Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book นางสาวสุทธิดา แก้วระยับ เลขที่ 49 รหัส 6117701001093 ห้อง 2

E-book นางสาวสุทธิดา แก้วระยับ เลขที่ 49 รหัส 6117701001093 ห้อง 2

Published by suttida220142, 2020-06-07 04:14:54

Description: E-book นางสาวสุทธิดา แก้วระยับ เลขที่ 49 รหัส 6117701001093 ห้อง 2

Search

Read the Text Version

 การอุดก้นั ของหลอดฝอยไต ระยะท่ี 1 ปัสสาวะ น้อย (Oliguria)  การเสียสมดุลของน้าและโซเดียม ความดนั ต่า ชีพจรเบาเร็ว ขบั น้าออกลดลง สับสน ซึม  เสียสมดุลกรดด่าง เกิดภาวะกรดเกิน ไตดูดกลบั HCO3 ไดน้ อ้ ย จึงหายใจเร็ว เกร็งกระตกุ  เสียสมดุลโปแตสเซียมทาให้ K ในเลือดสูง เกิดอาการอ่อนแรง หายใจลาบาก  เสียสมดุลCa, P, Mg สูญเสียการขบั อิเล็คโทรไลต์ P, Mg ในเลือดสูง Ca ตกตะกอนในเน้ือเยอ่ื ทาให้ Caในเลือดต่า  การคง่ั ของยเู รีย คลื่นไสอ้ าเจยี น  การติดเช้ือ 199

ระยะท่ี 2 ปัสสาวะ มาก (DIURESIS) ปัสสาวะมากกวา่ วนั ละ 400 cc จนมากกวา่ 1,500 cc ไตเร่ิมฝ้ืนตวั กลไก  ระยะเริ่มปัสสาวะมาก อตั ราการกรองเพิ่มข้ึน ขบั น้าแตไ่ ม่ขบั ของเสีย หลอดฝอยไตอยใู่ นระยะซ่อมแซม  ระยะปัสสาวะมาก มากกวา่ 1500 CC/วนั การกรองเกือบปกติ หลอดฝอยไตทาหนา้ ทีไ่ ด้ แตส่ ่วนตน้ ยงั ไม่สมบรู ณ์ ปัสสาวะมาก สูญเสีย NA ,K อาการ  ขาดน้า  Na ในเลือดต่า ผวิ แหง้ เป็นตะคริว  K ต่า กลา้ มเน้ืออ่อนแรง อาเจียน หายใจลาบาก 200

ระยะที่ 3 ระยะฟื้ นตวั (RECOVERY)  ระยะที่ไตฟ้ื นตวั หลอดเลือดอยใู่ น เกณฑป์ กติหลอดฝอยไตยงั ไม่สมบรู ณ์ ปัสสาวะเขม้ ขน้ และเป็นกรดใชเ้ วลา 6-12 เดือน  Complication ของเสียคง่ั น้าเกินความดนั โลหิตสูงเลือดเป็นกรดสมดุลกรดด่าง โลหิตจากหัวใจลม้ เหลว  การดูแลรักษา 1.การควบคุมให้เลือดมาเล้ียงไต MAP สูงกวา่ 80 mmHg 2.หลีกเล่ียงการใชย้ าที่เป็นพิษต่อไต เช่น Aminoglycoside 3.ใหส้ ารอาหารที่เพียงพอ (25-30 kcal/Kg/d) โปรตีน 40 g/day 4. ป้องกนั volume overload 5. ป้องกนั hyperkalemia คุม K นอ้ ยกวา่ 2 g/day 6. ป้องกนั hyponatremia คุมน้าดื่ม ชง่ั น้าหนกั 201

7. ป้องกนั การเกิด metabolic acidosis ให้ sodium bicarbonate หรือ Sodamint 8. ป้องกนั hyperphosphatemia คุมฟอสฟอรัสในอาหารนอ้ ยกวา่ 800 mg ใหย้ า เช่น ca carbonate 9.การลา้ งไต • ภาวะท่ไี ตถูกทาลายจนส่วนทเ่ี หลือไม่สามารถทางานชดเชยได้ สาเหตุ  พยาธิสภาพทไี่ ต Chronic Glomerulonephritis  โรคของหลอดเลือด (renal ARTERY STENOSIS)ความดนั โลหิตสูง  การติดเช้ือ กรวยไตอกั เสบ  ความผดิ ปกติแต่กาเนิด  โรคอื่นๆ เบาหวาน SLE 202

 ขาด K เร้ือรัง เกณฑ์การวินิจฉัย 1. ไตผดิ ปกตนิ านเกิน 3 เดือน 2. 2 eGFR นอ้ ยกวา่ 60 มล/นาท/ี 1.73 ตร.เมตร นาน ติดตอ่ กนั เกิน 3 เดือน การแบ่งโรคไตเรื้อรังตามแบบ GFR Categories 203

การตรวจคดั กรองโรคไตวายเรื้อรัง อาการและอาการแสดง อาการท่ีเกยี่ วข้อง  ซึม มึนงง คนั ตามตวั เบ่ืออาหาร คล่ืนไส้ อาเจยี น น้าหนกั ลด อาการเตือนทสี่ าคัญ 1. ปัสสาวะบอ่ ยกลางคืน หรือปัสสาวะ นอ้ ย 2. ปัสสาวะขดั สะดุด 204

3. ปัสสาวะมีเลือดปน 4. บวม ใบหนา้ หลงั เทา้ 5. ปวดบ้นั เอว หรือหลงั 6. ความดนั โลหิตสูง ผลกระทบจากไตวายเรื้อรัง 1. ระบบและหลอดเลือดหัวใจ ภาวะความดนั โลหิตสูง ภาวะหัวใจลม้ เหลว ภาวะเยอ่ื หุ้มหวั ใจอกั เสบ 2.ระบบทางเดินหายใจ น้าท่วมปอด ร่วมกบั หัวใจลม้ เหลว 3.ระบบประสาท อาการคง่ั ของเสียส่งผลตอ่ อาการทาง ระบบประสาท 4.ระบบทางเดินอาหาร ภาวะยรู ีเมีย ส่งผลให้ คลื่นไส้ อาเจียน เบอื่ อาหาร 5.ระบบเลือดโลหิตจาก ผลจากการสร้าง Erythropoietin ลดลง เมด็ เลือดแดงอายสุ ้นั จากภาวะ กรดในร่างกาย และการหลง่ั พาราธยั รอยม์ ากจากการ ขาดแคลเซ่ียม ส่งผลให้ไขกระดูกฝ่ อ กระทบการสร้าง เมด็ เลือดแดง 205

6.ภาวะภมู ิตา้ นทานต่า 7. ระบบกลา้ มเน้ือกระดูก การสังเคราะห์ vit D ลดลง ส่งผลต่อกระดูก 8. ระบบผวิ หนงั 9. ความไม่สมดุลของอิเล็คโตรไลต์ 10. ตอ่ มไร้ท่อ ธยั รอย พาราธยั รอยด์ผดิ ปกติ  ข้อบ่งชี้ในการทา CAPD  ผปู้ ่ วย CKD ระยะท่ี 5  ตอ้ งการทา CAPD  ไม่สามารถทาทางออกของเลือดเพ่ือทา HD ได้  ผปู้ ่ วยทที่ นการทา HD ไม่ได้ เช่น CHF, CAD 206

 ผปู้ ่ วยเด็ก  ข้อห้ามในการทา CAPD  มีรอยโรคบริเวณผวิ หนังหนา้ ทอ้ งที่ไม่สามารถวางสายได้  มีพงั ผดื ภายในช่องทอ้ งไม่สามารถวางสายได้  มีสภาพจติ บกพร่องอยา่ งรุนแรง ซ่ึงอาจกระทบตอ่ การรักษาดว้ ย วธิ ี CAPD  มีส่ิงแปลกปลอมในช่องทอ้ ง เช่น Vascular graft, Ventriculos - Peritoneal shunt (รอ 4 เดือน)  ไส้เล่ือน (รอ 6 สปั ดาห์) ช่องติดต่อระหวา่ ง ช่องทอ้ งกบั อวยั วะนอกช่องทอ้ ง  น้าหนกั มากกวา่ 90 กก. หรือ BMI > 35  มีขอ้ จากดั ดา้ นรูปร่าง  โรคลาไสอ้ กั เสบเร้ือรัง  การตดิ เช้ือที่ผนงั ช่องทอ้ งและผวิ หนงั บริเวณตาแหน่งท่ีจะทาการวางสาย Tenckhoff 207

 Recurrent diverticulitis (ลาไส้ใหญท่ ะลุซ้า)  Gastrostomy การให้อาหารทางสายที่ใส่ผา่ นหนา้ ทอ้ ง , Colostomy เป็นทวารเทยี มชนิดลาไสใ้ หญ่, Ileostomy เป็น ทวารเทียมชนิดลาไสเ้ ลก็  ภาวะทุพโภชนาการรุนแรง  ไม่สามารถทนการใส่น้ายาในช่องทอ้ งได้ 208

 กลไกของ Solute Transport 1. Osmosis (การซึมผา่ น) คือ การเคลื่อนทข่ี องตวั ทาละลายจากที่ที่มีความเขม้ ขน้ นอ้ ยไปทที่ ่ีมีความเขม้ ขน้ 2. Diffusion (การแพร่ผา่ น) คอื การเคล่ือนทข่ี องสารละลายจากทีท่ ม่ี ีความเขม้ ขน้ มากไปที่ท่ีมีความเขม้ ขน้ นอ้ ย 3. Convection (การนาพา) คอื การนาสารออกจากร่างกาย อาศยั คุณสมบตั ิในการละลายของสารน้นั ในตวั ทาละลาย 4. Ultrafiltration (การกรองน้า) คอื การดึงน้าส่วนเกินออกจากร่างกายผา่ นทางเยอ่ื บุช่องทอ้ งโดยอาศยั สารทม่ี ี คุณสมบตั ิในการดูดน้า 209

 การผ่าตดั วางสาย Tenckhoff ลกั ษณะแผล 210

ข้นั ตอนการล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเน่ือง (CAPD) ผปู้ ่ วยทาการลา้ งวนั ละ 3-6 ครัง โดยการเปลี่ยนถ่ายน้ายา 3 ข้นั ตอน ทาต่อเน่ืองเป็นวงจร 1. ข้นั ถ่ายน้ายาออก (Drain) ถ่ายน้ายาคา้ งไวใ้ นช่องทอ้ ง 20 นาที 2. ข้นั เตมิ น้ายาใหม่ (fill) ข้นั เตมิ น้ายาใหม่แทนทข่ี องเดิม นาน 10-15 นาที 3.ข้นั การพกั ทอ้ ง (repression) การคงคา้ งน้ายา เพือ่ ใหเ้ กิดการฟอก 4-6 ชม 211

การล้างไตทางช่องท้องโดยการใช้เครื่องอัตโนมตั ิ (automated peritoneal dialysis:PAD) •เป็นการเปล่ียนถ่ายน้ายา 3 คร้ัง โดยใชเ้ คร่ืองอตั โนมตั ิแทนผปู้ ่ วย การเปลีย่ นถุงน้ายา •ปกติแพทยส์ ั่งทา 4-5 คร้ัง ตอ่ วนั โดยเริ่ม 6.00น 12.00 น. 18.00 น. 22.00 น. หากทาเกิน 5 คร้ัง ให้เร่ิม ที่ 6.00 น. และ ทาจนครบตามแผนการรักษา สามารถทาทบี่ า้ นในพ้ืนทส่ี ะอาดไม่เส่ียงต่อการติดเช้ือ เปล่ียนถุงน้ายา ใชเ้ วลา 30 นาที / คร้ ัง การพยาบาล ระยะพกั ท้อง (1-2 สัปดาห์( •ไม่ให้แผลโดนน้า • ห้ามเปิ ดแผลเอง • ลดกิจกรรมท่ีทาให้เหง่ือออก • งดใส่เส้ือผา้ รัดเกินไป 212

• หากปวด บวม มีไข้ หรือ บวมส่วนตา่ งๆ ของร่างกาย ใหไ้ ปพบแพทย์ • จากดั น้าดื่ม • เล่ียงกิจกรรมทเี่ พม่ิ แรงดนั ในช่องทอ้ ง • ตดั ไหม 7-10 วนั • หากมีเลือดออก น้าร่ัวซ่ึม ใหพ้ บแพทย์ ระยะหลงั พกั ท้อง • หมน่ั ตรวจสอบสายทาความสะอาด •ตอ้ งไดร้ ับการยนื ยนั จากแพทยว์ า่ แผลแหง้ สนิท ถึงจะอาบน้าได้ •หา้ มโดนแป้ง ทาครีมบริเวณช่องทางออกของสาย •ติดพลาสเตอร์เพือ่ กนั การดึงร้ัง 213

ระยะล้างไตทางช่องท้อง • มกั เร่ิมลา้ งในสัปดาห์ท่ี 4 • เนน้ การลา้ งมือ Medical hand washing • ประเมินน้ายาและจดบนั ทกึ • รักษาความสะอาดส่ิงแวดลอ้ ม • เฝ้าระวงั อาการแทรกซ้อน น้าออกนอ้ ย น้าเกิน ติดเช้ือ ความดนั โลหิตต่า บวม • ออกกาลงั กาย รับประทานอาหาร พกั ผอ่ น พบแพทยต์ ามนดั • แนะนาชง่ั น้าหนกั ทุกวนั ไม่ควรข้นึ เกิน 0.5 กก/วนั • ห้ามยกของหนกั เกิน 6 กก. 214

การประเมินลักษณะแผล EXIT SITE 1.Perfect exit site  สีเดียวกบั ผิวหนงั หรืออาจมีสีคล้าข้นึ  อาจพบคราบน้าเหลือง (crust) ปริมาณเลก็ นอ้ ยหลุดลอกง่าย นอ้ ยกวา่ สปั ดาห์ละคร้ัง 2.Good exit site • Exit site มีสีเดียวกบั ผวิ หนังหรือสีคล้า หรือสีชมพอู ่อนความกวา้ งประมาณ1-2 มม. • อาจพบคราบน้าเหลืองเกิดข้ึนไม่เกิน 3 คร้ัง/สัปดาห์และไม่มีอาการปวด, บวม, แดง และไม่มี external exudates 3.Equivocal exit site • Exit site มีสีชมพูเขม้ หรือสีแดง ความกวา้ งประมาณ 2-3 มม. แตไ่ ม่เกิน 13 มม. • อาจพบคราบน้าเหลืองทุก 1-2 วนั หรือมีสะเก็ดน้าเหลืองท่ีบางคร้ังยากต่อ การลอก • ไม่มีอาการปวด, บวม, หรือหนองไหล ออกจากแผล 215

4.Acute infection exit site • มีอาการปวด บวม ร้อน ผวิ หนงั มีสี แดงเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางมากกวา่ 13 มม. • ผวิ หนงั คลุม sinus นอ้ ยกวา่ 25 % • อาจพบคราบเลือดหรือหนองไหลออก มาเองตดิ บนผา้ ก๊อซหรือกดออกมาได้ • มีคราบน้าเหลืองติดแน่นลอกยาก • อาจมีติ่งเน้ือยน่ื ออกมานอก sinus • ระยะเวลาในการติดเช้ือนอ้ ยกวา่ 4 สัปดาห์ 5.Chronic infection exit site • ระยะเวลาเป็ นนานกวา่ 4 สปั ดาห์ • อาจจะมีอาการปวดหรือไม่ปวดกไ็ ด้ • ผวิ หนังมีสีแดงคลา้ ย acute exit site infection แตส่ ีจางกวา่ 216

•ถา้ มีอาการปวด, บวม, แดงแสดงวา่ มีภาวะ acute infection ร่วมดว้ ย การฟอกเลือดด้วย เคร่ืองไตเทียม ข้อบ่งชี้ทั่วไป •Cr มากกวา่ mg/dl หรือ BUN มากกวา่ mg/dl •น้าเกินหรือน้าท่วมปอด •ความดนั โลหิตสูงไม่ตอบสนองตอ่ ยา •มีภาวะเลือดออกผดิ ปกติ •ภาวะ Uremic pericarditis •N/V ตลอดเวลา 217

ข้อบ่งชี้ จากการทางานของไต •Weekly renal Kt/V urea ต่ากวา่ 20 เน่ืองจากเสี่ยงตอ่ ภาวะทพุ โภชนาการ •การเร่ิมทาในผปู้ ่ วยไตวายระยะสุดทา้ ยทพุ โภชนาการทม่ี ีการปรับปรุงการบริโภค โปรตีนและพลงั งานแลว้ เส้นเลือดเพือ่ การฟอกเลือด 1. เส้นฟอกชว่ั คราว double lumen catheter (DLC) หลอดเลือดดา ท่ี คอ หรือขาหนีบ 2. เสน้ ฟอกเลือดถาวร แบง่ เป็น 3 ชนิด • Perm catheter สวนสายเขา้ ไปที่ subclavian vein • Arteriovenous Fistula (AVF) • Arteriovenous graft (AVG) • AVF และ AVG นิยมทาที่แขนทอ่ นบน ท่อนล่าง และตน้ ขา 218

ข้อดขี ้อเสียของการฟอกเลือดด้วยไตเทยี ม ข้อดี 1.อุปกรณ์ทางการแพทยใ์ นการรักษาพยาบาลพร้อมเพรียง 2.ผเู้ ชี่ยวชาญให้การดูแลรักษาพยาบาลขณะทาฟอกลือด 3.สร้างสงั คมให้กบั ผปู้ ่ วยรู้จกั ผปู้ ่ วยรายอ่ืน 4.สามารถขอคาแนะนาจากแพทยพ์ ยาบาลไดบ้ ่อยคร้ังจากการนดั 5.สามารถลดปริมาณน้าส่วนเกิน ปรับสมดุลเกลือแร่ และกรดด่างได้ อยา่ งรวดเร็ว 6.กาหนดปริมาณน้าท่ีจะดึงออกไดอ้ ยา่ งแม่นยา ข้อเสีย 1.การฟอกเลือดตอ้ งมาตามเวลาและคดิ ตามกาหนด 2.จาเป็นตอ้ งจากดั น้า การรับประทานผกั ผลไมท้ ี่มี K สูง 219

3.เสียเวลาในการมาตามนดั บ่อยและต่อเนื่อง 4.ค่าใชจ้ ่ายสูง สถานที่ในบริการนอ้ ย 5. Vascular access อาจทาให้รู้สึกสูญเสียภาพลกั ษณ์ 6.มีขอ้ จากดั และขอ้ หา้ มในการทาหตั ถการ แขนขา้ งท่ีมี Vascular access คุณสมบัตขิ องการปลูกถ่ายไต คุณสมบัติของผู้บริจาคไต - ผ้บู ริจาคไตท่ีมชี ีวิต 1.1 ผบู้ ริจาคตอ้ งมีความสมั พนั ธ์ทางสายเลือด ดงั น้ี บิดาหรือมารดา บตุ รธิดา พนี่ อ้ งร่วมบดิ ามารดาเดียวกนั ที่ สามารถพิสูจนไ์ ด้ ดว้ ย HLA จากบิดามารดาหรือทางกฎหมาย ลุง ป้า นา้ อา ลูกพี่ ลูกนอ้ ง ในลาดบั แรกหรือญาติที่มี ความสัมพนั ธ์ทางสายเลือดคร่ึงหน่ึง เช่น พีน่ อ้ งตา่ งบิดาหรือมารดา 1.2 ผบู้ ริจาคเป็นคูส่ มรสโดยมีหลกั ฐานการจดทะเบยี นสมรสมาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 3 ปี จนถึงวนั ท่ผี า่ ตดั ปลูกถ่ายไต 220

- คุณสมบัตเิ ฉพาะของผ้บู ริจาค 1. มีอายมุ ากกวา่ หรือเท่ากบั 18 ปี บริบูรณ์และไม่ควรเกิน 60 ปี บริบูรณ์ในวนั ท่ีบริจาค 2. ไม่มีโรคความดนั โลหิตสูง Systolic BP ไม่เกิน 140 มิลลิเมตรปรอท Diastolic BP ไม่เกิน 90 มิลลิเมตรปรอท 3. ไม่เป็นโรคเบาหวาน 4. ไม่มีประวตั ิเป็นโรคไตเร้ือรัง 5. มีคา่ โปรตนี ในปัสสาวะไม่เกิน 300 mg ใน 24 ชว่ั โมง 6. มีค่าอตั ราการกรองของไตมากกวา่ 80 มล./นาท/ี 1.73 ตารางเมตร 7. ไม่มีภาวะอว้ นท่ี BMI มากกวา่ 35 ไม่เจบ็ ป่ วยดว้ ยโรคร้ายแรงทางอายรุ กรรม COPD, IHD, Malinancy, Active infectious disease, Drug addiction 8. ไม่มีโรคทางจิตผา่ นการยนิ ยอมบริจาคและไม่มีการซ้ือขายไต 221

- กรณผี ู้บริจาคไตเสียชีวติ จะบริจาคไตได้ต้องมคี ุณสมบัตเิ ฉพาะดังนี้ 2.1 ให้เป็นไปตามขอ้ บงั คบั แพทยสภาวา่ ดว้ ยการรักษาจริยธรรมของผูป้ ระกอบวชิ าชีพเวชกรรม (ฉบบั ที่ 3) 2538 2.2 ใหเ้ ป็นไปตามหมวด 8 การประกอบวชิ าชีพเวชกรรมเกี่ยวกบั การปลูกถ่ายอวยั วะของแพทยสภาเรื่องการวินิจฉัย สมองตาย พ.ศ 2532 และ พ. ศ. 2539 (ฉบบั ท่ี 2) 2.3 ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑก์ ารบริจาคอวยั วะของสภากาชาดไทย คุณสมบัติของผ้รู ับบริจาคไต 1. ตอ้ งเป็นผปู้ ่ วยโรคไตวายเร้ือรังระยะสุดทา้ ยทไี่ ดร้ ับการฟอกเลือดตอ่ เนื่องท้งั วธิ ี CAPD และ HD อยา่ งนอ้ ย 3 เดือน 2. อายไุ ม่ควรเกิน 60 ปี 3. ไม่มี Active infectious disease 4. ไม่เป็นผตู้ ิดเช้ือ HIV 5. ไม่เป็นโรคตบั เร้ือรัง chronic liver disease ตามหลกั เกณฑ์ สมาคมผปู้ ลูกถ่ายอวยั วะแห่งประเทศไทย 6. ตอ้ งไม่เป็นโรคมะเร็งกรณีท่ีเป็นโรคมะเร็งท่ีรักษาหายขาด แลว้ มากกวา่ 3 ปี ก่อนวนั ปลูกถ่ายไตสามารถผา่ ตดั ปลูก ถ่ายไตได้ 222

7. เจบ็ ไม่มีภาวะเส่ียงต่อการผา่ ตดั เช่น IHD, CHF, COPD 8. ไม่มีโรคจิตหรืออาการทางจติ ท่ีผดิ ปกติ 9. ไม่มีภาวะการแขง็ ตวั ของเลือดท่ีผดิ ปกติ ติดไม่ติดสารเสพตดิ Nursing care การพยาบาล ก่อน และหลงั ผา่ ตดั ตามมาตรฐานการพยาบาล การดูแลใหไ้ ดร้ ับยากดภูมิตา้ นทานของร่างกายเพื่อ ป้องกนั การปฏเิ สธไตทีป่ ลูกถ่าย และ Antibiotic 223

224

225

226

227

228

 Out of Hospital Cardiac Arrest (OHCA) 229

 In - Hospital Cardiac Arrest (IHCA) 230

 How to do CPR D > Danger? R > Response? C > Call for help and & start Chest compression ปลุกก่อน “คุณๆๆๆ” แลว้ ตะโกน “ช่วยดว้ ยๆ มีคนหมดสติ ช่วยโทร 1669 และขอเคร่ือง AED ดว้ ยคะ่ ”  Steps of BLS: นงั่ คุกเขา่ ขา้ งผปู้ ่ วย C>A>B  C : Circulation - คลา carotid pulse 10 sec (ยกเวน้ Hypothermia 30-60sec) - start CPR - วางสันมือขา้ งหน่ึงตรงกลางหนา้ อกผูป้ ่ วยบริเวณคร่ึงล่างของกระดูกหนา้ อก 231

- แขน 2 ขา้ งเหยยี ดตรง ในแนวด่ิง กดหนา้ อกลึก ประมาณ 5 cm แตไ่ ม่ เกิน 6 cm - กดดว้ ยอตั ราเร็ว 100- 120 คร้ังตอ่ นาที - สลบั คนปั๊มตอนทีค่ รบ 5 cycle ตอ้ งให้สญั ญาณ/ ประเมินชีพจร - ทกุ คร้ังทีก่ ดหนา้ อก เมื่อปล่อยแรงกด อยา่ ใหม้ ือลอยจากกระดูกหนา้ อก Cardiac arrest in pregnancy 232

 A: Airway - Need Protect the Airway Obstruction 233

 B:Breathing - เป่ าลมเขา้ ปอดท้งั สองขา้ ง มองจากการเคล่ือนข้ึนลงของหนา้ อก ใชเ้ วลา 1 วนิ าทีตอ่ คร้ัง - อตั ราการกดหนา้ อก : การช่วยหายใจ 30:2 Automatic External Defibrillator : AED  5 ป : เปิ ด – แปะ – แปล – เปร้ียง – ป๊ัม  ทนั ทีที่ AED มาถึงใหเ้ ร่ิมเปิ ดสวชิ ตท์ นั ที  ตดิ แผน่ กระตกุ หวั ใจท่ีหนา้ อกผปู้ ่ วย  เครื่องแนะนาใหช้ ็อค กดป่ มุช็อค  เคร่ืองไม่แนะนาให้ช็อคใหก้ ดหนา้ อกตอ่ ***แน่ใจวา่ ไม่มีใครสัมผสั ผปู้ ่ วยขณะเคร่ืองทาการวเิ คราะห์หวั ใจหรือกดป่ มุช็อค 234

235

236

ยาสาหรบั การช่วยชีวติ  รูปแบบยา 1mg/ml  กระตนุ้ αadrenergic receptor มีผลเพ่ิมความดนั โลหิตจากการ หดตวั ของหลอดเลือด  กระตนุ้ ß-adrenergic receptor มีผลการ กระตนุ้ การบีบตวั ของหัวใจ และกระตนุ้ อตั ราการเตน้ ของหัวใจ  Side effects: Hypertension Tachycardia 237

***Supraventricular tachycardia - ใชเ้ มื่อไม่ตอบสนองตอ่ atropine - 10mg + 5%D/W 100 ml (1:10) IV 5-20 ml/hr  Anaphylaxis Angioedema - 0.5 mg IM +load IV NSS - กรณีไม่ตอบสนองตอ่ การรักษาให้ซ้ า 0.5 mg IM ทกุ 10-15 นาที 2-3 คร้ังหรืออาจ พจิ ารณาcontinuous IV drip 238

 รูปแบบยา 150mg/3ml  กลไกการออกฤทธ์ิ - antiarrhythmic drug โดยลด automaticity ของ sinus node ทาให้หัวใจเตน้ ชา้ ลง  ข้อบ่งใช้ - Cardiac arrest and Recurrent VT/VFที่ไม่ตอบสนองต่อ defibrillation และยา adrenaline 239

- ขนาดยา :300mg + 5%D/W 20 ml IV slow push ใน 3นาที อาจพิจารณาใหซ้ ้ า 150 mg อีก 5นาทีตอ่ มา  ข้อห้ามใช้ - Severe hypotension - Pregnancy - Heart block  Side effects: - Hypotension - Bradycardia - Prolong QT interval - Heart block - CHF 240

- Phlebitis ข้อควรระวงั 1. ขณะdripไม่ควรไดร้ ับยา  Betablocker, digoxin, diltiazem: เพ่ิม risk bradycardia, AV block  Warfarin : เพม่ิ risk bleeding 2. การใหย้ าตอ้ งไม่เกิน 2,200 mg in 24 ชว่ั โมง 3. ระดบั K และ Mg ตอ้ งอยใู่ นเกณฑป์ กติ เนื่องจากอาจเกิด arrhythymia 241

 รูปแบบยา HCO3 8.92 mEq/50 ml  เป็นสารละลายมีฤทธ์ิเป็ นด่าง มีส่วนประกอบคือโซเดียม และไบคาร์บอเนต  เมื่อเขา้ สู่ร่างกายจะทาหนา้ ที่เพ่มิ ความเป็นด่างในร่างกายเพม่ิ ปริมาณโซเดียมและไบคาร์บอเนต  เสริมกบั ไบคาร์บอเนตซ่ึงร่างกายสร้างข้ึนที่ไต 242

 โซเดียมไบคาร์บอเนตมีการขบั ออกทางปัสสาวะ ทาให้ปัสสาวะมีความเป็ นด่างมากข้นึ ข้อบ่งใช้  Severe metabolic acidosis (PH< 7..15) - 50 ml IV push ซ้ าไดท้ กุ 30 นาที หรือ Continuous drip โดยใน  Septic shock : rate 20-50 ml/hr โดยไม่ตอ้ งผสมกบั สารน้ าอื่น  DKA : 100 ml + 5%D/W 400 ml IV rate 250 ml/hr  *หยดุ ใหเ้ มื่อ blood PH > 7.2 243

การจัดท่า sniffing position 244

สิ่งสาคญั ในการนวดหัวใจผายปอด 245

Thank You นางสาวสุทธิดา แกว้ ระยบั เลขท่ี 49 รหัส 6117701001093 ห้อง 2 246