ศาสนาหรือศาสนาที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอ้ ง ยึดมั่น และปฏิบัตติ าม ดช้ันปี ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6 วิเคราะห์ 1. อธิบายการ 1. อธิบายการ 1. อธิบายการ 1.วิเคราะห์สังคมชมพูทวปี ามสำคัญของ เผยแผ่พระพุทธ เผยแผ่พระพุทธ เผยแผ่พระพุทธ และคติความเช่ือทาง ะพุทธ- ศาสนา หรือ ศาสนา หรือ ศาสนา หรือ ศาสนาสมัยก่อนพระพุทธ สนาในฐานะ ศาสนาท่ีตนนับ ศาสนาท่ีตนนับ ศาสนาที่ตนนับ เจ้า หรือสังคมสมัยของ นศาสนา ถือสู่ประเทศ ถือสู่ประเทศ ถือสู่ประเทศ ศาสดาท่ีตนนับถือ ะจำชาติ ไทย เพื่อนบ้าน ต่างๆ ทว่ั โลก 2. วิเคราะห์ พระพุทธเจ้า อความสำคัญ 2. วเิ คราะห์ 2. วเิ คราะห์ 2. วิเคราะห์ ในฐานะเป็นมนุษย์ผู้ฝึกตน งศาสนาท่ีตน ความสำคัญของ ความสำคัญของ ความสำคัญของ ได้อย่างสูงสุดในการตรัสรู้ ถือ พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา การก่อตั้ง วิธีการสอนและ สรุปพทุ ธ หรือศาสนาที่ตน หรือศาสนาที่ตน หรือศาสนาท่ีตน การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ะวัติตัง้ แต่ นับถือ ท่ีมีต่อ นับถือท่ีชว่ ย นับถือในฐานะที่ หรือวเิ คราะหป์ ระวัติ งอายสุ ังขาร สภาพแวดล้อม เสริมสร้างความ ช่วยสร้างสรรค์ ศาสดาที่ตนนับถือ ตามท่ี ถงึ สังเวชนีย ในสังคมไทย เข้าใจอันดีกับ อารยธรรมและ กำหนด าน หรือ รวมทัง้ การ ประเทศ ความสงบสุขแก่ 3.วิเคราะห์พุทธประวัติ ะวัติศาสดาที่ พัฒนาตนและ เพื่อนบ้าน โลก ด้านการบริหาร และการ นับถือตามท่ี ครอบครัว 3. วิเคราะห์ 3. อภิปราย ธำรงรักษาศาสนาหรือ หนด 3. วเิ คราะห์ ความสำคัญของ ความสำคัญของ วเิ คราะห์ประวัติศาสดาที่ เห็นคุณค่า พุทธประวัติ พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา ตนนับถือ ตามที่กำหนด ะประพฤติตน ต้งั แต่ประสูติ หรือศาสนาที่ตน หรือศาสนาท่ีตน 4. วิเคราะห์ข้อปฏิบัติทาง มแบบอย่าง จนถงึ บำเพ็ญทุ นับถือในฐานะที่ นับถือกับ สายกลางในพระพุทธ รดำเนินชวี ิต กรกริ ิยา หรือ เป็นรากฐานของ ปรชั ญาของ ะข้อคิดจาก วฒั นธรรม
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ตวั ชี้วัด หลักธรรม 4. บอกความ 3. ชื่นชมและ ชาดก/เร่ืองเล่า ป.5 โอวาท 3 หมายความ บอกแบบอย่าง และศาสนิกชน ใน สำคัญ และ การดำเนินชวี ิต ตัวอย่าง ตามท่ี ประวัติสาวก ประ พระพุทธศาสนา เคารพรพระ และข้อคิดจาก กำหนด ชาดก/เร่ืองเล่า ชาด หรือหลักธรรม รตั นตรัย ปฏิบัติ ประวัติสาวก 4. แสดงความ และศาสนิกชน และ ของศาสนา ตามหลกั ธรรม ชาดก เร่ืองเล่า เคารพ พระ ตวั อย่าง ตามที่ ตวั อ ที่ตนนับถือ โอวาท 3 และศาสนิกชน รัตนตรัย ปฏิบัติ กำหนด กำห ตามท่ีกำหนด ในพระพุทธ ตวั อย่างตามท่ี ตามไตรสิกขา 4. อธิบายองค์ 4. ว 4. เห็นคุณค่า ศาสนา หรือ กำหนด และหลักธรรม ประกอบ และ ควา และสวดมนต์ หลักธรรมของ 4. บอกความ โอวาท 3 ใน ความสำคัญขอ เคา พระไตรปิฎก รตั น แผ่เมตตา ศาสนาที่ตนนับ หมายความ พระพุทธศาสนา หรือคัมภรี ์ของ ตาม มีสติท่ีเป็น ถือตามที่กำหนด สำคัญของพระ หรือหลักธรรม พื้นฐานของ 5. ช่ืนชมการทำ ไตรปิฎก หรือ ของศาสนาท่ี ศาสนาที่ตนนับ และ สมาธิในพระ ความดีของ คัมภีร์ขอศาสนา ตนนับถือตามท่ี ถือ โอว พุทธ ตนเอง บุคคลใน ที่ตนนับถือ กำหนด 5. แสดงความ พระ ศาสนาหรือการ ครอบครัวและ 5. แสดงความ 5. ช่ืนชมการทำ เคารพพระรัตน หรือ พัฒนาจิตตาม ในโรงเรียน ตาม เคารพพระรัตน ความดีของตน ตรัยและปฏิบัติ ของ แนวทางของ หลักศาสนา ตรัย และปฏิบัติ เอง บุคคลใน ตามไตรสิกขา นับถ ศาสนาท่ีตนนับ ตามหลักธรรม ครอบครัว และหลักธรรม กำห ถือตามที่กำหนด โอวาท 3 ใน โรงเรียนและชุม โอวาท 3 ใน 5. ช พระพุทธศาสนา ควา พระพุทธศาสนา ชนตามหลัก หรือหลกั ธรรม คลใ หรือหลักธรรม ศาสนา พร้อม ของศาสนาท่ีตน ทัง้ บอกแนว ของศาสนาท่ีตน ตาม นับถือตามที่ พร้อ กำหนด แนว การ
ดช้ันปี ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6 ะวัติสาวก ประวัติ ศาสดา เอกลักษณ์ของ เศรษฐกิจ ศาสนา หรือแนวคิดของ ดก/เร่ืองเล่า ที่ตนนับถือ ชาติและมรดก พอเพียงและ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่ ะศาสนิกชน ตามที่กำหนด ของชาติ การพัฒนาอย่าง กำหนด อย่างตามท่ี 4. วิเคราะห์ 4. อภิปราย ยัง่ ยืน 5. วเิ คราะห์การพัฒนา หนด และประพฤติตน ความสำคัญของ 4. วเิ คราะห์ ศรทั ธา และปัญญาท่ีถูก วิเคราะห์ ตาม พระพุทธศาสนา พุทธประวัติจาก ต้องในพระพุทธศาสนา ามสำคัญและ แบบอย่างการ หรือศาสนาท่ีตน พระพุทธรูปปาง หรือแนวคิดของศาสนา รพรพระ ดำเนินชวี ิตและ นับถือกับการ ต่างๆหรือ ที่ตนนับถือ ตามท่ีกำหนด นตรัย ปฏิบัติ ข้อคิดจาก พัฒนาชุมชน ประวัติศาสดาที่ 6. วิเคราะห์ลกั ษณะ มไตรสิกขา ประวัติ และการจัด ตนนับถือตามที่ ประชาธิปไตยใน ะหลักธรรม สาวก ชาดก/ ระเบียบสังคม กำหนด พระพุทธศาสนา หรือ วาท 3 ใน เรื่องเล่า และศา 5. วิเคราะห์ 5. วิเคราะห์ แนวคิดของศาสนาท่ีตน ะพุทธศาสนา สนิกชนตัวอย่าง พุทธประวัตหิ รอื และประพฤติตน นับถือตามท่ีกำหนด อหลักธรรม ตามท่ีกำหนด ประวัติศาสดา ตามแบบอย่าง 7. วเิ คราะห์หลักการของ งศาสนาท่ีตน 5. อธิบาย ของศาสนาท่ีตน การดำเนินชีวิต พระพุทธศาสนากับหลกั ถือตามที่ พุทธคุณ และข้อ นับถือตามท่ี และข้อคิดจาก วทิ ยาศาสตร์ หรอื แนวคิด หนด ธรรมสำคัญใน กำหนด ประวัติสาวก ของศาสนาที่ตนนับถือ ชื่นชมการทำ กรอบอริยสัจ 4 6. วเิ คราะห์ ชาดก/เรื่องเล่า ตามที่กำหนด ามดีของบุค หรือหลกั ธรรม และประพฤติตน และศาสนิกชน 8. วิเคราะห์การฝึกฝนและ ในประเทศ ของศาสนาที่ตน ตามแบบอย่าง ตวั อย่างตามท่ี พัฒนาตนเอง การพ่ึงตน มหลกั ศาสนา นับถือตามท่ี การดำเนินชีวิต กำหนด เอง และการมุ่งอิสรภาพใน อมทัง้ บอก กำหนดเห็นคุณ และข้อคิดจา 6. อธิบายสังฆ พระพุทธศาสนา หรือ วปฏิบัติใน ค่าและนำไป ประวัติ คุณ และข้อ แนวคิดของศาสนาที่ตนนับ รดำเนินชวี ิต พัฒนาแกป้ ัญหา สาวก ชาดก/ ธรรมสำคัญใน ถือตามที่กำหนด เร่อื งเล่าและ
ตวั ชี้วัด ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 6. เห็นคุณค่า นับถือตามท่ี ปฏิบัติในการ 6. เห็นคุณค่า 6. เ และสวดมนต์ กำหนด ดำเนินชวี ิต และสวดมนต์แผ่ และ แผ่เมตตา มีสติ 6. เห็นคุณค่า 6. เห็นคุณค่า เมตตามีสติท่ี เมต ที่เป็นพื้นฐาน และสวดมนต์ และสวดมนต์ เป็นพื้นฐานของ บริห ของสมาธใิ น แผ่เมตตามีสติ แผ่เมตตามีสติที่ สมาธิในพระ ปัญ พระพุทธศาสนา ที่เป็นพื้นฐาน เป็นพ้ืนฐานของ พุทธศาสนาหรือ เป็น หรือการพัฒนา ของสมาธิใน สมาธิในพระ การพัฒนาจิต ของ จติ ตามแนวทาง พระพุทธศาสนา พุทธศาสนา ตามแนวทาง พระ ของศาสนาท่ีตน หรือการพฒั นา หรือการพัฒนา ของศาสนาท่ีตน หรือ นับถือตามท่ี จติ ตามแนวทาง จิตตามแนวทาง นับถือตามที่ พัฒ กำหนด ของศาสนาที่ตน ของศาสนาท่ีตน กำหนด แนว 7. บอกช่ือ นับถือตามท่ี นับถือตามท่ี 7. ปฏิบัติตน ศาส ศาสนา ศาสดา กำหนด กำหนด ตามหลกั ธรรม ที่ตน และความสำคัญ 7.บอกชื่อความ 7. ปฏิบัติตน ของศาสนาท่ี ตาม ของคัมภีร์ของ สำคัญและ ตามหลักธรรม ตนนับถือ เพ่ือ 7. ป ศาสนาที่ตนนับ ปฏิบัติตนได้ ของศาสนาที่ตน การพัฒนา ตาม ถือและศาสนา อย่างเหมาะสม นับถือ เพื่อการ ตนเองและ ของ อื่น ๆ ต่อศาสนวัตถุ อยรู่ ่วมกันเป็น สงิ่ แวดลอ้ ม ท่ีตน ศาสนสถานและ ชาติได้อย่าง แกป้ ศาสนบุคคลของ สมานฉันท์ อบา ศาสนาอื่น ๆ 8. อธิบาย สิง่ เส ประวัติศาสดา 8. อ ของศาสนาอ่ืนๆ หลัก โดยสงั เขป ของ อ่ืนๆ
ดช้ันปี ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6 เห็นคุณค่า ของตนเองและ ศาสนกิ ชน กรอบอริยสจั 4 9. วเิ คราะห์พระพุทธ ะสวดมนต์แผ่ ครอบครวั ตวั อย่างตามที่ หรือหลักธรรม ศาสนาว่าเป็นศาสตร์ ตตา และ 6. เห็นคุณค่า กำหนด ของศาสนา แห่งการศึกษาซึง่ เน้น หารจิตเจริญ ของการพัฒนา 7. อธิบายโครง ที่ตนนับถือ ความสัมพันธ์ของเหตุ ญญา มสี ติที่ จติ เพื่อการ สร้าง และสาระ ตามท่ีกำหนด ปัจจัยกับวธิ ีการแก้ปัญหา นพ้ืนฐาน เรยี นรู้และการ สังเขปของ พระ 7. เห็นคุณค่า หรือแนวคิดของศาสนา งสมาธใิ น ดำเนินชวี ิต ดว้ ย ไตรปฎิ ก หรือ และวิเคราะห์ ท่ีตนนับถือตามท่ีกำหนด ะพุทธศาสนา วิธีคิดแบบ คัมภีร์ของ การปฏิบัติตน 10. วเิ คราะห์พระพุทธ อการ โยนิโสมนสิการ ศาสนาที่ตน นับ ตามหลักธรรม ศาสนาในการฝึกตนไม่ให้ ฒนาจิตตาม คือวธิ ีคิดแบบ ถือ ในการพัฒนาตน ประมาท มุ่งประโยชน์และ วทางของ คุณค่าแท้ – 8. อธิบาย เพื่อเตรียม สันติภาพ บุคคล สังคมและ สนา คุณค่าเทียม ธรรมคณุ และ พร้อมสำหรับ โลก หรือแนวคิดของ นนับถือ และวิธีคิดแบบ ข้อธรรมสำคัญ การทำงานและ ศาสนาท่ีตนนับถือตามที่ มที่กำหนด คุณ – โทษ ในกรอบอริยสจั การมีครอบครัว กำหนด ปฏิบัติตน และทางออก 4 หรือหลกั 8. เห็นคุณค่า 11. วเิ คราะห์พระพุทธ มหลกั ธรรม หรือการพัฒนา ธรรมของศาสนา ของการพัฒนา ศาสนากับปรัชญาของ งศาสนา จิตตาม แนวทาง ท่ี ตนนับถือตาม จิตเพอื่ การเรียน เศรษฐกิจพอเพียงและการ นนับถือ เพื่อ ของศาสนาที่ตน ทกี่ ำหนด เห็น ร้แู ละดำเนิน พัฒนาประเทศแบบย่ังยืน ปัญหา นับถือ คุณค่าและนำไป ชีวิต ด้วยวิธีคิด หรือแนวคิดของศาสนาท่ี ายมุขและ 7. สวดมนต์ แผ่ พัฒนาแกป้ ัญหา แบบโยนิโส ตนนับถือตามท่ีกำหนด สพติด เมตตา บริหาร ของชมุ ชนและ มนสิการคือ วิธี 12. วิเคราะห์ความสำคัญ อธิบาย จิตและ เจริญ สังคม คิดแบบอริยสัจ ขอพระพุทธศาสนา กธรรมสำคัญ ปัญญาด้วยอา 9.เห็นคุณค่า และวิธีคิดแบบ เกี่ยวกบั การศึกษาท่ี งศาสนา นาปานสติหรือ ของการพัฒนา สืบสาวเหตุ สมบูรณ์ การเมืองและ ๆ โดยสังเขป ตาม แนวทาง จติ เพ่ือการ ปัจจัย หรือการ สันตภิ าพ หรือแนวคิดของ ของศาสนาที่ต เรียนรู้และ พัฒนาจิตตาม ศาสนาท่ีตนนับถือ ตามที่ นับถือตามที่ ดำเนินชีวิต แนวทางของ กำหนด กำหนด ศาสนาที่ตนนับ ถือ
ตวั ช้ีวัด ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 9. อ ลกั ษ ของ พิธีก ศาส และ อย่า เมื่อ พิธี
ดชั้นปี ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6 ป.6 8. วิเคราะห์ ด้วยวิธคิดแบบ 9. สวดมนต์ แผ่ 13. วเิ คราะห์หลักธรรมใน และปฏิบัติตน โยนิ เมตตา บริหาร กรอบอริยสัจ4หรือหลักคำ อธิบาย ตามหลักธรรม โสมนสิการคือ จติ และเจรญิ สอนของศาสนาที่ตนนับถือ ษณะสำคัญ ทางศาสนาท่ีตน วธิ ีคิดแบบอบุ าย ปัญญาด้วยอา 14. วิเคราะห์ข้อคิดและ งศาสนพธิ ี นับถือในการ ปลุกเร้า นาปานสติ หรือ แบบอย่างการดำเนินชวี ิต กรรมของ ดำรงชวี ิต คุณธรรมและวธิ ี ตามแนวทาง จากประวัตสิ าวก ชาดก สนาอื่นๆ แบบพอเพียง คิดแบบอรรถ ของศาสนาที่ตน เร่อื งเล่า และศาสนิกชน ะปฏิบัติตนได้ และดูแลรักษา ธรรมสัมพันธ์ นับถือ ตัวอย่าง ตามท่ีกำหนด างเหมาะสม ส่ิงแวดลอ้ ม หรือการพฒั นา 10. วิเคราะห์ 15. วเิ คราะห์คุณค่าและ อตอ้ งเข้าร่วม เพ่ือการอยู่ จติ ตามแนวทาง ความแตกต่าง ความสำคัญของการ ร่วมกันได้อย่าง ของศาสนาท่ี และยอมรับวิถี สงั คายนา พระไตรปิฎก สันตสิ ุข ตนนับถือ การดำเนินชีวิต หรือคัมภรี ์ของศาสนาที่ตน 9. วิเคราะห์ 10. สวดมนต์ ของศาสนิกชน นับถือ และการเผยแผ่ เหตผุ ลความ แผ่เมตตา ในศาสนาอื่นๆ 16. เชื่อมั่นต่อผลของการ จำเป็นท่ีทกุ คน บริหารจิตและ ทำความดี ความชวั่ ต้องศึกษาเรียนรู้ เจริญปัญญา สามารถวเิ คราะห์สถาน ศาสนาอ่ืนๆ ด้วยอานาปาน การณท์ ี่ต้องเผชิญและ สติหรือตามแนว ตัดสินใจเลือกดำเนินการ ทางของศาสนา หรือปฏิบัติตนได้อย่างมี ที่ตนนับถือ เหตุผลถูกต้องตาม หลักธรรม จริยธรรม และ
ตวั ชี้วัด ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5
ดช้ันปี ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6 ป.6 10. ปฏิบัติตน 11.วเิ คราะห์ กำหนดเป้าหมาย บทบาท ต่อศาสนิกชน การปฏิบัติตน การดำเนินชีวิตเพื่อการอยู่ อ่ืนในสถาน ตามหลกั ธรรม รว่ มกันอย่างสันตสิ ุขและ การณ์ต่างๆได้ ทาง อยรู่ ว่ มกันเป็นชาติอย่าง อย่างเหมาะสม ศาสนาที่ตนนับ สมานฉันท์ 11. วเิ คราะห์ ถือ เพ่ือการ 17. อธิบายประวัติศาสดา การกระทำของ ดำรงตนอย่าง ของศาสนาอ่ืนๆโดยสังเขป บุคคลที่เป็น เหมาะสมใน 18.ตระหนักในคุณค่าและ แบบอย่าง กระแสความ ความสำคัญของค่านิยม ด้านศาสน เปลี่ยนแปลง จริยธรรมที่เป็นตัวกำหนด สมั พันธ์ และ ของโลก ความเชื่อและพฤติกรรมท่ี นำเสนอ แนว และการอยู่ แตกต่างกันของศาสนิกชน ทางการปฏิบัติ ร่วมกันอย่าง ศาสนาต่างๆ เพื่อขจัด ของตนเอง สันตสิ ุข ความขัดแย้งและอยู่รว่ ม กันในสงั คมอย่างสันตสิ ุข 19. เห็นคุณค่า เชื่อมั่น และม่งุ ม่ันพัฒนาชวี ิต ดว้ ยการพัฒนาจิตและ พัฒนาการเรียนรู้ด้วย วธิ ีคิดแบบโยนิโสมนสิการ หรือการพัฒนาจิตตาม แนวทางของศาสนาท่ี ตนนับถือ
ตวั ชี้วัด ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5
ดช้ันปี ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6 20. สวดมนต์ แผ่เมตตา และบริหารจิตและ เจริญ ปัญญาตามหลักสติปฏั ฐาน หรือตาม แนวทางของ ศาสนาท่ีตนนับถือ 21. วิเคราะห์หลักธรรม สำคัญในการอยู่ ร่วมกัน อย่างสันติสุขของศาสนา อ่ืนๆ และ ชักชวน สง่ เสริม สนบั สนุนให้บุคคลอื่นเห็น ความสำคัญของการทำ ความดีต่อกัน 22. เสนอแนวทางการจัด กจิ กรรม ความ ร่วมมือของ ทุกศาสนาในการแก้ปัญหา และพัฒนาสังคม
สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรง ตัวชี้วัด ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 1. บำเพ็ญ 1. ปฏิบัติตน 1. ปฏิบัติตน 1. อภิปราย 1. จัดพิธีกรรม 1. อ ประโยชน์ต่อวัด อย่างเหมาะสม อย่างเหมาะสม ความสำคัญ ตามศาสนาท่ีตน รู้เก่ี หรือศาสนสถาน ต่อสาวกของ ต่อสาวก ศาสน และมสี ่วนร่วม นับถืออย่าง ท่ีต่า ของศาสนาที่ตน ศาสนาที่ตนนับ สถาน ศาสน ในการบำรงุ เรยี บง่าย มี ศาส นับถือ ถือตามท่ีกำหนด วตั ถุของศาสนา รักษาศาสน ประโยชน์ และ และ 2. แสดงตนเป็น ได้ถูกต้อง ท่ีตนนับถือตาม สถานของ ปฏิบัติตน อย่า พุทธมามกะ 2. ปฏิบัติตน ทกี่ ำหนดได้ ศาสนาท่ีตนนับ ถูกต้อง 2. ม หรือแสดงตน ในศาสนพิธี ถูกต้อง ถือ 2. ปฏิบัติตน ของ เป็นศาสนิกชน พิธีกรรม และ 2. เห็นคุณค่า 2. มีมรรยาท ในศาสนพิธี ศาส ของศาสนาที่ตน วันสำคัญทาง และปฏิบัติตน ของความเป็นศา พธิ ีกรรม และ ตาม นับถือ ศาสนา ตามท่ีก ในศาสนพิธี สนิกชนท่ีดี วนั สำคัญทาง 3. อ 3. ปฏิบัติตน าหนดได้ถูกต้อง พิธีกรรม และ ตามที่กำหนด ศาสนา ตามที่ก ประ ในศาสนพิธี วันสำคัญทาง 3. ปฏิบัติตน กำหนด และ การ พิธีกรรม และ ศาสนา ตามที่ ในศาสนพิธี อภิปราย ศาส วันสำคัญทาง กำหนดได้ พธิ ีกรรมและวัน ประโยชน์ท่ี พิธีก ศาสนา ตามท่ี ถูกต้อง สำคัญทาง ไดร้ ับจากการ กิจก กำ หนดได้ 3. แสดงตนเป็น ศาสนา ตามท่ีก เข้าร่วมกิจกรรม วนั ส ถูกต้อง พุทธมามกะ าหนดได้ถูกต้อง 3. มีมรรยาท ศาส หรือแสดงตน ของความเป็น กำห เป็นศาสนิกชน ศาสนกิ ชนท่ีดี ปฏิบ ของศาสนาท่ีตน ตามท่ีกำหนด ถูกต นับถือ
งรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ดชั้นปี ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6 อธิบายความ 1. บำเพ็ญ 1. ปฏิบัติตน 1. วเิ คราะห์ 1. ปฏิบัติตนเป็นศาสนกิ ยวกับสถาน ประโยชน์ต่อ อย่างเหมาะสม หน้าท่ีและ ชนที่ดีต่อสาวก สมาชกิ ใน างๆใน ศาสนสถานของ ต่อบุคคล ต่าง ๆ บทบาทของ ครอบครัว และคนรอบข้าง สนาสถาน ศาสนาท่ีตนนับ ตามหลกั ศาสนา สาวก และ 2. ปฏิบัติตนถูกต้องตามศา ะปฏิบัติตนได้ ถือ ที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนต่อ สนพิธีพิธีกรรม ตามหลัก างเหมาะสม 2. อธิบาย ตามที่กำหนด สาวก ตามท่ี ศาสนาที่ตนนับถือ มีมรรยาท จริยวัตรของ 2. มีมรรยาท กำหนดได้ 3. แสดงตนเป็นพุทธมาม งความเป็น สาวกเพ่ือเป็น ของความเป็น ถูกต้อง กะหรือแสดงตน สนิกชนท่ีดี แบบอย่างใน ศาสนิกชนที่ดี 2. ปฏิบัติตน เป็นศาสนิกชนของศาสนา มท่ีกำหนด การประพฤติ ตามที่กำหนด อย่างเหมาะสม ที่ตนนับถือ อธิบาย ปฏิบัติ และ 3. วิเคราะห์ ต่อบุคคล ต่าง ๆ 4. วเิ คราะห์หลักธรรม คติ ะโยชน์ของ ปฏิบัติตนอย่าง คุณค่าของศาสน ตามหลักศาสนา ธรรมทีเ่ ก่ียวเน่ือง รเข้าร่วมใน เหมาะสมต่อ พธิ ี และปฏิบัติ ตามที่กำหนด กบั วันสำคัญทางศาสนา สนพิธี สาวกของ ตนได้ถูกต้อง 3. ปฏิบัติหน้าท่ี และเทศกาลทีส่ ำคัญ กรรม และ ศาสนาที่ตน 4. อธิบายคำ ของศาสนิกชนที่ ของศาสนาที่ตนนับถือ กรรมใน นับถือ สอนทเ่ี ก่ียวเนื่อง ดี และปฏิบัติตนได้ สำคัญทาง 3. ปฏิบัติตน กบั วันสำคัญทาง 4. ปฏิบัติตน ถูกต้อง สนา ตามท่ี อย่างเหมาะสม ศาสนา และ ในศาสนพิธี 5. สัมมนาและเสนอแนะ หนด และ ต่อบุคคลต่างๆ ปฏิบัติตนได้ พิธีกรรมได้ แนวทางในการธำรง บัติตนได้ ตามหลกั ศาสนา ถูกต้อง ถูกต้อง รกั ษาศาสนาที่ตนนับถือ ต้อง ท่ีตนนับถือ อันส่งผลถึงการ ตามที่กำหนด พัฒนาตน พัฒนาชาติและ โลก
ตวั ชี้วัด ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 4. แ พุทธ หรือ เป็น ของ นับถ
ดช้ันปี ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6 ป.6 4. จัดพิธีกรรม 5. อธิบายความ 5. อธิบาย และปฏิบัติตน แตกต่างของ ประวัตวิ ันสำคัญ แสดงตนเป็น ในศาสนพิธี ศาสนพิธี ทางศาสนา ธมามกะ พธี ีกรรมได้ พิธีกรรม ตาม ตามที่กำ หนด อแสดงตน ถูกต้อง แนวปฏิบัติของ และปฏิบัติตนได้ นศาสนิกชน 5. อธิบาย ศาสนาอ่ืน ๆ ถูกต้อง งศาสนาที่ตน ประวัติความ เพ่ือนำไปสู่การ 6. แสดงตนเป็น ถือ สำคัญและ ยอมรบั และ พุทธมามกะหรือ ปฏิบัติตนในวัน ความเข้าใจซงึ่ แสดงตนเป็น สำคัญทาง กันและกัน ศาสนกิ ชนของ ศาสนา ท่ีตนนับ ศาสนา ที่ตนนับ ถือตามที่กำหนด ถือ ได้ถูกต้อง 7. นำเสนอแนว ทางในการธำรง รกั ษาศาสนาท่ี ตนนับถือ
สาระที่ 2 หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เขา้ ใจและปฏิบัตติ นตามหน้าทข่ี องการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดงี ามและธำรงรักษา ประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสงั คมโลกอยา่ งสนั ติสขุ ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.1 1. บอกประโยชนแ์ ละปฏบิ ัตติ นเปน็ การเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและ สมาชิกที่ดีของครอบครวั และโรงเรียน โรงเรียน เช่น กตญั ญูกตเวทแี ละเคารพรบั ฟงั คำแนะนำของพ่อแม่ ญาตผิ ู้ใหญ่ และครู รู้จกั กลา่ วคำขอบคณุ ขอโทษ การไหว้ผใู้ หญ่ ปฏิบตั ติ าม ขอ้ ตกลง กตกิ า กฎระเบยี บ ระเบียบ ของครอบครัวและโรงเรียน มสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมของครอบครวั และโรงเรยี น มีเหตผุ ลและยอมรับฟังความคิดเห็นของผ้อู น่ื มี ระเบยี บ วนิ ัย มีนำ้ ใจ ประโยชน์ของการปฏบิ ตั ติ นเปน็ สมาชกิ ที่ ดีของครอบครัวและโรงเรียน 2. ยกตัวอย่างความสามารถและความดี ลกั ษณะความสามารถและลกั ษณะ ความดี ของตนเอง ผูอ้ ืน่ และบอกผลจากการ กระทำน้นั ของตนเองและผ้อู ่นื เชน่ - ความกตัญญูกตเวที - ความมรี ะเบยี บวนิ ัย - ความรับผดิ ชอบ - ความขยนั - การเอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่และช่วยเหลือ ผู้อ่ืน - ความซือ่ สัตย์สุจริต - ความเมตตากรุณา ผลของการกระทำความดี เชน่ - ภาคภูมิใจ - มคี วามสขุ - ไดร้ ับการชนื่ ชม ยกยอ่ ง
ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.2 1. ปฏบิ ัติตนตามขอ้ ตกลง กติกา กฎ ขอ้ ตกลง กติกา กฎ ระเบียบ หน้าทีท่ ี่ ระเบียบและหน้าท่ีท่ีต้องปฏิบัตใิ น ต้องปฏบิ ตั ใิ นครอบครัว โรงเรียน สถานที่ ชวี ติ ประจำวัน สาธารณะ เช่น โรงภาพยนตร์ โบราณสถาน ฯลฯ 2. ปฏบิ ตั ิตนตนตามมารยาทไทย กิริยามารยาทไทยเกีย่ วกบั การทำความ เคารพ การยืน การเดิน การนั่ง การพดู การทกั ทาย การแตง่ กาย 3. แสดงพฤตกิ รรมในการยอมรบั ความคิด การยอมรับความแตกตา่ งของคนใน ความเชื่อและการปฏิบตั ิของบคุ คลอื่นท่ี สังคม ในเร่อื ง ความคิด ความเชอ่ื แตกต่างกันโดยปราศจากอคติ ความสามารถและการปฏิบัติตนของ บคุ คลอ่นื ท่ี แตกต่างกนั เช่น - บุคคลยอ่ มมีความคดิ ทีม่ เี หตุผล - การปฏิบตั ติ นตามพิธกี รรมตามความ เชื่อของบุคคล - บุคคลยอ่ มมีความสามารถแตกต่างกนั - ไม่พดู หรือแสดงอาการดถู กู รังเกียจ ผู้อนื่ ในเรอื่ งของรปู รา่ งหนา้ ตา สผี ม สีผิว ที่แตกตา่ งกนั 4. เคารพในสทิ ธิ เสรีภาพของผูอ้ น่ื สิทธิสว่ นบุคคล เชน่ - สิทธิแสดงความคดิ เหน็ - สิทธิเสรภี าพในร่างกาย - สิทธิในทรพั ย์สนิ ป.3 1. สรุปประโยชน์และปฏบิ ัตติ นตาม ประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครวั ประเพณแี ละวัฒนธรรมในครอบครัวและ เช่น การแสดงความเคารพและการเช่ือฟัง ท้องถน่ิ ผู้ใหญ่ การกระทำกิจกรรมร่วมกัน ใน ครอบครัว ประเพณีและวัฒนธรรมในท้องถิน่ เช่น การเข้าร่วมประเพณีทางศาสนา ประเพณี เกย่ี วกับการดำเนนิ ชวี ิต ประโยชน์ ของการปฏบิ ัตติ นตามประเพณแี ละ วฒั นธรรมในครอบครวั และทอ้ งถ่นิ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 2. บอกพฤตกิ รรมการดำเนนิ ชีวติ ของ พฤตกิ รรมของตนเองและเพอ่ื น ๆ ตนเอง และผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม ในชวี ิตประจำวนั เชน่ การทักทาย ที่หลากหลาย การทำความเคารพ การปฏบิ ัตติ าม ศาสนพิธี การรบั ประทานอาหาร การใช้ ภาษา (ภาษาถน่ิ กับภาษาราชการ และ ภาษาอ่ืนๆ ฯลฯ ) สาเหตุทท่ี ำให้พฤตกิ รรมการด าเนินชีวติ ในปัจจุบนั ของนกั เรียน และผอู้ นื่ แตกต่าง กนั 3. อธบิ ายความสำคญั ขอวันหยุดราชการที่ วันหยดุ ราชการท่ีสำคญั เช่น สำคญั - วนั หยุดเกยี่ วกบั ชาติและ พระมหากษัตริย์ เช่น วันจกั รี วันรฐั ธรรมนญู วนั ฉัตรมงคล วนั เฉลิมพระชนมพรรษา - วันหยุดราชการเกี่ยวกบั ศาสนา เช่น วนั มาฆบูชา วันวสิ าขบชู า วันอาสาฬหบูชา วนั เขา้ พรรษา - วันหยดุ ราชการเก่ยี วกับประเพณแี ละ วัฒนธรรม เช่น วนั สงกรานต์ 4. ยกตัวอยา่ งบุคคลซ่งึ มผี ลงานที่เปน็ วนั พืชมงคล ประโยชนแ์ ก่ชมุ ชนและท้องถน่ิ ของตน บคุ คลทีม่ ผี ลงานเป็นประโยชน์แก่ชุมชน และท้องถิ่นของตน ลักษณะผลงานที่เป็นประโยชน์แกช่ ุมชน ป.4 1. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมืองดีตามวิถี และท้องถนิ่ บคุ คลสำคัญของจงั หวดั ปทุมธานี ประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดขี อง การเขา้ ร่วมกจิ กรรมประชาธิปไตยของ ชุมชน เช่น การรณรงค์การเลอื กตัง้ ชมุ ชน แนวทางการปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดี ของชมุ ชน เชน่ อนุรักษส์ งิ่ แวดล้อม สาธารณสมบตั ิ โบราณวัตถแุ ละ โบราณสถาน การพัฒนาชมุ ชน 2. ปฏิบัติตนในการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี การเปน็ ผนู้ ำและผู้ตามที่ดี - บทบาทและความรับผิดชอบของผู้นำ - บทบาทและความรบั ผิดชอบของผู้ตาม หรอื สมาชกิ - การทำงานกลมุ่ ให้มีประสิทธิผลและประสทิ ธิ ภาพและประโยชนข์ องการทำงานเป็นกลมุ่
ชัน้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3. วเิ คราะห์สิทธพิ ้ืนฐานท่ีเด็กทุกคน สิทธิพื้นฐานของเด็ก เช่น สิทธิที่จะมีชีวิต พงึ ได้รับตามกฎหมาย สิทธิทีจ่ ะได้รับการปกปอ้ ง สิทธิ ทีจ่ ะ ไดร้ บั การพัฒนา สิทธิทีจ่ ะมี ส่วนรว่ ม 4. อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรม วฒั นธรรมในภาคต่างๆ ของไทย ของกลุม่ คนในทอ้ งถิน่ ท่ีแตกต่างกัน เช่น การแต่งกาย ภาษา อาหาร 5. เสนอวิธีการที่จะอยรู่ ว่ มกนั อยา่ ง ปญั หาและสาเหตุของการเกิดความ สันติสุขในชีวิตประจำวัน ขัดแย้งในชวี ติ ประจำวัน แนวทางการแกป้ ญั หาความขดั แย้งด้วย สนั ตวิ ิธี ป.5 1. ยกตวั อยา่ งและปฏิบตั ิตนตาม สถานภาพ บทบาท สิทธเิ สรีภาพ สถานภาพ บทบาท สทิ ธเิ สรีภาพ และ หนา้ ทข่ี องพลเมอื งดี เชน่ เคารพ เทิดทูน หนา้ ทีใ่ นฐานะพลเมอื งดี สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ อนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ อนรุ กั ษ์ ศิลปวฒั นธรรม ปฏิบัตติ ามกฎหมาย คณุ ลักษณะของพลเมอื งดี เช่น เหน็ แก่ ประโยชน์ส่วนรวมมากกวา่ ประโยชนส์ ่วน ตน มคี วามรบั ผิดชอบ เสยี สละ 2. เสนอวธิ กี ารปกปอ้ งคมุ้ ครองตนเองหรือ เหตกุ ารณ์ท่ีละเมิดสิทธิเด็กในสังคมไทย ผ้อู ื่นจากการละเมดิ สิทธเิ ด็ก แนวทางการปกปอ้ งคมุ้ ครองตนเองหรือ ผอู้ น่ื จากการละเมดิ สิทธิเดก็ การปกป้องคุม้ ครองสทิ ธิเดก็ ในสงั คมไทย 3. เหน็ คณุ ค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการ วัฒนธรรมไทย ทม่ี ีผลตอ่ การดำเนนิ ชีวติ ดำเนนิ ชวี ติ ในสงั คมไทย ของคนในสังคมไทย คุณค่าของวัฒนธรรมกบั การด าเนินชวี ิต 4. มสี ว่ นรว่ มในการอนรุ กั ษ์และเผยแพร่ ความสำคัญของภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นของชุมชน ตวั อย่างภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ในชุมชน ของตน การอนุรักษ์และเผยแพรภ่ ูมิปัญญา ท้องถ่นิ ของชมุ ชน
ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ป.6 1. ปฏิบตั ิตามกฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้องกบั กฎหมายที่เก่ยี วข้องกับชวี ติ ประจำวันเชน่ ชวี ติ ประจำวันของครอบครัวและชมุ ชน - กฎหมายจราจร - กฎหมายทะเบียนราษฎร - กฎหมายยาเสพตดิ ให้โทษ - เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติ อบต. อบจ. ประโยชนข์ องการปฏิบัติตนตามกฎหมาย ดงั กล่าว 2. วิเคราะหก์ ารเปลย่ี นแปลงวฒั นธรรม ความหมายและประเภทของวฒั นธรรม ตามกาลเวลาและธำรงรักษาวฒั นธรรม อนั การเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมตาม ดีงาม กาลเวลาทีม่ ีผลต่อตนเองและสงั คมไทย แนวทางการธำรงรักษาวฒั นธรรมไทย 3. แสดงออกถงึ มารยาทไทยไดเ้ หมาะสมถูก ความหมายและสำคญั ของมารยาทไทย กาลเทศะ มารยาทไทยและมารยาทสังคม เชน่ การแสดงความเคารพ การยืน การเดิน การนัง่ การนอน การรับของสง่ ของ การรบั ประทานอาหาร การแสดงกิริยา อาการ การทกั ทาย การสนทนา การใช้ คำพูด 4. อธบิ ายคุณค่าทางวัฒนธรรมท่แี ตกตา่ ง ประโยชน์และคุณค่าทางวัฒนธรรม กนั ระหว่างกลุ่มคนในสงั คมไทย ความแตกตา่ งทางวฒั นธรรมระหวา่ งกล่มุ คนภาคตา่ งๆ ในสังคมไทย แนวทางการรักษาวฒั นธรรม 5. ติดตามขอ้ มลู ข่าวสาร เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ข้อมูล ข่าวสาร เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ เช่น ในชวี ิตประจำวัน เลอื กรับและใชข้ อ้ มูล วทิ ยุโทรทัศน์ หนงั สือพมิ พ์ แหล่งขา่ วต่าง ขา่ วสารในการเรียนรไู้ ดเ้ หมาะสม ๆ สถานการณ์จรงิ ประโยชนจ์ ากการตดิ ตามข้อมูล ข่าวสาร เหตกุ ารณ์ต่างๆ หลกั การเลือกรับและใชข้ ้อมูล ข่าวสาร จากส่ือต่างๆ รวมทง้ั สอื่ ท่ีไร้พรมแดน ม.1 1. ปฏิบัตติ ามกฎหมายในการคมุ้ ครอง กฎหมายในการคมุ้ ครองสทิ ธิของบุคคล สิทธขิ องบคุ คล - กฎหมายการคมุ้ ครองเด็ก - กฎหมายการศกึ ษา - กฎหมายการคุ้มครองผู้บรโิ ภค - กฎหมายลิขสิทธิ์ ประโยชน์ของการปฏบิ ัตติ นตามกฎหมาย การคุ้มครองสิทธขิ องบุคคล
ชนั้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 2. ระบุความสามารถของตนเอง ในการ บทบาทและหนา้ ท่ขี องเยาวชนท่ีมีต่อ ทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ สังคมและประเทศชาติ โดยเน้นจิต สาธารณะ เชน่ เคารพกตกิ าสงั คม ปฏบิ ัติตนตามกฎหมาย มสี ่วนรว่ มและ รบั ผดิ ชอบในกจิ กรรมทางสงั คม อนุรกั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ รกั ษาสาธารณ ประโยชน์ 3. อภปิ รายเก่ยี วกบั คณุ ค่าทางวฒั นธรรม ความคล้ายคลงึ และความแตกต่างระหว่าง ทีเ่ ปน็ ปจั จยั ในการสรา้ งความสัมพนั ธ์ท่ีดี หรืออาจนำไปส่คู วามเข้าใจผิดตอ่ กนั วัฒนธรรมไทยกับวฒั นธรรมของประเทศใน ภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วฒั นธรรมท่เี ปน็ ปัจจยั ในการสร้าง ความสัมพนั ธท์ ดี่ ี หรืออาจนำไปสคู่ วาม เข้าใจผิดต่อกัน 4. แสดงออกถึงการเคารพในสทิ ธิของ วิธีปฏิบัติตนในการเคารพในสิทธขิ อง ตนเองและผอู้ ่ืน ตนเองและผู้อ่นื ผลทไ่ี ด้จากการเคารพในสทิ ธิของตนเอง และผู้อื่น ม.2 1. อธิบายและปฏิบตั ิตนตามกฎหมายที่ กฎหมายทเ่ี กย่ี วข้องกบั ตนเอง ครอบครวั เกี่ยวขอ้ งกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและ เช่น ประเทศ - กฎหมายเกยี่ วกบั ความสามารถของ ผู้เยาว์ - กฎหมายบัตรประจำตวั ประชาชน - กฎหมายเพ่งเก่ียวกับครอบครัวและ มรดก เช่น การหมัน้ การสมรส การรบั รองบตุ ร การรบั บุตรบุญธรรม และมรดก กฎหมายทีเ่ ก่ียวกบั ชุมชนและประเทศ - กฎหมายเก่ียวกบั การอนุรกั ษธ์ รรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม - กฎหมายเก่ียวกบั ภาษอี ากร และกรอก แบบแสดงรายการ ภาษเี งนิ ได้บคุ คล ธรรมดา - กฏหมายแรงงาน
ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - กฏหมายปกครอง 2. เหน็ คุณค่าในการปฏิบตั ิตนตาม สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าท่ี หนา้ ทใ่ี นฐานะพลเมอื งดตี ามวิถี ในฐานะพลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย ประชาธิปไตย แนวทางสง่ เสริมให้ปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมืองดตี ามวิถีประชาธปิ ไตย 3. วเิ คราะห์บทบาท ความสำคญั และ บทบาท ความสำคญั และความสัมพนั ธ์ ความสมั พันธข์ องสถาบนั ทางสงั คม ของสถาบันทางสงั คม เช่น สถาบนั ครอบครวั สถาบนั การศกึ ษา สถาบัน ศาสนา สถาบันเศรษฐกจิ สถาบัน ทางการเมืองการปกครอง 4.อธิบายความคล้ายคลงึ และความ ความคล้ายคลงึ และความแตกต่างของ แตกตา่ งของวัฒนธรรมไทย และ วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของ วัฒนธรรมของประเทศในภมู ิภาคเอเชีย ประเทศในภูมภิ าคเอเชยี วฒั นธรรม เพือ่ นำไปสู่ความเข้าใจอันดรี ะหว่างกัน เป็นปัจจัยสำคัญในการสรา้ งความเข้าใจ อันดีระหว่างกนั ม.3 1. อธิบายความแตกต่างของการกระท า ลกั ษณะการกระทำความผิดทางอาญา ความผิดระหว่างคดีอาญาและคดีแพง่ และโทษ ลกั ษณะการกระทำความผิดทางแพ่ง และโทษ ตวั อยา่ งการกระทำความผดิ ทางอาญา เช่น ความผิดเก่ียวกับทรัพย์ ตวั อยา่ งการทำความผิดทางแพ่ง เชน่ การทำผดิ สัญญา การทำละเมดิ 2. มสี ่วนรว่ มในการปกปอ้ งค้มุ ครองผ้อู ่ืน ความหมาย และความสำคญั ของสทิ ธิ ตามหลกั สทิ ธิมนุษยชน มนษุ ยชน การมีส่วนร่วมคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ตามรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ตามวาระและโอกาสทเ่ี หมาะสม 3. อนรุ ักษว์ ฒั นธรรมไทยและเลือกรบั ความสำคญั ของวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมสากลท่เี หมาะสม ภูมิปัญญาไทยและวฒั นธรรมสากล การอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมไทยและ ภูมิปัญญาไทยท่ีเหมาะสม การเลือกรับวัฒนธรรมสากลท่ีเหมาะสม
ชัน้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง 4. วิเคราะหป์ จั จัยท่กี ่อให้เกิดปัญหาความ ปจั จยั ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ เชน่ ขดั แยง้ ในประเทศ และเสนอแนวคิดใน การเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ การลดความขัดแย้ง สงั คม ความเช่อื สาเหตุปัญหาทางสงั คม เชน่ ปญั หา สง่ิ แวดล้อม ปญั หายาเสพติด ปัญหา การทุจริต ปญั หาอาชญากรรม ฯลฯ แนวทางความร่วมมอื ในการลดความ ขดั แย้งและการสรา้ งความสมานฉนั ท์ 5. เสนอแนวคิดในการดำรงชีวติ อย่างมี ปจั จัยท่ีส่งเสรมิ การดำรงชีวิตให้มี ความสุขในประเทศและสังคมโลก ความสุข เชน่ การอยูร่ ว่ มกันอย่างมี ขนั ติธรรม หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง เหน็ คณุ คา่ ในตนเอง รูจ้ ักมอง โลกในแงด่ ี สรา้ งทกั ษะทางอารมณ์ รู้จัก บรโิ ภคด้วยปญั ญา เลือกรบั -ปฏิเสธขา่ ว และวตั ถุตา่ งๆ ปรับปรงุ ตนเองและส่ิง ตา่ งๆให้ดขี ึน้ อยเู่ สมอ ม.4-ม.6 1. วิเคราะหแ์ ละปฏิบัติตนตามกฎหมายท่ี กฎหมายเพง่ เกี่ยวกับนิติกรรมสัญญา เช่น เก่ยี วขอ้ งกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชน ซื้อขาย ขายฝาก เชา่ ทรัพย์ เชา่ ซ้อื ก้ยู มื ประเทศชาติ และสงั คมโลก เงิน จำนำ จำนอง กฎหมายอาญา เช่น ความผิดเกีย่ วกับ ทรัพย์ความผดิ เก่ียวกบั ชีวติ และรา่ งกาย กฎหมายอื่นท่สี ำคญั เช่น รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยฉบบั ปัจจุบัน กฎหมายการรับราชการทหาร กฎหมาย ภาษีอากร กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ ริโภค ข้อตกลงระหว่างประเทศ เช่น ปฏญิ ญา สากลวา่ ด้วยสิทธมิ นุษยชน กฎหมาย มนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ 2. วเิ คราะห์ความสำคัญของโครงสร้างทาง โครงสรา้ งทางสังคม สังคม การขดั เกลาทางสงั คม และ การ - การจดั ระเบียบทางสังคม เปล่ยี นแปลงทางสังคม - สถาบนั ทางสังคม การขดั เกลาทางสงั คม การเปล่ียนแปลงทางสังคม การแก้ปญั หาและแนวทางการพฒั นาทาง สงั คม
ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 3. ปฏิบัติตนและมีส่วนสนับสนุนให้ผู้อื่น คณุ ลักษณะพลเมืองดีของประเทศชาติ ประพฤติปฏิบตั เิ พอื่ เปน็ พลเมอื งดีของ และสงั คมโลก เชน่ ประเทศชาติ และสังคมโลก - เคารพกฎหมาย และกติกาสงั คม - เคารพสทิ ธิ เสรภี าพของตนเองและ บคุ คลอ่นื - มเี หตุผล รับฟังความคิดเหน็ ของผอู้ ่ืน - มคี วามรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ชมุ ชน ประเทศชาติและสังคม - เข้าร่วมกจิ กรรมทางการเมือง การปกครอง - มีส่วนร่วมในการป้องกัน แก้ไข ปัญหาเศรษฐกิจ สงั คม การเมอื งการปกครอง ส่งิ แวดลอ้ ม 4. ประเมนิ สถานการณ์สทิ ธิมนุษยชนใน - มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม ใช้เป็น ประเทศไทย และเสนอแนวทางพัฒนา ตวั กำหนดความคิด 5. วิเคราะหค์ วามจำเปน็ ทต่ี ้องมกี าร ความหมาย ความสำคญั แนวคิดและ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและอนุรกั ษ์ หลักการของสทิ ธิมนษุ ยชน บทบาทขององคก์ รระหวา่ งประเทศ ในเวทโี ลกทีม่ ีผลตอ่ ประทศไทย สาระสำคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิ มนษุ ยชน บทบญั ญัติของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจบุ นั เกยี่ วกับสทิ ธิมนษุ ยชน ปัญหาสทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศ และแนวทางแกป้ ัญหาและพฒั นา ความหมายและความสำคัญของวฒั นธรรม ลักษณะและ ความสำคญั ของวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมไทยและเลือกรบั วัฒนธรรม ทีส่ ำคัญ สากล การปรับปรงุ เปลยี่ นแปลงและอนรุ ักษ์ วฒั นธรรมไทย ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับ วัฒนธรรมสากล แนวทางการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมไทย ท่ดี ีงาม วิธกี ารเลอื กรบั วฒั นธรรมสากล
สาระท่ี 2 หน้าท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษา ไว้ซ่งึ การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.1 1. บอกโครงสรา้ ง บทบาทและหน้าที่ของ โครงสรา้ งของครอบครวั และความสัมพันธ์ สมาชิกในครอบครัวและโรงเรียน ของบทบาท หน้าทขี่ องสมาชิกในครอบครัว โครงสรา้ งของโรงเรยี น ความสัมพนั ธ์ของ บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในโรงเรียน 2. ระบบุ ทบาท สทิ ธิ หน้าท่ขี องตนเองใน ความหมายและความแตกต่างของอ านาจ ครอบครัวและโรงเรยี น ตามบทบาท สิทธิ หน้าท่ใี นครอบครวั และ โรงเรียน การใชอ้ ำนาจในครอบครัวตามบทบาท สทิ ธหิ นา้ ที่ 3. มสี ว่ นรว่ มในการตัดสินใจและทำ กิจกรรมตามกระบวนการประชาธปิ ไตยใน กิจกรรมในครอบครวั และโรงเรียนตาม ครอบครัว เช่น การแบ่งหนา้ ท่ีความ กระบวนการประชาธิปไตย รับผิดชอบในครอบครวั การรบั ฟังและ แสดงความคิดเหน็ กจิ กรรมตามกระบวนการประชาธปิ ไตยใน โรงเรียน เช่น เลอื กหัวหนา้ หอ้ ง ประธาน ชมุ นุม ประธานนักเรยี น ป.2 1. อธิบายความสัมพันธ์ของตนเอง และ ความสมั พนั ธ์ของตนเอง และสมาชกิ ใน สมาชิกในครอบครัวในฐานะเปน็ ส่วนหน่งึ ครอบครัวกับชุมชน เช่น การช่วยเหลือ ของชุมชน กจิ กรรมของชมุ ชน 2. ระบผุ ู้มบี ทบาท อำนาจในการตัดสินใจ ผูม้ ีบทบาท อำนาจในการตัดสนิ ใจ ในโรงเรยี น และชุมชน ในโรงเรยี น และชุมชน เช่น ผ้บู รหิ าร สถานศกึ ษา ผนู้ าท้องถ่นิ กำนนั ผ้ใู หญบ่ ้าน ป.3 1. ระบุบทบาทหนา้ ท่ีของสมาชกิ ของ บทบาทหน้าทข่ี องสมาชิกในชมุ ชน ชมุ ชนในการมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมต่างๆ การมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตาม ตามกระบวนการประชาธิปไตย กระบวนการประชาธปิ ไตย 2. วิเคราะห์ความแตกต่างของ การออกเสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทน กระบวนการการตดั สินใจในชนั้ เรียน/ ออกเสียง โรงเรียนและชมุ ชนโดยวธิ ีการออกเสียง โดยตรงและการเลอื กตัวแทนออกเสยี ง
ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 3. ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงในชัน้ การตดั สินใจของบคุ คลและกลุม่ ทีม่ ีผลตอ่ เรยี น/โรงเรียนและชมุ ชนทีเ่ ป็นผลจากการ การเปลี่ยนแปลงในช้ันเรยี น โรงเรยี น และ ตดั สินใจของบุคคลและกล่มุ ชุมชน - การเปลย่ี นแปลงในชน้ั เรียน เชน่ การเลือกหัวหน้าห้อง การเลือก คณะกรรมการห้องเรยี น - การเปล่ียนแปลงในโรงเรยี น เช่น เลือก ประธานนกั เรียน เลือกคณะกรรมการ นกั เรยี น การเปล่ยี นแปลงในชุมชน เชน่ การเลือก ผใู้ หญ่บา้ น กำนนั สมาชิก อบต. อบจ. ป.4 1. อธิบายอ านาจอธปิ ไตยและความสำคญั อ านาจอธิปไตย ของระบอบประชาธิปไตย ความสำคัญของการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตย 2. อธบิ ายบทบาทหนา้ ที่ของพลเมืองใน บทบาทหน้าท่ขี องพลเมืองในกระบวนการ กระบวนการเลือกต้งั เลอื กตง้ั ท้ังกอ่ นการเลือกตัง้ ระหวา่ งการ เลือกตัง้ หลงั การเลือกตัง้ 3. อธบิ ายความสำคญั ของสถาบนั สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ในสงั คมไทย พระมหากษัตรยิ ต์ ามระบอบประชาธิปไตย ความสำคญั ของสถาบันพระมหากษตั รยิ ใ์ น อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ สงั คมไทย ป.5 1. อธิบายโครงสร้าง อ านาจ หนา้ ทแ่ี ละ โครงสรา้ งการปกครองในทอ้ งถน่ิ เช่น ความสำคัญของการปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ อบต. อบจ. เทศบาล และการปกครอง พเิ ศษ เช่น พัทยา กทม. อ านาจหน้าท่แี ละความสำคญั ของ การปกครองส่วนท้องถิ่น 2. ระบุบทบาทหนา้ ท่ี และวธิ กี ารเขา้ ดำรง บทบาทหน้าที่ และวิธีการเขา้ ด ารงตำแหน่ง ตำแหนง่ ของผบู้ รหิ ารท้องถ่นิ ของผ้บู ริหารท้องถ่ิน เช่นนายก อบต. นายกเทศมนตรี นายก อบจ. ผวู้ า่ ราชการ กทม. 3. วิเคราะห์ประโยชนท์ ี่ชุมชน จะได้รบั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินกบั บรกิ าร จากองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ สาธารณประโยชน์ในชุมชน ป.6 1. เปรยี บเทียบบทบาท หนา้ ท่ขี อง บทบาท หนา้ ที่ ขององค์กรปกครองสว่ น องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นและรัฐบาล ทอ้ งถ่ินและรฐั บาล 2. มีสว่ นรว่ มในกิจกรรมต่างๆ ทสี่ ่งเสรมิ กิจกรรมต่างๆ เพ่ือสง่ เสริม ประชาธิปไตย ประชาธิปไตยในทอ้ งถ่นิ และประเทศ ในทอ้ งถ่ินและประเทศ
ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 3. อภิปรายบทบาท ความสำคัญในการใช้ การมีสว่ นในการออกกฎหมาย ระเบียบ สทิ ธอิ อกเสยี งเลอื กตั้งตามระบอบ กตกิ า การเลอื กตัง้ ประชาธิปไตย สอดสอ่ งดูแลผมู้ พี ฤตกิ รรมการกระทำผิด การเลอื กตง้ั และแจง้ ตอ่ เจ้าหน้าท่ี ผ้รู ับผดิ ชอบ ตรวจสอบคุณสมบัติ การใชส้ ิทธิออกเสียงเลือกตงั้ ตามระบอบ ประชาธิปไตย ม.1 1. อธิบายหลกั การ เจตนารมณ์ หลกั การ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และ โครงสรา้ ง และสาระสำคัญของ สาระสำคัญของรัฐธรรมนญู แห่ง รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจบุ นั ฉบับปัจจบุ นั โดยสงั เขป 2. วเิ คราะห์บทบาทการถว่ งดลุ ของอำนาจ การแบ่งอำนาจ และการถ่วงดุลอำนาจ อธิปไตยในรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั ร อธิปไตยทง้ั 3 ฝ่าย คือนติ ิบญั ญัติ บรหิ าร ไทย ฉบบั ปจั จบุ นั ตลุ าการ ตามทร่ี ะบใุ นรัฐธรรมนญู แห่ง ราชอาณาจักรไทยฉบบั ปัจจุบนั 3. ปฏิบตั ิตนตามบทบญั ญัติของ รฐั ธรรมนูญ การปฏิบตั ิตนตามบทบญั ญัตขิ อง แห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบับ ปัจจุบนั ท่ี รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบบั เกีย่ วขอ้ งกับตนเอง ปจั จบุ นั เกยี่ วกบั สิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ ม.2 1. อธิบายกระบวนการในการตรา กระบวนการในการตรากฎหมาย กฎหมาย - ผูม้ ีสิทธิเสนอร่างกฎหมาย - ขั้นตอนการตรากฎหมาย - การมีสว่ นรว่ มของประชาชนใน กระบวนการตรากฎหมาย 2. วิเคราะหข์ ้อมลู ขา่ วสารทางการเมอื ง เหตุการณ์ และการเปล่ียนแปลงสำคญั ของ การปกครองทีม่ ีผลกระทบต่อสังคมไทย ระบอบการปกครองของไทย สมยั ปัจจุบนั หลกั การเลือกข้อมูล ข่าวสาร ม.3 1. อธบิ ายระบอบการปกครองแบบตา่ งๆ ระบอบการปกครอง แบบต่างๆ ทใี่ ช้ในยุค ทใี่ ช้ในยุคปัจจุบนั ปจั จบุ ัน เช่น การปกครองแบบ เผด็จการ การปกครองแบบประชาธปิ ไตย เกณฑก์ ารตัดสินใจ 2. วเิ คราะห์ เปรยี บเทียบระบอบการ ความแตกต่าง ความคล้ายคลงึ ของการ ปกครองของไทยกับประเทศอนื่ ๆ ทม่ี กี าร ปกครองของไทย กับประเทศอื่นๆ ท่ีมี ปกครองระบอบประชาธิปไตย การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
ชน้ั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 3. วิเคราะห์รัฐธรรมนูญฉบับปจั จบุ นั ใน บทบัญญัตขิ องรฐั ธรรมนญู ในมาตราตา่ งๆ มาตราต่างๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การเลอื กต้ัง ที่เกย่ี วข้องกบั การเลอื กต้งั การมสี ่วนรว่ ม การมสี ว่ นร่วม และการตรวจสอบการใช้ และการตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรฐั อำนาจรัฐ อำนาจหน้าท่ีของรัฐบาล บทบาทสำคัญของรัฐบาลในการบรหิ าร ราชการแผน่ ดิน ความจำเปน็ ในการมีรฐั บาลตามระบอบ ประชาธิปไตย 4. วิเคราะห์ประเดน็ ปญั หาทเี่ ป็น ประเด็น ปัญหาและผลกระทบที่เปน็ อุปสรรคตอ่ การพัฒนาประชาธิปไตยของ อุปสรรคต่อการพฒั นาประชาธปิ ไตยของ ประเทศไทย ประเทศไทยและเสนอแนวทางแกไ้ ข แนวทางการแก้ไขปญั หา ม.4-ม.6 1. วเิ คราะห์ปญั หาการเมืองท่สี ำคัญใน ปัญหาการเมอื งสำคัญที่เกิดขนึ้ ประเทศ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ พร้อมทัง้ ภายในประเทศ เสนอแนวทางแก้ไข สถานการณ์การเมอื งการปกครอง ของสังคมไทย และสังคมโลก และ การประสานประโยชน์ร่วมกัน อทิ ธิพลของระบบการเมืองการปกครอง ทีม่ ีผลต่อการด าเนนิ ชีวิตและความสมั พันธ์ ระหวา่ งประเทศ 2. เสนอแนวทาง ทางการเมอื งการ การประสานประโยชนร์ ่วมกนั ระหว่าง ปกครองที่นำไปสู่ความเข้าใจ และ ประเทศ เชน่ การสรา้ งความสมั พนั ธ์ การประสานประโยชนร์ ่วมกนั ระหว่าง ระหวา่ งไทยกับประเทศต่าง ๆ ประเทศ การแลกเปลย่ี นเพ่ือช่วยเหลือ และสง่ เสริม ด้านวัฒนธรรม การศกึ ษา เศรษฐกิจ สังคม 3. วิเคราะหค์ วามสำคญั และ ความจ าเป็น การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมี ที่ต้องธำรงรักษาไว้ซง่ึ การปกครองตาม พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข ระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตริย์ - รูปแบบของรฐั ทรงเป็นประมขุ - ฐานะและพระราชอำนาจของ พระมหากษตั ริย์
ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 4. เสนอแนวทางและมสี ่วนร่วมในการ การตรวจสอบการใช้อำนาจรฐั ตาม ตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรัฐ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ฉบับ ปจั จุบัน ที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงทาง สงั คม เช่น การตรวจสอบโดยองค์กรอิสระ การตรวจสอบโดยประชาชน
สาระท่ี 2 หนา้ ท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบตั ิตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมท่ีด และสังคมโลกอยา่ งสนั ติสขุ ตัวชี้วัดช ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 1. บอก 1. ปฏบิ ตั ิตน 1. สรุปประโยชน์ 1. ปฏบิ ัติตน 1. ยกตวั อย่าง 1. ป ประโยชนแ์ ละ ตามขอ้ ตกลง และปฏบิ ตั ติ น เปน็ พลเมอื งดี ปฏิบตั ิตนเป็น กติกา ตามประเพณีและ ตามวิถี และปฏิบัติตน กฎห สมาชกิ ที่ดีของ กฎระเบียบและ วฒั นธรรมใน ประชาธปิ ไตย ครอบครวั และ หน้าที่ที่ต้อง ครอบครวั และ ในฐานะสมาชิก ตามสถานภาพ เก่ีย โรงเรยี น ปฏิบัติใน ทอ้ งถน่ิ ที่ดีของชุมชน 2. ยกตวั อย่าง ชีวิตประจำวนั 2. บอก 2. ปฏิบัติตนใน บทบาท สทิ ธิ ชวี ติ ความสามารถ 2. ปฏบิ ตั ติ นตน พฤตกิ รรมการ การเป็นผู้นำและ และความดี ตามมารยาท ดำเนินชีวิตของ ผ้ตู ามที่ดี เสรภี าพ และ ของ ของตนเอง ผู้อืน่ ไทย ตนเอง และผู้อ่ืน 3. วเิ คราะห์ หน้าท่ีในฐานะ และ และบอกผลจาก 3. แสดง ท่ีอยู่ในกระแส สทิ ธิพ้ืนฐานที่ การกระทำนัน้ พฤติกรรมใน วฒั นธรรมท่ี เด็กทุกคนพึง พลเมอื งดี 2. ว การยอมรับ หลากหลาย ไดร้ ับตาม ความคิดความ 3. อธบิ าย กฎหมาย 2. เสนอวิธกี าร เปล เชอื่ และการ ความสำคัญของ 4. อธิบายความ ปฏิบตั ิของ วนั หยุดราชการท่ี แตกตา่ งทาง ปกปอ้ งคุ้มครอง วัฒน บคุ คลอ่ืนท่ี สำคญั วัฒนธรรมของ แตกต่างกันโดย กลุ่มคนใน ตนเองหรือผอู้ นื่ กาล ปราศจากอคติ ท้องถน่ิ จากการละเมดิ ธำร สิทธิเดก็ วฒั น 3. เห็นคณุ ค่า งาม วัฒนธรรมไทยที่ 3. แ มผี ลต่อการ มาร ดำเนินชีวิตใน เหม สงั คมไทย กาล
ดีงามและธำรงรักษา ประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดำรงชีวติ อยู่รว่ มกนั ในสงั คมไทย ชั้นปี ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6 ป.6 1. ปฏบิ ัตติ าม 1. อธิบายและ 1. อธบิ ายความ 1. วิเคราะหแ์ ละปฏบิ ตั ิ กฎหมายในการ ปฏบิ ัตติ นตาม แตกต่างของ ตนตามกฎหมายที่ ปฏบิ ัติตาม คมุ้ ครองสิทธิ กฎหมายท่ี การกระทำ เกี่ยวข้องกบั ตนเอง หมายที่ ของบคุ คล เกยี่ วข้องกับ ความผิด ครอบครวั ชมุ ชน ยวข้องกับ 2. ระบุ ตนเอง ระหว่าง ประเทศชาติ และสังคม ตประจำวัน ความสามารถ ครอบครัว คดีอาญาและ โลก งครอบครวั ของตนเอง ใน ชุมชนและ คดีแพ่ง 2. วิเคราะหค์ วามสำคัญ ะชุมชน การทำ ประเทศ 2. มสี ่วนร่วมใน ของโครงสร้างทาง วิเคราะหก์ าร ประโยชน์ตอ่ 2. เหน็ คณุ ค่าใน การปกปอ้ ง สังคม การขดั เกลาทาง ลย่ี นแปลง นธรรมตาม สังคมและ การปฏบิ ัติตน คุม้ ครองผอู้ ื่น สังคม และ การ ประเทศชาติ ตาม ตามหลกั สิทธิ เปลีย่ นแปลงทางสงั คม ลเวลาและ 3. อภิปราย สถานภาพ มนษุ ยชน 3. ปฏิบัติตนและมีส่วน รงรักษา เกย่ี วกับคุณค่า บทบาท สทิ ธิ 3. อนุรักษ์ สนับสนุนให้ผู้อื่น นธรรม อันดี ทางวฒั นธรรม เสรีภาพ หน้าท่ี วฒั นธรรม ประพฤติปฏบิ ตั ิเพ่อื เป็น ม ที่เป็นปัจจยั ใน ในฐานะพลเมอื ง ไทยและเลือก พลเมอื งดีของ แสดงออกถึง การสรา้ ง ดีตามวิถี รับวฒั นธรรม ประเทศชาติ และสงั คม รยาทไทยได้ ความสมั พันธท์ ี่ ประชาธิปไตย สากลท่ี โลก มาะสมถูก ดหี รืออาจ เหมาะสม ลเทศะ
ตวั ชี้วัดช ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 4. เคารพใน 4. ยกตัวอย่าง 5. เสนอวิธกี าร 4. มีส่วนรว่ มใน 4. สิทธิ เสรภี าพ บุคคลซงึ่ มีผลงาน ทจี่ ะอย่รู ่วมกัน การอนุรกั ษแ์ ละ คณุ ของผอู้ ื่น ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ อยา่ งสนั ติสุขใน เผยแพร่ภมู ิ วัฒน แก่ชมุ ชนและ ชีวติ ประจำวัน ปัญญาทอ้ งถิน่ แตก ทอ้ งถิ่นของตน ของชมุ ชน ระห ในส 5. ต ขอ้ ม เหต ใน ชวี ิต เลอื ข้อม ในก เหม
ชั้นปี ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6 ป.6 นำไปสู่การ 3. วิเคราะห์ 4. วิเคราะห์ 4. วิเคราะหแ์ ละปฏิบตั ิ อธบิ าย เขา้ ใจผดิ บทบาท ปจั จัยที่ ตนตามกฎหมายท่ี ณคา่ ทาง 4. แสดงออกถึง ความสำคัญ กอ่ ให้เกดิ ปัญหา เก่ียวข้องกับตนเอง นธรรมท่ี การเคารพใน และ ความ ครอบครวั ชุมชน กตา่ งกนั สิทธขิ องตนเอง ความสัมพนั ธ์ ขดั แยง้ ใน ประเทศชาติ และสงั คม หวา่ งกลุ่มคน และผอู้ ่ืน สังคมไทย ของสถาบันทาง ประเทศ และ โลก ติดตาม สังคม เสนอแนวคดิ ใน 5. วิเคราะหค์ วามสำคัญ มูล ขา่ วสาร 4.อธบิ ายความ การลดความ ของโครงสรา้ งทาง ตุการณต์ า่ ง ๆ คลา้ ยคลงึ และ ขดั แยง้ สงั คม การขัดเกลาทาง ความ 5. เสนอ สงั คม และ การ ตประจำวัน แตกตา่ งของ แนวคิดในการ เปลย่ี นแปลงทางสงั คม อกรับและใช้ วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอย่าง 6. ปฏิบัติตนและมีสว่ น มูลข่าวสาร และ มคี วามสขุ ใน สนบั สนุนให้ผู้อื่น การเรียนรู้ได้ วัฒนธรรมของ ประเทศและ ประพฤติปฏบิ ตั ิเพ่อื เป็น มาะสม ประเทศใน สังคมโลก พลเมืองดขี อง ภมู ภิ าคเอเชยี ประเทศชาติ และสังคม เพ่ือนำไปสู่ความ โลก เข้าใจอันดี ระหว่างกัน
สาระท่ี 2 หน้าท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำเนินชีวิตในสงั คม มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดม่ัน ศรัทธาแ ประมุข ตวั ชี้วัดช ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 1. บอกโครง 1. อธบิ าย 1. ระบบุ ทบาท 1. อธิบาย 1. อธิบาย 1.เป สรา้ งบทบาท ความสัมพนั ธ์ หน้าท่ีของ อำนาจอธปิ ไตย และหน้าทขี่ อง ของตนเอง และ สมาชกิ ของ และความสำคญั โครงสร้าง เทียบ สมาชกิ ใน สมาชิกในครอบ ชุมชนในการมี ของระบอบ ครอบครัวและ ครวั ในฐานะเป็น ส่วนร่วมใน ประชาธปิ ไตย อำนาจ หนา้ ท่ี หน้าท โรงเรียน ส่วนหนง่ึ ของ กจิ กรรมตา่ งๆ 2. อธิบาย 2. ระบบุ ทบาท ชมุ ชน ตาม บทบาทหนา้ ที่ และความสำคัญ องคก์ สทิ ธิ หนา้ ท่ีของ 2.ระบผุ ู้มี กระบวนการ ของพลเมืองใน ตนเองใน บทบาทอำนาจ ประชาธปิ ไตย กระบวนการ ของการ สว่ นท ครอบครัวและ ในการตัดสินใจ 2. วิเคราะห์ เลอื กตงั้ ปกครองส่วน รัฐบา โรงเรยี น ในโรงเรียน และ ความแตกตา่ ง 3. อธบิ าย 3. มีส่วนรว่ มใน ชุมชน ขอกระบวนการ ความสำคัญของ ท้องถ่นิ 2. มสี การตัดสินใจ การตัดสินใจใน สถาบนั และทำ ชน้ั เรยี น/ พระมหากษตั รยิ ์ 2. ระบุบทบาท กิจกร กจิ กรรมใน โรงเรียนและ ตามระบอบ ครอบครวั และ ชมุ ชนโดย ประชาธิปไตย หน้าที่ และ ทสี่ ่งเ โรงเรยี นตาม วธิ กี ารออกเสยี ง อัน กระบวนการ โดยตรงและการ พระมหากษัตริย์ วิธีการเข้าดำรง ประช ประชาธปิ ไตย เลือกตัวแทน ทรงเป็นประมุข ตำแหนง่ ของ ในท้อ ออกเสียง ผู้บริหารท้องถิน่ ประเ 3. วิเคราะห์ 3. อภ ประโยชนท์ ี่ บทบ ชุมชน จะได้รบั ความ จากองคก์ ร การใ ปกครองสว่ น ออกเ ท้องถ่ิน ตงั้ ตา ประช
และธำรงรักษาไวซ้ งึ่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ช้ันปี ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6 ป.6 1. อธิบาย 1. อธบิ าย 1. อธบิ าย 1. วิเคราะหป์ ญั หา หลักการ กระบวนการใน ระบอบการ การเมืองทีส่ ำคัญใน ปรยี บ เจตนารมณ์ การตรา ปกครองแบบ ประเทศ จากแหล่งขอ้ มูล บบทบาท โครงสร้าง และ กฎหมาย ตา่ งๆ ต่างๆ พรอ้ มทั้ง ท่ขี อง สาระสำคญั ของ 2. วิเคราะห์ ทีใ่ ช้ในยุค เสนอแนวทางแก้ไข กรปกครอง รฐั ธรรมนญู แห่ง ขอ้ มลู ข่าวสาร ปัจจบุ นั 2. เสนอแนวทาง ทาง ท้องถ่ินและ ราชอาณาจกั ร ทางการเมอื ง 2. วิเคราะห์ การเมืองการ าล ไทยฉบบั การปกครองทีม่ ี เปรียบเทยี บ ปกครองท่ีนำไปส่คู วาม สว่ นรว่ มใน ปัจจบุ นั ผลกระทบต่อ ระบอบการ เข้าใจ และ รรมตา่ งๆ เสรมิ โดยสังเขป สงั คมไทย ปกครองของ การประสานประโยชน์ 2. วิเคราะห์ สมัยปจั จบุ ัน ไทยกับประเทศ ร่วมกันระหว่าง ชาธิปไตย บทบาทการ อื่นๆ ที่มีการ ประเทศ องถนิ่ และ ถ่วงดุลของ ปกครองระบอบ 3. วิเคราะห์ความสำคญั เทศ อำนาจ ประชาธิปไตย และ ความจำเปน็ ภิปราย อธปิ ไตยใน 3. วิเคราะห์ ทีต่ ้องธำรงรกั ษาไว้ซ่งึ การ บาท รฐั ธรรมนญู แห่ง รฐั ธรรมนูญฉบับ ปกครองตาม มสำคญั ใน ราชอาณาจักร ปจั จบุ นั ใน ระบอบประชาธิปไตยอนั มี ใช้สิทธิ ไทยฉบบั มาตราต่างๆ ที่ พระมหากษตั ริย์ เสยี งเลอื ก ปัจจบุ ัน เก่ยี วข้องกับ ทรงเป็นประมุข ามระบอบ ชาธิปไตย
ตัวช้ีวัดช ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 3. ยกตวั อย่าง การ เปลยี่ นแปลง ในชน้ั เรยี น/ โรงเรียนและ ชุมชนท่เี ป็นผล จากการ ตดั สินใจของ บคุ คลและกลุ่ม
ช้ันปี ม.2 ม.3 ม.4-6 ป.6 ม.1 การเลอื กตั้งการ 4. เสนอแนวทางและมี 3. ปฏบิ ัตติ น มีส่วนรว่ ม และ ส่วนร่วมในการ ตามบทบัญญัติ ของ การตรวจสอบ ตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรฐั รฐั ธรรมนญู แหง่ การใชอ้ ำนาจรัฐ ราชอาณาจกั ร ไทย ฉบบั 4. วิเคราะห์ ปัจจบุ นั ที่ เกีย่ วขอ้ งกบั ประเด็น ปญั หา ตนเอง ท่ีเป็น อปุ สรรคตอ่ การ พัฒนา ประชาธิปไตย ของประเทศ ไทยและเสนอ แนวทางแก้ไข
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรพั ยากรในการผลิตและการบรโิ ภคการใช้ทรพั ยากรที่มีอยู่จำกัดได้ อย่างมีประสิทธภิ าพและคุ้มค่า รวมทงั้ เข้าใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง เพือ่ การดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.1 1. ระบุสนิ ค้าและบรกิ ารที่ใชป้ ระโยชนใ์ น สนิ ค้าและบริการท่ีใชอ้ ยใู่ นชวี ติ ประจำวัน ชีวิตประจำวนั เชน่ ดินสอ กระดาษ ยาสีฟนั สินค้าและบริการท่ไี ดม้ าโดยไมใ่ ช้เงนิ เชน่ มีผใู้ ห้หรือการใชข้ องแลกของ สนิ ค้าและบริการทไี่ ดม้ าจากการใช้เงนิ ซ้ือ ใช้ประโยชนจ์ ากสินค้าและบรกิ ารให้คุ้มคา่ 2. ยกตวั อย่างการใช้จ่ายเงนิ ในชวี ิต การใช้จ่ายเงินในชีวติ ประจำวนั เพือ่ ซอื้ ประจำวนั ทไ่ี มเ่ กินตวั และเหน็ ประโยชน์ สนิ คา้ และบริการ ของการออม ประโยชนข์ องการใช้จ่ายเงนิ ท่ไี ม่เกินตัว ประโยชน์ของการออม โทษของการใชจ้ ่ายเงนิ เกนิ ตัว วางแผนการใช้จ่าย 3. ยกตัวอยา่ งการใช้ทรัพยากรใน ทรัพยากรท่ีใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ชีวติ ประจำวนั อย่างประหยดั ดนิ สอ กระดาษ เส้อื ผ้า อาหาร ทรัพยากรสว่ นรวม เชน่ โต๊ะ เก้าอี้ นักเรยี น สาธารณปู โภคต่าง ๆ วธิ ีการใช้ทรพั ยากรทง้ั ของสว่ นตัวและ ส่วนรวมอยา่ งถกู ต้อง และประหยดั และ คุม้ คา่ ป.2 1. ระบทุ รัพยากรทน่ี ำมาผลติ สินคา้ และ ทรพั ยากรที่นำมาใช้ในการผลิตสนิ คา้ และ บริการที่ใช้ในชีวิตประจำวนั บรกิ ารทีใ่ ช้ในครอบครวั และโรงเรียน เช่น
ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ดินสอและกระดาษที่ผลิตจากไม้ รวมท้ัง เครอ่ื งจักรและแรงงานการผลิต ผลของการใช้ทรพั ยากรในการผลิตท่ี หลากหลายท่มี ีต่อราคา คณุ คา่ และ ประโยชน์ของสินค้าและบรกิ าร รวมทง้ั ส่ิงแวดล้อม 2. บอกที่มาของรายไดแ้ ละรายจ่ายของ การประกอบอาชีพของครอบครัว ตนเองและครอบครัว การแสวงหารายได้ทสี่ ุจริตและเหมาะสม รายได้และรายจ่ายในภาพรวมของ ครอบครวั รายไดแ้ ละรายจา่ ยของตนเอง 3. บนั ทึกรายรับรายจา่ ยของตนเอง วธิ กี ารทำบัญชีรายรับรายจา่ ยของตนเอง อยา่ งง่าย ๆ รายการของรายรบั ทีเ่ ป็นรายไดท้ ่ี เหมาะสม และไม่เหมาะสม รายการของรายจ่ายทเ่ี หมาะสมและ ไม่เหมาะสม 4. สรุปผลดีของการใช้จา่ ยท่ีเหมาะสมกบั ทม่ี าของรายไดท้ ี่สุจริต รายไดแ้ ละการออม การใช้จ่ายที่เหมาะสม ผลดขี องการใช้จ่ายท่เี หมาะสมกับรายได้ การออมและผลดีของการออม การนำเงนิ ทีเ่ หลือมาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ เช่น การช่วยเหลอื สาธารณกศุ ล ป.3 1. จำแนกความตอ้ งการและความจำเปน็ สินค้าทจี่ ำเปน็ ในการดำรงชีวิตที่ เรยี กว่า ในการใช้สนิ ค้าและบริการในการดำรง ปจั จยั 4 ชีวิต สนิ ค้าท่ีเป็นความตอ้ งการของมนษุ ยอ์ าจ เป็นสนิ คา้ ท่ีจำเป็นหรือไมจ่ าเปน็ ต่อการ ดำรงชีวิต ประโยชน์และคุณค่าของสินค้าและบริการ ท่สี นองความต้องการของมนษุ ย์ หลกั การเลอื กสินคา้ ท่ีจำเปน็
ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ความหมายของผู้ผลิตและผูบ้ ริโภค 2. วเิ คราะห์การใช้จ่ายของตนเอง ใชบ้ ัญชีรบั จ่ายวเิ คราะห์การใช้จ่ายที่ จำเปน็ และเหมาะสม วางแผนการใชจ้ ่ายเงินของตนเอง วางแผนการแสวงหารายไดท้ ี่สจุ ริตและ เหมาะสม วางแผนการนำเงินที่เหลอื จ่ายมาใชอ้ ยา่ ง เหมาะสม 3.อธบิ ายได้วา่ ทรัพยากรทม่ี อี ยู่จำกดั มีผล ความหมายของผู้ผลิตและผู้บรโิ ภค ต่อการผลติ และบริโภคสินคา้ และบริการ ความหมายของสินค้าและบริการ ปัญหาพ้นื ฐานทางเศรษฐกิจทเ่ี กิดจากความ หายากของทรพั ยากรกบั ความต้องการของ มนษุ ย์ท่ีมีไมจ่ ำกัด ป.4 1. ระบปุ ัจจัยทีม่ ีผลตอ่ การเลอื กซอื้ สินค้า สนิ คา้ และบรกิ ารทม่ี ีอยหู่ ลากหลายใน และบริการ ตลาดทม่ี ีความแตกตา่ งดา้ นราคาและ คุณภาพ ปจั จยั ทีม่ ีผลต่อการเลอื กซ้ือสินค้าและ บริการทีม่ มี ากมาย ซึง่ ขนึ้ อย่กู ับผ้ซู ือ้ ผขู้ าย และ ตวั สนิ คา้ เช่น ความพึงพอใจของผู้ ซอ้ื ราคาสนิ ค้า การโฆษณา คณุ ภาพของ สินคา้ 2. บอกสทิ ธพิ ื้นฐานและรักษา สทิ ธพิ ้ืนฐานของผบู้ รโิ ภค ผลประโยชนข์ องตนเองในฐานะผูบ้ รโิ ภค สินคา้ และบริการทีม่ ีเครอื่ งหมายรับรอง คณุ ภาพ หลกั การและวธิ กี ารเลอื กบรโิ ภค 3. อธิบายหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และนำไปใชใ้ นชวี ิตประจาวันของตนเอง การประยุกตใ์ ชเ้ ศรษฐกิจพอเพยี งในการ ดำรงชวี ติ เชน่ การแตง่ กาย การกนิ อาหาร การใช้จา่ ย ป.5 1. อธบิ ายปจั จยั การผลิตสินคา้ และบริการ ความหมายและประเภทของปัจจัยการ ผลติ ประกอบด้วย ที่ดนิ แรงงาน ทุนและ ผปู้ ระกอบการ เทคโนโลยีในการผลิตสนิ ค้าและบริการ ปัจจัยอื่น ๆ เชน่ ราคาน้ำมัน วตั ถดุ บิ พฤติกรรมของผู้บรโิ ภค
ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ตัวอยา่ งการผลิตสินค้าและบริการทม่ี ีอยู่ใน ทอ้ งถิน่ หรือแหล่งผลติ สินคา้ และบริการใน 2. ประยุกตใ์ ช้แนวคิดของปรัชญาของ ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงในการทำกจิ กรรม หลกั การปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง การประยุกตใ์ ชป้ รชั ญาของเศรษฐกิจ ตา่ ง ๆ ในครอบครวั โรงเรียนและชมุ ชน พอเพียงในกจิ กรรมต่าง ๆ ในครอบครัว โรงเรียนและชมุ ชน เช่นการประหยัด พลังงานและค่าใชจ้ ่ายในบ้าน โรงเรยี น การวางแผนการผลิตสินค้าและบริการเพ่อื ลดความสญู เสยี ทุกประเภท การใช้ ปัญญาท้องถน่ิ ตัวอยา่ งการผลิตสินคา้ และบริการในชมุ ชน เชน่ หนง่ึ ตำบลหน่งึ ผลิตภัณฑ์หรอื โอทอ๊ ป 3. อธบิ ายหลักการสำคญั และประโยชน์ หลักการและประโยชน์ของสหกรณ์ ของสหกรณ์ ประเภทของสหกรณ์โดยสังเขป สหกรณ์ในโรงเรียน (เนน้ ฝกึ ปฏิบัติจริง) การประยุกต์หลกั การของสหกรณม์ าใช้ใน ชีวิตประจำวัน ป.6 1. อธิบายบทบาทของผู้ผลิตท่ีมคี วาม บทบาทของผผู้ ลติ ท่มี ีคุณภาพ เชน่ รบั ผิดชอบ คำนึงถงึ สงิ่ แวดลอ้ ม มีจรรยาบรรณ ความรบั ผิดชอบต่อสงั คม วางแผนกอ่ นเรมิ่ ลงมือทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อลดความ ผิดพลาดและการสูญเสยี ฯลฯ ทศั นคติในการใช้ทรพั ยากรอย่างมี ประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล ประโยชนข์ องการผลติ สินค้าที่มีคุณภาพ 2. อธิบายบทบาทของผู้บริโภค คณุ สมบตั ิของผูบ้ รโิ ภคทด่ี ี ท่รี ูเ้ ท่าทัน พฤตกิ รรมของผู้บริโภคทีบ่ กพร่อง คณุ ค่าและประโยชน์ของผบู้ ริโภคที่รู้เทา่ ทันที่มีต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม 3. บอกวธิ แี ละประโยชนข์ องการใช้ ความหมาย และความจำเปน็ ของ ทรพั ยากรอย่างย่งั ยืน ทรพั ยากร หลกั การและวิธีใช้ทรัพยากรใหเ้ กิด ประโยชนส์ ูงสดุ (ลดการสูญเสยี ทกุ ประเภท)
ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง วิธีการสร้างจติ สำนึกใหค้ นในชาตริ ู้คุณคา่ ของทรพั ยากรทม่ี อี ย่จู ำกัด วางแผนการใช้ทรพั ยากร โดยประยุกต์ เทคนคิ และวิธกี ารใหม่ ๆ ให้เกิดประโยชน์ แก่สงั คมและประเทศชาติ และทันกบั สภาพ ทางเศรษฐกิจและสังคม ม.1 1. อธิบายความหมายและความสำคัญของ ความหมายและความสำคัญของ เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ความหมายของคำวา่ ทรพั ยากรมจี ากัดกับ ความตอ้ งการมไี ม่จำกัด ความขาดแคลน การเลอื กและค่าเสยี โอกาส 2. วิเคราะหค์ ่านยิ มและพฤตกิ รรมการ ความหมายและความสำคัญของการ บรโิ ภคของคนในสงั คมซงึ่ ส่งผลตอ่ บรโิ ภคอย่างมีประสิทธภิ าพ เศรษฐกิจของชุมชนและประเทศ หลกั การในการบริโภคท่ดี ี ปัจจยั ท่ีมีอิทธพิ ลต่อพฤติกรรมการบรโิ ภค คา่ นยิ มและพฤติกรรมของการบรโิ ภคของ คนในสังคมปัจจุบัน รวมทงั้ ผลดีและผลเสยี ของพฤติกรรมดงั กลา่ ว 3. อธิบายความเป็นมาหลักการและ ความหมายและความเป็นมาของปรัชญา ความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจ ของเศรษฐกิจพอเพียง พอเพยี งตอ่ สังคมไทย ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง และ หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หวั รวมทัง้ โครงการตาม พระราชดำริ หลักการของเศรษฐกจิ พอเพียง การประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในการด ารงชีวติ ความสำคัญ คณุ คา่ และประโยชน์ของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งต่อสังคมไทย ม.2 1. วิเคราะหป์ ัจจยั ท่ีมีผลต่อการลงทนุ และ ความหมายและความสำคัญของการลงทุน การออม และการออมตอ่ ระบบเศรษฐกิจ การบริหารจดั การเงนิ ออมและการลงทุน ภาคครัวเรือน ปจั จัยของการลงทุนและการออมคอื อตั รา
ชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ดอกเบ้ยี รวมทั้งปัจจัยอื่น ๆ เช่น ค่าของ เงนิ เทคโนโลยี การคาดเดาเกีย่ วกับ อนาคต ปัญหาของการลงทนุ และการออมใน สงั คมไทย 2. อธบิ ายปัจจัยการผลิตสนิ ค้าและบรกิ าร ความหมาย ความสำคญั และหลักการ และปจั จัยทม่ี ีอทิ ธิพลตอ่ การผลิตสนิ คา้ ผลิตสินคา้ และบริการอยา่ งมีประสิทธิภาพ และบรกิ าร สำรวจการผลติ สนิ ค้าในทอ้ งถิน่ วา่ มีการ ผลติ อะไรบา้ ง ใช้วธิ ีการผลติ อย่างไรมี ปญั หาด้านใดบ้าง มีการนำเทคโนโลยีอะไรมาใช้ที่มผี ลตอ่ การผลติ สนิ ค้าและบรกิ าร นำหลักการผลิตมาวิเคราะหก์ ารผลิตสินค้า และบรกิ ารในท้องถน่ิ ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม 3. เสนอแนวทางการพฒั นาการผลติ ใน หลักการและเป้าหมายปรัชญาของ ท้องถน่ิ ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี ง สำรวจและวิเคราะหป์ ัญหาการผลิตสนิ ค้า และบรกิ ารในท้องถ่นิ ประยุกต์ใช้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในการผลิตสินคา้ และบรกิ ารในทอ้ งถน่ิ 4. อภปิ รายแนวทางการคมุ้ ครองสทิ ธขิ อง การรักษาและคมุ้ ครองสทิ ธปิ ระโยชนข์ อง ตนเองในฐานะผบู้ รโิ ภค ผบู้ ริโภค กฎหมายคุ้มครองสิทธิผ้บุ ริโภคและ หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง การดำเนินกิจกรรมพิทักษ์สิทธิและ ผลประโยชน์ตามกฎหมายในฐานะ ผ้บู รโิ ภค แนวทางการปกป้องสิทธขิ องผูบ้ ริโภค ม.3 1. อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกจิ ความหมายและประเภทของตลาด ความหมายและตัวอย่างของอุปสงคแ์ ละอุปทาน ความหมายและความสำคญั ของกลไกราคา และการกำหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ หลกั การปรับและเปล่ียนแปลงราคาสนิ ค้า และบรกิ าร
ชน้ั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 2. มสี ว่ นรว่ มในการแก้ไขปัญหาและ สำรวจสภาพปจั จุบนั ปัญหาทอ้ งถ่ินท้ัง พฒั นาท้องถ่ินตามปรัชญาของเศรษฐกิจ ทางดา้ นสังคม เศรษฐกจิ และส่ิงแวดล้อม พอเพียง วเิ คราะหป์ ญั หาของทอ้ งถน่ิ โดยใชป้ รัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แนวทางการแก้ไขและพฒั นาท้องถ่นิ ตาม 3. วิเคราะห์ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียงกบั ระบบสหกรณ์ แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพยี งกับการพัฒนาใน ระดบั ต่าง ๆ หลักการสำคญั ของระบบสหกรณ์ ความสมั พันธร์ ะหว่างแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียงกับหลกั การและระบบของสหกรณ์ เพื่อประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพัฒนาเศรษฐกจิ ชมุ ชน ม.4–ม.6 1. อภิปรายการกำหนดราคาและคา่ จ้างใน ระบบเศรษฐกจิ ของโลกในปัจจบุ ัน ผลดี ระบบเศรษฐกจิ และผลเสยี ของระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ ตลาดและประเภทของตลาด ข้อดแี ละ ขอ้ เสียของตลาดประเภทต่าง ๆ การกำหนดราคาตามอุปสงค์ และอุปทาน การกำหนดราคาในเชงิ กลยทุ ธท่มี ีในสงั คมไทย การกำหนดค่าจา้ ง กฎหมายท่ีเก่ียวข้องและ อัตราค่าจ้างแรงงานในสงั คมไทย บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคา และการ ควบคมุ ราคาเพ่ือการแจกจ่าย และจัดสรร ในทางเศรษฐกิจ 2. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของปรัชญา การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพยี ง ของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อเศรษฐกิจ ในการดำเนินชีวิตของตนเอง และ สงั คมของประเทศ ครอบครวั การประยุกตใ์ ช้เศรษฐกิจพอเพียงใน ภาคเกษตร อุตสาหกรรม การค้าและ บรกิ าร ปญั หาการพัฒนาประเทศท่ผี ่านมา โดย การศึกษาวเิ คราะห์แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมฉบับทีผ่ า่ นมา การพฒั นาประเทศท่ีนำปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในการวางแผน
ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง พัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมฉบับปัจจบุ นั 3. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของระบบ ววิ ัฒนาการของสหกรณใ์ นประเทศไทย สหกรณ์ในการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับ ความหมายความสำคัญ และหลักการของ ชมุ ชนและประเทศ ระบบสหกรณ์ ตัวอย่างและประเภทของสหกรณ์ในประเทศ ไทย ความสำคญั ของระบบสหกรณใ์ นการ พัฒนาเศรษฐกิจในชมุ ชนและประเทศ 4. วิเคราะหป์ ญั หาทางเศรษฐกจิ ปัญหาทางเศรษฐกิจในชุมชน ในชุมชนและเสนอแนวทางแก้ไข แนวทางการพฒั นาเศรษฐกิจของชมุ ชน ตัวอยา่ งของการรวมกลมุ่ ทป่ี ระสบ ความสำเร็จในการแก้ปญั หาทางเศรษฐกิจ ของชมุ ชน
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความ จำเป็นของการรว่ มมือ กันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ช้นั ตัวช้ีวัด ป.1 1. อธิบายเหตุผลความจำเป็นทีค่ นต้อง ความหมาย ประเภทและความสำคัญของ ทำงานอยา่ งสจุ รติ การทำงาน เหตผุ ลของการทำงาน ผลของการทำงานประเภทต่าง ๆ ท่มี ีตอ่ ครอบครัวและสังคม การทำงานอย่างสจุ รติ ทาให้สังคมสงบสุข ป.2 1. อธบิ ายการแลกเปลย่ี นสินคา้ และ ความหมายและความสำคญั ของการ บรกิ ารโดยวิธตี า่ ง ๆ แลกเปล่ียนสินคา้ และบรกิ าร ลักษณะของการแลกเปลี่ยนสินค้าและ บริการโดยไม่ใช้เงิน รวมทั้ง การแบ่งปัน การช่วยเหลือ ลักษณะการแลกเปล่ยี นสินคา้ และบรกิ ารโดย การใช้เงนิ 2. บอกความสมั พันธร์ ะหวา่ งผู้ซือ้ และ ความหมายและบทบาทของผซู้ ื้อและผู้ขาย ผขู้ าย ผู้ผลิตและผู้บริโภคพอสังเขป ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผูซ้ ้อื และผู้ขายในการ กำหนดราคาสนิ ค้าและบริการ ความสัมพันธร์ ะหว่างผ้ซู ้อื และผ้ขู าย ทำ ให้สังคมสงบสุข และประเทศม่ันคง ป.3 1. บอกสนิ ค้าและบรกิ ารทรี่ ัฐจัดหาและ สนิ คา้ และบริการท่ภี าครฐั ทุกระดับจัดหา ให้บริการแก่ประชาชน และใหบ้ ริการแกป่ ระชาชน เชน่ ถนน โรงเรียน สวนสาธารณะ การสาธารณสุข การ บรรเทาสาธารณภัย 2. บอกความสำคัญของภาษีและบทบาท ความหมายและความสำคญั ของภาษีทร่ี ัฐ ของประชาชนในการเสยี ภาษี นำมาสรา้ งความเจรญิ และให้บรกิ ารแก่ ประชาชน ตวั อยา่ งของภาษี เชน่ ภาษีรายได้บุคคล ธรรมดาภาษีมูลค่าเพิ่ม ฯลฯ บทบาทหน้าทีข่ องประชาชนในการเสียภาษี
ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 3. อธบิ ายเหตุผลการแขง่ ขันทางการค้า ที่ ความสำคัญและผลกระทบของการแขง่ ขนั ทาง มีผลทำให้ราคาสนิ ค้าลดลง การค้าทีม่ ีผลทำใหร้ าคาสนิ ค้าลดลง ป.4 1. อธิบายความสัมพันธท์ างเศรษฐกิจของ อาชพี สนิ ค้าและบรกิ ารตา่ ง ๆ ทีผ่ ลิต ใน คนในชมุ ชน ชุมชน การพึ่งพาอาศัยกันภายในชมุ ชนทาง ด้าน เศรษฐกิจ เชน่ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซือ้ ผู้ขาย การกูห้ นี้ยมื สนิ การสร้างความเข้มแขง็ ให้ชมุ ชนด้วย การใชส้ ิ่งของท่ผี ลติ ในชุมชน 2. อธิบายหน้าทเี่ บ้อื งตน้ ของเงนิ ความหมายและประเภทของเงนิ หน้าทีเ่ บื้องต้นของเงินในระบบเศรษฐกิจ สกุลเงินสำคญั ท่ีใชใ้ นการซอื้ ขายแลกเปล่ยี น ระหวา่ งประเทศ ป.5 1. อธิบายบทบาทหน้าที่เบอ้ื งต้นของ บทบาทหน้าทข่ี องธนาคารโดยสงั เขป ธนาคาร ดอกเบ้ยี เงินฝาก และดอกเบ้ียกู้ยืม การฝากเงนิ / การถอนเงิน 2. จำแนกผลดีและผลเสียของการกู้ยืม ผลดีและผลเสียของการกู้ยืมเงนิ ท้ังนอก ระบบและในระบบทีม่ ตี ่อระบบเศรษฐกจิ ป.6 1. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งผผู้ ลิต เช่น การเสยี ดอกเบ้ีย การลงทนุ การซ้อื ของ ผูบ้ รโิ ภค ธนาคาร และรฐั บาล อุปโภคเพิ่มข้ึน ที่นำไปสู่ความฟุ้งเฟ้อ ฟมุ่ เฟือย เป็นต้น ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งผผู้ ลิต ผบู้ รโิ ภค ธนาคาร และรฐั บาล ที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ อย่างสงั เขป เชน่ การแลก เปลยี่ นสนิ ค้าและ บริการ รายไดแ้ ละรายจา่ ย การออมกับ ธนาคาร การลงทุน แผนผงั แสดงความสัมพันธ์ของหนว่ ย เศรษฐกิจ ภาษแี ละหนว่ ยงานที่จัดเก็บภาษี สทิ ธิของผูบ้ รโิ ภค และสิทธขิ องผใู้ ช้แรงงาน ในประเทศไทย
ช้นั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง การหารายได้ รายจา่ ย การออม การลงทุน ซึ่งแสดง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง ผผู้ ลิต ผู้บรโิ ภค และรฐั บาล 2. ยกตัวอยา่ งการรวมกล่มุ ทางเศรษฐกิจ การรวมกลมุ่ เชงิ เศรษฐกจิ เพอื่ ประสาน ภายในท้องถ่นิ ประโยชนใ์ นท้องถนิ่ เช่น กลุม่ ออมทรัพย์ กลุ่มแมบ่ า้ น กองทุนหมบู่ า้ น ม.1 1. วเิ คราะห์บทบาทหนา้ ที่และความ ความหมาย ประเภท และความสำคญั ของ แตกต่างของสถาบันการเงนิ แตล่ ะประเภท สถาบนั การเงินท่มี ตี ่อระบบเศรษฐกิจ และธนาคารกลาง บทบาทหนา้ ท่แี ละความสำคัญของธนาคาร กลาง การหารายได้ รายจา่ ย การออม การลงทุน ซึ่งแสดงความสัมพันธร์ ะหว่างผผู้ ลติ ผู้บริโภค และสถาบันการเงิน 2. ยกตวั อยา่ งทส่ี ะทอ้ นใหเ้ ห็นการพ่ึงพา ยกตัวอยา่ งท่ีสะท้อนให้เหน็ การพงึ่ พาอาศยั อาศยั กัน และการแขง่ ขนั กนั ทางเศรษฐกจิ กนั และกนั การแข่งขนั กนั ทางเศรษฐกจิ ใน ในประเทศ ประเทศ ปัญหาเศรษฐกิจในชุมชน ประเทศ และเสนอ แนวทางแก้ไข 3. ระบุปจั จยั ทม่ี ีอทิ ธพิ ลต่อการกำหนด ความหมายและกฎอปุ สงค์ อปุ ทาน อุปสงค์และอุปทาน ปัจจัยทมี่ ีอิทธพิ ลตอ่ การก าหนดอุปสงค์และ อปุ ทาน 4. อภิปรายผลของการมกี ฎหมายเก่ียวกบั ความหมายและความสำคัญของทรพั ยส์ นิ ทาง ทรัพย์สินทางปญั ญา ปัญญา กฎหมายทเ่ี กี่ยวกบั การคุม้ ครองทรพั ย์สนิ ทาง ปัญญาพอสงั เขป ตวั อยา่ งการละเมดิ แห่งทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา แตล่ ะประเภท ม.2 1. อภปิ รายระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ ระบบเศรษฐกจิ แบบตา่ งๆ 2. ยกตัวอย่างทสี่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ หลกั การและผลกระทบการพึ่งพาอาศัยกัน การพึ่งพาอาศัยกัน และการแข่งขันกัน และการแขง่ ขนั กันทางเศรษฐกิจในภมู ภิ าค ทางเศรษฐกจิ ในภมู ิภาคเอเชีย เอเชยี 3. วิเคราะห์การกระจายของทรพั ยากร การกระจายของทรพั ยากรในโลกที่สง่ ผลตอ่
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ในโลกทีส่ ง่ ผลต่อความสมั พนั ธท์ าง ความสมั พันธท์ างเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ เชน่ นำ้ มนั ป่าไม้ ทองค า ถ่านหิน แร่ เปน็ ตน้ 4. วเิ คราะหก์ ารแขง่ ขันทางการคา้ การแขง่ ขันทางการคา้ ในประเทศและ ในประเทศและต่างประเทศส่งผลตอ่ ต่างประเทศ คุณภาพสนิ ค้า ปริมาณการผลิต และ ราคาสนิ ค้า บทบาทหนา้ ทขี่ องรฐั บาลในการพฒั นา ม.3 1. อธิบายบทบาทหน้าท่ีของรฐั บาลใน ประเทศในด้านต่าง ๆ ระบบเศรษฐกจิ บทบาทและกจิ กรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล เช่นการผลติ สินคา้ และบริการสาธารณะท่ี เอกชนไม่ดำเนนิ การ เช่นไฟฟา้ ถนน โรงเรยี น - บทบาทการเก็บภาษีเพ่ือพฒั นาประเทศ ของรัฐในระดับต่าง ๆ - บทบาทการแทรกแซงราคาและ การควบคมุ ราคาเพ่ือการแจกจ่ายและการ จดั สรรในทางเศรษฐกจิ บทบาทอ่ืนของรฐั บาลในระบบเศรษฐกิจใน สังคมไทย 2. แสดงความคดิ เห็นตอ่ นโยบาย และ นโยบาย และกจิ กรรมทางเศรษฐกิจของ ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง กิจกรรมทาง เศรษฐกจิ ของรัฐบาลท่ีมตี ่อ รฐั บาล บคุ คล กลุ่มคน และประเทศชาติ 3. อภปิ รายบทบาทความสำคัญของ บทบาทความสำคัญของการรวมกลุม่ ทาง การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ลกั ษณะของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ กลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ในภูมิภาคต่างๆ 4. อภปิ รายผลกระทบทเ่ี กดิ จากภาวะ ผลกระทบทเ่ี กิดจากภาวะเงินเฟอ้ เงินฝืด เงินเฟ้อ เงนิ ฝดื ความหมายสาเหตุและแนวทางแกไ้ ขภาวะ เงนิ เฟอ้ เงนิ ฝืด 5. วเิ คราะห์ผลเสียจากการวา่ งงาน และ สภาพและสาเหตปุ ญั หาการวา่ งงาน ผลกระทบจากปญั หาการวา่ งงาน แนวทางแกป้ ญั หา แนวทางการแก้ไขปญั หาการว่างงาน 6. วิเคราะห์สาเหตุและวิธีการกีดกันทาง การคา้ และการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ
ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง การค้าในการคา้ ระหวา่ งประเทศ สาเหตุและวิธีการกีดกนั ทางการคา้ ในการค้า ระหวา่ งประเทศ ม.4–ม.6 1. อธิบายบทบาทของรัฐบาลดา้ นนโยบาย บทบาทของนโยบายการเงินและการคลงั ของ การเงนิ การคลังในการพฒั นาเศรษฐกิจ รฐั บาลในดา้ น ของประเทศ - การรกั ษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ - การสรา้ งการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ - การรักษาดลุ การคา้ ระหว่างประเทศ - การแทรกแซงราคาและการควบคุม ราคา รายรับและรายจ่ายของรัฐท่มี ีผลต่อ งบประมาณ หนส้ี าธารณะ การพัฒนาทาง เศรษฐกจิ และคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน - นโยบายการเกบ็ ภาษปี ระเภทตา่ ง ๆ และการใชจ้ ่ายของรัฐ - แนวทางการแก้ปญั หาการวา่ งงาน ความหมาย สาเหตุ และผลกระทบทเี่ กิดจาก ภาวะทางเศรษฐกิจ เช่น เงนิ เฟอ้ เงนิ ฝดื ตวั ช้ีวดั ความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ เชน่ GDP , GNP รายได้เฉลย่ี ตอ่ บุคคล แนวทางการแก้ปญั หาของนโยบายการเงนิ การคลงั 2. วิเคราะห์ผลกระทบของการเปิดเสรีทาง • ววิ ัฒนาการของการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจใน เศรษฐกิจในยคุ โลกาภวิ ัตนท์ ่มี ีผลต่อสังคมไทย ยุคโลกาภิวตั น์ของไทย • ปัจจัยทางเศรษฐกจิ ที่มีผลตอ่ การเปิดเสรีทาง เศรษฐกจิ ของประเทศ • ผลกระทบของการเปิดเสรีทางเศรษฐกจิ ของ ประเทศท่ีมตี ่อภาคการเกษตรภาคอุตสาหกรรม ภาค การค้าและบรกิ าร • การคา้ และการลงทนุ ระหว่างประเทศ • บทบาทขององคก์ รระหว่างประเทศในเวที การเงนิ โลกท่ีมผี ลกบั ประเทศไทย 3. วิเคราะห์ผลดี ผลเสียของความร่วมมอื แนวคิดพืน้ ฐานที่เก่ยี วขอ้ งกับการค้าระหวา่ ง ทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศในรปู แบบ ประเทศ ต่าง ๆ บทบาทขององคก์ ารความรว่ มมอื ทาง เศรษฐกิจท่ีสำคัญในภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222