ห น้ า | 146 การประยกุ ต์ใชค้ ะแนนมาตรฐานในการตัดเกรด การกระจายของความถี่ของคะแนนผเู้ ข้าสอบจะมีลกั ษณะเป็นโค้งปกติ พืน้ ทีใ่ ต้เส้นโค้ง ปกติ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พื้นที่ใต้เส้นโค้งสะสม คะแนน Z และคะแนน T แสดงดังรูป ภาพ 8.3 การเปรียบเทียบลักษณะเป็นโค้งปกติ พืน้ ทีใ่ ต้เส้นโค้งปกติ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน พืน้ ที่ใต้เส้นโค้งสะสม คะแนน Z และคะแนน T ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะกรณีแบ่งการตัดเกรดออกเป็น 5 เกรด คือ A, B, C, D และ F (ถ้าจะแบ่งเกรดให้เป็น A, B+, B, C+, C, D+, D และ F เพียงซอยย่อยบริเวณของแต่ละเกรด ออกเปน็ สองส่วนเท่าน้ัน) จากตวั อย่างที่ 8.3 คะแนน Tally ความถ่ี ความถ่ี (cf + 0.5f) Percentile คะแนน T ดิบ (f) สะสม (cf) ปกติ 27 / 1 19.5 97.50 70 25 / 1 20 18.5 92.50 64 24 /// 3 19 16.5 82.50 59 23 // 2 18 14.0 70.00 55 21 / 1 15 12.5 62.50 53 20 ///// 5 13 9.5 47.50 49 19 / 1 12 6.5 32.50 45 7
ห น้ า | 147 คะแนน Tally ความถ่ี ความถ่ี (cf + 0.5f) Percentile คะแนน T ดิบ (f) สะสม (cf) ปกติ 18 / 1 5.5 27.50 44 17 / 1 6 4.5 22.50 42 15 // 2 5 3.0 15.00 40 14 / 1 4 1.5 7.50 36 12 / 1 2 0.5 2.50 30 1 เมื่อผู้ใชเ้ ลือกตดั เกรด A, B, C, D, F มีขนั้ ตอนการคานวณดังน้ี 1. หาพิสัย (Range) ของคะแนน ในที่น้ีคอื (คะแนนทีปกติค่าสงู สดุ – คะแนนทีปกติค่าตา่ สดุ )/ จานวนเกรดที่จะตดั = (70 -30) / 5 = 8 2. คานวณหาคะแนน Normalized T score ในแต่ละเกรด ดังน้ี คะแนนทีปกติ เท่ากบั หรอื มากกว่า 50 + 1.5 * พิสัย จะได้เกรด A 50 + 1.5*8 = 62 คะแนน T ปกติ 62 ขนึ้ ไปจงึ จะได้ A คะแนนทีปกติ เท่ากับหรอื มากกว่า 50 + 0.5* พิสัย แตไ่ ม่ถึง 50 +1.5* พิสยั จะได้ เกรด B 50 + 0.5 *8 = 54 คะแนน T ปกติ 54 ถึง 61 จะได้ B คะแนนทีปกติ เท่ากับหรอื มากกว่า 50 - 0.5* พิสัย แตไ่ ม่ถึง 50 + 0.5* พิสยั จะได้ เกรด C 50 - 0.5 *8 = 46 คะแนน T ปกติ 46 ถึง 53 จะได้ C คะแนนทีปกติ เท่ากบั หรอื มากกว่า 50 -1.5* พิสัย แตไ่ ม่ถึง 50 – 0.5* พิสัย จะได้ เกรด D 50 - 1.5 *8 = 38 คะแนน T ปกติ 38 ถึง 45 จะได้ D คะแนนทีปกติ ทีน่ อ้ ยกว่า 50 -1.5* พิสยั จะได้เกรด F คะแนนทีปกติทีน่ อ้ ยกว่า 38 จะติด F
ห น้ า | 148 นาเกรดทีไ่ ด้ไปเขียนลงในตาราง จะเปน็ ดังน้ี คะแนน Tally ความถ่ี ความถ่ี (cf + 0.5f) Percentile คะแนน T grade ดิบ (f) สะสม (cf) ปกติ 27 / 1 19.5 A 25 / 1 20 18.5 97.50 70 A 24 /// 3 19 16.5 92.50 64 B 23 // 2 18 14.0 82.50 59 B 21 / 1 15 12.5 70.00 55 C 20 ///// 5 13 9.5 62.50 53 C 19 / 1 12 6.5 47.50 49 D 18 / 1 7 5.5 32.50 45 D 17 / 1 6 4.5 27.50 44 D 15 // 2 5 3.0 22.50 42 D 14 / 1 4 1.5 15.00 40 F 12 / 1 2 0.5 7.50 36 F 1 2.50 30 5. สรุป คะแนนมาตรฐานเป็นการแปลงรูปมาจากคะแนนดิบเพื่อเปลี่ยนระดับผลการวัดจาก ระดับอันดับ (Ordinal Scale) เป็นระดับช่วงระยะ (Interval Scale) ที่นิยมใช้ได้แก่ Z-Score และ T – Score เพื่อให้สามารถตีความหมายของข้อมูลได้แน่ชัดว่ามีสภาพการเรียนรู้มากน้อย เพียงไร โดยมีการนาคะแนนมาตรฐานไปใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการตัดเกรด แต่ทั้งนี้หลักเกณฑ์ หรือทฤษฏีในการให้เกรดน้ันมีหลายแบบ หลายวิธี ส่วนวิธีการใดจะเป็นวิธีการที่ถูกต้องที่สุด ดีทีส่ ุด คงหาคาตอบไม่ได้ เพราะแตล่ ะวธิ ีก็มีทั้งข้อดีและข้อจากัดของตัวมนั เอง
ห น้ า | 149 6. แบบฝึกหัด 1. ผลการทดสอบความรู้วิชาสถิติวิจัยของนักศึกษาช้ันปีที่ 3 กลุ่มหนึ่งจานวน 20 คน ปรากฏคะแนนดังนี้ 71 70 69 69 69 64 64 63 61 59 61 60 59 58 58 57 56 55 54 30 จงแปลงคะแนนดิบเหล่านีใ้ ห้เป็นคะแนนมาตรฐานในรปู 1. Z-Score 2. T-Score 3. Normalized T-Score 4. ใช้คะแนนมาตรฐานในการตัดเกรดเป็น 5 เกรด ได้แก่ A, B, C, D, F 2. ในการสอบวิชาสถิติของศึกษาเอกคณิตศาสตร์กลุ่ม 1 ซึ่งมีนักศึกษาชาย 25 คนและ นักศึกษาหญิง 15 คน ปรากฏว่า ค่าเฉลีย่ เลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบ ของนักศึกษาชายเท่ากับ 38 และ 12 คะแนน ตามลาดับ ถ้านายกวีสอบได้คะแนนมาตรฐาน เท่ากับ 2 เม่ือเทียบกับกลุ่มนักศึกษาชาย และเท่ากับ 1.5 เม่ือเทียบกับนักศึกษาทั้งห้อง โดยที่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานทั้งห้องเท่ากับ 14 คะแนน แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของ วิชาสถิตขิ องนักศึกษาทั้งหอ้ งเท่ากับเท่าใด 7. Link ที่นักศกึ ษาจะเขา้ ไปท้าการศกึ ษาด้วยตนเอง 1. https://youtu.be/Dy9_xxHE8zs 2. https://www.youtube.com/watch?v=HqdWGQKGlqg
ห น้ า | 150 8. แหล่งค้นควา้ เพิม่ เตมิ กนกทิพย์ พัฒนาพัวพันธ์. (2543). สถิติอ้างอิงเพื่อการวิจัยทางการศึกษา. ภาควิชาการ ประเมินผลและวิจัยทางการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กานดา พนู ลาภทวี. (2539). สถิติเพือ่ การวจิ ัย. ภาควิชาครุศาสตรเ์ ทคโนโลยี คณะครศุ าสตร์ อตุ สาหกรรมและวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื . เกียรตสิ ดุ า ศรีสขุ . (2552). ระเบียบวิธีวจิ ัย Research Methodology. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.่ นิโลบล นิ่มกิ่งรัตน์. (2524). วิธีการให้เกรด ในการประเมินผลการเรียน. ภาควิชา ประเมินผลและวิจยั การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ห น้ า | 151 บทที่ 9 การวิเคราะหข์ อ้ มูลดว้ ยโปรแกรม SPSS สาระการเรียนรู้ 1. ความสาคัญของการวิเคราะหด์ ้วยโปรแกรมสาเร็จรปู 2. การเตรียมขอ้ มูลสาหรับการวิเคราะหข์ ้อมูลดว้ ยโปรแกรมสาเร็จรูป 3. การวิเคราะหข์ ้อมลู ดว้ ยโปรแกรมสาเร็จรูปเพือ่ การอธิบายลักษณะโดยทั่วไปของขอ้ มูล 4. การวิเคราะหข์ ้อมลู ดว้ ยโปรแกรมสาเร็จรูปเพือ่ ตรวจสอบสมมตุ ฐิ าน 5. การวิเคราะหข์ ้อมลู ดว้ ยโปรแกรมสาเร็จรปู เพื่อหาค่าสหสัมพันธ์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายความสาคญั ของการวิเคราะหด์ ้วยโปรแกรมสาเร็จรปู ได้อย่างถกู ต้อง 2. สามารถเตรียมข้อมูลสาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปได้อย่าง เหมาะสม 3. สามารถวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปเพื่อการอธิบายลักษณะโดยทั่วไปของ ข้อมูลได้อย่างถกู ต้อง 4. สามารถวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปเพื่อตรวจสอบสมมุติฐานได้อย่าง ถกู ต้อง 5. สามารถวิเคราะหข์ ้อมูลดว้ ยโปรแกรมสาเร็จรปู เพือ่ หาค่าสหสัมพันธ์ได้อย่างถกู ต้อง
ห น้ า | 152 1. ความสา้ คญั ของการวิเคราะหด์ ้วยโปรแกรมส้าเรจ็ รปู โปรแกรมสาเร็จรูปที่มีความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติในปัจจุบันมี มากมายหลายชนดิ ซึ่งได้มีผพู้ ัฒนาโปรแกรมสาเรจ็ รปู ที่ใชก้ บั งานด้านสถิติ เชน่ SAS, MINITAB, SP, ISP, SPSS, Microsoft Excel เปน็ ต้น ทางด้านการศึกษาและด้านสังคมศาสตร์เป็นแขนงที่ต้องมีก ารวิ เคราะห์ข้อมูลเ ชิง ส าเ ห ตุ ค ว าม สั ม พั น ธ์ ที่ ซั บ ซ้ อ น จึง มีผู้คิ ด ค้ น โ ป ร แ ก ร ม ส าเ ร็ จ รู ป ที่ ใ ช้ กั บ ง าน ด้ าน ส ถิ ติ ท า ง สังคมศาสตร์ ได้แก่ โปรแกรม LISREAL โปรแกรม M-plus โปรแกรม HLM และโปรแกรม SPSS เป็นต้น โปรแกรม SPSS เป็นโปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย เน่ืองจากเปน็ โป รแกรมที่มีความสามารถในการวิเคราะห์และวิจัยงานที่มีข้อมูลจานวนมาก โปรแกรม SPSS สามารถใช้งานได้ดงั นี้ 1. การดัดแปลงข้อมูล (Data Transformation) โดยใช้ข้อมูลที่มีอยู่มาคานวณ สร้าง เป็นตัวแปรหรอื กลุ่มขอ้ มลู ใหม่ 2. การคัดเลือกข้อมลู (Data Selection) เลือกข้อมูลตามเง่อื นไขที่กาหนดหรอื เลือก ค่าของบางตวั แปรมาทาการวิเคราะห์ 3. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ค่าสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) มีการ สร้างตารางแจกแจงความถี่ และการนาเสนอข้อมูลในรปู ต่างๆ 4. การสรา้ งตาราง Contingency 5. การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปร 6. การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่มข้นึ ไป 7. การวิเคราะหค์ วามถดถอย สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตวั แปรตาม 8. การทดสอบโดยไม่ใช้พารามิเตอร์ ฯลฯ
ห น้ า | 153 2. การเตรียมขอ้ มูลส้าหรบั การวิเคราะห์ข้อมลู ด้วยโปรแกรมสา้ เร็จรปู เพื่อให้ข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลแล้วอยู่ในรูปที่สามารถนาไปใช้งานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ซึง่ มีขน้ั ตอน ดังน้ี 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากรูปแบบต่างๆ เช่น แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบสมั ภาษณ์ ท้ังที่เปน็ ข้อมูลปฐมภมู แิ ละทุติยภมู ิ 2. การเปลี่ยนสภาพข้อมูล เป็นการเปลี่ยนสภาพของข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ให้อยู่ ในรปู แบบทีส่ ะดวกหรอื เหมาะสมต่อการนาไปประมวลผล ซึง่ ประกอบด้วย 2.1 การลงรหัส (Coding) เป็นการเปลี่ยนรูปแบบข้อมูลโดยให้รหัสแทนข้อมูลเพื่อ ทาให้สามารถจาแนกลักษณะข้อมูล รหัสที่ใช้แทนข้อมูลอาจจะอยู่ในรูปตัวเลข ตัวอักษร หรือ ข้อความ ซึ่งโดยปกตินิยมกาหนดรหัสข้อมูลให้เป็นตัวเลข (ยกเว้นโปรแกรมที่ใช้ประมวลผล ข้อมูลในการวิจัยเชิงคณุ ภาพโดยเฉพาะ) ไม่ว่าจะเปน็ ข้อมูลเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ แตก่ าร นาไปวิเคราะหห์ รอื ประมวลผล และการตคี วามจะแตกต่างกนั ไป 2.2 การแก้ไข (Editing) เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลรวมท้ังข้อมูลที่ ได้แปลงให้อยู่ในรูปรหัสแล้ว รวมทั้งการตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูล และแก้ไขปรับปรงุ ให้ถูกต้อง 3. การประมวลผล (Data processing) เป็นการนาข้อมูลที่ได้จากการเปลี่ยนสภาพ แล้ว มาทาการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งในปัจจุบันจะใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติช่วยในการ วิเคราะห์ ซึ่งการวิเคราะห์ อาจจะเป็นการวิเคราะห์ขั้นต้น เช่น การเรียงลาดับ (Sorting) การ รวบรวมข้อมูล (Merging) หรือการวิเคราะห์ในระดับที่สูงขึ้นมาอีก เช่น การประมาณค่า (Estimate) การทดสอบสมมุตฐิ าน (Hypothesis testing) หรอื การวิเคราะหโ์ ดยใช้สถิตชิ ั้นสูงอื่น 4. การแสดงผลลัพธ์ (Output) เป็นการนาเสนอผลลัพธ์จากการวิเคราะห์ข้อมูลใหอ้ ยู่ ในรปู ทีเ่ ข้าใจง่าย ซึง่ อาจเป็นรายงาน ตาราง กราฟ หรอื แผนภมู ิอ่นื ๆ โดยมีขั้นตอนการดาเนินการดังนี้ ข้ันตอนท่ี 1 การสร้างรหัสสา้ หรบั ตัวแปร โดยปกติในการวิจัย ผู้วิจัยจะออกแบบการวิจัยโดยกาหนดตัวแปรไว้ตั้งแต่ก่อนการ เก็บรวบรวมข้อมูลแต่ถ้าเป็นข้อมูลที่มีการรวบรวมเพื่อประมวลผลเพื่อวัตถุประสงค์ใด วัตถุประสงค์หนึ่งอาจไม่ได้กาหนดตัวแปรไว้ล่วงหน้าก็ได้ ดังนั้นเม่ือมีการเก็บรวบรวมข้อมูล แล้ว จะต้องกาหนดตัวแปรหรือค่ารหัสของตัวแปร การกาหนดชื่อตัวแปรนั้นจะต้องกาหนดทั้ง
ห น้ า | 154 ข้อมูลที่เป็นเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ส่วนการให้ค่ารหัสนั้นมักจะใช้กับตัวแปรเชิงคุณภาพ เช่น เพศ อาชีพ ศาสนา วุฒิการศึกษา เป็นต้น ส่วนตัวแปรเชิงปริมาณก็ใช้ค่าที่ได้จากการเก็บ รวบข้อมูลจริง เช่น อายุ ก็จะใส่ค่ารหัส ตามอายุจริงที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลมา ยกเว้น กรณีการกาหนดช่วงอายุหรือจัดกลุ่มอายุไว้ต้ังแต่ก่อนการเก็บข้อมูล ในลักษณะอย่างนี้ จาเป็นต้องกาหนดค่ารหัสเชน่ กัน ในบางครั้งการกาหนดตัวแปรหรือกาหนดรหัสจะทาควบคู่กับเคร่ืองมือการวิจัย ซึ่ง คาถาม 1 คาถาม จะสามารถสร้างตัวแปรได้อย่างน้อย 1 ตัวแปร และค่าของตัวแปรที่ได้ก็คือ ข้อมูลนั่นเอง สามารถแสดงตัวอย่างการกาหนดตัวแปรและการให้ค่ารหัสตัวแปรจาก แบบสอบถาม ดงั น้ี ตาราง 9.1 แสดงตวั อย่างการกาหนดตัวแปรและการให้ค่ารหสั ตัวแปรจากแบบสอบถาม แบบสอบถามเพือ่ การวิจัย หมายเลข ........... ส้าหรับเจา้ หนา้ ที่ ตอนที่ 1 สถานภาพสว่ นบุคคล คาชแี้ จง กรุณากาเครอ่ื งหมาย ลงในช่อง ทีต่ รงกับความเป็นจริงของ ท่าน 1. เพศ 1.ชาย 2. หญิง SEX AGE 2. อาย.ุ ........................ปี EXP EDU 3. ประสบการณ์ในการทางาน........................ ปี Pretest Posttest 4. ระดับการศกึ ษา 1. ต่ากว่าปริญญาตรี 2. ปริญญาตรี 3.ปริญญาโทขึน้ ไป 5. คะแนนทดสอบก่อนเรียน ……………….คะแนน 6. คะแนนทดสอบหลงั เรียน…………………คะแนน จากตัวอย่างแบบสอบถาม จะเห็นว่า ทางด้านขวามีชื่อตัวแปรกาหนดไว้ โดยการตั้ง ชื่อตัวแปรจะเป็นภาษาไทยหรืออังกฤษก็ได้ การกาหนดชื่อตัวแปรที่จะใช้ประมวลผลด้วย คอมพิวเตอร์นั้นควรกาหนดชื่อให้สอดคล้องกับตัวแปรในการวิจัยในเร่ืองน้ันๆ ซึ่งจะทาให้ สะดวกต่อการจาและทาความเข้าใจ ในกรณีทีใ่ ชโ้ ปรแกรม SPSS for Window จะมีความยาวไม่ เกิน 8 ตัวอักษรซึ่งจะกล่าวถึงในรายละเอียดต่อไป นอกจากนี้จะมีชองสี่เหลี่ยมสาหรับใส่ค่า
ห น้ า | 155 รหัสของตัวแปร ซึ่งได้มาจากการตอบแบบสอบถาม ผู้วิจัยควรทาสมุดคู่มือการกาหนดรหัสให้ ตวั แปร โดยกาหนดชื่อตัวแปร ชนิดของตวั แปร ขนาดของตวั แปร และการให้ค่ารหัสตัวแปร ตาราง 9.2 ตัวอย่างการจดั ทาคมู่ อื การลงรหสั ค้าถาม ช่อื ตวั รายการ ขนาดตวั ค่ารหสั ข้อสังเกต ที่ แปร ขอ้ มลู แปร(จา้ นวน เลอื กได้คาตอบ 1 Sex เพศ เดียว หลัก) 1 1 ชาย 2หญิง 9ไมต่ อบ/ตอบสองข้อ 2 Age อายุ 2 ตามจริง 99 ไมต่ อบ อายจุ รงิ 3 Exp ประสบการณ์ 2 01 – 40 ตามจริง ประสบการณ์ จรงิ 4 Edu การศึกษา 99 ไมต่ อบ 1 1 ตา่ กว่าปริญญาตรี เลอื กได้คาตอบ เดียว 2 ปริญญาตรี 3 ปริญญาโทขนึ้ ไป 9ไมต่ อบ 5 Pretest คะแนนก่อน 2 00 – 20 ตามจริง 99 คะแนนก่อน เรียน ไมต่ อบ เรียนจริง 6 Posttest คะแนนหลัง 2 00 – 20 ตามจริง 99 คะแนนหลัง เรียน ไมต่ อบ เรียนจริง การจัดทาคู่มือลงรหัสจะทาให้การลงข้อมูลได้ไม่ผิดพลาดโดยเฉพาะเม่ือตัวแปรมี จานวนมาก ขัน้ ตอนท่ี 2 การวเิ คราะหข์ ้อมลู เพื่ออธิบายลกั ษณะของขอ้ มูล โปรแกรม SPSS เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่ได้รับความนิยม อย่างแพร่หลายมานานต้ังแต่ ยังใช้ เวอร์ชัน DOS จนกระท่ัง เวอร์ชันที่ใช้ใน Windows ได้มีการ
ห น้ า | 156 พัฒนาและปรับปรุงอยู่ตลอด โปรแกรม SPSS มีความสามารถมากมายแต่สาหรับการใช้ โปรแกรม SPSS ในเนื้อหานีจ้ ะพูดถึงส่วนทีจ่ าเปน็ และเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนเท่านั้น การเปิด File หรอื การสร้าง File ใหม่ Start > Program > Spss ได้ดังภาพที่ 9.1 ผลการเปิดโปรแกรมครง้ั แรก สามารถเปิด file เดิมที่ มยี แู่ ลว้ (เคยใช้งาน) หรอื click ที่ cancel เพ่อื เปิดหรือ สร้าง file ใหม่ ภาพ 9.1 หนา้ เมนูหลักของโปรแกรม SPSS ในกรณีที่เรากดปุ่ม Cancel จะปรากฏหน้าต่าง SPSS Data Editor ซึ่งเป็นหน้าต่าง สาหรับกรอกและแก้ไขข้อมูล รวมท้ังการประมวลผลอื่นๆ ในกรณีที่ต้องการเปิด File ที่มีอยู่ แล้วให้ Click ที่ File > Open > Data หรือ Click ที่ บน Tool Bar จะได้หน้าจอ ดังภาพ ที่ 9.2 หลังจากน้ันให้เลือก File ที่เราต้องการ และ Click ที่ Open
ห น้ า | 157 เปิด File ใหม่ : เลอื ก file ที่ต้องการเปิด 1 แลว้ click ที่ open 2 ภาพ 9.2 หนา้ ต่างการเปิด File ใหม่ของโปรแกรม SPSS ผลการเปิด File จะได้ดงั ภาพที่ 9.3 ภาพ 9.3 แสดงตวั อย่างการเปิดไฟล์ข้อมลู ที่มอี ยู่แล้วด้วยโปรแกรม SPSS ขน้ั ตอนท่ี 3 การกา้ หนดชื่อและคา่ ตัวแปร (Name)
ห น้ า | 158 กรณีที่เป็น File ยังไม่กรอกข้อมูล หรือยังไม่กาหนดชื่อและค่าตัวแปร สิ่งแรกที่ผู้ วิเคราะห์ข้อมูลต้องดาเนินการคือการกาหนดชื่อและคุณลักษณะต่าง ๆ ให้ตัวแปร โดยการ Click ที่ จะได้ผลดงั ภาพที่ 9.4 ภาพ 9.4 แสดงตัวอย่างการกาหนดชื่อและคุณลักษณะต่างๆ ให้ตวั แปร ในการกาหนดชื่อตัวแปรในโปรแกรม SPSS น้ันสามารถกาหนดได้ทั้งที่เป็นภาษาไทย และภาษาอังกฤษ แต่จะกาหนดได้ไม่เกิน 8 ตัวอักษร และการกาหนดชื่อตัวแปรน้ันควร กาหนดให้สอดคล้องกับสภาพจริงของตัวแปร เช่น ตัวแปรคะแนนทดสอบก่อนเรียน กาหนด เปน็ ก่อนเรยี น หรอื Pretest เปน็ ต้น จากคู่มอื ลงรหสั จะพบว่าเพศได้กาหนดใหเ้ ป็น Sex และยงั พบอีกว่ากาหนดให้ 1 แทน ชาย และ 2 แทนหญิง ดังน้ันในโปรแกรมจะต้องทาการแทนเลขดังกล่าว โดยคลิกที่ แล้วดาเนินการดังนี้ 1. พิมพ์ “เลข 1” ลงในชอ่ ง Value 2. พิมพ์ “ชาย” ลงในช่อง Value Label (สามารถกรอกได้ท้ังภาษาอังกฤษและ ภาษาไทย) 3. กดปุ่ม Add ในกรณีกาหนดค่าใหเ้ พศหญิง ทาเชน่ เดียวกบั เพศชาย ส่วน ปุ่ม Change มีไว้สาหรับ แก้ไข และถ้าต้องการลบออกให้กด Remove ส่วนตัวแปร Edu ก็ทาเช่นเดียวกบั ตัวแปร sex จะ ได้ดังภาพ 9.5
ห น้ า | 159 Click เพอ่ื กาหนดคา่ ท่ใี ชแ้ ทนเพศชายและเพศหญิง ภาพ 9.5 แสดงตัวอย่างการกาหนดค่าของตวั แปรที่มรี ะดับการวดั เป็น Nominal หรือ Ordinal กรณีผู้ให้ข้อมูลไม่ระบุข้อมูลในบางตัวแปร ผู้วิจัยจาเป็นต้องกาหนดค่าความผิดปกติ ให้โปรแกรมทราบและละเว้นการประมวลผลข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์น้ันโดยการกาหนดว่าไว้ในเมนู บ าร์ เพื่อกาหนด ค่ าใ ห้กับ ข้อ มู ลที่ไ ม่ส มบู ร ณ์ โดย คลิก เลือ ก เ ม นู แล้วกาหนดค่าดังแสดงตัวอย่างในภาพ 9.6
ห น้ า | 160 ภาพ 9.6 แสดงตวั อย่างการกาหนดค่าความผิดปกติของขอ้ มลู เพื่อใหโ้ ปรแกรมละเว้นการ ประมวลผล ขัน้ ตอนท่ี 4 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู (สถิติพรรณนา) 1) การหาค่าความถี่และร้อยละ (ข้อมูลระดับ Nominal scale และ Ordinal scale) โดยมีขั้นตอนดงั น้ี ข้ันที่ 1 เปิดโปรแกรม Spss > เปิดไฟล์ทีต่ ้องการวิเคราะห์ ข้ันที่ 2 คลิก Analyze > Descriptive Statistics > Frequencies จากนั้นจะปรากฏเมนู ให้ผู้วิจัยเลือกตัวแปรที่ต้องการให้วิเคราะห์ความถี่ ร้อยละ โดยคลิกเลือกตัวแปรแล้วคลิกที่ปุ่ม และเม่ือต้องการยกเลิกตัวแปรที่เลือกให้ คลิกทีต่ ัวแปร แล้วคลิกทีป่ ุ่ม ดงั ภาพที่ 9.7
ห น้ า | 161 1. เลอื กคาสง่ั Frequencies 1 2. เลอื กตวั แปรทีต่ ้องการวเิ คราะห์ 2 ภาพ 9.7 แสดงการวิเคราะหค์ วามถี่ ร้อยละและการป้อนตวั แปรในการวิเคราะห์ ขั้นที่ 3 ส่ังให้โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลโดยคลิกที่ปุ่ม จะปรากฏผลการ วิเคราะห์ ในหน้าต่าง Output ดงั ภาพ 9.8 ภาพ 9.8 แสดงตวั อย่างผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ด้วยคาส่ัง Frequencies
ห น้ า | 162 ขั้นที่ 4 การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบตาราง ดังตาราง 9.9 และแปล ผลขอ้ มลู ตวั อยา่ งการนา้ เสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลและการแปลผล ตาราง 9.3 แสดงจานวนและร้อยละของขอ้ มลู ส่วนบุคคลของกลุ่มตวั อย่าง ข้อมูลส่วนบคุ คล (n=100) จา้ นวน รอ้ ยละ เพศ 58 58.0 ชาย 42 42.0 หญิง ระดบั การศกึ ษา 37 37.0 ตา่ กว่าปริญญาตรี 13 13.0 ปริญญาตรี 35 35.0 ปริญญาโทขึน้ ไป 15 15.0 ไม่ตอบ จากตาราง 9.3 พบว่า กลุ่มตัวอย่างจานวน 100 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากที่สุด ร้อยละ 58.0 มีระดบั การศกึ ษาต่ากว่าปริญญาตรีมากที่สดุ ร้อยละ 37.0 รองลงเป็นการศึกษา ระดบั ปริญญาโทขึน้ ไป ร้อยละ 35.0 2) การหาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ข้อมูลระดับ Interval scale และ Ratio scale) โดยมีขน้ั ตอนดังน้ี ข้ันที่ 1 เปิดโปรแกรม Spss > เปิดไฟล์ที่ต้องการวิเคราะห์ ขั้นที่ 2 คลิก Analyze > Descriptive Statistics > Descriptive จากน้ันจะปรากฏเมนู ให้ผู้วิจัยเลือกตัวแปรที่ต้องการให้วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน โดยคลิกเลือกตวั แปรแล้วคลิกที่ปุ่ม และเมื่อต้องการยกเลิก ตวั แปรทีเ่ ลือกให้คลิกที่ตวั แปร แล้วคลิกที่ปุ่ม ดงั ภาพที่ 9.9
ห น้ า | 163 1. เลอื กคาสงั่ Descriptives 1 2. เลอื กตวั แปรที่ต้องการวเิ คราะห์ 2 ภาพ 9.9 วิเคราะหข์ ้อมูลด้วยคาสั่ง Descriptives ขั้นที่ 3 ส่ังให้โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลโดยคลิกที่ปุ่ม จะปรากฏผลการ วิเคราะห์ ในหน้าต่าง Output ดังภาพ 9.10 ภาพ 9.10 แสดงตวั อย่างผลการวิเคราะหข์ ้อมูลด้วยคาสั่ง Descriptives
ห น้ า | 164 ตวั อยา่ งการน้าเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูลและการแปลผล ตาราง 9.4 แสดง อายุ ประสบการณ์ คะแนนทดสอบก่อนและหลังเรยี นของกลุ่มตวั อย่าง ตวั แปร คา่ เฉลี่ย คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน อายุ ประสบการณ์ 42.37 13.999 คะแนนทดสอบก่อนเรียน 7.32 6.553 คะแนนทดสอบหลังเรียน 11.04 1.543 15.07 1.312 จากตาราง 9.4 พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 42.37 ปี มีประสบการณ์เฉลี่ย 7.32 คะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี นเฉลีย่ น 11.04 และ 15.07 ตามลาดบั ขัน้ ตอนท่ี 5 การวเิ คราะห์ข้อมลู (สถิติอนุมาน ) 1) การทดสอบ t-test กระบวนการทางสถิติ t-test เป็นการแจกแจกแบบ Student’s สาหรับ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย 2 ค่า นอกจากน้ันยังแสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความ คลาดเคลื่อนมาตรฐานในแต่ละตัวแปรด้วย ซึ่งสถิติ t-test สามารถแบ่งการวิเคราะห์ได้เป็น 2 กรณี กรณที ่ี 1 กล่มุ ตวั อยา่ ง 2 กลุม่ ไม่สัมพันธ์กนั (อิสระต่อกนั )เรยี กว่า Independent t-test ในการทดสอบสมมุติฐานที่ต้องการหาความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มหนึง่ ว่าแตกต่างจากอีกกลุ่มหนึ่งหรอื ไม่ เราสามารถตั้งสมมุติฐานได้ดังนี้ สมมตุ ฐิ าน 1 H0 :1 2 H1 :1 2 หรอื สมมตุ ฐิ าน 2 H0 :1 2 H1 :1 2 หรอื สมมตุ ฐิ าน 3 H0 :1 2 H1 :1 2
ห น้ า | 165 ขน้ั ตอนการทดสอบ t-test แบบกลุ่มตวั อยา่ งเป็นอิสระจากกัน ขั้นตอนที่ 1 Analyze > Compare Means > Independent-Sample T Test ดังภาพที่ 9.11 1 ภาพ 9.11 แสดงการเข้าถึงเมนคู าส่ัง Independent-Sample T Test ข้ันตอนที่ 2 การเลือกตัวแปร กาหนดการแบ่งกลุ่มและการระบุร้อยละของค่าความ เชอ่ื มัน่ ที่ต้องการ โดยการทาขั้นตอนที่ 1-9 ตามลาดบั ดงั แผนภาพ 9.12
ห น้ า | 166 1.เลอื กตัวแปรที่ 3. ชอ่ งสาหรับตัวแปรตามทีต่ ้องการ ตอ้ งการทดสอบ ทดสอบ (ขอ้ มลู เชงิ ปริมาณ) สามารถใส่ได้ มากกวา่ หนึ่งตวั แปร 2. click 7.ใส่คา่ ของตัวแปร ลงไป ในที่นี้ 1 หมายถงึ เพศชาย 2 หมายถงึ เพศหญิง หลังจากนน้ั click ปุ่ม Continue 8.ระบุร้อยละของค่าความเชอ่ื ม่ัน 5. Click 6.กาหนดกลุ ่ม เพอ่ื ที่ 95% หลังจากน้ัน click ปุ่ม 9. Click ปุ่ม OK เปน็ ระบกุ ลมุ่ ที่ Continue ตอ้ งการเปรียบ 4.ชอ่ งสาหรับตัวแปรอสิ ระ (ข้อมลู เชงิ คุณภาพ: 2 กลุ่ม) ซึ่ง ตอ้ งเลอื กมาจากชอ่ งตวั แปร ด้านซ้าย เม่อื เลอื กแลว้ ใหก้ ดปมุ่ 5 ภาพ 9.12 แสดงเลือกตัวแปรและกาหนด Option ต่าง ๆ ในการวิเคราะห์ Independent- Sample T Test ข้ันที่ 3 สั่งให้โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลโดยคลิกที่ปุ่ม จะปรากฏผลการ วิเคราะห์ ในหน้าต่าง Output ดังภาพ 9.13
ห น้ า | 167 ภาพ 9.13 แสดงตวั อย่างผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ด้วยคาสั่ง Independent-Sample T Test การทดสอบความเท่ากันของความแปรปรวน โดยใช้ F –test การพิจารณาว่า ความแปรปรวนเท่ากันหรือไม่ให้ดูได้จากช่อง Sig (หมายถึงระดับนัยสาคัญทางสถิติ) ถ้าค่า Sig > 0.05 แสดงว่า ความแปรปรวนเท่ากัน แต่ถ้า Sig < 0.05 แสดงว่า ความแปรปรวน แตกต่างกนั อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ผลการทดสอบสมมุติฐานด้วย t-test จะเห็นว่า ค่า t มี 2 ค่า จะใช้ค่าใดขึ้นอยู่กับ ผลการทดสอบความเท่ากันของความแปรปรวน ถ้า F-test ไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ (Sig > 0.05) ให้ใชค้ ่าบน แตถ่ ้ามีนัยสาคญั ทางสถิติ (Sig < 0.05) ให้ใชค้ ่าล่าง จากตาราง ในกรณีตัว แปร คะแนนทดสอบหลังเรียน พบว่า ค่า F มีนัยสาคัญทางสถิติ (Sig < 0.05) แสดงว่าความ แปรปรวนเท่ากัน ค่า t ที่ใช้ คือ 0.298 ,df=98 และ sig = .766 (Sig > 0.05) ซึง่ หมายความว่า ผสู้ อนทีม่ เี พศต่างกันไม่มีผลการทดสอบหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ห น้ า | 168 การนาเสนอผลการวิเคราะห์ด้วย Independent t-test สามารถนาเสนอในรูปแบบ ตารางดงั ตาราง 9.5 ตาราง 9.5 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบหลังเรยี นของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามเพศ เพศ จ้านวน คา่ เฉลีย่ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน คา่ T - test ชาย 58 15.10 1.703 หญิง 42 15.02 .348 0.298 * P<0.05 จากการทดสอบ พบว่า กลุ่มตัวอย่างเพศชายและเพศหญิง มีคะแนนทดสอบหลงั เรียน ไมแ่ ตกต่างกันอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติที่ 0.05 กรณที ่ี 2 กลุม่ ตวั อยา่ งทั้ง 2 สมั พันธก์ นั เรยี กว่า Pair t-test ถ้ากลุ่มตัวอย่างท้ัง 2 สัมพันธ์กัน ในการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยสองค่าว่าแตกต่างกัน หรือไม่ โดยค่าเฉลี่ยทั้งสองค่านี้วัดมาจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่สัมพันธ์กัน โดยอาจจะวัดมา จากกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวกัน 2 ครั้ง หรือวัดมากจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่ได้มาจากการ จบั คู่คุณลักษณะทีเ่ ท่าเทียมกัน มีวธิ ีการคานวณหาความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ดังน้ี ลกั ษณะการต้ังสมมตุ ฐิ าน H0 : ก่อน = หลงั H1 : ก่อน หลงั หรอื H1 : ก่อน > หลงั หรอื H1 : ก่อน < หลงั ขั้นตอนการทดสอบ t-test แบบกลุ่มตัวอย่างที่สัมพันธ์กนั ขั้นตอนที่ 1 Analyze > Compare Means > Paired -Sample T Test ดงั ภาพที่ 9.14
ห น้ า | 169 1 ภาพ 9.14 แสดงการเข้าถึงเมนูคาส่งั Paired -Sample T Test ข้ันตอนที่ 2 การเลือกตัวแปร กาหนดการแบ่งกลุ่มและการระบุร้อยละของค่าความ เชอ่ื ม่ันที่ต้องการ โดยการทาขั้นตอนที่ 1-6 ได้แก่ 1) คลิกเลือกตัวแปรตัวแรกที่จะทาการทดสอบ โดยหาผู้วิจัยไม่ต้องการให้ค่า t-test ติดลบ ควรเลือกตัวแปรตัวแรกเป็น คะแนนทดสอบหลังเรียน แล้วจึงคลิกเลือกตัวแปรตัวที่ 2 ที่ตอ้ งการเปรียบเทียบในที่น้ีคอื ตัวแปร คะแนนทดสอบก่อนเรียน 2) การกาหนดระดับความเชื่อมั่นในการทดสอบ โดยการคลิกปุ่ม Option แล้ว กาหนดค่าในที่น้ีกาหนดเป็น 95% 3) เมื่อกาหนดรายละเอียดเสร็จแล้วจงึ คลิก Continue ตามลาดบั ดงั แผนภาพ 9.15
ห น้ า | 170 1.เลอื กตัวแปรที่ 3. ชอ่ งสาหรับตวั แปรตามที่ต้องการ ตอ้ งการทดสอบ ทดสอบ (ขอ้ มลู เชงิ ปริมาณ) สามารถใส่ ได้สองตัวแปร 2. click 4.คลิก๊ Option เพอ่ื กาหนดระดบั ความเชอ่ื ม่นั 5.ระบรุ ้อยละของค่าความเช่อื ม่นั 6. Click ปุ่ม OK ที่ 95% หลังจากนั้น click ปุ่ม Continue ภาพ 9.15 แสดงเลือกตัวแปรและกาหนด Option ต่าง ๆ ในการวิเคราะห์ Paired -Sample T Test ขั้นที่ 3 สั่งให้โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลโดยคลิกที่ปุ่ม จะปรากฏผลการ วิเคราะห์ ในหน้าต่าง Output ดังภาพ 9.16
ห น้ า | 171 ภาพ 9.16 แสดงตัวอย่างผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ด้วยคาสั่ง Paired -Sample T Test จากตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร คะแนนทดสอบหลังเรียน และ คะแนนทดสอบก่อนเรียน ซึ่งมีความสัมพันธ์ 0.417 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.00 (Sig < 0.05) ผลการทดสอบสมมุติฐานด้วย t-test จะเห็นว่า ค่า t คือ 25.942 ,df=98 และ sig = .000 (sig < 0.05) ซึ่งหมายความว่า คะแนนทดสอบหลังกับก่อนการเรียนมีความแตกต่าง กนั อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติที่ 0.05 การนาเสนอผลการวิเคราะหด์ ้วย Paired -Sample T Test สามารถนาเสนอในรูปแบบ ตารางดังตาราง 9.6 ตาราง 9.6 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนกบั หลงั เรยี นของกลุ่มตัวอย่าง คะแนนทดสอบ (n=100) ค่าเฉลีย่ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน ค่า T - test 25.942* ก่อนเรียน 15.07 1.312 หลังเรยี น 11.04 1.543 * P<0.05
ห น้ า | 172 จากการทดสอบ พบว่า กลุ่มตัวอย่าง มีคะแนนทดสอบหลังเรียนกับก่อนเรียน แตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติที่ 0.05 กรณที ่ี 3 กลมุ่ ตัวอย่าง 1 กล่มุ เทยี บกับเกณฑ์ (ค่าคงตวั ) เรยี กวา่ One Sample t-test ถ้ากลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกับเกณฑ์ (ค่าคงตัว) ว่าแตกต่างกัน หรอื ไม่ มีวธิ ีการคานวณหาความแตกต่างของค่าเฉลีย่ ดังน้ี ลกั ษณะการตงั้ สมมุติฐาน H0 : หลงั =K H1 : หลงั K H1 : หลงั >K หรอื H1 : หลงั <K หรอื ข้ันตอนการทดสอบ t-test แบบกลุ่มตวั อย่างเดียวกบั เกณฑ์ ขั้นตอนที่ 1 Analyze > Compare Means > One Sample T Test ดังภาพที่ 9.17 1 ภาพ 9.17 แสดงการเข้าถึงเมนคู าสงั่ One Sample T Test ขั้นตอนที่ 2 การเลือกตัวแปร กาหนดเกณฑ์ที่ต้องการเปรียบเทียบและการระบุร้อย ละของค่าความเชือ่ มนั่ ที่ต้องการ โดยการทาขั้นตอนที่ 1-7 ได้แก่
1.เลอื กตวั แปรที่ ห น้ า | 173 ตอ้ งการทดสอบ 3. ชอ่ งสาหรบั ตวั แปรตามทีต่ ้องการ 2. click ทดสอบ (ขอ้ มูลเชงิ ปริมาณ) สามารถ ใส่ได้มากกว่าหนง่ึ ตัวแปร 5.คลิ๊ก Option เพ่อื กาหนดระดับความ เช่อื มั่นในการทดสอบ 6.ระบรุ ้อยละของค่าความเช่อื มั่น 4.คลิ๊ก Test Value เพ่อื ที่ 95% หลงั จากนั้น click ปุ่ม กาหนดค่าเกณฑใ์ นทีน่ ี้ Continue กาหนด 10 เพราะคะแนน ทดสอบเต็ม 20 คะแนน 7. Click ปุ่ม OK ภาพ 9.18 แสดงเลือกตวั แปรและกาหนด Option ต่าง ๆ ในการวิเคราะห์ One Sample T Test ขั้นที่ 3 สั่งให้โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลโดยคลิกที่ปุ่ม จะปรากฏผลการ วิเคราะห์ ในหน้าต่าง Output ดังภาพ 9.19
ห น้ า | 174 ภาพ 9.19 แสดงตวั อย่างผลการวิเคราะหข์ ้อมูลด้วยคาส่งั One Sample T Test จากตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร คะแนนทดสอบหลังเรียน กับเกณฑ์ ที่ 10 คะแนน โดยคะแนนเฉลีย่ ของคะแนนทดสอบหลังเรยี นเท่ากับ 15.07 ผลการทดสอบสมมุติฐานด้วย t-test จะเห็นว่า ค่า t คือ 38.632 ,df=98 และ sig = .000 (sig < 0.05) ซึ่งหมายความว่า คะแนนทดสอบหลังเรียนมีความแตกต่างกับเกณฑ์ อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติที่ 0.05 การนาเสนอผลการวิเคราะห์ด้วย One Sample t-test สามารถนาเสนอในรูปแบบ ตารางดังตาราง 9.7 ตาราง 9.7 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนกบั หลังเรยี นของกลุ่มตวั อย่าง คะแนนทดสอบ (n=100) คา่ เฉลีย่ คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน ค่า T - test 38.632* หลังเรยี น 15.07 1.312 * P<0.05 จากการทดสอบ พบว่า กลุ่มตัวอย่าง มีคะแนนทดสอบหลังเรียน แตกต่าง กับเกณฑ์ อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติที่ 0.05
ห น้ า | 175 ขน้ั ตอนท่ี 6 การวเิ คราะหค์ า่ สหสมั พนั ธ์ (Correlation) สหสมั พันธ์ เป็นความสมั พันธ์ของข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึน้ ไป หรอื ความสมั พันธ์ของตัว แปรต้ังแต่ 2 ตัวขึ้นไป เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างความสูงกับน้าหนัก ความสัมพันธ์ระหว่าง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับระดับสติปัญญา ซึ่งความสัมพันธ์ของตัวแปรจะมากน้อยเพียงใดดู จากค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (The coefficient of correlation) ซึ่งมีสูตรการคานวณแตกต่าง กันไปตามระดบั การวดั ของตวั แปรคู่นั้น ๆ ได้แก่ 1. สถิตไิ คสแควร์สาหรับการทดสอบความเป็นอิสระต่อกัน 2. สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน(The Pearson Product MomentCorrelation Coefficient หรอื rXY) 3. สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน (The Spearman’s Rank difference Correlation Coefficient หรอื rs) 4. สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเคนดอล (Kandall’s coefficient of Correlation หรอื W ) 5. สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบพอยท์ไบซีเรียล (The Point-biserial Coefficient of Correlation หรอื rpb ) 6. สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์แบบฟาย (The phi Coefficient หรอื ) 7. สมั ประสิทธิส์ หสมั พันธ์เตตระคอริค (Tetrachoric Correlation Coefficient หรอื rt) 8. สมั ประสิทธิ์สหสัมพนั ธ์แบบไบซีเรยี ล (Biserial Correlation Coefficient หรอื rbis) 9. สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์แบบบางสว่ น (Partial Correlation Coefficient หรอื rij,k) 10.สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบคอนติงเจนซี (Contingency Correlation Coefficient หรอื rc) สาหรับรายละเอียดการศึกษาได้จากหนังสือเกี่ยวกับสถิติภาคบรรยายได้เช่นกนั ใน ที่นี้จะแสดงการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์เพียร์สัน ซึ่งเป็นการวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ ระหว่างตวั แปร โดยท้ังสองตวั แปรจะต้องมีระดบั การวดั ตั้งแตอ่ ันตรภาคขึ้นไป เชน่ ความสัมพันธ์ของคะแนนการสอบวิชาคอมพิวเตอร์ (X) กับวิชาสถิติ (Y) ของ นักศึกษา ความสมั พันธ์ของความสงู (X) กับน้าหนัก (Y) ของนกั เรียน ความสัมพนั ธ์ของราคาสง่ ออก (X) กับปริมาณส่งออก (Y) ของลาไย
ห น้ า | 176 ความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว X และ Y อาจจะมีความสัมพันธ์อยู่ในรูปแบบต่างๆ เช่น ความสัมพันธ์ที่มีลักษณะแนวโน้มเป็นเส้นตรง หรือเส้นโค้งพาราโบลา หรือแบบอื่นๆ ก็ได้ แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะความสัมพันธ์ที่มีลักษณะแนวโน้มเป็นเส้นตรง ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 แบบ คอื 1. ความสัมพันธ์เชิงบวก (positive Correlation) เป็นความสัมพันธ์ ที่เรียกว่า แปรผัน ตามกัน กล่าวคือ ถ้า X มีค่ามากขึ้น ค่าของ Y ก็จะมีแนวโน้มมากขึ้นด้วย แต่ถ้า X มีค่าน้อยลง ค่าของ Y กจ็ ะมแี นวโน้มนอ้ ยลงด้วย 2. ความสัมพันธ์เชิงลบ (negative Correlation) เป็นความสัมพันธ์ ที่เรียกว่า แปรผัน กลับกัน หรือแปรผกผัน กล่าวคือ ถ้า X มีค่ามากขึ้น ค่าของ Y ก็จะมีแนวโน้มลดลง แต่ถ้า X มี ค่าน้อยลง ค่าของ Y ก็จะมแี นวโน้มเพิ่มข้ึนดว้ ย การทดสอบสมมตุ ิฐานเกี่ยวกับคา่ ความสัมพนั ธ์ (สมประสิทธิ์สหสมั พันธ)์ ลักษณะการตง้ั สมมุติฐาน H0 : = 0 (ไม่มคี วามสมั พนั ธ์กัน) H1 : 0 (มีความสัมพันธ์กนั ) หรอื H1 : > 0 (มีความสัมพันธ์กนั ทางบวก) หรอื H1 : < 0 (มีความสมั พันธ์กันทางลบ) การพิจารณาหากค่าสถิติ t ที่คานวณได้ไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ (Sig > ) น่ันคือ ยอมรับ H0 แสดงว่าไม่มีความสัมพันธ์กันระหว่างตัวแปร แต่ถ้าค่า t ที่คานวณได้มีนัยสาคัญ ทางสถิติ (Sig < ) น่ันคือปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 แสดงว่ามีความสัมพันธ์กันระหว่างตัวแปร (สัมพนั ธ์ทางบวก หรอื สัมพนั ธ์ทางลบ) ขั้นตอนการทดสอบค่าสหสัมพนั ธ์ ขั้นตอนที่ 1 เปิดโปรแกรม SPSS คลิก Analyze > Correlate > Bivariate ดังภาพที่ 9.20
ห น้ า | 177 ภาพ 9.20 แสดงการเข้าถึงเมนูคาสงั่ Correlation ให้เลือกตัวแปรที่เราตอ้ งการหาความสัมพันธ์มาไว้ในชอ่ ง ในทีน้ีให้ผู้วจิ ยั เลือกตวั แปร เพศ คะแนนสอบหลงั เรียน และตวั แปรประสบการณ์ Correlation Coefficients หมายถึง ค่าสหสัมพันธ์ที่เราต้องปารวิเคราะห์ โดยปกติ โปรแกรมจะเลือก คา่ สหสมั พนั ธ์ของเพียร์สนั Test of Significant หมายถึง เลือกว่าจะทดสอบนยั สาคญั ทาสถิติเป็นแบบ หางเดียว (One tailed) หรือ สองหาง (Two tailed) Flag Siginficant Correlations หมายถึง ให้ แสดงดอกจัน (*) ท่ีค่าสหสัมพันธ์ที่มี นยั สาคญั ทางสถิติ ข้ันตอนที่ 2 คลิก ที่ ปุ่ม OK เพื่อให้โปรแกรมประมวลผลข้อมูล จะปรากฏผลการ วิเคราะหข์ ้อมูลดังภาพที่ 9.21
ห น้ า | 178 ภาพ 9.21 แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมูลดว้ ยคาสั่ง Correlation Pearson Correlation หมายถึง ค่าสหสมั พนั ธ์เพียร์สัน ระดับนัยสาคัญทางสถิติ (sig) ถ้ามีค่า sig น้อยกว่าหรือเท่ากับ .05 แสดงว่าค่า สหสัมพันธ์นั้นมีนัยสาคัญทางสถิติ แตถ่ ้า sig มากกว่า .05 ค่าสหสมั พันธ์น้ันไม่มีนัยสาคัญทาง สถิติ N หมายถึง จานวนกลุ่มตวั อย่างทีเ่ ข้ากระบวนการวิเคราะห์ ผลการวิเคราะหค์ าสหสัมพันธ์พบว่า การนาเสนอผลการทดสอบนัยสาคัญค่าสมั ประสิทธิส์ หสมั พนั ธ์ ตาราง 9.8 แสดงการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนทดสอบหลังเรียน อายุ และ ประสบการณ์ ความสัมพันธร์ ะหว่าง ค่าสมั ประสิทธิ์สหสัมพันธ์ คะแนนทดสอบหลังเรียนกบั อายุ 0.181 คะแนนทดสอบหลังเรียนกบั ประสบการณ์ 0.035 อายกุ บั ประสบการณ์ -0.128 * P<0.05
ห น้ า | 179 จากการทดสอบพบว่า ตัวแปรท้ัง 3 ตัวมีความสัมพันธ์กันในระดับต่า อย่างไม่มี นัยสาคญั ทางสถิติที่ 0.05 3. สรปุ การวิเคราะหข์ ้อมลู ดว้ ยโปรแกรมสาเร็จรปู มีใหน้ ักการศกึ ษา นักวิจัย หรอื ผสู้ นใจได้ ศกึ ษาและนามาใช้ได้อย่างหลากหลาย เชน่ SPSS SAS M-Plus LISREAL เป็นต้น ท้ังนเี้ พื่อให้ ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องตามหลักการคิดคานวณ แต่ไม่ได้ รวมถึงความถูกต้องของการตอบโจทย์การวิจัยหรือการศึกษานั้น ๆ ซึ่งจะต้องอาศัยความ เข้าใจและการตดั สินใจเลือกใช้สถิตทิ ีถ่ ูกต้องโดยผู้ศึกษาเปน็ ลาดับแรก 4. แบบฝึกหดั 1. จงวิเคราะหข์ ้อมูลเพื่อตรวจสอบว่า นกั เรียนในกรงุ เทพ ฯ จะมีทัศนะคติทางวิทยาศาสตร์ ดีกว่านักเรียนในชนบท โดยกาหนดขอ้ มูลดงั น้ี คนที่ ภูมลิ า้ เนาของนกั เรียน ทศั นะคติทางวิทยาศาสตร์ 1 กรงุ เทพ 4 2 กรงุ เทพ 2 3 ชนบท 1 4 กรงุ เทพ 5 5 ชนบท 3 6 กรุงเทพ 2 7 ชนบท 4 8 ชนบท 2 9 ชนบท 1 10 กรุงเทพ 3 11 กรุงเทพ 5 12 ชนบท 4 13 กรงุ เทพ 2 14 ชนบท 3
ห น้ า | 180 ภมู ลิ า้ เนาของนักเรียน ทศั นะคติทางวิทยาศาสตร์ กรุงเทพ 5 คนที่ ชนบท 5 15 ชนบท 2 16 กรุงเทพ 2 17 กรงุ เทพ 1 18 19 2. จงวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตรวจสอบว่า ผลการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเข้าค่ายน้อยกว่าผล การเรียนรขู้ องนักศึกษาหลงั เขา้ ค่าย หรอื ไม่ คนที่ ผลการเรียนรู้ก่อนเขา้ คา่ ย ผลการเรียนรหู้ ลังเขา้ คา่ ย 1 4.00 4.00 2 8.00 8.00 3 5.00 7.00 4 4.00 5.00 5 3.00 6.00 6 5.00 3.00 7 5.00 2.00 8 4.00 5.00 9 8.00 8.00 10 4.00 7.00 11 7.00 9.00 12 5.00 6.00 13 4.00 5.00 14 3.00 8.00 15 2.00 4.00 16 6.00 5.00 17 2.00 7.00 18 5.00 8.00 19 8.00 5.00 20 4.00 6.00
ห น้ า | 181 3. จงวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตรวจสอบว่า ความถนัดทางการเรียนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนหรอื ไม่ ความถนดั ทางการเรียน ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 84.00 85.00 45.00 52.00 76.00 65.00 98.00 85.00 85.00 75.00 86.00 63.00 69.00 56.00 63.00 58.00 73.00 78.00 79.00 96.00 74.00 85.00 58.00 84.00 75.00 69.00 95.00 88.00 86.00 96.00 62.00 68.00 53.00 45.00 83.00 75.00 71.00 85.00 94.00 63.00 5. Link ที่นกั ศกึ ษาจะเขา้ ไปทา้ การศกึ ษาด้วยตนเองแบบ Flipped Classroom 1. https://youtu.be/Y9aMx332U1g 2. https://youtu.be/MGRmCBlqOtA
ห น้ า | 182 6. แหลง่ ข้อมูลในการศกึ ษาเพ่มิ เติม กนกทิพย์ พัฒนาพัวพนั ธ์. (2543). สถิตอิ ้างองิ เพื่อการวิจัยทางการศกึ ษา. ภาควิชาประเมินผล และวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่. กานดา พูนลาภทวี. (2539). สถิติเพื่อการวิจัย. ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสต์ อตุ สาหกรรมและวิทยาศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. กัลยา วานิชย์บัญชา. (2555). หลักสถิติ. ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ประคอง กรรณสูต. (2525). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. โรงพิมพ์และท่าปก เจริญผล. กรงุ เทพฯ. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2553). สถิติวิเคราะห์เพื่อการวิจัย. เรือนแก้วการพิมพ์. กรุงเทพ ฯ. รตั นะ บวั สนธ์. (2544).วิจัยและพฒั นาการศกึ ษา. คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร. นิโลบล นิ่มกิ่งรัตน์. (2543). การวิจัยทางการศึกษา (Educational Research). ภาควิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สรชยั พิศาลบุตร. (2556). การวิจัยทางการศึกษา (Educational Research). บริษทั ส. เอเซียเพรส (1989) จากัด กรงุ เทพฯ. สุวิมล ว่องวาณิช. (2544). การวิจัยปฏิบัติการในช้ันเรียน. ภาควิชาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุวิชาน มนแพวงศานนท์. (2556). การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS for Windows ครอบคลุมทกุ เวอร์ชนั . ซีเอด็ กรงุ เทพฯ. เ อื้อ ม พ ร ห ลิ น เ จ ริ ญ . (2560). เ ท ค นิ ค ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล เ ชิ ง คุ ณ ภ า พ . https://edu.msu.ac.th/jem/home/journal_file/240.pdf เข้าถึงเมอ่ื 24 ธันวาคม 2561 Ajit C. Tamhane, Dorothy D. Dunlop. (2000). Statistics and Data Analysis from Elementary to Intermediate. United States of America. Gene V Glass, Kenneth D. Hopkins. (1996). Statistical Methods In Education and Psychology. United States of America.
ห น้ า | 183 กำหนดกำรณ์สอนในแต่ละสปั ดำห์ (วทิ ยำศำสตร์ 1) คำบเรียน วัน เดือน ปี กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอน คำบท่ี 1 24 /มิ.ย./2562 ทำขอ้ ตกลงและช้ีแจงรูปแบบกำรเรยี นกำรสอน คำบท่ี 2 1 /ก.ค./2562 บทท่ี 1 ควำมหมำยและควำมเป็นมำสถิตแิ ละกำร นำเสนอข้อมูล คำบท่ี 3 8/ก.ค./2562 บทท่ี 2 กำรวดั แนวโนม้ เข้ำสู่ส่วนกลำง คำบท่ี 4 15/ก.ค./2562 บทที่ 3 กำรวัดตำแหน่งข้อมูล คำบท่ี 5 22/ก.ค./2562 บทท่ี 4 กำรวัดกำรกระจำยของข้อมลู (สัมบรู ณ์) 29/ก.ค./2562 วนั หยดุ 31/ก.ค./2562 ซอ่ มเสริม 16.00-19.00 น. คำบท่ี 6 Formative 1 (5 คะแนน 1 ช่วั โมง) บทท่ี 4 กำรวดั กำรกระจำยของข้อมลู (สัมพัทธ)์ คำบท่ี 7 5/ส.ค./2562 บทท่ี 5 กลมุ่ ตัวอย่ำง ************สง่ รำยงำน****************** 12/ส.ค./2562 วนั หยุด คำบที่ 8 14/ส.ค./2562 บทท่ี 6 กำรทดสอบสมมตฐิ ำน คำบท่ี 9-10 19/ส.ค./2562 บทที่ 7 สหสัมพันธ์ 26 /ส.ค./2562 คำบที่ 11 2/ก.ย./2562 บทท่ี 8 คะแนนมำตรฐำน Formative 2 (5 คะแนน 1 ช่ัวโมง)
ห น้ า | 184 คำบท่ี 12 9/ก.ย./2562 บทท่ี 9 กำรวิเครำะห์ข้อมลู ด้วยโปรแกรม SPSS (นำ คอมพวิ เตอร์และปล๊ักพ่วงพร้อมด้วยโปรแกรมท่ี คำบท่ี 13 -14 16/ก.ย./2562 สมบูรณ์มำประกอบในกำรเรียนกำรสอน) 23 /ก.ย./2562 ทดสำรอง คำบที่ 15 30 /ก.ย./2562 ตวิ สอบ
ห น้ า | 185 กำหนดกำรณ์สอนในแตล่ ะสัปดำห์ (คอมพวิ เตอร์) คำบเรียน วนั เดอื น ปี กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน คำบที่ 1 24 /มิ.ย./2562 ทำขอ้ ตกลงและชแี้ จงรูปแบบกำรเรยี นกำรสอน คำบท่ี 2 1 /ก.ค./2562 บทที่ 1 ควำมหมำยและควำมเป็นมำสถติ ิและกำร นำเสนอข้อมูล คำบที่ 3 8/ก.ค./2562 บทที่ 2 กำรวดั แนวโน้มเข้ำสสู่ ่วนกลำง คำบที่ 4 15/ก.ค./2562 บทที่ 3 กำรวัดตำแหนง่ ข้อมลู คำบท่ี 5 22/ก.ค./2562 บทที่ 4 กำรวดั กำรกระจำยของข้อมูล (สัมบรู ณ์) 29/ก.ค./2562 วนั หยุด 31/ก.ค./2562 ซ่อมเสรมิ 13.00-16.00 น. คำบที่ 6 Formative 1 (5 คะแนน 1 ชว่ั โมง) บทท่ี 4 กำรวดั กำรกระจำยของข้อมลู (สัมพัทธ์) คำบที่ 7 5/ส.ค./2562 บทท่ี 5 กลุ่มตัวอย่ำง ************ส่งรำยงำน****************** 12/ส.ค./2562 วันหยุด คำบท่ี 8 16/ส.ค./2562 บทท่ี 6 กำรทดสอบสมมตฐิ ำน (ศุกร์ 13.00-16.00 น.) คำบที่ 9-10 19/ส.ค./2562 บทที่ 7 สหสมั พันธ์ 26 /ส.ค./2562 คำบที่ 11 2/ก.ย./2562 บทที่ 8 คะแนนมำตรฐำน
ห น้ า | 186 Formative 2 (5 คะแนน 1 ชวั่ โมง) บทที่ 9 กำรวิเครำะหข์ ้อมลู ด้วยโปรแกรม SPSS (นำ คำบที่ 12 9/ก.ย./2562 คอมพิวเตอร์และปลกั๊ พ่วงพร้อมด้วยโปรแกรมท่ี สมบูรณม์ ำประกอบในกำรเรียนกำรสอน) คำบท่ี 13 -14 16/ก.ย./2562 ทดสำรอง 23 /ก.ย./2562 ติวสอบ คำบที่ 15 30 /ก.ย./2562
ห น้ า | 187 กำหนดกำรณ์สอนในแต่ละสปั ดำห์ (วิทยำศำสตรก์ ลุ่ม 2) คำบเรียน วนั เดอื น ปี กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน คำบท่ี 1 24 /มิ.ย./2562 ทำขอ้ ตกลงและชีแ้ จงรูปแบบกำรเรียนกำรสอน คำบที่ 2 3 /ก.ค./2562 บทท่ี 1 ควำมหมำยและควำมเปน็ มำสถติ แิ ละกำร นำเสนอข้อมูล คำบที่ 3 10/ก.ค./2562 บทท่ี 2 กำรวัดแนวโนม้ เข้ำสสู่ ่วนกลำง คำบท่ี 4 17/ก.ค./2562 เข้ำพรรษำ (Flip class) **รอกำรตดั สนิ ใจ** บทท่ี 3 กำรวัดตำแหน่งข้อมลู คำบที่ 5 24/ก.ค./2562 บทที่ 4 กำรวัดกำรกระจำยของข้อมูล (สมั บรู ณ์) คำบท่ี 6 31/ก.ค./2562 บทท่ี 4 กำรวัดกำรกระจำยของข้อมลู (สมั พัทธ์) Formative 1 (5 คะแนน 1 ชัว่ โมง) คำบที่ 7 7/ส.ค./2562 บทท่ี 5 กลมุ่ ตัวอยำ่ ง ************สง่ รำยงำน****************** คำบที่ 8 14/ส.ค./2562 บทที่ 6กำรทดสอบสมมตฐิ ำน(ศกุ ร์ 13.00-16.00 น.) คำบท่ี 9-10 21/ส.ค./2562 บทท่ี 7 สหสมั พนั ธ์ 28 /ส.ค./2562 คำบที่ 11 4/ก.ย./2562 บทท่ี 8 คะแนนมำตรฐำน Formative 2 (5 คะแนน 1 ชว่ั โมง) คำบที่ 12 11/ก.ย./2562 บทท่ี 9 กำรวิเครำะห์ข้อมลู ด้วยโปรแกรม SPSS (นำ คอมพวิ เตอร์และปลั๊กพ่วงพร้อมดว้ ยโปรแกรมที่ สมบรู ณม์ ำประกอบในกำรเรียนกำรสอน)
ห น้ า | 188 ทดสำรอง คำบท่ี 13 -14 18/ก.ย./2562 ติวสอบ 25 /ก.ย./2562 คำบที่ 15 30 /ก.ย./2562
ห น้ า | 189 กำหนดกำรณส์ อนในแตล่ ะสปั ดำห์ (คณติ ศำสตรก์ ลมุ่ 1) (อ-ศ ตอนเย็น) (จ,พฤ เย็น) คำบเรียน วัน เดือน ปี กิจกรรมกำรเรยี นกำรสอน คำบที่ 1 25 /มิ.ย./2562 ทำข้อตกลงและช้ีแจงรปู แบบกำรเรียนกำรสอน คำบที่ 2 2 /ก.ค./2562 บทที่ 1 ควำมหมำยและควำมเปน็ มำสถิตแิ ละกำร นำเสนอข้อมลู คำบท่ี 3 9/ก.ค./2562 บทที่ 2 กำรวดั แนวโน้มเขำ้ สสู่ ่วนกลำง คำบที่ 4 16/ก.ค./2562 เข้ำพรรษำ (Flip class) **Flip class**** บทที่ 3 กำรวัดตำแหน่งข้อมูล คำบที่ 5 23/ก.ค./2562 บทที่ 4 กำรวัดกำรกระจำยของข้อมลู (สมั บูรณ)์ **Flip class**** คำบท่ี 6 30/ก.ค./2562 บทที่ 4 กำรวัดกำรกระจำยของข้อมลู (สัมพทั ธ)์ 1 ส.ค. 2562 (18.00-19.00 น.) Formative 1 (5 คะแนน 1 ชว่ั โมง) คำบท่ี 7 6/ส.ค./2562 บทท่ี 5 กล่มุ ตวั อย่ำง ************สง่ รำยงำน****************** คำบที่ 8 13/ส.ค./2562 บทที่ 6กำรทดสอบสมมตฐิ ำน คำบท่ี 9-10 20/ส.ค./2562 บทที่ 7 สหสัมพนั ธ์ 27 /ส.ค./2562 คำบท่ี 11 3/ก.ย./2562 บทท่ี 8 คะแนนมำตรฐำน
ห น้ า | 190 Formative 2 (5 คะแนน 1 ช่ัวโมง) คำบท่ี 12 10/ก.ย./2562 บทท่ี 9 กำรวิเครำะหข์ ้อมลู ด้วยโปรแกรม SPSS (นำ คอมพิวเตอร์และปลกั๊ พว่ งพร้อมด้วยโปรแกรมท่ี คำบท่ี 13 -14 17/ก.ย./2562 สมบูรณม์ ำประกอบในกำรเรียนกำรสอน) 24 /ก.ย./2562 *****ส่งสมุดกำรบ้ำน********* คำบที่ 15 1 /ต.ค./2562 ทดสำรอง ติวสอบ
ห น้ า | 191 ภาคผนวก ก. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนผลงานการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง เอกวิทยาศาสตร์ กลมุ่ 1,2 ประเดน็ พิจารณา ระดับคะแนน (10) 4 32 1 1. ความสมบรู ณ์ 1. ทีม่ าและความสาคัญ ทาได5้ ข้อ ทาได้ 4 ทาได้ 3 ข้อ ถกู ต้องของเน้ือหา 2. สตู ร ทาได้ 3 ข้อ ข้อ ทาได้ 1 ข้อ (รายงาน) 3. วธิ ีคานวณ (คิดโจทยเ์ อง) 4. ตวั อยา่ งชดั เจน ทาได้ 2 2. วธิ ีการสอน (คลิป 5. มแี บบฝึกหัดและเฉลย ข้อ วดิ ีโอ) 6. มตี วั อยา่ งงานวิจัย 1. นาเสนอเน้อื หาครบถ้วน 2. นาเสนอเปน็ ลาดบั ข้ันตอน เข้าใจง่าย 3. นาเสนอได้น่าสนใจ เป็น ธรรมชาติ 4. ผู้นาเสนอแตง่ กายสภุ าพ (แตง่ กายด้วยชดุ นกั ศึกษาอย่าง ถูกระเบียบ) 3. ความถูกต้องของ แบบฝึกและเฉลยถูกต้องและ แบบฝึกและ แบบฝึก แบบฝึกและ แบบฝึกและเฉลย สร้างขนึ้ เอง มคี วามนา่ สนใจ เฉลยถูกต้อง และเฉลย เฉลยถกู ต้อง และมีความยากเหมาะสมกบั วยั และสร้างขนึ้ ถูกต้อง บางส่วน ของผู้เรียน เอง 4. อา้ งอิงถกู ต้อง อา้ งอิงครบถ้วน สมบูรณ์ อา้ งอิง อา้ งอิงไม่ อา้ งอิงไมค่ รบ ถกู ต้อง ครบถ้วน ครบนอ้ ย มากกวา่ รอ้ ย กว่าร้อย ละ 50 ละ 50 5. ความสมบูรณ์ของ มตี ัวอยา่ งงานวิจยั ทีถ่ ูกต้อง มตี ัวอยา่ ง - - ตวั อยา่ งงานวิจยั สมบูรณ์ (ช่อื วิจยั , จดุ ประสงค์ , งานวจิ ัย
ห น้ า | 192 สถิตทิ ี่ใช,้ ผลการวเิ คราะห์และ การแปลผล) 6. ส่งงานตรงเวลา ตรงเวลา (4 คะแนน) เอกคอมพิวเตอร์ ประเด็นพิจารณา ระดับคะแนน (10) 4 32 1 1. ความสมบูรณ์ 1. ที่มาและความสาคัญ ทาได5้ ข้อ ทาได้ 4 ทาได้ 3 ข้อ ถกู ต้องของเน้ือหา 2. สตู ร ทาได้ 3 ข้อ ข้อ ทาได้ 1 ข้อ (รายงาน) 3. วธิ ีคานวณ (คิดโจทยเ์ อง) 4. ตวั อยา่ งชดั เจน ทาได้ 2 2. วธิ ีการสอน (คลิป 5. มแี บบฝึกหัดและเฉลย ข้อ วดิ ีโอ) 6. มตี วั อยา่ งงานวิจยั 1. นาเสนอเน้อื หาครบถ้วน 2. นาเสนอเป็นลาดบั ขั้นตอน เข้าใจง่าย 3. นาเสนอได้น่าสนใจ (ด้วย เทคนิคพิเศษทางเทคโนโลยที ี่ นา่ สนใจ) 4. ผู้นาเสนอแตง่ กายสุภาพ (แตง่ กายด้วยชุดแบบฟอร์ม มหาวทิ ยาลยั อย่างถกู ระเบียบ) 3. ความถูกต้องของ แบบฝึกและเฉลยถูกต้องและ แบบฝึกและ แบบฝึก แบบฝึกและ แบบฝึกและเฉลย สร้างขนึ้ เอง มคี วามนา่ สนใจ เฉลยถูกต้อง และเฉลย เฉลยถกู ต้อง และมีความยากเหมาะสมกับวัย และสร้างขนึ้ ถกู ต้อง บางส่วน ของผู้เรียน เอง 4. อา้ งอิงถกู ต้อง อา้ งอิงครบถ้วน สมบูรณ์ อา้ งอิง อา้ งอิงไม่ อา้ งอิงไมค่ รบ ถูกต้อง ครบถ้วน ครบนอ้ ย มากกวา่ รอ้ ย กว่าร้อย ละ 50 ละ 50
5. ความสมบรู ณ์ของ มตี ัวอยา่ งงานวิจยั ทีถ่ ูกต้อง มตี ัวอยา่ ง - ห น้ า | 193 ตวั อยา่ งงานวิจัย สมบรู ณ์ (ชอ่ื วิจัย, จุดประสงค์ , งานวจิ ัย สถิตทิ ี่ใช,้ ผลการวเิ คราะห์และ - 6. ส่งงานตรงเวลา การแปลผล) ตรงเวลา (4 คะแนน) เอกคณิตศาสตรก์ ลุ่ม 1 ประเด็นพิจารณา ระดบั คะแนน (10) 4 32 1 1. ความสมบรู ณ์ 1. ทีม่ าและความสาคัญ ทาได5้ ข้อ ทาได้ 4 ทาได้ 3 ข้อ ถกู ต้องของเน้อื หา 2. สตู ร ทาได้ 3 ข้อ ข้อ ทาได้ 1 ข้อ (รายงาน) 3. วธิ ีคานวณ (คิดโจทยเ์ อง) 4. ตัวอยา่ งชดั เจน ทาได้ 2 2. วธิ ีการสอน (คลิป 5. มแี บบฝึกหดั และเฉลย ข้อ วดิ ีโอ) 6. มตี ัวอยา่ งงานวิจยั 1. นาเสนอเน้ือหาครบถ้วน 2. นาเสนอเป็นลาดบั ขั้นตอน เข้าใจง่าย 3. นาเสนอได้น่าสนใจ (เทคนิค ในการทาความเขา้ ใจ คิด คานวณได้รวดเร็วและแมน่ ยา) 4. ผู้นาเสนอแตง่ กายสุภาพ (แตง่ กายด้วยชดุ แบบฟอร์ม มหาวทิ ยาลัยอย่างถูกระเบียบ) 3. ความถูกต้องของ แบบฝึกและเฉลยถูกต้องและ แบบฝึกและ แบบฝึก แบบฝึกและ แบบฝึกและเฉลย สร้างขนึ้ เอง มคี วามนา่ สนใจ เฉลยถกู ต้อง และเฉลย เฉลยถกู ต้อง และมีความยากเหมาะสมกับวยั และสร้างขนึ้ ถกู ต้อง บางส่วน ของผู้เรียน เอง 4. อา้ งอิงถูกต้อง อา้ งอิงครบถ้วน สมบรู ณ์ อา้ งอิง อา้ งอิงไม่ อา้ งอิงไมค่ รบ ถูกต้อง ครบถ้วน ครบนอ้ ย มากกวา่ รอ้ ย ละ 50
ห น้ า | 194 กว่าร้อย ละ 50 5. ความสมบูรณ์ของ มตี ัวอยา่ งงานวิจยั ที่ถูกต้อง มตี ัวอยา่ ง - - ตัวอยา่ งงานวิจัย สมบูรณ์ (ชอ่ื วิจัย, จดุ ประสงค์ , งานวจิ ยั สถิตทิ ี่ใช,้ ผลการวเิ คราะห์และ 6. ส่งงานตรงเวลา การแปลผล) ตรงเวลา (4 คะแนน)
ห น้ า | 195 เอกคณิตศาสตร์กล่มุ 2 ประเดน็ พิจารณา ระดบั คะแนน (10) 4 32 1 1. ความสมบรู ณ์ 1. ทีม่ าและความสาคัญ ทาได5้ ข้อ ทาได้ 4 ทาได้ 3 ข้อ ถกู ต้องของเน้ือหา 2. สูตร ทาได้ 3 ข้อ ข้อ ทาได้ 1 ข้อ (รายงาน) 3. วธิ ีคานวณ (คิดโจทยเ์ อง) 4. ตัวอยา่ งชดั เจน ทาได้ 2 2. วธิ ีการสอน (คลิป 5. มแี บบฝึกหดั และเฉลย ข้อ วดิ ีโอ) 6. มตี ัวอยา่ งงานวิจัย 1. นาเสนอเน้อื หาครบถ้วน 2. นาเสนอเป็นลาดับข้ันตอน เข้าใจง่าย 3. นาเสนอได้น่าสนใจ (เทคนิค ในการทาความเขา้ ใจ คิด คานวณได้รวดเร็วและแมน่ ยา) 4. ผู้นาเสนอแตง่ กายสภุ าพ 3. ความถูกต้องของ แบบฝึกและเฉลยถกู ต้องและ แบบฝึกและ แบบฝึก แบบฝึกและ แบบฝึกและเฉลย สร้างขนึ้ เอง มคี วามนา่ สนใจ เฉลยถกู ต้อง และเฉลย เฉลยถูกต้อง และมีความยากเหมาะสมกบั วัย และสร้างขนึ้ ถกู ต้อง บางส่วน ของผู้เรียน เอง 4. อา้ งอิงถูกต้อง อา้ งอิงครบถ้วน สมบูรณ์ อา้ งอิง อา้ งอิงไม่ อา้ งอิงไมค่ รบ ถกู ต้อง ครบถ้วน ครบนอ้ ย มากกวา่ รอ้ ย กว่าร้อย ละ 50 ละ 50 5. ความสมบรู ณ์ของ มตี วั อยา่ งงานวิจัยทีถ่ ูกต้อง มตี ัวอยา่ ง - - ตวั อยา่ งงานวิจยั สมบูรณ์ (ช่อื วิจัย, จดุ ประสงค์ , งานวจิ ัย สถิตทิ ี่ใช,้ ผลการวเิ คราะห์และ การแปลผล) 6. ส่งงานตรงเวลา ตรงเวลา (4 คะแนน)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255