Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ

วิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ

Published by areena madngah, 2023-01-29 07:19:38

Description: สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

Search

Read the Text Version

รายงานวิจัย การพัฒนาทกั ษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยใชว้ ธิ ีการจดั การเรยี นรู้ แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับนกั เรยี น ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรยี นบ้านปนั จอร์ อำเภอควนโดน จงั หวดั สตลู สไุ ลลา หมนั เสน็ รายงานการวิจัยน้เี ป็นส่วนหนงึ่ ของรายวชิ าปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา 4 ระดบั ปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาไทย คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา ปกี ารศกึ ษา 2565

ชือ่ วจิ ยั การพัฒนาทกั ษะการอ่านออกเสียงคำควบกลำ้ แท้ โดยใชว้ ธิ ีการ จัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning รว่ มกับแบบฝกึ ทกั ษะ ผวู้ จิ ัย สำหรบั นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบา้ นปนั จอร์ สาขาวชิ า อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล นางสาวสุไลลา หมันเสน็ . ภาษาไทย คณะกรรมการท่ีปรึกษา กรรมการ (อาจารยธ์ วัลรัตน์ พรหมวิเศษ) (อาจารยน์ เิ ทศก์ประจำหลักสูตร) กรรมการ (นางสอฝยี ๊ะ หมาดวัง) (ครพู ีเ่ ลี้ยง) รายงานการวจิ ัยนเี้ ปน็ สว่ นหนึง่ ของรายวชิ าการปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา 4 ระดับปรญิ ญาตรี สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา ปีการศึกษา 2565

ก หัวขอ้ วจิ ยั พฒั นาทักษะการอา่ นออกเสยี งคำควบกล้ำแท้ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนร้แู บบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียนั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จงั หวดั สตูล ชื่อผ้วู จิ ยั สุไลลา หมนั เส็น คณะ/หน่วยงาน มนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา ปกี ารศึกษา 2565 บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรียนบา้ นปนั จอร์ อำเภอควนโดน จังหวดั สตลู 2) เพื่อศกึ ษาความพึงพอใจ ของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรยี นบา้ นปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวดั สตลู กลมุ่ ตัวอย่างทใี่ ช้ในการวจิ ัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จำนวน 22 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบยกกลุ่ม (Cluster Random Sampling) จำนวน 1 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียง คำควบกล้ำแท้ 2) แบบฝึกทักษะ การอา่ นออกเสียงคำควบกล้ำแท้ 3) แบบทดสอบการอ่านก่อนเรียน และหลังเรียนคำที่มี ร ควบกล้ำ, ล ควบกล้ำ , ว ควบกล้ำ และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่ารอ้ ยละ ค่าเฉลยี่ ( X ) คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และ T - test ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยใช้วิธีการจัดการ เรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน บ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยกอนเรียนนักเรียนมีคะแนน เฉลี่ย 19.60 คะแนน มีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 3.13 และหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 24.90 คะแนน มีส วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท ากับ 2.54 มีคาการทดสอบที (t - test) เท่ากับ 18.88 และมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) นักเรียนมีความพึงพอใจตอแบบฝกทักษะ การอ่าน ออกเสียงคำควบกล้ำแท้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.10, S.D. = 0.81) และเมื่อพิจารณา เป็นรายด้าน พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ ในภาพรวมอยู่ในระดบั มาก (  = 4.10, S.D. = 0.81) และเมอื่ พิจารณาเปน็ รายด้าน พบว่า นักเรยี น มีความพึงพอใจด้านแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ มีความน่าสนใจ และสะดวก ต่อการใช้งานของผู้เรียน อยู่ในระดับมาก (  = 4.27, S.D. = 0.87) รองลงมาคือ ด้านนักเรียนชอบ แบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ อยู่ในระดับมาก (  = 4.23, S.D. = 0.85) , ดา้ นนกั เรยี นสามารถฝึกอา่ นออกเสยี งคำควบกลำ้ แท้ จากแบบฝกึ ทักษะได้ (  = 4.18

ข S.D. = 0.98) , ด้านแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ มีความเหมาะสมของขนาด ตัวอักษร และการใช้สี อยู่ในระดับมาก (  = 4.05, S.D. = 0.77) และด้านแบบฝึกทักษะ การอ่าน ออกเสียงคำควบกล้ำแท้ มีเนื้อหาชัดเจน เข้าใจง่ายและมีแบบฝึกหัดท้ายบทที่น่าสนใจ มีความ พึงพอใจในระดบั มาก (  = 3.77, S.D. = 0.60) คำสำคญั : แบบฝึกทกั ษะ การอา่ นออกเสยี งคำควบกล้ำแท้, วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning , นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4

ค Research Title Develop the skills of reading aloud the real diphthongs. by using a learning management method Active Learning in Researcher combination with skill exercises For those students in Faculty/Section Prathomsuksa 4, Ban Pan Jore School, Khuan Don District, University Satun Province Year Sulaila Mansen Humanity and Social Science Yala Rajabhat 2022 Abstract The objectives of this research were 1 ) to develop the skill of reading aloud with genuine diphthongs. by using an Active Learning learning management method together with a skill exercise. for students Grade 4 , Ban Panjore School, Khuan Don District, Satun Province 2) To study the students' satisfaction with the Active Learning method together with the skill exercises. for students Grade 4 , Ban Pan Jore School, Khuan Don District, Satun Province The sample group used in this research was 22 students in Prathomsuksa 4/1 at Ban Panjore School, Khuan Don District, Satun Province, obtained by Cluster Random Sampling for 1 classroom. The research instruments were 1) the learning management plan on the development of pronounciation skills 2) the practice form of reading aloud the real diphthongs 3) the reading test before learning and after learning the diphthong. and 4) the student satisfaction assessment form with the skill exercises. Pronouncing the real diphthongs The statistics used in the data analysis were percentage, mean ( X ), standard deviation (S.D.), and T - test. The results of the research showed that 1) the achievement of reading aloud the real diphthongs by using an Active Learning learning management method together with a skill exercise. For elementary school 4th grade students at Ban Panjore School, Khuan Don District, Satun Province, after school is higher than before. Before school, students had a mean score of 19.60 with a standard deviation of 3.13, and after school had a mean score of 24.90 with a standard deviation of 2.54, a t-test value of 18.88, and had an educational significance. Statistics at the .05 level and 2) the students were satisfied with the practice of reading and pronunciation skills of genuine diphthongs.

ง Overall, it was at a high level ( X = 4.10, S.D. = 0 . 81) . And when considering each aspect, it was found that the students were satisfied with the skill exercises. Pronouncing the real diphthongs Overall, it was at a high level ( X = 4.10, S.D. = 0.81) and when considering each aspect, it was found that the students were satisfied with the skill training. Pronouncing the real diphthongs It is interesting and convenient for students to use. It was at a high level ( X = 4.27, S.D. = 0.87), followed by students who liked the skill exercises. Pronouncing the real diphthongs At a high level ( X = 4.23, S.D. = 0.85) , students can practice reading aloud the real diphthongs. From the skill practice form ( X = 4.18 , S.D. = 0.98) , in the skill practice form Pronouncing the real diphthongs There was an appropriateness of font size and color usage at a high level ( X = 4.05, S.D. = 0.77). Pronouncing the real diphthongs have clear content It is easy to understand and has interesting exercises at the end of the chapter. Satisfaction at a high level ( X = 3.77, S.D. = 0.60) Keywords skill exercises, reading aloud genuine diphthongs, method of learning managementActive Learning , Grade 4 students.

จ กติ ติกรรมประกาศ งานวิจัยฉบับนี้ สำเร็จลงได้ด้วยความกรุณาอย่างยิ่งจากอาจารย์ธวัลรัตน์ พรหมวิเศษ อาจารย์ที่ปรึกษา ที่ได้ให้คำแนะนำและคำปรึกษา ตลอดจนตรวจแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความ เอาใจใส่อยา่ งย่งิ จนทำให้งานวิจยั เสรจ็ สมบรู ณ์ ผวู้ จิ ัยขอกราบขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสงู ไว้ ณ ที่น้ี ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญ นางสอฝีย๊ะ หมาดวัง นางนุสรีย์ สิตะรุโณ และนางสาวซอฟียะห์ สุวาหลำ ที่กรุณาตรวจสอบคุณภาพของเครือ่ งมือการวิจยั ช่วยแก้ไขข้อบกพร่อง และให้คำแนะนำใน การสร้างเครื่องมือวิจัยให้ถูกต้อง สมบูรณ์ยิ่งขึ้น รวมทั้งบุคคลที่ผู้วิจัยได้อ้างอิงทางวิชาการตามท่ี ปรากฏในบรรณานุกรม ขอขอบพระคุณผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล และ นางสอฝีย๊ะ หมาดวัง ครูพี่เลี้ยงที่ให้ความอนุเคราะห์และอํานวยความสะดวกในการเก็บข้อมูลวิจัย และขอขอบใจนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ที่ให้ ความร่วมมอื ในการเกบ็ ข้อมูลวิจัยในครั้งน้ี ขอขอบคุณ กัลยาณมติ รทกุ ท่านสำหรบั คำแนะนำ ความชว่ ยเหลือ และกําลงั ใจในการทำวิจัย ฉบับนี้จนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี นอกจากนี้ยังมีผู้ที่ให้ความร่วมมือช่วยเหลืออีกหลายท่าน ซึ่งผู้วิจัย ไม่สามารถกล่าวนามในที่นี้ได้ทั้งหมด จึงขอขอบคุณทุกท่านเหล่านี้ไว้ ณ โอกาสน้ีด้วยคุณค่า และประโยชนอ์ ันพงึ มจี ากงานวจิ ัยฉบบั น้ีผู้วิจัยขออุทิศแด่ผู้มีพระคณุ ทุก ๆ ท่าน สไุ ลลา หมนั เสน็ กันยายน 2565

ฉ สารบญั หนา้ บทคดั ย่อภาษาไทย ก บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ค กิตติกรรมประกาศ จ สารบญั ฉ สารบัญ (ตอ่ ) ช สารบญั ตาราง ซ สารบญั ภาพ ฌ บทท่ี 1 บทนำ 1 1 1.1 ภูมหิ ลัง 3 1.2 วตั ถุประสงค์ของการวิจยั 3 1.3 สมมตฐิ านของการวจิ ยั 3 1.4 ขอบเขตการวิจัย 4 1.5 ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะได้รับ 4 1.6 นิยามศพั ท์เฉพาะ 5 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง 2.1 หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กล่มุ สาระ 5 5 การเรียนรภู้ าษาไทย 5 2.2 การอ่าน 5 2.3 คำควบกล้ำ 5 2.4 การจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) 5 2.5 แบบฝึกทกั ษะ 24 2.6 วิจัยท่เี กยี่ วข้อง 24 บทท่ี 3 วิธีดำเนินการวิจยั 24 3.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 26 3.2 เคร่ืองมือและวธิ ีสรา้ งเครื่องมือการวจิ ัย 26 3.3 วธิ ดี ำเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 27 3.4 วธิ กี ารวเิ คราะห์ข้อมลู 3.5 สถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

สารบัญ (ตอ่ ) ช บทที่ 4 ผลการวิจยั หนา้ 4.1 สญั ลกั ษณ์ทางสถิตใิ นการวิเคราะห์ข้อมลู 4.2 ผลการวิจัย 31 31 บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 31 5.1 วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย 34 5.2 กลุม่ ตัวอยา่ ง 34 5.3 เคร่อื งมือการวิจัย 34 5.4 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 34 5.5 สรปุ ผลการวิจัย 35 5.6 อภิปรายผลการวจิ ัย 35 5.7 ขอ้ เสนอแนะ 35 37 บรรณานกุ รม 38 ภาคผนวก 42 43 ภาคผนวก ก รายนามผูเ้ ชี่ยวชาญ 45 ภาคผนวก ข การหาคุณภาพของเครอ่ื งมอื 60 ภาคผนวก ค การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 63 ภาคผนวก ง แผนการจดั การเรยี นรู้ 112 ภาคผนวก จ เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย 141 ภาคผนวก ฉ ภาพแสดงการจัดการเรียนรู้ 145 ประวัติยอ่ ผู้วิจัย

ซ สารบญั ตาราง เรอ่ื ง หน้า ตารางที่ 1 เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการอา่ นออกเสียงคำควบกล้ำแท้ ตารางที่ 2 วเิ คราะหข์ อ้ มูลเพอื่ ประเมินความพึงพอใจของนักเรยี นทีม่ ีต่อแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสยี งคำควบกลำ้ แท้ ตารางท่ี 3 ผลการประเมนิ ดัชนคี วามสอดคล้องของเคร่ืองมือ (IOC) ของแบบประเมนิ ความ สอดคล้องของชุดคำศัพทแ์ บบทดสอบการอา่ นก่อน – หลังเรยี น การอ่านออกเสียง คำท่มี ี ร ควบกล้ำ ตารางท่ี 4 ผลการประเมนิ ดชั นคี วามสอดคลอ้ งของเครื่องมือ (IOC) ของแบบประเมนิ ความ สอดคล้องของชุดคำศพั ทแ์ บบทดสอบการอ่านก่อน – หลงั เรยี น การอ่านออกเสยี ง คำท่ีมี ล ควบกลำ้ ตารางท่ี 5 ผลการประเมนิ ดชั นีความสอดคลอ้ งของเครอื่ งมือ (IOC) ของแบบประเมินความ สอดคลอ้ งของชดุ คำศัพทแ์ บบทดสอบการอ่านก่อน – หลงั เรยี น การอ่านออกเสยี ง คำทม่ี ี ว ควบกลำ้ ตารางท่ี 6 ผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง การอ่านคำ ทีม่ ี ร ควบกล้ำ สำหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนบ้านปนั จอร์ อำเภอควนโดน จงั หวดั สตูล ตารางท่ี 7 ผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรอื่ ง การอ่านคำ ที่มี ล ควบกล้ำ สำหรบั นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรยี นบา้ นปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวดั สตูล ตารางท่ี 8 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 เรอื่ ง การอา่ นคำ ท่มี ี ร ควบกลำ้ สำหรับนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรยี นบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จงั หวัดสตูล ตารางที่ 9 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ สำหรับนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรียนบ้านปนั จอร์ อำเภอควนโดน จงั หวัดสตลู ตารางที่ 10 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลเพอื่ ประเมินผลการพฒั นาทักษะการอา่ นออกเสยี ง คำควบกลำ้ แท้ โดยใช้วิธีการจัดการเรยี นรแู้ บบ Active Learning ร่วมกับแบบฝกึ ทักษะ ตารางที่ 11 การวเิ คราะหข์ ้อมลู เพ่อื ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนทม่ี ีตอแบบฝกทักษะ การอา่ นออกเสยี งคำควบกลำ้ แท้

ฌ สารบัญภาพ หน้า ภาพท่ี 1 ทดสอบการอ่านกอ่ นเรียน 142 ภาพท่ี 2 ทดสอบการอ่านหลงั เรยี น 142 ภาพท่ี 3 จัดกระบวนการเรียนการสอน เรอ่ื ง คำทมี่ ี ร ควบกล้ำ 142 ภาพที่ 4 กิจกรรม “หนูน้อยนกั อา่ น ผ่านแวน่ ขยาย” 142 ภาพที่ 5 จดั กระบวนการเรยี นการสอน เรื่อง คำท่มี ี ล ควบกลำ้ 142 ภาพที่ 6 กจิ กรรม “รกั การอา่ น คำควบ ล ” 142 ภาพที่ 7 จดั กระบวนการเรยี นการสอน เร่ือง คำทีม่ ี ว ควบกลำ้ 143 ภาพท่ี 8 กิจกรรม “กลอ้ งหัดอา่ น คำควบ ว” 143 ภาพที่ 9 กิจกรรม “กลอ้ งหัดอ่าน คำควบ ว” 143 ภาพที่ 10 นกั เรียนฝึกอ่านออกเสยี งคำควบกล้ำแท้จากแบบฝึกทกั ษะ 143 ภาพท่ี 11 นักเรยี นทำแบบฝึกหัดจากแบบฝกึ ทกั ษะการอ่านออกเสียงคำควบกลำ้ แท้ 143 ภาพที่ 12 นกั เรียนทำแบบประเมินความพึงพอใจท่มี ตี ่อแบบฝึกทักษะ 143

บทที่ 1 บทนำ ภูมิหลงั ภาษาไทยเป็นเอกลกั ษณป์ ระจำชาติ เป็นสมบัตทิ างวัฒนธรรมอนั ก่อให้เกดิ ความเป็นเอกภาพ และเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร ความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงานและดำรงชีวิตร่วมกัน ในสังคม และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ทางสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นสื่อที่แสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี ชีวทัศน์ โลกทัศน์ และสุนทรียภาพ โดยบันทึกไว้เป็นวรรณคดีและวรรณกรรมอันล้ำค่า ภาษาไทยจึงเป็นสมบัติของชาติที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ เพื่ออนุรักษ์และสืบสานให้คงอยู่คู่ชาติไทย ตลอดไป (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) กลา่ วได้วา่ ภาษาไทยมคี วามสำคญั ในฐานะภาษาประจำชาติ อันเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมของคนไทย เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร และเครื่องมือที่ใช้ใน การแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเอง จึงมีความสำคัญยิ่งที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ และควรอนรุ กั ษภ์ าษาไทยสืบไป จากความสำคัญของภาษาไทย สามารถสรุปได้ว่า ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติ อันเป็น สมบัติทางวัฒนธรรมของคนไทย เป็นเครื่องมือที่ใชในการติดตอสื่อสาร เชื่อมความสัมพันธ์ดีต่อกัน อีกทั้งภาษาไทยยังเป็นเครื่องมือที่ใชในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเอง ดังนั้น ภาษาไทยจงึ มคี วามสำคัญอย่างย่งิ ท่ีควรคาแกการเรียนรู และควรอนุรักษความงดงามของภาษาใหคง อยู่คูชาตไิ ทยสืบไป ภาษาเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน และเป็นเครื่อง อำนวยความสะดวกในการเรียนรูใ้ นด้านการศึกษา ภาษาจัดเป็นวิชาทักษะอันเปน็ พื้นฐานนำไปสูก่ าร เรียนรู้วิชาอื่น ๆ ผู้ที่มีความสามารถหรือทักษะทางภาษาดีจะสามารถปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้ดีด้วย อีกประการหนึ่งการติดต่อสื่อสารระหว่างมนุษย์ด้วยกันจะสัมฤทธิ์ผล ได้นั้นขึ้นอยู่กับการใช้ภาษาที่ สื่อสารด้วยการพูดหรือภาษาเขียนก็ได้ ในส่วนของการสื่อสารด้วยภาษาพูดนั้นมีความสำคัญที่การ ออกเสียง ถ้าผู้พูดออกเสียงได้อย่างถูกต้องคล่องแคล่ว ชัดเจน ก็จะทำให้การสื่อสารเป็นไปตาม วตั ถปุ ระสงคแ์ ต่ถ้าหากออกเสียงไม่ชัดเจนหรือผดิ เพี้ยนไปก็จะทำให้การสื่อความหมายผิดตามไปด้วย ซ่งึ ส่วนใหญม่ ักจะประสบปัญหาในประเดน็ ของการออกเสยี ง \"ควบกลำ้ \" ด้านการเรียนการสอน กรมวิชาการ (2546 : 168) ได้กล่าวถึงความสำคัญของอักษร ควบกล้ำไว้ว่า อักษรควบเป็นลักษณะเฉพาะที่สำคัญอย่างหนึ่งของภาษาไทย ปัจจุบันคนส่วนใหญ่ ไม่ค่อยให้ความสำคัญต่อการออกเสียงคําที่ใช้อักษรควบให้ถูกต้องชัดเจน แม้แต่คนที่อยู่ในวง การศกึ ษาหรอื บคุ คลท่ีมีตำแหน่งหนา้ ที่สำคญั ของประเทศก็จะพูดตามสบายขาดความระมัดระวังใน

2 เรอื่ งการออกเสียงคาํ ประเภทน้ีเท่าที่ควร ซง่ึ จะเป็นตัวอยา่ งให้เยาวชนรนุ่ หลงั ไม่ให้ความสำคัญต่อการ ออกเสยี งคําไทยให้ถูกต้องด้วยคําที่ใช้อักษรควบมีลักษณะทำให้เสียงในภาษาไทยมีความไพเราะแสดง ถึงความประณีตของการออกเสียงคาํ เพราะการออกเสียงคําควบกล้ำจะแตกต่างจากการออกเสียงคํา ที่มีพยัญชนะตัวเดียว เช่น คําว่า “ฟัน” กับคําว่า “ควัน” หากผู้พูด ไม่ระมัดระวังในการออกเสียงจะ ออกเสียงผิดทำให้ความหมายผิดไปด้วยและการออกเสียงผิด ๆ จะโดยพลั้งเผลอหรือความไม่ใส่ใจ ก็ตาม ย่อมแสดงถึงความเป็นผู้ไม่สันทัดในการใช้ภาษา การไม่ระมัดระวังออกเสียง อ่านหรือพูดให้ ชัดเจน นอกจากจะทำให้การสื่อความหมายผิดพลาดแล้วยังทำให้เสียบุคลิกภาพของผู้พูดหรือผู้อ่าน นั้นด้วย ซึ่งในเรื่องการแก้ไขปญั หาดงั กล่าวนี้ ฐะปะนีย์ นาครทรรพ (2539 : 57 – 58) ได้ให้แนวคดิ ไวว้ า่ เสยี งท่อี อกผดิ เพี้ยนไปเชน่ น้เี ป็นสิ่งทีแ่ ก้ไขได้ โดยฝกึ ออกเสยี งให้ถูกตอ้ งแล้วฝกึ บ่อย ๆ จนไดผ้ ล ปัญหาการอ่านที่พบในการเรียนการสอนอ่านนั้นมีสาเหตุสำคัญ 2 ประการ ประการที่หนึ่ง เกดิ จากตัวนักเรยี นในเร่ืองทศั นคติที่มีต่อการเรียนภาษาไทยโดยเชอื่ ว่าเรยี นภาษาไทยเป็นเร่ืองน่าเบ่ือ หน่ายอกี ทั้งนักเรยี น ยังไมช่ อบการอา่ นหนงั สือทำให้ไม่ไดร้ ับการฝึกฝนทักษะในการอา่ น และประการ ที่สองเกิดจากตัวครูผู้สอนซึ่งขาดประสบการณ์และขาดความชำนาญในการสอน เช่น ไม่เข้าใจ จุดประสงค์ของเรื่องที่จะสอน มีเทคนิคการสอนที่ไม่หลากหลาย ไม่คำนึงถึงความแตกต่างของ นักเรียน นอกจากนี้การขาดแคลนสื่อการสอนก็ยังเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้การสอนอ่านไม่ประสบ ความสำเร็จด้วยเช่นกัน ดังนั้นกระบวนการในการจัดการเรียนภาษาไทยของครูผู้สอนจึงควรส่งเสริม ให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านหนังสือโดยเลือกใช้เทคนิคการสอนที่มีความ หลายหลายและมีสื่อการ สอนที่นา่ สนใจ เพือ่ ให้นักเรยี นสนุกกับการอ่านหนังสือและไม่เบ่ือหน่ายต่อการเรียน การจัดการเรียน การสอนมีหลากหลายวธิ ี เช่นรปู แบบการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ความจำ รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้น กระบวนการคิดสร้างสรรค์ รูปแบบการเรียนการสอนทางตรง รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักร การเรยี นรู้ การเรยี นการสอนแบบรว่ มมือ และการเรยี นการสอนแบบ Active Learning การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning คือ กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ ผู้เรียนได้ลงมือทำและมีกระบวนการคิดสร้างความรู้ความเข้าใจจากการคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ประเมินค่าและสามารถสรุปองค์ความรู้จากส่ิงท่ีได้จากการลงมือปฏบิ ตั ิจริงโดยใช้กิจกรรม ในชั้นเรียนที่ผู้สอนต้องคำนึงถึงความต้องการของผู้เรียนเป็นสำคัญและนำกิจกรรมมาบูรณาการกับ รายวิชาที่สอนเพื่อให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์สูงสุด ดังที่ ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ (2551, หน้า1) กลา่ ววา่ การเรยี นรเู้ ชงิ รุกเปน็ การเรยี นรู้ทีผ่ ู้เรยี นมีส่วนร่วมในการเรียน ดำเนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ ในการ เรียนรู้อย่างมีความหมาย ซึ่งวิธีการเรียนในระดับลึก ผู้เรียนจะสามารถสร้างความเข้าใจและค้นหา ความหมายของเนื้อหาสาระ โดยเชื่อมกับประสบการณ์เดิมที่มี สามารถแยกแยะความรู้เก่าและ ความรใู้ หม่และนำมาตอ่ เตมิ และสร้างความคดิ ของตนเอง ซึ่งเรยี กว่า การเรียนรู้ทีเ่ กดิ ข้นึ จากการที่ผู้วิจัยได้จัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปนั จอร์ พบว่า นักเรยี นมีปญั หาด้านการออกเสียงคำควบกล้ำแท้ เน่ืองจากการออกเสียง คำควบกล้ำจะออกเสียงยากกว่าการออกเสียงที่ไม่มีตัวควบรวมทั้งไม่ได้รับการฝึกฝนให้ออกเสียง

3 อย่างถูกต้อง ซึ่งปัญหาดังกล่าวจึงควรได้รับการแก้ไขเพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านการอ่านของนักเรียน ดงั น้นั ผูว้ ิจัยจงึ ใชว้ ธิ กี ารจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning รว่ มกับแบบฝกึ ทักษะเพื่อเป็นส่ือท่ีใช้ใน การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบา้ นปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวดั สตูล วตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั 1. เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวดั สตูล 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนตอ่ การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับ แบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จงั หวดั สตูล สมมตฐิ านการวิจยั 1. ความสามารถดา้ นการอา่ นออกเสยี งคำควบกลำ้ แท้ โดยใช้วิธีการจดั การเรยี นรูแ้ บบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จงั หวัดสตลู 2. นักเรยี นมีความพึงพอใจตอ่ การเรยี นดว้ ยวิธีการจดั การเรยี นรูแ้ บบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จงั หวัดสตลู ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากร ประชากรทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษาวจิ ัยครั้งน้เี ป็นนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จำนวน 2 ห้องเรียน ได้แก่ นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 จำนวน 22 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/2 จำนวน 22 คน รวมท้งั ส้ิน 44 คน 2. กล่มุ ตวั อยา่ ง กลุ่มตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการศกึ ษาวจิ ัยครง้ั นเ้ี ปน็ นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4/1 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จำนวน 22 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่ม แบบยกกลมุ่ (Cluster Random Sampling) จำนวน 1 ห้องเรียน 3. ตัวแปรทีศ่ กึ ษา 1) ตัวแปรต้น ได้แก่ การสอนโดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning สำหรับ นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จงั หวดั สตลู 2) ตัวแปรตาม ได้แก่ ทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ของนักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตลู

4 4. เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ คำควบกล้ำแท้ ซึ่งมีเนื้อหา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ดงั นี้ 1. คำควบกลำ้ ร 2. คำควบกลำ้ ล 3. คำควบกล้ำ ว ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ บั 1. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ 2. ได้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ที่ผ่านการพัฒนาและหาประสิทธิภาพ จากผ้เู ชย่ี วชาญ 3. เปน็ แนวทางในการศึกษาสำหรับผทู้ ี่สนใจในเรอื่ งลกั ษณะเดียวกัน นิยามศัพทเ์ ฉพาะ ทกั ษะการอา่ น หมายถึง ความสามารถในการอ่านออกเสียงของนักเรียน เปน็ การอ่านเพ่ือ ฝึกความถูกตอ้ งและความคล่องแคล่วในการอา่ นออกเสียงให้ถูกต้องตามอักขรวิธี คำควบกล้ำ หมายถึง พยัญชนะสองตัวเขียนเรียงกันอยู่ต้นพยางค์ และใช้สระเดียวกัน เวลาอ่านออกเสียงควบกล้ำเป็นพยางค์เดียวกันเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์นั้นจะผันเป็นไปตามเสียง พยญั ชนะตวั หนา้ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ คำควบกลำ้ แท้และคำควบกลำ้ ไมแ่ ท้ แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยเรียงลำดับเนื้อหาจากง่ายไปหายากสำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรียนบา้ นปนั จอร์ อำเภอควนโดน จงั หวดั สตูล ได้แก่ 1. แบบฝกึ ทกั ษะ ชดุ ท่ี 1 ชวนกนั อ่าน คำควบ ร 2. แบบฝึกทกั ษะ ชดุ ท่ี 2 ฉลาดคดิ พชิ ิตคำควบ ล 3. แบบฝึกทักษะ ชุดท่ี 3 สนุกสนาน คำควบ ว การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning หมายถึง การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคญั เน้นการลงมอื ปฏิบัตกิ ิจกรรมท่ีเกิดจากประสบการณ์ตรง นักเรยี น หมายถึง ผทู้ ก่ี ำลังศกึ ษาในระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรยี นบา้ นปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

5 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้อง การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning รว่ มกับแบบฝึกทกั ษะ สำหรับนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ในครั้งน้ี ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ เอกสารและงานวิจัย ทเ่ี ก่ียวขอ้ งเพือ่ เป็นแนวทางในการทำการศึกษาตามลำดบั ดังนี้ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 1.1 ความจำเป็นของการเรียนภาษาไทย 1.2 การเรยี นรู้ในภาษาไทย 1.3 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 1.4 คณุ ภาพผูเ้ รยี น 2. การอ่าน 2.1 ความหมายของการอา่ น 2.2 ความสำคัญของการอ่าน 2.3 จุดมุง่ หมายของการอา่ น 2.4 ประโยชน์ของการอ่าน 3. คำควบกลำ้ 3.1 ความหมายของคำควบกลำ้ 3.2 ประเภทของคำควบกลำ้ 3.3 ปัญหาในการอา่ นออกเสียงคำควบกล้ำ 3.4 หลกั และวธิ ีการแกป้ ญั หาการออกเสียงคำควบกลำ้ 4. การจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ (Active Learning) 4.1 ความหมายของการจัดการเรยี นรูเ้ ชงิ รุก (Active Learning) 4.2 ความสำคัญของการจดั การเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) 4.3 กระบวนการออกแบบกิจกรรมจัดการเรียนรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) 5. แบบฝึกทักษะ 5.1 ความหมายและความสำคัญของแบบฝึกทกั ษะ 5.2 ลักษณะของแบบฝึกทักษะที่ดี 5.3 หลกั การสร้างแบฝึกทักษะ 5.4 สว่ นประกอบของแบบฝกึ ทกั ษะ 5.5 ประโยชน์ของแบบฝกึ ทักษะ 6. วิจัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง 4.1 วจิ ัยทเี่ กี่ยวข้องกับการอ่านออกเสยี งคำควบกลำ้ 4.2 วิจยั ท่ีเก่ียวข้องกบั การจัดการเรียนรูแ้ บบเชิงรกุ (Active Learning) 4.3 วิจัยท่เี กย่ี วขอ้ งกับแบบฝกึ ทักษะ

6 1. หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สามารถสรุปได้ดังน้ี (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 : 1 - 6) 1.1 ความจำเป็นของการเรยี นภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็น เอกภาพและเสริมสร้างบคุ ลกิ ภาพของคนในชาติให้มคี วามเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อส่อื สาร เพื่อสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็น สอื่ แสดงภูมปิ ัญญาของบรรพบุรุษ ด้านวฒั นธรรม ประเพณี และสุนทรยี ภาพ เป็นสมบัติล้ำค่าควรแก่ การเรยี นรู้ อนรุ กั ษ์ และสืบสานให้ คงอยคู่ ูช่ าติไทยตลอดไป 1.2 การเรยี นรูใ้ นภาษาไทย ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชำนาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรยี นรอู้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ และเพื่อนำไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ โดยมีสาระการเรียนรู้ ดังน้ี 1.2.1 การอ่าน การอ่านออกเสียงคำ ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คำประพันธ์ ชนิดต่าง ๆ การเขียนในใจเพื่อสร้างความเขา้ ใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งที่อ่าน เพ่อื นำไปปรับใชใ้ นชีวิตประจำวัน 1.2.2 การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวธิ ี การเขยี นสื่อสาร โดยใช้ถ้อยคำและรปู แบบ ต่าง ๆ ของการเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่าง ๆ การเขียนตาม จินตนาการ วิเคราะห์วจิ ารณ์และเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์ 1.2.3 การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดง ความคิดเห็น ความรู้สึก พูดลำดับเรื่องราวต่าง ๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่าง ๆ ท้ังเปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ และการพดู เพ่ือโน้มนา้ วใจ 1.2.4 หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษา ให้ถูกต้อง เหมาะสมกับโอกาสและบุคคล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่าง ๆ และอิทธิพลของ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย 1.2.5 วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล แนวความคิด คุณค่าของงานประพันธ์และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทำความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก เพลงพื้นบ้านที่เป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิด ความซาบซ้ึง และภมู ิใจในบรรพบรุ ษุ ท่ไี ดส้ ัง่ สมสบื ทอดมาจนถึงปัจจุบนั

7 1.3 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แกป้ ญั หาในการดำเนินชวี ติ และมีนสิ ยั รักการเขยี น สาระที่ 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้ าอย่างมี ประสทิ ธิภาพ สาระที่ 3 การฟงั การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรสู้ กึ ในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ สาระที่ 4 หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลง ของภาษาและพลังของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย อยา่ งเหน็ คุณค่าและนำมาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจรงิ 1.4 คุณภาพผู้เรียน จบชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 - อานออกเสียงคำ คําคลองจอง ขอความ เรื่องสั้น ๆ และบทรอยกรองงาย ๆ ไดถูกต้อง คลองแคลว เขาใจความหมายของคําและขอความที่อาน ตั้งคําถามเชิงเหตุผล ลําดับ เหตุการณ คาดคะเนเหตกุ ารณ สรปุ ความรูขอคดิ จากเรื่องที่อาน ปฏิบตั ติ ามคาํ ส่ัง คําอธิบายจากเรื่อง ที่อานได เขาใจความหมายของขอมูล จากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ อานหนังสืออยางสม่ำเสมอ และมมี ารยาทในการอาน - มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจําวัน เขียนจดหมายลาครู เขียนเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ เขียนเรื่องตามจินตนาการ และมีมารยาทใน การเขยี น - เลารายละเอียดและบอกสาระสําคัญ ตั้งคําถาม ตอบคําถาม รวมทั้งพูดแสดง ความคิด ความรูสึก เกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู พูดส่ือสารเลาประสบการณและพูดแนะนําหรือพูดเชิญ ชวนใหผูอ่นื ปฏิบตั ติ าม และมมี ารยาทในการ ฟง ดู และพูด - สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ ความแตกต่างของคำและพยางค์ หน้าท่ี ของคำในประโยค มีทักษะการใชพจนานุกรมในการคนหาความหมายของคํา แตงประโยคงาย ๆ แตงคําคลองจอง แตงคาํ ขวัญ และเลือกใชภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถนิ่ ไดเหมาะสมกับกาลเทศะ - เขาใจและสามารถสรุปขอคิดที่ไดจากการอานวรรณคดแี ละวรรณกรรม เพอ่ื นําไป ใชในชีวิตประจําวนั แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดที ี่อาน รูจักเพลงพื้นบาน เพลงกลอมเด็ก ซึ่งเปน

8 วัฒนธรรมของทองถิ่น รองบท รองเลนสาํ หรับเด็กในทองถ่ิน ทองจาํ บทอาขยานและบทรอยกรองท่ีมี คณุ คาตามความสนใจได้ จบชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 - อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะไดถูกตอง อธิบาย ความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัยของคํา ประโยค ขอความ สํานวนโวหาร จากเรื่องที่อาน เขาใจคําแนะนํา คาํ อธิบายในคูมือตาง ๆ แยกแยะขอคิดเห็นและขอเท็จจรงิ รวมท้ังจบั ใจความสําคัญ ของเรื่องที่อานและนําความรูความคิดจากเรื่องที่อานไปตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิตได มีมารยาทและมนี สิ ยั รกั การอาน และเห็นคุณคาสิ่งทีอ่ าน - มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคํา แตงประโยค และเขียนขอความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใชถอยคําชัดเจนเหมาะสม ใชแผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคิด เพื่อพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ยอความ จดหมายสวนตัว กรอกแบบรายการตาง ๆ เขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็น เขียนเรื่องตามจินตนาการอยาง สรางสรรคและมมี ารยาทในการเขียน - พูดแสดงความรู ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู เลาเรื่องยอหรือสรุปจากเรื่อง ทฟี่ งและดู ตัง้ คําถาม ตอบคําถามจากเรื่องท่ฟี งและดู รวมท้งั ประเมนิ ความนาเชอ่ื ถอื จากการฟงและดู โฆษณาอยางมีเหตุผล พูดตามลําดับขั้นตอนเร่ืองตาง ๆ อยางชัดเจน พูดรายงานหรือประเด็นคนควา จากการฟง การดู การสนทนา และพดู โนมนาวไดอยางมเี หตุผล รวมท้ังมีมารยาทในการดูและพูด - สะกดคาํ และเขาใจความหมายของคํา สํานวน คําพังเพยและสุภาษิต รูและเขาใจ ชนิดและหนาที่ของคําในประโยค ชนิดของประโยคและคําภาษาตางประเทศในภาษาไทย ใชคําราชา ศัพท และคําสุภาพไดอยางเหมาะสม แตงประโยค แตงบทรอยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสุภาพ และกาพยยานี 11 - เขาใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอาน เลานิทานพื้นบาน รองเพลง พื้นบานของทองถิ่น นําขอคิดเห็นจากเรื่องที่อานไปประยุกตใชในชีวิตจริง และทองจําบทอาขยาน ตามท่กี าํ หนดได จบชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 3 - อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะไดถูกตอง เขาใจ ความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย จับใจความสําคัญและรายละเอียดของสิ่งที่อ าน แสดงความคิดเห็นและขอโตแยงเกี่ยวกับเรื่องที่อาน และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด ยอความ เขียนรายงานจากสิ่งที่อานได วิเคราะห วิจารณอยางมีเหตุผล ลําดับความอยางมีขั้นตอนและความ เปนไปไดของเรือ่ งท่อี าน รวมท้งั ประเมนิ ความถูกตองของขอมลู ทใ่ี ชสนับสนนุ จากเรอื่ งท่ีอาน - เขยี นส่ือสารดวยลายมือทีอ่ านงายชดั เจน ใชถอยคําไดถูกตองเหมาะสมตามระดับ ภาษา เขียนคําขวัญ คําคม คําอวยพรในโอกาสตาง ๆ โฆษณา คติพจน สุนทรพจน ชีวประวัติ อัตชีวประวัติและประสบการณตาง ๆ เขียนยอความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมัครงาน เขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรูความคิดหรือโต้แยงอยางมีเหตุผล ตลอดจนเขียนรายงาน การศกึ ษาคนควา และเขียนโครงงาน

9 - พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห วิจารณ ประเมินสิ่งที่ไดจากการฟงและดู นําขอคิดไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ไดจากการศึกษาคนควา อยางเปนระบบ มีศิลปะในการพูด พูดในโอกาสตาง ๆ ไดตรงตามวัตถุประสงค และพูดโนมนาว อยางมีเหตุผล นาเชื่อถือ รวมทั้งมีมารยาทในการฟง ดู และพูด - เขาใจและใชคำราชาศัพท คําบาลีสันสกฤต คําภาษาตางประเทศอื่น ๆ คําทับศัพทและศัพทบัญญัติในภาษาไทย วิเคราะหความแตกตางในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสราง ของประโยครวม ประโยคซอน ลักษณะภาษาที่เปนทางการ กึ่งทางการและไมเปนทางการ และแตงบทรอยกรองประเภท กลอนสภุ าพ กาพย และโคลงสี่สุภาพ - สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน วิเคราะหตัวละครสําคัญ วิถิีชีวิตไทย และคุณคาที่ไดรับจากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พรอมทั้งสรุปความรู ขอคิดเพื่อนําไป ประยกุ ตใชในชวี ิตจรงิ จบชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 6 - อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองเปนทาํ นองเสนาะไดถูกตองและเขาใจ ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อานได วิเคราะหวิจารณเรื่องที่อาน แสดงความคิดเห็น โตแยง และเสนอความคิดใหมจากการอานอยางมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ยอความ และเขียนรายงานจากสิ่งที่อาน สังเคราะหประเมิน ค่า และนําความรูความคิดจากการอานมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ และนาํ ความรูความคิดไปประยุกตใชแกปญหาในการดาํ เนนิ ชีวิต มมี ารยาทและมนี ิสัยรักการอาน - เขียนสื่อสารในรูปแบบตาง ๆ โดยใชภาษาไดถูกตองตรงตามวัตถุประสงค์ ย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบและเนื้อหาที่หลากหลาย เรียงความ แสดงแนวคิดเชิงสรางสรรคโดยใช โวหารตาง ๆ เขียนบันทึก รายงานการศึกษาคนควาตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใชขอมูล สารสนเทศในการอางอิง ผลิตผลงานของตนเองในรูปแบบต าง ๆ ทั้งสารคดีและบันเทิงคดี รวมทง้ั ประเมินงานเขียนของผูอนื่ และนาํ มาพฒั นางานเขียนของตนเอง - ตั้งคําถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู มีวิจารณญาณในการ เลือกเรอ่ื งที่ฟงและดู วิเคราะหวตั ถุประสงค แนวคดิ การใชภาษา ความนาเชื่อถือของเร่ืองท่ีฟงและดู ประเมินสิ่งท่ีฟงและดูแลวนําไปประยุกตใชในการดําเนินชีวิต มีทักษะการพูดในโอกาสตาง ๆ ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ โดยใชภาษาที่ถูกตอง พูดแสดงทรรศนะ โตแยง โนมนาว และเสนอแนวคดิ ใหมอยางมีเหตุผล รวมทง้ั มมี ารยาทใน การฟง ดู และพูด - เขาใจธรรมชาติของภาษา อิทธิพลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใชคําและกลุมคําสรางประโยคไดตรงตามวัตถุประสงค แตงคําประพันธประเภท กาพย โคลง ราย และฉันท ใชภาษาไดเหมาะสมกับกาลเทศะ และใชคําราชาศัพทและคําสุภาพไดอยางถูกตอง วิเคราะหหลักการสรางคําในภาษาไทย อิทธิพลของภาษาตางประเทศในภาษาไทยและภาษาถ่ิน วิเคราะหและประเมินการใชภาษาจากสอ่ื ส่ิงพมิ พ และสือ่ อิเล็กทรอนกิ ส - วิเคราะหวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณวรรณคดีเบื้องตน รูและเขาใจลักษณะเดนของวรรณคดี ภูมิปญญาทางภาษาและวรรณกรรมพื้นบาน เชื่อมโยงกับการ

10 เรียนรูทางประวัติศาสตรและวิถีไทย ประเมินคุณคาดานวรรณศิลป และนําขอคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมไปประยกุ ตใชในชวี ติ จรงิ 2. การอา่ น 2.1 ความหมายของการอาน นกั วชิ าการหลายทานไดใหความหมายของการอาน ไวดงั นี้ บรัสกร คงเปยม (2561 : 28) ไดใหความหมายวา การอาน หมายถึง กระบวนการแปล ความจากตัวอักษร สัญลักษณคํา กลุมคําหรือวลี และประโยคออกมาเปนความคิดอยางมีเหตุผล โดยอาศัยความสามารถในการแปลความในการสื่อสาร การตีความ การจับใจความสําคัญ และการ สรุปความ เพื่อใหเกิดความเขาใจอยางมีจุดมุงหมาย และสามารถสรุปเร่ืองราวที่อานได ซึ่งมีทั้งการ อานในใจและการอานออกเสยี ง นภาเพ็ญ แสนสามารถ (2562 : 79) ไดใหความหมายวา การอาน หมายถึง การใช สายตาเพื่อแปลความหมายของตัวอักษร หรือสัญลักษณตาง ๆ ที่ผูเขียนไดเขียนหรือแสดงไว เพ่ือ สื่อสารใหผูอานไดเขาใจ เมื่อผูอานไดอานแลวมีการแสดงความรูที่ไดจากการอาน ออกมาเปน ความคิด ความเขาใจ เปนถอยคําหรือประโยค เพื่อใหไดความรูและความเพลดิ เพลิน รวมทั้งเปนการ เพ่ิมพนู ประสบการณ และสามารถนาํ มาใชในการดํารงชีวิตได ฉวีลักษณ บุญยะกาญจน (2557 : 19) ไดใหความหมายวา การอาน มิใชการมองไปท่คี ํา หรือสัญลักษณของตัวหนังสือเทานั้น แตจะประกอบไปดวยสมาธิ คือ ใจที่สงบนิ่ง การรับรู การ จดั ลาํ ดบั และการประมวลขอมูลท่ไี ดจากการรบั รู เพือ่ ใหไดสาระมากทส่ี ดุ จากความหมายของการอาน ที่ไดกลาวมาขางตน สรุปไดวา การอานเปนการแปลความ จากตัวอักษรออกมาเปนความคิด ทําใหรับรูและเขาใจความหมายของคํา เพื่อนําความรูที่ไดรับไปใช ใหเกดิ ประโยชนในการดํารงชีวติ 2.2 ความสําคญั ของการอาน นักการศึกษาหลายทานไดกลาวถงึ ความสาํ คญั ของการอาน ไวดงั น้ี นภาเพ็ญ แสนสามารถ (2562 : 81) ไดกลาววา การอานเปนสิ่งสาํ คญั ของมนุษย เพราะ มนุษยมีการติดตอสื่อสารกัน โดยใชสัญลักษณ ตัวหนังสือ และการอานมีความสําคัญ เปนอยางยิ่งใน การศกึ ษาวชิ าตาง ๆ เพราะการอานเปนเครื่องมือท่ีสาํ คัญในการแสวงหาความรู ผูที่มนี ิสัยรักการอาน จะทําใหเรียนวิชาตาง ๆ ไดดี เปนคนฉลาด รวมถึงประสบความสําเร็จในการ ทํางานและสามารถ ดาํ รงชวี ติ ไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ นิรมล เหลาสิทธิ์ (2560 : 63) ไดกลาววา การอานมีความสําคัญที่สุดตอการแสวงหา ความรูของมนุษย มีสวนชวยในการพฒั นาคุณภาพชีวติ เพ่ิมพนู ประสบการณ และใหความบนั เทิง อโนชา เกตุแกว (2560 : 11) ไดกลาววา การอ่านเป็นทักษะที่สำคัญและจําเป็น ในการศึกษาหาความรู และการพัฒนาคุณภาพชีวิต นอกจากการอานจะเพิ่มความรูแลว ยังใหความ สนุกสนานและเพลิดเพลิน และสงเสริมใหมีความคิดริเริ่มสรางสรรค การอานจึงเปนหัวใจของ การศึกษาทุกระดับ และเปนเครื่องมือที่สําคัญในการแสวงหาความรูเรื่องตาง ๆ ตลอดจนเปน

11 เคร่ืองมือในการประกอบอาชีพใหประสบความสําเร็จ เมื่ออานมากยอมรูมาก สามารถนาํ ความรูไปใช ในการดาํ เนินชีวิตใหมคี วามสุขได จากความสําคัญของการอาน ที่ไดกลาวมาขางตน สรุปไดวา การอานเปนเครื่องมือ ท่ี สําคัญอยางยิ่งสําหรับมนุษย เพราะมนุษยใชการอานเปนเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู พัฒนา คุณภาพชีวิต นอกจากนี้การอานยังชวยใหความสนุกสนานและเพลิดเพลิน และสงเสริมใหมี ความคิด ริเริ่มสรางสรรครวมถึงประสบความสําเรจ็ ในการทาํ งานและสามารถดํารงชวี ิตไดอยางมคี วามสุข 2.3 จดุ มงุ หมายของการอาน นกั การศึกษาไดกลาวถึงจดุ มงุ หมายของการอาน ไวดงั นี้ บรัสกร คงเปยม (2561 : 31) ไดกลาววา การอานมีจุดมุงหมาย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเพลิดเพลิน อานเพื่อจับใจความอยางคราว ๆ และเพื่อจับใจความสําคัญ ซึ่งสิ่งเหลาน้ี เปนจดุ สําคัญท่ีผูอานตองมีจุดมุงหมายในการอานวา อานเพ่ืออะไร ดงั น้ันสิง่ ทจี่ ะทาํ ใหอานไดอยาง เข าใจอยางถองแท คือตองจบั ใจความสําคญั ใหได พิชชานันท แสนแกว (2560 : 19) ไดกลาววา จุดมุงหมายที่สําคัญของการอาน คือ ให อานไดชัดเจน ถูกตอง รวดเร็ว ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความรู ความคิด อานเพื่อความเพลิดเพลิน และอาน เพอ่ื ติดตามขาวสาร เหตุการณตาง ๆ ซงึ่ สามารถนาํ มาใชในชวี ิตประจําวันและพัฒนาอาชีพ และความ เปนอยขู องตนเองในสังคมไดอยางมีประสิทธภิ าพ บรรจง แสงนภาวรรณ (2556 : 65) ไดกลาววา จุดมุงหมายของการอานนับเปนสิ่ง สําคัญที่ทําใหการอานประสบผลสําเร็จ ผูอานควรรูจุดมุงหมายวาจะอานเพื่ออะไร เพราะหากผูอาน ต้ังจดุ มงุ หมายไวอยางชัดเจน จะทําใหผูอานคงหาความรูในส่ิงที่ตนตองการทราบไดอยางถูกตอง และ รวดเรว็ จงึ จะทําใหการอานน้ันเกดิ ประโยชนอยางย่ิง จากจดุ มงุ่ หมายของการอ่านทไ่ี ด้กลา่ วมาข้างต้น สรุปไดว้ า่ จุดมงุ หมายของการอาน ประกอบด้วยการอ่านเพื่อเกิดความรู้ ความคิด เพื่อความเพลิดเพลิน เปนตน ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนจุด สาํ คัญท่ผี ูอานตองมจี ดุ มุงหมายในการอานวา อานเพอ่ื อะไร หากผูอานต้งั จดุ มุงหมายไวอยางชัดเจนก็ จะทําใหผูอานบรรลุวัตถุประสงคในการอาน และสามารถนําสิ่งที่ไดรับจากการอานมาประยุกตใชใน การดําเนินชวี ิต 2.4 ประโยชน์ของการอาน นักการศึกษาไดกลาวถึงประโยชนของการอาน ไวดังนี้ นิรมล เหลาสิทธิ์ (2560 : 69) ไดกลาววา การอานมีประโยชนท่ีทําใหไดรับความรู ในวิชาการดานตาง ๆ รอบรูทันเหตุการณไดรับความสุขและความเพลิดเพลิน เกิดอารมณคลอยตาม อารมณของเรื่องนั้น ๆ ที่อาน การอานยังชวยใหผอนคลายความตึงเครียด เขาใจประเด็นความ ความสําคญั ของเรอ่ื ง และสามารถประเมินคณุ คาเรอ่ื งท่ีอานไดอยางสมเหตุสมผล นภาเพ็ญ แสนสามารถ (2562 : 85) ไดกลาววา การอานมีประโยชนเปนอยางยิ่ง การอ านทําใหผูเรียนมีวินัย มีนิสัยรักการอาน ใฝหาความรูอยูเสมอ เปนที่ยอมรับและตองการ ของสังคม และเพือ่ นรวมงาน ผูทเี่ ปนนกั อานจะทาํ ใหเปนคนทันตอเหตุการณ รอบรู แกปญหาตาง ๆ ไดอยางสม เหตุสมผล

12 จากประโยชนของการอาน ที่ไดกลาวมาขางตน สรุปไดวา การอานนั้นมีประโยชนเปน อยางยงิ่ เพราะจะทาํ ใหผูอานไดรับความรูตาง ๆ ทันตอเหตุการณ ไดรับความสุขและความเพลิดเพลิน เปนทย่ี อมรับและตองการของสังคมและเพื่อนรวมงาน สามารถนาํ ความรูท่ีไดรับจากการอานไปใช ใน การดาํ เนนิ ชวี ติ และสามารถแกไขปญหาตาง ๆ ไดอยางสมเหตุสมผล 3. คำควบกล้ำ จากที่ผูว้ ิจยั ไดศ้ กึ ษาเอกสารตา่ ง ๆ ท่มี ีเนื้อหาเก่ียวข้องกับคำควบกลำ้ นัน้ สามารถนำมาสรุป ตามประเดน็ ต่าง ๆ ได้ดงั นี้ 3.1 ความหมายของคำควบกลำ้ นกั การศกึ ษาและหน่วยงานทางการศึกษาไดใ้ ห้ความหมายของคำควบกลำ้ ไว้ ดงั นี้ พระยาอุปกิตศิลปสาร (2533: 21) กล่าวว่าอักษรควบคือพยัญชนะที่ควบกับตัว ร ล ว มี เสยี งกล้ำเป็นสระเดียวกันมี 2 อย่างคือ 1. อักษรควบแท้ ไดแ้ ก่ อักษรท่อี อกเสียงพยญั ชนะท้ัง 2 ตวั เช่น กรูด กลด กว่า 2. อักษรควบไม่แท้ได้แก่อักษรควบที่ออกเสียงควบแต่ตัวหน้าตัวเดียวบ้างออก เสียง กลายเป็นตวั อนื่ ไปบา้ ง เชน่ จริง ทรวง ทราบ ทราม ทราย เปน็ ต้น กระทรวงศึกษาธิการ (2553 : 44-45) กล่าวว่า อักษรควบหรือตัวควบกล้ำ หมายถึง พยัญชนะที่ควบกับ ร ล ว ประสมสระเดียวกัน ออกเสียงควบกล้าเป็นพยางค์เดียวกัน โดยออกเสียง วรรณยกุ ตต์ ามพยญั ชนะตัวหน้า เอกรินทร์ สี่มหาศาล และคณะ (2551 : 64-66) กล่าวว่า คำควบกล้ำ คือ คำที่มี พยัญชนะต้น 2ตัวเรียงกันประสมสระเดียวกันและอ่านออกเสียงพยัญชนะต้น 2 ตัวควบกล้ำกัน พยัญชนะตัวควบคอื ตวั หลังทเ่ี ปน็ เสียงควบกลำ้ มเี พียง 3 ตวั ได้แก่ ร ล ว สรุปได้ว่า คำควบกล้ำหรืออักษรควบ หมายถึง คำที่มีพยัญชนะต้น 2 ตัวเรียงกันตัวหลัง เป็น ร ล ว ประสมสระและตัวสะกดเดียวกันออกเสียงเป็นพยางค์เดียวออกเสียงวรรณยุกต์ตาม พยัญชนะตวั หนา้ 3.2 ประเภทของคำควบกล้ำ มนี ักการศกึ ษาและหน่วยงานทางการศึกษา ได้กล่าวถงึ ประเภทของคำควบกลำ้ ไว้ ดังน้ี วเิ ชยี ร เกษประทุม (2545: 9) กล่าววา่ การอ่านออกเสียงคำควบกลำ้ มี 2 ประเภท คือ 1. คำควบกล้ำแท้ หมายถงึ คำท่มี พี ยญั ชนะ 2 ตัว เรียงกนั เปน็ พยญั ชนะตน้ ได้แก่ 1.1 อักษรที่ควบกลำ้ กับ ร ได้แก่ กร-กราบ, ขร-ขรุขระ, คร-ครอบครวั , ตร-ตรติ ริง, ทร- จันทรา, บร-เบรก, ปร-โปรด, พร-พริก, เป็นต้น 1.2 อักษรที่ควบกล้ำ ล ได้แก่ กล-กลอน, ขล-โขลง, คล-คล้าย, บล-บล็อก, ปล-ปลอ่ ย, พล-พลอย, ฟล-แฟลต เปน็ ต้น 1.3 อกั ษรทคี่ วบกล้ำ ว ได้แก่ กว-แกวง่ , ขว-ขว้าง, คว-ความ เปน็ ตน้ 2. คำควบกล้ำไม่แท้ หมายถึง อักษรที่มีรูปพยัญชนะที่ควบกับ ร ล ว แต่จะออกเสียง เป็น พยัญชนะตวั หนา้ ตวั เดียวและออกเสียงเป็นเสียงอืน่ 2.1 การออกเสยี งตามอกั ษรตัวหนา้ เช่น จร-จริง, ศร-เศร้า, สร-สร้าง เปน็ ต้น 2.2 ออกเสยี งเป็นเสียงอนื่ เช่น ทร-ทราย ทราบ เปน็ ต้น

13 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน (2551 : 12) ได้แบง่ อกั ษรควบกล้ำเปน็ 2 ชนดิ ดังนี้ 1. อกั ษรควบแท้ ไดแ้ ก่ อกั ษรควบทอ่ี อกเสียงพยัญชนะ 2 ตัว ควบกลำ้ กนั ดงั นี้ 1.1 พยัญชนะตัวหน้า ก ข ค ต ป พ ควบกับ ร เช่น กราบ ขรัว ใคร เตรียม โปรด พระ ฯลฯ 1.2 พยัญชนะตัวหน้า ก ข ค ป ผ พ ควบกับ ล เช่น กล้อง ขลาด คลอง ปลอบ ผลิ พลาด ฯลฯ 1.3 พยัญชนะตวั หน้า ก ข ค ควบกบั ว เชน่ กวดั ขวา ควัก ฯลฯ 2. อักษรควบไมแ่ ท้ ไดแ้ ก่ อกั ษรควบทอี่ อกเสียงพยัญชนะตวั หน้าเพยี งตวั เดียว หรือออก เสียงเปน็ อย่างอ่ืน ดงั นี้ 2.1 พยัญชนะตัวหน้า จ ซ ศ ส ควบกับ ร จะออกเสียงพยัญชนะตัวหน้า ไม่ออก เสียง ร เช่น จรงิ ไซร้ ศรัทธา สร้าง ฯลฯ 2.2 พยัญชนะตวั หนา้ เปน็ ทร ออกเสียงเปน็ ซ เช่น ทราบ ทรุดโทรม ทรง สรุปได้ว่า คำควบกล้ำหรืออักษรควบมี 2 ชนิด คือ คำควบกล้ำแท้และคำควบกล้ำ ไม่แท้ คำควบกล้ำแท้เป็นคำที่มีพยัญชนะต้น 2 ตัวเรียงกัน พยัญชนะตัวหลัง เป็น ร ล ว เมื่ออ่านต้องอ่าน ออกเสียงพยญั ชนะต้นทั้ง 2 ตัวพร้อมกนั ส่วนคำควบกล้ำไม่แท้เป็นคำที่มีพยัญชนะตัวหลัง คือ ร ซ่ึงมี วิธีอ่าน 2 วิธี คือ อ่านออกเสียงพยัญชนะต้นตัวหน้าเพียงตัวเดียว และคำที่เขียนด้วย ทร จะเปลี่ยน เสยี งเปน็ เสยี ง ซ 3.3 ปัญหาในการอา่ นออกเสยี งคำควบกลำ้ นกั การศึกษาไดก้ ลา่ วถงึ ปัญหาของการออกเสยี งคำควบกล้ำไวด้ ังต่อไปน้ี ปทุม หนูมา (2541 : 22) ได้กลา่ วถงึ ปญั หาการออกเสียงควบกล้ำว่า เกิดขึ้นได้ท้ังในหมู่ นักเรียนและผู้ใหญ่ การออกเสียงคำควบกล้ำไม่ชัดเจนทำให้ภาษาเกิดการเปลี่ยนแปลง ก่อให้เกิด ความสับสนทางภาษาทำให้สื่อความหมายไม่ตรงกัน นอกจากนี้ยังทำให้ผู้พูดเสียบุคลิกภาพไปด้วย ความผดิ พลาดในการออกเสียงคำควบกลำ้ ดังกล่าวอาจมสี าเหตมุ าจากปญั หา ดังนี้ 1) ปัญหาจากตัวครู ครูส่วนมากไม่ระมัดระวังในการอ่านคำควบกล้ำหรือครูเหล่าน้ัน อาจมาจากครอบครวั หรือชมุ ชนทพี่ ูดภาษาอืน่ ท่ีออกเสยี งภาษาไทยไม่ชัดเจน ไมร่ ะมดั ระวงั ในเรอื่ งน้ี 2) ปญั หาจากตัวเดก็ เดก็ ทเ่ี ขา้ รับการศึกษาในโรงเรียนอาจมจากครอบครัวและชุมชน ที่พูดภาษาอื่นเป็นจำนวนมาก เมื่อมาอยู่ร่วมกันก็มักจะพูดภาษาตามท้องถิ่นของตนเองใช้ภาษาไทย ผิด ๆ เดก็ อื่น ๆ ก็มักจะตามอยา่ งไปดว้ ย 3) ปัญหาทางสังคม เด็กที่มาจากครอบครัวยากจน อยู่ในชุมชนที่พูดภาษาไทยไม่ ถูกต้องโอกาสที่จะใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องก็เฉพาะเวลาที่อยู่ในห้องเรียนเท่านั้น ดังนั้นจึงมักจะพูด หรืออ่านตามเด็กสว่ นใหญ่

14 สรุปได้ว่า การออกเสียงที่ผิดอาจจะเกิดจากอวัยวะที่ช่วยในการออกเสียงบกพร่อง และ เกิดจากการเลียนแบบที่ผิด เกิดจาการวางรากฐานในการออกเสียงที่ผิด ซึ่งอาจจะเป็นปัญหามาจาก ตัวครู ตวั นักเรยี น และจากทางครอบครวั หรือชุมชนด้วย 3.4 หลักและวธิ ีการแกป้ ัญหาการออกเสียงคำควบกลำ้ นักการศกึ ษาได้เสนอหลกั และวธิ ีในการแก้ปัญหาในการออกเสยี งคำควบกล้ำไว้ ดงั น้ี วิเชียร เกษประทุม (2550 : 9–10) ได้กล่าวถึงพยัญชนะที่ออกเสียงยาก คือ คำที่มี ตัว ร และคำควบกลำ้ ทกุ คน ก่อนจะฝกึ หดั คำดังกล่าว ควรทราบลกั ษณะของตัว ร ล และเร่ืองคำควบ กล้ำพอเป็นพื้นฐานเบอื้ งตน้ ดังน้ี หนว่ ยเสียง /ร/ ได้แก่ ร และ ฤ ออกเสยี งรัว โดยตวดั ปลายล้ินให้กระดกถี่ริมฝีปาก ห่อ หน่วยเสียง /ล/ ได้แก่ ตัว ล และ ฬ ออกเสียงข้างลิ้น เวลาออกเสียงใช้ปลายล้ิน แตะป่มุ เหงอื กบน หน่วยเสียง /ร/ และ /ล/ ออกเสียงกล้ำกับพยัญชนะอื่นได้ พยัญชนะที่ออกเสียง ควบกลำ้ กบั ตวั ร ล ว ได้มีดังนี้ ร ควบกลำ้ กับตวั ก ข ค ต ท บ ป พ ฟ ได้ ล ควบกล้ำกับตวั ก ข ค ต บ ป พ ฟ ได้ ว ควบกล้ำกับตวั ก ข ค ได้ คำควบกล้ำทุกคำออกเสยี งยาก ต้องฝกึ ใหค้ ล่องปากคลอ่ งล้นิ ถ้าออกเสียง คำควบกลำ้ ไม่ได้ มีวิธีการฝึก ดงั นี้ 1) ให้ออกเสียงคำควบกล้ำนั้น โดยมีเสียงสระอะ ผสมอยู่ด้วยในคำหน้าทุกคำ เช่น กลองให้ออกเสยี งเป็น กะ – ลอง, ปรับปรงุ ให้ออกเสียงเป็น ปะ – หรบั – ปะ – รงั เป็นตน้ 2) เม่อื ออกเสยี งโดยมีสระอะ นำได้แล้ว ตอ่ ไปให้ออกเสยี งคำควบกล้ำเหล่านั้น โดย มีสระอะนำเร็ว ๆ ก็จะกลายเป็นคำควบกล้ำไปทันที และก็จะออกเสียงคำควบกล้ำต่าง ๆ ได้ทุกคำ อย่างแน่นอนถ้ามีเครอ่ื งบันทึกเสยี งช่วยในการฝึกดว้ ยก็จะไดผ้ ลอยา่ งรวดเร็ว สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน (2551) ได้แนะนำวิธฝี ึกออกเสียงและแก้ ข้อบกพรอ่ งในการออกเสยี งภาษาไทย ดงั น้ี 1) ให้นกั เรียนฝึกฝนหอ้ งปฏบิ ตั ิการทางเสยี ง (ถา้ ม)ี 2) ให้นกั เรียนฝึกออกเสยี งโดยจบั คู่กบั คนทอ่ี อกเสียงไดช้ ัดเจน 3) ในการทำกิจกรรมประกอบแบบฝึกอ่านนั้น หลังจากที่ครูตรวจคำตอบของ นกั เรยี นแลว้ ใหน้ กั เรียนออกเสียงคำนน้ั ๆ ใหค้ รูฟังดว้ ย 4) การฝึกออกเสยี งให้ถูกต้อง ครูควรแนะนำให้นักเรียนฝึกด้วยตนเองหรือฝึกเป็นคู่ อย่างสม่ำเสมอ และครูอาจใช้เวลาประมาณวันละ 10 นาที ช่วยฝึกนักเรยี นทัง้ ชั้น เพื่อให้ได้ผลอันพงึ ประสงค์ สรปุ ได้ว่า การอ่านออกเสียงควบกลำ้ นัน้ จะต้องรจู้ ักวิธกี ารอ่านออกเสยี งตวั ร ล ว ให้ ถูกต้องเสียก่อน แลว้ จึงออกเสยี งควบกล้ำกับพยัญชนะอนื่ และออกเสยี งพยญั ชนะสองเสียงนัน้ พร้อม

15 กันโดยครจู ะใหเ้ ด็กสงั เกตการณอ์ อกเสียงของครู นกั เรยี นฝึกปฏิบตั ติ ามครูและครชู ว่ ยแก้ไข ในส่วนที่ ยงั ไมถ่ ูกต้อง นักเรยี นจับคกู่ ันฝึกออกเสยี ง และนกั เรยี นฝกึ ดว้ ยตนเองอย่างสม่ำเสมอ 4. การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 4.1 ความหมายของการจัดการเรยี นร้เู ชิงรุก (Active Learning) จิตณรงค์ เอ่ยี มสำอาง (2558) ได้กลา่ วว่า Active Learning คอื แนวทางหรือวิธีการ จัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยให้ผู้เรียนได้คิดและมีส่วนร่วมในการปฏิบัติใน กิจกรรม การเรียนรู้ใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ แสดงความคิดเห็นของตนเองตามความเข้าใจ ตลอดจนร่วม รับผิดชอบในผลของการปฏิบัติ โดยมีครูผู้สอนเป็นผู้ดูแลให้คำปรึกษาแนะนำ โดย ผสมผสานเทคนิคการ สอนที่หลากหลายที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนนำความรู้จากห้องเรียนสู่การปฏิบัติใน สถานการณ์ต่างๆ ทัง้ ใน หอ้ งเรียนและในโลกแห่งความเป็นจริง ดเิ รก พรสมี า (2559) มีความเหน็ วา่ Active Learning คอื การจัดกจิ กรรมการ เรียนรู้ที่มีลักษณะทำให้ผู้เรียนแต่ละคนกระตือรือร้น คิดค้นหาความรู้และคำตอบอยู่ตลอดเวลา (Active Learner) โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งผลทำให้เกิดคำว่า Work-based Learning หรือ Work-integrated Learning หรือ Site-based Learning จะเป็นผล ทำให้นักเรียนและ ครูค้นพบความรู้ใหม่ สร้างสรรค์ความรู้ใหม่ และสร้างนวัตกรรมใหม่ได้ ผู้เรียน จะต้องมีส่วนร่วมใน กิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้จากการแก้ปัญหาจากการ ลงมอื กระทำดว้ ยตนเอง จากความหมายของการจดั การเรียนร้เู ชิงรกุ (Active Learning) ท่ีกล่าวมาขา้ งต้น สามารถสรุปได้ว่า เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดทักษะ กระบวนการคิดขน้ั สูง ตลอดจนทำให้นักเรียนไดล้ งมอื ปฏิบตั จิ ริงและสนกุ สนานควบค่ไู ปกบั การเรยี น 4.2 ความสำคญั ของการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรุก (Active Learning) นกั การศึกษาไดก้ ลา่ วถึงความสำคัญของการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุก ไว้ดงั น้ี ทววี ัฒ วฒั นกุลเจรญิ (2555) ไดก้ ล่าวถงึ ลักษณะสำคญั ของการเรยี นเชงิ รุก ที่เสนอ โดย Alaska Pacific University; Oklahoma University ไวด้ ังต่อไปนี้ 1. การจัดกจิ กรรมให้ผู้เรยี นมีโอกาสศึกษาด้วยตนเองเพ่ือใหเ้ กดิ ประสบการณต์ รงกับการแกป้ ัญหาในสถานการณ์จรงิ (Authentic Situation) 2. การจัดกจิ กรรมเพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นได้กำหนดแนวคิด วางแผน ยอมรบั ประเมินผลและนำเสนอผลงานรว่ มกนั 3. การบรู ณาการเนื้อหารายวิชาเพอื่ เชอ่ื มโยงความเข้าใจวิชาต่างๆ ที่ แตกต่างกัน 4. การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนให้เอื้อตอ่ การทำงานร่วมกัน (Collaboration) 5. ใช้กลวิธีของกระบวนการกลุม่ (Group Processing) 6. การจัดใหม้ กี ารประเมนิ โดยเพื่อน (Peer Assessment) วารินท์พร ฟันเฟื่องฟู (2562: 135) ได้กล่าวถึง ความสำคัญของการเรียนรู้แบบ Active Learning ไว้ว่า ผู้เรียนจะเป็นผู้ที่มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม สามารถบูรณาการความรู้เดิมกับ

16 ความรู้ใหม่ เรียนรู้และเกิดองค์ความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งมีรูปแบบและเทคนิคของการจัดการเรียนรู้ Active Learning ที่หลากหลาย โดยผู้สอนสามารถนำมาใช้ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับ กิจกรรมการเรียนรู้ เหมาะสมกับผู้เรียน กระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนและผู้เรียนกับผู้สอน ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดประสบการณ์ และความสำเร็จในการเรียนเป็นการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ ผูเ้ รยี นประยุกต์ใช้ทักษะ และ เช่ือมโยงองค์ความรนู้ ำไปปฏิบัตเิ พ่ือแกไ้ ขปัญหาหรือประกอบอาชีพใน อนาคต และถือเปน็ การจัดการ เรยี นรู้ประเภทหน่ึงทส่ี ่งเสริมให้ผ้เู รียนมีคุณลักษณะสอดคล้องกับการ เปลย่ี นแปลงในยคุ ปจั จุบัน จากความสำคัญของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning ) สรุปไดว้ า่ การจัดการ เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ นอกจาก การฟังบรรยายอย่างเดียว หรือสร้างประสบการณ์ผ่านการลงมือทำ การสังเกต ได้สนทนากับตนเอง และผู้อื่นผ่านรูปแบบหรือเทคนิคการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่หลากหลาย โดยผู้สอนสามารถจัด กิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้ทั้งรายบุคคลหรือแบบกลุ่ม โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับ วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ เวลา และผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะ การคิดขั้นสงู 4.3 กระบวนการออกแบบกิจกรรมการจดั การเรยี นร้เู ชงิ รุก (Active Learning) สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (2562: 5) ได้เสนอกระบวนการ จัดการเรยี นรู้เชิงรกุ ดงั น้ี 1. จดั การเรยี นรูท้ ี่พฒั นาศกั ยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา และการนำความรู้ ไปประยกุ ต์ใช้ 2. จัดการเรยี นรู้ทเ่ี ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนมีสว่ นร่วมในกระบวนการเรยี นรู้สงู สุด 3. จดั ให้ผูเ้ รียนสร้างองค์ความรแู้ ละจดั กระบวนการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง 4. จดั ให้ผูเ้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการเรียนรทู้ งั้ ในด้านการสร้างองค์ความรูก้ ารสรา้ ง ปฏิสัมพนั ธ์ ร่วมกัน สร้างรว่ มมอื กันมากกว่าการแข่งขัน 5. จดั ให้ผเู้ รยี นเรียนรเู้ รอ่ื งความรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั การมีวินัยในการทำงานและการ แบ่งหน้าท่คี วามรับผิดชอบในภารกิจต่างๆ 6. จดั กระบวนการเรยี นทีส่ รา้ งสถานการณ์ใหผ้ ้เู รียนอ่าน พูด ฟัง คดิ อย่างลุ่มลึก ผู้เรียนจะเปน็ ผูจ้ ดั ระบบการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง 7. จดั กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้ทเี่ น้นทักษะการคดิ ขนั้ สงู 8. จัดกจิ กรรมทเ่ี ปดิ โอกาสให้ผู้เรียนบรู ณาการข้อมลู ข่าวสาร หรือสารสนเทศและ หลกั การ ความคิดรวบยอด 9. ผู้สอนจะเปน็ ผอู้ ำนวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู้ เพ่ือใหผ้ ู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติ ด้วยตนเอง 10. จดั กระบวนการสรา้ งความรูท้ เ่ี กดิ จากประสบการณ์ การสรา้ งองค์ความรู้และการ สรุป ทบทวนของผเู้ รยี น

17 5. แบบฝึกทักษะ 5.1 ความหมายและความสำคญั ของแบบฝึกทักษะ นกั การศกึ ษาหลายท่านได้ใหค้ วามหมายและความสำคัญของแบบฝึกทักษะ ไวด้ งั นี้ กาญจนา ชลเกริกเกียรติ (2561 : 28) ได้สรุปความหมายและความสำคัญของแบบฝึก ว่า แบบฝึกทักษะ หมายถงึ ชดุ ฝกึ ทักษะทค่ี รสู รา้ งขนึ้ ให้นักเรยี นได้ทบทวนเน้ือหาท่เี รียนรู้มาแล้ว เพ่ือ สร้างความเข้าใจ และช่วยเพิ่มทักษะความชำนาญและฝึกกระบวนการคิดให้มากขึ้น ทำให้ครูทราบ ความเขา้ ใจของนักเรียนทมี่ ีต่อบทเรียน ฝึกใหเ้ ด็กมีความเช่ือม่นั และสามารถประเมนิ ผลของตนเองได้ ทงั้ ยงั มีประโยชนช์ ว่ ยลดภาระการสอนของครู และยงั ชว่ ยพัฒนาตามความแตกตา่ ง อัจฉรา ศรีธารา (2562 : 23) ได้สรุปความหมายของแบบฝึกว่า แบบฝึก หมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นเพื่อเสริมสร้างทักษะให้แก่นักเรียน มีลักษณะเป็นแบบฝึกหัด ให้นักเรียนได้กระทำ กจิ กรรม โดยมจี ดุ มุ่งหมายเพอื่ พฒั นาความสามารถของนักเรยี นใหด้ ีขนึ้ บรัสกร คงเป่ยี ม (2561: 26) ได้สรปุ ความหมายของแบบฝึกวา่ แบบฝึกหรือแบบฝึกหัด เป็นสื่อการเรียนการสอนชนิดหนึ่ง ที่ช่วยให้นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ โดยกิจกรรมที่ได้ปฏิบัติ ในแบบฝึกทักษะ ครอบคลุมในเนื้อหาที่ได้เรียนไปแล้ว จะทำให้นักเรียนมีความรู้และมีทักษะมากข้ึน เพราะมีรูปแบบหรือลักษณะที่หลากหลาย ฝึกกระทำด้วยตนเอง จนเกิดทักษะหรือความชำชาญ เพม่ิ ขึ้นหลังจากไดเ้ รียนร้เู นอื้ หาสาระในบทเรยี นแลว้ ช่วยใหน้ ักเรยี นแกไ้ ขขอ้ บกพร่องทางการเรยี น จากความหมายและความสำคัญของแบบฝึก ที่ได้กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า แบบฝึก หมายถงึ งาน กิจกรรม เครื่องมอื หรือส่ือการเรียนการสอนอยา่ งหน่ึงทีส่ ร้างขึ้น ประกอบด้วยกิจกรรม ที่หลากหลาย น่าสนใจที่มุ่งให้นักเรียน ได้นำมาใช้ฝึกฝน ปฏิบัติ เพื่อทบทวนเนื้อหาความรู้ต่าง ๆ ที่เรียนมาแล้ว ทำให้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ เกิดความชำนาญและความแม่นยำ ซ่งึ จะเป็นไปโดยอัตโนมัติ 5.2 ลกั ษณะของแบบฝกึ ทักษะทีด่ ี แบบฝกึ เปน็ เครือ่ งมอื ทีส่ ำคัญทจี่ ะช่วยเสริมสรา้ งทกั ษะใหแ้ กผ่ ้เู รยี น การสรา้ งแบบฝึกให้ มีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นจะต้องศึกษาองค์ประกอบและลักษณะของแบบฝึก เพื่อใช้ให้เหมาะสมกับ ระดับความสามารถของนกั เรยี น กาญจนา ชลเกริกเกียรติ (2561 : 30-31) ได้สรุปลักษณะของแบบฝึกที่ดีได้ว่า แบบฝึกที่ดีและมีประสิทธิภาพ ช่วยทำให้นักเรียนประสบความสำเร็จในการฝึกทักษะได้เป็นอย่างดี และแบบฝึกที่ดีเปรียบเสมือนผูช้ ว่ ยทสี่ ำคัญของครู ทำให้ครลู ดภาระการสอนลงได้ ทำให้ผูเ้ รยี นพัฒนา ความสามารถของตน เพื่อความมั่นใจในการเรียนได้เป็นอย่างดี ดังนั้นครูยังจำเป็นต้องศึกษาเทคนิค วิธีการ ขั้นตอนในการฝึกทักษะต่าง ๆ มีประสิทธิภาพที่สุด อันส่งผลให้ผู้เรียนมีการพัฒนาทักษะ ต่าง ๆ ได้อย่างเต็มที่ และแบบฝึกที่ดีนั้นจะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบหลาย ๆ ด้าน ตรงตามเนื้อหา เหมาะสมกบั วยั เวลา ความสามารถ ความสนใจ และสภาพปญั หาของผูเ้ รยี น อัจฉรา ศรีธารา (2562 : 23) ได้สรุปลักษณะของแบบฝึกที่ดีว่า ต้องใช้ภาษาให้ เหมาะสมกับนักเรียน ตลอดจนคำนึงถึงจิตวิทยาเกี่ยวกับสิง่ เร้าและการตอบสนองพัฒนาการของเดก็ และลำดบั ขนั้ ของการเรยี น นอกจากนน้ั จะตอ้ งพจิ ารณาให้เหมาะสมกับวยั และความสามารถของเด็ก ซง่ึ แบบฝกึ จะประกอบด้วย คำชี้แจงและตัวอย่างสั้น ๆ ที่จะทำให้เด็กเข้าใจง่าย ใชเ้ วลาเหมาะสมและ

18 มีลักษณะที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนที่เรียนไปแล้ว นอกจากนี้แบบฝึกควรมีหลายแบบเพื่อสร้างความ สนใจและทา้ ทายให้แสดงความสามารถ บรัสกร คงเปี่ยม (2561: 31) ได้สรปุ ลกั ษณะของแบบฝกึ ท่ีดีวา่ ควรมีเนอ้ื หาเหมาะสมกับ วัยของนักเรียน เร้าความสนใจโดยใช้หลักจิตวิทยา ใช้เวลาเหมาะสม มีความหมายต่อผู้เรียนมีคำสั่ง หรือคำชี้แจงสั้นชัดเจน เรียงลำดับความยากง่าย มีกิจกรรมที่ใช้ฝึกหลากหลายรูปแบบเกิดความ สนกุ สนานในการกระทำ และตอบสนองต่อความแตกตา่ งระหว่างบุคคลของนักเรียน ณฏั ฐนาถ สุกส (2558 : 44) ) ได้สรุปลกั ษณะของแบบฝึกท่ดี ีว่า แบบฝึกทดี่ คี วรมีจุดหมาย และตรงตามจุดประสงค์ ภาษาที่ใช้และรูปภาพควรมีความเหมาะสมกับวัยและพื้นฐานความรู้ของ ผู้เรียน อกี ทั้งยังตอบสนองตอ่ ความแตกต่างระหว่างบคุ คล แบบฝึกควรมีความสนุกสนานและกิจกรรม ก็ควรมคี วามหลากหลาย นักเรียนสามารถนำไปฝึกด้วยตนเอง นอกจากนี้ ควรมีแบบฝกึ ครบทุกระดับ ตั้งแต่ง่าย ปานกลาง และยาก เพื่อนักเรียนจะได้เลือกทำได้ตามความสามารถของตนเอง นอกจากน้ี ไดค้ รกู ็จะมองเห็นจดุ เด่นหรือปัญหาต่าง ๆ ของนกั เรยี นไดช้ ัดเจน ซ่ึงจะชว่ ยใหค้ รูดำเนินการปรับปรุง แก้ไขปัญหาน้นั ๆ ไดท้ ันที จากลักษณะของแบบฝึกทักษะที่ดี ที่ได้กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า แบบฝึกที่ดีจะต้อง มีประสิทธิภาพ ช่วยทำให้นักเรียนประสบความสำเร็จในการฝึกทักษะได้เป็นอย่างดี และแบบฝึกที่ดี เปรียบเสมือนผู้ช่วยที่สำคัญของครู ซึ่งแบบฝึกทักษะที่ดีควรมีเนื้อหาเหมาะสมกับวัยของนักเรียน มีกิจกรรมที่ใช้ฝึกหลากหลายรูปแบบ เพื่อให้เกิดความสนุกสนานและตอบสนองต่อความแตกต่าง ระหว่างบุคคลของนักเรียน อีกทั้งแบบฝึกทักษะควรครบทุกระดับ ตั้งแต่ง่าย ปานกลาง และยาก เพอ่ื นักเรียนจะได้เลอื กทำ 5.3 หลักการสร้างแบบฝึกทกั ษะ นักการศึกษาไดก้ ล่าวถึงหลักการสรา้ งแบบฝึกทกั ษะ ไวด้ งั น้ี สุวิทย์ มูลคำ และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2550 : 54 - 55) ได้สรุปหลักในการสร้าง แบบฝึกว่า ต้องมีการกำหนดเงื่อนไขที่จะช่วยให้ผู้เรียนทุกคนสามารถผ่านลำดับขั้นตอนของ ทุกหน่วยการเรียนได้ ถ้านักเรียนได้เรียนตามอัตราการเรียนของตน ก็จะทำให้นักเรียนประสบ ความสำเรจ็ มากขน้ึ อัจฉรา ศรธี ารา (2562 : 24) ได้สรปุ หลักในการสรา้ งแบบฝึกทกั ษะว่า การสรา้ งแบบฝึก เสริมทกั ษะ ควรมีหลักในการสร้าง ดงั น้ี 1. ตงั้ จดุ ประสงคใ์ นการฝึกวา่ ตอ้ งการฝึกเสริมทกั ษะใด ใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรยี นรอู้ ะไร 2. ตอ้ งคำนึงถึงความสามารถ ความสนใจ แรงจงู ใจของนกั เรียน 3. เรยี งลำ ดบั แบบฝึกเสรมิ ทักษะจากง่ายไปหายาก 4. แบบฝกึ เสริมทกั ษะควรมหี ลายรปู แบบ หลายลกั ษณะ เพือ่ จูงใจในการทำ 5. ควรมีการทดลองใช้เพือ่ หาขอ้ บกพรอ่ งตา่ ง ๆ ก่อนนำไปใช้จรงิ ปิยฉัตร ศรีสุราช (2561 : 8) ได้สรุปหลักการสร้างแบบฝึกทักษะว่า หลักการสร้าง แบบฝึกทักษะนั้น ผู้สร้างต้องรู้ในเนื้อหาวิชาที่จะสร้างแบบฝึกหัดนั้น ๆ อย่างถ่องแท้ กำหนดกรอบ การสร้างให้ชัดเจน มีส่วนประกอบที่ครบถ้วนสมบูรณ์ และมีการเรียงลำดับความยากง่ายไว้ตาม

19 ความเหมาะสม และในระยะเวลาที่เหมาะสมในการฝึกแต่ละครั้ง เพื่อที่จะช่วยกำหนดขั้นตอน ในการสรา้ งไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ จากหลักการในการสร้างแบบฝึกทักษะ ที่ได้กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า ควรศึกษาปัญหา ของเนื้อหาที่จะนำมาสร้างแบบฝกึ โดยนำมาตั้งจุดประสงค์ตลอดจนรปู แบบที่หลากหลาย เพื่อดึงดูด ความสนใจ หลักการสร้างแบบฝึกทักษะนั้น ผู้สร้างจะต้องรู้ในเนื้อหาวิชาท่ีจะสรา้ งแบบฝึกหดั และมี การเรยี งลำดบั ความยากงา่ ยไวต้ ามความเหมาะสม และในระยะเวลาทเ่ี หมาะสมในการฝึกแต่ละครั้ง 5.4 สว่ นประกอบของแบบฝึกทักษะ นักการศึกษาไดก้ ลา่ วถงึ ส่วนประกอบของแบบฝึกทกั ษะ ไวด้ ังน้ี สุวิทย์ มูลคำ และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2550 : 61 - 62) ได้กำหนดส่วนประกอบ ของแบบฝกึ ทกั ษะ ไว้ดงั นี้ 1. คู่มือการใช้แบบฝึก เป็นเอกสารสำคัญประกอบการใช้แบบฝึกว่า ใช้เพื่ออะไร และมีวิธีใช้อย่างไร เช่น ใช้เป็นงานฝึกท้ายบทเรียน ใช้เป็นการบ้าน หรือใช้สอนซ่อมเสริม ประกอบด้วย - ส่วนประกอบของแบบฝึก จะระบุว่าในแบบฝึกชุดนี้ มีแบบฝึกทั้งหมด กี่ชดุ อะไรบ้าง และมสี ่วนประกอบอ่นื ๆ หรอื ไม่ เช่น แบบทดสอบ หรือแบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ - ส่งิ ท่ีครูหรอื นักเรยี นตอ้ งเตรยี ม (ถา้ มี) จะเปน็ การบอกใหค้ รหู รอื นักเรยี น เตรียมตัวให้พรอ้ มลว่ งหนา้ กอ่ นเรียน - จุดประสงคใ์ นการใช้แบบฝกึ - ขั้นตอนในการใช้ บอกข้อตามลำดับการใช้ และอาจเขียนในรูปแบบของ แนวการสอนหรือแผนการสอนจะชดั เจนยงิ่ ขึน้ - เฉลยแบบฝกึ ในแตล่ ะชุด 2. แบบฝึก เป็นสื่อที่สร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนฝึกทักษะ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ถาวร ควรมอี งค์ประกอบ ดังนี้ - ช่ือชดุ ฝกึ ในแต่ละชุดย่อย - จดุ ประสงค์ - คำส่งั - ตัวอย่าง - ชุดฝึก - ภาพประกอบ - ขอ้ ทดสอบก่อนและหลงั เรยี น - แบบประเมินบนั ทึกผลการใช้ จากส่วนประกอบของแบบฝึกทกั ษะ ท่ไี ดก้ ล่าวมาข้างต้น สรุปไดว้ ่า แบบฝกึ ทกั ษะ ควรมอี งคป์ ระกอบทส่ี ำคัญดงั ต่อไปน้ี 1. คูม่ ือการใชแ้ บบฝกึ ซง่ึ เป็นเอกสารทส่ี ำคัญประกอบการใชแ้ บบฝกึ วา่ ใช้เพื่ออะไร และมีวธิ ใี ชอ้ ยา่ งไร

20 2. แบบฝึก ซึ่งเปน็ ส่อื ทส่ี ร้างขน้ึ เพ่ือให้ผ้เู รียนได้ฝึกทกั ษะการเรยี นรู้ โดยในแบบฝกึ ทกั ษะควรประกอบดว้ ย ชอ่ื ชุดฝึกในแต่ละชดุ ย่อย จดุ ประสงค์ คำสั่ง และชดุ ฝกึ เปน็ ต้น 5.5 ประโยชนข์ องแบบฝึกทักษะ ภาษาไทยเป็นวิชาทักษะที่ต้องอาศยั การฝึกฝนอย่างสม่ำเสมอ เพราะการฝกึ ฝนจะทำให้ เกิดความชำนาญ ความแม่นยำ มีพัฒนาทางภาษา แบบฝึกจึงเป็นสื่อการเรียนท่ีอำนวยประโยชน์ต่อ การเรยี นภาษาไทย ซึ่งมีนักการศึกษาไดเ้ สนอประโยชน์ของแบบฝึก ไวด้ ังนี้ ถวัลย์ มาศจรัส และคณะ (2550 : 21) ได้อธิบายถึงประโยชน์ของแบบฝึกหัดและ แบบฝึกทักษะว่า เป็นสื่อการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นในเรื่องของการแก้ปัญหา และการพัฒนาในการ จดั การเรยี นรูใ้ นหน่วยการเรียนรู้ และสามารถเรียนรูไ้ ด้ โดยสรปุ ไดด้ ังนี้ 1. เป็นสือ่ การเรยี นรู้ เพอ่ื พัฒนาการเรยี นร้ใู ห้แก่ผู้เรยี น 2. ผู้เรยี นมีสื่อสำหรับฝกึ ทักษะด้านการเขียน การคดิ วเิ คราะห์ และการเขียน 3. เปน็ สอื่ การเรียนรู้ สำหรับการแก้ปัญหาในการเรียนรขู้ องผ้เู รยี น 4. พฒั นาความรู้ ทกั ษะ และเจตคติดา้ นต่าง ๆ ของผ้เู รียน จากประโยชน์ของแบบฝึกทักษะ ที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า แบบฝึกทักษะที่ดี และมปี ระสิทธิภาพ จะชว่ ยทำให้นักเรียนประสบผลสำเรจ็ ในการฝึกทกั ษะไดเ้ ป็นอยา่ งดี ณฏั ฐนาถ สกุ ส (2558 : 45) ไดอ้ ธบิ ายถึงประโยชน์ของแบบฝึกทกั ษะวา่ แบบฝกึ ทักษะมี ความสำคญั และเป็นส่ือการเรยี นที่อำนวยประโยชน์ต่อการเรยี นภาษาไทย เนื่องจากแบบฝึกช่วยเสริม ทักษะทางภาษาให้ดีขึ้น ช่วยเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคล ดังน้ันนักเรียนจะได้ทำแบบฝึกที่ช่วย แก้ไขและพัฒนาความสามารถของนักเรียนได้ตรงตามจุดประสงค์ นักเรียนจะมีทักษะทางภาษาที่ คงทน ประหยัดเวลาและแรงงาน นักเรียนไม่ต้องเสียเวลาในการคัดลอกแบบฝึก และครูยังสามารถ เห็นจุดเด่นหรือจุดบกพร่องของนักเรียน ซึ่งจะเป็นการช่วยให้ครูสามารถแก้ไขปัญหาได้ทันที เนื่องจากแบบฝึกช่วยลดภาระการเตรียมการสอนของครูลง และครูจะได้มีเวลาแก้ไขปัญหาหรือ ส่งเสริมความสามารถของนักเรยี นให้ดขี นึ้ สมศรี อภัย (2553 : 22) ได้อธิบายถึงประโยชน์ของแบบฝึกทักษะไว้ว่า เป็นเครื่องมือ การเรียนรู้ นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงจากการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองอย่างเต็มความสามารถ ของแต่ละบุคคล ก่อให้เกิดความชำนาญในการแก้ไขปัญหา อีกทั้งเป็นเครื่องมือประเมินผลการเรียน และการสอนของครู จากประโยชน์ในการสร้างแบบฝึกทักษะ ที่ได้กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า แบบฝึกทักษะ มีประโยชนต์ อ่ ตัวนักเรียน โดยนักเรียนจะเกดิ ความชำนาญและมีทกั ษะทดี่ ีขึน้ นน้ั ต้องอาศยั การฝึกฝน อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งแบบฝึกทักษะจะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ เกิดความสนุกสนานกับเนื้อหา แบบฝึกหัด นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือสำคัญต่อการเรียนของนักเรียน และยังมีประโยชน์สำหรับ ครูผู้สอน เนื่องจากครูผู้สอนสามารถเหน็ จุดเดน่ หรือจุดบกพร่องของนักเรียน ซึ่งจะเป็นการช่วยใหค้ รู สามารถแกไ้ ขปญั หาไดท้ ันที

21 6. วิจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง 6.1 วิจัยท่เี ก่ียวข้องกับการอ่านออกเสยี งคำควบกลำ้ นุชนาฏ ขันโมลี ภูษิต บุญทองเถิง และ สุพจน์ อิงอาจ (2553). ได้ทำการวิจัยเรื่อง การพฒั นาทักษะการอ่านออกเสยี งคาํ ควบกล้ำ โดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะประกอบภาพ สำหรบั นักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 2 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ประการแรก เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียง คําควบกล้ำ โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบภาพ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ประการที่สอง ศึกษาค่าดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรู้ด้วยแบบฝึก ทักษะประกอบภาพ ประการที่สาม เปรียบเทียบคะแนนทักษะการอ่านออกเสียงคําควบกล้ำ ของนักเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะประกอบภาพ และประการที่ส่ี ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะประกอบภาพ กลุ่มเป้าหมาย ของการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่กําลังเรียนอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 ในโรงเรียนอนุบาล ดงเมืองน้อย อำเภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1. แบบฝึกทักษะประกอบ ภาพเรื่องการอ่านออกเสียง คําควบกล้ำ สำหรับนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 2 จำนวน 6 ชุด 2. แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระ การ เรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ประกอบการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การอ่านออกเสียง คําควบกล้ำ จำนวน 6 แผน 3. แบบทดสอบ วัดทักษะการอ่านออกเสียงคําควบกล้ำระหว่างเรียน ซึ่ง ประกอบด้วย 3.1 แบบทดสอบการฟังการออกเสียงคําควบกล้ำ ชุดละ 10 ข้อ จำนวน 6 ชุด 3.2 แบบทดสอบการอ่านออกเสียงคาํ ควบกล้ํา ชุดละ 10 ข้อ จํานวน 6 ชุด 4. แบบทดสอบวัดทักษะ การอ่านออกเสียง คําควบกลํ้าก่อนเรียน และหลังเรียนของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 จํานวน 2 ชุด และ 5. แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียน ด้วยแบบฝึกทักษะประกอบภาพเรื่องการอ่าน ออกเสียงคาํ ควบกลํ้า สาํ หรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 เปน็ แบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating scale) แบ่งเป็น 3 ระดับ จํานวน 10 ข้อ จํานวน 1 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ดัชนีประสิทธิผล และทดสอบสมมติฐานใช้ t-test (Dependent sample)ผลการวิจัยพบว่า 1. แบบฝึกทักษะประกอบภาพ เรื่องการอ่านออกเสียงคํา ควบกลํ้า สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมี ประสิทธิภาพเท่ากับ 87.68 / 89.05 ซึ่งสูงกวา่ เกณฑท์ ก่ี าํ หนด 2. นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 ที่เรียนด้วยแบบฝกึ ทักษะประกอบ ภาพเรื่องการอ่านออกเสียงคําควบกลํ้า สําหรับนักเรียน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีทักษะการอ่านออกเสยี งคําควบกลํ้าหลังเรยี นสงู กว่า กอ่ นเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถติ ิท่ีระดับ .01 3. ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะประกอบภาพเรื่องการอ่านออกเสียงคําควบกลํ้า สําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ ผู้วิจัยสร้างขึ้น ได้ค่าเท่ากับ 0.7430 แสดงว่า นักเรียนมีทักษะการ อา่ นออกเสียงคําควบกล้าํ เพ่ิมมากขน้ึ รอ้ ยละ 74.30 4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยแบบ ฝึกทักษะประกอบภาพเรื่องการอ่านออกเสียงคําควบกลํ้า สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ทผ่ี วู้ ิจยั สร้างข้ึนอยู่ในระดับมาก

22 6.2 วิจัยท่เี กี่ยวข้องกับการจัดการเรยี นรแู้ บบเชงิ รุก (Active Learning) นาตยา มะเส็ง (2564). ได้ทำการวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เรื่อง ชนิดของคำ เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความ ต้องการในการพัฒนาการจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning เรอ่ื งชนิดของคำ เพอื่ พัฒนาทักษะการ อ่านและการเขียน 2) เพื่อร่างรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบActive Learning เรื่องชนิดของคำ เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียน 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เรื่อง ชนิดของคำ เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียน4)เพื่อประเมินผลและถอด บทเรียนรูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning เรือ่ งชนิดของคำ เพ่ือพัฒนาทักษะการอ่าน และการเขียน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเทศบาลเขาท่าพระซึ่งได้จากการสุ่มอย่างง่าย(Simple Random Sampling) โดยสุ่ม ห้องเรียนมาจำนวน 1 หอ้ งเรียน คอื ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6/1 นักเรยี น จำนวน 18 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ ได้แก่ รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เรื่องชนิดของคำ เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน และการเขียนแบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบ ประเมินทักษะการอ่านการเขียนและแบบประเมินความพึงพอใจวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t –test การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1)การศึกษา ข้อมูลพื้นฐานพบว่าควรเร่งพัฒนาความรู้นักเรียนสาระที่1การอ่านและสาระที่ 2 การเขียนเพื่อแก้ไข ปัญหาอ่านไม่ออกปัญหาการอ่านออกเสียงผิดปัญหาการอ่านจับใจความส ำคัญของเรื่องไม่ได้ และปัญหาทักษะการเขียนโดยใช้การเรียนแบบActive Learning 2)รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เรื่อง ชนิดของคำ เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนใช้รูปแบบ“PCAT Model” ประกอบด้วย (1) การเตรียมความพร้อมสำหรับการเรียนรู้ (Preparing : P) (2)เรียนแบบ ร่วมมือ(Cooperative Learning : C) (3) การเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning : A) และ(4)การถา่ ยโยงความรู้(Transportability Knowledge : T) การประเมนิ การกาหนดองค์ประกอบ รูปแบบมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากและการทดสอบหาค่าประสิทธิภาพกับนักเรียน 30 คน พบว่ามีค่า 80.22/81.783)การทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เรื่องชนิดของคาเพื่อ พัฒนาทักษะการอ่านและการเขยี น จากงานวิจยั ที่เกย่ี วข้องกบั การจัดการเรียนรูแ้ บบเชิงรกุ (Active Learning) ทไี่ ด้กล่าวมา ข้างต้น สรุปได้ว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) จะทำให้ กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยส่งเสริมและพัฒนาทักษะการ อ่านของผเู้ รยี นไดเ้ ปน็ อยา่ งดีและสง่ ผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผ้เู รยี นอยใู่ นเกณฑ์ที่เหมาะสม 6.3 วจิ ัยทีเ่ กี่ยวข้องกับแบบฝกึ ทักษะ นวรัตน์ จองหนุ่มและกฤษฎา สังขมงคล (2562). ไดท้ ำการวิจยั เรอ่ื ง การพฒั นาแบบฝกึ ทักษะการอ่านออกเสียงคําควบกล้ำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านซ่อง (ประชากรบํารุง) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียง คําควบกล้ำ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านซ่อง (ประชากรบํารุง) ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการออกเสียงคําควบกล้ำ

23 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5โรงเรียนบ้านซ่อง (ประชากรบํารุง)ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคําควบกล้ำ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนบ้านซ่อง (ประชากรบํารุง) ที่กําลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 30 คน โดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงควบกล้ำ จำนวน 5 ชุด 2) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องคําควบกล้ำ จำนวน 5 แผน 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นแบบทดสอบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตวั เลอื ก จำนวน 30 ขอ้ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ใชค้ ่าร้อยละ ค่าเฉล่ยี ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และสถิติ ทดสอบที(dependent sample t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ดงั น้ี 1.แบบฝกึ ทักษะการอ่านออกเสียงคํา ควบกล้ำ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านซ่อง (ประชากรบํารุง) มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 93.89/85.44 แสดงว่าแบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคําควบกล้ำมีประสิทธิภาพสูงกว่า เกณฑ์ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านออกเสียงควบกล้ำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน บ้านซ่อง (ประชากรบํารุง) หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคําควบกล้ำ สูงกว่าก่อนการใช้ใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคําควบก ล้ำอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดบั 0.01 จากงานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ งกับแบบฝกึ ทักษะ ทีไ่ ด้กลา่ วมาข้างต้น สรุปได้วา่ งานวจิ ัยท่ี เกย่ี วขอ้ งกบั แบบฝึกทกั ษะเป็นสอ่ื การเรียนการสอนทีส่ ามารถกระตุ้นให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรูไ้ ด้เปน็ อยา่ งดี มีประสทิ ธิภาพและส่งผลใหผ้ ลสัมฤทธ์ิทางการเขยี นเพมิ่ สงู ข้ึน จากผลการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ วิจัยท่ี เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึก ทักษะ พบว่า การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) ร่วมกับแบบฝึกทักษะ เป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมและพัฒนาทักษะการออก เสียงคำควบกล้ำของผู้เรียนไดเ้ ป็นอย่างดี ซึ่งเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน และทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี นสูงข้ึน

24 บทที่ 3 วธิ ีดำเนนิ การวจิ ยั งานวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยใช้วิธีการจัดการ เรยี นรูแ้ บบ Active Learning ร่วมกบั แบบฝกึ ทักษะ สำหรบั นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียน บ้านปนั จอร์ อำเภอควนโดน จงั หวดั สตูล ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัยเป็นขั้นตอนตามลำดับ ดังนี้ 1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 2. เครื่องมอื และวิธีสรา้ งเครือ่ งมอื การวจิ ยั 3. วิธดี ำเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 4. วิธีการวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสถิติในการวิเคราะหข์ อ้ มลู ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวดั สตูล จำนวน 44 คน กลุ่มตวั อย่าง กลุม่ ตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาวิจยั คร้ังนเ้ี ป็นนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4/1 โรงเรียนบ้าน ปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จำนวน 22 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบยกกลุ่ม (Cluster Random Sampling) จำนวน 1 หอ้ งเรียน เครอ่ื งมอื และวิธสี ร้างเคร่อื งมือการวิจยั 1. เคร่อื งมือการวิจัย 1.1 เครือ่ งมือที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ไดแ้ ก่ - แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 เร่อื ง การอา่ นคำท่ีมี ร ควบกล้ำ - แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 2 เรอ่ื ง การอา่ นคำที่มี ล ควบกลำ้ - แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 3 เร่อื ง การอ่านคำท่ีมี ว ควบกลำ้ 1.2 เครื่องมือที่ใชใ้ นการศกึ ษาผลการเรียนรู้ ได้แก่ แบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำ ควบกล้ำแท้ และแบบทดสอบการอา่ นก่อนเรยี นและหลงั เรยี นคำควบกล้ำแท้ ร ล ว 1.3 เคร่ืองมือที่ใช้สะท้อนผลการเรียนรู้ ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน ของนักเรียน แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมินความเหมาะสม ของแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกลำ้ แท้ และแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มี ตอ่ แบบฝึกทกั ษะ การอ่านออกเสยี งคำควบกลำ้ แท้ 2. วิธกี ารสรา้ งเครือ่ งมือ 2.1 ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง โดยผู้วิจัยศึกษาแนวคิดการจัดการเรียนการ สอนการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ที่จัดกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning และ แนวทางการสร้างแบบฝึกทักษะ

25 2.2 จัดทำแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนบา้ นปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวดั สตูล 2.3 ผู้วิจัยนำแบบประเมินความสอดคล้องของแบบประเมินชุดคำศัพท์ในแบบทดสอบ การอ่านกอ่ นเรียนและหลงั เรียนไปหาคุณภาพของเครื่องมือ โดยให้ผเู้ ช่ียวชาญทำการตรวจสอบความ เที่ยงตรงเชิงเนื้อหา และทำการวิเคราะห์ความสอดคล้องของแบบประเมินชดุ คำศัพท์ในแบบทดสอบ การอ่านกอ่ นเรียนและหลงั เรียนเพ่ือหาคา่ เฉล่ียสำหรับชุดคำศัพท์ โดยใช้สตู ร IOC (Index of item – objective congruence) (ร้งุ ลาวลั ย์ จันทรตั นา, 2561 : 87) โดยมีผเู้ ชย่ี วชาญ 3 ทา่ น ประกอบดว้ ย 1. นางสอฝีย๊ะ หมาดวงั ครูชำนาญการ 2. นางสาวซอฟยี ะห์ สวุ าหลำ ครูผูช้ ว่ ย 3. นางนสุ รีย์ สิตะรุโณ ครูชำนาญการ 2.4 นำผล ข้อ 2.3 ไปปรับปรุงแก้ไข แลว้ นำแบบทดสอบการอ่านก่อนเรยี นและหลังเรียน ไปทดลองใช้กับผู้เรียนที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 10 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 เพ่อื หาความยากง่าย (P) คา่ ความเชอื่ มน่ั (r) และค่าอำนาจจำแนก (r) 2.5 นำผลที่ได้จาก 2.4 ปรับปรุงแก้ไข จากนั้นนำไปใช้จริงกับผู้เรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 จำนวนทัง้ สิน้ 22 คน ในภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 2.6 ผู้วิจัยนำแบบประเมินความเหมาะสมของแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบ กล้ำแท้และแผนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ประเมินความเหมาะสมของ องค์ประกอบ โดยใช้แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามแนวคิดของบุญชม ศรสี ะอาด (2545 : 165-166) มกี ารให้คะแนนระดับความเหมาะสม ดงั น้ี เหมาะสมน้อยทีส่ ดุ ใหค้ ะแนนเปน็ 1 เหมาะสมน้อย ใหค้ ะแนนเป็น 2 เหมาะสมปานกลาง ใหค้ ะแนนเป็น 3 เหมาะสมมาก ใหค้ ะแนนเปน็ 4 เหมาะสมมากท่สี ุด ใหค้ ะแนนเปน็ 5 นำคะแนนการประเมนิ จากผ้เู ชีย่ วชาญในแต่ละข้อมารวมกัน หารด้วยจำนวนข้อจึงได้คา่ เฉลี่ย แลว้ นำมาเทยี บกับเกณฑ์ ดงั น้ี คา่ เฉลีย่ คะแนน 1.00 - 1.50 หมายถึง เหมาะสมน้อยท่ีสดุ คา่ เฉล่ยี คะแนน 1.51 - 2.50 หมายถึง เหมาะสมน้อย คา่ เฉลี่ยคะแนน 2.51 - 3.50 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง คา่ เฉลยี่ คะแนน 3.51 - 4.50 หมายถงึ เหมาะสมมาก ค่าเฉลี่ยคะแนน 4.51 - 5.00 หมายถึง เหมาะสมมากท่ีสุด จากนั้นจึงนำคะแนนเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ มาวิเคราะหเ์ พือ่ นำไปพฒั นา และปรบั ปรงุ คณุ ภาพของเคร่ืองมอื

26 วิธีดำเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผู้วิจัยได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียง คำควบกล้ำแท้ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ตามขั้นตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. จัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ จำนวน 3 แผน 2. จัดทำแบบฝกึ ทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ จำนวน 3 ชดุ 3. ประเมินความสอดคล้องของชุดคำศัพท์แบบทดสอบการอ่านก่อนเรียนและหลัง เรียน 4. ประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้และแบบฝึกทักษะ การอ่านออก เสยี งคำควบกลำ้ แท้ 5. ประเมินความพึงพอใจที่มีต่อแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ (สำหรับนกั เรียน) 6. ทดลองการจัดการเรียนการสอนโดยการใช้แบบฝกึ ทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบ กล้ำแท้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย สำหรับนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 วิธีการวิเคราะห์ข้อมลู ผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้จากการพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยใช้วิธีการ จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบา้ นปันจอร์ อำเภอควนโดน จงั หวดั สตลู ไปวเิ คราะห์ข้อมูล ดังนี้ 1.1 วิเคราะห์ความสอดคล้องของแบบประเมินชุดคำศัพท์ แบบทดสอบการอ่านก่อนเรียน และหลังเรยี น 1.2 วิเคราะห์ความเหมาะสมของแผนการจดั การเรยี นรู้ ผู้วจิ ัยนำคะแนนจากแบบประเมนิ ในแตล่ ะข้อมารวมกัน หารดว้ ยจำนวนข้อจึงได้ค่าเฉลี่ย แล้วนำมาเทียบกับเกณฑ์คุณภาพที่กำหนดไว้ จากนั้นจึงนำคะแนนเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน มาวเิ คราะหแ์ ยกเปน็ รายดา้ น 1.3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของนักเรียน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการเรียนด้วยแบบฝกึ ทกั ษะ การอ่านออกเสยี งคำควบกล้ำแท้ 1.4 วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ แท้ สำหรับนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนบ้านปนั จอร์ อำเภอควนโดน จงั หวัดสตูล

27 สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติสำหรับวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน มีรายละเอียดดังนี้ (รงุ้ ลาวัลย์ จันทรัตนา, 2561 : 87-97) 1. การหาคุณภาพของชุดคำศัพท์แบบทดสอบการอ่านก่อนเรียนและหลังเรียนแจกลูก สะกดคำ 1.1 ค่าความสอดคล้อง (IOC) ของแบบประเมินความสอดคล้องของชุดคำศัพท์ แบบทดสอบการอ่านกอ่ นเรียนและหลังเรยี นแจกลูกสะกดคำแตล่ ะชุด สตู ร IOC = ∑������ ������ เม่อื IOC แทน คา่ ดชั นีความสอดคลอ้ งระหว่างขอ้ คำถามกับวตั ถุประสงค์   แทน ผลรวมของคะแนนความคดิ เห็นของผู้เช่ยี วชาญ N แทน จำนวนผเู้ ชี่ยวชาญ 1.2 คณุ ภาพของแบบทดสอบ 1) คา่ ความยากง่าย (p) สูตร ������ = ������������+������������ ������ เม่ือ ������������ = ������������ ������������ และ ������������ = ������������ ������������ โดยที่ ������ แทน ความยากงา่ ย ������������ แทน จำนวนผู้ตอบถูกในกลุ่มสูง ������������ แทน จำนวนผู้ตอบถกู ในกลุ่มตำ่ ������ แทน จำนวนคนทงั้ หมด ������������ แทน จำนวนคนกล่มุ สงู ทีต่ อบถกู ������������ แทน จำนวนคนกลมุ่ ต่ำทต่ี อบถูก ������������ แทน จำนวนคนกลุม่ สงู ทั้งหมด ������������ แทน จำนวนคนกลุม่ สงู ต่ำท้ังหมด 2) ค่าอำนาจจำแนก (r) สตู ร ������ = ?������−?������ โดยที่ ������ ������ แทน ค่าอำนาจจำแนก ������������ แทน จำนวนผ้ตู อบถูกในกลมุ่ สงู ������������ แทน จำนวนผตู้ อบถูกในกลุ่มต่ำ ������ แทน จำนวนทัง้ หมดในกลุ่มสงู และกลุ่มต่ำ

28 3) คา่ ความเช่อื ม่ัน (reliability) แบบองิ เกณฑ์โดยใชส้ ูตร KR20 (Kuder- Richardson formula 20) KR20 ������ 1−? ? ������ ������������������ = ������ − 1 [ ������2 ] โดยท่ี rtt แทน สัมประสทิ ธ์ิ สหสมั พนั ธข์ องความเช่ือมนั่ k แทน จำนวนข้อคำถาม S2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบบั P แทน สดั สว่ นของคนทำถกู แต่ละข้อ q แทน สดั สว่ นของคนทำผดิ แต่ละข้อ (q = 1 - p) 1.3 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ 1.3.1 ค่าอำนาจจำแนก โดยการทดสอบคา่ ที (t-test) ������ = (������̅1 − ������̅2) √������������112 − ������22 ������2 โดยท่ี แทน ค่าเฉลยี่ ของคะแนนรายขอ้ ของกลุ่มท่ีไดค้ ะแนนสงู แทน คา่ เฉลยี่ ของคะแนนรายข้อของกลุ่มที่ได้คะแนนต่ำ ������̅1 แทน ค่าความแปรปรวน ของกลมุ่ คนคะแนนสูง ������̅2 แทน คา่ ความแปรปรวน ของกลมุ่ คนคะแนนต่ำ ������12 แทน จำนวนคนในกลุ่มคะแนนสูง ������22 แทน จำนวนคนในกลุ่มคะแนนต่ำ ������1 ������2 1.3.3 ค่าความเชื่อมั่น โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (-Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach alpha coefficient) ? = ������ [1 − ?���������������2������2��� ] ������−1 โดยที่ ∝ แทน ความเช่อื มนั่ ของแบบสอบถาม ������ แทน จำนวนข้อคำถาม ���������2��� แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมทง้ั ฉบับ ∑���������2��� แทน ผลรวมของความแปรปรวนของคะแนนแตล่ ะข้อ

29 2. สถติ ทิ ี่ใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล 2.1 สถติ ิพืน้ ฐาน คือ ค่าเฉลีย่ ร้อยละ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน 2.1.1 ค่าเฉลี่ย (mean) คือ ผลรวมของคะแนนทั้งหมดหารด้วยจำนวนข้อมูล ในชดุ นัน้ ๆ - ขอ้ มลู ท่ไี ม่มีการแจกแจงความถ่ี สูตร ���̅��� = ∑������ ������ โดยท่ี ���̅��� แทน ค่าเฉล่ียเลขคณติ ∑������ แทน ผลรวมของข้อมูลทง้ั หมด ������ แทน จำนวนขอ้ มูล - ข้อมลู ทมี่ ีจำนวนมากและมีการแจกแจงความถี่ สูตร ���̅��� = ∑������������ ������ โดยท่ี ̅������ แทน ค่าเฉลี่ยเลขคณติ ∑������������ แทน ผลรวมของผลคูณของความถีก่ ับคา่ กึ่งกลางของขอ้ มูล ในแต่ละช้ัน ������ แทน จำนวนข้อมูล 2.1.2 ร้อยละ (percentage) คือ เป็นการหาสัดส่วนของข้อมูล โดยเทียบกับจำนวน รอ้ ยละ สูตร ������������ = ������ × ������������������ ������ โดยท่ี PC แทน คา่ รอ้ ยละ ������ แทน จำนวนของข้อมูลทต่ี ้องการหาค่า ������ แทน จำนวนของข้อมลู ทัง้ หมด 2.1.3 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (standard deviation) คือ คา่ เฉล่ียของผลตา่ งระหว่าง ข้อมูลแต่ละตัวกบั ค่าเฉล่ียใช้ขอ้ มลู ชดุ นน้ั โดยยกกำลงั และถอดรากท่ี 2 (square root) สตู ร ������ = √∑(������−̅������)������ ������ หรอื หรอื

30 โดยที่ แทน สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน แทน ขอ้ มลู แตล่ ะตัว ������ แทน ข้อมลู แต่ละตวั ยกกำลังสอง ������ แทน คา่ เฉล่ียของคะแนน ������2 แทน ความถี่ของขอ้ มลู ������̅ แทน จำนวนขอ้ มูล ������ ������

31 บทท่ี 4 ผลการวจิ ยั การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้าน ปนั จอร์ อำเภอควนโดน จงั หวัดสตูล ผู้วิจยั นำเสนอผลการวจิ ยั ตามลำดับ ดังน้ี ตอนท่ี 1 การวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการอ่านออกเสยี งคำควบกล้ำ แท้ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียน ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรยี นบา้ นปันจอร์ อำเภอควนโดน จงั หวดั สตลู ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะการอ่าน ออกเสยี งคำควบกล้ำแท้ สญั ลักษณท์ างสถิติในการวิเคราะหข์ อ้ มูล n แทน จำนวนนักเรยี น  แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสมั ฤทธท์ิ างอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยใชว้ ธิ กี ารจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning ร่วมกับ S.D. แทน แบบฝกึ ทกั ษะ t แทน ค่าสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ค่าสถติ ิท่ีใชใ้ นการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจยั ผวู้ จิ ัยไดน้ ำเสนอผลการวิจัยตามลำดบั ดังน้ี ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการอ่านออกเสียงคำควบกลำ้ แท้ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียน ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรียนบา้ นปนั จอร์ อำเภอควนโดน จงั หวดั สตูล ปรากฏดงั ตาราง ที่ 1 ตารางที่ 1 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยใช้วิธีการ จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษา ปีท่ี 4 โรงเรยี นบา้ นปนั จอร์ อำเภอควนโดน จงั หวดั สตูล การทดสอบ N คะแนนเฉล่ีย สว่ นเบ่ียงเบน t มาตรฐาน(S.D.) 18.88* กอ่ นเรยี น 22 () 3.13 หลังเรยี น 22 19.60 2.54 24.90 ** มีนัยสำคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดบั .05

32 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากตารางที่ 1 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ แท้โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบา้ นปนั จอร์ อำเภอควนโดน จงั หวดั สตลู หลังเรยี นสูงกวา่ ก่อนเรียน โดยกอ่ นเรยี นนกั เรียนมี คะแนนเฉลี่ย 19.60 คะแนน มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.13 และหลังเรียนมีคะแนนเฉล่ีย 24.90 คะแนน มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.54 มีค่าการทดสอบที (t - test) เท่ากับ 18.88 และมนี ยั สำคญั ทางสถิติทร่ี ะดบั .05 ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะ การอา่ นออกเสียงคำควบกล้ำแท้ ปรากฏดังตาราง ท่ี 2 ตารางท่ี 2 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึก ทกั ษะการอา่ นออกเสยี งคำควบกล้ำแท้ ที่ รายการประเมนิ ���̅��� S.D. ระดับ ความพงึ พอใจ 1 แบบฝกึ ทกั ษะ การอ่านออกเสยี งคำควบกลำ้ แท้ มเี นือ้ หาชัดเจน เขา้ ใจง่ายและมีแบบฝึกหดั ท้ายบทท่ี 3.77 0.60 มาก นา่ สนใจ 2 แบบฝกึ ทักษะ การอ่านออกเสยี งคำควบกล้ำแท้ 4.05 0.77 มาก มคี วามเหมาะสมของขนาดตวั อักษร และการใชส้ ี 3 แบบฝกึ ทักษะ การอ่านออกเสยี งคำควบกล้ำแท้ 4.27 0.87 มาก มีความนา่ สนใจ และสะดวกต่อการใช้งานของ 4.18 0.98 มาก ผเู้ รยี น 4 นักเรียนสามารถฝึกอา่ นออกเสียงคำควบกล้ำแท้ จากแบบฝึกทักษะได้ 5 นักเรยี นชอบแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสยี ง 4.23 0.85 มาก คำควบกลำ้ แท้ คา่ เฉลย่ี รวม 4.10 0.81 มาก ผลการวิเคราะห์ข้อมูลในตารางที่ 4.2 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (  = 4.10, S.D. = 0.81) และเมื่อ พิจารณา เป็นรายด้าน พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจด้านแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียง คำควบกล้ำแท้ มีความน่าสนใจ และสะดวกต่อการใช้งานของผู้เรียน อยู่ในระดับมาก (  = 4.27,

33 S.D. = 0.87) รองลงมาด้านนักเรียนชอบแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ อยู่ในระดับมาก (  = 4.23, S.D. = 0.85) , ด้านนักเรียนสามารถฝึกอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ จากแบบฝึกทักษะได้ (  = 4.18, S.D. = 0.98) , ด้านแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ แท้ มีความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร และการใช้สี อยู่ในระดับมาก (  = 4.05, S.D. = 0.77) และด้านแบบฝึกทกั ษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ มีเนื้อหาชัดเจน เข้าใจง่ายและมีแบบฝึกหดั ทา้ ยบททีน่ ่าสนใจ มคี วามพึงพอใจในระดับมาก (  = 3.77, S.D. = 0.60)

34 บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ ราย และข้อเสนอแนะ การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning รว่ มกบั แบบฝึกทักษะ สำหรบั นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จงั หวัดสตูล สามารถสรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ดังนี้ วตั ถุประสงค์ของการวิจยั 1. เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรยี นต่อการจัดการเรียนรูแ้ บบ Active Learning ร่วมกบั แบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จงั หวดั สตูล กลุ่มตวั อยา่ ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จำนวน 22 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบยกกลุ่ม (Cluster Random Sampling) จำนวน 1 หอ้ งเรียน เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจยั 1. เครอ่ื งมอื การวจิ ัย 1.1 แบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสยี งคำควบกลำ้ แท้ ประกอบด้วยแบบฝกึ ทักษะ จำนวน 3 ชุด ได้แก่ 1.1.1 แบบฝกึ ทกั ษะ ชดุ ที่ 1 ชวนกนั อ่าน คำควบ ร 1.1.2 แบบฝกึ ทักษะ ชดุ ที่ 2 ฉลาดคดิ พชิ ิตคำควบ ล 1.1.3 แบบฝึกทกั ษะ ชุดท่ี 3 สนกุ สนาน คำควบ ว 1.2 แบบทดสอบการอ่านก่อนและหลังเรียน คำควบกล้ำแท้ ร ล ว สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 จำนวน 3 ชดุ ได้แก่ 1.2.1 แบบทดสอบการอ่านออกเสยี งคำที่มี ร ควบกล้ำ 1.2.2 แบบทดสอบการอา่ นออกเสียงคำทม่ี ี ล ควบกล้ำ 1.2.3 แบบทดสอบการอา่ นออกเสยี งคำทมี่ ี ว ควบกลำ้ 1.3 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรยี นท่มี ีตอ่ แบบฝกึ ทักษะ การอ่านออกเสียงคำ ควบกลำ้ แท้

35 การวิเคราะหข์ ้อมูล ผูว้ จิ ัยไดด้ ำเนินการพัฒนาทักษะการอ่านออกเสยี งคำควบกล้ำแท้ โดยใชว้ ิธกี ารจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน บ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จงั หวัดสตลู ตามขั้นตอนตอ่ ไปน้ี 1. วเิ คราะห์หาประสิทธภิ าพของแบบฝึกทกั ษะ การอา่ นออกเสยี งคำควบกลำ้ แท้ โดยใชร้ ้อยละ 2. การพัฒนาทกั ษะการอ่านออกเสยี งคำควบกล้ำแท้ โดยใชว้ ิธกี ารจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning รว่ มกบั แบบฝกึ ทักษะ วิเคราะหข์ ้อมูลโดยหาสถิติพื้นฐาน ได้แก่ การหาค่าคะแนน เฉลยี่ และค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 3. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยคำนวณหาคา่ เฉลี่ย () ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่าทดสอบที (t - test) 4. วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝกึ ทักษะ การอา่ นออกเสียงคำควบกล้ำ แท้ สำหรับนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรยี นบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตลู สรุปผลการวิจัย 1. ผลสัมฤทธทิ์ างการอ่านออกเสยี งคำควบกลำ้ แท้ โดยใช้วธิ กี ารจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกบั แบบฝึกทักษะ สำหรบั นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรยี นบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวดั สตลู หลังเรยี นสูงกว่ากอ่ นเรยี น 2. นกั เรียนมีความพึงพอใจต่อกระบวนการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning ร่วมกับ แบบฝึกทกั ษะ ในภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก อภิปรายผลการวจิ ยั ผลการจดั การเรยี นรู้โดยใช้วธิ แี บบ Active Learning รว่ มกบั แบบฝึกทกั ษะเพื่อพัฒนาทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตลู อภปิ รายผลไดด้ ังน้ี 1. ผลสมั ฤทธท์ิ างการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแทโ้ ดยใช้วธิ ีการจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning รว่ มกบั แบบฝึกทักษะ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรยี นบ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียนนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 19.60 คะแนน มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.13 และหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 24.90 คะแนน มีส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 2.54 มีค่าการทดสอบที (t - test) เท่ากับ 18.88 และมีนัยสำคัญทางสถิติ ทรี่ ะดับ .05 เนอื่ งจากผวู้ จิ ยั ไดศ้ กึ ษาแนวทางการสร้างแบบฝกึ ทกั ษะ การอา่ นออกเสยี งคำควบกล้ำแท้ ที่สอดคลองกับปยฉัตร ศรีสุราช (2561 : 8) ได้สรุปหลักการสร้างแบบฝกทักษะวา หลักการสร้าง แบบฝกทักษะนั้น ผู้สร้างต้องรูในเนื้อหาวิชาที่จะสร้างแบบฝกหัดนั้น ๆ อย่างถ่องแท้ กำหนดกรอบ

36 การสร้างใหชัดเจน มีส วนประกอบท่ีครบถ้วนสมบูรณ และมีการเรียงลำดับความยากง่าย ไว้ตามความเหมาะสม และในระยะเวลาที่เหมาะสมในการฝกแต่ละครั้ง เพื่อที่จะช่วยกำหนดขั้นตอน ในการสร้างแบบฝึกได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพและและสอดคลองกับงานวิจัยของอจั ฉรา ศรีธารา (2562) ได้ทำการวิจัยเรื่อง ผลของการสอนโดยใชแบบฝกทักษะการอ่านสะกดคําที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนวัดสุวรรณนิมิต ผลการวิเคราะห์ ขอมลู พบวา นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 1 จำนวน 6 คน มีคะแนนเฉลีย่ กอนใชแบบฝกทักษะเทากับ 15.00 สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานเทากับ 4.00 และมนี ักเรยี นผนเกณฑ์ ร้อยละ 70 จำนวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 66.67 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด และมีคะแนนเฉลี่ยหลังใช้แบบฝกทักษะเทากับ 17.33 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 2.80 และมีนักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 83.33 ของจำนวนนักเรียน ทั้งหมด ค่าดัชนีประสิทธิผลของแบบฝกทักษะการอ่านสะกดคําเทากับ 0.47 นั่นคือ นักเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใชแบบฝกทกั ษะการอ่านสะกดคํา สูงกว่าก่อนการใชแบบฝกทกั ษะ การอา่ นสะกดคำอยา่ งมีนยั สําคัญทางสถิติท่รี ะดบั 0.05 2. นักเรียนมคี วามพงึ พอใจตอ่ แบบฝกึ ทักษะ การอ่านออกเสยี งคำควบกล้ำแท้ ในภาพรวม อยูใ่ นระดบั มาก (  = 4.10, S.D. = 0.81) และเม่อื พิจารณา เป็นรายดา้ น พบวา่ นกั เรยี นมีความพึง พอใจดา้ นแบบฝึกทกั ษะ การอา่ นออกเสียงคำควบกล้ำแท้ มีความนา่ สนใจ และสะดวกต่อการใช้งาน ของผู้เรียน อยู่ในระดับมาก (  = 4.27, S.D. = 0.87) รองลงมาด้านนักเรียนชอบแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกลำ้ แท้ อยูใ่ นระดบั มาก (  = 4.23, S.D. = 0.85) , ดา้ นนักเรียนสามารถ ฝกึ อ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้จากแบบฝึกทักษะได้ (  = 4.18, S.D. = 0.98) , ดา้ นแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ มีความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร และการใช้สี อยู่ในระดับมาก (  = 4.05, S.D. = 0.77) และด้านแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ มีเนื้อหาชัดเจน เข้าใจง่ายและมแี บบฝกึ หดั ท้ายบททนี่ ่าสนใจ มีความพึงพอใจในระดบั มาก (  = 3.77, S.D. = 0.60) เน่อื งจากแบบฝกทักษะ การอา่ นออกเสียงคำควบกล้ำแท้ได้ลำดับขนั้ ตอนทเี่ หมาะสมในการฝก ทำให้ นักเรียนเกิดทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ รวมทั้งแบบฝกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกลำ้ เป็นสื่อที่ช่วยดึงดูดความสนใจที่ดี เพราะมีเนื้อหา เหมาะสมกับวัยของนักเรียน ทำให้นักเรียนรูสึก สนุกสนานในการเรียนและเขาใจส่ิงที่เรียนง่ายขึ้น ซึ่งสอดคลองกับอัจฉรา ศรีธารา (2562 : 24) ท่ีได้ กล่าวว่า การสร้างแบบฝกเสริมทักษะตองคำนึงถึงความสามารถ ความสนใจ แรงจูงใจของนักเรียน และมีการเรยี งลำดบั แบบฝกเสริมทกั ษะจากง่ายไปหายาก การทำวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ โดยใช้วิธีการจัดการ เรียนรแู้ บบ Active Learning รว่ มกับแบบฝึกทกั ษะ สำหรับนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรยี น บ้านปันจอร์ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ผู้วิจัยได้สร้างแบบฝึกทักษะที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน จึงทำให้แบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ สามารถพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียง คำควบกล้ำของนักเรียนได้และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงคำควบ กลำ้ แท้

37 ข้อเสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะในการนำไปใชป้ ระโยชน์ 1.1 การจัดการเรียนการสอนโดยใชว้ ิธีการสอนแบบ Active Learning ร่วมกับแบบฝึก ทักษะ เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแท้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ผู้สอน สามารถนำไปใช้ในระดับชั้นเดียวกันหรือประยุกต์ใช้กับนักเรียนช้ันอื่น ๆ ทั้งนี้เพื่อเป็นการปลูกฝังให้ นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน ฝึกออกเสียงได้อย่างถูกต้องและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั หรือการ เรียนในระดับสูงขนึ้ ได้ 1.2 ครูผสู้ อนภาษาไทย ควรพัฒนาแบบฝึกทักษะใหม้ คี วามหลากหลาย ทนั สมัย เพ่อื ใช้ฝึกทักษะการอ่านออกเสยี งของนักเรียนให้มีประสิทธภิ าพมากยงิ่ ขึ้น 1.3 ผสู้ อนควรศึกษาแผนการการจดั การเรียนรู้ สือ่ ท่ีใชใ้ นการเรยี นการสอนทกุ คร้งั เพ่อื ให้การจดั การเรยี นการสอนดำเนินไปตามลำดับขัน้ ตอนและบรรลุจุดม่งุ หมายที่วางไว้ 2. ขอ้ เสนอแนะในการวิจัยตอ่ ไป 2.1 ควรมกี ารเปรียบเทียบผลการสอนโดยแบบฝึกทกั ษะกับการสอนโดยไม่ใช้แบบฝกึ ทักษะ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนว่ามีความก้าวหน้าทางการเรียนแตกต่างกัน หรือไม่ 2.2 ควรเพม่ิ ระดับความยากและความหลากหลายของแบบฝึกทักษะ เพื่อให้นักเรยี นได้ พัฒนาทักษะการอ่านออกเสยี งได้มากข้นึ

38 บรรณานกุ รม

39 บรรณานกุ รม กรมวิชาการ. (2551). การจดั การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ตามหลักสตู รการศึกษา ข้ันพน้ื ฐาน. โรงพมิ พค์ รุ สุ ภาลาดพรา้ ว. กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานพุทธศักราช 2551. กลำ้ ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรยี นบา้ นซ่อง (ประชากรบํารุง). วารสารวิชาการ กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย สำหรบั นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 3. โรงเรียนโคกโพธ์ิ ไชยศึกษา. กาญจนา ชลเกรกิ เกยี รติ. (2561). การพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคำพ้นื ฐานภาษาไทยโดยใช้แบบ การเรยี นวชิ าภาษาไทยของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนวดั สวุ รรณนิมติ . วทิ ยาลยั การศึกษา. การศึกษามหาบณั ฑิต (การประถมศึกษา). มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ. กำชัย ทองหล่อ. (2543). หลักภาษาไทย (พิมพ์คร้งั ที่ 9). รวมสาส์น. จิตณรงค์ เอ่ยี มสำอางค์. (2558). “Active Learning แนวทางการจัดการเรียนรู้สำหรบั ผูเ้ รียนในยุค ศตวรรษท่ี 21.” เข้าถงึ เมอ่ื 9 มนี าคม 2563. เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://chitnarongactivelearning. blogspot.com ฉวลี กั ษณ์ บุญยะกาญจน. (2557). จิตวทิ ยาการอา่ น (พมิ พ์คร้งั ที่ 2). สวุ รี ยิ าสาสน์ . ณัฏฐนาถ สุกส. (2558). การสรา้ งแบบฝกึ ทกั ษะร่วมกับกบั ภาพการตูนเพ่ือพฒั นาการเขียนสะกดคํา ที่มตี ัวสะกดไมต่ รงตามมาตรา สำหรับนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาป ท่ี 3 [วทิ ยานิพนธปรญิ ญา ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิตไมไ่ ดต้ ีพมิ พ]. มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. ดิเรก พรสมี า. (2559). “ครไู ทย 4.0 กระทรวงศกึ ษาธิการ.” เขา้ ถึงเมอื่ 31 กรกฎาคม 2565. เขา้ ถึง ไดจ้ าก: http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID. ถวัลย มาศจรสั และคณะ. (2550). แบบฝกหัด แบบฝกทักษะเพือ่ พฒั นาการเรยี นรูผู้เรยี นและการ จดั ทำผลงานวิชาการของขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา (พมิ พครั้งที่ 2). ธารอักษร. ทววี ฒั น วัฒนกุลเจรญิ . (2559). “การเรียนเชงิ รกุ (Active Learning).” เขา้ ถึงเม่ือ 8 มิถนุ ายน 2563. เข้าถึงไดจ้ าก http://www4.eduzones.com/images/blog/sasithep/File/activet.pdf ทิพลดั ดา นิลผาย (2560). การพฒั นาทกั ษะดา้ นการอ่านและการเขยี นคำควบกล้ำภาษาไทย ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยใช้กระบวนการกลุ่มรว่ มมอื เทคนิค CIRC. [วทิ ยานพิ นธปรญิ ญาครศุ าสตรมหาบัณฑติ ไม่ได้ตีพมิ พ์]. มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. ธฤตภณ สุวรรณรกั ษ์ (2549). การพัฒนาแบบฝึกการออกเสยี งคำควบกล้ำสำหรับนักเรียนช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนวดั พทุ ธบชู า. [สารนิพนธ์ปรญิ ญาการศึกษามหาบัณฑิต ธารอกั ษร.