Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Gas

Published by Chainut Kamolsukyuenyong, 2019-10-25 02:58:02

Description: Gas

Search

Read the Text Version

ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ (Heat and Kinetic Theory of gases) ไชยณฐั กมลสุขยนื ยง โรงเรียนเบญจมราชทู ิศ จังหวัดจันทบรุ ี

สรุปแนวคดิ ทส่ี ำคัญภำยในบทเรยี น บทเรยี นนีม้ ีจุดมุ่งหมำยใหน้ ักเรยี นได้เรียนรู้เก่ยี วกับ พลังงำนควำมร้อน ซง่ึ เปล่ยี นมำจำก พลังงำน รูปอนื่ และ ทำกจิ กรรมเพอ่ื แสดงว่ำ พลังงำนควำมร้อนทเ่ี ปลีย่ นมำจำกพลังงำน กลเป็ นไปตำมกฎกำรอนุรักษพ์ ลังงำน สำรมีกำรถ่ำยโอนควำมร้อนใหแ้ ก่กันเมือ่ อุณหภมู ิ แตกต่ำงกัน พลังงำนควำมร้อนทำให้สำรเพม่ิ อุณหภมู ิเปลย่ี นสถำนะได้ หรอื ทำใหส้ ำร ขยำยตัว จำกกำรทำกำรทดลอง จะทำให้ทรำบควำมสัมพนั ธร์ ะหวำ่ ง ปรมิ ำตร อุณหภมู ิ และ ควำมดันของแก๊สในภำชนะปิ ด ซงึ่ นำไปสู่กฎของแก๊ส จำกกำรสำธติ เพอื่ ศกึ ษำกำร เคลอ่ื นทขี่ องอนุภำคของเซลลค์ วันซง่ึ เป็ นกำรเคลื่อนทแี่ บบบรำวน์ เพอื่ นำไปอธิบำย เกย่ี วกับทฤษฎจี ลนข์ องแก๊ส ต่อจำกน้ัน นักเรียนจะได้ทรำบว่ำ ตำมทฤษฎจี ลนข์ องแก๊ส นั้น ได้อธบิ ำยว่ำ ควำมดันของแก๊สในภำชนะปิ ดเกดิ ได้อยำ่ งไร เกยี่ วข้องกับปรมิ ำณ ใดบ้ำง และจำก ทฤษฎจี ลนข์ องแก๊ส จะทำใหท้ รำบว่ำ อุณหภมู ขิ องแก๊ส พลังงำนจลน์ เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส และ พลังงำนภำยในระบบ มีควำมสัมพันธ์ กันอย่ำงไร นอกจำกนี้ ยงั ใช้ทฤษฎจี ลนข์ องแก๊สนำไปอธบิ ำยปรำกฎกำรณต์ ำ่ ง ๆ ในชีวติ ประจำวัน เช่น กำรเปล่ียนสถำนะของสำร กำรขยำยตัว ของสำร และ กำรถำ่ ยโอนควำมร้อน

พลงั งำนควำมร้อน (Heat) ควำมรอ้ น (Heat,Q) ควำมร้อน เป็ นพลังงำนรูปหน่ึง ทสี่ ำมำรถเปลี่ยนมำจำกพลงั งำนรูปอน่ื ได้ ไม่วำ่ จะ เป็ น พลังงำนกล พลงั งำนเคมี ฯลฯ และปริมำณท่ีใชบ้ อกระดบั ควำมร้อน คือ อุณหภมู ิ อุณหภมู ิ (Temperature,T) เป็ นปริมำณที่ใช้บอกระดับของ ควำมร้อน มีหน่วย องศำเซลเซียส (0c) หรือ เคลวิน (K) โดยที่ TK = TC + 273 TK เป็ น อุณหภมู ใิ นหน่วยเคลวนิ และ TC เป็ น อุณหภมู ิ ในหน่วย องศำเซลเซยี ส สตู รแสดงควำมสัมพนั ธ์

หน่วย สัญลักษณ์ จดุ เดือด จุดเยือกแขง็ (Boiling Point) (Freezing Point) องศาเซลเซยี ส 0c 100 0c 0 0c องศาฟาเรนไฮต์ 0F 212 0F 32 0F องศาสมั บรู ณ์ K 373 K 273 K องศาโรเมอร์ 0R 80 0R 0 0R ทวั่ ไป x BP FP สูตรแสดงควำมสัมพันธ์ C = F −32 = R = K − 273 = x − FP 100 180 80 100 BP − FP

พลังงำนภำยใน (InTernal Energy,U) สสำรทุกอย่ำง จะเป็ นของแข็ง ของเหลว หรือ แก๊ส ก็ตำม ต่ำงก็ประกอบด้วยอะตอมหรือ โมเลกุล ซ่งึ อยู่ในสภำพ เคลื่อนท่ี พลังงำนจลน์ของอนุภำคเหล่ำนี้ ทำให้เกิด พลังงำน ภำยใน แก่สสำรนั้น ระบบ (System) คือ สิ่งท้ังหมดที่เก่ียวข้องท่ีต้องกำรพิจำรณำ เช่น ถ้ำต้องกำรพิจำรณำว่ำ น้ำในกำต้มมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเท่ำไร ระบบก็คือ โมเลกุลน้ำ นอกน้ันเป็ น สิ่งแวดล้อม รวมทง้ั กำต้มน้ำด้วย ควำมจุควำมร้อน (Heat Capacity) เป็ นสมบัติของสสำรท่ีบอกให้ทรำบว่ำ สสำรนั้น ๆ รับ ควำมร้อนได้มำกหรือน้อย ควำมจุควำมร้อน คอื อัตรำส่วนของ พลังงำนควำมร้อน ทใ่ี ห้แก่สสำรต่อ อุณหภูมิทเ่ี พมิ่ ขนึ้ ควำมจคุ วำมร้อนจำเพำะ (Specific Heat Capacity , c) คือ ปริมำณควำมร้อนที่ทำให้สำรมวล 1 หน่วย มี อุณหภูมิเพิม่ ขึ้น 1 หน่วย หรือ กล่ำวว่ำ เป็ นค่ำควำมจุควำมร้อนตอ่ มวล 1 หน่วย หน่วยแสดงปรมิ ำณควำมร้อน คอื คำลอรี่ (cal) หรือ จูล (J) โดยท่ี 1 cal = 4.2 J

กำรหำปรมิ ำณควำมร้อนทที่ ำใหว้ ัตถเุ ปล่ยี นอุณหภูมิ ทำไดด้ ังนี้ มวล 1 หน่วย อุณหภมู ิเปลยี่ น 1 องศำ ให้ควำมร้อน c J มวล m หน่วย อุณหภมู เิ ปลย่ี น 1 องศำ ให้ควำมร้อน mc J มวล m หน่วย อุณหภูมเิ ปลย่ี น T องศำ ใหค้ วำมร้อน mcT J กำหนดให้ Q เป็ น ปรมิ ำณควำมร้อนทใ่ี หแ้ ก่สสำร จะได้ว่ำ

จะได้ว่า Q = mct เม่อื Q = ปรมิ ำณควำมร้อนทท่ี ำใหว้ ัตถุเปลย่ี นอุณหภูมิ หน่วย J m= มวล หน่วย kg ควำมจุควำมรอ้ นจำเพำะของวตั ถุ J c= อุณหภูมทิ เ่ี ปลี่ยนไป หน่วย kg K T = หน่วย 0c

กจิ กรรม พลงั งำนกลแปลงรูปเป็ นพลงั งำนควำมร้อน จุดประสงค์ เพ่ือหำคำ่ พลังงำนควำมร้อนในรูปพลังงำนกล และคำนวณหำงำนทใ่ี หก้ บั ลูกกลมโลหะผลทไ่ี ด้ อุณหภูมิเดิมของลกู กลมโลหะ T1 = 28 0c 29.5 0c อุณหภมู สิ ุดทำ้ ยของลูกกลมโลหะ T2 = 0.28 kg มวลของลกู กลมโลหะ m= ควำมสูง h = 0.40 m จำก w = 200 mgh = (200) (0.28) (10) (0.40) = 224.0 J นั้นคอื งำนทที่ ำใหก้ ับลูกกลมโลหะมีค่ำ 224.0 J ในกำรกลับทอ่ 100 ครงั้ พบว่ำ ลกู กลมโลหะมีอุณหภูมิเพิ่มขึน้ T2−T1 = 29.5− 28 = 1.5 0c

สรุป 1. งำนท่ีให้กับลูกกลมโลหะในกำรกลับท่อ 1 คร้ัง หำจำกงำนท่ีลูกกลม โลหะไดร้ ับในกำรตกจำกปลำยบนถงึ ปลำยล่ำงเป็ นระยะ h m 2. เม่ือลูกกลมโลหะตกลงมำเป็ นระยะ h พบว่ำ EP ของลูกกลมโลหะจะ ลดลง = mgh ซ่ึง EP นีจ้ ะเป็ นเปล่ียนเป็ น Q` สะสมอยู่ในลูกกลมโลหะ เพรำะว่ำ ตกมำ 200 ครั้ง เพรำะฉะน้ัน Q สะสมจะมีค่ำ = 200 mgh ถ้ำ ไม่มกี ำรสูญเสยี ใด ๆ

ผลของควำมร้อนทมี่ ตี อ่ อุณหภมู ขิ องสสำร ขยำยตวั อุณหภูมเิ พม่ิ ขึน้ เปลีย่ นสถำนะ เปล่ยี นแปลงปรมิ ำตร กำรถำ่ ยเทพลงั งำนควำมรอ้ น แยกเป็ น 3 กรณี 1. กำรนำควำมร้อน ต้องอำศัยตัวกลำง โดยที่ตัวกลำงอยู่นิ่ง ควำมร้อนจะถ่ำยเทจำก T สูง ไป T ต่ำ 2. กำรพำควำมร้อน ต้องอำศัยตัวกลำง โดยท่ีตัวกลำงเคลื่อนท่ีไปกับพลังงำนควำม ร้อน ควำมรอ้ นจะถำ่ ยเทจำก T สงู ไป T ตำ่ 3. กำรแผร่ ังสี ไม่ต้องอำศยั ตัวกลำง วัตถุสีดำ-ขำว จะถ่ำยเทควำมร้อนโดย กำรแผ่รงั สี

พลังงำนควำมร้อนกับสถำนะของสำรและกำรขยำยตวั ของสำร สำรมี 3 สถำนะ คือ ของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส และเมื่อ สำรมกี ำรรับหรือคำยควำมร้อน จะมกี ำรเปล่ียนสถำนะ ดงั นี้ คายความร้ อน หลอมเหลว เดือด ของแข็ง ของเหลว แก๊ส แข็งตวั ควบแน่น ระเหิด รับความร้ อน

จุดสำคัญ กำรรับหรือคำยควำมร้อนในขณะท่ีสำรเปล่ียนสถำนะน้ัน อุณหภูมิของสำรจะไม่ เปลี่ยนแปลง เช่น จำกกำรต้มน้ำ โดยให้น้ำได้รับควำมร้อนด้วยอัตรำที่คงท่ี ตลอดเวลำ บันทึกอุณหภูมิและเวลำ มำเขียนกรำฟ จนกระท่ังน้ำเดือดก็ยังคง บันทกึ ตอ่ ไป อุณหภูมิ( องศาเซนเซียส ) 100 B C A เวลา( นาที )

จะเหน็ ว่า ช่วง AB เป็ นช่วงท่ี T เพ่ิมขึน้ เม่ือเวลำผ่ำนไปอธิบำยได้ว่ำ มีกำรให้ ควำมร้อนอยตู่ ลอดเวลำควำมร้อนทน่ี ำ้ ได้รับในช่วง AB นี้ ไปใช้ในกำรเพิ่ม อุณหภมู ขิ องนำ้ จะเหน็ ว่า ช่วง BC เป็ นช่วงท่ี T คงที่ ทงั้ ๆ ทย่ี ังคงให้ควำมร้อนอยู่ตลอดเวลำ ควำมร้อนทนี่ ้ำได้รับในช่วง AB นี้ ไปทำให้น้ำเปลี่ยนสถำนะจำกของเหลว เป็ นแกส๊ กล่าวได้ว่า ในขณะท่ีน้ำเดือดกลำยเป็ นไอน้ำเปล่ียนสถำนะจำกของเหลวเป็ น แก๊สโดยน้ำรับควำมร้อนที่อุณหภูมิคงท่ี ควำมร้อนที่สำรมีกำรรับหรือคำย ในขณะที่เปลี่ยนสถำนะโดยที่อุ ณหภูมิไม่ เปล่ียนแปลง เรียกว่ ำ ควำมร้อนแฝง (Latent Heat) ถ้ำคดิ ต่อหนึ่งหน่วยมวล เรยี กว่ำ ควำมร้อนแฝงจำเพำะ (Specific Latent Heat)

สูตรแสดงควำมสัมพันธ์ Q = mL โดยที่ Q = ควำมร้อนท่ีใช้ในกำรเปลยี่ นสถำนะของสำร หน่วยJ m = มวลของสำร หน่วย kg L = ควำมรอ้ นแฝงจำเพำะของสำรนั้น หน่วย J/kg

สาหรับสารชนิดเดียวกนั เราสรุปไดว้ ่า ความรอ้ นแฝงจาเพาะของการกลั่นตวั = ความร้อนแฝงจาเพาะของการกลายเป็นไอ ความร้อนแฝงจาเพาะของการแขง็ ตวั = ความรอ้ นแฝงจาเพาะของการหลอมเหลว ความร้อนแฝงจาเพาะของการหลอมเหลว (Specific Latent Heat of Fusion) ความรอ้ นแฝงจาเพาะของการกลายเปน็ ไอ (Specific Latent Heat of Vapourization) ความรอ้ นแฝงจาเพาะของการกลนั่ ตัว(ควบแนน่ ) (Specific Latent Heat of Condensation) ความร้อนแฝงจาเพาะของการแขง็ ตัว (Specific Latent Heat of Freezing) การระเหย (Evaporating หรอื Volatilising) เปน็ กระบวนการทผ่ี วิ ของของเหลวเปล่ียนสถานะเป็นแก๊สที่อุณหภมู ิใด ๆ ก่อนฝนตก ไอนาในอากาศจะควบแน่นเป็นหยดนา จงึ ต้องคายความร้อนออกมา ทาให้อากาศรอบตัวเราร้อน กวา่ ปกติ

จากการศกึ ษาสมบตั ขิ องสารที่มี 3 สถานะ พบวา่ ของแข็ง มีปรมิ าตรแนน่ อน รูปทรงแน่นอน เพราะ อนุภาคอยู่ใกล้กันมาก มีแรงยึดเหนี่ยว แข็งแรง ของเหลวมปี รมิ าตรแนน่ อน รูปทรงไม่แนน่ อน เพราะ อนุภาคเริ่มแยกออก แต่ยังอยู่ใกล้กัน มากพอ แก๊ส มปี ริมาตรไม่แนน่ อน รปู ทรงไมแ่ นน่ อนเพราะ แรงยึดเหน่ียวระหว่างกันน้อยมาก อนุภาคเคลอื่ นท่อี ิสระมากขึน ทเ่ี ปน็ เชน่ นี เพราะ อนุภาคมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างกัน โดยท่ี ในของแข็ง > ของเหลว > แก๊สเม่ือมีการให้ความร้อนแก่ของแข็ง ความร้อนนีจะไปทาให้อนุภาคค่อย ๆ แยกจาก กนั แรงยึดเหนี่ยวจะค่อย ๆ ลดลง กลายเป็นของเหลวและแกส๊ ตามลาดบั

สมบตั ขิ องแกส๊ ในอุดมคติ สมบตั ทิ างกายภาพของแกส๊ ท่ีสามารถทดลองวัดไดไ้ ม่ยากนัก ไดแ้ ก่ ปรมิ าตร (Volume) − V ความดัน (Pressure) − P อณุ หภมู ิ (Temperature) − T เพราะฉะนนั เราจะทาการศกึ ษาหาความสมั พันธ์ระหวา่ ง PVT เหลา่ นี

การทดลอง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปริมาตรกบั ความดนั ของแก๊ส จดุ ประสงค์ 1. เพอ่ื ศึกษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปริมาตรและความดันของแกส๊ เมอ่ื อณุ หภูมิคงตัว 2. เพ่อื เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดันและปริมาตรอากาศในหลอดปิดได้เม่ือ อุณหภูมิคงตวั 3. แปรความหมายจากกราฟได้ ตัวอยา่ งผลการทดลอง นาหนกั แป้นไม้ = 0.95 นวิ ตัน นาหนกั ถงุ ทราย = 4.9 นวิ ตัน ความยาวของกระบอกสบู ในช่วงทีม่ สี เกลบอกปรมิ าตร = 7.8 เซนตเิ มตร

ปรมิ าตรของท่วี ่างภายในกระบอกสูบในชว่ งที่มสี เกล = 35 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร ความดันบรรยากาศ = 1.01  105 นิวตันตอ่ ตารางเมตร จาก ปริมาตร (V) = (พนื ทหี่ น้าตดั A)  (ความยาวกระบอกสูบ l) V จะไดว้ ่า A = l

= 35 cm3 7.8 cm = 4.49cm2 = 4.49 10−4 m2 = P0 + F N A m2 = (1.01  105 ) +  0.95 + 4.9  N 4.49 10−4 m2 = (1.01  105 ) + ( 0.13  105 )  N m2 N = 1.14  105 m2

สรปุ การทดลอง 1. ขณะท่ที าการทดลองอุณหภูมิของอากาศในกระบอกฉีดยามีค่าคงท่ี เพราะว่า ปริมาตรของอากาศในกระบอกสูบมีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ คือ ไม่ถูกอัด หรือขยายตัวอย่างทันทีทันใด ถือได้ว่า ช่วงเวลาของการถ่ายเทความร้อน ระหว่างอากาศในกระบอกสบู กบั สง่ิ แวดล้อมนานพอ 2. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความดัน กับ ส่วนกลับของปริมาตร เมื่อ อณุ หภมู ิคงตวั มลี กั ษณะเป็นเส้นตรงผา่ นจุดกาเนดิ 3. สรุปได้ว่า สาหรับแก๊สปริมาณหนึ่ง เม่ือ อุณหภูมิคงตัว ความดันของแก๊สจะ แปรผกผันกบั ปริมาตร คอื กฎของบอยล์

กฎของบอยล์ (Boyle’s Law) กลา่ ววา่ “สาหรับแกส๊ ปริมาณหน่ึงที่อุณหภูมิคงท่ี ความดนั ของแก๊สจะแปรผกผนั กบั ปรมิ าตร” P 1 V PV = Cons tan t สูตรแสดงความสัมพันธ์ P1V1 = P2V2

สาหรับแก๊สในภาชนะปิดมวล คงทีถ่ า้ อณุ หภูมขิ องแกส๊ คงที่ ปรมิ าตร ของแกส๊ จะแปรผกผันกับความดัน ของแกส๊ P 1 V PV = K P1V1 = P2V2 Robert Boyle











การทดลอง ความสมั พันธ์ระหว่างปรมิ าตรและอุณหภมู ขิ องแก๊ส จุดประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและอุณหภูมิของแก๊ส เมื่อความดัน คงตวั 2. เพ่ือบอกความสมั พันธร์ ะหว่าง V ของอากาศในหลอดปดิ กบั T ได้ 3. เพื่อแปลความหมายของกราฟได้ว่า V ของอากาศในหลอดขึนกับ T 4. เพอื่ อธิบายความหมายของ “อุณหภูมิสัมบูรณ์” ได้ 5. เพ่ือสรุปได้ว่า เมื่อ P คงตัว V ของแก๊ส จะแปรผันโดยตรงกับ T สัมบูรณ์ เรยี ก “กฎของชารล์ ”

อภปิ รายหลังการทดลอง ในขณะที่ลานามันหยุดนิง่ P ของอากาศในหลอดแก้ว = P บรรยากาศ เพราะว่า ขณะหยุดนง่ิ นี แรงลพั ธ์ที่กระทาตอ่ ลานามันมีคา่ เท่ากบั ศนู ย์ จะได้วา่ แรงดันของลาอากาศภายใน =แรงดนั บรรยากาศ + แรงดนั เนือ่ งจากนาหนกั ของลานามนั แต่แรงดันเนื่องจากนาหนักของลานามนั มคี า่ น้อยมาเม่ือเทยี บกับแรงดนั บรรยากาศ เพราะฉะนนั จะไม่คดิ ค่าแรงดันเนื่องจากนาหนกั ของลานามัน น่ันคอื แรงดันของลาอากาศภายในหลอด = แรงดันบรรยากาศ จะได้ว่า ความดนั ของลาอากาศภายในหลอด = ความดนั บรรยากาศ กราฟระหวา่ ง V กบั T เปน็ เส้นตรงไม่ผ่านจดุ origin แสดงวา่ V เปลี่ยนตาม T เมื่อต่อเสน้ กราฟออกไป จะตัดแกน x ท่ี -273 0c

สาเหตทุ ีจ่ ุดตัดแกนไม่เทา่ กบั −273 1. อากาศในหลอดแก้มคี วามชนื มไี อนา หยดนา ทาใหอ้ า่ นปริมาตรของอากาศได้ ผิดพลาด 2. หยดนามันในหลอดแก้ เมื่อได้รับอุณหภูมิสูง อาจจะกลายเป็นไอ เพราะฉะนัน ปริมาตรอากาศจะเพ่มิ กว่าเดมิ อณุ หภมู ิทอ่ี ่านได้ ไมใ่ ชอ่ ณุ หภมู ิท่แี ทจ้ รงิ ของอากาศ เพราะวา่ จะวัดโดยตรงไม่ได้ ปรมิ าตรเปล่ียนแปลงนอ้ ยมาก สเกลอาจจะหยาบเกนิ ไป

สรปุ การทดลอง แก๊สทุกชนิด เส้นกราฟระหวา่ ง V กับ T เมือ่ P คงท่ี จะเป็นเส้นตรงตดั แกน T ที่ −273 0c ที่ T = -273 0c เปน็ T ท่ีต่าสุดของแกส๊ ทกุ ชนิดเรียกวา่ “อุณหภมู ิศนู ย์สัมบูรณ์” (Absolute Zero Temperature) อณุ หภูมสิ ัมบรู ณ์ มีหน่วยเปน็ เคลวนิ (K) และ 0 K = -273 0c โดยท่ี 1 ช่วงสเกลของเคลวิน เท่ากบั 1 ช่วงสเกลของ 0c เม่ือเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง V กับ T เมื่อ P คงที่ จะได้กราฟเส้นตรงผ่านจุด กาเนดิ (Origin) สาหรับแก๊สปริมาณหนงึ่ ๆ ท่ี P คงที่ V จะแปรผันตรงกบั T สมั บูรณ์ คือ “กฎของชาร์ล”

กฎของชารล์ ส์ (Charles’s Law) กลา่ วว่า “สาหรับแก๊สปรมิ าณหนึ่งทค่ี วามดันคงท่ี ปริมาตรของแก๊สจะแปรผนั ตรงกับอุณหภมู สิ มั บรู ณ์” VT V = Cons tan t V1 = V2 T T1 T2 สตู รแสดงความสมั พนั ธ์

ในภาชนะปิดเม่ือความดนั และมวลของกา๊ ซคงที่ ปรมิ าตร ของก๊าซ จะ แปรผนั ตรง กบั อุณหภูมิเคลวนิ V T V =K T V1 = V2 T1 T2 Jacques Alexandre César-Charles



















กฎของเกย์-ลสู แซก กล่าววา่ “ถา้ ปรมิ าตรคงตวั ความดันจะแปรผนั ตรงกับอณุ หภูมสิ มั บูรณ์” จะได้วา่ PT P = Cons tan t T สูตรแสดงความสัมพันธ์ P1 = P2 T1 T2

ในภาชนะปิดเมื่อปรมิ าตรและมวลของก๊าซคงท่ี ความดนั ของกา๊ ซ จะ แปรผนั ตรง กบั อณุ หภมู เิ คลวนิ PT P =K T P1 = P2 T1 T2 Joseph Louis Gay-Lussac



กฎของแก๊ส ถ้ากาหนดให้ V เปน็ ปริมาตรของแกส๊ P เป็น ความดนั ของแกส๊ T เปน็ อณุ หภูมขิ องแกส๊ จากกฎของบอยล์ กฎของชาร์ล และ กฎของเกยล์ สู แซก ที่ P คงท่ี จะได้ VT ที่ T คงที่ จะได้ P 1 V 1 V P ท่ี V คงท่ี จะได้ PT

กฎของแก๊ส V T P V = (Cons tan t)  T P PV = (Cons tan t) T สูตรแสดงความสมั พนั ธ์ P1V1 = P2V2 T1 T2

การกาหนดมาตรฐาน STP (Standard Temperature-Pressure) T = 00C = 273K P = 1atm = 1.01325 105 N m2 V = 22.4 dm3 = 22.410−3 m3 mole mole

สาหรบั แกส๊ n โมล T = 00C = 273K P = 1atm = 1.01325105 N m2  dm3  ( )V  = n ( mole ) 22.4 mole  = n 22.4 10−3 m3  


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook