กําหนดวัตถุประสงค์ของการเยยี มชันเรยี น ตลอดจนไดแ้ สดงความคดิ เห็น และปรกึ ษาหารอื ในรายละเอยี ดต่าง ๆ มีแนวปฏิบัติเกียวกับการเยยี มชันเรยี นทีดี ดังนี 1) ควรเข้าไปสงั เกตการสอนของครูในชันเรยี น ไมใช่ไปจับผิด พงึ ให้ครูยอมรบั ว่า ศึกษานิเทศก์มาเพือช่วยเหลอื ครู 2) ควรจะเข้าไปพรอ้ มกับครูผู้สอน หรอื ภายหลงั เลก็ น้อยก่อนทีครจู ะเรมิ บทเรยี น ศึกษานิเทศไม่ควรจะแอบเดินย่อง ๆ เข้าไปหลงั ชันเพือสงั เกตการสอนของครู 3) ควรเข้าไปนังอยู่ข้างหลงั ห้องเรยี น ซึงสามารถองเห็นชันเรยี นได้ทัวถึง นังฟง อย่างเงียบ ๆ ด้วยท่าทีเต็มไปด้วยความสนใจยิงและดจู นจบชัวโมง 4) ไม่ควรจะเข้ารว่ มบทเรยี นเปนอนั ขาด นอกจากจะไดร้ บั เชิญจากครแู ละ นักเรยี นให้เข้ารว่ มด้วยเท่านัน 5) ควรจะต้องมีบันทึกเกียวกับการสอนของครู ซึงจะเปนแนวทางให้คําแนะนํา ปรกึ ษา แก่ครูภายหลงั 6) ควรจะไปเยียมชันรยี นเพือสงั เกตการสอนมากกว่าหนึงครงั ในหนึงภาคเรยี น เพือจะได้สงั เกตดูความเจรญิ งอกงามของครูในด้านการสอน และดูผลงานการนิเทศของศกึ ษานิเทศก์เอง ต่อครูผู้สอน หลงั จากได้มีการเยียมชันเรยี นแลว้ ศึกษานิเทศก์ควรจะได้พบปะกับครูเปนสว่ นตัว เพอื ชีแจง ความคิดเห็นให้ครูฟง เปดโกาสให้ครูชีแจงเหตุผลในการกระทําของครู แลว้ รว่ มกันปรกึ ษาหารอื ความคดิ ทีดีกว่า ถูกต้องกว่า เหมาะสมกว่า การให้คําปรกึ ษาแนะนําชีแจงนัน ไม่ควรให้เนินนานนัก ควรจะเปน ภายในวันเดียวกัน หรอื ถ้าเปนไปได้ภายหลงั จากทีครสู อนเสรจ็ ก็จะดยี ิง เพราะทังสองฝายผา่ นเหตกุ ารณ์ นันมาใหม่ ๆ วิธกี ารทีดี ไม่ควรพูดถึงเฉพาะขอ้ บกพรอ่ งของครแู ต่อย่างเดียว หากมีขอ้ ใดควรชมก็หยิบยก ขึนมาชม พรอ้ มทังให้กําลงั ใจทีจะทําเช่นนันอกี ครงั ในการสอนครงั ต่อไป ข้อควรระวังในการไปเยียมชันเรยี น ก็คือ อย่างไปเยยี มชันเรยี นมากจนเกินไปจะทําให้ความ สาํ คัญของการเยียมชันเรยี นลดน้อยลงไปและจะทําให้ครเู บอื หน่าย ผลทีสดุ ครกู ็จะหลบหลกี แทนทีจะให้ ความรว่ มมือ 1.2 การสาธติ การสอน การสาธติ การสอน คือ การแสดงวิธกี ารเปนตัวอยา่ งให้ดู ผแู้ สดงอาจจะเปนศึกษานิเทศก์ หรอื วิทยากรทีได้รบั เชิญ ผู้ชมการสาธติ คือ ครรซู ึงจัดไดเ้ ปนกลมุ่ โดยทางโรงเรยี นเปนผจู้ ดั ไว้ หรอื ในการ ประชุมอนื ๆ อาจนําวิธกี ารสาธติ ไปใช้ได้ การสาธติ การสอนมีจุดมุ่งหมายเพอื ให้ครไู ด้เห็นตัวอยา่ งทีดี และถูกต้องเกียวกับวิธกี ารสอน วิชาต่าง ๆ นอกจากนียงั เปนการสรา้ งทัศนคติทีดีและศรทั ธาตอ่ งาน ของศึกษานิเทศก์ ด้วยการสาธติ การสอนไม่จําเปนวา่ ศกึ ษานิเทศก์จะตอ้ งทําการสาธติ เอง อาจให้ครูหรผื ู้ อนื ทีเชียวชาญทําการสาธติ แทนก็ไต้ นอกจากนีอาจใช้ภาพยนตรท์ ีแสดงการสอนหรอื การทดลองแทนก็ได้ เช่นกัน การสาธติ การสอนควรมีจุดประสงคด์ ังนี

แผนนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา : 27 กลุมงานสง เสรมิ พฒั นา สือ่ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา 1) สง่ เสรมิ ความเจรญิ งอกงามทางวิชาชีพแก่ครู การสาธติ การสอนควรสง่ เสรมิ ความ ต้องการ และความกระตือรอื รนั ของครูต่อการใช้ความดติ ทีเขามีไวใ้ นใจในระหว่างการสงั เกตของเขา การสาธติ จะมีประโยชน์ ต่อเมือสนองความตอ้ งการ ก่อให้เกิดความมันใจในตัวครูและแก่ความต้องการ ของนักเรยี นในการแก้ปญหา การสาธติ การสอนเปนการแสดงวิธสี อนใหม่ ในการแปญหการเรยี นการสอน มันจะเปนประโยชน์ต่อผู้สงั เกตและผู้สาธติ ทังก่อให้เกิดมนษุ ยสมั พนั ธอ์ นั ดีดว้ ย 2) ช่วยแก้ปญหาครู เปนการช่วยสาธติ ให้ดู เพือช่วยเหลอื ครูเมือแก้ปญหาเองไม่ได้ ศึกษานิเทศก์จะช่วยสาธติ ให้ดู การสาธติ จึงเปนการเกียวขอ้ งกับการใช้อปุ กรณ์และทรพั ยากรตา่ ง ๆ เพอื ช่วยเหลอื ครู นักเรยี นในการแก้ปญหา หากมีปญหาเกิดขึนในช่วงการสาธติ ศึกษานีเทศก์จะต้องเปนฝาย ช่วยเหลอื ครูจะจับตาดูผู้สาธติ การสอน แก้ไปญหาซึงครูสมารถมาใช้แก้ปญหาของตนเมือเกิดสถานการณ์ ดังกลา่ วขึนกับตนเอง 3) เปนการผสมผสานทฤษฎีและแนวปฏิบัติทางการศกึ ษาเข้าดว้ ยกัน วธิ กี ารผสมผสาน ทฤษฎี และแนวปฏิบัติเข้าด้วยกันได้อย่างดี ไดแ้ ก่ การสาธติ การสอน เปนการแปลทฤษฎีออกมาเปนแนว ปฏิบัติโดยผ่านทางการสาธติ การสอน 4) ช่วยในการอบรมครู การสาธติ การสอนจะช่วยให้ครไู ดร้ บั ความรูเ้ พมิ เติมจากบทเรยี น ทีทําการสาธติ ครูได้ศึกษาและเข้าใในือหาวิขาใหม่ ๆ อยเู่ สมอ การสาธติ การสอนจะช่วยให้ครูสามารถ เข้าใจถึงกระบวนการและการนําไปใช้กับสถานการณ์ของตนเองได้ หลกั เกณฑ์ทีจะช่วยให้การสาธติ การสอนไดร้ บั ผลสาํ เรจ็ ตามความมุ่งหมายของการนิเทศ ได้ควรมีลกั ษณะดังนี 1) จะต้องวางแผนการสาธติ การสอนไว้เปนอย่างดี ควรมีการวางแผนการสาธติ การสอน ไว้ เพือประโยชน์แก่กลมุ่ ผู้กียวข้อง การสาธติ การสอนไม่ใช่เปนการเปดโอกาสให้ไดส้ งั เกตการสอนเทา่ นัน หากยังต้องสนองต่อความต้องการและปญหาของครดู ้วย การสาธติ การสอนควรมกี ารตระเตรยี มการ สาธติ ไว้ลว่ งหน้า เวลาของการสาธติ ก็ควรกําหนดไว้ลว่ งหน้าด้วย 2) การสาธติ การสอนควรเปนไปโดยธรรมชาติ ในระหว่างการสาธติ การสอนขอ้ เรยี กรอ้ ง ใด ๆ ของเด็ก ควรได้รบั การพิจรณาเปนอนั ตบั แรก การสาธติ การสอนจะไดผ้ ลมากทสี ดุ เมือดาํ เนินการ ในห้องเรยี นในระหว่างการสาธติ ไม่ควรมีการจัดนิทรรศการใด ๆ ในห้องเรยี น การสอนควรเปนการนัดกัน มาก่อนระหว่างผู้สาธติ การสอนกับเด็กกลมุ่ ทีจะใช้สาธติ การสอน ครูประจําชันควรตระเตรยี มเด็กไวล้ ว่ ง หน้าเพือไม่ให้เกิดความประหลาดใจ 3) การสาธติ การสอนควรสมั พันธก์ ับเทคนิคการนิทศการศึกษาอนื ๆ การสาธติ การสอน และการสงั เกตการสอนปนของคู่กัน การสาธติ การสอนเปนการสาธติ ให้ผทู้ ีจะไปสอนได้สงั เกตดู เพือจะได้ นําวิธกี ารไปสอนต่อควรจะใช้หลกั การอนื ๆ เขา้ ช่วยในการสาธติ การสอนตัวย 4) การสาธติ การสอนควรเน้นในรายละเอยี ดต่าง ๆ ในบทเรยี น บทเรยี นจะประสบผล สาํ เรจ็ หากได้มีการเตรยี มเทคนิคเฉพาะสาํ หรบั สาธติ การสอนบทเรยี นนัน ๆ ควรมีการอภปิ รายกันหลงั จาก การสาธติ การสอนแลว้ 5) ควรศัดเลอื กผู้สาธติ การสอนเปนอย่างดี การเลอื กผู้สาธติ การสอนทีดีมีความจําเปน พอ ๆ กับการเลอื กสถานกรณ์ทีเหมาะสมและการวางแผนทีดี ครทู ีจะสาธติ การสอนจะตอ้ งมาดว้ ยความ สมัครใจ ผู้สาธติ การสอนจะต้องมีคุณสมบัตทิ ีดเี ยียม มีประสบการณ์อย่างดี และมีบุคคลกิ ภาพสว่ นตวั ทีจะ ก่อให้เกิดความสาํ เรจ็ ผู้สาธติ การสอนอาจวางแผนบทเรยี นให้สนองต่ความต้องการของเดก็ และผู้สงั เกต 6) มีการประเมินผลการสาธติ การสอน เมือเสรจ็ สนิ การสาธติ แลว้ ควรจัดการประชุมหลงั จากการสาธติ การสอนแลว้ ในเวลาทีเหมาะสม อภิปรายและวิเคราะห์ปญหาทีเกิดขึนระหว่างการสาธติ การสอน นอกจากนีอาจจะตรวจสอบดูว่การสาธติ การสอนไดช้ ่วยจูงใจผเู้ รยี นแคไ่ หน ผู้สาธติ มีความมนั ใจ ต่อผลงานมากน้อยเพียงใด

แผนนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา : 28 กลุม งานสงเสริม พฒั นา สอื่ นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา 1.3 การให้คําปรกึ ษาแนะนํา/เสนอแนะ (Coaching) ความหมาย การให้คําปรกึ ษาแนะนําเปนการพบปะก้นะหว่างผู้นิทศกับผรู้ บั การนิเทศ คือ การนิเทศแบบเสนอแนะ Coaching Technique (Modem Busines : Report : 397) เปนวิธกี ารพัฒนา บุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยการแนะนําหรอื เรยี นรูจ้ ากเทคนิคการนิเทศ แบบเสนอแนะ Coaching Technique เปนวธิ กี ารพัฒนาบุคลกรให้สามารถปฏิบตั งิ านได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ โดยการแนะนําหรอื เรยี นรูจ้ ากผู้ชํานาญ (Coach) ในลกั ษณะทีได้รบั คําแนะนําหรอื เรยี นรู้ ไปพรอ้ ม ๆ กับการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ เพือช่วยให้ผู้ปฏิบัติงนก้วไปถึงจุดหมายปลายทางได้ เช่น ความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ความสามารถทีจะรบั ผิดชอบในหน้ทีสงู ขึน (เช่น ในกรณีแต่งตังให้เปนผู้นิเทศ) หรอื เปนทยี อมรบั ของเพอื น รว่ มงานมากขึน ขันตอนการนิเทศแบบโค้ชชิง การนิเทศแบบการให้คําปรกึ ษาแนะนํา/สนอแนะ (Coaching) มี 4 ขนั ตอน เขยี น เปนสญั ลกั ษณ์ คือ CQCD มีรายละเอยี ด ดงั นี C - Compument หมายถึง การสรง้ สมั พนั ธภาพทีดรี ะหวา่ งผ้ทู ีทําหน้าทีเปน Coach และผู้ให้คําแนะนํา ซึงเปนสมั พันธภาพทีสรง้ ความไว้วางใจ ความสบายใจ ยนิ ดรี ว่ มในแนวทางของ Coaching Techniques นับเปนบทบาทสาํ คัญของ Coach ทีจะต้องตําเนินการ ดงั นัน ควร ดําเนินการ ดังนี 1. ศึกษาข้อมูลของผู้ทีรบั การแนะนํา เช่น จุดเดน่ ผลงานเดน่ ความชอบ อธั ยาศยั จุดออ่ น จุดทีต้อปรบั ปรุง ข้อมูลต่ง ๆ ควรบนั ทึก ไว้อยง่ เปนระบบมีความเหมาะสม 2. นําข้อมูลมาเปนแนวทางในการสรา้ งสมั พนั ธภาพ ได้แก่ การชมเชย หรอื การสรา้ ง บรรยากาศ เพือการเชือมโยงไปสขู่ ันต่อไป Q - Question หมายถึ การถามเน้นการถามในเชิงขอความคดิ เห็นไม่ให้ผู้ตอบจนมุม หรอื เกิดความไม่สบายใจทีจะตอบคําถาม ซึงผเู้ ปน Coac อาจจะใช้ความเหมาะสมของผูร้ บั คําแนะนาและ สภาพปญหา เช่น - คุณคิดว่าผมจะช่วยอะไรได้บ้าง - คุณคิดว่มีวิธกี รอะไรบ้างทีแก้ปญหานี - คุณคิดว่าถ้าใช้วิธกี ารนีแลว้ จะเกิดอะไรขนึ - ทุกอย่างจะต้องมีข้อดีและข้อจํากัด คุณคิดวา่ วิธนี ีอะไรคือข้อดี อะไรคือ ข้อจํากัด - คุณคิดว่าข้อจํากัดนัน ๆ จะมีทางแก้ไขหรอื ควรทําอยา่ งไรหรอื จะหาทางออก อย่างไร ในสภาวะหรอื ในสภาพเช่นนี - คุณคิดว่าถ้าคุณจะพัฒนางานให้ดียิงขึน มีอะไรบ้างทีเราควรทํา - ทีคุณคิดว่า \"ไม่ดี, ยังไม่ดี คืออะไรบ้าง\" \"คณุ คิดว่ามีอะไรบา้ งทีคุณต้องการ เสรมิ เพิมเติม\"

แผนนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา : 29 กลมุ งานสงเสริม พัฒนา สอ่ื นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา C - Correct หมายถึง การเสนอแนะแนวทางแก้ไข ในขนั ตอนนีผเู้ ปน Coach ควรให้ ความสาํ คัญในขันตอนทีสบื เนืองจากขัน Question นําคําตอบของผรู้ บั คําแนะนํามาวิเคราะห์และนําเสนอ ในสว่ นทียังบกพรอ่ ง และสงั คราะห์ปนแนวการปฏิบตั ิหรกื ารพฒั นางานในลกั ษณะแลกเปลยี นเรยี นรู้ รว่ มกัน และในขันตอนนี ควรกําหนดบทบาทในการปฏิบัติแต่ละเรอื งชัดเจน D - Demonstrate หมายถึง การนําข้อเสนอหรอื แนวทางทีตกลงกันไว้ในขันตอน C - Corect หรอื แผนการใช้นวัตกรรม ซึงผรู้ บั คาํ แนะนําเปนผ้ปู ฏิบตั ิผู้เปน Coach เปนผู้แนะนําอย่างใกลช้ ิด บางครงั Coach อาจต้องสาธติ การนิเทศแบบ Coaching Techniques ประสบผลสาํ เรจ็ ได้เปนอย่างดี ก็ขนึ อย่กู ับปจจยั ดังนี 1) ผู้เปน Coach ต้องเปนผู้เชียวชาญ และเปนผ้ทู ีผู้รบั คําแนะนํายอมรบั 2) มีความเหมาะสมกับการสอนแนะเปนรายบุคคลหรอื กลมุ่ ย่อย ใช้ไดก้ ับบคุ คล ทุกกลมุ่ ทังการพัฒนาศึกษานิเทศก์ พัฒนาผู้บรหิ ารและพฒั นาครู 1.4 เทคนิคการให้คําปรกึ ษา การให้คําปรกึ ษา เปนการนิเทศตัวต่อตัวระหวา่ งศกึ ษานิเทศก์กับครูผสู้ อน มี 3 ลกั ษณะ ดังนี 1) การให้คําปรกึ ษาทางตรง (directive counseling) มีลาํ ดบั ขันตอนการนิเทศ ดงั นี (1) ขอให้ครูให้ข้อมูลให้กระจ่างทีจําเปนต้องแก้ (2) ผู้นิเทศสรุปปญหา - สาเหตุ ครูเห็นด้วยหรอื ไม่ (3) ผู้นิเทศเสนอวิธแี ก้ - ทางเลอื กให้พิจารณา (4) ให้ครูแสดงความคิดเห็น พิจารณาทางเลอื ก (5) กําหนดขันตอนการแก้ปญหาทีชัดเจน (6) ให้ครูตกลงแนวปฏิบัติ กําหนดระยะเวลาดําเนินการ (7) ติดตามประเมินผล 2) การให้คําปรกึ ษาทางออ้ ม (non-directive counseling) (1) ฟงปญหาครูอย่างตังใจ (2) ผู้นิเทศพูดทบทวนปญหาเปนระยะเมือครพู ดู จบ (3) ผู้นิเทศซักถามครูรูป้ ญหาให้ลกึ (4) ให้ครูคิดหาทางแก้ปญหา กระตุ้นทางเลอื กหลายทาง (5) ครูพิจารณาทางเลอื กทีดีทีสดุ (6) ให้ครูวางแผนดําเนินการแก้ปญหา กําหนดระยะเวลาดําเนินการ และทรพั ยากร (7) ผู้นิเทศทบทวนแผนงานท่ครูวางไว้ สรา้ งข้อตกลงในการปฏิบัติ 3) การให้คําปรกึ ษาแบบผสมผสาน เปนการให้คําปรกึ ษาลกั ษณะปญหาและลกั ษณะบคุ คลผสมผสานตามสถานการณ์ ผู้นิเทศรูจ้ ักรบั ฟง ช่วยให้ครูสามารถถหาแนวทางแก้ปญหาได้เอง ครูมีความภมู ิใจ มันใจตนเอง แต่ครู ต้องการคําแนะนํา ความรู้ ประสบการณ์จากผนู้ ิเทศ ผู้นิเทศจึงใช้แบบผสมผสาน

แผนนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา : 30 กลุมงานสงเสริม พัฒนา สือ่ นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา 2. การนิเทศรายกลมุ่ ในการนิเทศการศึกษานัน บางครงั จําเปนต้องให้ความรูแ้ ก่ครูคราวละมากๆ เนืองจากมี ข้อจํากัดด้านเวลา งบประมาณ จํานวนผู้นิเทศทีไม่เพียงพอ หรอื ความเรง่ ด่วนของการดาํ เนินงาน ดงั นัน ศึกษานิเทศก์จึงจําเปนต้องใช้การนิเทศรายกลมุ่ กิจกรรมการนิเทศรายกลมุ่ ทีใช้อยเู่ สมอ ได้แก่ 2.1 การประชุม การอบรม และการอบรมเชิงปฏิบัติการ เปนการนิเทศรายกลมุ่ ทีใช้มากทีสดุ โดยมีขอ้ ควรคาํ นึง ดงั นี 1) การอบรม ข้อควรคํานึง คือ เตรยี มการให้พรอ้ มตังแต่กําหนดการ บุคคลทีเกียวข้อง สถานที สงิ อาํ นวยบรกิ าร บรรยากาศ สงิ แวดลอ้ ม ระหว่างอบรม สรา้ งความประทับใจ รกั ษาเวลา ให้ขอ้ มูลทีรวดเรว็ เทียงตรง ประเมินผลการอบรม 2) การประชุมเชิงปฏิบัติการ มีสงิ ทีต้องคํานึง คือ (1) เตรยี มการให้พรอ้ มทุกด้าน (2) ชักจูงผู้รว่ มให้สนใจประชุมอย่างต่อเนือง (3) กระตุ้นสง่ เสรมิ ผู้เข้ารว่ มแสดงศักยภาพ (4) ตาราง/กําหนดการยืดหยุ่นตามสภาพกิจกรรม (5) สรา้ งบรรยากาศเปนกันเอง 2.2 การประชุมปรกึ ษากับคณะครู 2.3 การสนทนาทางวิชาการ

แผนนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา : 31 กลมุ งานสงเสรมิ พัฒนา สือ่ นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา กระบวนการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล กลมุ่ งานสง่ เสรมิ พัฒนา สอื นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา โดยใช้กระบวนการติดตาม คุณภาพงานแบบ PDCA ในการนิเทศฯ 4 ขันตอน ดังนี ขันที 1 วางแผนการนิเทศ (P) Plan ขันที 2 การปฏิบัติงาน (Do - D) ขันที 3 การตรวจสอบ (Check - C) ขันที 4 ดําเนินงานให้เหมาะสม (Act - A) P DD C A ตัวชีวัดความสาํ เรจ็ 1. ศกึ ษานโยบาย สภาพ 1.แตง่ ตงั คณะ 1. ประชุม 1. ตดิ ตามผล เชิงปรมิ าณ ปจจบุ นั และปญหา ดาํ เนินงานการ ผทู้ มี สี ว่ น การพฒั นา 1. รอ้ ยละ 80 ของ ของสถานศกึ ษาใน นิเทศ ตดิ าม และ เกยี วขอ้ งกบั คณุ ภาพ การ สถานศกึ ษา เปาหมาย สงั กดั สพป.นภ. 2 ประเมนิ ผล การนิเทศ ศกึ ษาทหี ลงั จาก ไดร้ บั การนิเทศ 2. วางแผนการนิเทศ 2.ประชุมรว่ ม ตดิ ตาม และ ทไี ดร้ บั นิเทศฯ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล วางแผนการนิเทศ ประเมนิ ผล 2. จดั ทาํ ขอ้ มลู 2. รอ้ ยละ 80 ของ 2.1 วเิ คราะหข์ อ้ มลู 3.จดั ทาํ เครอื งมอื 2. รวบรวม สารสนเทศ การ สถานศกึ ษา มกี ารนํา พนื ฐานสถานศกึ ษา การนิเทศ ตดิ ตาม วเิ คราะห์ นิเทศ ตดิ ตาม ผลการนิเทศฯ ไปใช้ ของสถานศกึ ษาใน และประเมนิ ผล สงั เคราะห์ และประเมนิ ผล ในการพฒั นาคณุ ภาพ สงั กดั 4.ประชุมชีแจงการ ผลการนิเทศ เพอื วางแผน การศกึ ษา นิเทศฯ ใหแ้ กผ่ มู้ ี 3. สรปุ การนิเทศในระยะ 3. รอ้ ยละ 80 ของ 2.2 เลอื กสถาน สว่ นนิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล ตอ่ ไป บคุ ลากรทไี ดร้ บั การ ศกึ ษาตามกลมุ่ เปา และประเมนิ ผล การนิเทศ 3. รายงานผล นิเทศในสถานศกึ ษา หมาย จดั ลาํ ดบั ตาม รบั ทราบ แตล่ ะเรอื ง การนิเทศฯ ตอ่ เปาหมายมคี วามพงึ ความตอ้ งการจาํ เปน 5.ออกตรวจนิเทศ ใหเ้ หน็ ผบู้ งั คบั บญั ชา พอใจตอ่ การนิเทศ เรง่ ดว่ น มากทสี ดุ ไปหา ตดิ ตาม และ พฒั นาการ และสง่ รายงาน ตดิ ตาม และประเมนิ ผล เรง่ ดว่ นน้อยทสี ดุ ประเมนิ ผล ตาม จดุ ทตี อ้ ง ไปยงั หน่วยงาน เชิงคณุ ภาพ ปฏิทนิ การนิเทศ พฒั นา และสถานศกึ ษา 1. สถานศกึ ษาไดร้ บั 2.3 จดั กลมุ่ ของ เพมิ เตมิ ของครู กลมุ่ เปาหมาย การนิเทศตามแผน สถานศกึ ษา การนิเทศ 2. รายงานผลการนิเทศ 2.4 วางแผนการ ตดิ ตามฯ นิเทศตามนโยบาย 3. สถานศกึ ษามี แนวทางในการบรหิ าร 2.5 กาํ หนดปฏิทนิ จดั การศกึ ษาอยา่ งมี การปฏิบตั งิ าน และ คณุ ภาพ ปฏิทนิ การนิเทศ

แผนนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา : 32 กลมุ งานสง เสริม พฒั นา ส่อื นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา แผนภาพการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล กลมุ่ งานสง่ เสรมิ พฒั นา สอื นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา เรมิ ตน้ ศึกษานโยบาย สภาพปจจุบัน ปญหา (P) Plan วางแผน กําหนดปฏิทินการปฏิบัติงาน ปฏิทินการนิเทศ (P) Plan (P) Plan แจ้งสถานศึกษาในสังกัด รบั ตรวจ นิเทศ ติดตาม และประเมินผล (D) Do ออกตรวจ นิเทศ ติดตาม รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผล (D) Do รายงานฯ สรปุ ประเมินผล (C) Check รายงานผลการนิเทศ ลงพืนทีติดตามซา (A) Act เสนอรายงานการนิเทศให้ ผู้อาํ นวยการกลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา เสนอรองผู้อาํ นวยการสํานักงานเขตพืนทีการศึกษา เสนอผู้อาํ นวยการสํานักงานเขตพืนทีการศึกษา นําส่งผลการนิเทศให้กับสํานักงาน นําส่งผลการนิเทศให้กับสถานศึกษาในสังกดั คณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน เพือนําไปพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพือนําไปพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา : 33 กลุม งานสง เสรมิ พฒั นา ส่อื นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา ขนั ตอนของการนิเทศ มี 5 ขนั ตอน ดงั นี หลกั การ แนวคิด ทฤษฎีของการนิเทศ 5 ขันตอน ดังนี ขันที 1 การศึกษาสภาพปจจุบันปญหาและความต้องการเปนการกําหนดปญหาและความ ต้องการในการแก้ปญหาหรอื พัฒนา (P) Plan ดังนี 1.1 การจัดทําข้อมูลสารสนเทศพืนฐาน เพือเปนข้อมูลในการพิจารณาวางแผนการดาํ เนิน งาน 1.2 การแลกเปลยี นระดมความคิดวิเคราะห์เพอื หาสภาพปญหาทีเกิดขนึ และความ ต้องการในการพัฒนาตามบรบิ ทของหน่วยงาน 1.3 การจัดลาํ ดับปญหาและเลอื กปญหาทีเปนความจําเปนหรอื ตอ้ งการในลาํ ดบั เรง่ ดว่ น หรอื ลาํ ดับทีเห็นว่าสาํ คัญทีสดุ 1.4 การสรา้ งการรบั รูร้ ะหว่างผู้นิเทศและผูร้ บั การนิเทศ ดว้ ยวิธกี ารต่างๆ เช่น การประชุม การสมั มนา ฯลฯ เพือสรา้ งวิสยั ทัศน์หรอื สรา้ งเปาหมายรว่ มกันในการดําเนินงาน ขันที 2 การวางแผนการนิเทศเปนการนําปญหาและความต้องการ กําหนดรายละเอยี ด ของกิจกรรมในการจัดทําแผนนิเทศ (P) Plan ดังนี 2.1 กําหนดแนวทาง/วิธกี ารการพัฒนาทีหลากหลายตามปญหาทีเกิดขึนตามความ ต้องการและจําเปน มีการใช้กระบวนการชุมชนการเรยี นรวู้ ิชาทางวิชาชีพ (Professional Leaning Community : PLC) และการศึกษาชันเรยี น (Lesson Study) เปนเครอื งมือสาํ คญั ในการพัฒนาวชิ าชีพ ครูและการพัฒนาผู้เรยี นอย่างเปนระบบและต่อเนือง 2.2 เลอื กแนวทาง/วิธกี ารในการพัฒนาโดยการมีสว่ นรว่ มของทุกฝายทีเกียวขอ้ ง 2.3 วางแผนการดําเนินงานพัฒนา 1) การประขุมเตรยี มการนิเทศ เพือสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจรว่ มกัน 2) สรา้ งคณะนิเทศ เปนทีมงานในการนิเทศรว่ มกัน 3) กําหนดประเด็นการนิเทศ เปนการกํานหดเนือหาทีจะนิเทศ 4) กําหนดระยะเวลาในการนิเทศ โดยกําหนดระยะเวลาในการนิเทศทีเหมาะสม กับการแก้ปญหาและการพัฒนา 5) กําหนดวิธกี ารนิเทศและกิจกรรมการนิเทศทีเหมาะสมตามสภาพปญหาและความ ต้องการ เช่น การประชุมสมั มนา การแลกเปลยี นเรยี นรู้ การสงั เกตชันเรยี น การสาธติ การบนั ทึกวิดโี อ และการถ่ายภาพ การสมั ภาษณ์ การ Coaching & Mentoring ฯลฯ โดยเน้นการใช้ ICT ในรูปแบบตา่ งๆ เช่น การใช้ Line Application การใช้ Clip Video การ Conference การใช้ Video Line You Tube Facebook Live เปนต้น 2.4 จัดทําแผนนิเทศ ประกอบด้วย หลกั การและเหตุผล วตั ถุประสงค์ เปาหมาย แผน การดําเนินการ กิจกรรมสาํ คัญ ปฏิทินการปฏิบัติงาน ทรพั ยากรทีต้องการ เครอื งมือนิเทศ ผลทีคาดว่า จะได้รบั ขันที 3 การสรา้ งสอื และเครอื งมือนิเทศ สอื และเครอื งมือนิเทศเปนสงิ ทีจะช่วยให้การนิเทศ มีประสทิ ธภิ าพบรรลวุ ัตถุประสงค์ และเปนสงิ ทีจะช่วยเก็บรายละเอยี ดทีผรู้ บั การนิเทศไมส่ ามารถแสดง ออกมาได้ และสามารถเก็บข้อมูลนํามาเปรยี บเทียบผลทีเกิดขนึ เพอื เปนแนวทางในการพฒั นา และสงิ ที ทําให้มีความเข้าใจตรงกันระหว่างผู้นิเทศ และผู้รบั การนิเทศ (D) Do

แผนนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา : 34 กลมุ งานสงเสริม พัฒนา ส่ือ นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา 3.1 สรา้ งสอื การนิเทศทีทําให้การนิเทศบรรลวุ ัตถุประสงค์ เช่น วิธกี ารนิเทศ ทักษะ การนิเทศ เทคนิคการนิเทศ โดยเปนสอื ทีสอดคลอ้ งในยคุ ศตวรรษที 21 เน้นการใช้ ICT ในรปู แบบ ต่างๆ เช่น การใช้ Line Application การใช้ Clip Video การ Conference การใช้ Video Line Youtube Facebook Live เปนต้น 3.2 สรา้ งเครอื งมือการนิเทศเพือเก็บข้อมูลเปนแนวทางในการแก้ปญหาและพัฒนา ตรวจสอบ ติดตามความก้าวหน้าของการดาํ เนินงาน และการประเมินาผลการดาํ เนินงาน ซึงเปนเครอื งมือ ทีมีคุณภาพ ใช้ง่าย สามารถเก็บข้อมูลทีตอบประเด็นปญหาความต้องการ และเปนประดยชน์ในการแก้ ปญหา ปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ขันที 4 การปฏิบัติการนิเทศ ดําเนินการนิเทศตามวิธกี ารนิเทศและกิจกรรมการนิเทศ ทีกําหนด (D) Do 4.1 ประชุมเตรยี มการก่อนการนิเทศ เพือสรา้ งความเขา้ ใจของผู้นิเทศ ให้การนิเทศเปน ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 4.2 นิเทศตามขันตอน ระยะเวลา และใช้เครอื งมือตามทีกําหนด 4.3 การสะท้อนผลการนิเทศ 4.4 ปรบั ปรุงและพัฒนาการดําเนินงาน ขันที 5 ลงพืนทีติดตามซา การประเมินผลและรายงานผล (A) Act 5.1 ประเมินความก้าวหน้าของการดําเนินงาน เช่น การดําเนินงานของผรู้ บั การนิเทศ เพือนําผลไปปรบั ปรุงแนวทางการดําเนินงาน 5.2 ประเมินผลการนิเทศเมือเสรจ็ สนิ การปฏิบัตกิ ารนิเทศตามระยะเวลาทีต้องการ ในการนําผลไปใช้ในการพัฒนา หรอื ในแตล่ ะปการศกึ ษา 5.3 รายงานผลการนิเทศต่อผู้เกียวข้อง 5.4 ลงพืนทีติดตามซา 5.5 นําผลการนิเทศทีเปนปญหา อปุ สรรคและข้อเสนอแนะไปพฒั นาการนิเทศในครงั ต่อไป หรอื ในปการศึกษาต่อไป การนําการนิเทศเพอื การพฒั นาไปใช้ การนิเทศการศึกษา เปนกิจกรรมสาํ คัญทีจะช่วยพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา ให้บรรลเุ ปาหมายอย่างมีคุณภาพและได้ปรมิ าณทีน่าพอใจ ดงั นัน การเลอื กใช้รปู แบบการนิเทศ กระบวนการนิเทศแต่ละครงั จึงมีความสาํ คญั มาก กลมุ่ งานสง่ เสรมิ พฒั นา สอื นวตั กรรม และเทคโนโลยี ทางการศึกษา ยึดหลกั การนิเทศอนั จะนําไปสคู่ วามสาํ เรจ็ ดงั นี 1. เลอื กวิธกี ารในระดับเข้าสกู่ ารนิเทศทีดีทีสดุ 2. นําวิธกี ารทีเลอื กไปใช้ 3. สนับสนนุ การพัฒนาของครูในขณะทีเพมิ ทางเลอื กและหน้าทีในการตัดสนิ ใจให้แก่ ครูทีละน้อย

แผนนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา : 35 กลุมงานสง เสรมิ พัฒนา สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา ตอนที 4 เครืองมอื การนเิ ทศ เพอื ใหก้ ารปฏิบตั งิ านการนิเทศการศกึ ษาของกลมุ่ งานสง่ เสรมิ พฒั นา สอื นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา ดาํ เนินการไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ ไดก้ าํ หนดปฏิทนิ การ นิเทศ ดงั ตอ่ ไปนี ปฏทิ นิ การนิเทศ รายการนิเทศ/เรอื ง ช่วงเวลา สอื และเครอื งมอื 1. การนิเทศการจดั การเรยี นการสอน ตลอด แบบนิเทศ ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค ปการศกึ ษา ตดิ เชือไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19) แบบนิเทศ ตลอด 2. การใช้สอื และเทคโนโลยใี นการจดั ปการศกึ ษา การเรยี นรู้ 3. การนิเทศการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้ ตลอด แบบนิเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษาทางไกล ปการศกึ ษา แบบนิเทศ ผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) แบบนิเทศ แบบนิเทศ 4. การนิเทศการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้ ตลอด แบบนิเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษาทางไกล ปการศกึ ษา ผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) 5. การนิเทศการจดั การเรยี นรวู้ ทิ ยาการ ตลอด คาํ นวณ (CODING) ปการศกึ ษา 6. การนิเทศการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ตลอด เพอื พฒั นาแนวคดิ เชิงคาํ นวณโดยใช้เกม ปการศกึ ษา เปนฐาน (GBL) 7. การนิเทศการจดั การเรยี นรู้ เพอื ยก ตลอด ระดบั ผลสมั ฤทธขิ องโรงเรยี นขนาดเลก็ ปการศกึ ษา 8. การนิเทศการจดั การเรยี นรทู้ กั ษะ ตลอด แบบนิเทศ อาชีพ เพอื การมงี านทาํ ปการศกึ ษา

แผนนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : 36 กลมุ งานสงเสริม พฒั นา สอื่ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา ตวั ชีวดั การนิเทศเพอื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ดงั นี 1. การนิเทศการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19) - โรงเรยี นมีความพรอ้ มและมีมาตรการในการเปดเรยี นในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของโรคติดเชือไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19) - ครูมีความพรอ้ มและมีมาตรการในการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชือไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19) 2. การใช้สือและเทคโนโลยีในการจัดการเรยี นรู้ - โรงเรยี นมีความพรอ้ มในการใช้สอื และเทคโนโลยใี นการจัดการเรยี นรู้ - ครูมีการวางแผนและออกแบบกิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้สอื และเทคโนโลยใี นการจัด การเรยี นรู้ - ครูมีการนําแพลตฟอรม์ ไปใช้ในการจัดการเรยี นรูเ้ พอื สรา้ งองค์ความรใู้ ห้กับเดก็ 3. การนิเทศการจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) - โรงเรยี นมีระบบข้อมูลสารสนเทศเกียวกับ DLTV - ห้องเรยี นมีการติดตัง/ปรบั ชุดอปุ กรณ์ได้ถูกต้องตามมาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม DLTV ของมูลนิธกิ ารจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ - ครูมีและใช้คู่มือในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ - ครูมีการบันทึกผลหลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ - นักเรยี นมีผลการพัฒนาตามมาตรฐานการเรยี นรูข้ องหลกั สตู ร 4. การนิเทศการจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี สารสนเทศ (DLIT) - โรงเรยี นมีระบบข้อมูลสารสนเทศเกียวกับ DLIT - ห้องเรยี นมีการติดตัง/ปรบั ชุดอปุ กรณ์ได้ถูกต้องตามมาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม DLIT ของสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั พนื ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร - ครูมีและใช้คู่มือในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ - ครูมีการบันทึกผลหลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ - นักเรยี นมีผลการพัฒนาตามมาตรฐานการเรยี นรขู้ องหลกั สตู ร 5. การนิเทศการจัดการเรยี นรวู้ ิทยาการคาํ นวณ (CODING) - ครูมีการวางแผนและออกแบบกิจกรรมการเรยี นรูร้ ายวชิ าวทิ ยาการคํานวณ (CODING) - ครูมีการบันทึกผลหลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรูร้ ายวิชาวิทยาการคาํ นวณ (CODING) - นักเรยี นมีผลการพัฒนาตามมาตรฐานการเรยี นรูร้ ายวชิ าวิทยาการคํานวณ (CODING) 6. การนิเทศการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เพอื พฒั นาแนวคิดเชิงคํานวณโดยใช้เกมเปนฐาน (GBL) - ครูมีการวางแผนและออกแบบกิจกรรมการเรยี นรูเ้ พือพัฒนาแนวคิดเชิงคาํ นวณโดยใช้เกม เปนฐาน (GBL) - นักเรยี นได้รบั การพัฒนาสมรรถนะด้านการคิดเชิงคํานวณโดยใช้เกมเปนฐาน

แผนนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา : 37 กลมุ งานสง เสริม พัฒนา ส่ือ นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา 7. การนิเทศการจัดการเรยี นรู้ เพือยกระดบั ผลสัมฤทธขิ องโรงเรยี นขนาดเลก็ - โรงเรยี นขนาดเลก็ และครูมีข้อมูลผลสมั ฤทธทิ างการเรยี นระดบั ต่างๆ เช่น O-NET NT RT ผลการประเมิน ระดับชันเรยี นและระดับสถานศกึ ษา - โรงเรยี นขนาดเลก็ และครูมีข้อมูลและใช้ข้อมูลรายบุคคลของนักเรยี นในการพัฒนาการจดั การเรยี นรูข้ องผู้เรยี น - สาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาและผู้บรหิ ารโรงเรยี นขนาดเลก็ มีขอ้ มูลสารสนเทศในการ บรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ ได้อย่างเหมาะสม สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของโรงเรยี น 8. การนิเทศการจัดการเรยี นรทู้ ักษะอาชีพ เพอื การมีงานทํา - โรงเรยี นสามารถจัดการเรยี นรูโ้ ดยเน้นให้ผู้เรยี นเกิดทักษะในด้านอาชีพ - นักเรยี นมีทักษะความชํานาญทางด้านวิชาชีพ มีทักษะการทํางาน สรา้ งงานและสรา้ งอาชีพ ใหม่ มีทักษะชีวิตและคุณธรรมและจรยิ ธรรม

แผนนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา : 38 กลมุ งานสง เสริม พฒั นา สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศึกษา เครอื งมอื การนิเทศ กลมุ่ งานสง่ เสรมิ พฒั นา สอื นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา มเี ครอื งมอื และ แบบนิเทศ ตดิ ตาม ผลการจดั การเรยี นการสอนตามนโยบาย ภารกจิ งาน และตามโครงการ ทสี าํ คญั ดงั นี 1. แบบนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19) 2. แบบนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการใช้สอื และเทคโนโลยใี นการจดั การเรยี นรู้ 3. แบบนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) 4. แบบนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศการศกึ ษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) 5. แบบนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรวู้ ทิ ยาการคาํ นวณ (CODING) 6. แบบนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เพอื พฒั นา แนวคดิ เชิงคาํ นวณโดยใช้เกมเปนฐาน (GBL) 7. แบบนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู้ เพอื ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ ของโรงเรยี นขนาดเลก็ 8.แบบนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรทู้ กั ษะอาชีพ เพอื การมี งานทาํ

39 แบบติดตาม ตรวจเยี่ยม และนเิ ทศการศึกษา การดำเนนิ การเพอื่ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ในสถานการณ์แพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คำช้แี จง พจิ ารณาตามรายการตามหลักฐาน/ร่องรอยจากการบันทึกวธิ ีการดำเนินการ ท่มี าของหลักฐานร่องรอย แลว้ กาเครื่องหมาย รายการ ระดับความพรอ้ ม มี ไมม่ ี หมายเหตุ 1. จดั จุดบริการรับสง่ นกั เรยี นภายนอกด้านหนา้ ประตูทางเขา้ โรงเรียน 2. มกี ารจัดเตรยี มอปุ กรณ์วัดอุณหภมู ิร่างกาย - มกี ารกำหนดและแตง่ ต้ังผู้ทำหน้าที่คัดกรอง/วดั อุณหภูมิ - มกี ารลงช่ือ/บนั ทกึ ผลการคดั กรองของผมู้ าติดต่อราชการ 3. จดั ทำมาตรการ/แนวปฏิบัติ - จัดเตรียมหน้ากาก (หน้ากากอนามยั ,หน้ากากผา้ ) 4. จัดใหม้ ีจดุ ล้างมือ ถ้ามีจดุ ล้างมือ จำนวน..............จุด 5. มีการจัดเตรียมหอ้ งเรียนโดยเวน้ ระยะหา่ งใน (20 โต๊ะ) ตามมาตรการ 6. มกี ารจดั ทำสัญลกั ษณ์แสดงการเว้นระยะห่าง มีจำนวน.......................แหง่ ได้แก่ ................................................................................... 7. มกี ารจดั ทำ Big cleaning Day เมอ่ื วนั ท่ี.........เดือน .................................. 2563 - มกี ารกำหนดปฏทิ นิ ทำความสะอาด (ถ้ามี ขอเอกสาร/ภาพถ่ายประกอบ) 8. แบบมกี ารประสานความรว่ มมือ อสม./ผนู้ ำชุมชน/เจา้ หนา้ ทร่ี พ.สต. เขา้ มามีส่วนร่วม (ถา้ มี ขอเอกสารประกอบ) 9 มกี ารกำหนดทำแนวทางการจัดการเรียนการสอน เพือ่ รองรับการเปดิ ภาคเรยี นในช่วง สถานการณ์ ปัญหาและความต้องการพฒั นาของโรงเรยี น .................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

40 แบบนิเทศ ติดตาม และประเมินผล การใช้สอ่ื และเทคโนโลยีในการจดั การเรยี นรู้ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลำภู เขต 2 คำช้ีแจง 1. แบบนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผล การใชส้ ่อื และเทคโนโลยีในการจัดการเรยี นรู้ เพื่อตดิ ตามผลการจัด การเรยี นการสอนโดยใชส้ อื่ และเทคโนโลยีในการจัดการเรยี นรู้ ทั้งหมดจำนวน 30 ข้อ แบ่งออกเป็น 4 ตอน ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ด้านเนอ้ื หา มี 9 ขอ้ ตอนท่ี 2 ด้านเทคโนโลยี มี 7 ขอ้ ตอนที่ 3 ด้านออกแบบกระบวนการเรียนรู้ มี 8 ข้อ ตอนที่ 4 ด้านการนำสื่อและเทคโนโลยีไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ มี 5 ขอ้ 2. เกณฑ์การประเมนิ กำหนดระดับคณุ ภาพเป็น 5 ระดับ ระดับคุณภาพ 5 หมายถงึ มีการใชส้ ื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ อยใู่ นระดบั มากที่สดุ ระดับคณุ ภาพ 4 หมายถึง มกี ารใช้สอื่ และเทคโนโลยใี นการจดั การเรียนรู้ อยู่ในระดับ มาก ระดับคุณภาพ 3 หมายถงึ มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรยี นรู้ อยู่ในระดบั ปานกลาง ระดับคุณภาพ 2 หมายถงึ มกี ารใชส้ อ่ื และเทคโนโลยใี นการจัดการเรียนรู้ อย่ใู นระดับ พอใช้ ระดับคณุ ภาพ 1 หมายถึง มีการใช้สอื่ และเทคโนโลยใี นการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดบั ปรบั ปรงุ ขอ้ มูลท่ัวไป 1. ชื่อโรงเรียน ...........................................................ศนู ย์เครอื ขา่ ยพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา................................. 2. ผอู้ านวยการโรงเรียน ชื่อ/สกุล ......................................................................................... โทรศัพท.์ ................... 3. ครูผู้รับการนิเทศ ช่อื /สกุล ................................................................................................ โทรศัพท์.................... 4. สอนระดับชน้ั ........................................................ วิชาทส่ี อน .........................................................................

ตอนที่ 1 ดา้ นเนื้อหา 41 รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 54321 1. มคี วามเหมาะสม สอดคลอ้ งกับสาระ และมาตรฐานการเรยี นรู้ 2. มีความสมบูรณ์ ถูกตอ้ งตามหลกั วิชา และทันสมยั ระดับคุณภาพ 3. สนับสนนุ ความกา้ วหนา้ และเพมิ่ พูนองคค์ วามรู้ให้แก่ผูเ้ รียน 54321 4. มคี วามยากงา่ ย เหมาะสมกบั ระดบั ชั้นของผู้เรียน 5. การจัดลำดับขนั้ การนำเสนอเน้อื หามีความเหมาะสม เขา้ ใจงา่ ย 6. ภาษาที่ใช้สอ่ื ความหมายสามารถเขา้ ใจได้ง่าย 7. ภาษาท่ใี ชม้ ีความเหมาะสมกับวัยและระดับชนั้ ของผเู้ รยี น 8. ภาษาทใ่ี ชม้ คี วามถกู ตอ้ ง ชดั เจน 9. มคี วามถกู ต้อง สอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ รวมคะแนน ระดับคุณภาพ ด้านเนอื้ หา ตอนท่ี 2 ดา้ นเทคโนโลยี รายการประเมิน 10. สอดคล้องกบั จุดประสงค์การเรยี นรู้ 11. เหมาะสมกบั ลกั ษณะเน้ือหาของบทเรยี น 12. เหมาะสมกับผู้เรยี น 13. ดงึ ดดู ความสนใจของผูเ้ รียน 14. เหมาะสมกับจำนวนผู้เรียนและกจิ กรรมการเรยี นการสอน 15. มีวธิ กี ารใชง้ า่ ย เกบ็ และบำรงุ รกั ษาไดส้ ะดวก 16. มคี วามเหมาะสมกับบริบท และสภาพแวดลอ้ ม รวมคะแนน ระดับคุณภาพ ดา้ นเทคโนโลยี

ตอนท่ี 3 ด้านออกแบบกระบวนการเรยี นรู้ 42 รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 54321 17. ออกแบบได้นา่ สนใจและเข้าใจง่าย 18. ความเหมาะสมของกราฟกิ ภาพประกอบ แผนภมู ิ 19. มคี วามเปน็ เอกภาพ เน้ือหา และภาพประกอบอยใู่ นแนวเดียวกัน 20. กจิ กรรมการเรียนรสู้ อดคล้องกับวัตถุประสงค์ 21. ใชค้ ำสั่งทช่ี ัดเจน เข้าใจง่าย 22. กระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการคดิ วิเคราะห์ เขา้ ใจเน้อื หานำไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ 23. จดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ได้เหมาะสมกับเนอ้ื หา เช่น ตวั อกั ษร สี และภาพประกอบ 24. เทคนคิ วธิ กี ารนำเสนอนา่ สนใจ ช่วยใหน้ ำเสนอเนอ้ื หาสาระได้ชัดเจนยิ่งขึ้น รวมคะแนน ระดับคุณภาพ ด้านออกแบบกระบวนการเรียนรู้ ตอนที่ 4 ดา้ นการนาสื่อและเทคโนโลยีไปใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 54321 25. ครมู ีการจดั เตรยี มคอมพวิ เตอร์ เครอื ข่ายอินเตอรเ์ นต็ และอุปกรณส์ ำหรับการสืบคน้ ขอ้ มูล 26. ครมู กี ารออกแบบการเรียนรู้โดยใชส้ ือ่ และเทคโนโลยีในการจดั การเรยี นรู้ได้อยา่ งเหมาะสม และสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา 27. ครูมีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ส่อื และเทคโนโลยีในการจดั การเรียนรู้ 28. ครูมกี ารนำแพลตฟอรม์ ไปใชใ้ นการจัดการเรยี นรูเ้ พอ่ื ให้เดก็ เกดิ องคค์ วามรู้ 29. ครูมกี ารใช้ Social Media ในการเข้าร่วมเครือขา่ ยชุมชนการเรยี นรู้ (PLC) 30. ครูมกี ารสร้างเนอ้ื หา ความรู้ เผยแพร่ และแลกเปลี่ยนเรยี นรู้กับเพื่อนครูได้ รวมคะแนน ระดับคุณภาพ ดา้ นการนำสือ่ และเทคโนโลยีไปใช้ในการจัดการเรยี นรู้ ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ............................. ผู้ติดตาม .........../............/...........

43 แบบนเิ ทศการดำเนินงานของสถานศกึ ษาทใี่ ชก้ ารศึกษา ทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) แบบนิเทศการจดั การเรียนการสอนของครูในสถานศกึ ษา ที่ใชก้ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) แบบประเมินสภาพการดำเนนิ งานตามยุทธศาสตร์ 4 5 6 (ฉบับ ประเมนิ ตามรายการ “4 ข้อพ้นื ฐาน”) ในสถานศึกษาทจี่ ดั การศกึ ษา โดยใชก้ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) แบบประเมนิ สภาพการดำเนินงานตามยทุ ธศาสตร์ 4 5 6 (ฉบับ ประเมินตามรายการ “5 ข้อผู้บรหิ ารจัดทำ”) ในสถานศกึ ษา ที่จดั การศึกษาโดยใชก้ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) แบบประเมนิ สภาพการดำเนินงาน ตามยทุ ธศาสตร์ 4 5 6 (ฉบับประเมนิ ตามรายการ “6 ขอ้ ครนู ำไปปฏบิ ตั ”ิ ) ในสถานศกึ ษาท่จี ัดการศกึ ษาโดยใช้การศกึ ษาทางไกล แบบสำรวจข้อผมา่ ูลนกดาารวดเำทเนียนิ มงา(นDLตTามVย)ุทธศาสตร์ 4 5 6 (6 06 ข้อ ครูนำไปปฏิบัติ) ของครูผสู้ อนทีจ่ ัดการศึกษาทางไกล ผา่ นดาวเทียม (DLTV) 07 แบบนเิ ทศ ติดตามการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้เทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) สำนกั งานเขตพน้ื ที่ การศกึ ษาประถมศึกษาหนองบวั ลำภู เขต 2

44 แบบนเิ ทศการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาที่ใช้การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลำภู เขต 2 คำชแ้ี จง 1. ผกู้ รอกขอ้ มูลนี้ คอื ผูบ้ ริหารสถานศึกษา 2. แบบสำรวจมวี ัตถุประสงค์เพอ่ื สำรวจข้อมูลสภาพการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาทใ่ี ช้ใน การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) จำนวน 4 ดา้ น เพ่อื ใช้เป็นข้อมูลในการนิเทศการจดั การเรียน การสอน ดงั น้ี ด้านที่ 1 การบริหารหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ด้านที่ 2 การสง่ เสรมิ การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ดา้ นท่ี 3 การสง่ เสรมิ วิธกี ารวดั และประเมินผลสู่คุณภาพแท้ ด้านที่ 4 การส่งเสริมสนบั สนนุ พลวตั ของการนเิ ทศภายใน 3. เกณฑก์ ารประเมิน แบง่ เป็น ไมไ่ ด้ปฏิบตั ิ 0 คะแนน ปฏบิ ัติ จำแนกเปน็ การปฏบิ ตั ิ 5 ระดบั รายละเอยี ดดังตาราง ลกั ษณะการปฏบิ ตั ิ ระดบั คะแนน คณุ ภาพ ปฏบิ ัติตามรายการครบถ้วน มีหลกั ฐานร่องรอยปรากฏชัดเจน และมีความถูกตอ้ ง ดมี าก 5 ปฏิบัติตามรายการครบถ้วน มหี ลักฐานร่องรอยปรากฏชัดเจน แตไ่ มถ่ ูกต้อง ดี 4 ปฏบิ ัติตามเปน็ บางรายการ มีหลกั ฐานร่องรอยปรากฏชดั เจน และมีความถูกต้อง ปานกลาง 3 ปฏิบตั ิตามเป็นบางรายการ มหี ลกั ฐานรอ่ งรอยปรากฏชดั เจน แต่ไม่ถูกตอ้ ง นอ้ ย 2 ปฏบิ ตั ิตามเป็นบางรายการ แตไ่ มม่ ีหลกั ฐานรอ่ งรอยปรากฏชัดเจน น้อยทส่ี ุด 1 สรปุ ผลการประเมนิ หมายถงึ อยใู่ นระดบั ดีมาก คะแนน 4.00 – 5.00 หมายถึง อยู่ในระดบั ดี คะแนน 3.00 – 3.99 หมายถงึ อยู่ในระดบั นอ้ ย คะแนน 2.00 – 2.99 หมายถึง อย่ใู นระดบั น้อย คะแนน 1.00 – 1.99 หมายถงึ อยู่ในระดับนอ้ ยท่สี ดุ คะแนน 0 – 0.99

45 แบบนิเทศการดำเนินงานของสถานศึกษาทีใ่ ช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) โรงเรียน....................................................ศูนยเ์ ครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษา..................................... คร้งั ท.่ี .......................................................วนั ทปี่ ระเมิน................................................................ คำชแี้ จง ใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย  ลงในชอ่ งตามสภาพความเปน็ จรงิ ของผตู้ อบแบบสำรวจ ท่ี รายการปฏบิ ตั ิงาน ระดบั คณุ ภาพ ไมป่ ฏิบตั ิ 54321 1. การบริหารหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 1.1 มีแนวทางการปรบั ใช้หลกั สูตรของสถานศกึ ษาให้สอดคลอ้ ง การจัดการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) 1.2 จดั ตารางเรยี นท่ีเหมาะสมกับการจดั การเรยี นรกู้ ารจัด การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) 1.3 มีแผนการจัดการเรยี นรู้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) พรอ้ มใช้ในการจัดการเรียนรู้ 1.4 มีการวางแผนการกจิ กรรมสอนเสริมนอกตารางเรยี น 2. การส่งเสริมการเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 2.1 จัดวัสดุ อุปกรณ์ ให้พรอ้ มสำหรบั ใช้ในการจดั การเรยี นการ สอน การจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) 2.2 มกี ารกำกบั ดูแลตดิ ตามให้ครูจัดเตรยี มเอกสาร ใบงานตาม คู่มอื ครพู ระราชทาน / แผนการจดั การเรยี นรู้ 2.3 มีการกำกบั ดูแลการบำรุงรกั ษาอปุ กรณ์ เคร่ืองมอื สำหรับ การจดั การเรียนการสอนการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ให้สามารถพรอ้ มใช้งานอยเู่ สมอ 2.4 กำกับ ดูแลให้ครูจัดการเรียนการสอนตามครูสถานศึกษาต้นทาง 2.5 กำกับ ดแู ลให้ครูจัดกระบวนการเรียนรเู้ พิ่มเตมิ เพอ่ื ให้ นกั เรียนมีทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 2.6 กำกับดูแลจัดให้มีรายละเอยี ดของนักเรยี นที่ต้องสอนซ่อมเสรมิ 2.7 มกี ารจดั การเรยี นการสอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนครบตาม โครงสรา้ งหลกั สูตร 3. การสง่ เสริมวิธีการวดและประเมนิ ผลสูค่ ุณภาพแท้ 3.1 กำกับ ดูและให้มกี ารวดั ผลและประเมนิ ผลนกั เรียน ในช่วง ก่อนเรียนตอนต้นปีการศกึ ษา/ต้นภาคเรยี น โดยใชข้ อ้ ทดสอบกลาง

46 ท่ี รายการปฏบิ ัติงาน ระดับคณุ ภาพ ไม่ปฏบิ ตั ิ 54321 3.2 กำกับ ดแู ลใหม้ วี ัดผลและประเมินผลนกั เรยี นในช่วงระหวา่ งเรยี น โดยใชข้ ้อทดสอบกลาง ตามกำหนดระยะเวลาท่ี สพฐ. กำหนด 3.3 กำกบั ดแู ลใหม้ ีวดั ผลและประเมินผลนกั เรยี น ในชว่ งระหว่างเรียนโดยการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ 3.4 กำกบั ดูแลใหม้ พี ฒั นานกั เรียนเปน็ รายบุคคล โดยใช้ ข้อมูลจากการทดสอบนักเรยี นทใ่ี ชข้ อ้ ทดสอบกลาง ในชว่ งระหว่างเรียน มาเป็นฐานในการพัฒนา 3.5 กำกบั ดแู ลใหม้ ีพัฒนานักเรียนเปน็ รายบุคคล โดยนำขอ้ มลู การประเมนิ ผล ตามสภาพจริง มาเปน็ หลักฐานในการพฒั นา 3.6 กำกบั ดูแลให้มวี ดั ผลและประเมนิ ผลนกั เรยี น หลงั การเรียน ปลายปกี ารศกึ ษา/ปลายภาคเรยี น โดยใชข้ ้อทดสอบกลาง ตามกำหนด ระยะเวลาท่ี สพฐ. กำหนด 4 การสง่ เสริมสนบั สนนุ พลวตั ของการนิเทศภายใน 4.1 มีการแตง่ ต้งั คณะกรรมการนิเทศภายใน 4.2 มกี ารวางแผนการดำเนนิ การนเิ ทศ และมีแนวทางการนิเทศ ภายในอยา่ งเปน็ ระบบ ชัดเจน 4.3 มนี วัตกรรมการนิเทศของตนเอง 4.4 ดำเนินการตามกระบวนการนิเทศตามแผนงาน 4.5 นเิ ทศ ติดตาม ใหค้ ำแนะนำการจัดการเรียนการสอนทางไกล ผ่านดาวเทียมอย่างสมำ่ เสมอ 4.6 กำกบั ดูแลการจดั เตรยี มเอกสาร ร่องรอยการปฏิบัตงิ าน ตามปฏิทินการนิเทศภายในของสถานศึกษา 4.7 กำกับ ติดตามการพัฒนางานของครูท่ีดำเนนิ การตามคำแนะนำ ทไี่ ดร้ บั จากการนิเทศ 4.8 กำกบั ดูแลการบันทึก และรายงานผลการพฒั นางาน ในหนา้ ท่ขี องครทู ไ่ี ด้รบั คำแนะนำจากการนิเทศ 4.9 มีการสรา้ งเครือข่าย PLC ในสถานศกึ ษา/นอกสถานศึกษา รวม เฉลีย่

47 ปญั หา/อุปสรรคในการดำเนนิ งาน.......................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ขอ้ คดิ เห็น และขอ้ เสนอแนะ................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. (ลงชอื่ ).................................................ผูน้ ิเทศ (.....................................................) ตำแหน่ง............................................. วนั ท่ี.............................................