ภาพการเตรียมการกอ่ นเข้าชารจ์ ตบเทา้ และเคาะโล่แสดงความพร้อม หมายเหตุ การชาร์จหรอื รุก เป็นการใชก้ �าลงั ทก่ี ระทบร่างกายผูช้ ุมนุมตอ้ งมกี ารแจ้งเตือนก่อนเสมอ ๑๑.๓ ยทุ ธวิธกี ารชว่ ยเหลอื เจ้าหน้าทต่ี า� รวจผ้บู าดเจ็บ การควบคมุ ฝงู ชน ไมว่ า่ ดว้ ยรปู แบบหรอื วธิ กี ารใด หรอื ใชเ้ ทคนคิ เชน่ ใด โอกาสทจี่ ะไดร้ บั บาดเจบ็ ไมว่ า่ เกดิ จากผชู้ มุ นมุ หรอื เกดิ จากอบุ ตั เิ หตยุ อ่ มมขี น้ึ ไดต้ ลอดเวลา หรอื แมก้ ระทงั่ ฝงู ชนหรอื ประชาชนอนื่ ๆ กย็ อ่ ม มโี อกาสไดร้ บั บาดเจบ็ จากการใชก้ า� ลงั ไดต้ ลอดเวลา โดยเฉพาะการใชก้ า� ลงั ทรี่ ุนแรงของฝงู ชนท่แี ปรสภาพเป็น ฝูงชนไรร้ ะเบยี บ (Mob) ดังนัน้ กองกา� ลังควบคุมฝูงชนท่ีเข้าปะทะจะต้องเรียนรูฝ้ ึกฝนการช่วยเหลือผ้บู าดเจ็บ อย่างทนั ท่วงที และปอ้ งกันไม่ให้เกดิ การบาดเจ็บสูญเสียเพมิ่ ขึ้นอีก การชว่ ยเหลอื ผบู้ าดเจบ็ ซงึ่ อาจเปน็ เจา้ หนา้ ท ่ี หรอื ประชาชนกต็ าม จะดา� เนนิ การอย ู่ ๒ ขน้ั ตอน คือ 1) การน�าพาเคลอื่ นยา้ ยผู้บาดเจ็บ ๒) การจดั ใหอ้ ยใู่ นทา่ พกั ฟน้ื รอการชว่ ยเหลอื จากชดุ ปฐมพยาบาลหรอื ชดุ ขนยา้ ยผบู้ าดเจบ็ ไป โรงพยาบาล การนา� พาเคลอ่ื นยา้ ยผบู้ าดเจบ็ จะดา� เนนิ การโดยอตั โนมตั เิ มอ่ื มโี อกาส หรอื โดยการสงั่ การกไ็ ด ้ หากมกี ารออกค�าสงั่ คา� บอกคา� สั่งจะเปน็ ดังตอ่ ไปน้ี ค�าบอกค�าสง่ั “ทีม.......” “ชว่ ยเหลือต�ารวจบาดเจ็บ” “GO” ในขณะท่เี จา้ หนา้ ที่ (พลกระบอง) เข้าชว่ ยเหลอื ผูบ้ าดเจ็บ พลโลท่ ัง้ สองนายของทมี จะตอ้ งเขา้ ท�าหน้าท่ีคุ้มกัน ป้องกันฝูงชนท่ีจะเข้ามาท�าร้ายเจ้าหน้าท่ีที่ช่วยเหลือเสมอ โดยให้แนวโล่หันไปทางผู้ชุมนุม หรือฝงู ชนเสมอ และเม่ือเจ้าหน้าท่ีผู้ช่วยเหลอื ผู้บาดเจบ็ อุ้มคนเจบ็ ไดแ้ ลว้ กต็ ้องให้สญั ญาณ “Go” เพอ่ื ส่วนที่ ท�าหน้าที่คมุ้ ครองจะไดท้ ราบและใช้เทคนคิ การถอยป้องกันจนกระทงั่ อยู่ในพ้นื ท่ปี ลอดภัย (Cordon) 1๘๖ ค่มู อื การปฏิบตั ิงานตามพระราชบญั ญัติการชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชุมนมุ สาธารณะ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 186 11/17/2563 BE 12:40 PM
๑. เทคนคิ การน�าพาผูบ้ าดเจ็บ เจา้ หนา้ ทคี่ นแรกจะเขา้ ไปขา้ งหลงั ผบู้ าดเจบ็ สอดมอื เขา้ ไปจบั มอื ซา้ ยและมอื ขวาของผบู้ าดเจบ็ ในทา่ กอดอก โดยให้ล�าตัวเจา้ หนา้ ท่ชี ดิ กบั ผ้บู าดเจบ็ หากเจา้ หนา้ ทเ่ี ขา้ ชว่ ยผบู้ าดเจบ็ เพยี งคนเดยี ว เมอ่ื กอดรวบผบู้ าดเจบ็ ไดแ้ ลว้ จะเดนิ ถอยหลงั ลักษณะลากไปโดยทันที แต่ถ้ามีเจ้าหน้าท่ีสองนาย เจ้าหน้าที่คนท่ีสองจะเข้ามารวบขาท้ังสองของผู้บาดเจ็บ ใหอ้ ยูใ่ นแนวล�าตัว และใหล้ �าตวั เจา้ หนา้ ท่ีอยูร่ ะหวา่ งขาท้งั สองของผู้บาดเจบ็ โดยหนั หน้าไปทางด้านเดยี วกัน กับเจา้ หนา้ ทคี่ นแรก จากน้ันไม่ตอ้ งวง่ิ น�าพาถอยหลงั แต่ให้ว่งิ ไปขา้ งหนา้ แทน ลักษณะการน�าพาอีกแบบหน่ึงคือการใช้บ่าของเจ้าหน้าที่แบกล�าตัวของผู้บาดเจ็บ แต่จะ ใชเ้ ฉพาะกรณฝี งู ชนกา้ วร้าวและตอ้ งน�าพาผู้บาดเจ็บออกไปอยา่ งเรง่ ด่วนเท่านน้ั ขณะด�าเนินการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ จะต้องมีทีมหรือชุดอีกส่วนหนึ่งเข้าท�าการคุ้มกัน ป้องกนั ไม่ใหผ้ ้ชู ุมนุมเข้ามาทา� ร้ายเจา้ หน้าท่ที ี่ทา� การชว่ ยเหลอื ผู้บาดเจบ็ ได้ ๒. เทคนิคการจดั ท่าผ้บู าดเจ็บเพ่อื พักฟนื้ รอการสง่ กลบั (Recovery Position) เมื่อผู้บาดเจ็บมาอยู่ในพ้ืนที่ปลอดภัยแล้วให้จัดเตรียมท่าทางของผู้บาดเจ็บอยู่ในลักษณะ พักฟ้ืน เพ่อื รอเจา้ หน้าที่พยาบาลมาปฐมพยาบาลตอ่ ไป โดยมีขน้ั ตอนการปฏิบตั ิ ๒ ขน้ั ตอนดังต่อไปน้ี ข้ันตอนแรก ก่อนการจัดทา่ ทางพักฟนื้ - ตรวจสอบความรสู้ ึกและสตสิ ัมปชญั ญะของผ้บู าดเจบ็ โดย 1) การตนื่ ตวั พยายามให้ผ้บู าดเจบ็ ตอบคา� ถามเรา ๒) ทดสอบสงั่ การกับผบู้ าดเจ็บ ถ้ายังไมพ่ ูด ๓) ทดสอบอาการเจบ็ ดว้ ยการหยกิ ตรงบริเวณผิวหนังผู้บาดเจ็บ ๔) ถา้ ยงั ไมร่ ูส้ กึ ให้ตะโกน ใหผ้ ูอ้ ืน่ ช่วยทนั ที - ปลดเปลอื้ งสิ่งทีร่ ัดตัวผู้บาดเจบ็ ให้หลวม หรือถอดออก เชน่ หมวก เสอื้ คอเสอ้ื ที่รดั รปู เปน็ ต้น - ใหผ้ บู้ าดเจบ็ นอนลงเปดิ ชอ่ งลมโดยการใชม้ อื ขา้ งหนงึ่ กดทห่ี นา้ ผาก สว่ นอกี ขา้ งดนั คางขน้ึ อย่างเบา ๆ - ดสู งั เกตไม่ให้มสี ่งิ ใดอยใู่ นปาก - ดูสงั เกตหนา้ อกมีการหายใจขยับหรอื ไม่ - ฟงั การหายใจประมาณ 1๐ วนิ าที - ใชแ้ ก้มชดิ ใกลก้ ับจมกู ผปู้ ่วยเพือ่ สมั ผัสว่ามีการหายใจหรอื ไม่ ขนั้ ตอนทสี่ อง การจัดท่าพักฟ้ืน 1. ใหข้ าผูบ้ าดเจ็บเหยียดตรง แขนทง้ั สองกางออก แล้วน�าแขนซ้าย (ขวา) ยกข้นึ โดยจับ ท่ีข้อศอกน�ามือซา้ ย (ขวา) เหนอื ศรี ษะผูบ้ าดเจบ็ ๒. นา� องุ้ มอื ขวาประสานกบั องุ้ มอื ขวาผบู้ าดเจบ็ แลว้ ยกมาไวใ้ กลก้ บั ศรี ษะดา้ นซา้ ยผบู้ าดเจบ็ อย่างน่มุ นวล ๓. ถอยหลังไปเล็กนอ้ ย แล้วจับทีข่ อ้ เข่าขวาของผู้บาดเจบ็ พลิกมาดา้ นซ้าย ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ านตามพระราชบัญญัติการชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชมุ นุมสาธารณะ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) 1๘๗ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 187 11/17/2563 BE 12:40 PM
๔. ให้ผู้บาดเจ็บนอนตะแคง เปิดปากไว้ หาผ้าห่มคลุมผู้บาดเจ็บไว้ และตรวจสอบ การหายใจทุกนาที สรปุ การช่วยเหลอื จดั ท่าพักฟ้ืนเพ่อื ชว่ ยชีวิต ให้สภาพบาดเจบ็ ไม่เลวร้ายลง ลดอาการ บาดเจ็บ ก่อนน�าสง่ โรงพยาบาลต่อไป ๑๑.๔ ยทุ ธวธิ กี ารจบั กมุ ผู้ชุมนมุ (Arrest methods) การจบั กมุ ในฝงู ชนจะมหี ลกั การปฏบิ ตั ทิ แี่ ตกตา่ งจากการจบั กมุ โดยทว่ั ไปซงึ่ ไดแ้ ก ่ การจบั กมุ ณ พน้ื ทสี่ าธารณะทวั่ ไป ณ จดุ ตรวจ หรอื การจโู่ จมเขา้ คน้ บา้ นแลว้ จบั กมุ เพราะการจบั กมุ ในฝงู ชนหรอื ผชู้ มุ นมุ จะเปน็ การเข้าจับกุมภายใต้ความกดดันสูงเพราะผู้ชุมนุมย่อมมีจ�านวนมากกว่าเจ้าหน้าท่ีต�ารวจ ดังนั้น หากไม่มี ความจ�าเปน็ อย่างย่ิงยวดจะไม่มีการเขา้ ไปประชิดจบั กุมผู้ชุมนุม เว้นแตก่ รณที ี่ผชู้ ุมนมุ กา้ วร้าวเขา้ หาปะทะกับ เจ้าหนา้ ท่ตี �ารวจ ดังน้ัน เพ่อื ไม่ใหเ้ กดิ อนั ตราย หรอื ถูกรุมทา� รา้ ย เจา้ หน้าท่ตี ้องใชค้ วามรวดเร็วในการจับกมุ เป็นอยา่ งย่ิงและตอ้ งสามารถน�าพาออกจากพน้ื ท่ีชุมนุมหรอื แนวปะทะไดโ้ ดยทันท ี น�าไปสพู่ ื้นทีป่ ลอดภัยหรอื ในวงล้อมของเจ้าหน้าท่ีและกักตัวไว้ในยานพาหนะหรือสถานีที่พักรอก่อนเพื่อส่งต่อไปยังพนักงานสอบสวน ดังน้ัน เทคนิคท่ีใช้ในการปฏิบัติ (การจับกุมฝูงชนท่ีชุมนุม) จึงมีความแตกต่างกับเทคนิคการจับกุมโดยท่ัวไป ดว้ ยเช่นกัน การจับกุมนี้ไม่ใช่การจับกุมขนาดใหญ่ แต่เป็นการจับกุมในขีดจ�ากัดที่มีจ�านวนไม่มาก เพื่อเป็นการลิดรอนและยับย้ังไม่ให้ฝูงชนกระท�าผิดมากข้ึน เป็นการข่มขวัญให้ฝูงชนเกรงกลัว เกรงขาม โดยเจ้าหน้าท่ีควบคุมฝูงชนได้แสดงถึงความจริงจัง เด็ดขาดในการปฏิบัติหน้าท่ีไม่ให้ฝูงชนกระท�าความผิด เลก็ ๆ นอ้ ย ๆ และทา� ใหฝ้ งู ชนอยใู่ นการควบคมุ ใหไ้ ดม้ ากทสี่ ดุ ซง่ึ หมายความวา่ กองรอ้ ยควบคมุ ฝงู ชนสามารถ ควบคมุ สถานการณไ์ วไ้ ด้มากที่สุด เม่ือมีการจับกุมผู้ชุมนุมท่ีผิดกฎหมายหรือขัดขวางหรือขัดค�าสั่งเจ้าหน้าที่ทุกเทคนิคท่ีใช ้ จะตอ้ งมกี ารจัดชดุ หรอื ส่วนคุ้มกันสนบั สนนุ ทันท ี ไมว่ า่ จะเปน็ บัดดท้ี มี (พลโล่ของบดั ด้ที มี ตนเอง) ทมี หมู่ หรอื แมก้ ระทง่ั หมวดอนื่ ๆ ทกุ ครง้ั เพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หช้ ดุ จบั กมุ ถกู ทา� รา้ ยหรอื ไดร้ บั อนั ตรายจากฝงู ชนตามแตล่ ะ สถานการณ์ความรุนแรงท่ีอาจเกิดข้ึน เทคนิคที่ใช้อาจใช้การเข้าชาร์จแล้วท�าแนวโล่ก้ันการด�าเนินการของ ชดุ จบั กมุ ก็ได้ คา� บอกค�าสั่งเพอื่ ใหม้ ีการจบั กมุ มดี งั น้ี “จับกมุ แบบท ี่ .......” “GO” ๑. เทคนิคการจับกุมแบบท่ี ๑ ลกั ษณะการจบั กมุ แบบน ้ี เปน็ การจบั กมุ ทา่ คลอ้ งแขนดา้ นขา้ ง (Shoulder and Arm Lock) ซง่ึ โดยปกต ิ ทา่ การจบั กมุ แบบนจี้ ะใชใ้ นการจบั กมุ ทว่ั ไป โดยจะใชเ้ จา้ หนา้ ทค่ี นเดยี วเขา้ จบั กมุ และมกั จะตามดว้ ย การท�าให้ล้ม (Take down) เสมอ แต่ในสถานการณ์ควบคุมฝูงชนจะต้องใช้ก�าลังเจ้าหน้าที่ผู้ท�าการจับกุม ๒ คน โดยคลอ้ งแขนคนละขา้ งของผถู้ กู จบั กมุ จากนน้ั เคลอ่ื นทไ่ี ปในทศิ ทางขา้ งหนา้ ของตนเอง เพอ่ื พาใหผ้ ถู้ กู จบั ซง่ึ ถกู ขดั หวั ไหลแ่ ละขอ้ แขนจะตอ้ งเคลอ่ื นทต่ี ามไปทนั ท ี โดยไมใ่ หม้ เี วลาหรอื โอกาสทผี่ ชู้ มุ ชมุ อน่ื ๆ จะเขา้ มาชว่ ย หรอื มาทา� ร้ายผจู้ บั กุมได้ทัน 1๘๘ คู่มือการปฏบิ ตั ิงานตามพระราชบัญญตั กิ ารชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 188 11/17/2563 BE 12:40 PM
ส�าหรับท่านี้ เม่ือปฏิบัติได้ถูกต้องผู้ถูกจับกุมจะเกิดอาการเจ็บท่ีข้อต่อหัวไหล่และข้อแขน แตไ่ ม่มอี ันตราย นอกจากนย้ี งั ท�าใหผ้ ู้ถูกจับกุมเสียสมดลุ ในการยนื และไม่สามารถต่อส้ขู ดั ขวางได้ เทคนิคท่ีใช้ผู้จับกุมจะต้องท�าให้แขนตนเองที่คล้องตึงและกดชิดกับหัวเข่าของเจ้าหน้าท ่ี ในทางตรงขา้ มให้แขนของผ้ถู กู จบั งอโดยเฉพาะทข่ี อ้ ศอก ๒. เทคนิคการจบั กุมแบบที่ ๒ การจบั กมุ แบบน ี้ จะใชเ้ จา้ หนา้ ทต่ี า� รวจ ๒ คนเสมอ โดยผจู้ บั กมุ แตล่ ะคนจะใชแ้ ขนคนละขา้ ง กับการจับกุมแบบท่ี 1 นอกจากน้ีจะต้องใช้มือที่สอดคล้องแขนผู้ถูกจับมาจับประสานกันด้วย ส่วนมือ ท่ีเหลอื ใหส้ อดไประหวา่ งขาของผ้ถู กู จบั กุมและยกห้วิ ขนึ้ เมื่อมกี ารยกหิว้ ข้นึ ผู้ถกู จับกมุ โดยธรรมชาติท่ีกลวั จะลม้ หวั ฟาดก็จะเกรง็ แขนยดึ แขนของ เจ้าหนา้ ทผ่ี ู้จบั กมุ อย่างแนน่ ซง่ึ ทา� ใหก้ ารนา� พาเคล่ือนย้ายสามารถทา� ได้อย่างรวดเร็ว ๓. เทคนิคการจบั กุมแบบท่ี ๓ การจับกุมแบบท่ี ๓ น ้ี จะแตกตา่ งจากการจบั กุมทง้ั สองแบบขา้ งตน้ กลา่ วคือ ทัง้ แบบท ่ี 1 และที่ ๒ เจ้าหน้าท่ีผู้จับกุมซ่ึงปกติจะใช้พลกระบองของทีมวิ่งจู่โจมเข้าไปในกลุ่มฝูงชนก่อน แล้วท�าการเข้า จบั กมุ โดยมชี ดุ หรอื ทีมคมุ้ กันเสรมิ วงิ่ ตามเขา้ มาก้นั ผชู้ มุ นมุ ทีไ่ มเ่ กย่ี วข้อง แตส่ �าหรบั การจับกมุ แบบน้ีไม่ตอ้ งว่งิ หรือจู่โจมเข้าหาฝูงชน เน่ืองจากจะจับกุมเฉพาะผู้ชุมนุมที่ก้าวร้าวเข้ามาประชิดโล่ หรือเข้ามาท�าร้ายพลโล่ โดยการผลกั ดัน หรอื ถบี โล่ เม่ือได้จังหวะพลโล่ท้ังสองท่ีถูกผลักจะให้สัญญาณและพลิกโล่เปิดช่องให้ผู้ถูกจับเข้าไป ในพื้นท่ีของกองก�าลัง (Cordon) จากนั้น พลกระบองที่อยู่แถวหลังจะเข้าท�าการจับกุมทันทีซึ่งจะใช้เทคนิค การจับกุมทั่วไปซึ่งจะเป็นแบบที่ 1 หรือแบบที่ ๒ หรืออื่น ๆ ก็ได้ จากน้ันก็น�าตัวไปส่งต่อยังชุดท่ีควบคุม ผถู้ กู จบั เพ่อื กักตวั ยงั รถควบคุมผูต้ อ้ งหาหรอื น�าสง่ สถานตี �ารวจแล้วแตก่ รณี ๔. เทคนิคการจบั กมุ แบบท่ี ๔ การจบั กมุ แบบท ่ี ๔ ใชส้ า� หรบั การจบั กมุ ผชู้ มุ นมุ ทนี่ ง่ั หรอื นอนในพนื้ ทห่ี วงหา้ ม เมอื่ มกี ารเตอื น และสั่งการให้ออกจากพื้นที่หวงห้ามก็ไม่ปฏิบัติตาม ท่าจับกุมน้ีมีลักษณะเช่นเดียวกับการจับกุมด้วยท่าหัก ข้อมือน�าพา (Escort Lock) ท่านี้สามารถประยุกต์ใช้กับผู้หญิง/พระได้เพราะไม่ต้องอุ้มหรือหิ้วแบบท่าที่ 1 หรือ ๒ อย่างไรก็ตาม การประยุกต์เทคนิคการจับกุมท่าหักข้อมือน�าพาแบบท่ี ๔ นี้ จะต้องใช้ เจ้าหนา้ ท่ีจ�านวน ๒ คนเสมอ และเข้าดา� เนินการจบั กุมพรอ้ มกนั ๆ ทง้ั สองขา้ งของผู้ถูกจบั ซง่ึ จะแตกต่างจาก การจบั กมุ ทว่ั ไปทใี่ ชผ้ จู้ บั กมุ เพยี งคนเดยี ว และเมอ่ื จบั หกั ขอ้ มอื ไดแ้ ลว้ จะตอ้ งรบี นา� พาออกจากทชี่ มุ นมุ โดยทนั ท ี เพอ่ื สง่ ต่อใหช้ ดุ สนับสนนุ หรอื ส่วนอ�านวยการดา� เนนิ การกกั หรือควบคมุ ตัวตอ่ ไป เมื่อเจ้าหน้าท่ีผู้ท�าการจับกุมได้ส่งตัวผู้ถูกจับไปให้เจ้าหน้าท่ีในส่วนพื้นที่ปลอดภัยแล้ว ใหร้ บี กลับเข้าสหู่ นา้ ทปี่ กตใิ นรปู ขบวนหรอื ในแนวปะทะ เพื่อดา� เนนิ กลยทุ ธต์ ามแต่ผู้ควบคุมก�าลงั สัง่ การต่อไป คูม่ ือการปฏบิ ัติงานตามพระราชบัญญตั ิการชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) 1๘๙ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 189 11/17/2563 BE 12:40 PM
๑๑.๕ ยุทธวธิ ยี านพาหนะ (Crowd Control with Vehicles) การลงและขน้ึ ยานพาหนะ (Embarking & Disembarking) และการเขา้ ประจ�ารปู ขบวน หรือวางก�าลัง (Take position) จุดประสงค์ เพื่อให้ก�าลังกองร้อยควบคุมฝูงชน ซ่ึงมากับยานพาหนะโดยเฉพาะรถตู้ของทาง ราชการ ตาม ผนวก ช (ธุรการและการส่งก�าลังบ�ารุง) ประกอบแผนรักษาความสงบ (กรกฎ/๕๒) สามารถ ปฏิบัตหิ นา้ ทไี่ ด้ทนั ทีอย่างมีประสทิ ธิภาพและปลอดภยั ในขณะทหี่ ยุดยานพาหนะทีข่ นสง่ ณ ทห่ี มาย และเขา้ ประจ�ารูปขบวนควบคมุ ฝงู ชน ในรถตู้ 1 คันจะประกอบไปดว้ ย ผบ.หม ู่ ซงึ่ จะน่ังข้างหน้าดา้ นพลขบั (นง่ั คกู่ บั พลขับ) กา� ลงั ของลกู แถวซง่ึ ประกอบไปดว้ ยทมี บดั ดท้ี มี จะนงั่ อยใู่ นสว่ นหลงั ทง้ั หมดโดยเรยี งลา� ดบั เปน็ บัดด้ที ีม ก่อนที่ยานพาหนะจะถึงท่ีหมายและหยดุ ให้ผู้บังคบั หมู่ออกคา� ส่ังดังตอ่ ไปนี้ ➢ หม่.ู .. พร้อมลงจากรถด้านซา้ ย “Unit ready to debus on the left side” ➢ ใชอ้ ปุ กรณ/์ ไมใ่ ชอ้ ปุ กรณ ์ “With/without equipment” แลว้ แตส่ ถานการณแ์ ละฝา่ ยตรงขา้ ม ➢ ลงแบบแถวเดียว/สองแถว “In one/two columns” ➢ ถือโล่ข้างซ้าย/ขวา “Shield holders on the left/on the right” ➢ อยู่ในท่ารอสัง่ /พรอ้ มใช ้ “Stand by-/ready position” ➢ กระบองเก็บท่ีเอว/พรอ้ มใช้ “Baton to the belt/in ready position” ➢ รายงานเม่ือพรอ้ ม “Report as soon as ready” ➢ “Go” เม่อื รถหยดุ ให้ - ทมี ท่ ี 1 ลงมาก่อน โดยบดั ด้ที มี ขวา พลโลล่ งมาก่อนตามด้วยพลกระบองลงมาแลว้ ใหร้ บี จบั ไหลท่ นั ที - ตอ่ มาบดั ดที้ มี ซา้ ยลงตามโดยใหพ้ ลโลล่ งมากอ่ นและพลกระบองลงตามมาแลว้ รบี จบั ไหลเ่ ชน่ กนั - เมอื่ ครบ ๒ บดั ด้ีทมี แลว้ ใหห้ วั หนา้ ทมี ลงจากรถจับไหลห่ รือเอวพลกระบองทัง้ ซ้ายขวา และ เรมิ่ น�าทีมเคลือ่ นทีเ่ ปดิ พ้นื ท่ีใหท้ ีมที่ ๒ ลงตามมาตามลา� ดับเชน่ เดียวกับทีมท่ี 1 - เม่ือครบท้ังสองทีมแล้วให้ ผู้บังคับหมู่ลงเป็นคนสุดท้ายเข้าไปควบคุมทั้งสองทีม โดยอยู่ หลงั สุดส่ังการใหไ้ ปทางซา้ ย ทางขวา ข้างหน้า หยุด หรอื ถอย หรือด�าเนินกลยทุ ธอ์ ่นื ๆ เช่น ประกอบก�าลงั กบั รถต้อู กี คนั เปน็ ๒ หมู่ หรอื แบ่งทีมจบั กมุ เป็นต้น ลักษณะการกลับเข้ามาขึ้นรถยานพาหนะก็ท�าลักษณะกลับกันโดยผู้ที่ลงรถท้ายสุดจะกลับมา ขึน้ รถกอ่ นสุด ดังนนั้ พลโลท่ ลี่ งจากรถกอ่ นสุด ก็จะต้องข้นึ รถเปน็ คนสุดท้ายสุด โดยอยู่ในทา่ Active Guard มโี ลป่ อ้ งกันตลอดเวลา เม่ือลงจากรถแลว้ ใหร้ ะวังรถทางดา้ นขา้ งและดา้ นหลังด้วย ซ่งึ ผบ.ร้อย อาจส่งั การให ้ บก.ร้อย เขา้ ระวังยานพาหนะพรอ้ มกับ พลขับ ดว้ ยก็ไดข้ ณะทีก่ า� ลงั ส่วนใหญม่ ภี ารกิจตอ้ งไปปะทะควบคุมฝูงชน 1๙๐ คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านตามพระราชบัญญัตกิ ารชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชมุ นมุ สาธารณะ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 190 11/17/2563 BE 12:40 PM
ตามภาพการขนึ้ และลงรถยานพาหนะ (รถตขู้ องทางราชการ) ดังตอ่ ไปน้ี จะลงจากรถล�าดับแรกโดยพลโล่ตามดว้ ยพลกระบอง จะลงจากรถล�าดบั ทสี่ องโดยพลโลต่ ามดว้ ยพลกระบอง หน.ทมี 1 จะลงจากรถเป็นลา� ดับทสี่ ามเพอ่ื คมุ ทมี จะลงจากรถล�าดับที่สโี่ ดยพลโลต่ ามด้วยพลกระบอง จะลงจากรถล�าดับท่หี า้ โดยพลโล่ตามดว้ ยพลกระบอง หน.ทีม ๒ จะลงจากรถเป็นลา� ดบั ทหี่ กเพอ่ื คุมทีม และ ผบ.หม ู่ จะลงจากรถเป็นคนสดุ ทา้ ย เพื่อควบคมุ ท้ังหมด ในทางกลบั กนั หากจะขน้ึ รถแลว้ ผบ.หมจู่ ะขนึ้ กอ่ น แลว้ เรยี งยอ้ นไป โดยผทู้ ล่ี งกอ่ นใครจะตอ้ ง ข้ึนหลังคนนั้น ท้ังนีจ้ ะต้องทา้ ยสดุ พลโล่ขวาของทีม 1 จะขน้ึ เปน็ คนสดุ ท้ายโดยมีโลป่ อ้ งกันอันตรายจากการ ขวา้ งปาสิง่ ของดว้ ย หลงั จากการลงรถและสามารถจดั รปู ขบวนเปน็ ทมี ไดร้ ะดบั หนงึ่ แลว้ กจ็ ะรวมกนั เปน็ หม ู่ หมวด กองรอ้ ย ตามลา� ดบั โดย ผบ.รอ้ ย เป็นผอู้ อกคา� สัง่ สร้างพน้ื ท่ีปลอดภัย (To set up a cordon) หรอื ประจา� ที่ รูปขบวน ณ ทใ่ี ดท่หี นง่ึ อกี แห่งหนง่ึ (To take a new position) ตาม ข้อ ก. (Foot Tactics) ข้างต้น คู่มือการปฏบิ ัตงิ านตามพระราชบัญญตั ิการชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) 1๙1 ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 191 11/17/2563 BE 12:40 PM
๑๑.๖ เทคนิคทางยุทธวิธใี นการเคลยี รพ์ น้ื ท่ี (The Clearing Wave) เทคนิคนี้เป็นรูปแบบขบวนหน่ึงของกองร้อยใช้ในการผลักดันปะทะกับฝูงชน เพื่อให้ฝูงชน ออกไปจากพน้ื ทหี่ วงหา้ ม ไปในเสน้ ทางตา่ ง ๆ โดยใชเ้ ทคนคิ การเดนิ เขา้ ปะทะเปน็ หลกั ไมว่ า่ ฝงู ชนจะอยใู่ นความสงบ หรือต่อต้าน หรือถึงขนาดแสดงความก้าวร้าวรุนแรง ก็ตาม แต่หากได้รับการต่อต้านจากฝูงชน ผบ.ร้อย ตอ้ งสั่งหยุดการเคลยี ร์พื้นท่ีและใหป้ รบั รูปขบวนอนื่ ๆ เข้าปะทะโดยทนั ที สถานการณ์ทแี่ ตกต่างกนั การจัดส่วนปะทะจะแตกต่างกนั ดงั น้ี 1) สถานการณ์ทฝ่ี งู ชนอยู่ในความสงบ (Crowd Clam) - จะส่งั ให้พลโลแ่ ละพลกระบอง อย่ใู นแถวเดียวกนั ข้างหน้าแลว้ เดนิ ผลักดัน ๒) สถานการณ์ทฝ่ี งู ชนอย่ใู นภาวะขดั ขวางตอ่ ตา้ น (Crowd Hostile) - จะส่ังให้พลกระบองอยู่ในแถวปะทะข้างหน้าแถวเดียวกัน ส่วนพลโล่อยู่แถวหลัง โดยพลกระบองอยใู่ นท่ากระบองทอ่ี กเตรยี มผลกั อก หรือท่าพรอ้ มใช้กระบอง ๓) สถานการณ์ท่ฝี งู ชนอย่ใู นภาวะขดั ขวางตอ่ ตา้ นอย่างเกรี้ยวกราด (Crowd Aggressive) - จะส่ังใหพ้ ลโล่อยู่ในแถวปะทะข้างหนา้ แถวเดยี วกัน ส่วนพลกระบองอยูแ่ ถวหลัง - ถ้าฝูงชนต่อต้านรุนแรง และสถานการณ์มีความจ�าเป็นท่ีต้องใช้แก๊สน้�าตาก็สามารถส่ัง ใหใ้ ช้แก๊สน้�าตาได้ เพือ่ รักษาระยะห่างระหวา่ งกองก�าลังกบั ฝูงชน (Safety Gap) - สามารถสงั่ ให้ปรับรปู ขบวนทา� การชารจ์ ได้ การออกค�าสง่ั เปน็ ดังต่อไปนี้ “เคลยี รพ์ ้นื ท่ี ........ เมตร หรอื ถงึ ..............” “โลก่ ระบองอยแู่ ถวเดียวกัน หรอื กระบองอยู่แถวหน้า หรือโลอ่ ยู่แถวหน้า” (แลว้ แตส่ ถานการณ์ของฝงู ชน ๓ ระดับขา้ งต้น) “เขา้ ประจ�าท่ี” (Take position) “Go” “กองรอ้ ย พรอ้ ม” “Go” ถา้ หยุดจะสง่ั “หยุด” 1๙๒ คมู่ อื การปฏิบัติงานตามพระราชบัญญตั ิการชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชมุ นุมสาธารณะ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 192 11/17/2563 BE 12:40 PM
รูปแบบการใช้กา� ลงั ตอ่ ผชู้ มุ นุมในแต่ละระดับความรุนแรงของสถานการณ์การชุมนมุ การใชก้ า� ลงั ปฏิบตั กิ ารควบคมุ ฝงู ชน ให้ใช้ตามความจา� เปน็ เหมาะสม ไดส้ ดั สว่ นกบั สถานการณ์ (โดยไม่จ�าเป็นต้องเรยี งตามล�าดบั ขน้ั ตอน) การใช้ก�าลงั ทกุ ระดับจะต้องม ี การเจรจา (Dialog) กบั แกนน�าหรือฝูงชนโดยเจา้ หน้าที่ผ้รู บั ผิดชอบ ตลอดเวลาของการควบคุมฝงู ชนเสมอ ไม่ว่าจะอยใู่ นระหวา่ งการใช้ก�าลังระดบั ใดก็ตาม เพ่ือใหเ้ กิดผลทางด้าน จิตวิทยา การลดความตึงเครียดของสถานการณ์หรือการจัดระเบียบให้ฝูงชน ส่วนการแจ้งเตือน (Warning Verbal) จะต้องมีการแจ้งประกาศให้ผู้ชุมนุมทราบก่อนการใช้ก�าลังทางร่างกายปะทะ (Physical Contact) อันได้แก่ การจบั ยดึ ลอ็ ก ยดึ ห้ิว ตี ชก ดัน หรือ กระแทก เป็นต้น หรอื การใชอ้ ุปกรณ์ควบคุมฝงู ชนทีก่ ระทบ ต่อร่างกายผู้ชุมนุมอันได้แก่ แก๊สน�้าตา (Tear Gas) ฉีดน�้าแรงดันสูง (Water Cannon) ยิงด้วยกระสุนยาง (Rubber Bullets Individuals) อาวธุ ปนื (Individual firearms) ก็ต้องแจ้งเตือนใหผ้ ชู้ ุมนุมทราบกอ่ นด้วย เช่นเดียวกันทุกครั้งก่อนการใช้อุปกรณ์ดังกล่าว เพ่ือให้การปฏิบัติเป็นไปตามกฎหมายและหลักการใช้ก�าลัง ดังกล่าวข้างตน้ ตัวอย่างระดับสถานการณท์ ร่ี นุ แรงและระดบั ก�าลังทใี่ ช้ในการควบคุม 1. สถานการณท์ ่วั ไปทฝ่ี งู ชนรวมตัวกันอยา่ งเป็นระเบยี บ มกี ารควบคมุ กันเอง และอยใู่ นกรอบของ กฎหมาย เชน่ ชมุ นมุ ในพนื้ ทที่ ที่ างราชการกา� หนดให ้ ชมุ นมุ ในลกั ษณะทไ่ี มก่ ดี ขวาง ไมเ่ คลอ่ื นทหี่ รอื เดนิ ประทว้ ง ไมร่ กุ ลา�้ ทางจราจรหรอื ทางเทา้ ทว่ั ไปอยา่ งถาวรหรอื นานเกนิ ไป หรอื ไมไ่ ดเ้ ขา้ บกุ รกุ ยดึ ครองสถานทท่ี างราชการ หวงห้ามต่าง ๆ เปน็ ตน้ คมู่ ือการปฏิบตั ิงานตามพระราชบัญญัติการชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) 1๙๓ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 193 11/17/2563 BE 12:40 PM
การใช้ก�าลังเข้าควบคุมดูแล ผู้บัญชาการเหตุการณ์ซ่ึงโดยท่ัวไป คือ หัวหน้าสถานีต�ารวจจะใช้ กา� ลงั เจา้ หนา้ ทต่ี า� รวจในเครอ่ื งแบบปกตทิ วั่ ไป เขา้ ควบคมุ ในพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบโดยอาศยั ยทุ ธวธิ ขี องตา� รวจพน้ื ฐาน คดั กรอง ตรวจคน้ ไมใ่ หม้ ผี พู้ กพาอาวธุ หรอื ปอ้ งกนั ผไู้ มห่ วงั ดมี ากอ่ เหต ุ อยา่ งไรกต็ าม หากมกี ารรวมตวั มากขนึ้ หรอื มกี ารเคลอ่ื นยา้ ยฝงู ชนไปในหลายพน้ื ทกี่ จ็ ะตอ้ งมกี ารขอกา� ลงั สนบั สนนุ เพมิ่ ขนึ้ จากหนว่ ยเหนอื หรอื ขา้ งเคยี ง ๒. สถานการณเ์ รม่ิ มแี นวโนม้ ทฝ่ี งู ชนขาดระเบยี บเกดิ ขนึ้ เชน่ ฝงู ชนบางสว่ นเรมิ่ ไมเ่ ชอ่ื ฟงั ผนู้ า� แกนนา� หรอื เจา้ หนา้ ท ี่ มบี างสว่ นควบคมุ ไมไ่ ด ้ มกี ารเขา้ รกุ ลา้� เสน้ ทาง ถนน หรอื พนื้ ทท่ี หี่ วงหา้ ม หรอื กดี ขวางการจราจร ในลักษณะถาวรเกิดข้นึ แตย่ งั ไม่มลี ักษณะแสดงออกถึงความรนุ แรงหรอื ขยายวงกว้าง การใช้ก�าลังเข้าควบคุมจ�าเป็นต้องจัดรูปแบบในทางยุทธวิธีทั่วไป เช่น การต้ังจุดตรวจ จุดสกัด การควบคมุ ยานพาหนะ การใชแ้ ผงเหลก็ หรอื สงิ่ กดี ขวางกน้ั แนวหรอื ระยะ (Barricade) การใชร้ ปู แบบยทุ ธวธิ พี นื้ ฐาน อันได้แก่ การจัดสายตรวจรอบท่ีชุมนุม การค้นหรือการจับกุมหรือน�าพาออกจากสถานท่ีหรือพ้ืนท่ีหวงห้าม ซง่ึ หากมจี า� นวนไมม่ ากและสถานการณไ์ มร่ นุ แรง เจา้ หนา้ ทต่ี า� รวจในเครอื่ งแบบปกตกิ ท็ า� ได ้ ภายใตก้ ารควบคมุ ของผบู้ ญั ชาการเหตกุ ารณ์(พน้ื ที)่ น้ัน ๓. สถานการณเ์ รม่ิ มคี วามรนุ แรงปรากฏขน้ึ เชน่ การใชค้ า� พดู การแสดงกริ ยิ า หรอื แสดงอาวธุ เกรย้ี วกราด มีการกระท�าผิดกฎหมายมากขึ้น มีการขว้างปาส่ิงของใส่เจ้าหน้าท่ี ไม่มีการเชื่อฟังผู้น�า หรือมีการปลุกระดม ปราศรยั หรือมกี ารพดู ชักจงู ใหก้ ระท�าผดิ หรือประทุษรา้ ยผอู้ ่ืนหรือเจ้าหนา้ ทม่ี ากขน้ึ เป็นลา� ดับ เป็นต้น การใชก้ า� ลังเขา้ ควบคุมตอ้ งเป็นกา� ลงั ควบคุมฝงู ชนทีม่ ีอปุ กรณป์ ้องกันตนเอง ตลอดจนเคร่อื งมือ และอาวุธที่จ�าเป็นในการควบคุมฝูงชนซึ่งจะต้องมีการวางก�าลังในรูปแบบของยุทธวิธีควบคุมฝูงชนทันที เปน็ รปู แบบของหนว่ ยควบคมุ ฝงู ชน การแสดงกา� ลงั (Show of force) โดยจา� นวนเจา้ หนา้ ทตี่ า� รวจทจี่ ะควบคมุ ฝงู ชน จะมีจา� นวนเทา่ ใด ขึน้ อยู่กบั สถานการณ์ความรุนแรงและจ�านวนของฝูงชน ภายใตก้ ารพิจารณาสงั่ การของ ผบู้ ญั ชาการเหตกุ ารณ ์ (พนื้ ท)ี่ นนั้ หรอื ภายใตผ้ บู้ งั คบั บญั ชาระดบั สงู ขนึ้ ระดบั กองบงั คบั การหรอื กองบญั ชาการ หรือสา� นกั งานต�ารวจแห่งชาติ เชน่ วางก�าลังควบคุมฝงู ชนจ�านวน ๕ ชุด จ�านวน 1 หมวด หรือ ๒ หมวด หรือ ๓ หมวด หรือ 1 กองรอ้ ย หรอื ๕ กองรอ้ ย เป็นตน้ ๔. สถานการณ์ตึงเครียด ทั้งฝูงชนและเจ้าหน้าที่ต�ารวจควบคุมฝูงชน มีความยืดเย้ือในการชุมนุม มกี ารยว่ั ยเุ พอ่ื ใหเ้ กดิ การปะทะ หรอื มกี ารฝา่ ฝนื ขดั คา� สงั่ คา� แนะนา� ของเจา้ หนา้ ท ี่ บางสว่ นเรม่ิ กระทา� ผดิ กฎหมาย หรอื เขา้ รกุ ลา�้ พ้นื ท่ีหรือเสน้ ทางท่หี วงหา้ มมากข้ึนเป็นล�าดบั กา� ลงั ทเี่ ขา้ ควบคมุ สถานการณจ์ า� เปน็ อยา่ งยง่ิ ตอ้ งมีการเคลอื่ นไหวเชงิ รกุ ตลอดเวลา (Offensive Movement) เพ่ือลดความกดดันของก�าลังต�ารวจ และเป็นการแสดงก�าลังและความพร้อมตลอดเวลา เช่น มกี ารปรบั รปู ขบวนเปน็ ระยะ ๆ มกี ารปรบั ระยะปลอดภยั (Safety Gap) โดยตลอด การใชเ้ ทคนคิ ควบคมุ ฝงู ชน รปู แบบต่าง ๆ เชน่ การเดิน การว่งิ การแยก การรวม การบกุ การรกุ แลว้ ถอย หรือการถอยของรปู ขบวน เป็นต้น โดยอาจมีการปะทะกันระหว่างก�าลังเจ้าหน้าที่ควบคุมฝูงชนกับฝูงชนบ้างบางส่วนแต่ไม่รุนแรงและ ยงั ควบคมุ สถานการณ์ได้ โดยไมจ่ �าเป็นตอ้ งใชแ้ กส๊ น�้าตา หรืออาวธุ อ่ืน ๆ แตอ่ ย่างใด 1๙๔ คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านตามพระราชบญั ญตั กิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชุมนมุ สาธารณะ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 194 11/17/2563 BE 12:40 PM
๕. สถานการณร์ นุ แรงมกี ารใชก้ า� ลงั จนเปน็ อนั ตรายตอ่ เจา้ หนา้ ทห่ี รอื ผอู้ น่ื หรอื มกี ารทา� ลายทรพั ยส์ นิ สาธารณะหรือของผู้อ่ืนให้เห็น ไม่เชื่อผู้น�า หรือผู้จัดการชุมนุมหรือเจ้าหน้าท่ีในการควบคุมพ้ืนที่หรือเส้นทาง หรือพนื้ ท่ีในการชมุ นุม ผูช้ มุ นมุ พยายามเข้ายดึ พื้นท่หี รืออาคารท่หี วงห้าม ผู้ชมุ นมุ ฝา่ ฝืนกฎหมายในการรักษา ความสงบจา� นวนมาก และมแี นวโน้มจะฝ่าฝนื มากขนึ้ เปน็ ล�าดับ ๆ เปน็ ตน้ เจา้ หนา้ ทค่ี วบคมุ ฝงู ชนจา� เปน็ ตอ้ งควบคมุ สถานการณใ์ หป้ กตมิ ากทสี่ ดุ อยใู่ นพนื้ ทจี่ า� กดั ทก่ี า� หนดไว้ จงึ จา� เปน็ ตอ้ งใชร้ ปู ขบวนตา่ ง ๆ ทเี่ ขา้ ปะทะพรอ้ ม ๆ กบั การใชแ้ กส๊ นา้� ตา หรอื สเปรยพ์ รกิ ไทย หรอื ใชก้ ระสนุ ยางยงิ เพอ่ื ป้องกนั ตนเอง เป็นต้น อยา่ งไรก็ตาม การด�าเนินกลยุทธ์ของเจา้ หน้าท่ีตอ้ งอยภู่ ายใตก้ ฎการใช้กา� ลงั เฉพาะ เหตุการณ์ และการสั่งการของผู้บังคับกองร้อย ผู้บังคับหมวด เท่านั้น ส่วนการป้องกันตัวจากภยันตราย ทอี่ าจเปน็ อนั ตรายสาหสั หรอื ถงึ ตายสามารถดา� เนนิ การไดต้ ามหลกั การปอ้ งกนั ตวั พอสมควรแกเ่ หตใุ นประมวล กฎหมายอาญา หรือการใช้วิธีการจับที่เหมาะสมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หรือตามกฎ การใช้ก�าลังท่ีผู้มีอ�านาจตามกฎหมายก�าหนดกรอบระดับวิธีการใช้ก�าลังและอาวุธภายใต้กรอบของระดับ การใชก้ า� ลงั ตามกฎหมายดงั กลา่ ว หรอื อยภู่ ายใตก้ ารกา� กบั ชว่ ยเหลอื สงั่ การของผบู้ งั คบั หม ู่ หวั หนา้ ชดุ คตู่ รวจ เปน็ ตน้ ในส่วนน้ี จุดประสงค์ไม่ได้ด�าเนินกลยุทธ์เพ่ือสลายฝูงชนแต่เป็นไปในลักษณะกดดันและควบคุมให้ฝูงชน กลับไปสู่ระเบียบ หรอื ยอมปฏบิ ตั ิตามคา� ส่งั เตอื นของต�ารวจใหไ้ ด้มากที่สดุ เทา่ น้นั ๖. สถานการณ์มีการใช้ก�าลังรุนแรงจนไม่สามารถท�าให้ฝูงชนรวมตัวอยู่อย่างสงบได ้ เจ้าหน้าที่มี ความจ�าเป็นต้องสลายการชุมนุมเป็นบางส่วนโดยเฉพาะกลุ่มท่ีผิดกฎหมาย เพื่อไม่ให้กลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรง ขยายตัวลกุ ลามมากขึ้น กา� ลงั ทใ่ี ชเ้ ชน่ เดยี วกบั ขอ้ ๕ แตเ่ พมิ่ เทคนคิ มากขนึ้ และหากมคี วามจา� เปน็ สามารถใชอ้ าวธุ กระบอง หรือก�าลังทางร่างกายเข้าปะทะได้ (Physical contact) เพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่เจ้าหน้าที่ภายใต้กฎ การใช้ก�าลัง รวมท้ังเจ้าหน้าที่สามารถใช้เทคนิคต่าง ๆ ได้มากข้ึน เช่น มีการจับกุมในฝูงชนหรือการจับกุม ขนาดใหญ่ (Mass arrest) ได้ ๗. สถานการณ์ที่มีการเคล่อื นกา� ลังของฝงู ชนจ�านวนมาก มอี าวธุ รุนแรงและไดน้ �ามาใชป้ ระทุษรา้ ย ตอ่ เจา้ หนา้ ทแี่ ละผอู้ นื่ ไมส่ ามารถใชก้ า� ลงั ระดับท ่ี ๖ ได ้ เป็นการกระท�าผดิ ละเมดิ กฎหมายอย่างรนุ แรง จา� เปน็ ต้องสลายฝูงชน ณ จดุ น้ันโดยทนั ที เจ้าหนา้ ที่สามารถดา� เนินการสง่ั ใหใ้ ช้ก�าลังน้�าแรงดันสูงปะทะได ้ (Water Cannon) ภายใต้การสัง่ การของผู้บัญชาการเหตกุ ารณ ์ หรือผไู้ ดร้ บั มอบหมายตามกฎการใช้กา� ลงั ซ่ึงควบคุม พืน้ ที่น้ัน ๆ เทา่ นัน้ การใชก้ า� ลงั ระดบั ๖ และ ๗ ในสถานการณท์ มี่ อี นั ตรายตอ่ เจา้ หนา้ ทคี่ วบคมุ ฝงู ชน ผบู้ งั คบั กองรอ้ ย หรอื ผบู้ ญั ชาการเหตกุ ารณ ์ (พน้ื ท)ี่ นนั้ ๆ สามารถสง่ั การใหร้ ปู ขบวนถอนตวั เพอื่ ใหม้ รี ะยะปลอดภยั ได ้ (Safety Zone) โดยใช้เทคนิครูปขบวนการรุกแล้วถอย และหากเห็นว่า สถานการณ์กลับมาได้เปรียบก็สามารถส่ังให้ ดา� เนนิ กลยุทธ์เชิงรกุ (Offensive Movement) ตอ่ ไปได้ คู่มือการปฏิบตั ิงานตามพระราชบญั ญตั กิ ารชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชมุ นุมสาธารณะ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) 1๙๕ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 195 11/17/2563 BE 12:40 PM
๘. สถานการณก์ ารชมุ นมุ ไดเ้ ปลย่ี นเปน็ การจลาจลหรอื เกดิ ความวนุ่ วายขน้ึ และมกี ารใชอ้ าวธุ ทา� รา้ ย เจ้าหน้าที่ หรือท�าลายทรัพย์สินของทางราชการหรือของผู้อื่นอย่างต่อเน่ือง เจ้าหน้าท่ีควบคุมฝูงชนสามารถ ใชก้ ระสนุ ยาง (Rubber bullets individual) ดา� เนนิ การตอบโตไ้ ด ้ แตต่ อ้ งเปน็ เหตผุ ลในการปอ้ งกนั ตวั ปอ้ งกนั ชดุ หรือป้องกันหน่วย หรือป้องกันพ้ืนท่ีอาคาร และภายใต้การสั่งการของผู้บัญชาการเหตุการณ์ระดับผู้บังคับ กองรอ้ ยข้ึนไป หรือตามท่กี ฎการใชก้ า� ลังกา� หนด ๙. สถานการณ์จลาจลรุนแรง มีการใช้อาวุธร้ายแรง เช่น อาวุธปืน เป็นต้น เข้าท�าร้ายเจ้าหน้าท ่ี หรอื บคุ คลอืน่ เจา้ หนา้ ท่ีสามารถใช้ก�าลังโดยการยงิ ตอบโตไ้ ดโ้ ดยทนั ท ี ภายใต้การส่งั การของผ้บู ังคับกองร้อย แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม จะตอ้ งเปน็ การยงิ เฉพาะบคุ คลทกี่ ระทา� ผดิ โดยมอี าวธุ รนุ แรงและทา� รา้ ยเจา้ หนา้ ทใ่ี นขณะนนั้ โดยเหตผุ ลเพ่ือยับยง้ั และปอ้ งกันตวั ตามกฎหมายเทา่ น้นั และที่ส�าคญั หากเป็นสถานการณก์ ารใช้อาวุธเป็นชุด ตอ้ งเปน็ การยงิ จากชุดอาวุธพเิ ศษ หรอื ชุดเคล่อื นที่เร็ว หรอื ชุดแม่นปืนเท่านนั้ และต้องอยภู่ ายใตก้ ารควบคุม สัง่ การของผ้บู ัญชาการเหตกุ ารณ์และตอ้ งดา� เนินการตามขั้นตอนของหลักการใช้อาวุธในฝูงชนอย่างเครง่ ครัด การใชก้ �าลังขอ้ ๕ – ๙ จะต้องมกี ารเตือนดว้ ยวาจากอ่ น (Verbal Warning) และตอ้ งให้เวลา ผู้ชุมนุมมีเวลาและโอกาสด�าเนินการตามท่ีเตือนได้ด้วยทุกครั้งของการยิง ถ้าการเตือนและรอเวลาดังกล่าว จะไม่ท�าใหเ้ กดิ อนั ตรายหรอื จะท�าให้ไมส่ ามารถยบั ยั้งภยนั ตรายได้ 1๙๖ คมู่ ือการปฏิบตั งิ านตามพระราชบญั ญัติการชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 196 11/17/2563 BE 12:40 PM
แบบ ๒–๑ ท่ี........................... สถานีตา� รวจ ...................... (วนั เดอื น ป)ี เร่อื ง สรปุ สาระสา� คญั การชมุ นุมสาธารณะ เรียน (ช่ือ – นามสกลุ ของผู้แจง้ การชุมนุมสาธารณะ) อา้ งถงึ หนังสอื แจง้ การชมุ นมุ สาธารณะ ลงวันที่ .......................................................... สิง่ ท่สี ง่ มาดว้ ย หน้าท่ขี องผูจ้ ดั การชมุ นุมและผ้ชู ุมนุมสาธารณะ ตามหนังสือแจง้ การชมุ นมุ สาธารณะของทา่ นแจง้ ความประสงค์จะจัดการชุมนมุ สาธารณะ โดยมี วัตถปุ ระสงค์เพ่ือ ..................... รายละเอียดแจง้ แลว้ นน้ั ผรู้ บั แจง้ จงึ ไดส้ รปุ สาระสา� คญั ตามมาตรา 11 วรรคหนงึ่ แหง่ พระราชบญั ญตั กิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ ดังนี้ 1. รายละเอียดเก่ียวกบั ผแู้ จ้ง ๒. วัน ระยะเวลา สถานที่ชุมนมุ สาธารณะ ๓. วตั ถปุ ระสงคข์ องการชุมนุมสาธารณะ (ตามขอ้ มลู ตามทไ่ี ด้รับแจ้ง) ๔. การเดินขบวน หรอื เคลอื่ นย้ายการชุมนุมสาธารณะ ท้ังน้ี ผู้ประสงค์จะจัดการชุมนุมสาธารณะถือเป็นผู้จัดการชุมนุมและผู้ชุมนุมมีหน้าที่ตาม มาตรา 1๕ และมาตรา 1๖ แห่งพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ โดยมีรายละเอียดตาม สง่ิ ทีส่ ง่ มาดว้ ย คา� แนะน�าเพ่มิ เติม (ถ้าม)ี จงึ เรยี นมาเพ่อื ทราบ ขอแสดงความนับถอื พันต�ารวจเอก ........................................ (พิมพช์ ่อื เตม็ ) (ตา� แหนง่ )/ผรู้ ับแจ้ง สถานีต�ารวจ .................... (ชือ่ นายต�ารวจผปู้ ระสานงาน) โทร. ............................. คู่มือการปฏิบตั งิ านตามพระราชบัญญตั ิการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชมุ นุมสาธารณะ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) 1๙๗ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 197 11/17/2563 BE 12:40 PM
สิ่งทส่ี ่งมาด้วย ท้ายแบบ ๒–๑ หน้าทีข่ องผจู้ ัดการชมุ นุมและผู้ชมุ นุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๑๕ ผู้จดั การชุมนมุ มีหนา้ ที่ ดังตอ่ ไปนี้ (1) ดูแลและรับผิดชอบการชุมนุมสาธารณะให้เป็นไปโดยสงบและปราศจากอาวุธภายใต้ขอบเขต การใช้สทิ ธแิ ละเสรภี าพตามบทบัญญัตแิ ห่งรัฐธรรมนูญ (๒) ดูแลและรับผิดชอบการชุมนุมสาธารณะไม่ให้เกิดการขัดขวางเกินสมควรต่อประชาชนที่จะใช้ ท่สี าธารณะ ตลอดจนดูแลและรบั ผิดชอบใหผ้ ูช้ ุมนมุ ปฏบิ ัตติ ามมาตรา 1๖ (๓) แจง้ ใหผ้ ชู้ มุ นมุ ทราบถงึ หนา้ ทข่ี องผชู้ มุ นมุ ตามมาตรา 1๖ และเงอ่ื นไขหรอื คา� สง่ั ของเจา้ พนกั งาน ดแู ลการชุมนมุ สาธารณะ (๔) ให้ความร่วมมือแก่เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะในการดูแลการชุมนุมสาธารณะ ใหเ้ ปน็ ไปตาม (1) และ (๒) (๕) ไมย่ ุยงส่งเสรมิ หรอื ชักจูงผชู้ ุมนุมเพ่อื ให้ผชู้ มุ นุมไม่ปฏิบัติตามมาตรา 1๖ (๖) ไมป่ ราศรยั หรอื จดั กจิ กรรมในการชมุ นมุ โดยใชเ้ ครอื่ งขยายเสยี งในระหวา่ งเวลา ๒๔.๐๐ นาฬกิ า ถึงเวลา ๐๖.๐๐ นาฬิกาของวันรุ่งขึ้น (๗) ไมใ่ ชเ้ ครอื่ งขยายเสยี งดว้ ยกา� ลงั ไฟฟา้ ทมี่ ขี นาดหรอื ระดบั เสยี งตามทผี่ บู้ ญั ชาการตา� รวจแหง่ ชาติ ประกาศกา� หนด (คา่ ระดบั เสยี งสูงสุดไม่เกนิ 11๕ เดซเิ บลเอ และคา่ ระดับเสยี งเฉลยี่ ๒๔ ช่วั โมง ไมเ่ กนิ ๗๐ เดซเิ บลเอ) มาตรา ๑๖ ผู้ชมุ นุมมีหนา้ ท่ี ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ความไมส่ ะดวกแกป่ ระชาชนทจี่ ะใชท้ ส่ี าธารณะอนั เปน็ ทช่ี มุ นมุ หรอื ทา� ใหผ้ อู้ นื่ ไดร้ บั ความเดือดรอ้ นเกนิ ทพ่ี ึงคาดหมายไดว้ า่ เป็นไปตามเหตุอันควร (๒) ไม่ปิดบังหรืออ�าพรางตนโดยจงใจมิให้มีการระบุตัวบุคคลได้ถูกต้อง เว้นแต่เป็นการแต่งกาย ตามปกติประเพณี (๓) ไมพ่ าอาวุธ ดอกไม้เพลิง สงิ่ เทยี มอาวธุ ปืน หรือส่ิงทีอ่ าจน�ามาใชไ้ ดอ้ ยา่ งอาวุธ เข้าไปในที่ชมุ นุม ไมว่ า่ จะได้รบั อนญุ าตให้มีส่งิ นัน้ ตดิ ตัวหรือไม่ (๔) ไมบ่ กุ รกุ หรอื ทา� ใหเ้ สยี หาย ทา� ลาย หรอื ทา� ดว้ ยประการใด ๆ ใหใ้ ชก้ ารไมไ่ ดต้ ามปกตซิ ง่ึ ทรพั ยส์ นิ ของผู้อนื่ (๕) ไมท่ �าใหผ้ อู้ น่ื กลัวว่าจะเกิดอนั ตรายตอ่ ชีวิต รา่ งกาย ทรัพยส์ นิ หรือเสรภี าพ (๖) ไม่ใช้กา� ลังประทษุ รา้ ยหรอื ขเู่ ข็ญว่าจะใช้ก�าลังประทุษร้ายผเู้ ข้าร่วมชุมนมุ หรอื ผอู้ ่ืน (๗) ไม่ขัดขวางหรือกระท�าการใด ๆ อันเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานดูแล การชุมนุมสาธารณะในการคุ้มครองความสะดวกของประชาชนในการใช้ท่ีสาธารณะ และการดูแลการชุมนุม สาธารณะน้ัน (๘) ไมเ่ ดนิ ขบวนหรือเคลื่อนยา้ ยการชมุ นมุ ระหวา่ งเวลา 1๘.๐๐ นาฬิกา ถงึ เวลา ๐๖.๐๐ นาฬกิ า ของวันร่งุ ขึน้ เวน้ แต่ไดร้ บั อนุญาตจากเจ้าพนกั งานดูแลการชุมนมุ สาธารณะ (๙) ปฏิบัตติ ามเง่ือนไขหรอื ค�าส่งั ของเจา้ พนกั งานดูแลการชุมนุมสาธารณะ หมายเหตุ - ผ้ชู ุมนมุ หมายความรวมถงึ ผู้จดั การชุมนุม และผ้เู ข้ารว่ มการชุมนมุ สาธารณะน้นั 1๙๘ คมู่ อื การปฏิบตั งิ านตามพระราชบญั ญัตกิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชมุ นุมสาธารณะ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 198 11/17/2563 BE 12:40 PM
แบบ ๒-๒ ค�าส่งั ใหแ้ ก้ไขการชุมนุมสาธารณะตามมาตรา ๑๑ วรรคสอง เลขที ่ ............./.............. สถานตี �ารวจ.............................. วันที่ ............... เดือน......................พ.ศ. .................. แจง้ ความมายงั .......(ชอื่ -นามสกลุ ผแู้ จง้ การชมุ นมุ )...............อยบู่ า้ นเลขท.่ี ............................................ ตรอก/ซอย......................................................ถนน..........................................หมู่ที่...................................... ตา� บล/แขวง..................................อา� เภอ/เขต......................................จงั หวดั ..................................................... ตามหนงั สอื แจง้ การชมุ นมุ สาธารณะ ลงวนั ท.ี่ ...............เดอื น...........................พ.ศ. .............................. โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ .......................................................................................................................................... ซงึ่ ผรู้ บั แจง้ ไดร้ บั แจง้ ไวต้ าม เลขรบั ท.ี่ ............../..................วนั ท.่ี ..............เดอื น............................พ.ศ................ น้นั ปรากฏวา่ (1) เปน็ การชมุ นมุ ที่อาจขัดต่อมาตรา ๗ (๒) เปน็ การชุมนมุ ที่อาจขัดต่อมาตรา ๘ อาศยั อา� นาจตามความในมาตรา 11 วรรคสอง แหง่ พระราชบญั ญตั กิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ ใหท้ า่ นจดั การแกไ้ ขการชมุ นมุ สาธารณะใหถ้ กู ตอ้ งโดย...........(ระบรุ ายละเอยี ดทใี่ หแ้ กไ้ ข)...................................... ภายในก�าหนด................วัน/ช่วั โมง นับแต่เวลาท่ที า่ นไดร้ ับค�าสัง่ น้ี หากพน้ กา� หนดนแ้ี ล้ว ผรู้ บั แจ้งมีอ�านาจสั่ง หา้ มการชุมนมุ สาธารณะได้ (ลงช่อื ) ............................... (พมิ พช์ อ่ื เต็ม) (ต�าแหน่ง)/ผรู้ บั แจง้ หมายเหตุ ผู้แจ้งการชุมนุมไม่เห็นชอบด้วยกับค�าส่ังให้แก้ไขการชุมนุมของผู้รับแจ้ง มีสิทธิอุทธรณ์ค�าส่ังต่อ ผู้รับแจ้งภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งค�าส่ังให้แก้ไขการชุมนุมตามมาตรา ๔๔ แห่งพระราชบัญญัติ วิธปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงานตามพระราชบญั ญัตกิ ารชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชุมนมุ สาธารณะ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) 1๙๙ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 199 11/17/2563 BE 12:40 PM
แบบ ๒-๓ คา� สัง่ ห้ามชมุ นมุ สาธารณะตามมาตรา ๑๑ วรรคสาม เลขท่ี ............./.............. สถานีต�ารวจ.............................. วันที่ ............... เดอื น......................พ.ศ. .................. แจ้งความมายัง.......(ชอ่ื -นามสกลุ ผ้แู จ้งการชมุ นุม)...............อยู่บ้านเลขที่................................... ตรอก/ซอย................................................ถนน................................................หมทู่ .่ี ........................................... ตา� บล/แขวง..................................อา� เภอ/เขต......................................จงั หวดั ..................................................... ตามคา� สง่ั ใหแ้ กไ้ ขการชมุ นมุ สาธารณะ สถานตี า� รวจ...................ลงวนั ท.่ี ...............เดอื น...................... พ.ศ. .............................. ปรากฏวา่ ทา่ นไมป่ ฏิบตั ติ ามคา� สง่ั ดังกล่าว อาศัยอ�านาจตามความในมาตรา 11 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ จงึ หา้ มการชุมนุมสาธารณะในกรณีดงั กล่าว ท้ังนี้ต้งั แตบ่ ัดนี้เปน็ ตน้ ไป (ลงชอื่ ) ............................... (พมิ พ์ชือ่ เตม็ ) (ตา� แหน่ง)/ผูร้ บั แจง้ หมายเหตุ 1. ผู้รับค�าส่ังผู้ใดไม่เห็นชอบด้วยกับค�าส่ังห้ามการชุมนุมของผู้รับแจ้ง มีสิทธิอุทธรณ์ค�าสั่งต่อ ผอู้ อกคา� สัง่ น้ี ภายในสิบห้าวันนับแต่วนั ที่ได้รับแจง้ ค�าสัง่ ห้ามการชุมนุมตามที่กา� หนดไวใ้ นมาตรา 11 วรรคส ี่ แห่งพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ประกอบกับมาตรา ๔๔ แห่งพระราชบัญญัติ วิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ ๒. ผู้ใดฝ่าฝืนค�าส่ังห้ามชุมนุมเป็นความผิดตามมาตรา 11 ต้องระวางโทษตามมาตรา ๒๙ จ�าคุก ไม่เกินหกเดอื น หรือปรบั ไม่เกนิ หน่ึงหมนื่ บาท หรอื ทง้ั จ�าทง้ั ปรบั ๒๐๐ ค่มู อื การปฏบิ ตั งิ านตามพระราชบญั ญัติการชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 200 11/17/2563 BE 12:40 PM
แบบ ๒-๔ ค�าสง่ั เรื่องการขอผ่อนผันการแจ้งการชุมนุมสาธารณะตามมาตรา ๑๒ วรรคสาม เลขท ่ี ............./.............. กองบงั คับการต�ารวจนครบาล/ต�ารวจภธู รจังหวดั .............................. วนั ท่ี ............... เดอื น......................พ.ศ. .................. แจง้ ความมายัง.......(ช่ือ-นามสกุล ผู้แจ้งการชุมนุม)...............อยบู่ า้ นเลขที่................................... ตรอก/ซอย......................................................ถนน................................................หมทู่ .่ี .................................... ต�าบล/แขวง..................................อ�าเภอ/เขต............................................จังหวัด............................................. ตามหนงั สอื แจง้ การชมุ นมุ สาธารณะพรอ้ มกบั ขอผอ่ นผนั การแจง้ การชมุ นมุ สาธารณะ ลงวนั ท.่ี ....... เดอื น........................ พ.ศ. ..................... เพื่อจดั การชุมนุมสาธารณะในวนั ที่....... เดือน ................ พ.ศ. ......... เวลา............น. ซึ่งเป็นระยะเวลากอ่ นเรมิ่ การชมุ นุมสาธารณะไมถ่ งึ ๒๔ ชว่ั โมง น้ัน อาศัยอ�านาจตามความในมาตรา 1๒ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ จึงมีคา� ส่ัง ผ่อนผนั ไมผ่ ่อนผัน เนอ่ื งจาก............................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ) ............................... (พิมพ์ชอ่ื เตม็ ) (ตา� แหนง่ ) หมายเหตุ ผู้รับค�าสั่งซ่ึงไม่พอใจค�าส่ังข้างต้น มีสิทธิอุทธรณ์ค�าสั่งต่อ ผู้บังคับการ................ (ผู้ออกค�าส่ัง) ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับค�าส่ังตามท่ีก�าหนดไว้ในมาตรา ๔๔ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ คู่มือการปฏบิ ัติงานตามพระราชบญั ญตั กิ ารชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ๒๐1 ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 201 11/17/2563 BE 12:40 PM
แบบ ๓-๑ ค�าสัง่ เจา้ พนกั งานดแู ลการชมุ นุมสาธารณะ สถานตี �ารวจ.../กองบังคบั การ.../กองบญั ชาการ... ที่ /๒๕....... เร่ือง กา� หนดเง่อื นไขการชมุ นมุ สาธารณะ ตามหนังสือแจ้งการชมุ นุมสาธารณะฉบบั ลงวันท่ี ... โดยมนี าย ... เปน็ ผแู้ จง้ การชมุ นมุ สาธารณะ และจดั การชมุ นมุ บรเิ วณพน้ื ท่ี ... น้ัน เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองความสะดวกของประชาชน การดูแลการชุมนุมสาธารณะ และ การรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน อาศยั อา� นาจตามมาตรา 1๙ (๕) แหง่ พระราชบญั ญตั ิ การชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ จึงกา� หนดเงอ่ื นไขการชุมนมุ สาธารณะ ดังตอ่ ไปน้ี ข้อ 1. ... (เชน่ ห้ามน�าวัตถุอนั ตราย สารเคมี หรือส่งิ ปฏิกลู ใดๆ ที่อาจกอ่ ให้เกดิ อันตรายต่อชวี ติ หรอื ร่างกาย ตลอดจนสขุ อนามัยของประชาชน เขา้ ไปในสถานทีช่ มุ นุม) ข้อ ๒. ... (เช่น ห้ามการใชอ้ ากาศยานไร้คนขบั (โดรน) ในพ้ืนทีก่ ารชมุ นุมสาธารณะ เวน้ แตไ่ ดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ พนกั งานดแู ลการชมุ นุมสาธารณะ) ขอ้ ๓. .... ทง้ั นี้ ตัง้ แต่บดั นเี้ ป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ... พ.ศ. ๒๕...... (ลงชือ่ ) (................................) ผูก้ า� กบั การ.../ผู้บังคับการ.../ผบู้ ัญชาการ... เจา้ พนกั งานดูแลการชมุ นมุ สาธารณะ หมายเหตุ 1. ผใู้ ดประสงคจ์ ะอทุ ธรณห์ รอื โตแ้ ยง้ คา� สงั่ น ี้ ใหย้ นื่ อทุ ธรณห์ รอื โตแ้ ยง้ คา� สง่ั ดงั กลา่ วตอ่ เจา้ พนกั งาน ดูแลการชมุ นุมสาธารณะผ้อู อกคา� สัง่ น้ี ภายในสบิ หา้ วันนบั แตว่ นั ทีร่ ับทราบค�าสง่ั โดยการอทุ ธรณห์ รือโต้แย้ง ดงั กล่าวไมเ่ ป็นเหตใุ ห้ทุเลาการบังคบั ตามค�าส่ังนี้ ๒. ผใู้ ดไมป่ ฏบิ ตั ติ ามคา� สงั่ หรอื ประกาศของเจา้ พนกั งานดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะตามมาตรา 1๙ (๕) แหง่ พระราชบัญญตั กิ ารชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ถ้าผู้น้นั เปน็ ผูจ้ ัดการชมุ นมุ หรือผชู้ มุ นมุ ตอ้ งระวางโทษ จา� คุกไมเ่ กินหน่ึงปี หรอื ปรับไมเ่ กนิ สองหมน่ื บาท หรือทัง้ จ�าท้ังปรบั แต่ถ้าผูน้ น้ั เป็นผอู้ ยภู่ ายในสถานทีช่ ุมนมุ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กินหนงึ่ หมืน่ บาท ๒๐๒ คมู่ ือการปฏิบัตงิ านตามพระราชบัญญตั กิ ารชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 202 11/17/2563 BE 12:40 PM
แบบ ๓-๒ คา� สงั่ เจา้ พนกั งานดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ สถานตี �ารวจ.../กองบังคบั การ.../กองบัญชาการ... ที่ /๒๕....... เร่อื ง ปดิ และปรบั เสน้ ทางการจราจร ตามหนังสอื แจง้ การชุมนมุ สาธารณะฉบบั ลงวันท ี่ ... โดยมนี าย ... เปน็ ผู้แจง้ การชมุ นุมสาธารณะ และจดั การชุมนมุ บรเิ วณพ้นื ท ี่ ... นนั้ เพ่ือประโยชน์ในการคุ้มครองความสะดวกของประชาชน การดูแลการชุมนุมสาธารณะ และการรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน อาศัยอ�านาจตามมาตรา 1๙ วรรคห้า แห่งพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ จึงปิดเส้นทางการจราจร และปรับเส้นทางการจราจร ดังตอ่ ไปน้ี ขอ้ 1. ... (เชน่ ปดิ เสน้ ทางการจราจรถนนพษิ ณโุ ลก ตงั้ แตแ่ ยกวงั แดง ถงึ แยกนางเลงิ้ ) เนอื่ งจาก....... ขอ้ ๒. ... (เชน่ ปรบั เสน้ ทางการจราจรตง้ั แตแ่ ยกวงั แดงจนถงึ แยกวสิ ทุ ธกิ ษตั รยิ ใ์ หเ้ ดนิ รถทางเดยี ว (เดนิ รถขาออกทางเดยี ว)) เนื่องจาก....... ขอ้ ๓. .... ทั้งน้ี ตั้งแตบ่ ัดนีเ้ ปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันท่ ี ... พ.ศ. ๒๕....... (ลงชอ่ื ) (................................) ผกู้ า� กับการ.../ผู้บงั คบั การ.../ผู้บญั ชาการ... เจา้ พนักงานดูแลการชมุ นุมสาธารณะ หมายเหตุ ผู้ใดประสงค์จะอุทธรณ์หรือโต้แย้งค�าสั่งนี้ให้ย่ืนอุทธรณ์หรือโต้แย้งค�าสั่งดังกล่าวต่อเจ้าพนักงาน ดแู ลการชมุ นุมสาธารณะผอู้ อกคา� สั่งน ้ี ภายในสบิ ห้าวันนบั แต่วันทีร่ ับทราบค�าสงั่ โดยการอทุ ธรณห์ รือโตแ้ ย้ง ดังกล่าวไม่เปน็ เหตใุ หท้ เุ ลาการบังคับตามคา� ส่งั นี้ คูม่ ือการปฏิบตั งิ านตามพระราชบญั ญัติการชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชมุ นมุ สาธารณะ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ๒๐๓ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 203 11/17/2563 BE 12:40 PM
แบบ ๓-๓ ประกาศ เจ้าพนักงานดแู ลการชุมนมุ สาธารณะ สถานีต�ารวจ.../กองบงั คับการ.../กองบัญชาการ... ท ี่ /๒๕....... เร่อื ง ใหเ้ ลกิ การชมุ นุมสาธารณะ ตามหนังสอื แจ้งการชุมนุมสาธารณะฉบบั ลงวันที่ ... โดยมนี าย ... เปน็ ผแู้ จ้งการชุมนมุ สาธารณะ และจัดการชมุ นมุ บรเิ วณพน้ื ที่ ... นั้น ปรากฏวา่ มกี ารชมุ นมุ สาธารณะทไี่ มช่ อบดว้ ยกฎหมายกลา่ วคอื ... (บรรยายพฤตกิ ารณ)์ อนั เปน็ การ ชุมนุมสาธารณะท่ีไม่ชอบด้วยกฎหมาย อันเป็นความผิดตามมาตรา 1๔/ไม่เลิกการชุมนุมภายในระยะเวลา ท่ไี ดแ้ จง้ ไวต้ อ่ ผรู้ ับแจ้งตามมาตรา 1๘ (เวลา ... วนั ท ่ี ...) ดงั นนั้ เพอื่ ประโยชนใ์ นการคมุ้ ครองความสะดวกของประชาชน การดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ และ การรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน อาศยั อา� นาจตามมาตรา ๒1 (1) แหง่ พระราชบญั ญตั ิ การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ จึงให้ผูช้ ุมนุมเลกิ การชมุ นุมภายในเวลา ... ของวนั ที่ ... ท้ังน ้ี ตัง้ แตบ่ ดั น้ีเปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ... พ.ศ. ๒๕....... (ลงชือ่ ) (................................) ผกู้ า� กับการ.../ผบู้ ังคบั การ.../ผบู้ ัญชาการ... เจา้ พนกั งานดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ หมายเหตุ ผู้ใดประสงค์จะอุทธรณ์หรือโต้แย้งค�าสั่งนี้ให้ยื่นอุทธรณ์หรือโต้แย้งค�าส่ังดังกล่าวต่อเจ้าพนักงาน ดูแลการชมุ นมุ สาธารณะผูอ้ อกคา� สงั่ นี้ ภายในสิบหา้ วนั นบั แตว่ นั ทรี่ บั ทราบค�าส่งั โดยการอุทธรณ์หรือโตแ้ ย้ง ดงั กลา่ วไม่เปน็ เหตใุ หท้ ุเลาการบงั คบั ตามค�าสงั่ นี้ ๒๐๔ คู่มอื การปฏิบตั งิ านตามพระราชบัญญตั กิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 204 11/17/2563 BE 12:40 PM
แบบ ๓-๔ ประกาศ เจ้าพนักงานดูแลการชมุ นุมสาธารณะ สถานตี �ารวจ.../กองบงั คบั การ.../กองบญั ชาการ... ท่ ี /๒๕....... เรือ่ ง ให้แกไ้ ขการชุมนมุ สาธารณะ ตามหนงั สือแจ้งการชุมนมุ สาธารณะฉบบั ลงวนั ที ่ ... โดยมีนาย ... เปน็ ผ้แู จ้งการชมุ นมุ สาธารณะ โดยจัดการชมุ นุมบรเิ วณพื้นท่ี ... นั้น ปรากฏวา่ มกี ารชมุ นมุ สาธารณะทฝี่ า่ ฝนื กฎหมาย กลา่ วคอื ... อนั เปน็ การชมุ นมุ สาธารณะทฝี่ า่ ฝนื กฎหมายตามมาตรา .... (มาตรา ๗/มาตรา ๘/มาตรา 1๕/มาตรา 1๖/มาตรา 1๗) ดงั นน้ั เพอ่ื ประโยชนใ์ นการคมุ้ ครองความสะดวกของประชาชน การดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ และ การรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน อาศยั อา� นาจตามมาตรา ๒1 (๒) แหง่ พระราชบญั ญตั ิ การชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ จึงใหผ้ ้ชู มุ นมุ แก้ไขการชุมนุม ดงั น้ี 1. ... (เช่น ให้ผู้ชุมนุมที่อยู่ในระยะรัศมี 1๕๐ เมตรจากพระบรมมหาราชวัง ออกจากบริเวณ ดังกล่าว) ๒. ... (เช่น ให้ผู้ชุมนุมที่กีดขวางถนนโดยรอบสนามหลวง ย้ายมาชุมนุมบริเวณสถานที่ด้านใน สนามหลวง) โดยใหผ้ ชู้ มุ นมุ ถอื ปฏบิ ตั ติ ามคา� แนะนา� ของเจา้ หน้าทโี่ ดยเครง่ ครดั และแก้ไขการชุมนมุ สาธารณะ ทีฝ่ ่าฝนื กฎหมายใหเ้ สร็จสน้ิ ภายในเวลา ... ของวันท่ี ... ท้งั น้ี ตง้ั แต่บดั นเี้ ปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ ี ... พ.ศ. ๒๕....... (ลงช่อื ) (................................) ผกู้ �ากบั การ.../ผ้บู งั คบั การ.../ผบู้ ัญชาการ... เจ้าพนกั งานดแู ลการชมุ นุมสาธารณะ หมายเหตุ ผู้ใดประสงค์จะอุทธรณ์หรือโต้แย้งค�าสั่งน้ีให้ยื่นอุทธรณ์หรือโต้แย้งค�าส่ังดังกล่าวต่อเจ้าพนักงาน ดูแลการชมุ นุมสาธารณะผูอ้ อกคา� สั่งน ้ี ภายในสิบห้าวนั นับแตว่ ันที่รบั ทราบค�าส่ัง โดยการอทุ ธรณห์ รอื โต้แย้ง ดังกลา่ วไมเ่ ปน็ เหตุให้ทุเลาการบังคับตามค�าสัง่ นี้ คู่มือการปฏิบตั ิงานตามพระราชบญั ญัติการชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชุมนมุ สาธารณะ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ๒๐๕ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 205 11/17/2563 BE 12:40 PM
แบบ ๓-๕ ค�ารอ้ งให้เลกิ การชุมนมุ สาธารณะ คดีหมายเลขดา� ท.ี่ .............../๒๕....... คดหี มายเลขแดงท่ี............../๒๕....... ศาล..(..แ..พ...ง่ .ห...ร..ือ..ศ...า..ล..จ..งั..ห...ว..ดั..).... วันท่ี..........เดือน...........................พทุ ธศักราช ๒๕......... ความ..................................................................... ....................................................................................................................................โจทก์ ระหวา่ ง ........................(ลงชอื่ ผรู้ อ้ ง)..........................................................................................ผรู้ อ้ ง .....................................................................................................................................จา� เลย ขา้ พเจา้ ............................................................................................................................................. เชอื้ ชาต.ิ ...................สญั ชาต.ิ .......................................อาชพี ........................................เกดิ วนั ท.ี่ ......................... เดอื น.........................................พ.ศ. ....................อาย.ุ ...................ป ี อยบู่ า้ นเลขท.่ี ...................หมทู่ .ี่ ................... ถนน........................ตรอก/ซอย..........................ใกลเ้ คยี ง.......................ตา� บล/แขวง........................................ อา� เภอ/เขต........................................จงั หวดั .................................................โทรศพั ท.์ ....................................... ขอยืน่ ค�าร้องมขี ้อความตามท่จี ะกลา่ วต่อไปนี้ ข้อ 1. ...(.บ..ร..ร..ย..า..ย..ค...ว..า..ม..เ.ป...น็ ..ม...า..ข..อ..ง..ก..า..ร..ช..มุ...น..มุ..ส...า..ธ..า.ร..ณ....ะ..แ..ล..ะ..ส...ถ..า..น..ะ..ข...อ..ง..ผ..รู้ ..อ้ ..ง..ใ.น...ฐ..า..น..ะ..เ.จ..า้..พ...น..กั...ง.า..น.. ด...ูแ..ล...ก..า..ร..ช..ุม...น..ุม...ส..า..ธ..า..ร..ณ...ะ...)................................................................................................................................... ขอ้ ๒. ...(.บ..ร..ร..ย...า..ย..เ.ห...ต..แุ..ห...่ง..ก..า..ร..ย..่ืน...ค..�า..ร..อ้...ง. ..ว..นั... ..เ.ว..ล..า.. ..ส..ถ...า..น..ท...ี ่ ..พ..ฤ...ต..ิก..า..ร..ณ....ท์ ..กี่...ร..ะ..ท..�า..ค...ว..า..ม..ผ..ดิ... ..แ..ล..ะ.. ก...า..ร..ฝ..า่..ฝ...นื ..ป...ร..ะ..ก..า..ศ...ข..อ...ง.เ..จ..้า..พ...น..ัก...ง.า..น...ด..แู...ล..ก..า..ร..ช...ุม..น...ุม..ส...า..ธ..า..ร..ณ...ะ.. ..ต..า..ม...ม..า..ต...ร..า.. .๒...1... ..ว..ร..ร..ค..ส...อ..ง.. ..แ..ห...ง่ .พ...ร..ะ..ร..า..ช...บ..ัญ....ญ...ตั ..ิ ก...า..ร..ช..ุม...น..ุม...ส..า..ธ..า..ร..ณ....ะ.. ..พ....ศ...๒...๕...๕...๘.. ..พ...ร..อ้..ม...ด..ว้..ย...พ...ย..า..น...ห..ล...กั ..ฐ..า..น...ท..แ่ี...ส..ด...ง.ใ..ห...ศ้ ..า..ล..เ..ห..็น...ว..า่..ผ...ชู้ ..มุ..น...ุม...ก..ร..ะ..ท...�า..ค..ว..า..ม...ผ..ิด...แ..ล..ะ.. ฝ...า่ ..ฝ..นื...ป..ร..ะ...ก..า..ศ... ข้อ ๓. ...(.ค..�า..ข...อ..ใ..ห..้ศ...า..ล..ส...ั่ง..ใ.ห...้ผ..ู้ช...ุม..น...ุม..เ..ล..ิก..ก...า..ร..ช..ุม...น..ุม...ส..า..ธ..า..ร..ณ....ะ..แ..ล...ะ..อ...อ..ก..ค...�า..บ...ัง.ค...ับ...ใ.ห...้ก..ร..ะ...ท..�า..ห...ร..ือ.. ง..ด...เ.ว..้น...ก..า..ร..ก..ร..ะ..ท...า�..ใ..ด..ๆ.. ..ภ..า..ย...ใ.น...ก..�า..ห...น..ด...ร..ะ..ย..ะ..เ..ว..ล..า..)................................................................................................ ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด ลงชอ่ื .....................................................................ผู้ร้อง ๒๐๖ คมู่ อื การปฏิบัตงิ านตามพระราชบัญญตั กิ ารชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชมุ นมุ สาธารณะ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 206 11/17/2563 BE 12:40 PM
แบบ ๓-๖ ประกาศ เจ้าพนกั งานดูแลการชุมนุมสาธารณะ สถานตี �ารวจ.../กองบังคบั การ.../กองบัญชาการ... ท ี่ /๒๕....... เร่อื ง ก�าหนดพน้ื ทีค่ วบคมุ ตามค�าส่ังศาล ... เลขคา� รอ้ งที่ ... วันท่ี .... มคี า� บงั คบั ใหผ้ ชู้ มุ นมุ บรเิ วณ ... เลกิ การชุมนุมสาธารณะ ภายในระยะเวลา ... นน้ั ปรากฏว่ายังมีผู้ชุมนุมฝ่าฝืนค�าส่ังศาลดังกล่าว อันเป็นการกระท�าความผิดตามมาตรา ... แหง่ พระราชบญั ญตั ิการชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ และ ... (กฎหมายอนื่ ๆ ถ้าม)ี ดังนั้น เพ่ือประโยชน์ในการคุ้มครองความสะดวกของประชาชน การดูแลการชุมนุมสาธารณะ และการรักษาความสงบเรยี บร้อยหรือศลี ธรรมอันดีของประชาชน อาศยั อา� นาจตามมาตรา ๒๓ แห่งพระราช บญั ญตั ิการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ จึงประกาศใหพ้ น้ื ที่ดังตอ่ ไปนี้ เป็นพื้นทค่ี วบคมุ 1. ... (เช่น ทา� เนียบรฐั บาล และถนนโดยรอบท�าเนียบรัฐบาล) ๒. ... (เชน่ ถนนราชด�าเนนิ นอก ตั้งแตแ่ ยกลานพระรปู ทรงมา้ ถึงแยกสะพานผา่ นฟา้ ลลี าศ) ใหผ้ ู้ชุมนุมออกจากพน้ื ที่ควบคุมขา้ งต้นภายในเวลา ... (1๘.๐๐ นาฬิกา) ของวันที่ ... และหา้ ม บุคคลใดเข้าไปในพ้ืนท่ีควบคุมโดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ โดยให้ถือปฏิบัติ ตามค�าแนะน�าของเจา้ หน้าทโ่ี ดยเคร่งครดั ทง้ั นี้ ตงั้ แตบ่ ัดนเ้ี ป็นต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ ี ... พ.ศ. ๒๕....... (ลงช่ือ) (................................) ผู้กา� กับการ.../ผ้บู ังคับการ.../ผู้บัญชาการ... เจ้าพนักงานดแู ลการชุมนุมสาธารณะ หมายเหตุ 1. ผใู้ ดประสงคจ์ ะอทุ ธรณห์ รอื โตแ้ ยง้ คา� สงั่ นใี้ หย้ น่ื อทุ ธรณห์ รอื โตแ้ ยง้ คา� สง่ั ดงั กลา่ วตอ่ เจา้ พนกั งาน ดแู ลการชุมนุมสาธารณะผอู้ อกคา� สั่งน ี้ ภายในสิบห้าวนั นับแต่วันท่รี บั ทราบค�าสั่ง โดยการอุทธรณ์หรอื โตแ้ ย้ง ดงั กล่าวไมเ่ ป็นเหตุใหท้ ุเลาการบังคับตามค�าสั่งนี้ ๒. ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามค�าสั่งหรือประกาศของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะตามมาตรา ๒๓ ถ้าผู้นัน้ เปน็ ผจู้ ัดการชุมนมุ หรอื ผชู้ มุ นมุ ตอ้ งระวางโทษจา� คุกไม่เกนิ หนึ่งป ี หรอื ปรบั ไม่เกนิ สองหม่ืนบาท หรอื ทง้ั จา� ทงั้ ปรับ แต่ถ้าผู้น้นั เปน็ ผู้อยู่ภายในสถานท่ีชมุ นมุ ต้องระวางโทษปรบั ไมเ่ กินหนึ่งหมน่ื บาท ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงานตามพระราชบัญญตั ิการชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชมุ นมุ สาธารณะ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ๒๐๗ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 207 11/17/2563 BE 12:40 PM
แบบ ๓-๗ คา� สั่ง ผู้ควบคมุ สถานการณ์ ผูบ้ ัญชาการต�ารวจนครบาล/ผวู้ า่ ราชการจังหวดั .. ท ี่ /๒๕....... เร่ือง หา้ มนา� สง่ิ ของเข้าพ้นื ทีค่ วบคุม ตามค�าสัง่ ศาล ... เลขคา� ร้องที่ ... วนั ท่ี .... มคี า� บงั คบั ใหผ้ ชู้ มุ นมุ บรเิ วณ ... เลกิ การชมุ นุมสาธารณะ ภายในระยะเวลา ... และประกาศเจ้าพนักงานดแู ลการชมุ นุมสาธารณะ สถานีต�ารวจ .../กองบังคบั การ .../ กองบัญชาการ ... ที ่ .../๒๕๕๘ ลงวนั ที่ ... เร่อื ง พื้นท่ีควบคมุ นนั้ ปรากฏวา่ ยงั มีผชู้ มุ นมุ ฝา่ ฝนื คา� สง่ั ศาลและประกาศเจ้าพนกั งานดูแลการชมุ นมุ สาธารณะดงั กลา่ ว อันเป็นการกระท�าความผิดตามมาตรา ... แห่งพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ และ ... (กฎหมายอ่นื ๆ) ตลอดจนมีการฝา่ ฝืน โดยน�าเครื่องมอื อุปกรณต์ ่างๆ มาใชแ้ ละสนบั สนุนการกระท�าความผิด ดังนั้น เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองความสะดวกของประชาชน การดูแลการชุมนุมสาธารณะ และการรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน อาศัยอ�านาจตามมาตรา ๒๔ (๔) แห่งพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ จึงประกาศห้ามน�าส่ิงของต่างๆ เข้าไปในพ้ืนที่ควบคุม ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ... (เชน่ ทราย ปนู ซีเมนต์ กระสอบ ยางรถยนต์ เปน็ ต้น) ๒. ... ทั้งน ้ี ตั้งแตบ่ ัดนี้เป็นต้นไป ส่งั ณ วนั ที่ ... พ.ศ. ๒๕....... (ลงชอ่ื ) (................................) ผู้บญั ชาการต�ารวจนครบาล/ผู้วา่ ราชการจงั หวัด... ผคู้ วบคมุ สถานการณ์ หมายเหตุ 1. ผใู้ ดประสงคจ์ ะอทุ ธรณห์ รอื โตแ้ ยง้ คา� สงั่ นใี้ หย้ นื่ อทุ ธรณห์ รอื โตแ้ ยง้ คา� สงั่ ดงั กลา่ วตอ่ ผอู้ อกคา� สงั่ นี้ ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่รับทราบค�าส่ัง โดยการอุทธรณ์หรือโต้แย้งดังกล่าวไม่เป็นเหตุให้ทุเลาการบังคับ ตามคา� สงั่ น้ี ๒. ผใู้ ดไมป่ ฏบิ ตั ติ ามคา� สง่ั ของผคู้ วบคมุ สถานการณห์ รอื ผซู้ ง่ึ ไดร้ บั มอบหมายจากผคู้ วบคมุ สถานการณ์ ตามมาตรา ๒๔ หรือมาตรา ๒๕ ตอ้ งระวางโทษจ�าคุกไมเ่ กินสามป ี หรือปรบั ไมเ่ กนิ หกหม่ืนบาท หรอื ทงั้ จ�า ทงั้ ปรับ ๒๐๘ คู่มือการปฏิบตั ิงานตามพระราชบัญญตั กิ ารชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 208 11/17/2563 BE 12:40 PM
แบบ ๓-๘ คา� สงั่ เจา้ พนักงานดแู ลการชุมนมุ สาธารณะ สถานีต�ารวจ.../กองบังคับการ.../กองบัญชาการ... ท่ ี /๒๕....... เรื่อง ให้ยุตกิ ารชมุ นมุ สาธารณะ ตามหนงั สือแจ้งการชมุ นุมสาธารณะฉบับลงวนั ที่ ... โดยมีนาย ... เป็นผู้แจง้ การชุมนุมสาธารณะ โดยจดั การชุมนุมบริเวณพืน้ ท่ี ... นั้น ปรากฏวา่ มกี ารชมุ นมุ สาธารณะทม่ี กี ารกระทา� ลกั ษณะรนุ แรงและอาจเปน็ อนั ตรายแกช่ วี ติ รา่ งกาย จติ ใจ หรือทรัพย์สนิ ของผอู้ ื่นจนเกิดความวุน่ วายขึ้นในบา้ นเมือง กล่าวคือ .... (บรรยายพฤตกิ ารณ)์ อันเป็นการ ชมุ นมุ สาธารณะทีล่ ะเมิดต่อกฎหมาย อนั เป็นความผดิ ตามมาตรา .... แหง่ พระราชบัญญัตกิ ารชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ และ .... (กฎหมายอ่นื ๆ ถา้ ม)ี ดังน้ัน เพ่ือประโยชน์ในการคุ้มครองความสะดวกของประชาชน การดูแลการชุมนุมสาธารณะ และการรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน อาศยั อา� นาจตามมาตรา ๒๕ แหง่ พระราชบญั ญตั ิ การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ จึงให้ผู้ชุมนุมยุติการชุมนุมบริเวณ .... ภายในเวลา ... ของวันท่ี ... หากฝา่ ฝืนหรือไม่ปฏบิ ตั ิตาม เจ้าหน้าท่ีมคี วามจา� เป็นต้องดา� เนินการตามกฎหมายข้นั เดด็ ขาด ทงั้ นี้ ตัง้ แตบ่ ัดนีเ้ ปน็ ต้นไป สัง่ ณ วันที่ ... พ.ศ. ๒๕....... (ลงชือ่ ) (................................) ผ้กู �ากบั การ.../ผ้บู ังคับการ.../ผ้บู ัญชาการ... เจ้าพนกั งานดูแลการชุมนมุ สาธารณะ หมายเหตุ 1. ผใู้ ดประสงคจ์ ะอทุ ธรณห์ รอื โตแ้ ยง้ คา� สงั่ นใี้ หย้ น่ื อทุ ธรณห์ รอื โตแ้ ยง้ คา� สง่ั ดงั กลา่ วตอ่ เจา้ พนกั งาน ดูแลการชุมนุมสาธารณะผอู้ อกคา� สั่งน ้ี ภายในสิบหา้ วนั นบั แต่วนั ที่รับทราบค�าส่งั โดยการอุทธรณ์หรือโต้แย้ง ดังกล่าวไม่เปน็ เหตใุ ห้ทเุ ลาการบงั คบั ตามคา� สงั่ นี้ ๒. ผใู้ ดไมป่ ฏบิ ตั ติ ามคา� สงั่ ของผคู้ วบคมุ สถานการณห์ รอื ผซู้ ง่ึ ไดร้ บั มอบหมายจากผคู้ วบคมุ สถานการณ์ ตามมาตรา ๒๕ ต้องระวางโทษจ�าคกุ ไม่เกนิ สามป ี หรือปรับไมเ่ กนิ หกหมืน่ บาท หรือทง้ั จา� ทง้ั ปรบั คมู่ อื การปฏิบัตงิ านตามพระราชบัญญัตกิ ารชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ๒๐๙ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 209 11/17/2563 BE 12:40 PM
แบบ ๓-๙ ประกาศสถานีต�ารวจ....... เรอื่ ง ใหผ้ ูช้ ุมนุมเลกิ การชมุ นมุ ภายในระยะเวลาที่กา� หนด ด้วยมีกลุ่มบุคคลได้จัดการชุมนุมสาธารณะโดยไม่แจ้งการชุมนุมต่อผู้รับแจ้งก่อนเร่ิมการชุมนุม ไม่น้อยกว่าย่ีสิบสี่ชั่วโมงและไม่แจ้งขอผ่อนผันก�าหนดเวลาต่อผู้บังคับการต�ารวจ........ ก่อนเร่ิมการชุมนุม ตามมาตรา 1๐ และมาตรา 1๒ แห่ง พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ อันเป็นการชุมนุมท่ีไม่ชอบ ด้วยกฎหมายตามมาตรา 1๔ อาศัยอ�านาจตามความในมาตรา ๒1 (1) แห่ง พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ จงึ ให้ผูช้ ุมนมุ เลกิ การชุมนุมภายในเวลา.......ของวนั ที.่ ..... ประกาศ ณ วนั ที่ ... พ.ศ. ๒๕....... (ลงช่ือ) (................................) ตา� แหนง่ ............................................. เจา้ พนกั งานดูแลการชุมนุมสาธารณะ หมายเหตุ 1. ผู้ใดประสงค์จะอุทธรณ์ค�าส่ังหรือโต้แย้งค�าส่ังนี้ให้ยื่นอุทธรณ์หรือโต้แย้งค�าส่ังดังกล่าวต่อ เจา้ พนกั งานดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะผู้ออกคา� สัง่ น้ี ภายในสบิ หา้ วนั นับแต่วันที่รบั ทราบคา� ส่ัง โดยการอุทธรณ์ หรอื โตแ้ ย้งดังกล่าวไมเ่ ป็นเหตใุ ห้ทเุ ลาการบงั คับตามค�าสง่ั นี้ ๒1๐ คู่มอื การปฏบิ ัติงานตามพระราชบญั ญตั กิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชุมนมุ สาธารณะ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 210 11/17/2563 BE 12:40 PM
ภาคผนวก คมู่ ือการปฏิบตั ิงานตามพระราชบัญญตั ิการชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ๒11 ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 211 11/17/2563 BE 12:40 PM
๒1๒ คมู่ อื การปฏบิ ัติงานตามพระราชบญั ญัตกิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 212 11/17/2563 BE 12:40 PM
ภาคผนวก ก คูม่ อื การปฏิบัตงิ านตามพระราชบัญญัติการชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ๒1๓ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 213 11/17/2563 BE 12:40 PM
๒1๔ คมู่ อื การปฏบิ ัติงานตามพระราชบญั ญัตกิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 214 11/17/2563 BE 12:40 PM
ค�าสัง่ สา� นักงานตา� รวจแห่งชาติ ท ่ี /๒๕๖๐ เร่อื ง การมอบหมายการประกาศหา้ มการชมุ นุมสาธารณะตามมาตรา ๗ วรรคสอง แหง่ พระราชบญั ญัตกิ ารชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ เพ่ือให้การบริหารจัดการการชุมนุมสาธารณะเป็นไปด้วยความเรียบร้อย รวดเร็ว และทันต่อ สถานการณ ์ อาศยั อา� นาจตามความนยั มาตรา ๗ วรรคทา้ ย แหง่ พระราชบญั ญตั กิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ จงึ มอบหมายให ้ ผบู้ ญั ชาการตา� รวจนครบาล และรองผบู้ ญั ชาการตา� รวจนครบาลทผ่ี บู้ ญั ชาการตา� รวจนครบาล มอบหมาย เป็นผู้มีอ�านาจประกาศห้ามชุมนุมสาธารณะ ตามนัยมาตรา ๗ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ การชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ในเขตพืน้ ทก่ี รงุ เทพมหานคร อนึ่ง ในการพิจารณาออกประกาศดังกล่าวให้ค�านึงถึงเรื่อง สิทธิ และเสรีภาพ ตามบทบัญญัติ แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และหลักการและเหตุผลของพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ ประกอบกนั ดว้ ย ทั้งนี้ ตง้ั แตบ่ ัดน้เี ป็นต้นไป ส่งั ณ วนั ท่ี มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๐ พลต�ารวจเอก (จกั รทิพย ์ ชัยจนิ ดา) ผบู้ ัญชาการตา� รวจแหง่ ชาติ คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านตามพระราชบญั ญัติการชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชมุ นมุ สาธารณะ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ๒1๕ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 215 11/17/2563 BE 12:40 PM
๒1๖ คมู่ อื การปฏบิ ัติงานตามพระราชบญั ญัตกิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 216 11/17/2563 BE 12:40 PM
ภาคผนวก ข คูม่ อื การปฏิบัตงิ านตามพระราชบัญญัติการชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ๒1๗ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 217 11/17/2563 BE 12:40 PM
๒1๘ คมู่ อื การปฏบิ ัติงานตามพระราชบญั ญัตกิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 218 11/17/2563 BE 12:40 PM
บันทึกข้อความ ส่วนราชการ ตร. โทร. ๐ ๒๕1๓ ๔1๓1 ท ี่ ๐๐๐1(มค)/ วนั ท่ี พฤษภาคม ๒๕๖๒ เรอ่ื ง การเตรยี มความพรอ้ มและรองรบั ภารกจิ ในการดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย ทันตอ่ สถานการณ์ ผบช.น., ผบช.ภ.1 - ๙ ผบช.ตชด. ตาม วิทยุ ตร.ด่วนที่สุด ที่ ๐๐๐1(มค)/๓๓1 ลง 1๓ พ.ค. ๖๒ แจ้งว่าเพ่ือเป็นการเตรียม ความพร้อมและรองรับภารกิจในการดแู ลการชุมนุมสาธารณะให้เปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ยทันต่อสถานการณ์ จึงมอบหมายให้หน่วยต่าง ๆ ด�าเนินการฝึกอบรมข้าราชการต�ารวจในสังกัดท่ียังไม่ผ่านการฝึกอบรมตาม พ.ร.บ.การชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ นนั้ เพ่อื ให้การฝกึ อบรมขา้ ราชการต�ารวจดงั กลา่ ว เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อยเกดิ ประสทิ ธภิ าพ และ เปน็ ไปตาม พ.ร.บ.การชุมนมุ สาธารณะฯ จงึ ขอก�าชบั ให้ทกุ หน่วย ด�าเนินการฝึกอบรมใหค้ รบถว้ นและเปน็ ไป ตามระเบียบท่ีเก่ียวข้อง กล่าวคือ การฝึกอบรมเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ และข้าราชการต�ารวจ ซึง่ ปฏิบัติหนา้ ท่ีดูแลการชมุ นมุ สาธารณะ ต้องมเี น้ือหาเป็นไปตามท ่ี ตร. ก�าหนดไว ้ (รายละเอยี ดปรากฏตาม เอกสารที่แนบ) และมีการมอบประกาศนียบัตรรับรองการส�าเร็จการฝึกอบรม โดยผู้บัญชาการหน่วยงาน ตน้ สังกดั และบันทึกขอ้ มลู ผู้ผ่านการฝกึ อบรมลงในสมดุ ประวตั ิ (ก.พ.๗) ให้ถูกต้องครบถ้วน โดยด�าเนินการให้ เสรจ็ ส้ินภายใน ๒๕ พ.ค. ๖๒ จงึ แจ้งมาเพอ่ื ทราบและถือปฏิบัติ พล.ต.อ. (ศรวี ราห ์ รังสิพราหมณกลุ ) รอง ผบ.ตร.ปรท.ผบ.ตร. คู่มือการปฏิบัตงิ านตามพระราชบญั ญตั ิการชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชมุ นุมสาธารณะ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ๒1๙ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 219 11/17/2563 BE 12:40 PM
หลกั สูตรการฝกึ อบรมเจ้าพนกั งานดแู ลการชุมนุมสาธารณะ และขา้ ราชการต�ารวจซ่ึงปฏบิ ตั หิ น้าทดี่ ูแลการชมุ นมุ สาธารณะ .............................. พระราชบญั ญตั กิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ กา� หนดหลกั เกณฑว์ ธิ กี ารปฏบิ ตั ใิ นการชมุ นมุ สาธารณะ โดยเจา้ พนกั งานดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ และขา้ ราชการตา� รวจซงึ่ ไดร้ บั มอบหมายใหด้ แู ลการชมุ นมุ สาธารณะ ตอ้ งผ่านการฝกึ อบรมใหม้ ที กั ษะ ความเข้าใจ และอดทนตอ่ สถานการณ์การชุมนมุ สาธารณะ สา� นกั งานตา� รวจ แห่งชาติ จงึ ก�าหนดหลกั สตู รการฝกึ อบรมไวใ้ หถ้ ือปฏบิ ัต ิ ดังต่อไปนี้ ขอ้ ๑ วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม 1.1 เพื่อให้เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ และข้าราชการต�ารวจซึ่งปฏิบัติหน้าท่ี ดูแลการชุมนุมสาธารณะมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และสามารถปฏิบัติหน้าที่อย่างถูกต้องเป็นไปตาม พระราชบัญญตั ิการชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ 1.๒ เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ฝึกยุทธวิธีและเทคนิคในการดูแลการชุมนุมสาธารณะ พื้นฐานตามแนวทางหลักการใชก้ �าลงั (Use of force) สอดคลอ้ งกับหลักสากลและแผนหรอื แนวทางการดูแล การชมุ นุมสาธารณะท่ีคณะรฐั มนตรใี หค้ วามเห็นชอบ ข้อ ๒ การฝึกอบรมแบง่ ออกเป็น ๒ หลักสูตร ดังน้ี ๒.1 หลักสตู รการฝึกอบรมเจา้ พนกั งานดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ ๒.๒ หลกั สูตรการฝกึ อบรมขา้ ราชการตา� รวจซงึ่ ปฏิบัตหิ น้าทีด่ ูแลการชุมนมุ สาธารณะ ขอ้ ๓ คณุ สมบัตขิ องผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม ๓.1 หลักสูตรการฝกึ อบรมเจ้าพนักงานดแู ลการชมุ นุมสาธารณะตามข้อ ๒.1 เป็นข้าราชการต�ารวจชั้นสัญญาบัตร ซึ่งด�ารงต�าแหน่งหัวหน้าสถานีต�ารวจข้ึนไปท่ี รับผิดชอบการปฏิบัติงานในพ้ืนท่ี หรือข้าราชการต�ารวจอื่นที่ผู้บัญชาการต�ารวจแห่งชาติอาจแต่งตั้งให้เป็น เจ้าพนักงานเพ่ิมหรือแทนเจา้ พนกั งานดูแลการชมุ นมุ สาธารณะ ๓.๒ หลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการต�ารวจซึ่งปฏิบัติหน้าท่ีดูแลการชุมนุมสาธารณะ ตามข้อ ๒.๒ เปน็ ขา้ ราชการตา� รวจชนั้ สญั ญาบตั รระดบั รองผกู้ า� กบั การลงมาและขา้ ราชการตา� รวจ ชน้ั ประทวนทด่ี า� รงตา� แหนง่ ในกลมุ่ สายงานปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั ปราบปราม หรอื ขา้ ราชการตา� รวจอนื่ ทผี่ บู้ ญั ชาการ ตา� รวจแหง่ ชาตเิ ห็นสมควรใหเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม ข้อ ๔ การคัดเลอื กผเู้ ข้ารับการอบรม ใหห้ วั หนา้ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั พจิ ารณาจดั สง่ รายชอื่ ขา้ ราชการตา� รวจทมี่ คี ณุ สมบตั ติ ามขอ้ ๓ ไปยงั หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบการฝกึ อบรม ทงั้ น ี้ ใหพ้ จิ ารณาคดั เลอื กผทู้ ยี่ งั ไมเ่ คยเขา้ รบั การฝกึ อบรมในหลกั สตู ร การฝกึ อบรมนมี้ ากอ่ นเปน็ อนั ดบั แรก หรอื ผทู้ เ่ี คยไดร้ บั การฝกึ อบรมหลกั สตู รนแี้ ลว้ แตไ่ มผ่ า่ นการประเมนิ หรอื ถกู ตดั สทิ ธอิ อกจากการฝกึ อบรมไมว่ า่ กรณใี ด ๆ และอาจพจิ ารณาคดั เลอื กผทู้ เี่ คยผา่ นการฝกึ อบรมในหลกั สตู รนี้ มาแลว้ เพอื่ เขา้ รับการฝึกอบรมทบทวนความรูไ้ ด้ตามความเหมาะสม ข้อ ๕ ก�าหนดการฝึกอบรม สถานท่ีฝกึ อบรม และจ�านวนผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม กา� หนดการ สถานท ี่ และจา� นวนผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม ใหเ้ ปน็ ตามทส่ี า� นกั งานตา� รวจแหง่ ชาติ กา� หนด ๒๒๐ คูม่ ือการปฏบิ ตั งิ านตามพระราชบญั ญตั ิการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 220 11/17/2563 BE 12:40 PM
ขอ้ ๖ การด�าเนนิ การฝึกอบรม ๖.1 ใหผ้ บู้ ญั ชาการหนว่ ยงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายจากสา� นกั งานตา� รวจแหง่ ชาต ิ เปน็ ผอู้ า� นวยการ ฝึกอบรมมีอ�านาจหน้าที่บริหารการฝึกอบรม ควบคุม ก�ากับ ดูแล พิจารณาส่ังการเกี่ยวกับการด�าเนินการ ฝกึ อบรม รวมถงึ แตง่ ตง้ั คร-ู อาจารย ์ กองอา� นวยการฝกึ อบรมและเจา้ หนา้ ทชี่ ว่ ยเหลอื การฝกึ อบรม เพอ่ื ใหบ้ รรลผุ ล ตามวตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สตู ร ๖.๒ ใหผ้ บู้ งั คบั การศนู ยฝ์ กึ อบรมหรอื ผทู้ ไ่ี ดร้ บั มอบหมายจากสา� นกั งานตา� รวจแหง่ ชาต ิ เปน็ ผอู้ า� นวยการ สถานฝกึ อบรมมอี า� นาจออกระเบยี บภายใน โดยไมข่ ดั แยง้ ตอ่ ระเบยี บของสา� นกั งานตา� รวจแหง่ ชาติ และท่ีก�าหนดไว้ในหลักสูตร รวมถึงวางแผนการฝึกอบรม เช่น การจัดตารางการฝึกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติ จัดหาวัสดุอปุ กรณท์ ีใ่ ช้ในการฝึกอบรม สถานที่พัก สถานที่ศกึ ษา จัดหาครู-อาจารย์ผูส้ อน เปน็ ต้น ๖.๓ ระหว่างการฝึกอบรมหากพบว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีร่างกายไม่สมบูรณ์หรือมีโรค ซึ่งผู้อ�านวยการสถานฝึกอบรมและแพทย์โรงพยาบาลของทางราชการ มีความเห็นว่าจะเป็นอุปสรรคต่อ การฝึกอบรมตามปกต ิ ให้ผูอ้ า� นวยการสถานฝกึ อบรมพิจารณาส่งตัวกลบั หนว่ ยงานตน้ สังกดั ขอ้ ๗ การปกครองบังคบั บญั ชา ๗.1 ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม อยภู่ ายใตก้ ารควบคมุ กา� กบั ดแู ล หรอื การปกครองบงั คบั บญั ชา ของผอู้ �านวยการฝกึ อบรม และ ผู้อา� นวยการสถานฝกึ อบรม ๗.1 ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม จะตอ้ งพกั อยปู่ ระจา� ในสถานฝกึ อบรม หรอื ในสถานทซี่ ง่ึ ผอู้ า� นวยการ สถานฝกึ อบรมกา� หนด ขอ้ ๘ ความประพฤตแิ ละระเบียบวินยั ในระหว่างการฝกึ อบรม ๘.1 ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมตอ้ งประพฤต ิ และปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บแบบแผนของสถานฝกึ อบรม และส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ท่ีก�าหนดโดยเคร่งครัด ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ประพฤติตามระเบียบแบบแผนของ สถานฝกึ อบรมและส�านกั งานต�ารวจแหง่ ชาต ิ ให้ผูอ้ �านวยการสถานฝึกอบรม พิจารณาดา� เนินการ ดงั น้ี ๘.1.1 ดา� เนินการตามข้อบังคับและระเบียบของสถานฝกึ อบรม ๘.1.๒ ด�าเนินการทางวินัยตามท่ีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติต�ารวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ ๘.1.๓ กรณเี ปน็ การกระทา� ความผดิ วนิ ยั รา้ ยแรงใหผ้ อู้ า� นวยการสถานฝกึ อบรมสง่ ตวั กลับตน้ สังกัดและตน้ สังกัดเปน็ ผ้ดู �าเนินการทางวินยั ๘.1.๔ ตดั สทิ ธิออกจากการฝกึ อบรม และส่งตัวกลบั ตน้ สงั กัด ๘.๒ ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทุกคน มีคะแนนความประพฤติคนละ 1๐๐ คะแนน และ ใหผ้ ู้มตี �าแหน่งหนา้ ทต่ี อ่ ไปน้ีมอี �านาจสงั่ ตดั คะแนนได้ คือ ๘.๒.1 ผบู้ งั คบั หมทู่ า� หนา้ ทฝี่ า่ ยปกครอง คร ู และครผู ชู้ ว่ ยทไี่ มใ่ ชช่ น้ั สญั ญาบตั รครง้ั ละ ไม่เกิน ๕ คะแนน ๘.๒.๒ ผู้บงั คบั หมวด และครผู ู้ช่วยชนั้ สญั ญาบตั ร ครัง้ ละไม่เกนิ 1๐ คะแนน ๘.๒.๓ ผ้บู งั คับกองรอ้ ย อาจารย์หรือผบู้ รรยายพิเศษ ครง้ั ละไม่เกิน 1๕ คะแนน ๘.๒.๔ รองผู้ก�ากับการ ครงั้ ละไม่เกนิ ๒๐ คะแนน ๘.๒.๕ ผ้กู า� กับการ ครั้งละไม่เกิน ๒๕ คะแนน ค่มู อื การปฏบิ ตั ิงานตามพระราชบัญญัตกิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชมุ นุมสาธารณะ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ๒๒1 ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 221 11/17/2563 BE 12:40 PM
๘.๒.๖ รองผูบ้ งั คบั การ ครง้ั ละไม่เกนิ ๓๐ คะแนน ๘.๒.๗ ผู้บังคับการ คร้ังละไม่เกนิ ๓๕ คะแนน ๘.๓ ผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรมคนใด ถูกตัดคะแนนความประพฤติ จนเหลอื ไมถ่ งึ ๖๐ คะแนน หรือมีเวลาการฝึกอบรมไมถ่ งึ ร้อยละ ๘๐ ของระยะเวลาการฝึกอบรม ใหด้ า� เนินการตามขอ้ ๘.1.๔ ข้อ ๙ หลกั สตู รและขอบเขตรายวิชา ๙.1 หลักสตู รการฝึกอบรมเจ้าพนักงานดูแลการชมุ นุมสาธารณะ ตามขอ้ ๒.1 มีระยะเวลา การฝึกอบรม จ�านวน ๓ วนั วันท่ี วิชา ขอบเขตวชิ า จา� นวนชว่ั โมง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ รวม 1. 1. สภาพปัญหาและธรรมชาติของ 1. ธรรมชาติของการชมุ นุมสาธารณะ ๒ ๒ การชมุ นมุ สาธารณะ ๒. ผลกระทบ และความเสี่ยงของการชุมนุม สาธารณะ ๓. การเคลือ่ นไหวของฝงู ชน ๔. การปฏิบัติงานของต�ารวจกับการชุมนุม สาธารณะ การวเิ คราะห์สถานการณ์ ๒. สาระสา� คญั พ.ร.บ.การชมุ นมุ สาธารณะ 1. การบังคับใช้ พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ ๔ ๔ พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๘ ๒. พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ๓. กฎหมายตา่ งประเทศและแนวคา� พพิ ากษาศาล ทีน่ า่ สนใจ ๒. ๓. จติ วทิ ยาและหลกั สากลในการดแู ล 1. สทิ ธ ิ เสรภี าพในการชมุ นมุ ลกั ษณะของฝงู ชน ๓ ๓ การชมุ นมุ สาธารณะ ๒. ปฏิญญาสากลวา่ ดว้ ยสิทธิมนษุ ยชน ๓. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสทิ ธิทางการเมอื ง ๔. หลกั การพน้ื ฐานในการใชก้ า� ลงั และอาวธุ ปนื โดยเจา้ หนา้ ทผี่ บู้ งั คบั ใชก้ ฎหมาย (Havana, 1๙๙๐) ๕. ประมวลหลักการประพฤติปฏิบัติส�าหรับ เจา้ หนา้ ทผี่ บู้ งั คบั ใชก้ ฎหมาย (CCLEO, 1๙๗๙) ๖. จติ วทิ ยากลมุ่ และการแพรร่ ะบาดทางอารมณ์ ๔. แผนหรอื แนวทางการดแู ลการชมุ นมุ 1. การเขยี นแผน ค�าสง่ั และการวางแผน ๓๓ สาธารณะ ๒. หลกั การ นโยบาย กรอบ ยทุ ธศาสตรก์ ารดแู ล การชมุ นุมสาธารณะ ๓. การเขยี นแผนปฏิบัตกิ ารระดับ สน./สภ. ๔. แบง่ กลมุ่ กรณศี กึ ษาแผนการดแู ลการชมุ นมุ ตามสถานการณ์ ๒๒๒ คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านตามพระราชบัญญตั ิการชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชมุ นมุ สาธารณะ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 222 11/17/2563 BE 12:40 PM
วันท่ี วชิ า ขอบเขตวิชา จ�านวนชว่ั โมง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ รวม ๓. ๕. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติตามบทบาท/ 1. แบ่งกลุ่มฝึกสถานการณ์สมมติตั้งแต่ขั้น ๖๖ ขั้นตอนการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. เตรียมการ ข้ันก่อนการชุมนุม การรับแจ้ง การชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ การชุมนุม ขั้นการชุมนุมโดยสงบจนถึง ขั้นตอนการปฏิบัติที่มีความรุนแรง และ ขั้นตอนการฟน้ื ฟเู ยียวยา ๒. สรุปผล/ตอบขอ้ ซกั ถาม รวมทง้ั สิ้น (ช่วั โมง) ๙ ๙ ๑๘ ๙.๒ หลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการต�ารวจซึ่งปฏิบัติหน้าที่ดูแลการชุมนุมสาธารณะ ตามขอ้ ๒.๒ มรี ะยะเวลาการฝึกอบรม จ�านวน ๔ วัน วนั ที่ วิชา ขอบเขตวชิ า จา� นวนช่วั โมง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ รวม 1. 1. ทบทวนกรณีศึกษาการปฏิบัติ 1. พนื้ ฐานความรบั ผดิ ชอบ 1 1 ของกองรอ้ ยควบคมุ ฝูงชน ๒. ระบบการสั่งการบงั คบั บญั ชา ๓. ขอ้ จา� กดั ในการปฏบิ ตั งิ านของกองรอ้ ยควบคมุ ฝงู ชน ๒. บรรยายความรตู้ าม พ.ร.บ.การชมุ นมุ 1. พ.ร.บ.การชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ๒ ๒ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ๒. แผนหรอื แนวทางการดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ ๓. พ.ร.บ.การชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ กบั คมู่ อื การฝกึ และการปฏบิ ตั กิ ารควบคมุ ฝงู ชน ๓. ฝึกปฏิบัติยุทธวิธีพ้ืนฐานการรักษา 1. การประกอบกา� ลังเป็นหมู่ ๔๔ ความปลอดภยั และการควบคมุ ฝงู ชน ๒. การประกอบกา� ลงั เปน็ หมวด ๓. การจัดกา� ลงั คดั กรอง ๔. การจดั วงลอ้ มเคลือ่ นทีแ่ ละอยกู่ บั ที่ ๕. การจัดแถว ยดึ เข็มขดั ๖. การจบั กมุ ๒. ๔. ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารควบคมุ ฝงู ชนขนาดเลก็ 1. การประกอบกา� ลังเป็นคตู่ รวจ ๖๖ และขนาดกลาง ๒. การประกอบกา� ลังเปน็ ชดุ ๓. การประกอบกา� ลังเปน็ หมู่ ๔. การประกอบกา� ลังเปน็ หมวด ๕. การใชย้ ทุ ธวธิ เี คล่ือนไหวกดดนั ๖. การจับกุมในฝูงชน คู่มอื การปฏบิ ตั งิ านตามพระราชบญั ญัตกิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ๒๒๓ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 223 11/17/2563 BE 12:40 PM
วนั ที่ วิชา ขอบเขตวชิ า จา� นวนชัว่ โมง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ รวม ๓. ๕. ฝึกปฏิบัติรูปขบวนและอุปกรณ์ 1. บคุ คลประกอบกระบองและการใชก้ ระบอง ๓๓ ควบคุมฝูงชน ๒. บคุ คลประกอบโลแ่ ละการใช้โล่ ๓. การประกอบกา� ลังเป็นกองร้อย ๔. การเคลอ่ื นทแ่ี ละการแปรรูปขบวน ๕. การใช้อุปกรณ์พิเศษ ๖. การจับกมุ ขนาดใหญ่ ๖. ฝกึ ปฏบิ ตั ชิ ดุ ควบคมุ ฝงู ชนเคลอื่ นทเี่ รว็ 1. รปู ขบวนแถวตอน ๖๖ ๒. รปู ขบวนหน้ากระดาน ๓. การใชอ้ าวธุ ๔. การเคล่ือนที่และการแปรรปู ขบวน ๕. เจา้ หนา้ ทีช่ ่วยเหลือผบู้ าดเจ็บ ๖. การจับกมุ ๔. ๗. การฝึกตามสถานการณส์ มมติ 1. กรณีการชุมนุม ตาม พ.ร.บ.การชุมนุม ๖๖ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ๒. กรณีการชุมนุมรุนแรงละเมิด พ.ร.บ. การชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ๓. กรณีกลุ่มผู้ชุมนุมขัดค�าสั่งศาลกรณีเกิด การจลาจล รวมทง้ั สน้ิ ๓ ๒๕ ๒๘ ๙.๓ ผอู้ า� นวยการฝกึ อบรมอาจจดั วชิ าหรอื การฝกึ เพม่ิ เตมิ จากทก่ี า� หนดไดต้ ามทเี่ หน็ สมควร ข้อ ๑๐ วธิ ีการฝึกอบรม กรณฝี กึ อบรมจะใชว้ ธิ หี นง่ึ หรอื หลายวธิ กี ไ็ ดข้ นึ้ อยกู่ บั ลกั ษณะของวชิ าทส่ี อน ประกอบดว้ ย 1๐.1 ภาคทฤษฎ ี ใช้วิธีการบรรยาย การสอนโดยครู - อาจารย์ผ้สู อน เปน็ ผูบ้ รรยาย 1๐.๒ ภาคปฏบิ ตั ิ ใชว้ ธิ ใี หผ้ เู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั ใิ นสถานฝกึ อบรมหรอื สถานท่ี ที่ผูอ้ า� นวยการสถานฝกึ อบรมเหน็ สมควร 1๐.๓ นา� กรณศี กึ ษามาเปน็ บทเรยี นในการฝึกอบรม เพ่อื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิ หน้าท่ีดูแลการชุมนมุ สาธารณะ ข้อ ๑๑ หลกั เกณฑก์ ารวดั ผลและประเมินผลการฝึกอบรม 11.1 การวัดผลการฝึกอบรม เพ่ือทดสอบผู้เข้ารับการฝึกอบรมในด้านความรู้และการ ปฏบิ ตั ทิ ง้ั เปน็ การกระตนุ้ ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมมคี วามตน่ื ตวั และสนใจในการเรยี น และเพอื่ วเิ คราะหป์ ระเมนิ ผล การฝกึ อบรม มีหลกั เกณฑก์ ารวดั ผล ดังนี้ ๒๒๔ คมู่ ือการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญตั กิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชุมนมุ สาธารณะ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 224 11/17/2563 BE 12:40 PM
11.1.1 ใช้การประเมินผลโดยครู - อาจารย์ และฝ่ายปกครอง หรือผู้ควบคุม การฝึกปฏิบัติร่วมกันประเมินผลของผู้เข้ารับการฝึกอบรมแต่ละวิชา โดยผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะต้อง ได้รับคะแนนรวมในการฝึกอบรม ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๖๐ จงึ จะถือวา่ ผา่ นการฝึกอบรม 11.1.๒ ใหผ้ อู้ า� นวยการสถานฝกึ อบรมเป็นผกู้ �าหนดแบบประเมนิ ผล 11.1.๓ หากผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับการประเมินผลไม่ผ่านตามหลักเกณฑ์ ท่กี า� หนด ใหผ้ อู้ �านวยการสถานฝึกอบรมแจง้ หนว่ ยงานต้นสังกัดทราบ และให้ผู้บังคับบญั ชาตน้ สงั กดั พจิ ารณา ส่งขา้ ราชการต�ารวจดังกล่าวเขา้ รบั การฝึกอบรมตามความเหมาะสมในคราวตอ่ ไป ขอ้ ๑๒ ประกาศนยี บตั ร ผทู้ ผ่ี า่ นการประเมนิ ผลการฝกึ อบรม จะไดร้ บั ประกาศนยี บตั รตามแบบทแ่ี นบทา้ ยหลกั สตู รน้ี ขอ้ ๑๓ การรายงานผลการฝึกอบรม เม่อื เสรจ็ สิน้ การฝกึ อบรมให้ผูอ้ �านวยการสถานฝึกอบรมด�าเนินการ ดงั นี้ 1๓.1 รายงานผลการฝึกอบรมให้ ส�านกั งานตา� รวจแห่งชาติ ทราบ 1๓.๒ ส่งทะเบียนข้อมูลผู้ส�าเร็จการฝึกอบรมให้ ส�านักงานก�าลังพล จ�านวน 1 ชุด กองบัญชาการศกึ ษา จ�านวน 1 ชดุ และเก็บรักษาไว้ท่ีสถานฝึกอบรม เพอ่ื เปน็ หลักฐาน จ�านวน 1 ชดุ ขอ้ ๑๔ การสนบั สนนุ การฝกึ อบรม ให้หน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดส�านักงานต�ารวจแห่งชาติให้การสนับสนุนการฝึกอบรม เพ่ือให้การด�าเนนิ การฝกึ อบรมบรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ ขอ้ ๑๕ บทเฉพาะกาล ข้าราชการต�ารวจผู้ผ่านการฝึกอบรมโครงการฝึกอบรมเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุม สาธารณะ และโครงการฝึกอบรมขา้ ราชการต�ารวจเพ่ือพฒั นาทกั ษะในการปฏิบตั หิ น้าท่ตี าม พระราชบญั ญัติ การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๘ เป็นต้นมา รวมทั้งผู้ท่ีส�าเร็จการศึกษาหลักสูตร นกั เรยี นนายสบิ ตา� รวจ (ภาคการฝกึ พทิ กั ษส์ นั ต)ิ และหลกั สตู รชยั ยะขน้ั พนื้ ฐาน ตง้ั แตป่ ี พ.ศ.๒๕๕๙ เปน็ ตน้ มา ให้ถือว่าเป็นผู้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมเจ้าพนักงานดูแลผลการชุมนุมสาธารณะและ ขา้ ราชการต�ารวจ ซงึ่ ปฏบิ ัติหนา้ ทดี่ แู ลการชุมนุมสาธารณะนี้ คู่มอื การปฏิบัตงิ านตามพระราชบญั ญัตกิ ารชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ๒๒๕ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 225 11/17/2563 BE 12:40 PM
ตรวจ รอง ผอ. ........................................... วนั ท.ี่ ............/............./............. หนฝ.ตส. .......................................... วันที่............./............./............. เจ้าหน้าทพ่ี มิ พ์ทาน .......................... วนั ท่.ี ............/............./............. ๒๒๖ คูม่ อื การปฏบิ ตั งิ านตามพระราชบัญญัตกิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชมุ นมุ สาธารณะ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 226 11/17/2563 BE 12:40 PM
คูม่ อื การปฏบิ ตั งิ านตามพระราชบญั ญตั ิการชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ๒๒๗ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 227 11/17/2563 BE 12:40 PM
๒๒๘ คมู่ อื การปฏบิ ัติงานตามพระราชบญั ญัตกิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 228 11/17/2563 BE 12:40 PM
ภาคผนวก ค คูม่ อื การปฏิบัตงิ านตามพระราชบัญญัติการชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ๒๒๙ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 229 11/17/2563 BE 12:40 PM
๒๓๐ คมู่ อื การปฏบิ ัติงานตามพระราชบญั ญัตกิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชุมนุมสาธารณะ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 230 11/17/2563 BE 12:40 PM
บนั ทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ สง.ก.ตร. โทร. ๐ ๒๒๐๕ ๓๗๘๓ ท ่ี ๐๐1๒.1๒/ วันท่ี ตลุ าคม ๒๕๖๒ เร่อื ง แจ้งมติ ก.ตร.ในการประชุมครั้งท่ี ๙/๒๕๖๒ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เรียน ผบช.ศ. ดว้ ยในการประชุม ก.ตร. คร้งั ท ่ี ๙/๒๕๖๒ เมอ่ื ๒๗ ก.ย. ๖๒ ที่ประชุมไดพ้ จิ ารณาและมมี ติในเรือ่ ง ท่ีเก่ยี วข้อง หรอื อย่ใู นความรับผิดชอบของ บช.ศ. ดังน้ี วาระท่ี ๔ เรื่องทเี่ สนอเพ่อื พิจารณา เรอ่ื งที่ 1 หลักสูตรการฝกึ อบรมท่ตี อ้ งเสนอ ก.ตร. หรือ ตร. พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ มติท่ีประชุม ให้ความเห็นชอบบัญชีรายชอ่ื หลักสูตรการฝึกอบรมต่าง ๆ จ�านวน ๗๕ หลักสูตร ซึ่งเป็นหลักสูตรที่ต้องน�าเสนอ ก.ตร.ให้ความเห็นชอบก่อนท่ีจะด�าเนินการฝึกอบรมตามท่ี อ.ก.ตร.พัฒนา ทรัพยากรบคุ คลเสนอ ขอ้ สงั เกตของท่ปี ระชุม การกา� หนดหลกั สตู รซง่ึ เปน็ หลกั สตู รทก่ี ฎหมายกา� หนดในลกั ษณะบงั คบั ให้มกี ารฝกึ อบรม รวมทั้งหลักสูตรต่าง ๆ ของ ตร. ท่ีเกี่ยวกบั การก่อใหเ้ กิดสิทธผิ กู พนั ตามกฎหมายตอ้ งเสนอ ก.ตร.พิจารณาทั้งหมด เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาข้อกฎหมาย ส�าหรับหลักสูตรการฝึกอบรมอ่ืน ๆ นอกเหนือจาก ท่ีก�าหนดดังกล่าว ให้อยู่ในอ�านาจของหน่วยงาน หรือ ตร. ท่ีสามารถพิจารณาด�าเนินการได้ โดยไม่ต้อง นา� เสนอ ก.ตร.พจิ ารณา ท้ังน้ี ทปี่ ระชุมให้การรับรองมติในเรอื่ งนี้ และใหด้ �าเนนิ การต่อไปได้ โดยไมต่ ้องรอรบั รองรายงาน การประชมุ จงึ เรียนมาเพื่อโปรดทราบ และด�าเนนิ การในส่วนที่เก่ียวข้องตอ่ ไป พล.ต.ท. (นิทัศน ์ ล้มิ ศิรพิ ันธ)์ ผบช.สง.ก.ตร./เลขานุการ ก.ตร. คมู่ ือการปฏิบัติงานตามพระราชบญั ญตั ิการชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชมุ นมุ สาธารณะ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ๒๓1 ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 231 11/17/2563 BE 12:40 PM
หลกั สตู รที่ตอ้ งเสนอ ก.ตร.พิจารณาใหค้ วามเห็นชอบ ลา� ดบั ท่ี ช่อื หลกั สูตร ระยะเวลา หน่วยรบั ผิดชอบ มติ ก.ตร. การฝกึ อบรม หลกั สตู ร ให้ความเหน็ ชอบ หลักสตู รท่ีกา� หนดเป็นคณุ สมบัตทิ ี่ใช้เป็นเง่อื นไข สา� หรบั การพจิ ารณาเลือ่ นต�าแหน่งสูงขนึ้ หรอื การพจิ ารณาแต่งตั้งเลือ่ นชั้นยศ 1 หลักสูตรสารวตั ร (สว.) ไมเ่ กนิ 1๐ สปั ดาห์ บช.ศ. ๒ หลกั สูตรสารวตั ร (สว.) ประจ�าปีงบประมาณ ไมเ่ กนิ ๖ สปั ดาห์ บช.ศ. พ.ศ.๒๕๖1 - ๒๕๖๓ ๓ หลักสตู รฝา่ ยอ�านวยการต�ารวจ (ฝอ.ตร.) ไม่เกนิ ๒๒ สัปดาห์ บช.ศ. ๔ หลกั สูตรผูก้ า� กับการ (ผกก.) ไมเ่ กิน 1๖ สัปดาห์ บช.ศ. ๕ หลกั สูตรการบรหิ ารงานต�ารวจชน้ั สงู (บตส.) ไม่เกนิ 1๖ สปั ดาห์ บช.ศ. ๖ หลกั สตู รตา� รวจตระเวนชายแดน ระดบั ผบู้ งั คบั ไม่เกนิ 1๖ สปั ดาห์ บช.ตชด. กองร้อย (ผบ.ร้อย ตชด.) ๗ หลักสตู รนักวทิ ยาศาสตร์ (สบ ๒) ๒ เดือน สพฐ.ตร. ๘ หลักสตู รนักวทิ ยาศาสตร์ (สบ ๔) ๔ เดือน สพฐ.ตร. ๙ หลักสูตรสัมมนาเชิงวิชาการทางด้านวิชาชีพ ๓ วนั รพ.ตร. สา� หรบั ผขู้ อรบั การประเมนิ เพอ่ื แตง่ ตงั้ ใหด้ า� รง ตา� แหน่ง ระดับ สบ ๔, สบ ๕, สบ ๖, สบ ๗ หรือ สบ ๘ 1๐ หลกั สตู รสารวตั รงานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๕ สปั ดาห์ รพ.ตร. โรงพยาบาลต�ารวจ หลักสูตรที่ก�าหนดเป็นคุณสมบัติของผู้มีสิทธิได้รับเงินเพิ่มพิเศษส�าหรับต�าแหน่งที่มีเหตุพิเศษ หรือเงนิ เพมิ่ พเิ ศษ 11 หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ท�าหน้าท่ีปกครอง ๕ วนั บช.ศ. โรงเรียน 1๒ หลักสูตรการฝึกชัยยะระดับพื้นฐานส�าหรับ ไมเ่ กิน ๘ สัปดาห์ บช.ศ. ข้าราชการต�ารวจชนั้ ประทวน 1๓ หลกั สูตรการท�าลายวตั ถุระเบดิ 1๔ สปั ดาห์ บช.ตชด. /ล�าดับที่ 1๔... ๒๓๒ คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ านตามพระราชบัญญัตกิ ารชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชมุ นุมสาธารณะ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 232 11/17/2563 BE 12:40 PM
หลักสูตรทต่ี อ้ งเสนอ ก.ตร.พจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ ลา� ดับที่ ชือ่ หลักสตู ร ระยะเวลา หนว่ ยรับผิดชอบ การฝึกอบรม หลักสูตร หลักสูตรท่ีก�าหนดเป็นคุณสมบัติของผู้มีสิทธิได้รับเงินเพิ่มพิเศษส�าหรับต�าแหน่งท่ีมีเหตุพิเศษ หรอื เงนิ เพิม่ พเิ ศษ 1๔ หลกั สตู รนักกระโดดรม่ ของส�านกั งานตา� รวจแห่งชาติ 1 เดอื น บช.ตชด. 1๕ หลกั สูตรการต่อตา้ นการกอ่ การรา้ ย 1๘ สปั ดาห์ บช.ตชด. (นเรศวร ๒๖1) 1๖ หลักสูตรประกาศนยี บัตรดา้ นการสบื สวนสอบสวนคดอี าญา ไมเ่ กิน ๓๒ สัปดาห์ กมค. 1๗ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพสืบสวนสอบสวนคดีอาญา ไม่เกนิ 1๖ สัปดาห์ กมค. (กรณีพิเศษ) 1๘ หลักสูตรการฝึกอบรมเม่ือได้รับแต่งตั้งผู้ปฏิบัติหน้าที่ด้านการ ไมเ่ กิน ๒ สัปดาห์ กมค. สอบสวนระดับ สว. 1๙ หลักสูตรการฝึกอบรมเม่ือได้รับแต่งต้ังผู้ปฏิบัติหน้าท่ีด้านการ ไมเ่ กิน 1 สัปดาห์ กมค. สอบสวนระดับรองผู้ก�ากับการ ๒๐ หลักสูตรการฝึกอบรมเมื่อได้รับแต่งตั้งผู้ท�าหน้าที่สอบสวนคดี ไมเ่ กนิ 1 สัปดาห์ กมค. ระดบั ผ้กู �ากับการ ๒1 หลักสูตรการฝึกอบรมเมื่อได้รับแต่งตั้งผู้ท�าหน้าท่ีสอบสวนคดี ไม่เกนิ 1 สปั ดาห์ กมค. ระดับรองผบู้ ังคบั การ ๒๒ หลกั สตู รการพฒั นาผทู้ า� หนา้ ทนี่ ติ กิ รและหลกั สตู รสา� หรบั ตา� แหนง่ 11 สัปดาห์ กมค. ผทู้ า� หนา้ ทตี่ รวจสอบสา� นวนอยั การและใหค้ วามเหน็ ทางกฎหมาย ของ ตร. ระดับ รอง สว. ๒๓ หลกั สตู รการพฒั นาผทู้ า� หนา้ ทน่ี ติ กิ รและหลกั สตู รสา� หรบั ตา� แหนง่ 1๐ สัปดาห์ กมค. ผทู้ า� หนา้ ทตี่ รวจสอบสา� นวนอยั การและใหค้ วามเหน็ ทางกฎหมาย ของ ตร. ระดบั สว. ข้นึ ไป หลักสูตรท่ีก�าหนดเป็นคุณสมบัติของผู้มีสิทธิได้รับเงินเพิ่มพิเศษส�าหรับต�าแหน่งที่มีเหตุพิเศษ หรอื เงนิ เพมิ่ พิเศษ ๒๔ หลักสูตรต่อต้านการก่อการร้าย (อรนิ ทราช ๒๖) 1๘ สปั ดาห์ บช.น. ๒๕ หลักสตู รการท�าลายวัตถรุ ะเบดิ 1๕ สปั ดาห์ บช.น. ๒๖ หลกั สูตรการท�าลายวตั ถรุ ะเบดิ 1๕ สัปดาห์ สกบ. /ล�าดบั ที่ ๒๗... คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านตามพระราชบัญญตั ิการชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดแู ลการชุมนมุ สาธารณะ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ๒๓๓ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 233 11/17/2563 BE 12:40 PM
หลกั สตู รทตี่ ้องเสนอ ก.ตร.พจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ ล�าดับท่ี ชื่อหลักสูตร ระยะเวลา หน่วยรับผดิ ชอบ การฝึกอบรม หลกั สตู ร หลักสูตรที่ก�าหนดเป็นคุณสมบัติของผู้จะได้รับการพิจารณาแต่งต้ังด�ารงต�าแหน่งตามคุณสมบัติ เฉพาะตา� แหน่ง ๒๗ หลักสตู รการสืบสวนคดอี าญา ไม่เกนิ 1๖ สปั ดาห์ บช.ศ. ๒๘ หลกั สตู รการสืบสวนคดอี าญาระดับกา้ วหน้า ไมเ่ กนิ ๔ สัปดาห์ บช.ศ. ๒๙ หลักสูตรการฝึกชัยยะชั้นน�าหน่วยส�าหรับข้าราชการต�ารวจ ไมเ่ กนิ ๗ สัปดาห์ บช.ศ. ชัน้ สัญญาบตั ร ๓๐ หลกั สตู รตอ่ ตา้ นปราบปรามการก่อความไมส่ งบ (ตปส.) ไมเ่ กนิ ๕ สปั ดาห์ บช.ตชด. ๓1 หลักสูตรชา่ งอิเล็กทรอนิกส์เบือ้ งต้น ๔ เดือน บช.ตชด. ๓๒ หลักสตู รพนักงานวิทยุสอ่ื สาร ตชด. ๔ เดือน บช.ตชด. ๓๓ หลักสูตรผ้บู ังคับหมวดต�ารวจตระเวนชายแดน (ผบ.มว.ตชด.) 1๒ สัปดาห์ บช.ตชด. ๓๔ หลักสูตร ตชด. ระดบั พ้ืนฐาน (กอป.) 1๕ สัปดาห์ บช.ตชด. ๓๕ หลักสูตร ตชด. ระดบั พ้นื ฐาน (นสต.) 1๒ สัปดาห์ บช.ตชด. ๓๖ หลกั สูตรนักปฏบิ ัตกิ ารใตน้ ้�า ๔๕ วนั บช.ก. ๓๗ หลกั สูตรผู้ปฏบิ ตั ิงานในเรือตรวจการณ์ ๔๕ วนั บช.ก. ๓๘ หลกั สตู รนติ วิ ิทยาศาสตร์ข้ันพื้นฐาน ๖ สัปดาห์ สพฐ.ตร. ๓๙ หลักสูตรนักวิทยาศาสตร์ (สบ 1) ๘ สปั ดาห์ สพฐ.ตร. หลักสตู รท่กี า� หนดเปน็ คณุ สมบัตเิ ฉพาะตา� แหน่งเพ่ือบรรจุแตง่ ตงั้ เขา้ รับราชการ ๔๐ หลกั สตู รนักเรียนนายสบิ ต�ารวจ (นสต.) พ.ศ.๒๕๖๐ 1๘ เดอื น บช.ศ. ๔1 หลักสูตรการฝึกอบรมบุคคลภายนอกผู้มีวุฒิปริญญาตรีที่ได้รับ 1๖ สปั ดาห์ บช.ศ. การบรรจแุ ตง่ ตง้ั เขา้ รบั ราชการเปน็ ขา้ ราชการตา� รวจชน้ั ประทวน (กลุ่มสายงานปอ้ งกนั ปราบปราม) (กปป.(ปป.)) ๔๒ หลักสูตรการฝึกอบรมบุคคลภายนอกผู้มีวุฒิปริญญาตรีท่ีได้รับ 1๒ สัปดาห์ บช.ศ. การบรรจแุ ตง่ ตงั้ เขา้ รบั ราชการเปน็ ขา้ ราชการตา� รวจชน้ั ประทวน (กลุ่มสายงานอ�านวยการและสนบั สนุน) (กปป.(อก.)) ๔๓ หลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการต�ารวจและบุคคลท่ีบรรจุหรือ ๔ เดอื น บช.ศ. โอนมาเป็นข้าราชการต�ารวจชั้นประทวน (ปฏิบัติการป้องกัน ปราบปราม) เพื่อปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.๒๕๕๕ /ล�าดบั ที่ ๔๔... ๒๓๔ คู่มอื การปฏบิ ตั ิงานตามพระราชบัญญัติการชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชุมนมุ สาธารณะ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 234 11/17/2563 BE 12:40 PM
หลกั สตู รท่ีต้องเสนอ ก.ตร.พิจารณาใหค้ วามเห็นชอบ ลา� ดบั ที่ ชอื่ หลักสตู ร ระยะเวลา หน่วยรับผดิ ชอบ การฝึกอบรม หลกั สตู ร บช.ศ. ๔๔ หลักสูตรนักเรยี นนายสบิ ต�ารวจ (พิเศษ) เพอ่ื ปฏิบตั งิ านในพน้ื ที่ ๖ เดอื น บช.ศ. จังหวดั ชายแดนภาคใต้ พ.ศ.๒๕๕๕ บช.ศ. ๔๕ หลกั สูตรการฝึกอบรมขา้ ราชการตา� รวจและบคุ คลท่โี อนมาเป็น ๔ เดอื น บช.ศ. ข้าราชการต�ารวจช้ันประทวน (ปฏิบัติการป้องกันปราบปราม รร.นรต. เพื่อท�าหน้าที่ถวายอารักขาและรักษาความปลอดภัย เขตพระราชฐานที่ประทับ พ.ศ.๒๕๕๖ รร.นรต. หลกั สูตรที่กา� หนดเป็นคุณสมบตั เิ ฉพาะตา� แหนง่ เพื่อบรรจแุ ตง่ ตงั้ เขา้ รบั ราชการ รร.นรต. ๔๖ หลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการต�ารวจและบุคคลท่ีบรรจุหรือ ๓ เดือน โอนมาเปน็ ขา้ ราชการต�ารวจชั้นประทวน พ.ศ.๒๕๕๘ (กอป.) ๔๗ หลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการต�ารวจช้ันประทวนยศ ด.ต. ไม่เกนิ 1๒ สัปดาห์ ท่ีมีอายุ ๕๓ ปีข้ึนไปท่ีผ่านการคัดเลือกเพ่ือเลื่อนต�าแหน่งและ เล่ือนยศแบบเลือ่ นไหลเป็นชน้ั สัญญาบัตรถึงยศ ร.ต.อ. (กดต.) ๔๘ หลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการต�ารวจชั้นประทวนผู้มีวุฒิ ๒๘ สัปดาห์ ปรญิ ญาตรเี พอ่ื แตง่ ตงั้ เปน็ ขา้ ราชการตา� รวจชนั้ สญั ญาบตั ร (กอน.) ๒๖ สปั ดาห์ - สายงานปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั ปราบปรามสบื สวนจราจร (กอน.(ปป)) ๒๐ สปั ดาห์ - สายงานสอบสวน (กอน.(สอบสวน)) - กลมุ่ งานอา� นวยการและสนบั สนนุ และงานเทคนคิ (กอน.(อก.)) ๔๙ หลกั สตู รการฝกึ อบรมขา้ ราชการตา� รวจชน้ั ประทวนยศดาบตา� รวจ ๓๐ สปั ดาห์ หรอื จา่ สบิ ตา� รวจ เพอ่ื แตง่ ตง้ั เปน็ ขา้ ราชการตา� รวจชนั้ สญั ญาบตั ร ๒๒ สัปดาห์ (กอร.) - สายงานปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั ปราบปรามสบื สวนจราจร (กอร.(ปป)) - กลมุ่ งานอา� นวยการและสนบั สนนุ และงานเทคนคิ (กอร.(อก.)) หลักสตู รทกี่ า� หนดเปน็ คณุ สมบัติเฉพาะต�าแหนง่ เพ่อื บรรจแุ ต่งต้ังเข้ารับราชการ ๕๐ หลกั สตู รการฝึกอบรมผู้มวี ฒุ ิทางด้านนิติศาสตร ์ รัฐศาสตร์ และ ๓๐ สัปดาห์ รัฐประศาสนศาสตร์เพื่อบรรจุแต่งต้ังเป็นข้าราชการต�ารวจ ๓๐ สัปดาห์ ชนั้ สญั ญาบตั ร (กอต.) ๒๗ สัปดาห์ - ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมเพ่ือทา� หน้าทส่ี อบสวน - ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเพ่ือท�าหน้าที่ปฏิบัติการป้องกัน ปราบปราม สบื สวน และจราจร - ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมเพอื่ ทา� หนา้ ทงี่ านอา� นวยการ และสนบั สนนุ และเทคนคิ /ล�าดับที่ ๕1... คูม่ อื การปฏบิ ัติงานตามพระราชบญั ญัติการชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ แผนการดูแลการชมุ นุมสาธารณะ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๓) ๒๓๕ ������� ���.�������������/16 �.�. 63.indd 235 11/17/2563 BE 12:40 PM
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388