Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore RoLD_inAction

RoLD_inAction

Published by opc, 2018-08-09 23:54:41

Description: RoLD_inAction

Search

Read the Text Version

โครงการปฏริ ปู หลกั นติ ธิ รรมอยา่ งเป็นรูปธรรมโครงการนำ�รอ่ งซง่ึ เป็นผลผลิตจากความคิดรเิ ร่ิมของกลุ่มเครือข่ายผบู้ ริหารและผ้นู ำ�รุ่นใหม่หลักสตู ร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017สถาบันเพ่อื การยุติธรรมแหง่ ประเทศไทย (องค์การมหาชน)ประเด็นการศึกษาจาก 3 กล่มุ ผู้นำ�รนุ่ ใหม่กลุ่ม 1 Transparency กล่มุ 2 INTEGRITY กลุ่ม 3 JustICEถอดบทเรียนการใชห้ ลักนิติธรรมเพือ่ ระบบหน้ีทเี่ ปน็ ธรรม: หลกั นติ ธิ รรมการพฒั นาอย่างยงั่ ยืนของในหลวง ข้อสังเกตบางประการ กับการจัดการเทคโนโลยีรัชกาลที่ 9 พรอ้ มข้อเสนอ 4 ขน้ั ต่อการแกป้ ัญหา ก้าวกระโดดหลกั ปฏบิ ัติเพอื่ คนอยู่กับป่าอย่างยัง่ ยืน หนีน้ อกระบบอยา่ งยงั่ ยืนกรณีปา่ นา่ น

บทนำ�ภายใตห้ ลกั สตู รอบรมดา้ นหลกั นติ ธิ รรมและการพฒั นาส�ำ หรบั ผบู้ รหิ าร (TIJ Executive Programon the Rule of Law and Development: RoLD Program) จดั โดย TIJ “โครงการปฏริ ปูหลกั นติ ธิ รรมอยา่ งเปน็ รปู ธรรม” (RoLD in Action) เปน็ การหยบิ ยกประเดน็ ปญั หาในสงั คมท่ีสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความเหลอ่ื มล�ำ้ เชงิ โครงสรา้ งสงั คมและปญั หาความไมค่ รอบคลมุ ของกฎหมายทง้ั ในกรณที ก่ี ฎหมายลา้ สมยั ไมท่ นั กบั สถานการณข์ องสงั คมและ การเกดิ ขน้ึ ของเทคโนโลยใี หมๆ่ตลอดจนการเกดิ ชอ่ งวา่ งทางกฎหมาย ท�ำ ใหค้ วามยตุ ธิ รรมไมส่ ามารถเกดิ ขน้ึ ไดใ้ นหลายกรณี ไม่วา่ จะเปน็ ปญั หาพน้ื ทท่ี บั ซอ้ นในเขตปา่ สงวน ปญั หาหนน้ี อกระบบ และปญั หาการบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี บบกา้ วกระโดด ผา่ นกระบวนการศกึ ษา ระดมความคดิ เหน็ และน�ำ เสนอแนวทางแกไ้ ขโดยใชม้ มุ มองดา้ นหลกั นติ ธิ รรมเปน็ หลกั ในการท�ำ งานประเดน็ แรก ศกึ ษาปญั หาและแนวทางการแกไ้ ขปญั หาในประเดน็ การทบั ซอ้ นของพน้ื ทป่ี า่ สงวนและอทุ ยานแหง่ ชาติ โดยสนใจกรณศี กึ ษาในจงั หวดั นา่ นทม่ี พี น้ื ทป่ี า่ ไมล้ ดลงในอตั ราเรง่ ทส่ี งูมากในชว่ งไมก่ ป่ี ี ทผ่ี า่ นมา ผลการศกึ ษาพบวา่ การลดลงของพน้ื ทป่ี า่ เปน็ เพยี งแคป่ ลายเหตขุ องปญั หาตา่ งๆ ทส่ี ะสมสบื เนอ่ื งมาจากนโยบายการพฒั นาประเทศตลอดเกอื บ 60 ปที ผ่ี า่ นมา ทง้ัปญั หาดา้ นกฎหมายทม่ี กี ารประกาศพน้ื ทป่ี า่ สงวนและอทุ ยานทบั ซอ้ นกบั พน้ื ทด่ี ง้ั เดมิ ของชาวบา้ นปญั หาหนส้ี นิ และความยากจน ปญั หาจากการท�ำ เกษตรเชงิ เดย่ี วเพอ่ื ตอบสนองเครอื ขา่ ยธรุ กจิขนาดใหญ่ ฯลฯ ซง่ึ ในขอ้ ศกึ ษาน้ี กลมุ่ RoLD Fellow คน้ พบวา่ มกี รณตี วั อยา่ งทป่ี ระสบความส�ำ เรจ็ ในการแกป้ ญั หา นน่ั คอื แนวทางการทรงงานและโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ รขิ องในหลวงรชั กาลท่ี ๙ ซง่ึ ยดึ หลกั นติ ธิ รรมเพอ่ื การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ทางกลมุ่ ไดเ้ รยี นรู้ ท�ำ ความเขา้ ใจและประมวลศาสตรพ์ ระราชาออกมาเปน็ รายงานเรอ่ื ง ถอดบทเรยี นการใชห้ ลกั นติ ธิ รรมเพอ่ื การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ของในหลวงรชั กาลท่ี ๙: ขอ้ เสนอ 4 ขน้ั หลกั ปฏบิ ตั เิ พอ่ื คนอยกู่ บั ปา่ อยา่ งยง่ั ยนืในกรณปี า่ นา่ น ซง่ึ สามารถน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นพน้ื ทอ่ี น่ื ทม่ี ปี ญั หาลกั ษณะเดยี วกนั ไดท้ ว่ั ไป โดยตอ่ มา ขอ้ เสนอแนะดงั กลา่ วไดร้ บั การผลกั ดนั ในระดบั นโยบายจนน�ำ ไปสกู่ ารจดั ตง้ั คณะกรรมการนโยบายและก�ำ กบั ดแู ล รวมทง้ั คณะกรรมการด�ำ เนนิ การพน้ื ทจ่ี งั หวดั นา่ น ตามค�ำ สง่ั ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรที ่ี 48/2561 เรอ่ื งการบรหิ ารพน้ื ทร่ี ปู แบบพเิ ศษเพอ่ื การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งยง่ั ยนื : พน้ื ทจ่ี งั หวดั นา่ น และใชเ้ ปน็ แนวคดิ ในการผลกั ดนั (รา่ ง) พระราชบญั ญตั ิปา่ ชมุ ชน ซง่ึ ไดผ้ า่ นความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรแี ลว้ ในปจั จบุ นัประเดน็ ทส่ี อง ใหค้ วามส�ำ คญั เรอ่ื ง ระบบหนท้ี เ่ี ปน็ ธรรม: ขอ้ สงั เกตบางประการตอ่ การแกป้ ญั หาหนน้ี อกระบบอยา่ งยง่ั ยนื โดยมขี อ้ คน้ พบทน่ี า่ สนใจวา่ ปญั หาหนน้ี อกระบบของไทยสะทอ้ นให้เหน็ ถงึ ปญั หา หลกั นติ ธิ รรมในวงกวา้ งของสงั คมไทย โดยเฉพาะในประเดน็ ความเหลอ่ื มล�ำ้ ทง้ั

โอกาส รายได้ ขอ้ มลู ขา่ วสาร การเขา้ ถงึ กระบวนการยตุ ธิ รรม รวมถงึ ความเปน็ ธรรมตอ่ ลกู หน้ีปญั หาดงั กลา่ วน�ำ มาซง่ึ ผลกระทบตอ่ ลกู หนร้ี ายยอ่ ยในทกุ มติ ขิ องชวี ติ และมผี ลสบื เนอ่ื งถงึ ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศอกี ดว้ ย กลมุ่ RoLD Fellow ไดน้ �ำ เสนอแนวทางการสง่ เสรมิการเขา้ ถงึ สนิ เชอ่ื ทเ่ี ปน็ ธรรมของผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย มงุ่ สแู่ นวทางการแกป้ ญั หาทย่ี ง่ั ยนื นอกจากน้ีทมี บรรณาธกิ ารขา่ วของ ThaiPBS ยงั ไดห้ ยบิ ยกประเดน็ ดงั กลา่ วไปท�ำ สารคดสี น้ั ในชดุ รายการThe Exits เพอ่ื สอ่ื สารใหก้ บั สาธารณะชน รวมไปถงึ ผกู้ �ำ หนดนโยบายในภาครฐั ใหท้ ราบถงึสถานการณป์ จั จบุ นั ของสภาพปญั หาดงั กลา่ ว รวมทง้ั ใหค้ วามส�ำ คญั กบั มาตรการแกไ้ ขปญั หาเยยี วยา รวมไปถงึ มาตรการเชงิ ปอ้ งกนั ทส่ี รา้ งความเขา้ ใจดา้ นการวางแผนการเงนิ และความรู้ดา้ นกฎหมาย (Legal and Financial Literacy) แกก่ ลมุ่ ประชาชนเปา้ หมายในวงกวา้ งประเดน็ ทส่ี าม มงุ่ เนน้ ความสนใจไปทก่ี ารศกึ ษาปญั หาของกฎ ระเบยี บ หรอื กฎหมาย ทไ่ี มเ่ ทา่ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยใี นตลาดเศรษฐกจิ ซง่ึ กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาความขดั แยง้ ของผปู้ ระกอบการรายเดมิ รายใหม่ และผใู้ ชบ้ รกิ าร ในการน้ี กลมุ่ RoLD Fellow ไดม้ กี ารระดมความคดิ เพอ่ื ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั นติ ธิ รรมในการจดั การเทคโนโลยกี า้ วกระโดด เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสมดลุ ระหวา่ ง อสิ ระในการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมในขณะทม่ี กี ารก�ำ กบั ดแู ลทเ่ี ปน็ ธรรมกบั ทกุ ฝา่ ยไปพรอ้ มกนั โดยไดห้ ยบิ ยกกรณขี องแทก็ ซส่ี าธารณะกบั ธรุ กจิ Uber ซง่ึ กลายเปน็ ความขดั แยง้ในบรกิ ารขนสง่ สาธารณะอนั เปน็ ทร่ี บั รใู้ นวงกวา้ งและเกย่ี วพนั กบั คนสว่ นใหญใ่ นสงั คมไทยขน้ึมาเปน็ หนง่ึ ในตวั อยา่ งกรณศี กึ ษา พรอ้ มกบั เสนอแนะแนวทางการเปลย่ี นแปลงกฎระเบยี บให้สอดคลอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลงทร่ี วดเรว็ ขน้ึ ทกุ ที ประเดน็ เหลา่ น้ี ไดน้ �ำ เสนอผา่ นรายงานเรอ่ื งหลกั นติ ธิ รรมกบั การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยกี า้ วกระโดด ความมงุ่ หมายของการจดั ท�ำ การศกึ ษาเหลา่ น้ี มใิ ชเ่ ปน็ เพยี งสว่ นหนง่ึ ของหลกั สตู ร RoLD Programเทา่ นน้ั หากแตเ่ รา TIJ และเครอื ขา่ ยผนู้ �ำ ทผ่ี า่ นการรว่ มอบรม ตา่ งมงุ่ หวงั และตดิ ตามใหเ้ กดิ การผลกั ดนั ขบั เคลอ่ื นแนวทางแกไ้ ขปญั หาสงั คมในประเดน็ สงั คมตา่ งๆ ใหเ้ กดิ ขน้ึ จรงิ เปน็ รปู ธรรมผา่ นมมุ มองความเปน็ ธรรมดว้ ยหลกั นติ ธิ รรม เพอ่ื สรา้ งใหเ้ กดิ การพฒั นาสงั คมอยา่ งมคี ณุ ภาพอนั จะน�ำ ประเทศไปสกู่ ารพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื สบื ไป

คำ�นำ�สถาบนั เพอ่ื การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทย หรอื Thailand Institute of Justice (TIJ) ในฐานะสมาชกิ ของสถาบนั ในเครอื ขา่ ยแผนงานสหประชาชาติ (Institutes of the UN Crime Preventionand Criminal Justice Programme Network: PNI) แหง่ แรกในอาเซยี น TIJ มบี ทบาทส�ำ คญัในการสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของประเทศไทยและอาเซยี นในกรอบความรว่ มมอื กบั สหประชาชาติดา้ นการปอ้ งกนั อาชญากรรม กระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญา รวมไปถงึ การสง่ เสรมิ ดา้ นหลกันติ ธิ รรมและการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ใหส้ อดคลอ้ งกบั เปา้ หมายท่ี 16 ของ “วาระการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนืแหง่ สหประชาชาต”ิ (Goal 16 of Sustainable Development Goals) ซง่ึ มหี ลกั นติ ธิ รรมเปน็หวั ใจส�ำ คญัการบรรลวุ สิ ยั ทศั นอ์ งคก์ รในการเปน็ “ผสู้ ง่ เสรมิ การเปลย่ี นแปลง” (Promoter of Change) เพอ่ืยกระดบั กระบวนการยตุ ธิ รรมและเชอ่ื มโยงหลกั นติ ธิ รรมกบั การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ในประเทศไทยอาเซยี นและระดบั สากล” นน้ั TIJ ตระหนกั ดวี า่ ศกั ยภาพของเราเพยี งองคก์ รเดยี วคงไมส่ ามารถขบั เคลอ่ื นใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงในสงั คมไดอ้ ยา่ งมพี ลงั จงึ รเิ รม่ิ ความรว่ มมอื กบั สถาบนั วชิ าการระดบั โลก Institute for Global Law and Policy (IGLP) แหง่ คณะนติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยัฮารว์ ารด์ รว่ มกนั เปดิ หลกั สตู ร Rule of Law and Development Program (RoLD Program)เพอ่ื ใหเ้ กดิ เวทแี ลกเปลย่ี นองคค์ วามรู้ ประสบการณแ์ ละอดุ มการณ์ ดา้ นหลกั นติ ธิ รรมกบั การพฒั นาส�ำ หรบั เครอื ขา่ ยผนู้ �ำ รนุ่ ใหมแ่ ละผบู้ รหิ ารทง้ั จากองคก์ รภาครฐั เอกชน และประชาสงั คมโดยโครงสรา้ งหลกั สตู รไดม้ กี ารออกแบบใหเ้ กดิ กระบวนการแลกเปลย่ี นเรยี นรผู้ า่ นชดุ กจิ กรรมท่ีหลากหลาย เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ อบรมไดเ้ ขา้ ใจถงึ ความส�ำ คญั และมติ กิ ารน�ำ หลกั นติ ธิ รรมไปปฏบิ ตั ใิ ชไ้ ด้จรงิ รวมไปถงึ มอี ดุ มการณร์ ว่ มในการเปน็ พลงั เสรมิ สรา้ งความเปน็ ธรรมตอ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยีเปดิ โอกาสใหท้ กุ คนสามารถเขา้ ถงึ ความยตุ ธิ รรมไดอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ องคก์ รทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กระบวนการยตุ ธิ รรมมปี ระสทิ ธภิ าพและอ�ำ นวยความเปน็ ธรรม ซง่ึ ลว้ นแตเ่ ปน็ ปจั จยั พน้ื ฐานทน่ี �ำ ไปสสู่ งั คมท่ีสงบสขุ และการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื อยา่ งแทจ้ รงิปญั หาสงั คมทห่ี ลากหลายไดถ้ กู น�ำ มาศกึ ษาและวเิ คราะหผ์ า่ นมมุ มองของ “หลกั นติ ธิ รรม”ในกจิ กรรม “การปฏริ ปู หลกั นติ ธิ รรมอยา่ งเปน็ รปู ธรรม” (RoLD in Action) ภายใต้ RoLDProgram เพอ่ื สรา้ งองคค์ วามรแู้ ละแรงบนั ดาลใจใหท้ กุ ภาคสว่ นในสงั คมไดเ้ หน็ วา่ เราสามารถลดทอนปญั หาตา่ งๆ ไดห้ ากทกุ ฝา่ ยมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั หลกั นติ ธิ รรมอยา่ งลกึ ซง้ึ ซง่ึ ไม่ไดจ้ �ำ กดั อยเู่ พยี งในบรบิ ทของกฎหมายเทา่ นน้ั

TIJ หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ ผตู้ ดิ ตามเนอ้ื หาในบทวเิ คราะหฉ์ บบั น้ี ซง่ึ เปน็ ผลผลติ ของเครอื ขา่ ยผนู้ �ำ(RoLD Fellow) จะไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการมองเหน็ ปญั หาสงั คมแบบองคร์ วม และเหน็ วา่ การมองปญั หาผา่ นเลนสข์ องหลกั นติ ธิ รรมจะสามารถเปน็ ประโยชนใ์ นการวเิ คราะหห์ าทางออกของปญั หาสงั คมได้ ยง่ิ ไปกวา่ นน้ั TIJ หวงั วา่ บทวเิ คราะหน์ จ้ี ะเปน็ สว่ นหนง่ึ ในการสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหแ้ กภ่ าคสว่ นตา่ งๆ ในการรว่ มมอื สรา้ งเครอื ขา่ ยเพอ่ื ผลกั ดนั และแกไ้ ขปญั หาสงั คมใหเ้ กดิ ขน้ึจรงิ เปน็ รปู ธรรมทจ่ี บั ตอ้ งได้เพราะเราเชอ่ื วา่ ไมไ่ ดม้ แี คเ่ ราทอ่ี ยากเหน็ สงั คมดขี น้ึ …ศาสตราจารยพ์ เิ ศษ ดร. กติ ตพิ งษ์ กติ ยารกั ษ์ผอู้ �ำ นวยการหลกั สตู ร RoLD Program และผอู้ �ำ นวยการสถาบนั เพอ่ื การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทย (TIJ)



กลมุ่ 1 TRANSPARENCYถอดบทเรียนการใช้หลักนิตธิ รรมเพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ของในหลวงรัชกาลท่ี 9 พรอ้ มขอ้ เสนอ 4 ข้ัน หลกั ปฏบิ ตั เิ พอ่ื คนอยกู่ ับป่าอยา่ งยง่ั ยนื กรณีปา่ นา่ น - หน้า 9 - กลุม่ 2 INTEGRITY ระบบหนท้ี ีเ่ ปน็ ธรรม: ข้อสังเกตบางประการตอ่ การแก้หนีน้ อกระบบอย่างย่งั ยืน - หน้า 75 - กลมุ่ 3 JUSTICE ระบบหนีท้ ีเ่ ปน็ ธรรม: หลกั นติ ิธรรมกบั การจัดการเทคโนโลยีกา้ วกระโดด - หน้า 115 -

กล่มุ ท่ี 3: JUSTICE

กลมุ่ TRANSPARENCYถอดบทเรยี นการใช้หลกั นิตธิ รรมเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืนของในหลวงรัชกาลที่ 9 พรอ้ มข้อเสนอ 4 ข้ันหลักปฏิบัติเพ่อื คนอยกู่ บั ปา่ อย่างยั่งยืน กรณปี ่าน่าน

p 10 การปฏริ ปู หลกั นติ ธิ รรมอย่างเปน็ รูปธรรม กล่มุ ท่ี 1: TRANSPARENCY โครงการนำ�ร่องซงึ่ เปน็ ผลผลติ จากความคดิ ริเริ่มของกลมุ่ เครือขา่ ยผู้บรหิ ารและผู้นำ�รนุ่ ใหม่ หลักสูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพ่อื การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทย (องคก์ ารมหาชน)

ปัญหาการตัดไม้ทำ�ลายปา่ สะสมมาหลายสิบปี กฎหมายกลายเปน็ เงอ่ื นไขของวงจรของความเสอ่ื ม และไม่สามารถแกป้ ัญหาและฟืน้ ปา่ ด้วยวิธเี ดมิ ๆตอ่ ไปไดอ้ ย่างเพียงพอ พื้นทปี่ ่าไมข้ องไทยลดลงอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในชว่ งหลายสิบปที ่ผี า่ นมา จากการประมวล ขอ้ มูลการส�ำ รวจและขอ้ มูลดาวเทียมพบวา่ พ้นื ทีป่ า่ ไม้ลดลงจากราว 171 ล้านไร่ หรอื ราวรอ้ ยละ 53 ของพ้นื ท่ีประเทศในช่วงก่อนปี 2504 ลงมาเหลือราว 102 ลา้ น ไร่ หรอื รอ้ ยละ 31 ในปี 2558 จะเหน็ วา่ ในช่วงเวลาเพียง 50 ปีเศษ พน้ื ท่ปี ่าไม้ ของประเทศไทยลดลงถงึ 70 ลา้ นไร1่ แม้ท้ังภาครฐั และภาคประชาชนจะพยายาม แกไ้ ขปญั หาอย่างตอ่ เนื่อง โดยเฉล่ียแลว้ พ้ืนที่ป่ายังคงลดลงทุกปี แมจ้ ะลดลงใน อตั ราที่ชะลอลงกต็ าม พ้นื ทีซ่ ่งึ ไดร้ บั ความสนใจจากสงั คมอยา่ งมากในช่วงปที ี่ผา่ นมาคือพ้นื ทจี่ ังหวัด น่าน ซง่ึ เป็นพ้นื ทที่ ่แี สดงให้เหน็ ความละเอียดออ่ น และความสัมพนั ธ์กันอยา่ งซับ ซ้อนของปจั จัยตา่ งๆ ที่เป็นบอ่ เกดิ ของปัญหาพ้นื ที่ปา่ อย่างชดั เจน ปัญหาปา่ น่านมี ความเชอ่ื มโยงกบั ความยากจนของประชาชนในพื้นท่ี อนั เกดิ จากการความไมเ่ ป็น ธรรมและความเหล่ือมล�ำ้ ของการพฒั นา รวมถึงการพัฒนาท่ีไม่คำ�นึงถงึ ความยั่งยนื ท�ำ ใหช้ าวบา้ นขาดโอกาสท่ีจะพัฒนาตนเอง และยงั ถูกกลุม่ ผลประโยชน์ขนาดใหญ่ เอาเปรยี บจาก นอกจากน้ี ชาวบา้ นยังไมไ่ ดร้ บั การรบั รองสิทธิในทีด่ นิ ทำ�กินตาม กฎหมาย จึงน�ำ ไปสูว่ งจรของการตัดไม้ท�ำ ลายปา่ อย่างกวา้ งขวางไปพรอ้ มๆ กับ หนี้สนิ ที่เพิ่มขน้ึ เปน็ ทวคี ูณ ส่งผลใหห้ น่วยงานของรฐั เพม่ิ การเฝา้ ระวัง และสูญเสยี ความเช่ือม่ันในศกั ยภาพของชมุ ชนซึ่ง1 รายงานสถานการณป์ า่ ไม้ไทย 2558 - 2559, มลู นธิ ิสบื นาคะเสถียร, http://seub.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=1962:download&catid=108:download- &Itemid=138

ตั้งอยใู่ นพ้ืนท่ีทับซ้อนกบั ป่า ในการจดั การทรพั ยากรทรพั ยากรอยา่ งยงั่ ยืน ความเชื่อถือ ไวใ้ จกนั ระหวา่ งชาวบ้านและรัฐจึงเป็นปมปญั หาอนั นำ�ไปส่กู ารกระทบกระทงั่ กันอยา่ งต่อ เนอื่ ง ซ่ึงล้วนไม่สามารถนำ�ไปสทู่ างออกได้โดยง่าย จังหวดั นา่ นมพี ืน้ ที่ท้งั สนิ้ ประมาณ 7,601,900 ไร่ โดยพื้นท่สี ่วนใหญเ่ ปน็ ปา่ และภเู ขา สลับซับซอ้ น จากข้อมูลของกรมป่าไมพ้ บวา่ ในปี พ.ศ. 2519 จังหวัดน่านเคยมพี ้ืนท่ีปา่ สมบูรณ์ท้ังหมด 5.2 ล้านไร่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 73.94 แตใ่ นปีพ.ศ. 2556 พื้นทปี่ า่ สมบรู ณ์ ลดลงเหลือเพยี ง 4.3 ล้านไร่ หรอื ร้อยละ 57.32 แสดงให้เห็นวา่ ในช่วง 50 ปีทีผ่ ่านมา น้ี พ้นื ทปี่ ่าของจังหวัดน่านลดลงกว่าล้านไร่ แต่ส่ิงทน่ี า่ เป็นหว่ งยง่ิ ไปกว่าน้ัน คือพื้นทปี่ ่า ปอี ัตราการลดลงท่ีสูงมาก กลา่ วคอื ในชว่ งปี พ.ศ. 2507-2547 นน้ั พบว่าพื้นท่ีปา่ ทลี่ ด ลงน้ันอยทู่ ีค่ ดิ เป็นอตั รา 18,000 ไร่ต่อปี แต่ในชว่ ง 5 ปีถัดจากน้นั (พ.ศ. 2547-2551) ป่ามีอัตราการลดลงสูงขน้ึ เปน็ 53,000 ไรต่ ่อปี และยงั คงสงู ขนึ้ เป็นใน 125,000 ไรต่ ่อปี ในอกี หา้ ปีหลงั จากนั้น (พ.ศ. 2551-2555) ในชว่ ง 5 ปลี า่ สุด (พ.ศ. 2555 – ปจั จุบัน) มอี ัตราการลดลงสงู ถงึ 252,000 ไรต่ ่อปี เหตุผลทีพ่ ้ืนทีป่ า่ ในจังหวดั น่านลดลงน้ัน เกดิ จากหลายเหตุปัจจัยทีเ่ ชือ่ มโยงกัน ในเชิง ภมู ิศาสตรน์ ั้น นา่ นมภี มู ิประเทศท่เี ปน็ พ้ืนที่สูงคิดเป็นรอ้ ยละ 85 และมีพื้นท่ีราบอยเู่ พียง ร้อยละ 15 ในขณะท่มี ปี ระชากรราว 4.7 แสนคน ซงึ่ แบง่ เปน็ กลุ่มทอี่ ยใู่ นพื้นทส่ี ูงราว 1 แสนคน2 คนทอ่ี าศยั บนพืน้ ทีส่ งู เหล่าน้มี ักจะเป็นพืน้ ทที่ ับซอ้ นกับพื้นทปี่ า่ ที่กลายมา เปน็ ปญั หาในปัจจบุ ัน ชาวบา้ นจ�ำ นวนไม่นอ้ ยท่ีอาศัยอยู่ในพื้นทม่ี าก่อนการประกาศให้ เป็นพนื้ ที่ป่าสงวน การย้ายคนออกจากพืน้ ท่ีรกราก โดยเฉพาะในพ้นื ท่ีของชนเผ่าต่างๆ จงึ ไมใ่ ช่ทางออกทเี่ ป็นไปไดแ้ ละเหมาะสม การที่พนื้ ท่ีท�ำ กนิ ในทร่ี าบมีเพยี ง 15% จึง เป็นปัจจัยสำ�คัญทน่ี ำ�ไปส่กู ารบุกรกุ พนื้ ทปี่ ่า โดยในปี 2556 มพี ื้นทกี่ ารเกษตรในจงั หวัด อยูร่ าว 1.4 ลา้ นไร่ ในจำ�นวนนนั้ เป็นพืน้ ทีซ่ ึ่งมกี รรมสิทธค์ิ รอบครองอย่าถูกกฎหมาย อย่เู พียงราว 8 แสนไรเ่ ท่านั้น3 จึงเห็นไดว้ า่ มีพืน้ ทน่ี อกกรรมสิทธท์ิ มี่ กี ารทำ�การเกษตร มากกวา่ พนื้ ทีท่ ่ีถอื ครองอยา่ งถูกกฎหมายอย่รู าวหนง่ึ เท่าทีเดยี ว การเกษตรทน่ี ยิ มมาก ทสี่ ดุ ในจังหวัดคอื การปลกู ขา้ วโพด2 คนหิวปา่ หาย ณ “น่าน” เมอ่ื ความยากจน คือปัญหา, Thai Reform, https://www.isranews.org/ thaireform-other-news/53730-nan-53730.html3 สบายดเี มืองนา่ น, สำ�รวจน่านผ่านขอ้ มูลความก้าวหนา้ ในมติ ติ า่ งๆ เพอื่ สร้างเมืองนา่ นในวนั พรุ่งนีท้ ่ีดกี ว่าเดมิ , ส�ำ นกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ, www.npithailand.com/sites/default/files/10.จังหวัดน่าน.pdf

เล้ียงสตั ว์ อนั เกดิ มาจากการส่งเสรมิ การปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดย่ี วของภาครัฐ ร่วมกบับริษัทเอกชนด้านการเกษตรขนาดใหญ่อีกจ�ำ นวนมากท่เี ขา้ มาสนบั สนนุ และรับซือ้ ข้าวโพดในช่วงหลายสบิ ปีทผ่ี า่ นมา อีกทั้งยังมีนโยบายประกนั ราคาขา้ วโพดอีกด้วยประชากรน่านโดยเฉพาะในพ้นื ทส่ี งู ซึ่งมีความยากจนอยู่แล้ว จงึ เข้าสกู่ ระบวนการปลกูพืชเชิงเดีย่ ว พชื ไร่ โดยเฉพาะข้าวโพด น�ำ ไปสกู่ ารทำ�ลายพ้นื ท่ปี า่ อย่างนอ้ ยเกือบหนึ่งลา้ นไร่ จงั หวดั น่านมผี ลติ ภณั ฑ์มวลรวมตอ่ หัวประชากร (GDP per capita) เป็นอันดบัท่ี 69 ของประเทศ และต�่ำ เปน็ อนั ดบั สองของภาคเหนอื รองจากจังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน มีจำ�นวนคนยากจนสูงถึงรอ้ ยละ 21 ซ่งึ สูงเปน็ อนั ดบั สีข่ องภาคเหนอื จงึ พอจะสรปุ ไดว้ ่า ด้วยสถานการณ์ความเป็นอยู่ของประชากรในจังหวัดน่านมคี วามยากจน จึงมแี นวโนม้ จะต้องท�ำ การเกษตรเชงิ เด่ยี วทม่ี รี ายได้แนน่ อน แม้จะสุ่มเสยี่ งตอ่ การทำ�ผดิ กฎหมายดงั ท่เี ปน็ อยู่แต่การท�ำ การเกษตรเชิงเดี่ยวในลกั ษณะดงั กลา่ วกลบั ไม่สามารถแกป้ ญั หารายไดข้ องพวกเขาได้ จากราคาขา้ วโพดทีต่ กต�่ำ ลงในขณะทีร่ าคาปยุ๋ เคมีและยาปราบศตั รูพืชกลับสงู ข้นึ อยา่ งต่อเนื่อง ซึ่งย่อมจะทำ�ใหผ้ ู้ปลกู ข้าวโพดอยใู่ นสภาวะการเปน็ หนแ้ี ละยากต่อการลมื ตาอา้ ปากอย่างยงั่ ยนื ได้ เหน็ ไดจ้ ากสดั ส่วนหน้ภี าคครัวเรอื นของจังหวัดน่านทีส่ งู ถึงรอ้ ยละ 71 ซ่ึงสูงเป็นอันดับ 7 ของประเทศ และหน้ีสินเฉลี่ยตอ่ ครวั เรือนมีแนวโน้มสงู ข้นึ อย่างต่อเนื่องในชว่ งสบิ ปที ีผ่ า่ นมา จากเพยี ง 6 หม่ืนบาทในปี 2545 มาเป็น1.8 แสนบาทในปี 2556กลุม่ ท่ี 1: TRANSPARENCY การปฏิรูปหลักนิติธรรมอย่างเปน็ รูปธรรม p 13 โครงการนำ�รอ่ งซง่ึ เป็นผลผลิตจากความคดิ ริเร่ิมของกลมุ่ เครือข่ายผูบ้ รหิ ารและผูน้ ำ�ร่นุ ใหม่ หลักสูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพ่ือการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)

จงึ อาจกล่าวไดว้ า่ การลดลงของพืน้ ท่ปี า่ นัน้ เกดิ จากปจั จยั หลายส่วนมาบรรจบกัน ท้ัง จากความยากจนของประชากร นโยบายส่งเสรมิ การเกษตรเชงิ เดย่ี ว และการเอารดั เอา เปรยี บของเครอื ขา่ ยธุรกิจขนาดใหญท่ ่ีจำ�กัดให้ชาวบ้านชาวบ้านกลุม่ นีอ้ ยู่ในวงจรของ ความยากจน ภาวะหนที้ ีเ่ พม่ิ ขึ้น และการหมนุ เงินไปปีตอ่ ปีเพ่ือทำ�ไรข่ า้ วโพด และเมื่อมี รายไดต้ ่อไรน่ อ้ ยลงกย็ งิ่ จะต้องพยายามขยายพนื้ ท่กี ารปลูกใหม้ ากข้นึ ไปอีก อนั น�ำ ไปสู่ วงจรการเพมิ่ อัตราเร่งของการทำ�ลายพน้ื ท่ีปา่ อย่างก้าวกระโดดตามข้อมลู ขา้ งตน้ นอกจากปจั จยั เชิงเศรษฐกจิ แลว้ ตวั บทกฎหมายเองกเ็ ปน็ ปจั จัยส�ำ คญั ของปญั หาการ รุกพนื้ ทีป่ า่ อกี ดว้ ย ในประเทศไทย กฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั ปา่ ไมท้ ่ีส�ำ คญั คือ พ.ร.บ. ป่า สงวนแหง่ ชาติ พ.ศ. 2507 และ พ.ร.บ. อุทยานแหง่ ชาติ พ.ศ. 2504 ซึ่งไดป้ ระกาศทับ พนื้ ท่ีท�ำ กนิ เดมิ ของชาวบ้านทอี่ ยู่มาแตด่ ัง้ เดมิ เปน็ จำ�นวนมาก จึงเปน็ จุดเร่มิ ของปัญหา พื้นที่ทบั ซ้อนระหว่างพื้นท่ปี ่าของรฐั และพืน้ ท่ีดงั้ เดิมของชาวบา้ น โดยเฉพาะในพ้นื ท่ี ชาวเขาเผา่ ต่างๆ ก่อนทีจ่ ะขยายวงมาเป็นปัญหาการรุกพื้นทป่ี า่ ในปจั จุบันทซ่ี บั ซ้อนขึน้ อกี มาก เพราะมชี าวบา้ นท่ยี ากจนขาดท่ีดนิ ท�ำ กนิ ข้นึ ไปรกุ พนื้ ท่ปี า่ เพื่อปลูกขา้ วโพดป้อน กลมุ่ ธรุ กจิ การเกษตรอีกด้วย เมอื่ ราชการประกาศเขตพืน้ ทีป่ า่ สงวนและอทุ ยานแหง่ ชาตทิ บั พื้นทชี่ าวบ้าน ขณะท่ชี าว บ้านโดยเฉพาะท่ีอยมู่ าแต่ดง้ั เดมิ ก่อนการประกาศ พ.ร.บ. ทัง้ สองนั้นกลบั ไม่มสี ทิ ธทิ ำ� กินในพ้ืนทข่ี องตวั เอง เปน็ เง่อื นไขสำ�คญั ท่ีนำ�ไปสกู่ ารบกุ รกุ ตัดไม้ทำ�ลายปา่ เพราะเมอ่ื ชาวบา้ นทีม่ ฐี านะยากจนแลว้ ยังไม่มีสิทธทิ ำ�กนิ ในพนื้ ท่ีนัน้ ยอ่ มหมายถึงความไมส่ ามารถ ทจี่ ะประกอบการเกษตรทีต่ อ้ งลงทนุ หรือมคี วามยง่ั ยืนได้ เพราะมคี วามเสีย่ งทีจ่ ะถูกจับ ด�ำ เนนิ คดีอยตู่ ลอดเวลา ดว้ ยเหตุนก้ี ารปลกู ขา้ วโพดหรือเกษตรเชงิ เดยี่ วทท่ี �ำ ไดง้ า่ ย ไม่ ตอ้ งดูแลมาก ได้ผลผลติ เรว็ มปี จั จัยการเกษตรครบ มตี ลาดแนน่ อน จึงเป็นทางเลอื ก หลักของชาวบ้านเหลา่ น้ี ย่ิงเมือ่ เกิดปญั หาราคาตกตำ่�จนเป็นหน้ี ยิง่ ต้องขยายพ้ืนทป่ี ลูก เพม่ิ เพ่อื หมนุ เงนิ มาใช้หนที้ ัง้ ๆ ทจี่ �ำ นวนหนีร้ อบใหม่p 14 การปฏิรปู หลักนิติธรรมอยา่ งเป็นรปู ธรรม กลุ่มที่ 1: TRANSPARENCY โครงการนำ�รอ่ งซง่ึ เปน็ ผลผลติ จากความคดิ รเิ รม่ิ ของกลมุ่ เครือขา่ ยผบู้ ริหารและผ้นู ำ�รุ่นใหม่ หลักสตู ร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพ่อื การยุติธรรมแหง่ ประเทศไทย (องค์การมหาชน)

การสานตอ่ หลักนติ ธิ รรมของในหลวงรชั กาลท่ี 9เป็นบทเรียนและแรงบันดาลใจในการแกป้ ญั หาและพัฒนาโอกาสประเดน็ ท่ีดนิ ทับซ้อน ทเ่ี กดิ ขนึ้ ก็จะเพ่ิมเติมเป็นวงจรที่ยากจะหลุดออกไปได้โดยงา่ ย ประกอบ กับการท่หี นว่ ยงานรัฐขาดทง้ั ทรัพยากรในการบังคับใช้กฎหมายและมี ปัญหาการทจุ ริตอย่างกวา้ งขวาง จึงน�ำ ไปสู่การขยายพ้นื ท่ีการบุกรุกป่า เพื่อท�ำ ไร่ข้าวโพดหรือพชื เศรษฐกิจ จนเกิดปรากฏการณเ์ ขาหัวโลน้ สุดลูก หูลูกตาท่ชี ัดเจนจนเปน็ ที่สนใจของสงั คมในทีส่ ดุ สง่ิ ทีน่ า่ เศรา้ เปน็ ทีส่ ุดของ สถานการณด์ ังกลา่ วน้ีคือไมม่ ีผู้ใดเลยที่ไดป้ ระโยชน์ นอกจากกล่มุ ทนุ ท้งั ระดับท้องถ่นิ และระดับประเทศท่ีสามารถท�ำ กำ�ไรไดจ้ ากความล่มสลาย ของคุณภาพชวี ิตของชาวบ้านและการพงั ทลายของปา่ ต้นน�ำ้ ท่สี �ำ คัญท่ีสดุ แห่งหนง่ึ ของประเทศไทย กฎหมายซ่ึงไมเ่ ป็นธรรมต่อชาวบ้านท่อี ย่มู าก่อน นอกจากจะไม่สามารถ รกั ษาเขตป่าไมไ้ วไ้ ดต้ ามเจตนารมณข์ องตัวบทกฎหมาย กลับเปน็ เคร่ือง มือท่ีเออ้ื อ�ำ นวยใหเ้ กิดวงจรของความอยตุ ิธรรมที่เกดิ ผลเสยี อย่างต่อเนื่อง กบั ชุมชน สังคม และส่ิงแวดลอ้ มอีกด้วย จงึ มีความจำ�เปน็ อยา่ งยิง่ ท่จี ะตอ้ ง พิจารณาถงึ แนวคิดในการออกแบบระบบกฎหมายเพ่ือทจี่ ะแก้ปัญหาดัง กลา่ ว ท่ีนอกจากจะหยุดการท�ำ ลายพ้นื ทปี่ า่ แล้วยงั ควรตอ้ งนำ�ไปสกู่ าร ฟื้นป่าไดอ้ ย่างยั่งยืนอีกด้วยกลุ่มที่ 1: TRANSPARENCY การปฏริ ปู หลกั นติ ิธรรมอยา่ งเปน็ รปู ธรรม p 15 โครงการนำ�รอ่ งซ่งึ เปน็ ผลผลิตจากความคิดรเิ ริ่มของกล่มุ เครือขา่ ยผบู้ ริหารและผู้นำ�รุน่ ใหม่ หลักสูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพ่อื การยุตธิ รรมแหง่ ประเทศไทย (องคก์ ารมหาชน)

การสานตอ่ หลกั นิตธิ รรมของในหลวงรชั กาลท่ี 9 เป็นบทเรยี นและ แรงบนั ดาลใจ ในการแกป้ ัญหาและพฒั นาโอกาสประเด็นทด่ี ินทบั ซ้อน ปัญหาปา่ นา่ นทมี่ คี วามซับซอ้ นดังทีก่ ลา่ วมา โดยเฉพาะในมิตทิ างกฎหมายและปัญหา เศรษฐกิจของชาวบา้ น แทจ้ รงิ ไมใ่ ชป่ ัญหาใหม่และมกี รณีตวั อย่างความส�ำ เรจ็ ในการ แก้ปญั หามาแลว้ โดยเฉพาะกรณตี วั อยา่ งจากการทรงงานและโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดำ�รขิ องในหลวงรัชกาลท่ี 9 ซงึ่ เก่ียวขอ้ งกบั ปัญหาพ้ืนทีท่ บั ซอ้ นระหวา่ งชมุ ชน กับปา่ อนั ลว้ นมีปัญหาความยากจน การบุกรกุ ปา่ เช่นเดยี วกนั ดงั น้ัน ความคดิ ที่วา่ เรา ไมส่ ามารถแกป้ ญั หาปา่ นา่ นไดเ้ พราะติดกฎหมายไปเสียหมดนัน้ อาจดูเหมอื นจะไม่ถกู ต้องนกั เราสามารถเรียนรู้ ท�ำ ความเข้าใจ และถอดบทเรียนจากพระองค์ เพ่ือท่ีเปลี่ยน วธิ ีคิดและมุมมองของทั้งเจ้าหน้าท่รี ัฐ ชุมชน และองค์กรตา่ งๆทเี่ กี่ยวข้อง ให้เหน็ โอกาส ทีจ่ ะสามารถสานต่อและขยายผล ทัง้ แนวพระราชดำ�รแิ ละผลงานของพระองคท์ ่าน เพื่อ ทีจ่ ะน�ำ มาแกป้ ัญหาทเ่ี กิดขึ้นไดอ้ ยา่ งยง่ั ยืน ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงยดึ หลกั นติ ธิ รรมในการใชก้ ฎหมายเพ่อื การพฒั นาทย่ี งั่ ยืน ดัง เหน็ ไดจ้ ากการใช้หลักการทรงงานท่ีปจั จุบนั เรียกวา่ ศาสตรพ์ ระราชาเพอ่ื ให้คนอยกู่ ับปา่ ได้อยา่ งแทจ้ รงิ ทัง้ ในมติ กิ ารพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ อยา่ งสมดุล โดยมีตวั อย่างความส�ำ เรจ็ มากมาย เชน่ โครงการหลวง โครงการดอยตุง ในมติ ทิ างกฎหมายนัน้ พระองค์เคยตรัสอยา่ งชัดเจนเก่ียวกับหลกั การนติ ธิ รรม (Rule of Law)4 โดยเฉพาะความส�ำ คัญของความยตุ ิธรรมในฐานะทเ่ี ปน็ เป้าหมายของระบบ กฎหมายทแ่ี ท้จรงิ ดังพระราชดำ�รัสท่วี ่า “โดยท่ีกฎหมายเปน็ แตเ่ ครือ่ งมือในการรักษาความยุติธรรมดงั กล่าว จึงไม่ควรจะถอื วา่ มี ความส�ำ คญั ยง่ิ ไปกว่าความยตุ ธิ รรม หากควรจะตอ้ งถอื ว่าความยตุ ธิ รรมมาก่อนกฎหมาย และอย่เู หนือกฎหมาย การพิจารณาพพิ ากษาอรรถคดีใดๆ โดยค�ำ นึงถงึ แตค่ วามถกู ผดิ ตามกฎหมายเท่านั้น ดูจะไม่เป็นการเพียงพอ จำ�ตอ้ งค�ำ นึงถึงความยุติธรรม ซง่ึ เป็นจดุ ประสงค์ด้วยเสมอ การใชก้ ฎหมายจึงจะมีความหมาย และไดผ้ ลที่ควรจะได้...\"4 “หลักนิตธิ รรม กฎหมาย และแนวคิดการทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวรัชกาลท่ี ๙”, ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. สรุ เกยี รต์ิ เสถียรไทย, การประชุมเวทสี าธารณะ ว่าด้วยหลกั นิติธรรมและการพฒั นาทียั่งยืน คร้งั ท่ี 3 หัวขอ้ “หลักนติ ธิ รรมกับการพฒั นาโดยศกึ ษาแนวพระราชดำ�รขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวรัชกาลท่ี 9” วนั ที่ 17 กรกฎาคม 2560

“ผู้ท�ำ หน้าทพี่ ทิ กั ษค์ วามยตุ ิธรรมหรอื ความเป็นธรรม จึงควรระมัดระวงั ไว้ให้มากคอื ควรทำ�ความเขา้ ใจใหแ้ นช่ ดั ว่ากฎหมายนน้ั ไม่ใชต่ วั ความยตุ ธิ รรม เป็นแต่เพียงเคร่อื งมอื อยา่ งหน่งึ สำ�หรบั ใชใ้ นการรักษาและ อำ�นวยความยุติธรรมเทา่ น้ัน การใชก้ ฎหมายจงึ ตอ้ งมงุ่ หมายใช้เพ่อื รกั ษาความยุตธิ รรม ไม่ใชใ่ ชเ้ พ่อื รักษาตวั บทกฎหมายเองและการรกั ษาความยุตธิ รรมในแผน่ ดนิ กม็ ใิ ชม่ วี งแคบอยูเ่ พยี งแค่ขอบเขตของกฎหมาย หากตอ้ งขยายออกไปให้ถงึ ศีลธรรมจรรยาตลอดจนเหตุผลตามเปน็ จรงิ ดว้ ย”จากหลกั การน้ี พระองค์ทรงมีพระราชวนิ ิจฉยั ในประเด็นกฎหมายทเี่ กี่ยวกบั พืน้ ที่ทับซอ้ นระหว่างป่าและชุมชน พระราชดำ�รัสความวา่“...ในปา่ สงวนซึ่งทางราชการได้ขดี เส้นไวว้ า่ เป็นปา่ สงวนหรอื ปา่ จำ�แนก แต่ว่าเราขดี เส้นไวป้ ระชาชนกม็ ีอยใู่ นนั้นแลว้ เราจะเอากฎหมายปา่ สงวนไปบงั คบั คนท่ีอยู่ในป่าท่ียังไม่ได้สงวนแลว้ เพ่งิ ไปสงวนทหี ลัง โดยขีดเส้นบนเศษกระดาษก็ดชู อบกลอยู่ แตม่ ีปญั หาเกิดขึ้นท่ีเมือ่ ขดี เสน้ แลว้ ประชาชนทอี่ ยใู่ นน้นั ก็กลายเป็นผู้ฝา่ ฝนืกฎหมายไป ถ้าดูในทางกฎหมายเขาก็ฝา่ ฝนื เพราะวา่ ตรามาเปน็ กฎหมายโดยชอบธรรม แตว่ า่ ถ้าตามธรรมชาติ ใครเปน็ ผู้ท�ำ ผิดกฎหมาย กผ็ ูท้ ่ีขดี เสน้ นนั่ เอง เพราะว่าบุคคลท่อี ยใู่ นป่านัน้ เขาอยู่ก่อน เขามีสทิ ธิในทางเปน็ มนษุ ย์ หมายความวา่ ทางราชการบกุ รุกบคุ คล ไมใ่ ชบ่ ุคคลบุกรกุ กฎหมายบ้านเมอื ง...” “...แต่กฎหมายอยา่ งน้ีเป็นแตเ่ พียง ขดี เสน้ ทบั เขาไม่ใช่กฎหมายแท้ ทเ่ี ปน็ กฎหมายกเ็ พราะพระราชบญั ญตั ิ ป่าสงวนเปน็ กฎหมาย...”กลุม่ ท่ี 1: TRANSPARENCY การปฏริ ปู หลักนติ ิธรรมอย่างเป็นรปู ธรรม p 17 โครงการนำ�ร่องซง่ึ เป็นผลผลิตจากความคิดรเิ ริม่ ของกลุม่ เครือข่ายผูบ้ รหิ ารและผู้นำ�ร่นุ ใหม่ หลักสตู ร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพอื่ การยุติธรรมแหง่ ประเทศไทย (องค์การมหาชน)

“...กฎหมายกับความเปน็ อยู่ท่เี ปน็ จริงอาจขัดกนั และในกฎหมายก็มีช่องโหว่มใิ ชน่ อ้ ยเพราะเราปรับปรุงกฎหมายและการปกครองอยา่ งโดยอาศัยหลักการของต่างประเทศ โดยมิไดค้ ำ�นงึ ถึงความเปน็ อยูข่ องประชาชนว่าในทใี่ ดเป็นอย่างไร...” นอกจากความส�ำ คัญทจ่ี ะต้องมองเรือ่ งกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งโดยค�ำ นงึ ถึงความ ยุตธิ รรมเปน็ หลกั แล้ว การใช้กฎหมายกต็ อ้ งมีความยดื หยนุ่ พอสมควร เพ่ือ ใหก้ ารใช้กฎหมายน้ันกอ่ ใหเ้ กดิ ความยตุ ธิ รรมอยา่ งแทจ้ รงิ ไม่ใช่เพียงยดึ ตาม ตัวหนังสอื โดยไม่พจิ ารณาถงึ เจตนารมณ์ของกฎหมาย ดร. สรุ เกยี รติ์ เสถยี รไทย ได้กลา่ วถึงแนวพระราชดำ�รขิ องพระเจา้ อยู่หัวรัชกาล ท่ี 9 เก่ียวกบั การใช้กฎหมายและการปกครองเพื่ออำ�นวยความยุติธรรม โดย มี “ความยืดหยนุ่ ” ท่วี างอย่บู นพนื้ ฐานของความสจุ รติ จึงจะสามารถน�ำ ไป สู่การพฒั นาที่ย่ังยืนได้ ในการสัมมนาเกีย่ วกับหลกั นติ ธิ รรมและการพัฒนา ทย่ี ง่ั ยืน ดร. สุรเกยี รติไ์ ด้อัญเชญิ พระราชดำ�รัสมาอธิบายเกี่ยวกบั ประเดน็ การบังคับใช้กฎหมายอย่างอะลมุ้ อลว่ ยเพอ่ื ใหเ้ กิดความเปน็ ธรรม ความวา่ “ในดา้ นการปกครองนั้นก็สำ�คัญท่จี ะใช้หลกั กฎหมาย ขอ้ นจี้ ะต้องใชค้ ำ�ที่ไม่คอ่ ยดี คอื “ความยดื หยนุ่ ” ตอ้ งขอให้ พิจารณาคำ�น้ีใหร้ อบคอบสักหน่อย ได้เหน็ มามากเหมอื นกันวา่ ถา้ ปกครองด้วยหลักท่แี ขง็ แกรง่ แล้ว แมว้ า่ จะสจุ ริตเทา่ ไรๆ ทุกสิ่งทุกอยา่ งก็พังหมด จงึ ตอ้ งมีความยืดหยุน่ คอื ยืดหยนุ่ ในทางทีด่ ีเพราะความยืดหยุ่นนถี้ า้ ใช้ในทางท่ดี กี ็ดี แตถ่ า้ ใช้ในทางยดื หยนุ่ ตามใจตวั ก็อาจกลายเปน็ ทจุ ริตไป”p 18 การปฏิรูปหลกั นติ ิธรรมอยา่ งเป็นรปู ธรรม กลมุ่ ที่ 1: TRANSPARENCY โครงการนำ�ร่องซงึ่ เป็นผลผลติ จากความคิดรเิ ริม่ ของกลุ่มเครอื ข่ายผ้บู ริหารและผนู้ ำ�รุ่นใหม่ หลักสตู ร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบันเพ่ือการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)

“...ทางกฎหมายก็ว่ามกี ฎหมายแลว้ ก็มีอำ�นาจเจ้าหน้าที่ ทางประชาชนก็วา่ การเขา้ มาท�ำ กนิ เป็นกฎหมาย ทีน้ีเม่ือขัดกันก็เกิดความเดอื ดร้อนทง้ั สองฝา่ ย จึงเป็นหนา้ ท่ีของผรู้ ู้กฎหมายท่จี ะตอ้ งไปท�ำ ความเขา้ ใจคือ ไม่ใชไ่ ปกดขี่ให้ ใช้กฎหมายโดยเขม้ งวด แตไ่ ปท�ำ ให้ต่างฝ่ายเข้าใจเราอยรู่ ว่ มประเทศเดียวกนั ตอ้ งอยู่ด้วยกันด้วยความอะลมุ่ อลว่ ย ไมใ่ ช่กดข่ีซ่ึงกันและกัน…”“สำ�หรบั นติ ิศาสตรร์ ฐั ศาสตร์ ค�ำ ว่า พอสมควร เป็นสง่ิ ส�ำ คญั ถา้ จะปกครองให้บา้ นเมืองมีขื่อมีแป เราจะปฏบิ ัติตรงตามกฎหมายทัง้ หมดไม่ได้ นักกฎหมายรวมท้งันักกฎหมายในอนาคต จะตอ้ งทราบวา่ กฎหมายนัน้ มไี ว้ สำ�หรับเพอ่ื มีชอ่ งโหว่ในการปฏิบตั ิ ไมใ่ ชจ่ ะท�ำ ไดต้ รงไปตรงมาตามตัวบท ต้องใช้การพินจิ พิจารณาเสมอ”ดร. สรุ เกยี รติ์ ได้กลา่ วถึงส่งิ ท่ใี นหลวงรชั กาลที่ 9 ได้ทรงด�ำ เนินการจนส�ำ เร็จ คือการพฒั นาบนพนื้ ท่สี งู เพ่ือทดแทนการปลูกฝิน่ พระองคท์ รงเดินทางไปพดู คุยกับชาวบา้ นหลายครั้ง จนเกิดความเขา้ ใจถึงปญั หาความยากจนของชาวเขา การใชฝ้ ่นิแทนยาแก้ปวด และการอาศยั อย่ใู นพ้ืนทท่ี บั กับป่าสงวน พระองค์ทรงศกึ ษาทางออกเกย่ี วกับพืชทดแทนยาแก้ปวด พืชท่สี ามารถสร้างรายได้ทดแทนฝิน่ และสามารถปลกูบนเขาได้ และยงั ทรงอธิบายชาวบา้ นถงึ ปญั หาฝน่ิ ว่าผิดกฎหมายอย่างไร จนนำ�ไปสู่โครงการพัฒนาต่างๆ มากมายท่ีสามารถนำ�ไปสู่การแก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งยั่งยืน วธิ ีดังกล่าวความแตกต่างกับแนวทางทีภ่ าครัฐใชอ้ ยู่ในขณะน้ัน กล่าวคือการบังคบั ใช้กฎหมายอย่างเขม้ งวด สง่ เจ้าหน้าท่ีเขา้ ไปตดั ต้นฝ่นิ ประกาศว่าส่งิ ทช่ี าวบา้ นทำ�นนั้ผดิ กฎหมาย นำ�ไปสปู่ ัญหาทีห่ นกั ขอ้ ขนึ้ เพราะชาวบ้านรู้สกึ ถึงความไม่เปน็ ธรรมและถูกรงั แก อกี ทั้งยังเชอ่ื มโยงกับสถานการณค์ อมมิวนิสต์ในชว่ งเวลานน้ั ทำ�ให้ชาวเขาเหลา่ นัน้ กลายเป็นผ้กู ่อการรา้ ยอีกดว้ ย\"เราไมไ่ ดป้ รารถนาเลยทจี่ ะให้มผี กู้ อ่ การรา้ ยคอมมิวนสิ ตใ์ นประเทศ แตเ่ รากส็ ร้างขน้ึ มาเอง โดยไปชหี้ น้าชาวบ้านท่ีเขาปกครองตัวเองดีแล้ว เรยี บรอ้ ยแลว้ เปน็ประชาธปิ ไตยอย่างดีอยา่ งชอบแลว้ ว่าบุกรุกเขา้ มาอย่ใู นป่าสงวนฯ และขบั ไลใ่ ห้เขาย้ายออกไป คนเหล่าน้ันเขาท�ำ การงานเข้มแขง็ ท�ำ งานดตี ลอดเวลาหลายปีมาแล้วจากนครศรธี รรมราช ไม่เคยท�ำ ลายปา่ แตบ่ ังเอิญกฎหมายบอกวา่ ป่าสงวนฯ น้นักลุม่ ท่ี 1: TRANSPARENCY การปฏิรปู หลักนติ ิธรรมอย่างเป็นรปู ธรรม p 19 โครงการนำ�ร่องซง่ึ เป็นผลผลิตจากความคิดรเิ รม่ิ ของกลุ่มเครอื ข่ายผ้บู ริหารและผนู้ ำ�ร่นุ ใหม่ หลักสูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบันเพอ่ื การยุตธิ รรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)

ใครบกุ รกุ ไมไ่ ด้ เขาจงึ เดอื ดรอ้ น ป่าสงวนฯน้ันเราขีดเสน้ บนแผนที่ เจ้าหนา้ ท่ีจะไปถึงได้หรือไมไ่ ดก้ ช็ ่าง และส่วนมากก็ ปรากฏว่าเจ้าหนา้ ที่ไม่ได้ไป ดังนั้นราษฎรจะทราบไดอ้ ย่างไร วา่พน้ื ที่ที่เขามาอาศยั อยเู่ ปน็ ป่าสงวน เมื่อเราถือว่าเขาเปน็ ชาวบ้าน เราก็ไปกดหัวเขา ว่าเขาต้องทราบกฎหมาย”แตแ่ นวทางการแกไ้ ขปญั หาโดยยึดหลกั นติ ธิ รรมของพระองค์ โดยการใชก้ ฎหมายเพือ่ อ�ำ นวยความยตุ ิธรรม มคี วามยืดหยุน่ ในทางทดี่ ีอยบู่ นฐานความสจุ รติ ไปพร้อมๆ กบั โครงการพฒั นาสามารถจัดการกบั รากของปัญหา จนชาวบา้ นกลายมาเปน็ ผู้ทีต่ ัดต้นฝน่ิ เสียเอง และยังมสี ่วนรว่ มในการเปน็ ผู้รกั ษากฎหมายในทส่ี ดุซงึ่ แนวทางการใชห้ ลักนติ ิธรรมเพอื่ การแก้ปัญหาพืน้ ท่ที บั ซอ้ น และการพฒั นาอย่างย่งั ยนืของพระองค์น้นั เป็นหลักการสำ�คญั ทข่ี ยายไปสู่พืน้ ที่และสถานการณต์ า่ งๆท่ใี กลเ้ คยี งกัน เชน่โครงการดอยตุง และโครงการหลวง เปน็ ตน้ ผลทเ่ี กดิ ขึ้นจนเป็นทปี่ ระจักษก์ ค็ ือการทปี่ ัญหาความยากจนของชาวบา้ นกบั การฟืน้ ฟพู ืน้ ท่ปี ่าประสบความสำ�เรจ็ ไปพร้อมๆกันโครงการเหล่านมี้ หี ลกั คิดในการมองใหเ้ หน็ รอบดา้ น ม่งุ เนน้ การใชก้ ฎหมายเพอ่ื อ�ำ นวยความยุติธรรม ไม่เพยี งมองจากดา้ นบนลงมาผา่ นกฎหมายรฐั ธรรมนญู และกฎหมายต่างๆเท่านน้ัแตส่ รา้ งระบบนิตธิ รรมของชาวบา้ นในพื้นทอี่ ย่างมีส่วนร่วมท่เี กดิ จากการตกลงอยู่ร่วมกัน ก�ำ กับดูแลกนั ร่วมมอื กับหน่วยงานรัฐในพนื้ ท่ี จนกลายเป็นวฒั นธรรมของชุมชนทเ่ี คารพหน้าทีข่ องแตล่ ะฝา่ ย เกิดกลไกยตุ ธิ รรมระดบั ชุมชนเพอ่ื ใหค้ นอยกู่ ับป่าไดอ้ ย่างยง่ั ยนืดังนัน้ ในการแก้ไขปญั หาพ้ืนท่ที บั ซ้อนปา่ และชุมชนในประเทศไทยนน้ั มีความจ�ำ เป็นท่จี ะตอ้ งเรยี นร้กู ารใช้หลกั นิตธิ รรมเพือ่ การพัฒนาอย่างย่งั ยนื ดงั ท่ใี นหลวงรัชกาลท่ี 9 ได้พระราชทานแกค่ นไทยทกุ คน ท้งั ผ่านพระราชดำ�รสั และพระราชกรณียกจิ ในโครงการต่างๆ ของพระองค์ท่ีมีความชัดเจนท้งั วิธคี ดิ และการปฏิบัติ เพือ่ ท่จี ะสามารถแก้

ปัญหาทเ่ี ป็นรปู ธรรมในพืน้ ทที่ ับซอ้ นทม่ี ปี ัญหาในลักษณะคลา้ ยกันทวั่ ประเทศไทยดงั เชน่ ทพ่ี ระองคไ์ ด้ทรงด�ำ เนินการจนส�ำ เร็จมาแลว้ เปน็ แรงบันดาลใจท่ีจะนำ�ไปสกู่ ารสรา้ งความยตุ ธิ รรม สรา้ งโอกาสให้กบั ชาวบา้ น การฟนื้ ฟูสภาพป่า ท่สี �ำ คญัคือการสร้างความม่นั ใจกบั เจา้ หน้าท่ีรัฐ ระบบยตุ ิธรรม (ศาล อัยการ และต�ำ รวจ)ประชาชน และองค์กรต่างๆที่เกีย่ วข้องให้สามารถก้าวข้ามขอ้ ก�ำ จดั ทางกฎหมายและกรอบความคิดเดิมๆ และความไม่เข้าใจหลกั นิตธิ รรม และการใช้กฎหมายเพอื่ การพัฒนาทย่ี ัง่ ยืนดังท่ผี า่ นมา ผู้ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการแกป้ ญั หาน้ีจำ�เป็นต้องมวี ิธคี ดิ ใหม่อนั เกิดจากการถอดบทเรยี นจากตวั อยา่ งความส�ำ เรจ็ ของพระองค์ดังเชน่ ที่ พระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จ้าพชั รกติ ิยาภา ไดป้ ระทานพระดำ�รสั ในการประชมุ เวทีสาธารณะวา่ ด้วยหลกั นิติธรรมและการพัฒนาทีย่ ง่ั ยนื เม่ือวนั ที่22 กุมภาพนั ธ์ 2560 วา่ “ส่งิ สำ�คญั ท่ที ำ�ให้การพฒั นาทางเลอื กท่ยี กตัวอยา่ งมานัน้ ประสบความสำ�เรจ็ กเ็ นื่องมาจากการทภ่ี าครัฐเขา้ ใจอย่างชดั เจน ว่า ก่อนใช้กฎหมายบังคบั ให้ชาวบา้ นปฏบิ ัติตามอยา่ งเครง่ ครดั ควรต้องคำ�นึงถึงเงอ่ื นไขทางสังคม เศรษฐกจิ หรือแม้แต่เรือ่ ง ธรรมเนยี มประเพณี หากขาดการสนับสนนุ เร่อื งทีด่ ินทำ�กิน การบรหิ ารจัดการน้ำ� การคมนาคม สาธารณสขุ พ้ืนฐาน หรอื การศกึ ษา กฎหมายทีเ่ คร่งครดั กไ็ รป้ ระโยชน์ คนเหลา่ นี้ตอ้ งได้ รบั การสนบั สนนุ เสริมพลงั จนถงึ จุดที่สามารถมที างเลอื กในการ ใชช้ วี ิต ในจดุ น้นั การบงั คบั ให้เป็นไปตามกฎหมายจงึ จะเป็นไปได้ การจัดการเร่อื งสถานะทางกฎหมายจึงจะมีผล พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยหู่ ัว รชั กาลที่ 9 ทรงวางเง่ือนไขแวดลอ้ มทจี่ ะทำ�ให้หลัก นติ ิธรรมสามารถเกดิ ได้ในสังคม โดยเริ่มจากการชว่ ยใหช้ าวบ้าน สามารถเล้ยี งชพี ได้กอ่ นเป็นสำ�คัญ”กลมุ่ ที่ 1: TRANSPARENCY การปฏิรูปหลกั นิตธิ รรมอย่างเป็นรปู ธรรม p 21 โครงการนำ�ร่องซึง่ เปน็ ผลผลติ จากความคิดรเิ ร่ิมของกลุม่ เครอื ขา่ ยผ้บู ริหารและผู้นำ�รุ่นใหม่ หลักสูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพ่อื การยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)

สานตอ่ บทเรียนหลักนติ ธิ รรมเพ่อื การพัฒนาทย่ี งั่ ยนื ของรชั กาลท่ี 9 สูก่ ารปฏิบตั ิ: แนวปฏบิ ตั ิ 4 ข้อเพอ่ื แก้ปัญหาพืน้ ทท่ี บั ซ้อนเพือ่ คนอยู่กบั ปา่ ย่งั ยืนตามแนวศาสตร์พระราชา เราจะใช้กฎหมายอำ�นวยความยุตธิ รรม และรกั ษาเจตนารมณ์ของกฎหมายป่าไมไ้ วไ้ ดอ้ ยา่ งไร แน่นอนในปัจจุบนั มคี วามพยายามในการปฏริ ูปกฎหมายทเี่ กีย่ วขอ้ งกับป่าไม้ เช่น พ.ร.บ. ป่า ไม้ฯ พ.ร.บ. อทุ ยาน และ พ.ร.บ. ปา่ ชุมชน เปน็ ตน้ แตเ่ ราจะใชบ้ ทเรียนหลักนติ ธิ รรมของ ในหลวงรชั กาลที่ 9 และการถอดปจั จัยความสำ�เรจ็ ของโครงการในพระราชดำ�ริท่เี กดิ ข้นึ มากมาย มาประยุกตเ์ พ่ือหาชอ่ งทางทก่ี ฎหมายปจั จบุ นั เปิดทางให้สามารถด�ำ เนินการแก้ปญั หาไดโ้ ดย ไม่ต้องรอการปฏริ ูปกฎหมายทตี่ อ้ งใชเ้ วลาอีกไมน่ ้อยไดอ้ ย่างไร หากทำ�ได้สำ�เรจ็ ก็ย่อมทำ�ให้ เกดิ กรณตี ัวอย่างท่สี านตอ่ ตอ่ ยอด ขยายผล แนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยนื ของพระองค์ จน สามารถเป็นแรงสนับสนนุ เชงิ ประจกั ษ์และเป็นข้อมูลให้กบั การปฏริ ปู กฎหมายต่อไปไดอ้ ีกด้วย จากการประยกุ ตห์ ลักการขา้ งต้น การศกึ ษากฎหมายทเี่ กี่ยวข้อง และการถอดบทเรียนโครงการ ต่างๆของพระองค์ สามารถประมวลสรปุ เปน็ 4 ขน้ั ตอน ที่สามารถพฒั นาไปเป็นแนวทางปฏบิ ัติ พืน้ ฐานในการแก้ปญั หาพน้ื ท่ที บั ซ้อนป่าและชุมชนไดอ้ ยา่ งยั่งยืน โดยมแี นวทางดงั ต่อไปนี้ ขน้ั ที่ 1: การเตรียมความพรอ้ มชุมชน ข้นั ที่ 2: กาํ หนดกรอบและแผนการจดั การพ้นื ท่ีอย่างมสี ่วนร่วม ขน้ั ท่ี 3: การดาํ เนนิ การ ติดตาม และกาํ กับดูแลรว่ มกัน ขัน้ ที่ 4: จัดการความรู้ และสรปุ บทเรยี นเพือ่ การขยายผลp 22 การปฏิรูปหลักนิติธรรมอย่างเปน็ รูปธรรม กลุ่มที่ 1: TRANSPARENCY โครงการนำ�ร่องซึ่งเป็นผลผลติ จากความคิดรเิ ร่ิมของกลุ่มเครือขา่ ยผูบ้ รหิ ารและผนู้ ำ�รุ่นใหม่ หลักสูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)

ขน้ั ท่ี 1:การเตรียมความพรอ้ มชมุ ชนในขนั้ ตอนแรกน้ี ชุมชนท่ตี ้องการจะเข้าสูก่ ระบวนการแก้ปญั หาพน้ื ทีท่ ับซ้อนจะต้องเตรียมความพรอ้ มของตนเองเสียก่อน โดยการสนบั สนนุ ของหนว่ ยงานรัฐและองค์กรท่ีเกยี่ วข้องในพ้นื ที่ เพ่อื ใหช้ มุ ชนมคี วามรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกับการจดั การพืน้ ทใี่ หเ้ กดิ ความสมดลุ และยง่ั ยนื สร้างอาชีพและอนาคตท่มี ่ันคงไปพร้อมๆกับการรักษาสมดลุ ทางธรรมชาติในพืน้ ที่ การดแู ลรกั ษาและเพ่ิมพ้ืนที่ปา่ ในอาณาบริเวณทีด่ �ำ เนินการโครงการแก้ไขปญั หาน้ีชุมชนสามารถที่จะเรยี นรเู้ กี่ยวกับหลกั การ วธิ กี าร และการปฏบิ ัตติ ่างๆได้จากพื้นทอี่ นื่ ๆ ทีด่ ำ�เนนิ การประสบผลสำ�เรจ็ ในการแก้ไขปัญหาพ้ืนทท่ี บัซอ้ นใหค้ นอยู่กบั ปา่ ได้อย่างยั่งยนื โดยมหี ลักนติ ธิ รรมเปน็ พื้นฐานของความรว่ มมอื กันระหว่างชมุ ชน ภาครฐั ระบบยุติธรรม และองค์กรสนบั สนนุ ต่างๆตวั อย่างของพืน้ ที่ซึง่ ชมุ ชนสามารถเรียนร้ไู ด้ เชน่กลุ่มที่ 1: TRANSPARENCY การปฏริ ปู หลกั นิติธรรมอย่างเปน็ รปู ธรรม p 23 โครงการนำ�ร่องซึ่งเป็นผลผลิตจากความคิดรเิ รมิ่ ของกลุ่มเครอื ข่ายผบู้ รหิ ารและผนู้ ำ�ร่นุ ใหม่ หลกั สตู ร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบันเพอื่ การยุตธิ รรมแหง่ ประเทศไทย (องค์การมหาชน)

p 24 การปฏริ ปู หลกั นติ ธิ รรมอย่างเปน็ รูปธรรม กล่มุ ท่ี 1: TRANSPARENCY โครงการนำ�ร่องซงึ่ เปน็ ผลผลติ จากความคดิ ริเริ่มของกลมุ่ เครือขา่ ยผู้บรหิ ารและผู้นำ�รนุ่ ใหม่ หลักสูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพ่อื การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทย (องคก์ ารมหาชน)

พพิ ิธภัณฑธรรมบชา านตหิจวัดยปกลาารหนลำ้ ดชมุ จังชหนวดัตตาามกแนวพระราชดำริ กตกิ าการใชป ระโยชนท ่ีดินบานหวยปลาหลดประเภทท่ี 1 ปา อนรุ กั ษ ประเภทท่ี 3 ที่อยูอ าศย ประเภทท่ี 6 ปา ประเพณีวฒั นธรรมชมุ ชน • ปฏบิ ตั ติ ามขอกำหนดของพระราชบญั ญัติอทุ ยานแหง ชาติ • ไมมกี ารขยายขอบเขตทีอ่ ยอู าศย รุกลำ้ ไปยังพืน้ ท่ีปา โดยเดด็ ขาด • เปน ปา ท่ีใชส �หรบั ประกอบพธิ ที างประเพณีวัฒนธรรมชมุ ชน พระราชบัญญตั ิสตวปา พระราชบญั ญัตปิ าไม • หากมีการสรางบา นเรอื นเพิม่ ตองดำเนนิ การขออนญุ าตกับ เทานนั้ • อุทยานฯ และชุมชนมสี ว นรว มในการอนุรกั ษปา อุทยานแหงชาตติ ากสน มหาราช สว นการออกบานเลขทใี่ หมให แจงตอ ผูใ หญบ านและอำเภอ ตามลำดับ ประเภทท่ี 7 ปาชมุ ชนประเภทท่ี 2 ปา 3 อยาง ประโยชน 4 อยาง ประเภทที่ 4 พน้ื ทีป่ ลกู ขา วดอย • ชมุ ชนรวมกันดแู ลปา โดยกำหนดกฎกติกาในการใชป ระโยชน • ชุมชนรวมกนั อนรุ กั ษด แู ลพ้ืนท่ีปา 3 อยา ง ประโยชน 4 อยา ง จากปา ชมุ ชน โดยกำหนดกฎ กติการวมกนั • ไมม ีการขยายขอบเขตปลกู ขาวดอย ประเภทท่ี 8 พ้ืนทตี่ ลาดสน คา เกษตรชุมชน • ชุมชนสามารถเกบ็ ผลผลิตจากพื้นท่ีปา 3 อยา ง ประโยชน 4 อยา ง ประเภทท่ี 5 พนื้ ทป่ี ลูกผักรองน้ำ • ตามกติกาตลาดชุมชน เพื่อเปน ประโยชนใ นการดำรงชพไดตามความเหมาะสม • การใชป ระโยชนทด่ี ินจากพ้ืนทป่ี า 3 อยาง ประโยชน 4 อยาง • ไมมีการขยายพืน้ ท่ีปลูกผักตามรองนำ้ ประเภทที่ 9 พนื้ ทสี่ าธารณประโยชนของหมูบาน ตองไดร ับการอนมุ ตั ิ/ รบั รอง/ อนุญาต จากคณะกรรมการชมุ ชน • ปลกู ผกั ปลอดสารพิษ เพ่ือรักษาคณุ ภาพดิน นำ้ ปา • หากพบวา มผี กู ระทำผิด ชมุ ชนตอ งรวมกันดำเนนิ การบงั คบั ใช • ตอ งดูแลรักษารอ งนำ้ รว มกัน • หามรุกล้ำพ้นื ท่ีสวนกลาง ประกอบดวย ลานจะคึ ตามกฎของชมุ ชนและกฎหมาย พพิ ธิ ภัณฑธรรมชาตจิ ดั การน้ำชมุ ชนตามแนวพระราชดำริ • หา มตัดตน ไมย ืนตน ทุกชนดิ โรงเรยี น วดั สถานอี นามยั ศูนยก ารเรียนรู และพื้นที่ท่ใี ช • ไมแ หงสามารถนำมาใชประโยชนได ประโยชนร ว มกนั หากทำกจิ กรรมใดตอ งเปน กจิ กรรมเพอ่ื สว นรวม • หามเผาปา ในเขตปา 3 อยาง ประโยชน 4 อยาง เด็ดขาด • หา มลาสตวทกุ ชนิดในเขตปา 3 อยา ง ประโยชน 4 อยาง • บคุ คลภายนอกหมบู านไมมีสทธ์ใิ นการใชประโยชนท ุกประเภท

กรณศี กึ ษาโครงการดอยตุงมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง

โครงการพัฒนาดอยตุงฯ ดำ�เนินการโดยมูลนิธิแมฟ่ ้าหลวงในพระราชปู ถัมภ์สมเด็จพระศรนี ครินทราบรมราชชนนี เกิดข้ึนหลังจากทสี่ มเดจ็ พระราชชนนีเสด็จพระราชด�ำ เนินไปดอยตุงในปี 2530 ท่านทรงทราบว่าชาวไทยภเู ขาภาคเหนอื รวมทงั้ ชมุ ชนบนดอยตุง ดำ�รงชวี ติ อย่างยากล�ำ บาก อาศัยการท�ำไร่เลอื่ นลอยในการเลย้ี งชพี ปลกู ฝ่ินเพ่อื หายรายได้ จนทำ�ให้สภาพแวดลอ้ มเส่อื มโทรมแทบไมม่ ไี ม้ยนื ตน้ หลงเหลอื ในพน้ื ที่ สมเดจ็ พระราชชนนที รงเชือ่ วา่ \"ไม่มใี ครอยากเกดิ มาเป็นคนไมด่ \"ี แต่ท่ีปลูกฝิน่ และทำ�ลายป่ามาจาก ความยากจนและหมดหนทางในปี 2531 โครงการพัฒนาดอยตุง จึงเรม่ิ ตน้ ขึ้น โดยม่งุ เนน้ การช่วยเหลือชาวบ้านใหช้ ว่ ยตวั เองได้ จดุ สำ�คัญในวธิ ดี ำ�เนินการคือการเขา้ ใจและเข้าถงึชุมชนที่หวังจะรว่ มพัฒนาอยา่ งแท้จริง ดังน้นั เจา้ หนา้ ที่ของโครงการจงึ ใช้เวลาระยะหนึ่งอยรู่ ว่ มกบั ชาวบา้ นเพื่อศึกษาวิถีชีวติ และบรบิ ทของคนในชมุ ชนบนดอยตุง ก่อนที่จะร่วมกันพัฒนาและแก้ปญั หาตา่ งๆ ด้วยกันในขัน้ ตอ่ ไปการดำ�เนินการพัฒนารว่ มกบั ชมุ ชน ทางโครงการพัฒนาดอยตงุ มหี ลักการพฒั นาแบ่งไดเ้ ป็นสามช่วง นน่ั คือ ข้นั การท�ำ ใหค้ นอย่รู อดได,้ ข้ันความพอเพียงและขั้นความยงั่ ยนื (survival, sufficiency และ sustainability)กลุ่มที่ 1: TRANSPARENCY การปฏิรูปหลักนิตธิ รรมอยา่ งเปน็ รูปธรรม p 27 โครงการนำ�ร่องซงึ่ เป็นผลผลิตจากความคิดรเิ รม่ิ ของกลุ่มเครอื ขา่ ยผู้บริหารและผู้นำ�รุ่นใหม่ หลกั สตู ร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพอ่ื การยุติธรรมแหง่ ประเทศไทย (องคก์ ารมหาชน)

ในขั้นตน้ เร่ิมจากการท�ำ ใหค้ นสามารถอยูร่ อดได้ (survival) ทาง โครงการเรม่ิ จากการแกไ้ ขปญั หาดา้ นสขุ ภาพ ท้ังเยยี วยาร่างกายให้ แขง็ แรงปลอดโรคและใหช้ าวบา้ นมีกนิ ตลอดทง้ั ปี ในการนี้ส�ำ หรับผู้ ติดยาเสพตดิ โครงการจดั ตง้ั ศนู ย์บำ�บัดยาเสพติดผาหมี ในเรือ่ งรายได้ ทดแทนการปลกู ฝน่ิ เพ่อื หาเล้ยี งครอบครวั ในระยะแรกทางโครงการ ไดจ้ ้างชาวบ้านท่ปี ลกู ฝ่ินมาเปน็ แรงงานปลกู ปา่ และพัฒนาสภาพ แวดลอ้ มเพอ่ื อ�ำ นวยการท�ำ เกษตร เช่น การบรหิ ารน้�ำ ท�ำ ฝายและ บำ�รงุ ดนิ นอกจากนน้ั ทางโครงการยังเปิดโรงฝึกอาชีพต่างๆ ฝกึ สอน การทอผ้า ทำ�กระดาษสา และกิจกรรมอืน่ ๆ เพอื่ ให้มีรายไดเ้ สรมิ ส�ำ หรบั ชาวบา้ นทุกเพศทุกวัย ในข้นั ความพอเพยี ง (sufficiency) ชมุ ชนมีรายไดเ้ พียงพอและต่อ เนือ่ งจากหลายทาง เชน่ การปลกู ปา่ เศรษฐกิจและป่าใชส้ อยท้ังกาแฟ และมาคาเดเมยี ซึง่ มมี ลู ค่าทางเศรษฐกจิ การขายและแปรรูปผลผลิต เพ่ือเพ่มิ มูลค่า จนกลายเปน็ แบรนด์ดอยตุงทม่ี ีรา้ นกาแฟและผลติ ภณั ฑ์ อืน่ ๆ จ�ำ หนา่ ย นอกจากนนั้ มีการหาตลาดใหม่ๆ ใหก้ บั ผลผลติ อืน่ ๆ ของโครงการเช่นเส้อื ผา้ การชำ�นาญในจดั ท�ำ สวน และการเป็นแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วจนดอยตุงไดร้ บั รางวัลแหล่งท่องเทย่ี ว PATA gold ซงึ่ ทงั้ หมด นี้เข้ากับหลักการทสี่ มเด็จพระราชชนนไี ดพ้ ระราชทานแนวทางไว้ว่า \"ถ้าช่วยคนเรอ่ื งฝกึ อาชพี ต้องทำ�ให้ไดม้ าตรฐานและไมใ่ ห้ ขาดทนุ \" และ \"อย่าให้คนซื้อ ของเราเพราะสงสาร\"p 28 การปฏริ ูปหลักนิตธิ รรมอยา่ งเป็นรูปธรรม กล่มุ ที่ 1: TRANSPARENCY โครงการนำ�รอ่ งซ่งึ เป็นผลผลติ จากความคิดริเรมิ่ ของกลมุ่ เครอื ข่ายผู้บริหารและผนู้ ำ�รนุ่ ใหม่ หลักสตู ร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบันเพ่ือการยุตธิ รรมแหง่ ประเทศไทย (องค์การมหาชน)

ทางโครงการมกี ารสำ�รวจสำ�มะโนประชากรและขอ้ มูลพน้ื ฐานด้านเศรษฐกจิ ของชุมชนตง้ั แต่แรกเร่ิมของโครงการ ซึง่ เมื่อตดิ ตามและเปรียบเทียบดูพบว่าชาวบ้านมีรายได้เพมิ่ ขน้ึอยา่ งมาก และสามารถปลดหนีท้ ีห่ ลายครอบครัวมีอยู่ไดไ้ ปตามๆกัน ส่วนโครงการพัฒนาดอยตุงสามารถสนับสนุนตวั โครงการเองจากรายได้การขายผลผลิตตา่ งๆ ภายใน 14 ปีในขัน้ ตอ่ มา โครงการพฒั นาเข้าสู่ช่วงการสร้างความยั่งยนื (sustainability) ทม่ี ุ่งหวังใหม้ ีความยัง่ ยนื ของชมุ ชน ที่จะยืนหยดั ด้วยตัวเองไดแ้ ละรบั ผิดชอบการสรา้ งอนาคตใหก้ บั ลูกหลานแม้จะไม่มีความช่วยเหลอื จากภายนอก ดงั น้ันทางโครงการจงึ ส่งเสรมิ ชาวบา้ นและลูกหลานในด้านการศึกษาและการเป็นผูน้ �ำ ในชว่ งนีค้ นรุ่นใหมจ่ ากชุมชนบนดอยตงุ ไปเรียนตอ่ ด้านเกษตรกรรมและด้านอื่นๆ ทีอ่ าจจะเปน็ ประโยชนแ์ ละกลบั มาเป็นผูน้ �ำ ของชมุ ชนและบรษิ ัทบนดอยตงุ ในรุ่นต่อไปสิง่ ทีอ่ าจจะมองวา่ เป็นเรือ่ งผลพลอยได้จากความสำ�เร็จในการเพ่มิ รายไดใ้ ห้แกช่ ุมชนบนดอยตุง คือการคนื สภาพของป่าบนเขาท่ีวันนีม้ คี วามอุดมสมบูรณ์ ทว่าสง่ิ น้กี ลบั เปน็ หนง่ึในเปา้ หมายทโี่ ครงการพฒั นาดอยตงุ ได้คาดหวังไวต้ ง้ั แต่ต้น ธุรกจิ ต่างๆ ทท่ี างโครงการริเร่มิ และพัฒนาเพ่อื เพ่ิมรายได้ให้แกช่ มุ ชนนนั้ ทำ�รายไดม้ ากกวา่ การทำ�ไร่เล่อื นลอยหลายเท่าตัว รวมทงั้ สนับสนนุ การดแู ลป่า ไม่ว่าจะเป็นป่าใชส้ อย ปา่ เศรษฐกิจหรอื ป่าอนรุ ักษ์ และใช้พ้ืนท่นี อ้ ยกว่าการยา้ ยทท่ี �ำ นาเลือ่ นลอยอยา่ งมาก ทั้งหมดสอดคลอ้ งกับแนวคดิ ที่วา่ ความย่งั ยืนของป่าข้นึ อยกู่ บั ความมั่นคงของคนและในท่สี ดุ ความม่ันคงของสงั คมกข็ ึน้ อยู่กับความอดุ มสมบูรณ์ของป่าเช่นกนักลุม่ ท่ี 1: TRANSPARENCY การปฏิรปู หลกั นติ ธิ รรมอยา่ งเป็นรูปธรรม p 29 โครงการนำ�ร่องซึ่งเปน็ ผลผลิตจากความคดิ รเิ ร่มิ ของกลุ่มเครอื ขา่ ยผู้บริหารและผนู้ ำ�ร่นุ ใหม่ หลกั สตู ร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบันเพ่ือการยตุ ิธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)

กรณศี ึกษาบ้านหว้ ยปลาหลด จ. ตากในงานสนบั สนนุ ของมูลนธิ อิ ทุ กพฒั น์

ชมุ ชนบ้านห้วยปลาหลด เปน็ ชมุ ชนของชาวมูเซอดำ� (ลาหู)่ ที่อพยพมาจากเขตปกครองตนเองชนชาตไิ ท สบิ สองปนั นา สาธารณรฐั ประชาชนจีน เดมิ ดำ�รงชวี ติด้วยการทำ�ไรเ่ ลอ่ื นลอยและปลกู ฝนิ่ ขายเปน็ ล�ำ ดับต้นๆ ของประเทศ ตอ่ มาเม่อื วนัท่ี 26 มกราคม พ.ศ. 2517พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชไดเ้ สด็จพระราชด�ำ เนินเยย่ี มราษฎรทช่ี มุ ชนแห่งน้ี ทรงมพี ระราชประสงคท์ จี่ ะเหน็ ประชาชนมีรายไดจ้ ากการปลกู พืชชนดิ อ่ืนที่ไม่ใชฝ่ นิ่ จงึ ได้พระราชทานกาแฟสายพนั ธ์อุ าราบิกา้ และแนวพระราชด�ำ ริการปลูกพืชเศรษฐกจิ อ่นื รวมทัง้ การดแู ลรกั ษาปา่ และต่อมาศนู ยพ์ ฒั นาและสงเคราะห์ชาวเขาจงั หวดั ตากไดเ้ ข้ามาชว่ ยจัดการระบบตลาด เพ่ือสนบั สนนุใหช้ ุมชนมพี น้ื ทใ่ี นการน�ำ พชื เศรษฐกิจมาจ�ำ หน่ายในปี พ.ศ. 2524 กรมปา่ ไม้ได้ประกาศจดั ตง้ั เขตอุทยานแหง่ ชาติต้นกระบากใหญ่(ปจั จบุ นั คืออทุ ยานแหง่ ชาติ ตากสินมหาราช) ตามพระราชบญั ญัติอทุ ยานแหง่ ชาติพ.ศ. 2504 เพอ่ื คุ้มครองและรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ การประกาศดังกล่าวส่งผลให้ท่ีดินท�ำ กนิ ของชาวบา้ นกลายเปน็ พื้นทท่ี ับซอ้ นท่ดี นิ อทุ ยานฯ และป่าไม้ จ�ำ นวน6 หมบู่ ้าน ไดแ้ ก่ บา้ นหว้ ยปลาหลด บ้านมเู ซอใหม่ บ้านขุนห้วยช้างไล่ บา้ นหว้ ยจะกือ บ้านป่าคา และบา้ นหว้ ยไมห้ ้าง ชาวบา้ นพยายามทจ่ี ะเจรจาขออาศัยอยใู่ นพ้ืนที่นต้ี อ่ ไป จึงไดช้ ่วยกนั ปลูกปา่ ทดแทนกับป่าที่เสียไป และช่วยกันดูแลรักษาป่าทมี่ ีอยู่ โดยมกี ารแบง่ ความรบั ผิดชอบปา่ ในแต่ละพืน้ ท่ีให้แต่ละครัวเรอื นอย่างชดั เจน ตามค�ำ แนะนาของพระอาจารยเ์ ดน่ นนั ทโิ ย นบั ตัง้ แตน่ ัน้ มาชาวบา้ นหว้ ยปลาหลดก็ได้พยายามปลูกป่าและดูแลรกั ษาป่าทีม่ อี ยูเ่ ดมิ มาอย่างต่อเน่ือง เพือ่ให้สามารถอาศยั อยใู่ นปา่ แหง่ นีต้ อ่ ไปได้ รวมท้งั ไดช้ ่วยกนั อนรุ ักษฟ์ น้ื ฟปู ่าตน้ นำ�้ล�ำ ธารตามแนวพระราชด�ำ ริ สร้างฝายชะลอความชมุ่ ชืน้ ปลกู ปา่ โดยไม่ต้องปลูกท�ำ แนวกันไฟป่า ปลูกปา่ 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อย่าง คือ ปลกู ไม้เพ่อื เปน็ อาหารไมเ้ พือ่ เศรษฐกจิ ไมใ้ ช้สอย เป็นประโยชน์ในระบบนเิ วศ เกิดความอุดมสมบรู ณ์ใหผ้ นื ป่าและพ้นื ดินกลุม่ ท่ี 1: TRANSPARENCY การปฏิรูปหลักนติ ธิ รรมอย่างเป็นรปู ธรรม p 31 โครงการนำ�ร่องซง่ึ เป็นผลผลิตจากความคดิ ริเร่มิ ของกลุ่มเครือขา่ ยผู้บริหารและผ้นู ำ�รุ่นใหม่ หลกั สตู ร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพอ่ื การยตุ ิธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)

เม่ือปี พ.ศ. 2551 ชมุ ชนบ้านหว้ ยปลาหลด ต�ำ บลด่านแม่ละเมา อ�ำ เภอแมส่ อดจงั หวดั ตาก เปน็ หน่ึงในชุมชนทีไ่ ดร้ บั คัดเลอื กจาก สถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรน้�ำ และการเกษตร (องคก์ ารมหาชน) หรือ สสนก. ให้เปน็ แม่ข่ายในการจัดการทรัพยากรนำ�้ ชมุ ชนดว้ ยวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และใช้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการบรหิ ารจัดการดิน น�ำ้ ปา่ และในปี พ.ศ. 2557 มูลนธิ อิ ุทกพฒั น์ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ไดป้ ระกาศให้ชมุ ชนบา้ นหว้ ยปลาหลดเป็น “พพิ ิธภณั ฑ์ธรรมชาติจดั การนำ�้ ชุมชน ตามแนวพระราชด�ำ ร”ิเมือ่ ต้นเดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2560 ท่ีผา่ นมา ผแู้ ทนจาก มูลนิธอิ ุทกพฒั น์ในพระบรมราชูปถัมภ์ สสนก. กองทพั ภาคที่ 3 อุทยานแห่งชาตติ ากสินมหาราชกรมป่าไม้ และผแู้ ทนชมุ ชน ไดร้ ว่ มกันส�ำ รวจพืน้ ท่ี เพ่ือการจัดท�ำ แนวเขตพื้นทแ่ี ละกตกิ าการใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ บา้ นห้วยปลาหลดขึ้น เพอ่ื สรา้ งความเข้าใจรว่ มกันเร่อื งพื้นท่ที ำ�กินและพน้ื ทท่ี อี่ ยอู่ าศยั ของชาวชมุ ชน และไดน้ ำ�ผลการส�ำ รวจพนื้ ทม่ี าท�ำประชาคมเมอ่ื วนั ที่ 10 พฤษภาคม 2560 โดยผลจากการท�ำ ประชาคมทำ�ให้แบง่พน้ื ที่ป่าออกไดเ้ ปน็ 9 ประเภท และแตล่ ะประเภทมกี ติกาการใช้ประโยชนท์ ่ดี นิอยา่ งชดั เจน นอกจากนี้ สสนก. ยงั ไดด้ �ำ เนนิ การถอดบทเรียน

ความสำ�เร็จการอย่รู ่วมกันระหว่างคนกับปา่ บนพนื้ ฐานของหลกั นติ ิธรรม เพื่อเปน็ ตน้ แบบความส�ำ เร็จการอยรู่ ว่ มกันระหว่างคนกับปา่ นำ�ไปขยายผลการฟ้นื ฟูอนรุ ักษป์ า่ ต้นนำ�้ ดว้ ยหลักนิติธรรมไปยังชุมชนอ่ืนๆ ตอ่ ไปจากการทีช่ มุ ชนบ้านหว้ ยปลาหลดมตี ลาดสนิ คา้ เกษตรดอยมเู ซอ เป็นแหลง่ รองรบัและจำ�หน่ายผลผลิตเป็นของตัวเอง ชว่ ยสรา้ งอาชพี สร้างรายได้ สง่ ผลใหช้ าวบา้ นมีชีวิตความเปน็ อยู่ท่ดี ีขนึ้ ปจั จบุ นั ตลาดสินคา้ เกษตรดอยมูเซอมผี ู้ค้าจ�ำ นวนเพม่ิ ขึ้นแตพ่ ้นื ทต่ี ลาดยงั คงมจี ำ�กดั ประกอบกบั สินคา้ เกษตรมไี ม่เพียงพอต่อการจำ�หน่ายชมุ ชนจงึ เหน็ ว่าควรจะก่อตัง้ ตลาดเพ่มิ อกี 1 แห่ง ทีบ่ รเิ วณออ่ งแลง่ หรอื ทางเข้าหม่บู า้ นหว้ ยปลาหลด เพ่ือเปน็ แหล่งจ�ำ หน่ายผลผลติ ทางการเกษตรของชาวบา้ นห้วยปลาหลด ชมุ ชนใกล้เคียง และรองรบั ผลผลิตจากเครอื ข่ายจดั การน�ำ้ ชุมชนตามแนวพระราชด�ำ รอิ ีกด้วย โดยผลผลิตทจ่ี ะน�ำ มาจำ�หน่ายทต่ี ลาดแห่งใหม่นี้ จะตอ้ งเป็นผลผลิตที่ปลอดสารพิษ สว่ นการบรหิ ารจัดการระบบตลาดนน้ั จะมีการจัดตั้งคณะกรรมการ กฎระเบียบและกติกาส�ำ หรบั สมาชิกผู้คา้ และการจดั ระเบียบตลาดใหเ้ ป็นระเบยี บเรยี บร้อย ซ่งึ ยอ่ มเป็นการขยายความส�ำ เร็จของชมุ ชนทส่ี ามารถจดั การตนเองให้อยู่กับปา่ และพึง่ พาตวั เองได้อย่างย่งั ยนื กลายเป็นตวั อยา่ งทอี่ ีกหลายชุมชนสามารถมารว่ มเรยี นรเู้ พอ่ื จะนำ�ไปประยกุ ตไ์ ด้ในพ้ืนท่ตี นเองกลุม่ ท่ี 1: TRANSPARENCY การปฏริ ูปหลักนิตธิ รรมอยา่ งเป็นรปู ธรรม p 33 โครงการนำ�ร่องซ่ึงเป็นผลผลิตจากความคดิ รเิ ร่ิมของกลมุ่ เครอื ขา่ ยผ้บู ริหารและผ้นู ำ�รนุ่ ใหม่ หลักสูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพ่ือการยตุ ิธรรมแหง่ ประเทศไทย (องค์การมหาชน)

นอกจากทั้งสองกรณศี ึกษาดังกล่าวแล้ว ยังมกี รณศี ึกษาในประเด็นคนอยกู่ ับป่าได้ อย่างยง่ั ยืนอกี มากมาย ท้งั จากโครงการหลวง โครงการในพระราชดำ�ริ และเครอื ขา่ ยชุมชนที่นำ�แนวทางหลกั นติ ิธรรมและการพัฒนาอยา่ งยั่งยนื ของในหลวงรัชกาล ท่ี 9 ไปประยกุ ตใ์ ช้จนประสบผลส�ำ เรจ็ ซ่งึ ล้วนเป็นตวั อยา่ งทจี่ ับต้องได้ และชมุ ชน สามารถมาศึกษาเรียนรไู้ ด้จริง การถอดเงอ่ื นไขความสำ�เร็จจากศาสตร์พระราชา สกู่ ารจดั การป่าและชุมชนทีม่ คี วามสมดุลและยงั่ ยืน หากจะถอดเงือ่ นไขความส�ำ เร็จของโครงการตา่ งๆท่ีเกี่ยวข้องกบั เรอ่ื งป่าและชมุ ชน ยอ่ มไดม้ าซ่งึ เงือ่ นไขหรือหลกั การสำ�คญั ทีพ่ ระองค์ทัง้ ทรงเนน้ ย้ำ�และสะทอ้ นให้เห็น ผา่ นการดำ�เนนิ งาน โดยมีเง่อื นไขส�ำ คัญอย่างน้อยสามเง่ือนไขดงั ต่อไปนี้ เงื่อนไขการสร้างความตระหนกั รู้ ความเข้าใจ ดว้ ยการปลูกต้นไมใ้ นใจคน เงอ่ื นไขการมสี ว่ นร่วมของชุมชน ระเบิดจากข้างใน การสรา้ งกติกาการดแู ลจัดการโดยชุมชน เง่อื นไขการจัดการทรัพยากรดิน น�้ำ ปา่ โดยค�ำ นงึ ถงึ ภมู ิสงั คม หลักเศรษฐกิจพอเพยี งp 34 การปฏิรูปหลกั นติ ธิ รรมอย่างเปน็ รปู ธรรม กลุ่มที่ 1: TRANSPARENCY โครงการนำ�ร่องซง่ึ เป็นผลผลิตจากความคดิ รเิ ริ่มของกลมุ่ เครอื ขา่ ยผบู้ ริหารและผ้นู ำ�รนุ่ ใหม่ หลักสตู ร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพ่ือการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องคก์ ารมหาชน)

เง่ือนไขท่ี 1:การสรา้ งความตระหนักรู้ความเข้าใจเรอื่ งปา่ ไมแ้ ละความสมดุลกบั ชมุ ชนด้วยการ “ปลูกต้นไมใ้ นใจคน”พระองคท์ รงให้ความสำ�คัญกับจิตสำ�นกึ ของประชาชนเป็นอนัดบั ตน้ ๆ ประหน่งึ วา่ งานด้านอนรุ กั ษป์ ่าไมแ้ ละต้นน�้ำ ล�ำ ธารจะประสบผลดีมคี วามต่อเนือ่ ง และรักษาความสมบูรณ์ของธรรมชาติไว้ได้อย่างย่งั ยืนเพียงใดน้ัน ขึ้นอยกู่ ับคุณธรรมและจิตสำ�นึกของชาวบา้ นเป็นสำ�คัญ หากชาวบ้านในพ้ืนทไ่ี มร่ ่วมใจ ไม่เห็นด้วยกบั งานในพืน้ ที่นนั้ กย็ ่อมยากทีจ่ ะประสบความส�ำ เร็จเม่ือคราวเสด็จพระราชด�ำ เนนิ ไปหน่วยงานต้นนำ้�พัฒนาทงุ่ จอืจงั หวดั เชยี งใหม่ พ.ศ.2514 พระองค์ทรงมพี ระราชด�ำ รสั กับเจา้หน้าทท่ี เ่ี ฝ้ารบั เสด็จฯความว่า “...เจ้าหนา้ ทีป่ ่าไมค้ วรจะปลูกต้นไมล้ งใน ใจคนเสยี ก่อน แลว้ คนเหล่านั้นก็จะพากัน ปลูกตน้ ไม้ลงบนแผ่นดนิ และรกั ษาตน้ ไม้ ด้วยตนเอง...”ปลกู ต้นไม้ในใจคน หมายถงึ ประการแรก ตอ้ งเขา้ ใจวา่ เราปลกูต้นไมท้ ำ�ไม ต้องให้เหน็ วา่ ประโยชนค์ อื อะไร จำ�เป็นต่อชีวิตอยา่ งไร ประการที่สองปลกู ตน้ ไม้เป็นการปลูกจติ ส�ำ นึกเกย่ี วกับทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมทอี่ ยรู่ อบตวักล่มุ ท่ี 1: TRANSPARENCY การปฏิรูปหลกั นิติธรรมอย่างเปน็ รูปธรรม p 35 โครงการนำ�ร่องซึ่งเปน็ ผลผลติ จากความคดิ รเิ รมิ่ ของกลุ่มเครอื ข่ายผบู้ ริหารและผนู้ ำ�รุ่นใหม่ หลกั สูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพอื่ การยุติธรรมแหง่ ประเทศไทย (องค์การมหาชน)

จงึ ท�ำ ให้เกิดโครงการ การปลูกป่า 3 อยา่ ง ได้ประโยชน์ 4 อยา่ ง ดงั นี้ “การปลกู ปา่ ถ้าจะให้ราษฎรมปี ระโยชน์ใหเ้ ขาไดใ้ หใ้ ชว้ ิธีปลกู ไม้ 3 อย่าง แต่มีประโยชน์ 4 อยา่ ง คือ ไม้ใช้สอย ไมก้ นิ ได้ ไมเ้ ศรษฐกิจ โดยปลกู รองรบั การชลประทาน ปลูกรบั ซบั นำ้� และปลกู อุดชว่ งไหลต่ ามรอ่ งห้วยโดย รับนำ้�ฝนอย่างเดยี ว ประโยชน์อย่างที่ 4 คือสามารถชว่ ยอนรุ ักษ์ดินและน้�ำ ” กลา่ วคอื เปน็ ปลกู ไมใ้ ห้พออยู่ พอกนิ พอใช้ และดแู ลระบบนเิ วศน์ พออยู่ พอใช้ หมายถงึ ไมเ้ ศรษฐกิจปลกู ไว้ หมายถึงปลกู ไมไ้ วใ้ ชส้ อยโดยตรงและ ท�ำ ท่อี ยู่อาศยั และจ�ำ หนา่ ย พลงั งาน เชน่ ไมฟ้ ืน และไมไ้ ผ่ เป็นต้น พอกนิ เกิดประโยชนต์ อ่ ระบบนิเวศน์ หมายถงึ ปลกู พชื เกษตร สร้างความสมบูรณ์และกอ่ ใหเ้ กดิ ความ เพ่ือการกินและสมุนไพร หลากหลายทางชีวภาพในพืน้ ทีป่ ่าp 36 การปฏิรปู หลักนิติธรรมอย่างเป็นรปู ธรรม กลมุ่ ท่ี 1: TRANSPARENCY โครงการนำ�ร่องซ่ึงเป็นผลผลติ จากความคดิ ริเริม่ ของกลมุ่ เครอื ข่ายผ้บู ริหารและผู้นำ�ร่นุ ใหม่ หลักสูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบันเพือ่ การยตุ ิธรรมแหง่ ประเทศไทย (องค์การมหาชน)

เงอ่ื นไขทส่ี อง:การมีส่วนร่วมของชุมชน ระเบิดจากขา้ งในการร่วมกำ�หนดกตกิ าและการดแู ลจัดการโดยชมุ ชน“ระเบดิ จากข้างใน” การสร้างความริเริม่ ความพร้อมของชมุ ชนการพฒั นาชุมชนสังคมให้ประสบความสำ�เร็จ “ตอ้ งระเบดิ จากข้างใน” ในความหมายกค็ ือ ตอ้ งมุ่งพฒั นา เพื่อสรา้ งความเขม้ แขง็ ให้ “คนและครอบครวัในชมุ ชน” ใหม้ สี ภาพความพร้อมท่ีจะรับการพฒั นาเสยี กอ่ น แลว้ จงึ ค่อยออกมาสู่สังคมภายนอก มิใชก่ ารนำ�เอาความเจริญจากสังคมภายนอกเขา้ ไปหาชมุ ชนและหมบู่ า้ น ซึ่งหลายชุมชนยงั ไม่ทนั ได้มโี อกาสเตรียมตวั หรือตั้งตัว จึงไม่สามารถปรับตวั ได้ทนั กับกระแสการเปล่ยี นแปลงและนำ�ไปสู่ความลม่ สลายได้ ทส่ี �ำ คัญคือตอ้ งมีความพยายามทจี่ ะคิดรเิ ร่มิ จากตัวของชมุ ชนเองเป็นหลกัเป็นหลักการพฒั นาบคุ ลากรเพอ่ื รองรับการพฒั นา และความเปลีย่ นแปลงของสังคมโลกาภิวตั น์ หากประชาชนมคี วามพร้อม กจ็ ะสามารถแก้ปญั หาที่เกิดข้ึนได้ อีกท้งั ยังสามารถปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สถานการณท์ ่พี ัฒนาเปลย่ี นแปลงไปไดด้ ว้ ย ทำ�ใหก้ ารพัฒนาเกิดขน้ึ ได้อยา่ งต่อเนือ่ ง และรองรับนโยบายการพฒั นาต่างๆ ทีจ่ ะเข้ามาพฒั นาสูช่ มุ ชนและสงั คมกลุ่มที่ 1: TRANSPARENCY การปฏิรูปหลกั นิตธิ รรมอยา่ งเปน็ รปู ธรรม p 37 โครงการนำ�รอ่ งซ่งึ เป็นผลผลติ จากความคิดรเิ ร่มิ ของกล่มุ เครือข่ายผู้บริหารและผูน้ ำ�รุ่นใหม่ หลกั สตู ร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบันเพื่อการยตุ ิธรรมแห่งประเทศไทย (องคก์ ารมหาชน)

การสร้างกตกิ าการดูแลจัดการโดยชมุ ชน คอื การท่ีชมุ ชนอาจใชจ้ ารตี ประเพณี กฎระเบียบ บญั ญัตทิ ้องถิน่ มาเปน็ ข้อกำ�หนดร่วม กนั ของชมุ ชนในการดแู ลการใช้ทรพั ยากรปา่ ไม้ น้�ำ และธรรมชาตอิ ยา่ งสมดุลและยัง่ ยนื และเปน็ ผทู้ ดี่ �ำ เนินการบังคับใช้กติกาเหลา่ น้นั ดว้ ยตนเอง เชอ่ื มโยงกบั ภาครัฐทเี่ ป็นผถู้ ือ กฎหมายท่ีเกย่ี วข้อง เพ่ือป้องกนั ไม่ให้สมาชิกทำ�ผดิ กตกิ าของสังคม เป็นการลดภาระให้ กับกลไกของภาครัฐในการดแู ลทรพั ยากรป่าไม้ ในหลวงรชั กาลที่ 9 เคยมพี ระราชด�ำ รสั ว่าเมอื่ เกิดการแก้ไขปัญหาฝน่ิ ตามแนวทางของพระองคแ์ ลว้ ชาวบา้ นจงึ กลายมาเปน็ ผู้ รักษากฎหมาย เปลยี่ นจากผ้กู ่อการร้ายคอมมิวนสิ ตม์ าเปน็ ผูต้ ดั ฝ่นิ ในพื้นที่เสยี เอง การ ก�ำ หนดกติการ่วมกันในชุมชนนน้ั เป็นหลกั ปฏบิ ัติทเ่ี ป็นพนื้ ฐานความสำ�เรจ็ ในการจัดการ ทรพั ยากรร่วมกนั ในพนื้ ที่อย่างยง่ั ยืน นำ�ไปสูก่ ารสรา้ งความไวว้ างใจระหวา่ งชมุ ชนและเจ้า หนา้ ทีข่ องรฐั อนั น�ำ ไปสูค่ วามรว่ มมือในการพฒั นาพนื้ ทอ่ี ยา่ งมีสว่ นร่วมในอนาคตอกี ดว้ ย ดังเชน่ ตัวอย่างของบา้ นห้วยปลาหลดทมี่ ีกติการ่วมกนั อยา่ งชัดเจนในการใช้ทรัพยากรปา่ ไม้และน้�ำ เกิดการสร้างตลาดทม่ี ีกตกิ าในการจัดการรว่ มกันในอกี ระดบั หนง่ึ ตามขั้นตอน พัฒนาการของชุมชน ดังพระด�ำ รสั ของพระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จา้ พัชรกิติยาภา ทกี่ ล่าวถงึ ช่วงเวลาทีพ่ ระองค์ เสดจ็ ไปเยยี่ มชมุ ชนทเี่ คยผ่านกระบวนการพฒั นาของในหลวงรชั กาลท่ี 9 ความว่า “ข้าพเจ้าเห็นความภูมิใจของพวกเขา ในขณะท่ขี า้ พเจา้ ฟังชาวบ้านเหล่านนั้ ข้าพเจา้ รับรู้ได้ว่าพวกเขาไดส้ ง่ เสรมิ วัฒนธรรมการเคารพกตกิ าและกฎหมาย ในหมู่พวกเขาเองแลว้ พวกเขาไม่ไดร้ อท่จี ะใหก้ ฎหมายถกู บังคับใช้ พวก เขาคน้ พบพลงั ของจารตี ประเพณอี ีกครง้ั ว่าสามารถท่ีจะรกั ษาสมาชิก ของชมุ ชนให้อยู่ในกฎเกณฑข์ องตน และทำ�ใหก้ ฎหมายได้รับการเคารพ”55 “I saw their pride. While listening to these villagers,I came to recognize that they have already promoted among themselves a culture of lawfulness. They do not wait for the laws to be enforced. They rediscover the power of traditions and other norms to keep community members in check to ensure that law is respected.. ”Special Keynote Address by Her Royal Highness Princess Bajrakitiyabha Mahidol of Thailand at the TIJ Public Forum on the Rule of Law and Sustainable Development, The United Nations Conference Centre, Bangkok, 22 February 2017 http://www.tijthailand.org/useruploads/files/keynote_address_by_hrh_for_tij_public_forum_rev3.pdf

เงอ่ื นไขที่สาม:การจดั การทรพั ยากรดิน-นำ้ �-ป่า โดยคำ�นงึ ถงึ ภูมิสงั คมหลกั เศรษฐกจิ พอเพียงการคำ�นึงถงึ ภูมิสังคมของแต่ละพน้ื ที่ (Geo-Social)แต่เดิมน้ันการพฒั นาประเทศตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติจะมุ่งเนน้ การพัฒนาเศรษฐกจิ เปน็ หลกั ดว้ ยเข้าใจวา่ ดชั นกี ารเตบิ โตทางเศรษฐกิจสามารถช้วี ัดความอยูด่ ีกินดแี ละมีความสุขของประชาชนในชาติได้ ทว่าผลลพั ธจ์ ากการพฒั นาท่ีดำ�เนินไปตามแนวคดิ ข้างตน้ ไดท้ ำ�ให้ผคู้ นในวงกว้างเร่มิ ตระหนักว่าการเร่งรดั พัฒนาทางเศรษฐกิจแต่เพียงอยา่ งเดียวโดยไมค่ ำ�นึงถงึ การพัฒนาในมิติอน่ื ๆ ควบคูก่ ันไป ท�ำ ให้เกิดผลขา้ งเคียงอันไมพ่ งึ ประสงค์หลายประการ เช่น การละท้งิ ถ่นิ ฐานและอาชพี ในทอ้ งถน่ิ เพอ่ื เขา้ ไปหางานทำ�ในเมืองใหญ่ ภาระหน้สี ินจากกระแสบรโิ ภคนิยมโดยขาดความพอเพยี งในตนเองการใชท้ รัพยากรธรรมชาตอิ ยา่ งฟุม่ เฟอื ยโดยขาดการอนรุ ักษอ์ ย่างถกู วธิ ี ผลกระทบทางนิเวศวิทยาท่ีทำ�ใหค้ ณุ ภาพชวี ิตของพืช สัตว์ รวมถงึ มนุษย์ลดต�่ำ ลง และอกี หลายๆปัญหาภายใต้วาทกรรมการพฒั นา บทเรยี นเหล่านี้น�ำ มาสขู่ อ้ สรปุ วา่ การพฒั นาท่ที �ำ ให้เกดิ ความไม่สมดลุ กันระหว่างเศรษฐกจิ สังคม ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมนั้นเปน็ การพัฒนาที่ไม่กอ่ ให้เกดิ ความยง่ั ยนื ในหลวงรชั กาลท่ี 9 ทรงเลง็ เหน็ ว่าการพฒั นาที่จะสรา้ งความย่ังยนื ไดน้ ้ันต้องสอดคลอ้ งกบั สภาพความเปน็ จรงิ ของ \"ภมู ิสงั คม\" ทงั้ ทางด้านภมู ศิ าสตร์ ส่งิ แวดล้อม ชีวภาพ วีถีชีวิต ประเพณี ขนบธรรมเนยี มและวฒั นธรรม ซ่ึงเป็นพื้นฐานส�ำ คัญท่ชี ่วยให้การพฒั นามีความยดื หยนุ่ และสอดคล้องกับความเปน็ จริงในทุกด้าน ไม่ใชเ่ พียงแค่เคร่ืองมอื หรอื วิธกี ารพฒั นาสำ�เรจ็ รปู ท่มี ุง่ เนน้ แตท่ ฤษฎจี ากต�ำ ราซึง่อาจไม่สอดคลอ้ งกบั ลักษณะและความต้องการท่แี ทจ้ รงิกล่มุ ท่ี 1: TRANSPARENCY การปฏริ ปู หลักนิติธรรมอยา่ งเปน็ รูปธรรม p 39 โครงการนำ�รอ่ งซึง่ เปน็ ผลผลิตจากความคิดรเิ ริม่ ของกล่มุ เครือขา่ ยผูบ้ ริหารและผ้นู ำ�รุน่ ใหม่ หลกั สูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพอื่ การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทย (องค์การมหาชน)

ของชุมชน โดยสรปุ คือ การพัฒนาใดๆ ต้องค�ำ นึงถงึ (1) ภมู ิประเทศของบรเิ วณนัน้ (ดนิ , น�้ำ , ป่า, เขา ฯลฯ) (2) ภูมสิ ังคม นสิ ยั ใจคอของผู้คน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีของท้องถ่นิ จึงจะกอ่ ใหเ้ กิดการพัฒนาอย่างย่ังยืน หลกั เศรษฐกจิ พอเพียง (พอประมาณ มีเหตุผล ภมู ิคมุ้ กัน) “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เปน็ แนวพระราชด�ำ รใิ นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ท่ี พระราชทานมานานกวา่ 30 ปี เป็นแนวคดิ ท่ีต้ังอยูบ่ นรากฐานของวฒั นธรรม ไทย เปน็ แนวทางการพัฒนาท่ีต้ังบนพ้นื ฐานของทางสายกลาง และความไม่ ประมาท ค�ำ นงึ ถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภมู คิ ุ้มกนั ในตัวเอง ดัง พระราชด�ำ รัสทีไ่ ด้พระราชทานเมื่อวนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2517 ความว่า “...คนอ่นื จะว่าอยา่ งไรก็ช่างเขา จะวา่ เมืองไทยลา้ สมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่า เมืองไทยไม่มสี ิง่ ท่สี มัยใหม่ แตเ่ ราอยู่พอมีพอกิน และขอใหท้ ุกคนมคี วาม ปรารถนาท่จี ะใหเ้ มอื งไทย พออยู่พอกนิ มคี วามสงบ และทำ�งานต้ังจติ อธษิ ฐานต้งั ปณิธาน ในทางนีท้ ่ีจะให้เมอื งไทยอยู่แบบพออยพู่ อกิน ไมใ่ ช่ว่าจะ รุง่ เรอื งอยา่ งยอด แตว่ า่ มีความพออย่พู อกิน มีความสงบ เปรยี บเทียบกบั ประเทศอน่ื ๆ ถ้าเรารกั ษาความพออยูพ่ อกนิ น้ีได้ เราก็จะยอดย่ิงยวดได.้ ..”p 40 การปฏริ ปู หลกั นิตธิ รรมอยา่ งเปน็ รูปธรรม กลุ่มท่ี 1: TRANSPARENCY โครงการนำ�ร่องซึ่งเปน็ ผลผลิตจากความคดิ รเิ รม่ิ ของกล่มุ เครือข่ายผู้บรหิ ารและผู้นำ�รนุ่ ใหม่ หลักสูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพือ่ การยุติธรรมแหง่ ประเทศไทย (องค์การมหาชน)

ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบดว้ ยคุณสมบัติ ดังน้ี1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่นอ้ ยเกินไปและไมม่ ากเกนิ ไป โดยไม่เบยี ดเบียนตนเองและผ้อู ื่น เช่น การผลติ และการบริโภคทอ่ี ยู่ในระดบั พอประมาณ 1.1 ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตัดสินใจเกยี่ วกับระดับความพอเพยี งนนั้ จะต้องเป็นไปอย่างมเี หตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ตลอดจนคำ�นงึ ถึงผลท่คี าดว่าจะเกดิ ขึ้นจาก การกระท�ำ นั้นๆ อย่างรอบคอบ 1.2 ภมู ิคุม้ กัน หมายถึง การเตรียมตัวใหพ้ ร้อมรบั ผลกระทบและการเปลีย่ นแปลงด้านตา่ งๆ ที่ จะเกดิ ข้ึน โดยคำ�นงึ ถงึ ความเปน็ ไปไดข้ องสถานการณ์ตา่ งๆ ท่ีคาดวา่ จะเกดิ ขน้ึ ใน อนาคตโดยมเี งอ่ื นไข ของการตัดสินใจและด�ำ เนินกิจกรรมตา่ งๆ ใหอ้ ยู่ในระดบั พอ เพียงประการ ดังนี้ 1.3 เงอื่ นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรเู้ กี่ยวกบั วชิ าการต่างๆ ทเี่ กย่ี วข้องรอบด้านความรอบคอบ ท่จี ะนำ�ความร้เู หล่านั้นมาพจิ ารณาให้เช่ือมโยงกนั เพ่ือประกอบการวางแผนและ ความระมัดระวังในการปฏบิ ตั ิ 1.4 เงือ่ นไขคณุ ธรรมท่ีจะต้องเสริมสรา้ ง ประกอบดว้ ย มีความตระหนกั ในคุณธรรม มีความซื่อสัตยส์ จุ รติ และมีความอดทน มคี วามเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการด�ำ เนนิ ชีวิต

ทั้งสามเง่ือนไขส�ำ คญั ท่ถี อดมาจากความส�ำ เร็จของโครงการของในหลวงรชั กาลท่ี 9 นนั้ สามารถน�ำ มาใช้เปน็ เคร่ืองมือท่จี ะวัดระดับความพร้อมของชุมชนทต่ี ้องการจะแก้ไขปัญหา ที่ดนิ ทบั ซอ้ นวา่ จะสามารถจดั การตวั เองใหเ้ กดิ ความสมดุลและยง่ั ยืนกบั ทรพั ยากรปา่ ไม้ ได้มากน้อยอยา่ งไร โดยเฉพาะในเงือ่ นไขท่วี ่า ชมุ ชนมคี วามร้คู วามเขา้ ใจ ชมุ ชนมีความพรอ้ มจากภายใน มคี วาม ชมุ ชนมีความสามารถในการ ถึงความสำ�คัญของปา่ ไม้ ริเร่ิมด้วยตวั เอง สามารถสร้างความมี วางแผนและจดั การทรัพยากร และทรัพยากรธรรมชาติ สว่ นร่วมในการแกป้ ัญหาและพฒั นา ดิน น้�ำ ปา่ โดยคำ�นงึ ถงึ ภูมิ ในฐานะปัจจยั ทตี่ ้องอาศยั โอกาสในพ้ืนทไ่ี ด้เพียงใด (ระเบดิ จาก สังคมและหลักเศรษฐกจิ พอ อยู่รว่ มกนั กับชมุ ชนอย่าง ขา้ งใน) และสามารถสร้างและใช้กติกา เพยี ง ไดม้ ากน้อยเพยี งใด เกอ้ื กูลมากน้อยแคไ่ หน รว่ มกนั ในชุมชนได้มากนอ้ ยเทา่ ใด (ปลูกปา่ ในใจคน) เง่อื นไขท้งั สามนไ้ี มใ่ ชเ่ ปน็ การต้งั ขึ้นในลกั ษณะทว่ี า่ หากไม่มีความพร้อมก็ไม่ควรเข้าร่วม กระบวนการแก้ไขปัญหาที่ดินทับซ้อน แตเ่ ปน็ การตรวจสอบความพรอ้ มของตัวเอง ในลักษณะ เดียวกับการตรวจสุขภาพน่ันเอง เมอื่ ร้วู า่ มีความพรอ้ มอยูใ่ นระดบั ใด อะไรเข้มแข็ง อะไรยัง ออ่ นอยู่ กส็ ามารถท่ีจะดำ�เนนิ การพฒั นาตวั ชมุ ชนเองให้เกดิ ความพรอ้ ม เพราะเงื่อนไขเหลา่ น้เี ปน็ สิ่งสำ�คญั ที่จะทำ�ใหช้ ุมชนเขม้ แข็งในการจดั การดแู ลทรพั ยากรในพนื้ ทตี่ วั เองไดด้ พี อท่ีจะ ท�ำ ใหห้ นว่ ยงานภาครัฐสามารถเข้ามาร่วมสนบั สนุนกระบวนการแก้ไขปญั หา ทบทวนชอ่ งทาง ทีก่ ฎหมายเปดิ ช่องไว้ เพอ่ื ทจ่ี ะก้าวไปสู่การจัดการพ้ืนทีร่ ว่ มกนั ระหวา่ งชุมชนกบั หน่วย งานรัฐต่อไปโดยมคี วามเช่ือถือไว้ใจ สามารถเคารพกันและกันไดพ้ อสมควร ซง่ึ เป็นปจั จัย สำ�คญั ท่จี ะทำ�ให้การวางแผนรว่ มกันในการแก้ปัญหาเกดิ ความสำ�เรจ็ ขน้ึ ได้p 42 การปฏิรปู หลกั นิตธิ รรมอย่างเปน็ รูปธรรม กลุม่ ที่ 1: TRANSPARENCY โครงการนำ�ร่องซ่ึงเปน็ ผลผลิตจากความคดิ ริเริ่มของกลมุ่ เครือขา่ ยผบู้ ริหารและผ้นู ำ�รุ่นใหม่ หลักสตู ร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพ่ือการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)

ขน้ั ที่ 2:กำ�หนดกรอบและแผนการจดั การพ้ืนที่อย่างมสี ว่ นร่วมเม่อื ชุมชนมคี วามพรอ้ มทจี่ ะเข้าสู่กระบวนการแก้ไขปัญหาพ้นื ท่ีทบั ซอ้ นตามแนวทางทส่ี อดคลอ้ งกบั หลักนิติธรรมและการพฒั นาทีย่ ง่ั ยืนของในหลวงรัชกาลที่ 9 แล้วข้นั ตอ่ ไปคือการทำ�งานรว่ มกันกบั หนว่ ยงานของรฐั และองค์กรตา่ งๆ ท่เี ก่ียวข้องโดยมาร่วมกำ�หนดกรอบและแผนการจัดการพ้ืนท่ีอย่างมีสว่ นร่วมด้วยกนั ทุกฝา่ ยจำ�เปน็ กำ�หนดกรอบการทำ�งานและขอบเขตในประเด็นตา่ งๆร่วมกันเพ่อื ทจ่ี ะสามารถพัฒนาแผนการจัดการพน้ื ที่ขนึ้ ได้ โดยมีสว่ นประกอบดงั น้ี- กำ�หนดแนวทางการใชก้ ฎหมายที่เกย่ี วขอ้ งด้วยหลกั นติ ิธรรม เปน็ การทำ�ความ เขา้ ใจพื้นท่วี า่ อยู่ในเขตทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับกฎหมายใด มีขั้นตอนท่ีเปิดไวใ้ นด�ำ เนิน การอยา่ งไร- ก�ำ หนดขอบเขตและพื้นที่เชงิ ภูมิศาสตร์และการพิสูจนส์ ิทธิ- ก�ำ หนดผู้มีส่วนได้เสียทเี่ กี่ยวขอ้ ง- ก�ำ หนดแผนการใชป้ ระโยชนแ์ ละการอนุรกั ษใ์ นพืน้ ทเ่ี ปา้ หมาย ทส่ี อดคล้องกบั กฎหมาย- ก�ำ หนดแนวทางการกำ�กับดูแลร่วมกันระหว่างชมุ ชน หน่วยงานของรัฐ และองคก์ รทีเ่ ก่ียวข้องกล่มุ ท่ี 1: TRANSPARENCY การปฏิรูปหลกั นติ ธิ รรมอยา่ งเปน็ รปู ธรรม p 43 โครงการนำ�ร่องซง่ึ เปน็ ผลผลิตจากความคดิ ริเร่มิ ของกลุม่ เครอื ข่ายผบู้ รหิ ารและผ้นู ำ�ร่นุ ใหม่ หลักสูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบันเพอ่ื การยตุ ิธรรมแหง่ ประเทศไทย (องคก์ ารมหาชน)

1. กำ�หนดแนวทางการใช้กฎหมายทเ่ี กยี่ วข้องดว้ ยหลกั นติ ธิ รรม เรม่ิ จากการพิจารณาว่าพ้นื ที่ของชุมชนทตี่ ้องการแก้ปญั หานน้ั เกี่ยวขอ้ งกบั กฎหมาย ใด มีช่องทางทเี่ ปดิ ไวใ้ ห้ด�ำ เนินการได้อยา่ งไร สอดคลอ้ งกับนโยบายการแกไ้ ข ปญั หาของภาครฐั หรือไม่อยา่ งไร สามารถใช้หลกั นิตธิ รรมมาด�ำ เนนิ การให้เกดิ ทางออกร่วมกัน เพอ่ื อ�ำ นวยใหเ้ กิดความยุตธิ รรมในการจดั การทรพั ยากรรว่ มกนั ไดด้ ้วยวิธีการใด กฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั เรื่องการจัดการทรพั ยากรชมุ ชน และพืน้ ท่ปี า่ ทับซ้อนนนั้ มี อยสู่ ามระดบั คือ กฎหมายรัฐธรรมนญู กฎหมายพระราชบญั ญัติ กลไกกฎหมาย ระดบั พ้ืนที่ เช่นบัญญตั ิทอ้ งถ่ิน และกติกาชมุ ชน การใช้หลกั นิตธิ รรมของในหลวงรชั กาลท่ี 9 คอื การใช้กฎหมายเพื่ออำ�นวยใหเ้ กดิ ความยตุ ิธรรม อันเปน็ เป้าหมายสูงสดุ ของกฎหมาย มีความยืดหยุน่ ตามชอ่ งทางที่ เปิดไวแ้ ละสอดคล้องกับกฎหมาย และพจิ ารณาจากเจตนารมณข์ องกฎหมายนน้ั ๆ เปน็ ส�ำ คัญ ทงั้ น้ีกฎหมายรัฐธรรมนญู อนั เปน็ กฎหมายสูงสุดของประเทศ ได้ใหส้ ทิ ธิ ชุมชนในการบรหิ ารจดั การทรัพยากรอย่างสมดลุ และย่งั ยนื ในมาตรา 43 หมวดสทิ ธิและเสรีภาพ ท่ีวา่ ชมุ ชน ยอ่ มมสี ิทธิในการ “จัดการ บำ�รงุ รักษา และใช้ ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม และความหลากหลายทางชวี ภาพอย่างสมดลุ และ ยง่ั ยืนตามวธิ ีการทกี่ ฎหมายบัญญตั ”ิp 44 การปฏิรปู หลักนติ ิธรรมอยา่ งเปน็ รปู ธรรม กล่มุ ท่ี 1: TRANSPARENCY โครงการนำ�รอ่ งซงึ่ เป็นผลผลติ จากความคดิ รเิ รม่ิ ของกลุม่ เครือข่ายผบู้ รหิ ารและผู้นำ�รนุ่ ใหม่ หลักสูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพื่อการยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทย (องค์การมหาชน)

และในมาตรา 57 หมวดหน้าที่ของรัฐ ทวี่ ่ารฐั ต้อง “อนุรักษ์ คมุ้ ครอง บำ�รุงรักษาฟื้นฟู บริหารจดั การ และใชห้ รอื จัดให้มกี ารใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ส่งิแวดลอ้ ม และความหลากหลายทางชวี ภาพ ใหเ้ กดิ ประโยชน์อย่างสมดลุ และย่ังยนืโดยตอ้ งให้ประชาชนและชมุ ชนในท้องถ่ินทเ่ี กยี่ วข้องมสี ว่ นรว่ มดำ�เนินการและได้รบั ประโยชน์จากการดำ�เนินการดงั กลา่ วดว้ ยตามทกี่ ฎหมายบัญญัต”ิดังน้ันจงึ จะเหน็ ได้ว่าชุมชนสามารถใช้สิทธติ ามรัฐธรรมนูญในการจดั การทรพั ยากรและรัฐเองกม็ หี น้าทจ่ี ะต้องใหช้ มุ ชนมามสี ว่ นรว่ มในการด�ำ เดินการ โดยทัง้ สองมาตราเน้นย�้ำ ท่ีการจดั การทรัพยากรท่ี “สมดลุ และยั่งยืน” เปน็ หลักการ เงอื่ นไขและเจตนาท่ีสำ�คัญของกฎหมายรฐั ธรรมนญู ในแง่ของสทิ ธชิ มุ ชนในการจดั การทรัพยากร ซึง่ สอดคลอ้ งกบั หลักนติ ธิ รรมและบทเรียนทถ่ี อดปจั จยั ความสำ�เร็จของโครงการพฒั นาของในหลวงรัชกาลที่ 9 ทม่ี ุ่งไปสู่เงือ่ นไขและสภาพแวดลอ้ มทางภมู ิสงั คมทจี่ ะสรา้ งความสมดุลและยั่งยนื ไดจ้ รงิ มตี วั อย่างเชิงประจกั ษ์ทเ่ี กิดขน้ึ แลว้และสามารถขยายผลได้ ด้วยเหตุนี้การสร้างความพร้อมของชมุ ชนโดยการนอ้ มนำ�ศาสตร์พระราชาตามที่ได้กล่าวมาข้างตน้ จงึ เปน็ การสรา้ งพื้นฐานที่สำ�คัญของชมุ ชนที่จะบรรลเุ งอื่ นไข “สมดุลและยง่ั ยนื ” ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญกลุม่ ท่ี 1: TRANSPARENCY การปฏิรปู หลกั นติ ิธรรมอยา่ งเป็นรูปธรรม p 45 โครงการนำ�ร่องซึ่งเป็นผลผลิตจากความคดิ ริเริม่ ของกล่มุ เครอื ขา่ ยผู้บรหิ ารและผู้นำ�รุน่ ใหม่ หลักสูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพอ่ื การยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องคก์ ารมหาชน)

จงึ มีชุมชนนำ�ร่องจ�ำ นวนพอสมควรที่ใช้สทิ ธติ ามรัฐธรรมนญู ดงั กล่าวไปเป็นฐานใน การก�ำ หนดขอ้ บัญญตั ิท้องถ่นิ โดยองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ และการออกกติกา ร่วมกนั ของชุมชนเอง เช่น ในพืน้ ทบ่ี า้ นห้วยปลาหลด จ. ตาก หรือ อ. แมแ่ จม่ tจ. เชยี งใหมเ่ ปน็ ต้น โดยมงุ่ เน้นไปเพื่ออ�ำ นวยความยุติธรรมในพืน้ ท่ีทบั ซอ้ น ให้ เกดิ การจัดการทรพั ยากรรว่ มกนั อยา่ งสมดลุ และยงั่ ยืน ซ่ึงสามารถทจ่ี ะสอดคล้องและ เป็นไปตามกฎหมายต่างๆท่เี กีย่ วข้องได้ และยงั เปน็ ไปในแนวทางพระราชวินิจฉัย ของในหลวงรชั กาลท่ี 9 และพระดำ�รสั ของพระเจ้าหลานเธอ พระองคเ์ จ้าพชั รกิตยิ า ภา เกีย่ วกบั การใช้กฎหมายด้วยหลกั นิตธิ รรมกบั ชุมชน ตามท่ยี กไวข้ า้ งต้นอีกดว้ ย ในการเลอื กใชก้ ฎหมายระดับพระราชบญั ญัตติ ามหลกั นติ ิธรรมและการพัฒนา อยา่ งยง่ั ยนื นนั้ มีแนวปฏบิ ัติสำ�คญั คือการจัดการพื้นท่ีทับซ้อนชุมชนกับปา่ ไม้ จะ ต้องเปน็ ไปภายใตก้ ฎหมายหลกั ที่เก่ยี วขอ้ ง ได้แก่ พระราชบัญญตั อิ ุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัตปิ า่ สงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 รวมทั้งกฎหมายอ่ืน เชน่ พระราชบญั ญตั ปิ ่าไม้ พทุ ธศักราช 2484 พระราชบัญญตั ิสงวนและคมุ้ ครองสัตว์ปา่ พ.ศ. 2535 เป็นตน้ พ้ืนท่ที บั ซ้อนสว่ นใหญ่มักจะอยใู่ ต้ประกาศจากการใช้กฎหมาย พรบ. ปา่ สงวน แหง่ ชาติฯ หรือ พรบ. อทุ ทานแหง่ ชาตฯิ ซง่ึ ไดป้ ระมวลและแยกแยะช่องทางเชงิ กฎหมายทส่ี ามารถด�ำ เนินการไดด้ ังนี้p 46 การปฏริ ปู หลักนิตธิ รรมอย่างเปน็ รปู ธรรม กลมุ่ ที่ 1: TRANSPARENCY โครงการนำ�รอ่ งซึง่ เปน็ ผลผลิตจากความคดิ ริเริ่มของกลุ่มเครือข่ายผู้บริหารและผูน้ ำ�รุ่นใหม่ หลักสตู ร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบันเพือ่ การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทย (องค์การมหาชน)



กรณีการเขา้ ใช้ประโยชน์ในพน้ื ทซ่ี ึ่งอยู่ในเขตปา่ สงวนแห่งชาติ จะเป็นไปตามพระราชบัญญัตปิ ่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 โดยประชาชนสามารถขออยู่ อาศยั และใชป้ ระโยชนใ์ นพื้นที่ได้ภายใต้ขอ้ ยกเวน้ ซง่ึ เป็นไปตามมาตรา 146 ประกอบกับ มาตรา 167 มาตรา 16 ทวิ8 และมาตรา 16 ตรี9 ซงึ่ อธบิ ดีกรมปา่ ไม้สามารถก�ำ หนดกตกิ า ในการอยูอ่ าศัยและการใช้ประโยชนใ์ นพื้นทีป่ า่ สงวนฯ รวมท้ังการจัดการกำ�กับดูแลพื้นท่ี และการตดิ ตามความกา้ วหนา้ ได้ โดยชมุ ชนอาจรวมกลมุ่ กนั แลว้ จดั ต้งั คณะกรรมการระดับ ชุมชน ซึง่ อาจได้รับการรบั รอง รบั ทราบจากองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เพอื่ ที่จะด�ำ เนนิ การกระบวนการดังกล่าวได้อย่างชัดเจนและมีกลไกทีเ่ ปน็ ระบบมากขึน้ อกี ท้งั ไดก้ ำ�หนดให้มีคณะกรรมการควบคมุ และรักษาปา่ สงวนแห่งชาติประจำ�จงั หวัดที่ มีป่าสงวน โดยมีองคป์ ระกอบทม่ี าจากองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ไดแ้ ก่ นายกองค์การ บริหารส่วนจงั หวัด ผูแ้ ทนเทศบาลแห่งท้องทที่ ปี่ า่ สงวนแห่งชาติต้งั อยู่ 1 คน และผู้แทน องค์การบริหารสว่ นตำ�บลแห่งทอ้ งทที่ ่ีป่าสงวนแห่งชาติต้งั อยู่ 3 คน10 โดยคณะกรรมการ ชดุ น้ีมีอ�ำ นาจหน้าที่ในการกำ�หนดมาตรการท่จี �ำ เปน็ เพอื่ ควบคมุ ดูแลและปอ้ งกนั รักษาปา่ สงวน ส่งเสริมการปลูกป่าและฟ้ืนฟสู ภาพปา่ สงวน11 รวมท้ังการดำ�เนินการสอบสวนและ วนิ ิจฉยั ค�ำ รอ้ งเกยี่ วกับสิทธิหรอื การไดท้ ำ�ประโยชน์ในเขตป่าสงวนกอ่ นวนั ท่ีกฎกระทรวง กำ�หนดปา่ สงวนใชบ้ ังคับดว้ ย12 ซ่งึ เปน็ การเปดิ ให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ เขา้ มามสี ว่ น รว่ มในการสงวนและบ�ำ รงุ รกั ษาปา่ สงวนแห่งชาติp 48 การปฏิรูปหลกั นิติธรรมอย่างเปน็ รปู ธรรม กล่มุ ท่ี 1: TRANSPARENCY โครงการนำ�ร่องซงึ่ เปน็ ผลผลติ จากความคดิ รเิ รมิ่ ของกลุ่มเครือข่ายผู้บรหิ ารและผนู้ ำ�รนุ่ ใหม่ หลกั สูตร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบันเพ่ือการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)

6 มาตรา 14 ในเขตปา่ สงวนแห่งชาติ ห้ามมิให้บุคคลใดยดึ ถอื ครอบครอง 10 มาตรา 10 ในจังหวัดใดทีม่ ีป่าสงวนแหง่ ชาติ ให้มคี ณะกรรมการ ท�ำประโยชนห์ รอื อยูอ่ าศยั ในทด่ี ิน ก่อสร้าง แผว้ ถาง เผาป่า ท�ำไม้ เก็บ คณะหนงึ่ เรียกวา่ “คณะกรรมการควบคมุ และรกั ษาปา่ สงวนแหง่ ชาติ หาของป่าหรือกระท�ำด้วยประการใด ๆ อนั เปน็ การเสื่อมเสยี แกส่ ภาพ ประจ�ำจังหวดั ” ประกอบด้วย ผวู้ ่าราชการจังหวัด เปน็ ประธาน ป่าสงวนแหง่ ชาติ เว้นแต่ กรรมการ อยั การจงั หวดั ผู้อ�ำนวยการส�ำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติ (1) ท�ำไมห้ รือเก็บหาของป่าตามมาตรา 15 เข้าท�ำประโยชน์หรืออยู่ และสิ่งแวดลอ้ มจงั หวัด เกษตรและสหกรณจ์ งั หวัด เจา้ พนักงานท่ีดิน อาศัยตามมาตรา 16 มาตรา 16 ทวิ หรอื มาตรา 16 ตรี กระท�ำการ จงั หวัด ปฏิรปู ทีด่ ินจงั หวัด ปลัดจังหวัด ผู้บังคับการต�ำรวจภธู รจังหวดั ตามมาตรา 17 ใช้ประโยชนต์ ามมาตรา 18 หรือกระท�ำการตามมาตรา นายกองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัด ผู้แทนเทศบาลแห่งท้องที่ที่ป่าสงวน 19 หรอื มาตรา 20 แห่งชาตติ ั้งอยจู่ �ำนวนหนึง่ คน และผู้แทนองคก์ ารบริหารสว่ นต�ำบล (2) ท�ำไมห้ วงหา้ มหรอื เก็บหาของปา่ หวงหา้ มตามกฎหมายว่าด้วยป่า แหง่ ท้องทที่ ีป่ ่าสงวนแหง่ ชาตติ ง้ั อยู่จ�ำนวนสามคนเปน็ กรรมการใน ไม้ จังหวัดใดท่ีมพี ืน้ ท่ีซ่ึงอยใู่ นอ�ำนาจหน้าทีข่ องกรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า7 มาตรา 16 อธบิ ดโี ดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการพิจารณา และพันธุพ์ ืช ให้มีผแู้ ทนกรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธพุ์ ืช การใช้ประโยชน์ในเขตป่าสงวนแห่งชาติมีอ�ำนาจอนุญาตให้ เปน็ กรรมการเพ่ิมข้นึ อีกหน่ึงคน และจังหวัดใดท่มี ีพ้นื ทซี่ ่งึ อยใู่ น บคุ คลหนึง่ บุคคลใดเขา้ ท�ำประโยชน์หรืออย่อู าศยั ในเขตป่าสงวน อ�ำนาจหนา้ ที่ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั ให้มีผู้แทน แห่งชาตไิ ด้ ในกรณีดงั ต่อไปน้ี กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่งั เป็นกรรมการเพ่มิ ขน้ึ อกี หน่ึงคน (1) การเข้าท�ำประโยชนห์ รืออยูอ่ าศยั ในเขตปา่ สงวนแหง่ ชาตคิ ราว ใหผ้ ู้อ�ำนวยการส�ำนักจัดการทรพั ยากรปา่ ไมแ้ หง่ ทอ้ งทีท่ ีป่ ่าสงวนแห่ง ละไม่น้อยกวา่ ห้าปแี ตไ่ มเ่ กนิ สามสิบปี ในกรณที ี่ผรู้ บั อนญุ าตเป็นสว่ น ชาติต้ังอยู่ หรอื ผู้ท่ีอธบิ ดมี อบหมาย เป็นกรรมการและเลขานกุ าร ราชการหรอื หนว่ ยงานของรฐั จะอนญุ าตโดยให้ยกเว้นคา่ ธรรมเนยี ม หลักเกณฑ์และวิธกี ารคดั เลอื กผแู้ ทนเทศบาลและผู้แทนองค์การ ทง้ั หมดหรือบางสว่ นตามที่เหน็ สมควรกไ็ ด้ บริหารสว่ นต�ำบลตามวรรคหนึ่ง ใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บทรี่ ฐั มนตรี (2) การเข้าท�ำประโยชนเ์ ก่ียวกบั การท�ำเหมอื งแร่ตามกฎหมาย ก�ำหนด ว่าด้วยแร่คราวละไม่เกินสิบปีโดยให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องขอรับ 11 มาตรา 11 คณะกรรมการควบคุมและรักษาป่าสงวนแห่งชาตปิ ระจ�ำ ใบอนุญาตเก็บหาของป่าและไม่ต้องเสยี คา่ ภาคหลวงของปา่ ตาม จงั หวัดมีอ�ำนาจหน้าที่ ดังต่อไปน้ี พระราชบญั ญัตนิ ี้ ส�ำหรบั แร่ ดินขาว หรอื หนิ แล้วแต่กรณี การ (1) ก�ำหนดมาตรการในการควบคุมดูแล และการสง่ เสริมการปลกู ปา่ ขออนญุ าตและการอนญุ าตตามวรรคหนง่ึ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ รวมท้งั การฟื้นฟสู ภาพป่าสงวนแห่งชาติ ใหส้ อดคลอ้ งกับแนวทางท่ี วิธกี าร และเงื่อนไขท่คี ณะกรรมการพิจารณาการใช้ประโยชนใ์ น อธบิ ดกี �ำหนด ทงั้ น้ี แนวทางดงั กลา่ วต้องก�ำหนดเกี่ยวกับการมีสว่ นร่วม เขตป่าสงวนแหง่ ชาติก�ำหนดโดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ของประชาชนและชุมชนในพ้ืนทด่ี ว้ ย8 มาตรา 16 ทวิ ในกรณที ่ีป่าสงวนแหง่ ชาตทิ ั้งหมดหรือบางสว่ นมสี ภาพ (2) ควบคุมการปฏบิ ัตใิ ห้เปน็ ไปตามมาตรา 8 และมาตรา 9 เปน็ ป่าไร่รา้ งเกา่ หรอื ทุ่งหญา้ หรือเป็นปา่ ทไ่ี ม่มีไม้มคี า่ ข้ึนอยู่เลย หรือ (3) ด�ำเนนิ การสอบสวนและวินจิ ฉัยค�ำรอ้ งตามมาตรา 13 มีไม้มคี ่าทมี่ ลี ักษณะสมบูรณ์เหลอื อยเู่ ปน็ สว่ นน้อย และป่าน้นั ยากที่จะ (4) มหี นงั สอื เรยี กบคุ คลมาให้ถ้อยค�ำหรอื ให้สง่ เอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง กลบั ฟืน้ คืนดตี ามธรรมชาติ ท้งั น้ี โดยมสี ภาพตามหลกั เกณฑแ์ ละเงอ่ื นไข ในการสอบสวนตามมาตรา 13 ท่ีรัฐมนตรกี �ำหนด โดยอนมุ ตั ิคณะรฐั มนตรี ให้ถือวา่ ปา่ สงวนแห่งชาติ (5) มหี นงั สอื เรยี กเจา้ พนกั งานปกครองแหง่ ทอ้ งทหี่ รอื เจา้ พนกั งานอนื่ ในบรเิ วณดังกลา่ วเปน็ ปา่ เส่ือมโทรมถา้ ทางราชการมีความจ�ำเปน็ ต้อง ทเี่ กยี่ วขอ้ งมาใหข้ อ้ มลู เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณาในการก�ำหนดมาตรการ ปรับปรงุ ฟ้นื ฟสู ภาพป่าเสือ่ มโทรม ใหร้ ฐั มนตรปี ระกาศก�ำหนดเขตปา่ ตาม (1) เส่อื มโทรมทัง้ หมดหรือบางส่วนเปน็ เขตปรบั ปรงุ ปา่ สงวนแหง่ ชาติในเขต (6)แตง่ ตงั้ คณะอนุกรรมการเพ่อื พจิ ารณาหรอื ปฏบิ ตั ิการอยา่ งหนึ่ง ปรับปรุงปา่ สงวนแห่งชาติ ถ้าบุคคลใดได้เข้าท�ำประโยชน์หรืออยู่อาศัย อยา่ งใดตามทม่ี อบหมาย ในเขตดงั กล่าวอยแู่ ลว้ จนถึงวนั ที่ประกาศก�ำหนดตามวรรคสอง ฯลฯ 12 มาตรา 12 บคุ คลใดอ้างวา่ มสี ิทธิหรือได้ท�ำประโยชนใ์ นเขตป่าสงวน แห่งชาติใดอยกู่ อ่ นวันท่กี ฎกระทรวงก�ำหนดป่าสงวนแหง่ ชาติน้ันใช้9 มาตรา 16 ตรี ในกรณีท่บี ุคคลซงึ่ ไดร้ ับอนุญาตตามมาตรา 16 ทวิ ถงึ แก่ บังคบั ให้ยนื่ ค�ำรอ้ งเป็นหนงั สือต่อนายอ�ำเภอแหง่ ท้องที่ภายใน ความตาย ใหบ้ ุคคลในครอบครัวซึ่งอาศยั อยู่กับผู้ไดร้ ับอนุญาตมสี ทิ ธิ ก�ำหนดหนึ่งรอ้ ยย่สี ิบวันนบั แตว่ นั ที่กฎกระทรวงนนั้ ใชบ้ ังคับ ถ้าไม่ อยู่อาศัยหรือท�ำประโยชนใ์ นทด่ี นิ นน้ั ต่อไปได้ แต่ไมเ่ กนิ หนึ่งร้อยแปด ยน่ื ค�ำรอ้ งภายในก�ำหนดดงั กล่าว ให้ถือวา่ สละสทิ ธหิ รือประโยชน์ สบิ วนั นับแต่วนั ทีผ่ ู้ไดร้ ับอนญุ าตถึงแกค่ วามตาย ถา้ สามี ภรรยาบตุ ร นัน้ ค�ำรอ้ งดังกล่าวในวรรคหนึง่ ให้นายอ�ำเภอแหง่ ท้องทสี่ ง่ ต่อไป คนหนึง่ คนใด หรอื บคุ คลในครอบครัวซึ่งอาศัยอย่กู ับผูไ้ ด้รบั อนญุ าต ยงั คณะกรรมการควบคุมและรกั ษาปา่ สงวนแหง่ ชาตปิ ระจ�ำจังหวดั ที่ และผู้ได้รับอนุญาตไดร้ ะบไุ วเ้ ป็นหนงั สือตามแบบทีอ่ ธบิ ดกี �ำหนดให้ ปา่ สงวนแห่งชาตินน้ั ตั้งอยูโ่ ดยไม่ชักช้า ความในวรรคหนงึ่ มิใหใ้ ช้ เป็นผสู้ บื สิทธแิ ละหน้าท่ีของตนประสงค์จะอยู่อาศยั หรอื ท�ำประโยชน์ บังคับแก่กรณีสิทธิในที่ดนิ ทบี่ ุคคลมอี ย่ตู ามประมวลกฎหมายทดี่ นิ ในทีด่ ินนั้นตอ่ ไป ให้ย่นื ค�ำขออนุญาตตอ่ อธิบดหี รอื ผู้ซึง่ อธิบดี มอบหมาย ภายในหน่งึ รอ้ ยแปดสบิ วันนบั แต่วันท่ีผไู้ ดร้ ับอนุญาต ถึงแก่ความตาย เมอ่ื ไดย้ ื่นค�ำขออนุญาตตามวรรคสองแล้ว ใหบ้ ุคคล ตามวรรคหนงึ่ อยอู่ าศัยหรือท�ำประโยชนต์ อ่ ไปได้ตามท่ีอธิบดีหรอื ผู้ซง่ึ อธิบดมี อบหมายอนญุ าตกลุ่มที่ 1: TRANSPARENCY การปฏริ ปู หลักนติ ธิ รรมอย่างเป็นรูปธรรม p 49 โครงการนำ�ร่องซ่ึงเป็นผลผลติ จากความคิดรเิ รม่ิ ของกลุ่มเครอื ข่ายผู้บริหารและผนู้ ำ�รนุ่ ใหม่ หลักสตู ร RoLD EXECUTIVE PROGRAM 2017 | สถาบนั เพื่อการยตุ ิธรรมแห่งประเทศไทย (องคก์ ารมหาชน)

นอกจากนัน้ มาตรา 19 แห่งพระราชบญั ญตั ปิ า่ สงวนแหง่ ชาตฯิ ไดก้ �ำ หนดให้พนกั งานเจ้า หน้าทีส่ ามารถกระท�ำ การเพื่อควบคุม ดูแล รักษา หรือบ�ำ รุงป่าสงวนได1้ 3 โดยหากจะมีการ ดำ�เนนิ กจิ กรรมเพอื่ ควบคุม ดูแล รกั ษา หรือบ�ำ รงุ ปา่ สงวน พนักงานเจ้าหน้าทหี่ รอื เจ้าหนา้ ท่ี ของกรมปา่ ไมจ้ ะต้องเปน็ ผู้รับผิดชอบดำ�เนินการ และต้องขออนญุ าตตอ่ อธบิ ดกี รมป่าไมด้ ้วย โดยตอ้ งมีเอกสารประกอบการพจิ ารณา เชน่ รายงานการตรวจสอบสภาพป่า (ต้องมกี ารประสาน งานกบั เจ้าหน้าทส่ี ํานกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัด และสาํ นกั งานป่าไม้ สาขาจงั หวัดท้องที)่ แผนทมี่ าตราสว่ นแสดงรายละเอยี ดของพน้ื ที่ ที่จะใชใ้ นกิจกรรมคา่ พกิ ดั ที่ อ่านไดจ้ ากเครื่อง GPS แผนผังแสดงบริเวณท่ีขอใช้พน้ื ที่ รวมทงั้ ภาพถ่ายแสดงบรเิ วณท่ขี อใช้ พ้นื ท่ี เปน็ ต้น ซ่งึ เปน็ ไปตามแนวทางการปฏบิ ัติในการตรวจสอบและรายงานการขออนญุ าต เข้าทำ�ประโยชน์ในเขตพนื้ ท่ปี ่าไม1้ 4 ท่ผี า่ นมาไดม้ ีการเปิดโอกาสใหช้ มุ ชนเข้าร่วมด�ำ เนินกจิ กรรมดงั กลา่ วกบั หน่วยงานภาครฐั ซึ่ง หากจะมีการขยายใหช้ มุ ชนเขา้ มาร่วมในการเสนอแผนการจดั การพน้ื ที่อยา่ งมสี ว่ นรว่ มระหว่าง ชุมชนและหน่วยงานของรัฐทีเ่ กีย่ วขอ้ ง เพอ่ื นำ�ไปสกู่ ารพจิ ารณาจดั การรว่ มกนั ในพืน้ ทเี่ ปา้ หมาย กย็ อ่ มจะเปน็ ประโยชนต์ ่อการฟ้ืนฟูและอนรุ กั ษพ์ ้นื ทป่ี า่ และตอบสนองความต้องการของชุมชนใน การเขา้ ใช้ประโยชน์จากพ้ืนท่ปี า่ อย่างไรกต็ าม การดำ�เนินการดังกล่าวจะตอ้ งกระท�ำ ไดภ้ ายใน กรอบท่ี พรบ. ปา่ สงวนแหง่ ชาตฯิ กำ�หนด13 มาตรา 19 เพ่ือประโยชน์ในการควบคุม ดูแล รักษาหรือบ�ำ รงุ ป่าสงวนแห่งชาติ อธบิ ดีมอี ำ�นาจส่งั เป็นหนังสือใหพ้ นักงานเจา้ หนา้ ที่ หรือเจ้าหน้าท่ีของกรมปา่ ไม้ กระทำ�การอย่างหนงึ่ อยา่ งใดในเขตป่าสงวนแหง่ ชาติได้14 คมู่ อื แนวทางการปฏบิ ตั ใิ นการตรวจสอบและรายงานการขออนุญาตเข้าท�ำ ประโยชนใ์ นเขตพน้ื ท่ีป่าไม,้ กรมปา่ ไม,้ กนั ยายน 2551


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook