Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา65 (1)

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา65 (1)

Published by วิภาภรณ์ อยู่เชื้อ, 2022-08-27 14:30:47

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา65 (1)

Search

Read the Text Version

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน รหัสวิชา ส 11101 วิชาสังคมศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 เวลาเรียน 80 ชั่วโมง จำนวน 2.0 หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ศึกษาและลงมือปฏบิ ัติในเร่ือง บอกพุทธประวตั ิหรือประวตั ขิ องศาสดาท่ี ตนนับถือโดยสงั เขป ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนนิ ชีวิตและขอ้ คดิ จากประวตั สิ าวก ชาดก เรอื่ งเล่า และศาสนิกชน ตวั อย่างตามท่ีกำหนด ความสำคัญและเคารพพระรัตนตรัย ปฏบิ ตั จิ ามหลกั ธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนาหรอื หลักธรรมของศาสนาทตี่ นนับถือตามทกี่ ำหนด เห็นคณุ คา่ และสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสตทิ ่ีเปน็ พ้นื ฐานของสมาชกิ ใน พระพุทธศาสนา หรอื การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาทต่ี นนบั ถือตามที่กำหนด บำเพญ็ ประโยชน์ตอ่ วัด หรือศาสน สถานของศาสนาที่ตนนับถอื แสดงตนเป็นพทุ ธมามกะหรอื แสดงตนเป็นศาสนกิ ชนของศาสนาที่ตนนบั ถอื ปฏิบตั ิตนในศา สนพิธี พธิ กี รรมและวนั สำคญั ทางศาสนาตามทกี่ ำหนดไดถ้ ูกตอ้ ง สาระท่ี 2 หน้าท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำเนินชวี ิตในสงั คม ศกึ ษาหลักการ แนวทางปฏบิ ตั ิในเร่ืองบอก ประโยชนแ์ ละปฏบิ ัตติ นเปน็ สมาชิกทดี่ ีของครอบครวั และโรงเรยี น ยกตวั อยา่ งความสามารถและความดขี องตนเอง ผ้อู ่ืน และบอกผลจากการกระทำนนั้ บอกโครงสร้างบทบาทและหนา้ ท่ขี องสมาชิกในครอบครัวและโรงเรยี น ระบบุ ทบาท สิทธิ หน้าที่ของตนเองในครอบครัวและโรงเรยี น มีส่วนรว่ มในการตัดสินใจและทำกจิ กรรมในครอบครัวและโรงเรียนตาม กระบวนการประชาธิปไตย สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ ศึกษาเร่อื ง ระบสุ ินค้าและบริการท่ใี ชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจำวัน ยกตวั อย่างการใช้ จ่ายเงนิ ในชวี ติ ประจำวันท่ไี ม่เกินตัวและเห็นประโยชนข์ องการออม ยกตวั อย่างการใชท้ รัพยากรในชวี ิตประจำวันอยา่ ง ประหยดั อธบิ ายเหตุผลความจำเป็นท่ีคนตอ้ งทำงานอย่างสจุ ริต สาระท่ี 5 ภมู ิศาสตร์ ศกึ ษาและจำแนกสงิ่ แวดลอ้ มรอบตวั ทเ่ี กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ และทีม่ นุษย์สร้างข้ึน ระบุ ความสมั พันธ์ของตำแหนง่ ระยะ ทิศของส่ิงต่างๆ รอบตัวใชแ้ ผนผงั แสดงตำแหน่งของสงิ่ ตา่ งๆในห้องเรยี น สงั เกตและ บอกการเปล่ียนแปลงของสภาพอากาศในรอบวนั บอกส่ิงแวดลอ้ มท่ีเกดิ ขึน้ ตามธรรมชาติท่ีส่งผลตอ่ ความเป็นอยู่ของ มนษุ ย์ สังเกตและเปรียบเทยี บการเปล่ยี นแปลงของส่ิงแวดลอ้ ม เพือ่ การปฏิบัตติ นอย่างเหมาะสม มีสว่ นร่วมในการดูแล สิง่ แวดลอ้ มทบ่ี ้านและห้องเรียน โดยใช้วธิ กี ารสังเกต ตอบคำถามเชงิ วเิ คราะห์ เช่ือมโยงประสบการเดมิ สกู่ ารสรา้ งกระบวนการใหม่ และใช้ กระบวนการทางภมู ิศาสตรใ์ นกาสรุปความรเู้ ปน็ แผนภาพความคิด กระตนุ้ ให้แสดงความคิดเหน็ อยา่ งหลากหลาย เพอ่ื รว่ มกนั หาแนวทางปฏิบตั ิทถี่ กู ต้องและเหมาะสม สง่ เสริมกการทำงานกลมุ่ เพื่อพฒั นาทกั ษะทางสังคม นำไปสู่การยอมรบั และเห็นคุณคา่ ของตนเองและผู้อน่ื เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนเขา้ ใจและตระหนักถงึ การปฏิบัติตนในฐานะทเ่ี ป็นส่วนหนงึ่ ของสงั คมประชาธปิ ไตย ปฏิบตั ิตนตาม หลักศาสนาทต่ี นนบั ถือ มีแนวคดิ ท่ีเหมาะสมในการดำเนนิ ชีวิตอย่างพอเพยี ง และมีความเข้าใจ สภาพภูมิศาสตรร์ อบตวั เลือกใชแ้ ละอนรุ กั ษ์อย่างยัง่ ยืน

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ส 1.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ป.1/4 ส 1.2 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ส 2.1 ป.1/1 ป.1/2 ส 2.2 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ส 3.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ส 3.2 ป.1/1 ส 5.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ส 5.2 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 รวมท้ังหมด 22 ตวั ช้ีวัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 11102 วชิ าประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศึกษาและใช้ปฏิทินในการบอกวัน เดือน ปี ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งมีท้ังระบบ สุริยคติและ จันทรคติ คำท่ีแสดง ช่วงเวลาเพ่ือใชเ้ ล่าเหตุการณ์ปัจจุบัน วันน้ี เดือนนี้ ตอนเช้า ตอนกลางวัน ตอนเย็น ตอน ค่ำ และเรียงลำดับเหตุการณ์ใน ชีวิตประจำวันตามวันเวลาท่เี กิดข้ึน โดยใช้ทักษะการสังเกต การบอกเล่า การเชื่อมโยง เพ่ือให้สามารถใช้เวลาตามปฏิทิน แสดงเหตุการณใ์ นปัจจุบันและใช้คำแสดงช่วงเวลาเรียงลำดับ เหตุการณ์ทีเ่ กิดข้ึนไดเ้ ปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมสิง่ ของ เครอ่ื งใช้หรือการดำเนินชีวิตของตนเองในสมัย ปัจจุบัน กับสมยั ของพ่อแม่ ปู่ย่า ตายายที่เป็นรูปธรรมและใกล้ตัวผู้เรียน รวมท้ังเหตกุ ารณ์สำคัญของครอบครัว ทเี่ กิดข้ึนในอดีตทม่ี ีผลกระทบต่อตนเองในปัจจุบัน โดยใช้ทักษะการสังเกต การใช้เหตุผล การเปรียบเทียบ การ แยกแยะ การยกตัวอย่าง และการบอกเล่า เพ่อื ให้ เข้าใจการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาและความสำคัญของ อดีตทีม่ ีต่อปัจจุบันและอนาคต สามารถปรับตัวใหเ้ ข้ากับวิถีชีวิต ปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิด ความรู้ความเข้าใจในความสำคัญของสัญลักษณ์ของชาติไทย ไดแ้ ก่ ธงชาติ เพลงชาติ เพลง สรรเสริญ พระบารมี ภาษาไทย อักษรไทย มารยาทไทย อาหารไทย การแตง่ กายแบบไทย วัฒนธรรมและ ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย และการปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามกาลเทศะ รวมท้งั รู้จกั สถานที่สำคัญซ่ึงเป็นแหล่ง วัฒนธรรมในชุมชน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ส 4.1 ป1/1, ป 1/2, ป 1/3 ส 4.2 ป1/1, ป 1/2 ส 4.3 ป 1/1, ป 1/2, ป 1/3 รวมทงั้ หมด 8 ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายพืน้ ฐาน รหัสวิชา ส 12101 วชิ าสงั คมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 2 เวลาเรียน 80 ชั่วโมง จำนวน 2.0 หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ศึกษาและลงมือปฎิบตั ิเกย่ี วกับพทุ ธประวัติ หรือประวตั ิศาสดาท่ีตนนับถอื โดยสังเขป ความสำคัญของพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาทต่ี นนับถือ มีความชืน่ ชมและรูแ้ บบอย่างการดำเนนิ ชีวติ และข้อคดิ จากประวัตสิ าวก ชาดก เร่อื งเลา่ รู้ความหมาย ความสำคัญ และเคารพพระรตั นตรัย การปฏิบตั ิตามหลกั ธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา หรอื หลักธรรมของศาสนาทีต่ นนับถือ รู้คุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา การมีสตทิ เ่ี ป็นพื้นฐานของ สมาธใิ นพระพทุ ธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนบั ถอื บำเพ็ญประโยชน์ตอ่ วัดหรอื ศาสนสถานของ ศาสนาท่ีตนนับถือ แสดงตนเปน็ พุทธมามะกะหรือแสดงตนเปน็ ศาสนกิ ชนของศาสนาท่ีตนเองนับถือ ปฏบิ ัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสำคัญทางศาสนา ตามทก่ี ำหนดได้ถกู ตอ้ ง สาระท่ี 2 หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ติ ในสังคม ศกึ ษาหลักการและแนวทางปฏิบัตใิ นเรอ่ื งบอก ประโยชน์และปฏบิ ัติตนเปน็ สมาชกิ ที่ดีของครอบครวั และโรงเรียนยกตวั อยา่ งความสามารถและความดขี องตนเองผอู้ ่นื และ บอกผลจากการกระทำนน้ั บอกโครงสรา้ งบทบาทและหนา้ ที่ของสมาชิกในครอบครัวและโรงเรียนระบุบทบาทสทิ ธิหน้าที่ของ ตนเองในครอบครัวและโรงเรียน มีสว่ นร่วมในการตัดสนิ ใจและทำกิจกรรมในครอบครวั และโรงเรยี นตามกระบวนการ ประชาธปิ ไตย ปฏิบตั ติ นตามขอ้ ตกลง กติกา กฎ ระเบยี บและหนา้ ท่ีท่ีต้องปฏิบตั ใิ น ชีวิตประจำวัน การปฏบิ ัติตนตนตาม มารยาทไทย การแสดงพฤตกิ รรมในการยอมรับความคิด ความเช่ือและการปฏิบตั ิของบุคคลอื่นท่ีแตกตา่ งกนั โดย ปราศจากอคติ และการเคารพในสทิ ธิเสรภี าพของผูอ้ นื่ สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ ศกึ ษาเกี่ยวกบั ทรัพยากรท่นี ำมาผลิตสินคา้ และบริการทีใ่ ช้ในชีวติ ประจำวัน รหู้ ลกั การ แลกเปลย่ี นสินคา้ และบริการโดยวิธตี า่ ง ๆ ตลอดจนความสมั พนั ธร์ ะหว่างผซู้ ้อื และผู้ขาย รู้ทม่ี าของรายได้และรายจ่ายของ ตนเองและครอบครัว การบนั ทกึ รายรับรายจ่ายของตนเอง การสรปุ ผลดีของการใชจ้ ่ายท่ีเหมาะสมกบั รายไดแ้ ละการออม อาชีพต่าง ๆของชุมชนในเขตรงั สิต อธิบายเหตุผลความจำเป็นท่ีต้องประกอบอาชพี อยา่ งสุจรติ สาระที่ 5 ภมู ิศาสตร์ ศึกษาและจำแนกเกยี่ วกบั ส่ิงตา่ งๆ ที่อยรู่ อบตวั เรา ทงั้ ที่เปน็ ธรรมชาตกิ บั ทมี่ นุษยส์ รา้ งข้ึน ซ่ึงปรากฏระหวา่ งโรงเรยี นกับบา้ น ระบุความสมั พนั ธ์ของตำแหนง่ ระยะทศิ ทางของสิง่ ตา่ งๆรอบตวั ใช้แผนผังแสดง ตำแหน่งของสง่ิ ตา่ งๆในห้องเรียน บอกสงิ่ แวดลอ้ มทีเ่ กิดขน้ึ ตามธรรมชาติทส่ี ่งผลตอ่ ความเป็นอยูข่ องมนุษย์ สังเกตและ เปรียบเทียบการเปลยี่ นแปลงของส่ิงแวดลอ้ มเพือ่ ปฏบิ ตั ิตนอยา่ งเหมาะสมในการมีส่วนรว่ มดูแลรกั ษาสิ่งแวดล้อมทงั้ ท่ีบ้าน และโรงเรียน เห็นความสำคญั และคุณค่าของส่ิงแวดลอ้ มทางธรรมชาตแิ ละทางสังคม การใช้ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่าง คมุ้ คา่ ศึกษาลกั ษณะทางกายภาพของสง่ิ ต่างๆ ท่ีปรากฏในลูกโลก แผนที่ แผนผงั และภาพถ่าย ความสมั พนั ธข์ อง ปรากฏการณ์ระหวา่ งโลก ดวงอาทิตยแ์ ละดวงจนั ทร์ ความสัมพันธ์ของฤดกู าลกบั การดำเนนิ ชีวติ ของมนษุ ย์ โดยใช้วิธกี ารสงั เกต ตอบคำถามเชิงวเิ คราะห์ เชื่อมโยงประสบการณ์เดิมสูก่ ารสร้างกระบวนการใหม่ และใช้ กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ในการสรุปความรู้เป็นแผนภาพความคิด กระตนุ้ ให้แสดงความคิดเห็นอยา่ งหลักหลาย เพอื่ ร่วมกันหาแนวทางปฏบิ ัติทถี่ กู ตอ้ งเหมาะสม สง่ เสรมิ การทำงานกลุ่มเพือ่ พัฒนาทกั ษะทางสังคม นำไปสู่การยอมรับและ เหน็ คณุ ค่าของตนเองและผูอ้ ่ืน

เพอื่ ให้ผเู้ รียนเขา้ ใจและตระหนกั ถึงการปฏิบตั ิตนในฐานะทีเ่ ปน็ ส่วนหน่ึงของสังคมประชาธิปไตย ปฏิบตั ิตนตาม หลักศาสนาท่ีตนนบั ถอื มแี นวคิดทเ่ี หมาะสมในการดำเนนิ ชวี ติ อย่างพอเพยี งและมีความเข้าใจ สภาพภูมศิ าสตร์รอบตัว เลือกใช้และอนุรักษอ์ ย่างยง่ั ยืน มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ส 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7 ส 1.2 ป.2/1, ป.2/2 ส 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4 ส 2.2 ป.2/1, ป.2/2 ส 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4 ส 3.2 ป.2/1, ป.2/2 ส 5.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3 ส 5.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3 ,ป.2/4 รวมทัง้ หมด 28 ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน รหัสวิชา ส 12102 วชิ าประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศึกษาสืบค้นประวัติและผลงานของบุคคลที่ทำประโยชน์ต่อท้องถ่ินหรอื ประเทศชาติ ในด้านการ สร้างสรรค์ วัฒนธรรม /การสร้างความเจริญรุ่งเรืองและความมั่นคงโดยสังเขป รวมท้งั วัฒนธรรมไทย ประเพณี ไทย และภูมิปัญญาไทยที่ ภาคภูมิใจและควรอนุรักษไ์ ว้ การทำความเคารพแบบไทย ประเพณไี ทย ศิลปะไทย ดนตรีไทย และรู้จักวันเวลาตามระบบ สุริยคติและจันทรคติทป่ี รากฏในปฏิทินท่ีแสดงเหตุการณ์สำคัญในอดีต และปัจจุบัน รวมท้ัง การใช้คำที่แสดงช่วงเวลาในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต วันนี้ เมอ่ื วานน้ี พรุ่งนี้, เดือนน้ี เดือนก่อน เดือนหน้า, ปีน้ี ปีก่อน ปีหน้า ในการอธิบายเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้น รู้วิธีสืบค้นเหตุการณ์ท่เี กิดข้ึนในครอบครัวโดยใช้หลักฐานท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ ภาพถ่าย สูติบัตร ทะเบยี นบ้าน เครื่องมือเคร่อื งใช้ มาอธิบายเรื่องราวต่าง ๆ และวิธีสืบค้นข้อมูลในชุมชนอย่างง่าย ๆ ในเร่ือง เกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงในวิถี ชีวิตของคนในชุมชนในด้านต่างๆ จากอดีตถงึ ปัจจุบัน ทางด้านการประกอบ อาชีพ การแต่งกาย การสือ่ สาร ขนบธรรมเนียม ประเพณใี นชุมชน เข้าใจสาเหตุและผลกระทบของการ เปล่ียนแปลงที่มีต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน สามารถเรียงล าดับ เหตุการณ์ท่ีสืบค้นไดโ้ ดยใชเ้ ส้นเวลา โดยใช้ทักษะการสังเกต การ สอบถาม เช่ือมโยง เรียงลำดับ การเล่าเร่ืองการสืบค้นการสังเกต การอ่าน การรวบรวม ข้อมูล การวเิ คราะห์ การใชเ้ หตุผล การอธิบาย และการนำเสนอ เพอ่ื ให้เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัตใิ นการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต สาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอย่าง สันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ สามารถนำไปประยุกต์ใชก้ ับชีวิตประจำวันได้อย่าง ถูกตอ้ งเหมาะสม และเห็นคุณค่าและแบบอย่างการกระทำความดีของ บรรพบุรษุ ที่ได้สร้าง ประโยชน์ให้ทอ้ งถิ่นและประเทศ เกิดความรกั และความภาคภูมใิ จในความเป็นไทย วัฒนธรรมไทย ภูมิ ปัญญาไทย และธำรงความเป็นไทย มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ตัวช้ีวัด ส 4.1 ป 2/1, ป 2/2 ส 4.2 ป 2/1, ป 2/2 ส 4.3 ป 2/1, ป 2/2 รวมทั้งหมด 6

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน รหัสวิชา ส 13101 วิชาสงั คมศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 เวลาเรียน 80 ชั่วโมง จำนวน 2.0 หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ศกึ ษาความสำคญั ของศาสนาท่ีตนนับถอื ในฐานะทเี่ ปน็ รากฐานสำคัญของ วฒั นธรรมไทย ประวัตขิ องศาสดาทต่ี นนบั ถอื การดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวตั สิ าวก ชาดก/เร่ืองเลา่ และศาสนิกชน ตวั อยา่ ง คมั ภีรข์ องศาสนาท่ีตนนบั ถอื หลกั ธรรมของศาสนาที่ตนนบั ถอื เหน็ คุณคา่ ของการสวดมนต์ การพัฒนาจติ ตาม แนวทางของศาสนาทต่ี นนบั ถือ การปฏิบัติตนไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตอ่ ศาสนสถาน ศาสนวัตถุ ศาสนพิธพี ิธีกรรม และวันสำคญั ทางศาสนา และการแสดงตนเปน็ ศาสนกิ ชนของศาสนาท่ีตนนบั ถือ สาระท่ี 2 หนา้ ที่พลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชวี ติ ในสังคม เข้าใจ ยอมรับ และเหน็ คุณค่าการปฏบิ ัติตน เปน็ พลเมืองดีตามวิถีประชาธปิ ไตยในฐานะเป็นสมาชกิ ของตนเองและชมุ ชน ปฏิบตั ติ ามบทบาทหนา้ ท่ขี องตนเองและผู้อนื่ เคารพความคิดความเชือ่ การปฏิบตั ิตนตามวถิ ีชีวิตของบคุ คลทีม่ ีผลงานที่เป็นประโยชน์แกส่ ว่ นรวมในท้องถ่นิ เขา้ ใจ โครงสรา้ งการบรกิ ารระดบั ตำบล มีสว่ นร่วมประเพณีวฒั นธรรม ต่อโรงเรียน ครอบครวั ทอ้ งถิ่น และปฏิบัติตามกฎหมาย รัฐธรรมนญู สูงสุดของประเทศ สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ เข้าใจ การกระจายรายได้ รายรับ รายจ่าย ของครอบครวั ตนเอง ปฏิบตั ิตามบทบาท หน้าทีข่ องตนเองในฐานะผู้ผลติ ผู้บรโิ ภคตามหลักคณุ ธรรม ตามหลกั เศรษฐศาสตร์ เข้าใจวิธีการเศรษฐกจิ แบบพอเพียง เพื่อนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั เข้าใจการแลกเปลย่ี นสินค้าและบริการ สาระท่ี 5 ภมู ศิ าสตร์ สำรวจข้อมูลทางภมู ิศาสตร์ในโรงเรียนและชมุ ชนโดยใชแ้ ผนผัง แผนที่ และรูปถา่ ยเพ่อื แสดง ความสมั พันธ์ของตำแหน่ง ระยะ ทิศทาง วาดภาพแผนผังเพือ่ แสดงตำแหน่งท่ีตง้ั ของสถานที่สำคญั ในบรเิ วณโรงเรียนและ ชมุ ชน อธิบายลกั ษณะทางกายภาพของประเทศสมาชิกอาเซยี น เปรยี บเทียบและอธบิ ายการเปล่ียนแปลงของสงิ่ แวดลอ้ ม ของชมุ ชนในอดตี และปัจจบุ ัน อธิบายการใช้ประโยชนข์ องส่งิ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสนองความตอ้ งการข้ัน พนื้ ฐานและการประกอบอาชีพของมนุษย์และการประกอบอาชพี อธิบายความแตกตา่ งของเมืองและชนบท ความสมั พนั ธ์ ทางกายภาพในการดำเนินชวี ติ ของคนในชุมชน อธิบายสาเหตุท่ีทำให้เกิดมลพิษและมสี ่วนร่วมในการจดั การส่งิ แวดล้อมใน ชุมชน โดยใช้กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ กระบวนการทางจรยิ ธรรม กระบวนกลมุ่ กระบวนสบื คน้ กระบวนการทาง ประวัตศิ าสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางประชาธปิ ไตย เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการสือ่ สาร และเห็นคุณคา่ ของการนำความรู้ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ในการดำเนนิ ชีวิตประจำวนั มีความสอ่ื สัตยส์ ุจริตรักความเป็นไทยและมีจติ สาธารณะ

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ส.๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ป.๓/๗ ส.๑.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ส.๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ส.๒.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ส.๓.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ส.๓.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ส.๕.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ส.๕.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.3/6 รวมทงั้ หมด ๓๑ ตัวชว้ี ดั

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน รหัสวิชา ส 13102 วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 เวลาเรียน 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศึกษาความหมายและท่ีมาของศกั ราชท่ีปรากฏในปฏิทิน ได้แก่ พุทธศักราช คริสต์ศกั ราช วธิ ีการเทียบคริสต์ศักราช กบั พุทธศักราช และใช้ศักราชในการบันทึกเหตุการณ์สำคัญท่ีเกี่ยวขอ้ งกับตนเองและ ครอบครัว ปีเกิดของผู้เรยี น เหตุการณ์ สำคัญของตนเอง และครอบครัว วัฒนธรรมและประเพณีในชุมชน ซ่ึงประกอบด้วย ปัจจัยทาง ภูมิศาสตร์ และปัจจัยทาง สังคม เข้าใจพัฒนาการของชุมชน ศึกษาพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ โดยสังเขปของพระมหากษัตริย์ผู้สถาปนา อาณาจกั ร สุโขทยั อยธุ ยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ โดยใช้ทักษะการอ่าน และสอบถาม การฟัง การสรุปความ การเขียน การเปรียบเทยี บ การเช่ือมโยง การอธิบาย เพอ่ื ให้มีพ้ืนฐานในการศึกษาเอกสารที่แสดงเหตุการณ์ตามกาลเวลา สามารถเรียง ลำดับเหตุการณไ์ ด้ถกู ต้อง ว่าเหตุการณ์ใด เกิดก่อน เหตุการณ์ใดเกิดหลังอันเป็นทักษะท่ีจำเป็นใน การศึกษาประวัติศาสตร์ เพ่ือให้เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย เกิดความรัก ความภูมใิ จและเห็นแบบอย่างการเสียสละ เพ่ือชาติ และธำรง ความเป็นไทย สามารถดำเนินชีวิตอยรู่ ่วมกันในสังคมได้อย่าง สันติสุข ร่วมอนุรกั ษ์สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี และ วัฒนธรรมไทย มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ส 4.1 ป 3/1, ป 3/2, ป 3/3 ส 4.2 ป 3/1, ป 3/2 ส 4.3 ป 3/1, ป 3/2, ป 3/3 รวมทั้งหมด 8

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน รหัสวิชา ส 14101 วิชาสังคมศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน 80 ช่ัวโมง จำนวน 2.0 หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม ศึกษาประวัติความเป็นมาของศาสนา ศาสดา หรือหลักธรรมของศาสนาท่ี ตนนับถือ แสดงความ เคารพพระรัตนตรัยและปฏบิ ัติไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรม ศาสนาที่ ตนนับถือ ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ เพื่อการอยรู่ ่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมานฉันท์ และ อธิบาย ประวัติศาสดาของศาสนาอ่ืน ๆ โดยสังเขป ศึกษาสิทธพิ ้ืนฐานท่ีเด็กทุกคนพึงได้รับตามกฎหมาย ความแตกต่างทาง วัฒนธรรมของ กลมุ่ คนในท้องถิ่น และ สาระท่ี 2 หน้าที่พลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนินชวี ติ ในสังคม อำนาจอธิปไตย ความสำคัญของระบอบ ประชาธิปไตย บทบาทหน้าท่ีของพลเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง ความสำคัญของ สถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์เป็นประมุข สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ ศึกษาปัจจัยท่ีมีผลตอ่ การเลอื กซื้อสินค้าและการบริการ บอกสิทธิพ้ืนฐานและรักษา ผลประโยชน์ ของตนเองในฐานะผู้บริโภค หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน และ หน้าท่ีเบ้ืองต้นของเงิน สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ศึกษาลกั ษณะทางกายภาพ การใช้แผนที่ ภาพถ่าย วเิ คราะห์สงิ่ แวดล้อมทางกายภาพ อธิบาย การ เปล่ียนแปลง ส่ิงแวดล้อมในจงั หวัดและระบุลักษณะสำคัญ ตำแหน่ง ระยะทางของแหล่งทรัพยากร ความสมั พันธ์ของสิ่ง ต่าง ๆ สภาพแวดล้อมทางกายภาพของชุมชนท่ีส่งผลต่อการดำเนินชีวิต โดยใช้ทักษะวิเคราะห์ อธิบาย การอ่าน และสอบถาม การฟัง การสรุปความ การเขียน การเปรยี บเทียบ เสนอ วิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในชีวิตประจำวัน เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติ ในการดำเนินชีวิต ทักษะในศตวรรษท่ี 21 มี คุณธรรม จริยธรรม มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงคใ์ นด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอย่างเป็นปกติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ส 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8 ส 1.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ส 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5 ส 2.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ส 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ส 3.2 ป.4/1, ป.4/2 ส 5.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ส 5.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 รวมท้งั หมด 30 ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รายวิชาพื้นฐาน ส 14102 วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 เวลาเรียน 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศึกษาความหมาย วธิ ีการนับ และการใช้ช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ เกณฑ์ การแบ่งยุคสมัย ในทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติท่ีแบ่งเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ รวมทงั้ ช่วงสมยั ในการศึกษา ประวัติศาสตร์ ศึกษาประวัติศาสตรเ์ ป็นมาของชาติไทยในสมัยสุโขทยั โดยสังเขป ในเร่ืองเก่ยี วกับการสถาปนา อาณาจกั ร พฒั นาการทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญ และภมู ิ ปัญญาไทยในสมัยสุโขทัยท่ีน่า ภาคภูมิใจ โดยใช้ทักษะ กระบวนการสำรวจ การวเิ คราะห์ การตรวจสอบข้อมูล การจำแนก การตีความ เพ่อื ฝึกทักษะการ สืบค้นข้อมูลด้วยวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ เพอ่ื เข้าใจความเป็นมาของชาติไทยในสมยั สุโขทัย รวมทงั้ วัฒนธรรม ไทย ภูมิปัญญาไทย และบุคคลสำคัญในสมัย สุโขทยั เกิดความรักและความภมู ิใจในความเป็นไทย ตระหนัก ถงึ ความพากเพียรพยายามของบรรพบุรุษไทยที่ไดป้ กป้อง และสร้างสรรค์ความเจริญให้บ้านเมืองตกทอด เป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบต่อถึงปัจจุบัน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ส 4.1 ป 4/1, ป 4/2, ป 4/3 ส 4.2 ป 4/2, ป 4/2 ส 4.3 ป 4/1, ป 4/2, ป 4/3 รวมทง้ั หมด 8 ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวิชาสังคม รายวิชาพนื้ ฐาน ส 15101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เวลาเรียน 80 ชั่วโมง จำนวน 2.0 หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม ศึกษา วิเคราะห์ ความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือใน ฐานะทีเ่ ป็นมรดกทาง วัฒนธรรม และหลักในการพฒั นาชาติไทย หรือประวัติศาสนาที่ตนนับถือตามท่ีกำหนด อธิบาย องค์ประกอบ และความสำคัญของพระไตรปิฎก หรอื คัมภีร์ของศาสนาท่ีตนนับถือ ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมทาง ศาสนา ศาสนพธิ ี พธิ ีกรรม และวันสำคัญทางศาสนา สาระที่ 2 หน้าท่พี ลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ิตในสงั คม ศึกษาการปกป้องคุ้มครองตนเองหรือผู้อื่นจาก การละเมิดสิทธิ เด็ก โครงสร้าง อำนาจ หน้าที่ และความสำคัญ ของการปกครองส่วนท้องถ่ิน บทบาท หน้าที่และวิธีการเข้า ดำรงตำแหน่งของผู้บริหารท้องถ่ิน ประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการอนุรกั ษ์ และ เผยแพรภ่ ูมิปัญญาท้องถ่ินของชุมชน สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ ศึกษาปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการ หลักการสำคัญ และประโยชน์ของสหกรณ์ บทบาทหน้าที่เบือ้ งต้นของธนาคาร ประยุกตใ์ ช้แนวคิดของปรัชญา ของเศรษฐกิจ พอเพียง สาระที่ ๕ ภมู ิศาสตร์ ศกึ ษา สืบคน้ และอธบิ ายข้อมูลลักษณะทางกายภาพในภูมิภาคของ วเิ คราะห์ส่งิ แวดล้อม ทางกายภาพที่มี อิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถน่ิ ฐานและการย้ายถ่ิน อิทธิพลของส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถี การ ด าเนนิ ชวี ิต และใชเ้ ครือ่ งมือทางภมู ิศาสตร์ โดยใช้ทักษะ สืบค้น การอธิบาย การวิเคราะห์ การอ่าน การฟงั การสรุปความ การเขียน การนำเสนอข้อมูล เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัตใิ นการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซือ่ สัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต สาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอย่าง สันติสุขในสงั คมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้กับชีวิตประจำวันได้อย่าง ถูกตอ้ งเหมาะสม และเห็นคุณค่าและแบบอย่างการกระทำความดีของ บรรพบุรุษท่ีได้สร้าง ประโยชนใ์ ห้ท้องถ่ินและประเทศ เกิดความรัก และความภาคภูมิใจในความเป็นไทย วัฒนธรรมไทย ภมู ิ ปัญญาไทย และธำรงความเป็นไทย มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ส 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7 ส 1.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3 ส 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ส 2.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3 ส 3.1 ป.5/1, ป.5/2 , ป.5/3 ส 3.2 ป.5/1, ป.5/2 ส 5.1 ป.5/1, ป.5/2 ส 5.2 ป.5/1, ป.5/2 , ป.5/3 รวมท้ังหมด 27 ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน รหสั วิชา ส 15102 วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 เวลาเรยี น 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สืบค้นความเป็นมาของท้องถ่ินโดยใช้หลักฐานหลากหลาย ด้วยการตัง้ ประเด็นคำถาม ทางประวัติศาสตร์ท่เี ก่ียวข้อง กับท้องถิ่น ความเป็นมาของขนบธรรมเนียมประเพณีในทอ้ งถ่ิน รู้จัก แหล่งข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีอยู่ใน ท้องถ่ิน สามารถรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทเ่ี ก่ยี วข้อง รู้จักวิเคราะห์ตรวจสอบข้อมูลอย่างง่ายๆ เข้าใจความแตกต่าง ระหว่างความจรงิ กับขอ้ เท็จจรงิ ท่ีปรากฏใน ข้อมูลจากหลักฐานต่าง ๆ แยกแยะความคิดเห็นกับข้อเท็จจริงที่อยู่ในข้อมูลได้ ศึกษาการเข้ามาและอิทธพิ ล ของอารยธรรมอินเดีย และจีน ในดินแดนไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้โดยสังเขป ได้แก่ การ ปกครอง การนับถือศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี ภาษา อาหาร และการแต่งกาย ศึกษา อิทธพิ ลของวัฒนธรรมต่างชาติ ท้งั ตะวันตกและตะวันออก ศึกษาพัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรี ในเร่ือง เกี่ยวกับการสถาปนาอาณาจักร ปัจจัยท่ี ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง พัฒนาการทางการเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจ โดยสงั เขป ประวัติและผลงานบุคคลสำคัญในสมัยอยุธยาและธนบุรี โดยใช้ทักษะ สืบค้น การอธิบาย การวเิ คราะห์ กระบวนการสำรวจ การวเิ คราะห์ การตรวจสอบข้อมูล การ จำแนก การตีความ เพอ่ื ฝึกทักษะการสืบค้นข้อมูลด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์การสรุปความ การนำเสนอข้อมูล เพอื่ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทยในอดีต รวมท้ังวัฒนธรรม ไทย ภูมิปัญญาไทย และบุคคลสำคัญในสมัยอยุธยา และธนบุรี เกิดความรกั และความภมู ใิ จในความเป็นไทย ตระหนัก ถึงความพากเพียรพยายามของบรรพบุรุษไทยท่ีได้ปกป้อง และสร้างสรรค์ความเจริญให้บ้านเมืองตกทอด เป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบต่อถึงปัจจุบัน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ส 4.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3 ส 4.2 ป.5/1, ป.5/2 ส 4.3 ป.5/1, ป.5/2, ป 5/3, ป.5/4 รวมทั้งหมด 9 ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน รหัสวิชา ส 16101 วิชาสังคมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 เวลาเรียน 80 ช่ัวโมง จำนวน 2.0 หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ศึกษาข้อมูลความสำคัญหลักธรรมพระรัตนตรัย ไตรสิกขา หลักธรรมโอวาท 3 ประวัติศาสดา ข้อคิดจากประวัติ สาวก ชาดก เรื่องเล่า ศาสนิกชนตัวอย่าง ศาสนพิธี สถานที่ในศาสนสถาน ศาสนิกชนท่ีดี ประโยชน์ของการเข้า ร่วมในศาสนพิธี พิธกี รรม กิจกรรมในวันสำคัญทางศาสนา การบริหารจิตและเจริญปัญญาวันสำคัญ ทางศาสนา สาระท่ี 2 หนา้ ท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชีวติ ในสังคม ศึกษาการกระทำที่แสดงถึงคุณลักษณะของ การเป็นพลเมอื งดีในสงั คมประชาธิปไตย สิทธเิ ด็กทีพ่ ึงไดร้ ับ การคุ้มครองตามสิทธิมนุษยชนบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ของตนเอง บรรทัดฐานทางสังคมและวัฒนธรรม สัญลักษณเ์ อกลกั ษณ์ ค่านิยม ประเพณี วัฒนธรรมในท้องถิ่นอำนาจ อธิปไตยและการมีส่วนร่วมในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย กฎหมายในชีวิตประจำวัน สาระที่ 2 หน้าทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชวี ติ ในสังคม การเลือกใช้ทรพั ยากรทีม่ ีผลกระทบ ต่อ ส่ิงแวดล้อม การเพิ่มรายได้เงินออม จากการลงทุน สิทธิและ การคุ้มครองผู้บริโภค เศรษฐกิจพอเพียงระบบสหกรณ์ การ บริหาร ด้านการผลิต และการพึ่งพาทางเศรษฐกิจ บทบาทการใช้เงินและการบริการด้านการเงินต่างประเทศ การจัดเก็บภาษี การกยู้ ืมเงินจากต่างประเทศ สาระท่ี 2 ภูมิศาสตร์ ศึกษาลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพส่ิงซึ่งมีผลต่อกันและกัน ใช้ แผนที่และเครื่องมอื ทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วเิ คราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ข้อมูล ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ เข้าใจปฏิสัมพันธร์ ะหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วิถีการดำเนินชีวิต โดยใช้ทักษะ สังเกต ศึกษาค้นคว้า วเิ คราะห์ อภิปราย อธบิ าย สนทนาซักถาม แสดงความคิดเห็นรวบรวมข้อมูล สืบค้น นำเสนอข้อมูล และกระบวนการกลุ่ม มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ส 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9 ส 1.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4 ส 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5 ส 2.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3 ส 3.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3 ส 3.2 ป.6/1, ป.6/2 ส 5.1 ป.6/1, ป.6/2 ส 5.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3 รวมทัง้ หมด 31 ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน รหัสวิชา ส 16102 วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 เวลาเรยี น 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศึกษาความหมายและความสำคัญของวิธกี ารทางประวัติศาสตร์อย่างง่าย ๆ และใช้วธิ ีการ ทางประวัติศาสตรใ์ น การศึกษาเร่ืองราว หรือเหตุการณ์สำคัญตามล าดับข้ันตอนอย่างเป็นระบบ ได้แก่ การต้งั ประเด็นศึกษาเร่ืองราวท่ีตนสนใจ การสำรวจแหลง่ ข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้อง การรวบรวมข้อมูล จากหลักฐานที่หลากหลาย การจัดทำโครงงานและการจัดนิทรรศการ เพอื่ ฝึกทกั ษะการสืบค้นเหตุการณ์ สำคัญด้วยวธิ ีการทางประวัติศาสตร์ ศึกษาสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของ ประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบันโดยสังเขป เชื่อมโยง และเปรียบเทียบกับประเทศไทย ศกึ ษาความเป็นมา และความสัมพันธ์ ของกลุ่มอาเซียนโดยสงั เขป เพอ่ื ให้ เข้าใจพัฒนาการของประเทศเพื่อนบ้านที่มีความสัมพันธ์กับประเทศไทย เกิดความเข้าใจ อันดีระหว่างประเทศ ยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม และอยู่รว่ มกันได้อย่างสันติสุข ศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมา ของชาตไิ ทยในสมัยรัตนโกสินทร์ ในเร่ืองเกยี่ วกับการสถาปนา อาณาจักร ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุง่ เรืองทางเศรษฐกิจ และการปกครอง พัฒนาการทางด้านต่าง ๆ โดยสังเขป ผลงานของบุคคลสำคัญ เพื่อให้เกิดความรักและภาคภูมิใจในความ เป็นชาติไทย ตระหนักถึงความ พากเพียรพยายามของ บรรพบุรุษทีไ่ ด้ปกปอ้ ง และสร้างสรรค์ความเจริญให้บ้านเมืองตก ทอดเป็นมรดกทาง วัฒนธรรมสืบต่อถึงปัจจุบัน โดยใช้ทักษะ สืบค้น การอธิบาย การวิเคราะห์ กระบวนการสำรวจ การวิเคราะห์ การตรวจสอบข้อมูล การ จำแนก การตีความ เพ่อื ฝึกทักษะการสืบค้นข้อมูลดว้ ยวธิ ีการทางประวัติศาสตร์การสรุปความ การนำเสนอข้อมูล เพอ่ื เข้าใจความเป็นมาของชาติไทยในอดีต รวมทั้งวัฒนธรรม ไทย ภูมิปัญญาไทย และบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ ไทย มีความรักและความภูมใิ จในความเป็นไทย ตระหนัก ถึงความพากเพียรพยายามของบรรพบุรุษไทยท่ีได้ปกป้อง และ สร้างสรรค์ความเจริญให้บ้านเมืองตกทอด เป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบตอ่ ถึงปัจจุบัน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ส 4.1 ป 6/1, ป 6/2 ส 4.2 ป 6/1, ป 6/2 ส 4.3 ป 6/1, ป 6/2, ป 6/3, ป 6/4 รวมทงั้ หมด 8 ตัวช้ีวัด

โครงสรา้ งรายวิชาพื้นฐาน/เพิ่มเติม ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น รายช่ือวิชา (รหัสรายวิชา/ช่ือรายวิชา) เวลาเรียน ชั่วโมง รายวิชาพ้ืนฐาน ส 21101 , ส 21103 สังคมศึกษา 120 ส 21102 , ส 21104 ประวัติศาสตร์ 40 ส 22101 , ส 22103 สังคมศึกษา 120 ส 22102 , ส 22104 ประวัติศาสตร์ 40 ส 23101 , ส 23103 สังคมศึกษา 120 ส 23102 , ส 23104 ประวัติศาสตร์ 40

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๑ วชิ าสงั คมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม ศกึ ษาและเป็นแนวทางในการปฏบิ ัตใิ นเร่อื ง อธิบายการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนับถือส่ปู ระเทศไทย วเิ คราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนบั ถือที่มี ต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย รวมท้ังการพัฒนาตนและครอบครัว วิเคราะห์พุทธประวัติต้ังแต่ประสูติ จนถงึ บำเพญ็ ทุ กรกริ ิยา หรอื ประวตั ิศาสดาที่ตนนบั ถือตามท่ีกำหนด วเิ คราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชวี ิต และข้อคดิ จาก ประวัตสิ าวก ชาดก เรอ่ื งเลา่ และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด อธิบายพุทธคุณ และข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ ตามทีก่ ำหนด เห็นคุณค่าและนำไปพฒั นาแกป้ ัญหาของตนเองและครอบครวั เหน็ คุณค่า ของการพฒั นาจิต เพอื่ การเรยี นรแู้ ละการดำเนนิ ชวี ติ ด้วยวธิ คี ดิ แบบโยนิโสมนสิการ คอื วธิ คี ดิ แบบคุณคา่ แท้-คุณค่าเทยี ม และวิธคี ิดแบบคุณ-โทษ และทางออกหรือการพฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาทต่ี นนบั ถอื สวดมนต์ แผ่เมตตา บรหิ ารจิต และเจริญปัญญาดว้ ยอานาปานสติ หรือตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถอื ตามที่กำหนด วเิ คราะห์และปฏิบตั ิตนตาม หลักธรรมทางศาสนาทต่ี นนับถอื ในการดำรงชีวติ แบบพอเพียง และดแู ลรกั ษาสิง่ แวดลอ้ มเพอื่ การอยู่ร่วมกนั ได้อย่างสนั ติสุข วิเคราะห์เหตุผลความจำเป็นท่ีทุกคนต้องศึกษาเรียนรู้ศาสนาอ่ืน ๆ ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอ่ืน ในสถานการณต์ ่าง ๆ ได้ อย่างเหมาะสม วเิ คราะหก์ ารกระทำของบุคคลท่ีเป็นแบบอยา่ งดา้ นศาสนสัมพนั ธ์ และนำเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ขิ องตนเอง บำเพญ็ ประโยชน์ตอ่ ศาสนสถานของศาสนาที่ตนนบั ถือ อธบิ ายจรยิ วตั รของสาวกเพ่ือเปน็ แบบอย่างในการประพฤติปฏบิ ตั ิ และปฏิบัติตนอยา่ งเหมาะสม ต่อสาวกของศาสนาทต่ี นนับถอื ปฏิบัติตนอยา่ งเหมาะสมตอ่ บุคคลต่าง ๆ ตามหลักศาสนาท่ีตน นับถือตามทีก่ ำหนด จัดพิธีกรรม และปฏบิ ัติตนในศาสนพธิ ี พธิ ีกรรมได้ถกู ตอ้ ง อธิบายประวัติ ความสำคัญและปฏิบัติตนในวนั สำคัญทางศาสนาท่ีตนนับถอื ตามทกี่ ำหนดไดถ้ กู ตอ้ ง สาระท่ี 2 หน้าท่พี ลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ิตในสงั คม ศกึ ษาและลงมอื ปฏิบตั ิในเรื่อง ปฏิบัติตน ตามกฎหมายในการคมุ้ ครองสิทธิของบุคคลระบคุ วามสามารถของตนเองในการทำประโยชนต์ อ่ สงั คมและประเทศชาติ อภิปรายเกีย่ วกับคณุ คา่ ทางวัฒนธรรมทีเ่ ปน็ ปจั จัยในการสรา้ งความสมั พันธท์ ด่ี ี หรืออาจนำไปสู่ความเขา้ ใจผดิ ตอ่ กัน แสดง ถึงการเคารพในสิทธิของตนเองและผู้อ่นื อธิบายหลกั การ เจตนารมณ์โครงสร้างและสาระสำคญั ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั ร ไทยฉบบั ปจั จุบนั โดยสังเขป วเิ คราะหบ์ ทบาทการถ่วงดุลของอำนาจอธิปไตยในรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยฉบับ ปัจจุบนั ปฏิบตั ิตนตามบทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปัจจุบันท่เี กย่ี วข้องกบั ตนเอง โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลมุ่ การสืบค้นข้อมูล และการบันทึกข้อมูล เพื่อใหผ้ เู้ รียนเกดิ ความรู้ ความเข้าใจ และตระหนกั ถึงการปฏิบตั ิในฐานะท่เี ป็นสว่ นหน่งึ ในสงั คมประชาธิปไตย ปฏบิ ัติตนตามหลกั ศาสนาท่ีตนเองนับถือ เห็นคุณค่าของการนำความรไู้ ปใชใ้ ห้เกิดประโยชนใ์ นการดำเนนิ ชีวิตประจำวัน มี ความส่ือสัตยส์ ุจรติ รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ มาตราฐาน/ตัวชี้วัด ส๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม ๑/๕, ม ๑/๖, ม ๑/๗, ม ๑/๘ , ม ๑/๙ ,ม ๑/๑๐, ม๑/๑๑ ส๑.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ม ๑/๕ ส๒.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ ,ม.๑/๔ ส๒.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ ,ม.๑/๓ รวมทง้ั หมด ๒๓ ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหสั วิชา ส ๒๑๑๐๓ วิชาสังคมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ ศกึ ษาและอธบิ ายความหมายและความสำคญั ของเศรษฐศาสตร์ วเิ คราะหค์ ่านยิ ม และ พฤติกรรมการบริโภคของคนในสงั คมซ่งึ ส่งผลต่อเศรษฐกจิ ของชมุ ชนและประเทศ อธบิ ายความเป็นมา หลักการและ ความสำคญั ของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตอ่ สังคมไทย วิเคราะหบ์ ทบาทหน้าที่และความแตกต่างของสถาบนั การเงนิ แต่ละประเภท และธนาคารกลาง ยกตัวอย่างทสี่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ การพึ่งพาอาศยั กันและการแขง่ ขันกนั ทางเศรษฐกจิ ในประเทศ ระบปุ ัจจยั ท่มี ีอิทธพิ ลต่อการกำหนดอปุ สงคแ์ ละอปุ ทาน อภิปรายผลของการมีกฎหมายเก่ียวกับทรัพย์สินทางปัญญา สาระที่ 5 ภมู ศิ าสตร์ ศกึ ษา วิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพของทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย โดยใชเ้ คร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตร์สบื คน้ ข้อมูล อธบิ ายพกิ ดั ภมู ิศาสตร์ (ละติจูด และลองจจิ ดู ) เส้นแบ่งเวลาและเปรียบเทียบ วนั เวลาของโลก วิเคราะห์สาเหตกุ ารเกิดภัยพิบัติ และผลกระทบในทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลียและโอเชียเนยี สำรวจ และระบทุ ำเลทตี่ ัง้ ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสงั คมในทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลียและโอเชียเนีย วเิ คราะห์ปัจจัยทาง กายภาพและปัจจัยทางสังคมที่สง่ ผลตอ่ ทำเลท่ีตั้งของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และสังคมในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลยี และ โอเชยี เนยี สืบคน้ อภปิ รายประเดน็ ปัญหาจากปฏิสัมพันธร์ ะหวา่ งสิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพกับมนุษย์ท่ีเกิดขึ้นในทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี วิเคราะห์แนวทางการจัดการภยั พิบตั ิและการจัดการทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ มในทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลียและโอเชยี เนีย โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึกข้อมูล เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ความเข้าใจ ความสามารถในการส่ือสารและเห็นคุณค่าแหง่ การนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ใน การดำรงชวี ิตประจำวัน โดยมีจิตสาธารณะรักความเป็นไทย มาตราฐาน/ตัวช้ีวัด ส๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ , ม.๑/๓ ส๓.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ ส๕.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ ส๕.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ ,ม.๑/๔ รวมท้ังหมด ๑๔ ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหสั วิชา ส ๒๑๑๐๒ วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศกึ ษาความสำคัญและการแบง่ ชว่ งเวลาประวัตศิ าสตรไ์ ทย การใชศ้ กั ราชท่ปี รากฏในเอกสาร รวมท้ัง ความสมั พันธแ์ ละความสำคญั ของอดีตที่มีตอ่ ปัจจุบันและอนาคต ความหมาย และความสำคญั หลักฐานทางประวัติศาสตร์ และวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ ปจั จยั ทางภมู ศิ าสตร์ ที่มผี ลตอ่ การพัฒนาการดา้ น ต่างๆของประเทศในภมู ิภาคเอเชีย ตะวนั ตกเฉยี งใตท้ ่มี ตี ่ออารยะธรรมในดินแดนไทย ตง้ั แต่สมัยกอ่ น ประวัติศาสตร์จนถงึ อาณาจกั รสุโขทยั ในดา้ นต่างๆ รู้เข้าใจ สามารถใช้วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ในการเรยี นรู้ เรื่อง ความหมายความสำคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ ศึกษาและนำเสนอเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ไทยประวัติศาสตร์ท้องถ่ินในจังหวัดปทุมธานี เช่น และภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดปทุมธานี ปัจจัยพ้ืนฐานและผลกระทบภายนอกท่ีมีอิทธิพลต่อการ สร้างสรรค์ ภูมิปัญญา ตวั อย่างผลงานสร้างสรรค์ภูมิปัญญา โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูล และการบันทึกข้อมูล เพ่อื ให้เกดิ ความรแู้ ละความเข้าใจและนำวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ไปใช้ศกึ ษาเร่ืองราวของ ประวัติศาสตรใ์ นทอ้ งถ่นิ ของตนเองและเห็นคณุ คา่ เกดิ ความภมู ิใจในความเป็นไทย มาตราฐาน/ตัวช้ีวัด ส๔.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ รวมท้งั หมด ๓ ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๔ วิชาประวัติศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศกึ ษาประวัติศาสตร์เอเชยี ตะวันออกเฉียงใตพ้ อสงั เขป สมัยก่อนสุโขทัยและสมัยสุโขทัยและภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมท้ังเหตกุ ารณ์สำคัญด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ พัฒนาการของ มนุษย์สมัยสุโขทัย ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และสงั คมที่มีผลต่อการดำรงชีวิต ประชากรในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทง้ั เหตุการณ์สำคัญในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ท่ีมีผลกระทบต่อพัฒนาการและการ เปลี่ยนแปลงของโลก โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุม่ การสืบค้นข้อมูล และการบันทึกข้อมูล เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้และความเข้าใจและนำวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ไปใช้ศึกษาเรื่องราวของ ประวตั ศิ าสตร์ใน ทอ้ งถ่นิ ของตนเองและเหน็ คุณคา่ เกิดความภูมิใจในความเปน็ ไทยเพ่อื ใหม้ คี วามคิดสร้างสรรค์ มเี หตุ รกั ประเทศชาติ รัก ท้องถน่ิ ตระหนกั ถึงความสำคญั ของเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ รเู้ ทา่ ทนั สถานการณ์ ศรัทธาและเทิดทูนในบคุ คลสำคัญของ ไทย มาตราฐาน/ตัวช้ีวัด ส๔.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ ส๔.๓ ม.๑/๑, ม.๑/๒ , ม.๑/๓ รวมท้ังหมด ๕ ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ส ๒๒๑๐๑ วชิ าสงั คมศึกษา กลุม่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม ศึกษา อธิบาย วเิ คราะห์ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด การเผยแผ่ พระพุทธศาสนาและศาสนาท่ีตนนับถือสู่ประเทศเพ่อื นบ้าน ความสำคัญของพุทธศาสนาและศาสนาที่ตนนับถือช่วย เสริมสร้างความเข้าใจอันดกี ับประเทศเพ่ือนบ้าน รวมทงั้ การพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสงั คม หลักธรรมของศาสนาท่ี ตนนับถือ การพัฒนาจิตการเรยี นรู้และการดำเนินชีวิต และการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ สวดมนต์แผ่ เมตตาตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ การปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาท่ีตนนับถือ การดำรงชวี ิตแบบพอเพียง และการดูแลรกั ษาส่ิงแวดล้อม การปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ต่างๆและศาสนาอ่ืนๆ บุคคลทเ่ี ป็นแบบอย่าง ด้านศาสนสัมพันธ์และแนวทางการปฏิบัติของตนเอง และบำเพ็ญตนต่อศาสนสถานของศาสนาท่ีตนนับถือ พิธกี รรมประวัติ ความสำคัญและการปฏิบัติตนในวันสำคัญทางศาสนาท่ีตนนับถือ สาระท่ี 2 หน้าท่พี ลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชีวติ ในสงั คม ศกึ ษาเก่ียวกับการเมืองการปกครองของ ไทยในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยเน้นในด้านสิทธิมนุษยชน และวิถปี ระชาธิปไตย ตระหนักถึงสถานภาพบทบาทเก่ียวกับสิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ เข้าใจและเห็นความสำคัญการจัดระเบียบทางสงั คม รับรู้ เข้าใจถงึ หลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้างและสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน การแบ่งอำนาจ และการถ่วงดุลอำนาจอธิปไตย ท้งั ๓ ฝ่าย คือ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ ศึกษากฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายทเี่ ก่ียวข้อง กับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ศรัทธา ยึดม่ัน การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เคารพเทิดทูนสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์เคารพและปฏิบัติตาม กฎหมาย วถิ ีประชาธิปไตยรวมทัง้ นำไปใชใ้ นการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างสงบสุข โดยใช้กระบวนการคิดวเิ คราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึกข้อมูล เพือ่ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ กระบวนการท่ีมาของกฎหมายทเ่ี กย่ี วข้องกบั ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน ประเทศชาติ ในสถานภาพ บทบาท สิทธิ หน้าทใ่ี นฐานะพลเมอื งดตี ามวิถีประชาธปิ ไตย มีความสามารถในการส่ือสารและเห็นคุณค่า แหง่ การนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำรงชีวิตประจำวัน โดยมีจิตสาธารณะรักความเป็นไทย มาตราฐาน/ตัวช้ีวัด ส๑.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๓ ,ม.๒/๔ , ม.๒/๕ , ม.๒/๖ , ม.๒/๗ , ม.๒/๘ , ม.๒/๙ , ม.๒/๑๐ ,ม.๒/๑๑ ส๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒ , ม.๒/๓ ,ม.๒/๔ , ม.๒/๕ ส๒.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๓ ,ม.๒/๔ ส๒.๒ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ รวมทั้งหมด ๒๒ ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหสั วิชา ส ๒๒๑๐๓ วิชาสงั คมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ ศึกษาความหมาย และความสำคัญของการออม และการลงทุนในระบบเศรษฐกิจ และ ความหมาย ความสำคัญของ การผลิต การบริการอย่างมีประสิทธิภาพ เข้าใจเรื่องหลักการและเป้าหมายปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง รู้วธิ ีการนำทรพั ยากรทางเศรษฐศาสตร์หน่วยครัวเรือนไปใช้ให้เป็นประโยชน์อย่างคุ้มค่า และมีคุณธรรม รู้ความหมาย บทบาทหน้าที่ของผู้ผลิต หลักการและวธิ ีการเลือกบริการ เข้าใจเร่ืองปัจจัยของการลงทุนและการออมตอ่ ระบบ เศรษฐกิจ การพง่ึ พาสถาบันการเงิน การแข่งขันทางเศรษฐกิจในประเทศ และการมีกฎหมายเก่ยี วกับการคุ้มครองสิทธิ ผู้บรโิ ภค สาระท่ี ๕ ๓มศิ าสตร์ ศึกษาการวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของทวีปยโุ รป และแอฟริกา โดยใชเ้ ครอื่ งมือทาง ภมู ิศาสตร์สืบค้นข้อมูล อธิบายมาตราส่วนทิศ และสัญลักษณ์ วเิ คราะห์สาเหตุการเกิดภัยพิบัติ ของทวีปยุโรป และทวีป แอฟริกา สำรวจและระบุทำเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปยุโรป และแอฟริกา วเิ คราะห์ปัจจัยทาง กายภาพและปัจจัยทางสังคมทม่ี ีผลต่อทำเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวปี ยุโรป และแอฟริกา สืบค้นและ อภิปรายประเด็นปัญหาจากปฏิสัมพันธร์ ะหว่างสภาพแวดล้อมทางกายภาพกับมนุษย์ที่เกิดข้ึนในทวีปยโุ รป และแอฟริกา วเิ คราะห์แนวทางการจัดการภัยพิบัติและการจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมในทวีปยุโรป และแอฟรกิ า อย่างยัง่ ยืน โดยใช้กระบวนการคิดวเิ คราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึกข้อมูล เพื่อใหเ้ กิดความรู้ความเข้าใจในการใช้เครอ่ื งมือทางภมู ิศาสตร์ ในการรวบรวมและนำเสนอขอ้ มลู เกี่ยวกบั ลักษณะ ทางกายภาพและสงั คมของทวปี ยุโรปและแอฟริกา การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกจิ สังคม และวฒั นธรรม ของทวีป ยุโรปและแอฟริกา รวมท้งั วิเคราะหแ์ นวทางการทรัพยากรและสงิ่ แวดล้อมใน ทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า อยา่ งยั่งยืนมี ความสามารถในการสื่อสารและเห็นคุณค่าแหง่ การนำความรไู้ ปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในการดำรงชีวิตประจำวัน โดยมีจิต สาธารณะรักความเป็นไทย มาตราฐาน/ตัวชี้วัด ส๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒ , ม.๒/๓ ,ม.๒/๔ ส๓.๒ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๓ ,ม.๒/๔ ส๕.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ ,ม.๒/๓ ส๕.๒ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๓ ,ม.๒/๔ รวมท้งั หมด ๑๕ ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัส วิชา ส ๒๒๑๐๒ วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศึกษาวธิ ีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์โดยอาศัยข้อมูลจากเอกสารต่างๆในสมัยอยุธยา และธนบุรี การสถาปนาอาณาจักรอยุธยาและธนบุรี พัฒนาการ ทางการเมืองสังคมและเศรษฐกิจของไทยสมัยอยุธยาและ กรงุ ธนบรุ ี ศกึ ษาที่ต้งั และสภาพทางภูมิศาสตร์ของภมู ิภาคต่างๆในทวีปเอเชียยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใตใ้ นเรื่อง พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง รวมทง้ั อารยธรรมตะวันออกและแหลง่ มรดกโลกในประเทศ ต่างๆในภูมภิ าค และวิเคราะห์การพัฒนาการ ปัจจัยที่สง่ ผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจกั รอยุธยาและ ธนบรุ ี อิทธิพลของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมยั อยธุ ยาและธนบรุ ีต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา อาณาจักศรวี ิชัย และอิทธิพลของภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีมีต่อการพัฒนาพื้นท่ีชุมชนในจังหวัดปทมุ ธานี โดยใช้กระบวนการคิดวเิ คราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลมุ่ การสืบค้นข้อมูล และการบันทึกข้อมูล เพื่อใหเ้ กิดความรู้ความเข้าใจวธิ กี ารประเมนิ ความน่าเชื่อถอื ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ข้อมูล จาก เอกสารและการตคี วามจากหลกั ฐานในสมัยอยธุ ยาและธนบรุ ี การสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยาและธนบรุ ี พฒั นากากรทาง สังคม เศรษฐกิจของไทยสมยั อยุธยาและกรุงธนบรุ ี ภูมิภาคเอเชีย วฒั นธรรมไทยสมัยอยธุ ยา และธนบรุ ี ผลงานของบุคคล สำคญั ของไทย และตา่ งชาตติ ่างมีสว่ นรว่ มสร้างสรรค์ชาติไทย แหลง่ อารยธรรม โบราณในภูมภิ าคเอเชีย มีความสามารถใน การส่ือสารและเห็นคุณค่าแห่งการนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำรงชีวิตประจำวัน โดยมีจิตสาธารณะรกั ความเป็น ไทย มาตราฐาน/ตัวช้ีวัด ส ๔.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๓ รวมท้งั หมด ๓ ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ส ๒๒๑๐๔ วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศกึ ษาวิเคราะห์วธิ ีการประเมินความน่าเชื่อถอื ของหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ ข้อมูลจากเอกสาร และตีความจาก หลักฐานในสมัยอยุธยาและธนบรุ ี การสถาปนาอาณาจักรอยุธยาและธนบรุ ี พฒั นาการทาง การเมอื งสงั คมและเศรษฐกจิ ของไทยสมัยอยุธยาและกรงุ ธนบุรี ภูมภิ าคเอเชยี ภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทย สมยั อยธุ ยาและธนบุรี ผลงานของบคุ คล สำคญั ของไทย และต่างชาติต่างมีส่วนรว่ มสร้างสรรคช์ าตไิ ทย แหลง่ อารยธรรมโบราณในภมู ิภาคเอเชีย โดยใชก้ ระบวนการ สืบค้นขอ้ มลู การคิดวเิ คราะหแ์ ละการอภปิ รายวิเคราะห์การพัฒนาการ ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง ของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรี อิทธพิ ลของภมู ิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีตอ่ การพัฒนาชาติไทยในยุค ต่อมา โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูล และการบันทึกข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจวิธกี ารประเมนิ ความน่าเชื่อถือ ของหลักฐานทาประวัติศาสตร์ ข้อมูล จากเอกสารและ การตคี วามจากหลักฐานในสมัยอยุธยาและธนบุรี การสถาปนาอาณาจักรอยธุ ยาและธนบุรี พัฒนากากรทางสังคม เศรษฐกจิ ของไทยสมยั อยธุ ยาและกรงุ ธนบรุ ี ภูมภิ าคเอเชยี วัฒนธรรมไทยสมยั อยุธยา และธนบรุ ี ผลงานของบคุ คลสำคญั ของไทย และตา่ งชาตติ ่างมีสว่ นร่วมสร้างสรรค์ชาตไิ ทย แหล่งอารยธรรม โบราณ ในภมู ิภาคเอเชียมีความสามารถในการ สื่อสารและเห็นคุณค่าแหง่ การนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชนใ์ นการดำรงชีวิตประจำวัน โดยมีจิตสาธารณะรักความเป็นไทย มาตราฐาน/ตัวช้ีวัด ส ๔.๒ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ ส ๔.๓ ม.๒/๑, ม.๒/๒ , ม.๒/๓ รวมทัง้ หมด ๕ ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน รหัสวิชา ส ๒๓๑๐๑ วิชาสงั คมศึกษา กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม ศกึ ษา วิเคราะห์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาทตี่ นนบั ถือ ความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนาในฐานะทช่ี ่วยสร้างสรรค์อารยธรรม ใหค้ วามสงบสุขให้แก่โลก สัมมนาพระพุทธศาสนากบั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง พทุ ธประวัติ พทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ า ชาดก ศาสนิกชนตัวอยา่ ง พระรตั นตรยั อรยิ สัจ 4 พทุ ธ ศาสนสุภาษิต การปฏิบตั ิตนตามหลักธรรม พฒั นาการเรยี นรูด้ ว้ ยวิธคี ิดแบบโยนโิ สมนสกิ าร สวดมนตแ์ ปลและแผ่เมตตา และวถิ ีการดำเนนิ ชีวติ ของศาสนกิ ชนศาสนาอนื่ ศึกษาหนา้ ทข่ี องพระภิกษุ การปฏบิ ตั ติ นตอ่ พระภิกษุ การเปน็ ศษิ ย์ทด่ี ีตาม หลกั ทิศเบือ้ งขวาในทิศ 6 ของพระพทุ ธศาสนา การปฏบิ ัติหนา้ ทข่ี องชาวพทุ ธ การปฏิบัติตนในศาสนพธิ ี วันสำคญั ทาง พระพทุ ธศาสนา หลักปฏิบัตติ นในวันสำคญั ทางพระพุทธศาสนา การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ แนวทางในการธำรงรกั ษา พระพุทธศาสนา สาระท่ี 2 หนา้ ท่พี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสงั คม ศกึ ษาเรือ่ งคดอี าญาและคดีแพ่ง หลักสทิ ธิ มนุษยชน วัฒนธรรมไทยและวฒั นธรรมสากล ปัญหาความขดั แย้งในประเทศไทยและแนวทางในการลดความขัดแยง้ แนวคดิ ในการดำรงชีวิตอยา่ งมีความสขุ ในประเทศไทย กลุ่มเศรษฐกิจ AEC และสังคมโลก ศึกษาเรือ่ งระบอบการ ปกครองแบบต่าง ๆ ที่ใช้ในปจั จุบันและระบอบการปกครองของไทย ศกึ ษากฎหมายรัฐธรรมนญู ทเ่ี ก่ียวข้องกับการเลอื กตั้ง การมสี ่วนร่วมและการตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรัฐ ปัญหาทีเ่ ปน็ อปุ สรรคตอ่ การพัฒนาประชาธปิ ไตยของประเทศไทยและ แนวทางแก้ไข โดยใช้กระบวนการคดิ กระบวนการสืบคน้ ขอ้ มูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแกป้ ญั หา กระบวนการกลุ่ม เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏบิ ตั ิในการดำเนินชวี ติ นำไปพฒั นาและแก้ปญั หา ของ ชมุ ชนและสังคม มีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ อยู่อย่างพอเพยี ง มงุ่ มนั่ ในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดำเนนิ ชีวติ อยรู่ ว่ มกนั ไดอ้ ย่างสันติสขุ มาตราฐาน/ตัวช้ีวัด ส๑.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ , ม.๓/๓ ,ม.๓/๔ ,ม.๓/๕ , ม.๓/๖ , ม.๓/๗ , ม.๓/๘ , ม.๓/๙ , ม.๓/๑๐ ส๑.๒ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ ,ม.๓/๓ ,ม.๓/๔ ,ม.๓/๕ , ม.๓/๖ , ม.๓/๗ ส๒.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ , ม.๓/๓ ,ม.๓/๔ ,ม.๓/๕ ส๒.๒ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ ,ม.๓/๓ ,ม.๓/๔ รวมท้ังหมด ๒๖ ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน รหสั วิชา ส ๒๓๑๐๓ วิชาสงั คมศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ ศึกษา รวบรวม วิเคราะหแ์ ละสรุปกลไกราคา ระบบเศรษฐกิจจากปัญหาและการพัฒนา ท้องถน่ิ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ความสมั พันธ์ระหวา่ งแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง ระบบสหกรณ์ ระบบและ สถาบนั ทางเศรษฐกจิ ต่างๆ ของเศรษฐกจิ ในโลก บทบาทหนา้ ที่ของรฐั บาลในระบบเศรษฐกิจ นโยบายและกิจกรรมทาง เศรษฐกจิ ของรฐั ที่มีต่อบุคคล กลุ่มคน และประเทศชาติ การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ ภาวะเงนิ เฟอ้ เงินฝดื การแก้ปัญหาการวา่ งงาน การกดี กันทางการค้าในระหวา่ งประเทศ การบริหารจัดการทรพั ยากร การดำรงชีวติ อย่างมีดุลย ภาพ และการนำหลกั เศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ศกึ ษาเคร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตร์ทแี่ สดงลักษณะทางกายภาพและสงั คมของทวปี อเมริกาเหนือ และอเมรกิ าใต้ ลกั ษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมรกิ าเหนือและอเมรกิ าใต้ ศึกษาเรอื่ งเกีย่ วกับทวปี อเมริกาเหนือ และอเมรกิ าใต้ ในดา้ นการเปล่ยี นแปลงประชากร เศรษฐกิจ สงั คมและวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ปญั หาส่ิงแวดล้อม และผลกระทบต่อเน่ืองของส่ิงแวดล้อมในทวีปอเมรกิ าเหนือและอเมรกิ าใต้ท่สี ่งผลตอ่ ประเทศไทย โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสบื ค้นขอ้ มลู กระบวนการทางสงั คม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแกป้ ญั หา กระบวนการกลมุ่ เพ่อื ใหเ้ หน็ คุณคา่ ของเครอ่ื งมือทางภมู ศิ าสตร์ ตระหนกั ถึงความสำคัญของลกั ษณะทางกายภาพท่มี ีต่อการดำเนิน ชวี ติ ของมนษุ ย์ สำนกึ วา่ ตนเองเปน็ ส่วนหนงึ่ ของธรรมชาติ เห็นคุณคา่ ของสงิ่ แวดล้อมตระหนกั ถงึ ผลทเ่ี กดิ จากปัญหาและ วิกฤตการณ์ดา้ นสิ่งแวดลอ้ มต่อคุณภาพชวี ติ รมู้ าตรการและความพยายามแก้ปญั หาด้านสิ่งแวดล้อม รเู้ ท่าทันสถานการณ์ ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ปรบั ปรงุ ตนเองอยู่เสมอ มคี ่านยิ มทถี่ ูกต้องเกี่ยวกับระบบการดำเนินงานสหกรณ์ และ วธิ ีการทางเศรษฐกจิ พอเพียง เข้าใจบทบาทหนา้ ที่ของรฐั บาลนโยบายของรัฐบาล ปฏิบัติตามนโยบายของรฐั บาลในการ แกป้ ัญหาทางเศรษฐกิจ ตระหนกั ถงึ ความสำคัญและความจำเป็นที่ประเทศตา่ ง ๆ ตอ้ งร่วมมือกันทางเศรษฐกจิ เพอ่ื ความกนิ ดอี ยดู่ ขี องประชาชน มาตราฐาน/ตัวชี้วัด ส๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒ , ม.๓/๓ ส๓.๒ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ , ม.๓/๓ , ม.๓/๔ ,ม.๓/๕ ,ม.๓/๖ ส๕.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ ส๕.๒ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ , ม.๓/๓ ,ม.๓/๔, ม.๓/๕ รวมทั้งหมด ๑๖ ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ส ๒๓๑๐๒ วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศึกษาการแบ่งยุคสมัยในประวัติศาสตร์ของภูมิภาคต่างๆ ศกึ ษาขั้นตอนของวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ และนำวธิ กี าร ทางประวัติศาสตรม์ าใช้ในการศกึ ษา เรือ่ งราวเก่ยี วกับตนเอง แนวคดิ เกยี่ วกับประเดน็ ต่างๆในสมัยรตั นโกสินทร์ การ ปฎริ ปู การปกครองในสมัย รัชกาลท่ี 5 การเปลยี่ นแปลงการปกครองในสมัย พ.ศ.2475 การเปลยี่ นแปลงทส่ี ำคญั ที่มีผลต่อ มนุษยชาติ ใน ยุคปจั จุบัน สาเหตุและผลของการเกดิ สงครามโลกครง้ั ที่ 1และ 2 ตลอดจนปัจจยั ต่างๆท่ีมผี ลตอ่ การ เปล่ียนแปลงโลกตะวนั ตกถงึ สมัยกลาง ศกึ ษาการเปลย่ี นแปลงทน่ี ำไปสู่ความรว่ มมอื และความขัดแย้งใน ศตวรรษที่ 20 และความพยายามในการขจัดปัญหาความขดั แยง้ เข้าใจข้อจำกัด และสามารถใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ สร้างองค์ ความรู้เกี่ยวกับความเป็นมาของภูมิภาคอื่นๆ วิเคราะห์ความสำคัญของอดีต เข้าใจและสามารถใชห้ ลักฐานทางประวัติศาสตร์ สร้างองค์ความรูใ้ หม่ท่ีมีผลต่อปัจจุบันเพ่ือใหเ้ ข้าใจเหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตร์อย่างถูกต้อง โดยใช้กระบวนการคิดวเิ คราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูล และการบันทึกข้อมูล เพื่อใหเ้ กิดความรู้ความเข้าใจเหตกุ ารณส์ ำคัญทางประวัติศาสตร์ ไดอ้ ย่างมเี หตุผลตามแนวคิดท่ี หลากหลาย สามารถวเิ คราะห์เชอื่ มโยงความสัมพันธข์ องเหตุการณ์ต่างๆทเี่ กดิ ขึ้นโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์ ตลอดจนเข้าใจและเหน็ ความสำคัญของการใช้หลักฐานและการตคี วามที่แตกตา่ งจากอดตี ทีม่ ผี ลตอ่ การ วเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตร์ มีความสามารถในการสื่อสารและเห็นคุณค่าแห่งการนำความรู้ไปใช้ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นการดำรงชีวิตประจำวัน โดยมีจิต สาธารณะรักความเป็นไทย มาตราฐาน/ตัวช้ีวัด ส ๔.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ ส ๔.๒ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ รวมท้งั หมด ๔ ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ส ๒๓๑๐๔ วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศึกษาปัจจัยทางภูมศิ าสตร์ท่มี ีผลตอ่ พฒั นาการของภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก (ยกเว้นเอเชยี ) และพัฒนาการทาง ประวัตศิ าสตรส์ งั คม เศรษฐกจิ และการเมืองของภูมิภาคตา่ ง ๆ ในโลก อิทธิพลของอารยธรรมตะวนั ตกที่มผี ลของการ เปลยี่ นแปลงของสงั คมโลกซง่ึ นำไปสูค่ วามรว่ มมอื และความขดั แย้งในคริสตศ์ ตวรรษที่ 20 ตลอดจนความพยามในการขจัด ปญั หาความขัดแย้งท้ังในกล่มุ AEC และสังคมโลก โดยจัดทำโครงงานทางประวัตศิ าสตร์ โดยใช้ทกั ษะการสังเกต การรวบรวมข้อมูล การสบื คน้ การวิเคราะห์ การ สังเคราะห์ การสร้างความรู้ใหม่ การให้เหตุผล ทั้งนีเ้ พ่อื ฝกึ ฝนทักษะการใช้วธิ กี ารทางประวัติศาสตร์สบื คน้ เร่ืองราวต่าง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ เพ่อื ใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจพฒั นาการดา้ นความสมั พันธ์และการเปลย่ี นแปลงอยา่ งตอ่ เนือ่ ง และความคดิ สรา้ งสรรค์ ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ทางประวตั ิศาสตร์ มีความสามารถในการสื่อสารและเหน็ คณุ ค่าแหง่ การนำความรูไ้ ปใช้ ให้เกิดประโยชนใ์ นการดำรงชวี ติ ประจำวนั โดยมีจิตสาธารณะรักความเป็นไทย มาตราฐาน/ตัวชี้วัด ส ๔.๓ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ , ม.๓/๓ , ม.๓/๔ รวมทง้ั หมด ๔ ตัวช้ีวัด

โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน/เพิ่มเติม ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายชื่อวิชา (รหัสรายวิชา/ช่ือรายวิชา) เวลาเรียน ชั่วโมง รายวิชาพ้ืนฐาน ส 31101 , ส 31103 สังคมศึกษา 80 ส 31102 , ส 31104 ประวัติศาสตร์ 40 ส 32101 , ส 32103 สังคมศึกษา 80 ส 32102 , ส 32104 ประวัติศาสตร์ 40 ส 33101 , ส 33103 สังคมศึกษา 80 ส 33102 , ส 33104 ประวัติศาสตร์ 40

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน รหัสวิชา ส ๓๑๑๐๑ วชิ าสังคมศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระท่ี 5 ภมู ศิ าสตร์ ศึกษา วิเคราะห์ ประเมินการเปล่ียนแปลงสภาพทางภูมศิ าสตร์ ปญั หาทางกายภาพ หรือภยั พบิ ัตทิ างธรรมชาตใิ นประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก การใช้ประโยชนจ์ ากสงิ่ แวดล้อม ในการสร้างสรรคว์ ัฒนธรรม อนั เปน็ เอกลกั ษณ์ของทอ้ งถน่ิ ทงั้ ในประเทศไทยและโลก การมสี ่วนร่วมในการแกป้ ัญหาและการดำเนนิ ชวี ติ ตาม แนวทางการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรและส่ิงแวดลอ้ มเพ่อื การพฒั นาที่ย่ังยืน รวมถึงการใช้เคร่อื งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ในการ รวบรวม วเิ คราะห์และนำเสนอขอ้ มลู ภูมสิ ารสนเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยใชก้ ระบวนการคดิ กระบวนการสบื ค้นขอ้ มลู กระบวนการทางสงั คม กระบวนการเผชญิ สถานการณ์ และแก้ปญั หา กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการกล่มุ เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสง่ิ ที่เรียนรู้ มคี วามสามารถในการใชเ้ ครือ่ งมือทางภมู ิศาสตร์ในการ สืบค้นขอ้ มลู มคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ในดา้ นใฝ่เรียนร้มู ุ่งมั่นในการทำงาน มวี ินยั มจี ติ สาธารณะ เหน็ คุณคา่ และมี จิตสำนึกในการรว่ มมือกันแก้ปัญหาอนุรักษท์ รพั ยากรและส่งิ แวดลอ้ ม การวัดและประเมินผลใช้วธิ ีการวดั ผลและ ประเมินผลที่หลากหลาย เนน้ ประเมนิ ตามสภาพจริงทงั้ ด้านความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ คณุ ธรรม และลักษณะอันพึง ประสงค์ มาตราฐาน/ตัวชี้วัด ส ๕.๑ ม.๔-๖/๑ , ม.๔-๖/๒ , ม.๔-๖/๓ ส ๕.๒ ม.๔-๖/๒ รวม ๔ ตัวช้ีวดั

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน รหัสวิชา ส ๓๑๑๐๓ วชิ าสังคมศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระท่ี ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม ศกึ ษาเรอื่ งสังคมชมพูทวปี และคติความเชอื่ ทางศาสนาสมยั กอ่ น พระพทุ ธเจ้า ศึกษาพุทธประวตั ิ ตงั้ แต่การตรัสรู้ การกอ่ ตั้งพระพทุ ธศาสนา วิธีการสอนและการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาตาม แนว พุทธจรยิ า พุทธประวตั ดิ ้านการบริหารและการธ ารงรักษาศาสนา วิเคราะหข์ ้อปฏิบัติทางสายกลางในพระพุทธศาสนา และการพัฒนาศรัทธาและปญั ญาท่ถี ูกต้องในพระพุทธศาสนา วิเคราะห์ลักษณะประชาธปิ ไตยใน พระพุทธศาสนาและ หลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลกั วิทยาศาสตร์ การฝึกฝนและพัฒนาตนเอง การ พง่ึ ตนเองและการมุ่งอิสรภาพใน พระพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาแห่งการศกึ ษา ซึง่ เน้น ความสัมพนั ธ์ของเหตุปัจจยั กับวธิ ีการแก้ปญั หา พระพทุ ธศาสนาฝึกตนไมใ่ หป้ ระมาท มุง่ ประโยชนแ์ ละ สนั ตภิ าพแกบ่ ุคคล สงั คมและโลก วิเคราะห์พระพทุ ธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการพฒั นา ประเทศแบบยง่ั ยนื ความสำคัญของพระพุทธศาสนาเกีย่ วกบั การศกึ ษาท่ี สมบูรณ์ การเมอื งและสันติภาพ พระรัตนตรัย หลกั ธรรมในกรอบอริยสัจ ๔ และพุทธศาสนสุภาษิต ศึกษาประวัตสิ าวก สาวกิ า ศาสนกิ ชน ตัวอย่างในพระพทุ ธศาสนา ศึกษาคณุ ค่าและความสำคัญของการสังคายนาพระไตรปิฎก การเช่อื มัน่ ต่อ ผล ของการทำความดี ความชวั่ ศกึ ษาประวตั ศิ าสดาของศาสนาอ่ืน ๆ ตระหนักในคุณคา่ และความสำคัญของ ค่านยิ ม และ จรยิ ธรรมทีเ่ ป็นตวั ก าหนดความเช่ือ และพฤติกรรมท่ีแตกตา่ งกันของ ศาสนิกชนของ ศาสนาต่าง ๆ การเหน็ คณุ ค่า เช่อื มั่น และมุง่ มน่ั พัฒนาชวี ิตดว้ ยการพฒั นาจิตและพัฒนาการเรียนรู้ ด้วยวิธี คดิ แบบโยนิโสมนสิการ สวดมนต์แปล แผ่เมตตา บรหิ ารจิตและเจรญิ ปัญญาตามหลกั สติปฏั ฐาน หลกั ธรรม ในการอยรู่ ่วมกันอย่างสันตสิ ขุ ของแตล่ ะศาสนา การเสนอแนว ทางการจดั กจิ กรรมความร่วมมือของทุก ศาสนาในการแกป้ ญั หาและพฒั นาสงั คม การปฏบิ ัตติ นเป็นศาสนกิ ชนทดี่ ี และ ปฏบิ ตั ติ นถกู ต้องตามศาสนพธิ ี การแสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ หลักธรรม คตธิ รรมทเ่ี กี่ยวเน่ืองกับวนั สำคัญทางศาสนา สัมมนาและ เสนอแนวทางในการธ ารงรกั ษาศาสนาทต่ี นนบั ถืออนั สง่ ผลถงึ การพฒั นาตน พฒั นาชาตแิ ละโลก โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การเช่อื มโยงประสบการณ์เดมิ ส่ปู ระสบการณ์ใหม่ โดยการใช้ภาพข่าว หรือ สถานการณ์ต่าง ๆ ใหน้ ักเรียนฝกึ การสังเกต ตอบคำถามหาแนวทางการปฏบิ ัติที่ถูกต้อง เหมาะสม สง่ เสรมิ การทำงานกลมุ่ เพ่อื พัฒนาทกั ษะทางสังคม นำไปสกู่ ารยอมรับและเห็นคุณค่าของตนเองและผ้อู น่ื เพ่ือใหต้ ระหนักถงึ ความสำคญั และเหน็ คุณค่าของพระพทุ ธศาสนาและศาสนาตา่ ง ๆ ที่หลอ่ หลอมให้ศาสนิกชน ปฏบิ ัตติ นเป็นคนดี มีคา่ นิยมทด่ี ีงามปฏิบตั ติ นเพ่อื ประโยชน์ต่อสังคมและสว่ นรวม เพ่อื ให้เกิดสันติสุขในสังคม การวดั และ ประเมินผลใช้วธิ กี ารวดั ผลและประเมนิ ผลที่หลากหลาย เน้นการประเมินตามสภาพจรงิ ท้งั ดา้ นความรู้ ทักษะ กระบวนการ คณุ ธรรม จริยธรรมและลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มาตราฐาน/ตัวชี้วัด ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๕, ม.๔-๖/๑๕, ม.๔-๖/๑๖, ม.๔-๖/๑๗, ม.๔-๖/๒๒ ส ๑.๒ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔ รวม ๑๒ ตวั ชี้วัด

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน รหสั วิชา ส ๓๑๑๐๒ วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๑ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศกึ ษาวิเคราะห์ ความสำคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ท่ีแสดงถึงการเปล่ยี นแปลงของมนษุ ยชาติ ข้นั ตอนของวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ คณุ ค่าและประโยชน์ของวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ที่มีต่อการศึกษาทางประวัติศาสตร์ ประเดน็ สำคัญทางประวตั ศิ าสตร์ต้ังแต่ความเปน็ มาของชาตไิ ทยสมัยกอ่ นอาณาจักรสโุ ขทัยจนถงึ การเปลีย่ นแปลงการ ปกครอง ความสำคัญของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ต์ อ่ ชาตไิ ทย ปัจจยั ทส่ี ง่ เสรมิ การสร้างสรรคภ์ มู ปิ ญั ญาไทยและวัฒนธรรม ไทยซงึ่ มีผลตอ่ สังคมไทยในยุคปัจจุบัน บทบาทของสถาบนั พระมหากษัตริยใ์ นการพัฒนาชาติไทยในดา้ นต่าง ๆ โดยใชว้ ิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ กระบวนการคดิ กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัตกิ ระบวนการทาง สงั คม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกลมุ่ เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจตระหนกั ในความสำคญั ของการศึกษาประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย ตระหนักถงึ ความสำคัญ ของเหตกุ ารณป์ ระวัตศิ าสตร์ รเู้ ท่าทันสถานการณ์ ศรทั ธาและเทิดทูนในบุคคลสำคัญของไทย เกดิ ความรกั ความภาคภูมิใจ และธำรงความเป็นไทย มคี ณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคใ์ นดา้ นรักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซ่อื สัตย์สุจริต มวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ รกั ความ เป็นไทย ม่งุ มัน่ ในการทำงาน มาตราฐาน/ตัวช้ีวัด ส ๔.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒ ส. ๔.๓ ม.๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๒ รวม ๔ ตวั ช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน รหัสวิชา ส ๓๑๑๐๔ วชิ าประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๑ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศึกษาวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ ศกึ ษาวิเคราะหเ์ กีย่ วกบั ความสำคญั ของเวลา และยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ที่ แสดงถึงการ เปลยี่ นแปลงของมนุษยชาติ ตวั อยา่ งการใช้เวลาและยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ทป่ี รากฏในเอกสารทาง ประวตั ศิ าสตร์ไทยและประวัติศาสตร์สากล ทั้งนี้เพอ่ื ให้มคี วามเข้าใจถึงลกั ษณะเฉพาะของสังคม ท่ีมีความสมั พันธเ์ ชือ่ มโยง หรอื มผี ลกระทบ ทีม่ ีการเปล่ยี นแปลงหรือมพี ัฒนาการในแตล่ ะช่วงเวลาและพน้ื ท่ที ่ีแตกตา่ งกัน โดยใช้วิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ กระบวนการคดิ กระบวนการสบื ค้นข้อมูล กระบวนการปฏบิ ัติกระบวนการทาง สงั คม กระบวนการเผชญิ สถานการณ์ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกลุม่ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ความเข้าใจตระหนกั ในความสำคญั ของการศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ชาติไทย ตระหนกั ถึงความสำคญั ของเหตกุ ารณป์ ระวัติศาสตร์ รู้เท่าทันสถานการณ์ ศรัทธาและเทดิ ทูนในบุคคลสำคญั ของไทย เกดิ ความรักความภาคภมู ิใจ และธำรงความเปน็ ไทย มีคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคใ์ นดา้ นรกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซอ่ื สัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รกั ความ เปน็ ไทย มุ่งมนั่ ในการทำงาน มาตราฐาน/ตัวช้ีวัด ส ๒.๑ ม. ๔-๖/๒ , ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๕ ส ๓.๑ ม. ๔-๖/๑ , ม. ๔-๖/๒ รวม ๖ ตัวชวี้ ดั

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน รหัสวิชา ส ๓๒๑๐๑ วิชาสงั คมศึกษา กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์ ศึกษาและอภิปรายการกำหนดราคาและค่าจ้างในระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ และบทบาท ของรฐั ในการแทรกแซงราคาและการควบคุมราคา เพือ่ การแจกจ่ายและจัดสรรในทางเศรษฐกิจ ความสำคัญของ ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อเศรษฐกิจ สงั คมของประเทศ และประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง ในการด าเนินชีวิตของตนเอง และครอบครัว และเห็นความสำคัญในการน าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ใน การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับ ปัจจุบัน ศึกษาความหมาย ววิ ัฒนาการของสหกรณ์ในประเทศ ไทย ตระหนักถึงความสำคัญของระบบสหกรณใ์ นการ พฒั นาเศรษฐกิจในระดับชุมชนและประเทศ วิเคราะห์ ปัญหาทางเศรษฐกิจในชุมชนและเสนอแนวทางแกไ้ ข บทบาทของ รัฐบาลด้านนโยบายการเงิน การคลังในการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ วิเคราะห์สาเหตุ และผลกระทบที่เกิดจากภาวะทาง เศรษฐกิจ บอกแนวทางใน การแก้ปัญหาโดยใช้นโยบายการเงิน การคลัง ศึกษาวิเคราะห์ววิ ัฒนาการของการเปิดเสรีทาง เศรษฐกิจ และใช กระบวนการอภิปรายเพอื่ วิเคราะห์ผลกระทบของการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ท่ีมีผลต่อ สงั คมไทย วิเคราะห์ผลดี ผลเสียของความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในรูปแบบต่างๆ ที่น าไปส่กู าร พึ่งพา การ แขง่ ขัน การขัดแย้ง และการประสานประโยชน์ทางเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม เพ่อื ให้มีความรู้ความเข้าใจหลกั เศรษฐศาสตร์ ปัญหาทเ่ี กิดข้ึน แนวทางการแก้ไข รู้จักใช้ทรัพยากร ธรรมชาติให้ เกิดประโยชน์สงู สุด เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ให้มีประสิทธภิ าพ เพ่ือให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดี และ สง่ ผลให้ประเทศเจริญก้าวหน้า มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ส 3.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2 , ม.4-6/3 , ม.4-6/4 ส 3.2 ม.4-6/1, ม.4-6/2 , ม.4-6/3 รวมทง้ั หมด 7 ตวั ชว้ี ัด

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน รหัสวิชา ส ๓๒๑๐๓ สังคมศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระท่ี 5 ภมู ิศาสตร์ ศกึ ษาอิทธิพลของสภาพภมู ศิ าสตรซ์ ่งึ ทำให้เกิดปญั หาทางกายภาพ หรือภยั พิบตั ิทาง ธรรมชาตใิ นประเทศ ไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก การเปลีย่ นแปลงของพ้นื ท่ีซงึ่ ไดร้ ับอิทธพิ ลจากปัจจยั ทางภมู ิศาสตร์ใน ประเทศไทย และทวปี ตา่ ง ๆ การประเมินการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติในโลกว่า เป็นผลจากการกระทำของมนุษยห์ รือ ธรรมชาติ ตระหนักถึงความสำคัญของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงทมี่ ีตอ่ เศรษฐกิจ สงั คมของประเทศ และประยกุ ต์ใช้ เศรษฐกิจพอเพยี งในการดำเนินชีวิตของตนเองและครอบครวั และเห็นความสำคัญในการนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ พอเพยี งมาใชใ้ นการวางแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมฉบบั ปัจจุบัน โดยใชก้ ระบวนการคดิ กระบวนการสบื คน้ ข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชญิ สถานการณ์ และ แก้ปญั หา กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการกลมุ่ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ สามารถส่อื สารสิง่ ทเี่ รยี นรู้ มคี วามสามารถใน การใช้เครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตรใ์ นการสืบค้นขอ้ มลู มีคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านใฝเ่ รียนรู้ มุง่ มนั่ ในการทำงาน มวี นิ ัย มี จิตสาธารณะ เห็นคุณคา่ และมจี ติ สำนกึ ในการรว่ มมอื กันแก้ปัญหาอนุรักษท์ รพั ยากร และสง่ิ แวดล้อม การวัดและประเมินผลใช้วิธกี ารวดั ผลและประเมินผลทห่ี ลากหลาย เน้นประเมินตามสภาพจรงิ ท้ังด้าน ความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม และลักษณะอันพงึ ประสงค์ มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั ส ๓.๑ ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔ ส ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓ รวม ๖ ตวั ชวี้ ัด

คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน รหสั วิชา ส ๓๒๑๐๒ วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศึกษาแนวคิดเก่ียวกับความเป็นมาของชนชาติไทย อาณาจักรโบราณในดินแดนไทยและอิทธิพลท่ีมีต่อ สังคมไทย ปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ การสถาปนาและพฒั นาการของอาณาจักรไทยในชว่ งเวลาตา่ งๆสาเหตุและผลของ การปฏริ ูป การปกครองบา้ นเมอื ง การเลิกทาส การเลกิ ระบบไพร่ การเสด็จประพาสยุโรปและหวั เมอื งต่างๆ ในสมัยรัชกาลท่ี 5 การ เปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 บทบาทของสตรีไทย การพัฒนาประชาธิปไตย ในสังคมไทย ศึกษาวิเคราะห์ ความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อการพัฒนาชาติไทยในด้านต่าง ๆ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสบื คน้ ขอ้ มูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชญิ สถานการณ์ และ แก้ปัญหา กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการกลมุ่ เพ่อื ให้เกิดความรู้ความเข้าใจตระหนกั ในความสำคญั ของการศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทย ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของเหตกุ ารณ์ประวัตศิ าสตร์ ร้เู ท่าทันสถานการณ์ ศรัทธาและเทดิ ทนู ในบุคคลสำคัญของไทย เกิดความรกั ความภาคภูมิใจ และธำรงความเป็นไทย มคี ุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคใ์ นดา้ นรกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซือ่ สตั ย์สุจริต มีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ รกั ความ เปน็ ไทย มุ่งมน่ั ในการทำงาน มาตรฐาน/ตัวชี้วดั ส 4.2 ม.4-6/1, ม.4-6/2 , ม.4-6/3 , ม.4-6/4 ส 4.3 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4 , ม.4 - ม.6/5 รวมทัง้ หมด 9 ตวั ช้วี ัด

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน รหัสวิชา ส ๓๒๑๐๔ วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศกึ ษาวเิ คราะหป์ ัจจยั ท่ีส่งเสริมการสรา้ งสรรคภ์ มู ิปญั ญาไทยและวัฒนธรรมไทยซึ่งมีผล ต่อ สงั คมไทยในยุคปัจจบุ ัน ซงึ่ ประกอบดว้ ยปจั จยั ทางภูมศิ าสตร์ ส่งิ แวดลอ้ มทางสงั คม ความคดิ ความเชอื่ และความเป็นมาทางประวตั ิศาสตร์ รวมทง้ั อิทธิพลของวฒั นธรรมตะวันตกและตะวนั ออกท่มี ตี ่อสังคมไทย วถิ ชี วี ิตของคนไทยสมัยตา่ งๆ การสืบทอดและการ เปล่ยี นแปลงของวัฒนธรรมไทย ศกึ ษาวิเคราะห์ผลงานของบุคคลสำคญั ทัง้ ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศทม่ี ีส่วนสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ไทยและประวตั ศิ าสตร์ชาติไทยในสมยั การน าเสนอผลงานประวตั ิศาสตร์ด้วยวธิ ีการต่างๆ ท้งั นี้เพ่อื ให้เขา้ ใจ ประเดน็ สำคญั ทางประวัตศิ าสตร์ไทยเข้าใจความเป็นมาของชาตไิ ทย วัฒนธรรมไทย ภมู ิปัญญาไทย เข้าใจ พฒั นาการทาง ประวตั ศิ าสตรข์ องไทยทางดา้ นตา่ งๆ ท่ีมีความเปล่ยี นแปลงตง้ั แตอ่ ดีตจนถงึ ปจั จบุ นั เหน็ แบบอย่างในการพัฒนาตน เหน็ ความมุ่งมนั่ และความพยายามของพระมหากษตั รยิ แ์ ละบรรพบรุ ุษไทยในการ ปกปอ้ งเอกราชและวฒั นธรรมของชาติ โดยใช้กระบวนการคดิ กระบวนการสบื คน้ ข้อมูล กระบวนการทางสงั คม กระบวนการเผชญิ สถานการณ์ และ แกป้ ัญหา กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการกลุม่ เพือ่ ให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจตระหนกั ในความสำคัญของการศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย ตระหนกั ถึงความสำคัญ ของเหตุการณ์ประวตั ิศาสตร์ รู้เท่าทันสถานการณ์ ศรัทธาและเทดิ ทนู ในบุคคลสำคญั ของไทย เกิดความรักความภาคภูมิใจ และธำรงความเปน็ ไทย มคี ุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ในดา้ นรกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอื่ สตั ย์สุจริต มวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ รกั ความ เป็นไทย มุ่งมั่นในการทำงาน มาตรฐานตวั ชี้วัด ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ส 4.1 ม.4 -6/1, ม.4 -6/2 ม.4 -6/3, ม.4 -6/4 , ม.4 -6/5 ส 4.2 ม.4-6/1,ม. 4-6/2, ส 4.3 ม.4-6/1,ม.4 -6/2, รวมท้ังหมด 11 ตัวชี้วัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน รหัสวิชา ส ๓๓๑๐๑ วิชาสงั คมศึกษา กล่มุ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระที่ ๒ หน้าท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชีวติ ในสังคม ศึกษาและวิเคราะหก์ ฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับ ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน ประเทศชาตแิ ละสังคมโลก การปฏิบัติตนและมสี ่วนร่วมสนบั สนุนใหผ้ ู้อื่นประพฤตปิ ฏบิ ัตเิ ปน็ พลเมืองดีของประเทศและสังคมโลก ความหมาย ความสำคญั แนวคิดหลักการของสิทธิมนุษยชน ปฏญิ ญาสากลว่าดว้ ยสิทธิ มนุษยชน สถานการณ์ สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และแนวทางพัฒนา โดยใช้การอภปิ ราย กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมอื การระดมความคดิ กระบวนการแกป้ ัญหา บทบาท สมมติ เพ่อื ให้สามารถคิดวเิ คราะหเ์ ก่ยี วกบั กฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ งกับตนเอง ครอบครวั ชุมชน ประเทศชาติและสังคม โลก บทบญั ญตั ิ ของรฐั ธรรมนญู ทีเ่ กี่ยวกับสทิ ธิมนษุ ยชน นำมาปฏิบัตติ นตามกฎหมาย รวมท้งั สนบั สนนุ ส่งเสรมิ ให้ ผู้อน่ื ปฏบิ ัตติ นได้อย่าง ถูกตอ้ ง การวดั และประเมนิ ผลใช้วิธกี ารวัดผลและประเมนิ ผลทห่ี ลากหลาย เน้นประเมินตามสภาพจริงท้งั ด้าน ความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ คุณธรรม และลักษณะอนั พึงประสงค์ มาตราฐาน/ตัวช้ีวัด ส ๒.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔ รวม ๓ ตวั ช้วี ัด

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน รหสั วิชา ส ๓๓๑๐๓ วิชาสังคมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... สาระท่ี ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม ศกึ ษาวเิ คราะห์และอธิบายเกยี่ วกบั ประวตั คิ วามเป็นมา ศาสดา สาระสำคัญ นกิ ายสำคัญ หลกั คำสอน พิธกี รรม ของศาสนาสำคัญต่าง ๆ ในโลก วิเคราะหแ์ ละอธิบายหลักธรรม ของศาสนา สำคญั ตา่ ง ๆ ในโลก ท่ีสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวนั ตลอดจนวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งของหลักคำสอนของ ทั้ง ๔ ศาสนา เพ่ือใหม้ ีความเขา้ ใจหลกั คำสอนที่สำคัญของแตล่ ะศาสนา เหน็ ความสำคัญของศาสนาที่มตี ่อการดำเนินชวี ิต เกิด ความเข้าใจอันดีระหว่างศาสนิกชน และนำหลกั คำสอนของศาสนามาใช้ให้เกดิ ประโยชน์กบั ตนเองและสว่ นรวม โดยใช้กระบวนการเรยี นความรู้ความเข้าใจ วิเคราะหต์ ัดสินใจเลอื กดำเนนิ การ ปฏบิ ัติตน กำหนด เป้าหมาย บทบาทการดำเนนิ ชวี ติ ตระหนกั ในคณุ คา่ และความสำคัญ เห็นคุณคา่ เช่อื มน่ั และมงุ่ มนั่ พัฒนาชีวิต ชกั ชวนสง่ เสริม สนบั สนนุ เสนอแนวทางการจัดกจิ กรรมเพอื่ ให้เป็นบุคคลที่มีความรกั เทิดทูนในสถาบันศาสนา ตระหนักถงึ ความสำคัญ เหน็ คุณค่า มคี วามภาคภูมิใจ ชน่ื ชมการทำความดมี ีจิตสำนกึ ในการอนุรักษ์วฒั นธรรม ประเพณีในศาสนาทต่ี นนับถอื และปฏบิ ัติ ตนตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ การวัดและประเมนิ ผล ใชว้ ธิ ีการวัดผลและประเมนิ ผลท่หี ลากหลาย เน้นการประเมนิ ตามสภาพจริง ทง้ั ดา้ นความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและลกั ษณะอนั พึงประสงค์ มาตราฐาน/ตัวชี้วัด ส ๑.๑ ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๙, ม.๔-๖/๑๓, ม.๔-๖/๑๔, ม.๔-๖/๑๕, ม.๔-๖/๑๖, ม.๔-๖/๑๙, ม.๔-๖/๒๒ ส ๑.๒ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒ รวม ๑๐ ตัวชวี้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน รหสั วิชา ส ๓๓๑๐๒ วชิ าประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศึกษาเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล และวเิ คราะห์อารยธรรมโลกยุคโบราณ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไทกริส- ยูเฟรติส อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์ อารยธรรมล่มุ แม่น้ำหวงเหอ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ และอารยธรรมกรกี โรมัน รวมถึงการ ติดต่อระหว่างโลกตะวันออกกบั โลกตะวันตกที่มีผลต่อกัน เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ เช่นระบบฟิวดัล การฟ้ืนฟูศิลปวิทยาการ สงครามครูเสด การสำรวจทางทะเล การปฏริ ูปศาสนา การปฏิวัตวิ ิทยาศาสตร์ การปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ่งสง่ ผลต่อพัฒนาการ และการเปล่ียนแปลงของ โลกในปัจจุบัน การขยายการล่าอาณานิคมและลัทธิจักรวรรดินิยมของประเทศในยโุ รปไปยังทวีป อเมรกิ า แอฟริกาและเอเชยี สถานการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ ทางด้านการเมอื ง เศรษฐกิจ และสังคม รวมถงึ ผลกระทบความขัดแยง้ และความร่วมมือของมนุษยชาติในโลก โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการ เผชิญสถานการณ์ และแกป้ ัญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถสื่อสารในสิ่งที่เรยี นรู้ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านใฝเ่ รียนรู้มุง่ ม่ันใน การทำงาน มีวินัย มีจิตสาธารณะ และมีจิตสำนึกท่ีดี มาตราฐาน/ตัวชี้วัด ส ๔.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒ ส ๔.๒ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒ รวม ๔ ตัวช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน รหสั วิชา ส ๓๓๑๐๔ วชิ าประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ....................................................................................................................................................................................... ศกึ ษาผลกระทบของการขยายอิทธพิ ลของประเทศในยุโรปไปยงั ทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชยี สถานการณ์ สำคัญของโลกในคริสตศ์ ตวรรษที่ ๒๑ โดยใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการสบื ค้นข้อมูล กระบวนการทางสงั คม กระบวนการเผชญิ สถานการณ์ และ แก้ปญั หา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกล่มุ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรู้ความเข้าใจ สามารถสื่อสารในสิ่งทเี่ รียนรู้ มีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคใ์ นดา้ นใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มัน่ ใน การทำงาน มวี นิ ยั มีจิตสาธารณะ และมจี ิตสำนึกท่ีดี มาตราฐาน/ตัวช้ีวัด ส ๔.๒ ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔ ส ๔.๓ ม.๔-๖/๑ , ม.๔-๖/๒ รวม ๔ ตัวชวี้ ัด

การจดั การเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็น หลกั สูตรที่มมี าตรฐานการเรยี นรู้ สมรรถนะสำคญั และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู้เรียนเป็นเป้าหมายสำหรบั พัฒนาเด็ก และเยาวชน ในการพัฒนาผเู้ รยี นให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผสู้ อนพยายามคดั สรรกระบวนการเรยี นรู้ จัดการเรียนรู้ โดยช่วยให้ผเู้ รยี นเรียนรู้ผา่ นสาระที่กำหนดไว้ในหลกั สตู ร 8 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ รวมท้งั ปลกู ฝงั เสริมเสริมสรา้ งคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ พฒั นาทักษะตา่ งๆ อันเป็นสมรรถนะสำคญั ให้ผู้เรยี นบรรลตุ ามเปา้ หมาย 1. หลกั การจดั การเรยี นรู้ การจดั การเรียนร้เู พือ่ ใหผ้ ูเ้ รียนมคี วามร้คู วามสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญและคณุ ลกั ษณะอัน พึงประสงค์ตามทีก่ ำหนดไวใ้ นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยยึดหลักวา่ ผู้เรียนมีความสำคัญท่ีสุด เช่ือว่าทุก คนมีความสามารถเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองได้ ยึดประโยชนท์ ่เี กดิ กับผเู้ รยี น กระบวนการจดั การเรียนร้ตู ้องสง่ เสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ ความสำคัญทั้งความรู้ และคุณธรรม 2. กระบวนการเรียนรู้ การจดั การเรียนรทู้ ีเ่ น้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ ผเู้ รยี นต้องอาศัยกระบวนการเรียนรทู้ ีห่ ลากหลายเปน็ เคร่ืองมือที่จะนำพา ตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้ จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติลงมือทำจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรขู้ องตนเอง กระบวนการพัฒนาลกั ษณะนสิ ัย กระบวนการเหลา่ น้ีเป็นแนวทางในการจัดการเรยี นรู้ที่ผู้เรียนควรไดร้ ับการฝึกฝน พัฒนา เพราะจะสามารถช่วยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอนจึงจำเป็นต้องศึกษาทำความเข้าใจในกระบวนการ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรยี นรไู้ ด้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 3. การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงพิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้โดย เลือกใช้วิธสี อนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพและ บรรลตุ ามเป้าหมายท่กี ำหนด 4. บทบาทของผ้สู อนและผเู้ รียน การจดั การเรียนรูเ้ พื่อใหผ้ เู้ รียนมีคณุ ภาพตามเปา้ หมายของหลกั สตู ร ทั้งผสู้ อนและผเู้ รยี นควรมบี ทบาท ดังน้ี 4.1 บทบาทของผ้สู อน 1) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ท้าทาย ความสามารถของผูเ้ รียน 2) กำหนดเป้าหมายทีต่ ้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรูแ้ ละทักษะกระบวนการ ที่เป็นการคดิ รวบ ยอด หลกั การ และความสัมพนั ธ์ รวมท้งั คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

3) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทาง สมอง เพอื่ นำผู้เรยี นไปสเู่ ป้าหมาย 4) จัดบรรยายเพื่อเอ้อื ต่อการเรียนรู้ และดแู ลช่วยเหลอื ผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ 5) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสมมา ประยุกต์ใช้ในการจดั การเรยี นการสอน 6) ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาตขิ องวิชาและระดับ พัฒนาการของผู้เรียน 7) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรงุ การจัดการเรียนการ สอนของตนเอง 4.2 บทบาทของผูเ้ รียน 1) กำหนดเปา้ หมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรยี นรขู้ องตนเอง 2) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ขอ้ ความรู้ ตั้งคำถาม คิดหาคำตอบหรือ แนวทางแกป้ ญั หาดว้ ยวธิ กี ารต่างๆ 3) ลงมอื ปฏบิ ตั ิจริง สรปุ สง่ิ ท่ีไดเ้ รียนรู้ด้วยตนเอง และนำความรไู้ ปประยกุ ต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ 4) มปี ฏิสมั พันธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมร่วมกบั กลุ่มและครู 5) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ของตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง

ส่อื การเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลกั สูตรได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ สือ่ การเรยี นรูม้ หี ลากหลายประเภท ทง้ั สือ่ ธรรมชาติ สื่อ สิ่งพมิ พ์ สอื่ เทคโนโลยี และเครือข่าย การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ที่มใี นท้องถน่ิ การเลือกใช้ส่ือควรเลอื กให้มีความเหมาะสมกับชระดับ พฒั นาการ และลีลาการเรยี นรู้ท่ีหลากหลายของผเู้ รยี น การจัดหาสอ่ื การเรียนรู้ ผเู้ รยี นและผู้สอนสามารถจัดทำและพัฒนาขึน้ เอง หรือปรบั ปรงุ เลือกใช้อยา่ งมคี ุณภาพจาก สื่อต่างๆ ทมี่ อี ยรู่ อบตัวเพอื่ นำมาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถสง่ เสริมและส่อื สารให้ผูเ้ รยี นเกิดการเรียนรู้ โดย สถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง สถานศึกษา เขตพ้ืนที่การศึกษา หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องและผู้มหี น้าท่จี ดั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ควรดำเนินการดังน้ี 1. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่ายการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ ระหว่าง สถานศกึ ษา ทอ้ งถิน่ ชมุ ชน สังคมโลก 2. จดั ทำและจัดหาส่ือการเรียนรู้สำหรับการศึกษาคน้ คว้าของผเู้ รียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมทั้งจัดหาสิ่งท่ีมีอยู่ ในท้องถ่ินมาประยกุ ต์ใชเ้ ปน็ สอื่ การเรียนรู้ 3. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ ธรรมชาติขิงสาระการเรียนรู้ และความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของผ้เู รยี น 4. ประเมนิ คุณภาพของสื่อการเรยี นร้ทู เ่ี ลือกใช้อย่างเป็นระบบ 5. ศกึ ษาคน้ คว้า วิจัย เพอ่ื พฒั นาสอื่ การเรยี นรใู้ หส้ อดคลอ้ งกับกระบวนการเรียนรูข้ องผเู้ รยี น 6. จัดให้มีการกำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใช้สื่อการเรียนรู้เปน็ ระยะ ๆ และสมำ่ เสมอ ในการจัดทำ การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษา ควรคำนึงถึงหลักการสำคัญ ของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การจัด ประสบการณใ์ ห้ผเู้ รียน เนอื้ หามีความถูกตอ้ งและทนั สมยั ไม่กระทบความมนั่ คงของชาติ ไม่ขัดต่อศลี ธรรม มกี ารใช้ภาษาท่ี ถกู ต้อง รปู แบบการนำเสนอทเี่ ข้าใจงา่ ยและน่าสนใจ

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมินเพื่อพัฒนา ผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพของการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบผลสำเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้อง ไดร้ บั การพฒั นาและประเมินตามตวั ชี้วัดเพอื่ ให้บรรลจุ ามมาตรฐานการเรียนรู้ สะทอ้ นสมรรถนะสำคัญ และคณุ ลักษณะอัน พึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นกระบวนการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนโดยใชผ้ ลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศทีแ่ สดงพัฒนาความก้าวหนา้ และความสำเร็จทางการเรยี น ของผูเ้ รยี น ตลอดจนข้อมูลท่ีเปน็ ประโยชนต์ ่อการส่งเสริมให้ผู้เรยี นเกดิ การพฒั นาและเรียนรูอ้ ย่างเตม็ ตามศกั ยภาพ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ี การศึกษา และระดบั ชาติ มีรายละเอียด ดังน้ี 1. การประเมินระดับชนั้ เรียน เป็นการวดั และประเมนิ ผลท่อี ยใู่ นกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนดำเนนิ การเป็น ปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอนใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การ ตรวจการบ้าน การประเมนิ โครงงาน การประเมนิ ชิน้ งาน/ภาระงาน แฟม้ สะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูส้ อนเป็น ผูป้ ระเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนประเมินตนเอง เพ่อื นประเมนิ เพื่อน ผ้ปู กครองร่วมประเมนิ ในกรณีท่ีไม่ผ่านตัวชี้วัด ให้มีการสอนซ่อมเสริม การประเมนิ ระดบั ช้ันเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผูเ้ รยี นมพี ัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อันเป็นผลมาจาก การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีส่ิงทีจ่ ะต้องได้รบั การพัฒนาปรบั ปรงุ และสง่ เสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นขอ้ มูลให้ผู้สอนใช้ปรบั ปรงุ การเรียนการสอนของตนด้วย ทั้งนี้โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชว้ี ัด 2. การประเมินระดับสถานศกึ ษา เปน็ การประเมินท่สี ถานศึกษาดำเนนิ การเพอื่ ตัดสินผลการเรียนของผูเ้ รียนเป็น รายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนเ้ี พ่ือให้ได้ข้อมูลเก่ียวกบั การจดั การศึกษาของสถานศึกษา ว่าส่งผลตอ่ การเรียนรขู้ องผูเ้ รียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในดา้ นใด รวมท้ังสามารถนำผลการเรยี นของผูเ้ รียนในสถานศกึ ษาเปรยี บเทยี บกับเกณฑร์ ะดบั ชาติ ผลการ ประเมนิ ระดบั สถานศึกษาจะเป็นขอ้ มูลและสารสนเทศเพอ่ื การปรบั ปรุงนโยบาย หลักสตู ร โครงการ หรอื วิธีการจดั การเรียน การสอน ตลอดจนเพ่อื การจัดทำแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา และรายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ผปู้ กครองและชุมชน 3. การประเมินระดบั เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา เปน็ การประเมินคุณภาพผเู้ รยี นในระดับเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาตามาตรฐาน การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขต พ้ืนท่ีการศึกษาตามภาระการรบั ผดิ ชอบ สามารถดำเนินการโดยประเมนิ คณุ ภาพผลสมั ฤทธิ์ของผู้เรียนดว้ ยข้อสอบมาตรฐาน ที่จัดทำและดำเนินการโยเขตพื้นที่การศึกษาหรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัดในการดำเนินการจัดสอบ นอกจากนย้ี ังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมลู จากการประเมินระดบั สถานศึกษาในเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา 4. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน สถานศกึ ษาต้องจัดให้ผู้เรยี นทกุ คนท่ีเรียนในช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เข้ารับการประเมินผล จากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคี ยง

คุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้ ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูล สนบั สนนุ การตดั สินใจในระดับนโยบายของประเทศ ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดุแลช่วยเหลือ ปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริมสนับสนุน เพอ่ื ให้ผ้เู รียนไดพ้ ฒั นาเตม็ ตามศักยภาพบนพ้นื ฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลทีจ่ ำแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ผู้เรียนท่ัวไป กลุ่มผู้เรยี นทีม่ ีความสามารถพเิ ศษ กลมุ่ ผ้เู รยี นที่มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ กลุ่มผู้เรียนท่ีมีปัญหา ด้านวนิ ยั และพฤตกิ รรม กลมุ่ ผเู้ รียนท่ปี ฏิเสธโรงเรียน กลุม่ ผเู้ รียนทมี่ ีปญั หาเศรษฐกจิ และสังคม กลมุ่ พกิ ารทางร่างกายและ สติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมนิ จึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดำเนินการช่วยเหลือผู้เรียนไดท้ ันท่วงที เปิด โอกาสให้ผเู้ รยี นได้รับการพฒั นาและประสบความสำเร็จในการเรียน สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนของ สถานศึกษาโดยเน้นความสอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกำหนดของ หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน เพอ่ื ให้บุคลากรที่เก่ยี วข้องทกุ ฝ่ายถือปฏบิ ตั ริ ว่ มกนั เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการเรียน 1. การตัดสนิ การใหร้ ะดบั และการายงานผลการเรยี น 1.1 การตัดสินผลการเรยี น ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นนัน้ ผู้สอนตอ้ งคำนึงถึงการพฒั นาผเู้ รยี นแต่ละคนเปน็ หลัก และต้องเก็บข้อมูลของผเู้ รียน ทุกดา้ นอยา่ งสมำ่ เสมอและตอ่ เนือ่ งในแต่ละภาคเรยี น รวมทั้งสอนซอ่ มเสริมผูเ้ รียนให้พฒั นาจนเตม็ ตามศักยภาพ ระดับประถมศึกษา (1) ผเู้ รียนต้องมีเวลาเรยี นไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลาเรียนท้ังหมด (2) ผเู้ รยี นต้องได้รบั การประเมนิ ทุกตัวชีว้ ัด และผา่ นตามเกณฑ์ท่สี ถานศกึ ษากำหนด (3) ผู้เรยี นต้องได้รบั การตัดสนิ ผลการเรยี นทุกรายวิชา (4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดใน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษา (1) ตดั สินผลการเรยี นเปน็ รายวิชา ผูเ้ รียนตอ้ งมเี วลาเรยี นตลอดภาคเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 จองเวลาเรียนท้งั หมดในรายวิชาน้ัน ๆ (2) ผ้เู รียนตอ้ งได้รบั การประเมนิ ทุกตวั ชีว้ ดั และผา่ นตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากำหนด (3) ผเู้ รียนตอ้ งได้รับการตดั สินผลการเรียนทุกรายวิชา (4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดใน การอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน การพิจารณาเลื่อนชั้นทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อยและ สถานศึกษาพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและซ่อมเสริมได้ ใหอ้ ยู่ในดุลพนิ ิจของสถานศึกษาท่ีจะผ่อนผนั ให้เล่ือนชั้นได้ แต่

หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้ง คณะกรรมการพจิ ารณาใหเ้ รียนซ้ำชั้นได้ ท้งั นี้ให้คำนึงถึงวุฒภิ าวะและความรู้ความสามารถของผู้เรยี นเปน็ สำคญั 1.2 การใหร้ ะดับผลการเรยี น ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรยี นรายวชิ า สถานศึกษาสามารถให้ระดับผลการ เรียนหรอื ระดบั คุณภาพการปฏิบตั ขิ องผเู้ รียนเปน็ ระบบตวั เลข ระบบตัวอักษร ระบบรอ้ ยละ และระบบที่ใช้คำสำคญั สะทอ้ น มาตรฐาน การประเมินการอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์นน้ั ให้ระดับผลการประเมินเปน็ ดี เยี่ยม ดี และผ่าน การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและ ผลงานของผูเ้ รยี น ตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากำหนด และใหผ้ ลการเข้าร่วมกจิ กรรมเป็นผ่านและไม่ผา่ น ระดบั มัธยมศึกษา ในการตัดสินเพ่อื ให้ระดบั ผลการเรยี นรายวิชา ใหใ้ ช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ การประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์นนั้ ให้ระดบั ผลการประเมนิ เปน็ ดี เย่ียม ดี และผ่าน การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและ ผลงานของผูเ้ รยี น ตามเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษากำหนด และให้ผลการเข้าร่วมกจิ กรรมเป็นผ่านและไมผ่ ่าน 1.3 การรายงานผลการเรยี น การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของ ผ้เู รียน ซ่ึงสถานศึกษาต้องสรปุ ผลการประเมนิ และจัดทำเอกสารรายงานให้ผปู้ กครองทราบเป็นระยะ ๆ หรอื อยา่ งน้อยภาค เรยี นละ 1 ครง้ั การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผูเ้ รยี นที่สะท้อนมาตรฐานการ เรียนรกู้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้ 2. เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดเกณฑ์กลางสำหรับการจบการศึกษาเป็น 3 ระดับ คือ ระดับ ประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2.1 เกณฑ์การจบระดับประถมศกึ ษา (1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานกำหนด (2) ผเู้ รียนต้องมผี ลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ตามท่สี ถานศกึ ษากำหนด (3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิ นตามที่ สถานศึกษากำหนด (4) ผู้เรียนมผี ลการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ีสถานศึกษา กำหนด (5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา กำหนด 2.2 เกณฑก์ ารจบระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 63 หน่วยกติ และรายวิชาเพม่ิ เติมตามที่สถานศึกษากำหนด (2) ผเู้ รยี นต้องได้หน่วยกิตตลอดหลกั สูตรไมน่ ้อยกว่า 77 หน่วยกติ โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 63 หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 14 หนว่ ยกิต (3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศึกษากำหนด (4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ีสถานศึกษา กำหนด (5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา กำหนด 2.3 เกณฑก์ ารจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 39 หนว่ ยกติ และรายวิชาเพมิ่ เตมิ ตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด (2) ผเู้ รียนตอ้ งได้หน่วยกิตตลอดหลกั สูตรไมน่ ้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวชิ าพืน้ ฐาน 39 หนว่ ยกติ และรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ไมน่ ้อยกวา่ 38 หน่วยกิต (3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศกึ ษากำหนด (4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ีสถานศึกษา กำหนด (5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา กำหนด สำหรบั การจบการศกึ ษาสำหรับกลุม่ เปา้ หมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศกึ ษาสำหรบั ผูม้ คี วามสามารถ พิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ให้คณะกรรมการสถานศึกษา เขตพื้นท่ี การศึกษา และผ้ทู ่ีเกย่ี วขอ้ ง ดำเนนิ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรตู้ ามหลกั เกณฑ์ในแนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมนิ ผลการ เรียนรูข้ องหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานสำหรบั กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ

อภธิ านศพั ท์ กตัญญูกตเวที ผรู้ ู้อุปการะทท่ี า่ นทำแล้วและตอบแทน แยกออกเป็น ๒ ขอ้ ๑. กตัญญู ร้คู ุณท่าน ๒. กตเวทตี อบแทนหรือ สนองคุณทา่ น ความกตัญญกู ตเวทวี ่าโดยขอบเขต แยกได้ เป็น ๒ ระดบั คอื ๒.๑ กตัญญกู ตเวทีตอ่ บคุ คลผมู้ ีคุณความดหี รอื อปุ การะต่อตนเปน็ ส่วนตัว ๒.๒ กตัญญูกตเวทตี ่อบุคคลผู้ได้บำเพญ็ คณุ ประโยชน์หรือมีคุณความดี เกอ้ื กูลแกส่ ว่ นรว่ ม (พ.ศ. หนา้ ๒-๓) กตญั ญกู ตเวทีตอ่ อาจารย์ / โรงเรียน ในฐานะทเ่ี ป็นศษิ ย์ พึงแสดงความเคารพนับถืออาจารย์ ผู้ เปรียบเสมือนทิศเบอื้ งขวา ดงั น้ี ๑. ลูกตอ้ นรบั แสดงความเคารพ ๒. เข้าไปหา เพ่ือบำรงุ รับใช้ ปรกึ ษา ซักถาม รบั คำแนะนำ เป็นต้น ๓. ฟงั ดว้ ยดี ฟังเป็น รจู้ กั ฟัง ใหเ้ กิดปัญญา ๔. ปรนนบิ ัติ ชว่ ยบรกิ าร ๕. เรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ เอาจรงิ เอาจังถอื เปน็ กจิ สำคัญดว้ ยดี กรรม การกระทำ หมายถงึ การกระทำทป่ี ระกอบดว้ ยเจตนา คอื ทำด้วยความจงใจ ประกอบดว้ ยความ จงใจหรอื จงใจทำดกี ็ตาม ช่วั ก็ตาม เชน่ ขุดหลุมพรางดกั คนหรอื สตั วใ์ นตกลงไปตายเปน็ กรรม แตข่ ดุ บ่อน้ำไวก้ นิ ไว้ใช้ สตั ว์ตกลงไปตายเองไมเ่ ป็นกรรม (แตถ่ ้ารูอ้ ยวู่ ่าบอ่ นำ้ ทีต่ นขุดไวอ้ ยู่ในทซ่ี ึ่งคนจะพลดั ตกได้ ง่ายแลว้ ปลอ่ ยปละละเลย มีคนตกลงไปกไ็ ม่พ้นกรรม) การกระทำที่ดีเรยี กวา่ “กรรมดี” ทช่ี ัว่ เรียกว่า “กรรมชั่ว” (พ.ศ. หน้า ๔) กรรม ๒ กรรมจำแนกตามคณุ ภาพ หรอื ตามธรรมทีเ่ ปน็ มูลเหตมุ ี ๒ คอื ๑. อกุศลกรรม กรรมที่เป็นอกศุ ล กรรมชั่ว คอื เกิด จากอกุศลมูล ๒. กุศลกรรม กรรมท่ีเป็นกศุ ล กรรมดี คือกรรมทเี่ กิดจากกุศลมูล กรรม ๓ กรรมจำแนกตามทวารคอื ทางทก่ี รรมมี ๓ คือ ๓. กายกรรม การกระทำทางกาย ๒. วจีกรรม การ กระทำทางวาจา ๓. มโนกรรม การกระทำทางใจ กรรม ๑๒ กรรมจำแนกตามหลกั เกณฑเ์ ก่ยี วกับการใหผ้ ล มี ๑๒ อยา่ ง คือ หมวดที่ ๑ ว่าด้วยปากกาล คอื จำแนกตามเวลาท่ใี ห้ผล ได้แก่ ๑. ทฏิ ฐิธรรมเวทนยี กรรม กรรมที่ใหผ้ ลในปัจจุบนั คอื ในภพนี้ ๒. อปุ ัชชเวทนยี กรรม กรรมที่ให้ผลในภาพที่จะไปเกิด คือ ในภพหนา้ ๓. อปราบปริเวทนยี กรรม กรรมท่ี ให้ผลในภพต่อ ๆ ไป ๔. อโหสกิ รรม กรรมเลกิ ให้ผล หมวดที่ ๒ ว่าโดยกิจ คอื การให้ผลตามหน้าท่ี ได้แก่ ๕. ชนกกรรม กรรมแตง่ ใหเ้ กิด หรอื กรรมท่ีเป็นตัวนำไปเกิด ๖. อปุ ัตถัมภกกรรม กรรมสนบั สนนุ คอื เข้าสนับสนนุ หรอื ซำ้ เติมต่อจากชนกกรรม ๗. อปุ ปีฬกกรรม กรรมบบี คั้น คือ เข้ามาบีบค้นั ผลแหง่ ชนกกรรม และอปุ ัตถมั ภกกรรมนั้นให้แปรเปลี่ยนทเุ ลาเบาลงหรือส้นั เขา้ ๘. อุปฆาตกกรรม กรรมตดั รอน คือ กรรมแรงฝา่ ยตรงข้ามทเ่ี ข้าตัดรอนให้ผลของกรรมสองอยา่ งนัน้ ขาดหรือหยดุ ไปทเี ดยี ว .................................................................. กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร การจัดสาระการเรยี นร้พู ระพุทธศาสนา กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ครุ สภา ลาดพรา้ ว ,คร้ังท่ี ๒ ๒๕๔๖ . *หมายเหตุ พ.ศ. หมายถงึ พจนานกุ รมพุทธศาสน์ ฉบบั ประมวลศพั ท์ ; พ.ธ. หมายถึง พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมาวลธรรม พมิ พค์ รั้งท่ี ๙ พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยตุ โฺ ต) กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ,๒๕๔๓. หมวดท่ี ๓ ว่าโดยปานทานปรยิ าย คือจำแนกตามลำดบั ความแรงในการให้ผล ได้แก่ ๙. ครุกรรม กรรมหนกั ใหผ้ ล ก่อน ๑๐. พหลุ กรรม หรอื อาจิณกรรม กรรท่ีทำมากหรอื กรรมชินให้ผลรองลงมา ๑๑. อาสันนกรรม กรรมจวน เจียน หรอื กรรมใกลต้ าย ถ้าไม่มีสองขอ้ กอ่ นก็จะให้ผลกอ่ นอนื่ ๑๒. กตัตตากรรม หรอื กตัตตาวาปนกรรม กรรมสักวา่ ทำ คอื เจตนาออ่ น หรือมใิ ช่เจตนาอย่างน้ัน ให้ผลต่อเม่ือไม่มีกรรมอื่นจะให้ผล (พ.ศ. หน้า ๕) กรรมฐาน ทตี่ ั้งแห่งการงาน อารมณเ์ ปน็ ท่ีต้งั แห่งการงานของใจ อุบายทางใจ วธิ ีฝกึ อบรมจิต มี ๒ ประเภท คือ สมถกรรมฐาน คอื อุบายสงบใจ วปิ ัสสนากรรมฐาน อุบายเรืองปัญญา (พ.ศ. หน้า ๑๐)

กุลจริ ฏั ตธรรม ๔ ธรรมสำหรับดำรงความม่ันคงของตระกลู ใหย้ งั่ ยืน เหตทุ ที่ ำให้ตระกูลม่ังค่ังตงั้ อยู่ได้นาน (พ.ธ. หน้า ๑๓๔) ๑. นัฏฐคเวสนา คือ ของหายของหมด รู้จกั หามาไว้ ๒. ชิณณปฏสิ ังขรณา คือ ของเก่าของชำรดุ ร้จู กั บูรณะซ่อมแซม ๓. ปรมิ ติ ปานโภชนา คอื รู้จักประมาณในการกินการใช้ ๔. อธิปจั จสีลวนั ตสถาปนา คือ ตงั้ ผู้มี ศีลธรรมเป็นพอ่ บ้านแม่เรอื น (พ.ธ. หนา้ ๑๓๔) กุศล บญุ ความดี ฉลาด ส่ิงที่ดี กรรมดี (พ.ศ. หนา้ ๒๑) กุศลกรรม กรรมดี กรรมทเี่ ปน็ กศุ ล การกระทำท่ีดคี อื เกิดจากกุศลมูล (พ.ศ. หนา้ ๒๑) กุศลกรรมบถ ๑๐ ทางแห่งกรรมดี ทางทำดี กรรมดีอันเป็นทางนำไปสสู่ คุ ติมี ๑๐ อยา่ งได้แก่ ก. กายกรรม ๓ (ทางกาย) ๑. ปาณาติปาตา เวรมณี เว้นจากการทำลายชีวิต ๒. อทินนาทานา เวรมณี เว้นจาก ถือเอาของท่ีเขามไิ ดใ้ ห้ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี เวน้ จากประพฤตผิ ิดในกาม ข. วจกี รรม ๔ (ทางวาจา) ไดแ้ ก่ ๔. มสุ าวาทา เวรมณี เวน้ จากพดู เทจ็ ๕. ปสิ ุณายวาจาย เวรมณี เวน้ จากพดู สอ่ เสยี ด ๖. ผรุสาย วาจาย เวรมณี เว้นจากพดู คำหยาบ ๗. สัมผัปปลาปา เวรมณี เว้นจากพูดเพ้อเจ้อ ค. มโนกรรม ๓ (ทางใจ) ๘. อนภชิ ฌา ไมโ่ ลกคอยจ้องอยากได้ของเขา ๙. อพยาบาท ไม่คิดรา้ ยเบียดเบียนเขา ๑๐. สัมมาทฏิ ฐิ เหน็ ชอบตามคลองธรรม (พ.ศ. หนา้ ๒๑) กุศลมูล รากเหง้าของกุศล ต้นเหตุของกุศล ตน้ เหตุของความดี ๓ อย่าง ๑. อโลภะ ไมโ่ ลภ (จาคะ) ๒. อโทสะ ไม่คิด ประทษุ ร้าย (เมตตา) ๓. อโมหะ ไมห่ ลง (ปัญญา) (พ.ศ. หน้า ๒๒) กุศลวติ ก ความตรึกท่ีเปน็ กศุ ล ความนกึ คิดทดี่ งี าม ๓ คอื ๑. เนกขัมมวิตก ความตรกึ ปลอดจากกาม ๒. อพยาบาทวิตก ความตรึกปลอดจากพยาบาท ๓. อวหิ ิสาวิตก ความตรกึ ปลอดจากการเบียดเบยี น (พ.ศ. หนา้ ๒๒) โกศล ๓ ความฉลาด ความเช่ียวชาญ มี ๓ อย่าง ๑. อายโกศล คอื ความฉลาดในความเจรญิ รอบร้ทู างเจริญและเหตขุ อง ความเจริญ ๒. อปายโกศล คือ ความฉลาดในความเส่อื ม รอบรูท้ างเสื่อมและเหตุของความเสือ่ ม ๓. อปุ ายโกศล คือ ความฉลาดในอุบาย รอบรู้วิธแี ก้ไขเหตุการณ์และวิธีที่จะทำให้สำเร็จ ทั้งในการป้องกันความเสอื่ มและในการ สร้างความเจริญ (พ.ศ. หน้า ๒๔) ขันธ์ กอง พวก หมวด หมู่ ลำตัว หมวดหน่ึง ๆ ของรูปธรรมและนามธรรมทัง้ หมดท่ีแบง่ ออกเป็นห้ากอง ได้แก่ รปู ขันธ์ คือ กองรปู เวทนาขันธ์ คือ กองเวทนา สญั ญาขนั ธ์ คือ กองสัญญา สงั ขารขันธ์ คอื กองสงั ขาร วญิ ญาณขันธ์ คอื กอง วญิ ญาณ เรยี กรวมวา่ เบญจขันธ์ (พ.ศ. หนา้ ๒๖ - ๒๗) คารวธรรม ๖ ธรรม คอื ความเคารพ การถอื เป็นสงิ่ สำคัญท่จี ะพงึ ใส่ใจและปฏบิ ัตดิ ้วย ความเอ้ือเฟ้ือ หรือโดยความ หนักแน่นจริงจงั มี ๖ ประการ คอื ๑. สัตถคุ ารวตา ความเคารพในพระศาสดา หรือพุทธคารวตา ความเคารพใน พระพทุ ธเจ้า ๒. ธัมมคารวตา ความเคารพในพระธรรม ๓. สงั ฆคารวตา ความเคารพในพระสงฆ์ ๔. สิกขา คารวตา ความเคารพในการศึกษา ๕. อัปปมาทคารวตา ความเคารพในความไมป่ ระมาท ๖. ปฏิสันถารคารวตา ความเคารพในการปฏสิ ันถาร (พ.ธ. หน้า ๒๒๑) คหิ ิสขุ (กามโภคีสขุ ๔) สขุ ของคฤหัสถ์ สุขของชาวบ้าน สุขที่ชาวบ้านควรพยายามเข้าถึงใหไ้ ด้สม่ำเสมอ สุขอันชอบ ธรรมทีผ่ ู้ครองเรือนควรมี ๔ ประการ ๑. อัตถิสุข สุขเกิดจากความมีทรัพย์ ๒. โภคสุข สุขเกิดจากการใช้จา่ ยทรพั ย์ ๓. อนณสุข สขุ เกดิ จากความไมเ่ ป็นหนี้ ๔. อนวชั ชสขุ สุขเกิดจากความประพฤติไม่มีโทษ (ไม่บกพรอ่ งเสยี หายทง้ั ทางกาย วาจา และใจ) (พ.ธ. หน้า ๑๗๓)