Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา (ส22103) ชั้นที่สอนมัธยมศึกษาปีที่ 2-ครูกีรกาญจน์ - กีรกาญจน์ แก้วขอมดี

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา (ส22103) ชั้นที่สอนมัธยมศึกษาปีที่ 2-ครูกีรกาญจน์ - กีรกาญจน์ แก้วขอมดี

Published by ครรชิต แซ่โฮ่, 2022-02-08 14:42:07

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา (ส22103) ชั้นที่สอนมัธยมศึกษาปีที่ 2-ครูกีรกาญจน์ - กีรกาญจน์ แก้วขอมดี

Search

Read the Text Version

กลุม สาระการเรยี นรูสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชทรัพยากรที่มี อยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมท้ังเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่อื การดาํ รงชวี ิตอยา งมีดลุ ยภาพ ชั้น ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.2 1. วิเคราะหป จ จัยที่มผี ลตอ การลงทนุ 1. ความหมายและความสําคัญของการลงทุนและ และการออม การออมตอ ระบบเศรษฐกิจ 2. การบริหารจัดการเงินออมและการลงทุนภาค ครัวเรอื น 3. ปจจัยของการลงทุนและการออมคือ อัตรา ดอกเบ้ีย รวมทั้งปจจัยอ่ืน ๆ เชน คาของเงิน เทคโนโลยี การคาดเดาเกย่ี วกบั อนาคต 4. ปญหาของการลงทนุ และการออมในสังคมไทย 2. อธิบายปจจัยการผลิตสินคาและ 1. ความหมาย ความสําคัญ และหลักการผลิต บริการ และปจจัยที่มีอิทธิพลตอการผลิต สนิ คา และบริการอยา งมีประสทิ ธิภาพ สินคา และบริการ 2. สํารวจการผลิตสินคาในทองถิ่น วามีการผลิต อะไรบา ง ใชวธิ ีการผลติ อยา งไรมีปญหาดานใดบา ง 3. มีการนําเทคโนโลยีอะไรมาใชท่ีมีผลตอการผลิต สนิ คา และบรกิ าร 4. นําหลักการผลิตมาวิเคราะหการผลิตสินคาและ บริการในทองถิ่นทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและ สงิ่ แวดลอ ม 3. เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตใน 1. หลักการและเปาหมายปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทอ งถิน่ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. สํารวจและวิเคราะหปญหาการผลิตสินคาและ บรกิ ารในทอ งถน่ิ 3. ประยกุ ตใ ชป รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ ผลติ สนิ คา และบรกิ ารในทอ งถ่นิ

4. อภิปรายแนวทางการคุมครองสิทธิ 1. การรกั ษาและคุมครองสิทธิประโยชนของผบู ริโภค ของตนเองในฐานะผูบริโภค 2. กฎหมายคุมครองสิทธิผูบริโภคและหนวยงานที่ เกย่ี วของ 3. การดาํ เนินกจิ กรรมพิทักษสทิ ธิและผลประโยชน ตามกฎหมายในฐานะผูบรโิ ภค 4. แนวทางการปกปองสิทธิของผบู ริโภค มาตรฐาน ส 3.2 เขา ใจระบบและสถาบนั ทางเศรษฐกิจตาง ๆ ความสัมพนั ธทางเศรษฐกจิ และความจาํ เปน ของการรวมมือกันทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก ชั้น ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ม.2 1. อภปิ รายระบบเศรษฐกจิ แบบตางๆ 1. ระบบเศรษฐกจิ แบบตา งๆ 2. ยกตัวอยางท่ีสะทอนใหเห็นการพึ่งพา 1. หลกั การและผลกระทบการพ่ึงพาอาศัยกัน และ อ า ศั ย กั น แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น กั น ท า ง การแขง ขันกันทางเศรษฐกจิ ในภมู ิภาคเอเชยี เศรษฐกจิ ในภมู ภิ าคเอเชีย 3. วิเคราะหการกระจายของทรัพยากร 1. การกระจายของทรัพยากรในโลกท่ีสงผลตอ ในโลกที่สงผลตอความสัมพันธทาง ความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ เชน เศรษฐกจิ ระหวางประเทศ น้ํามัน ปา ไม ทองคํา ถานหิน แร เปน ตน 4. วิเคราะหการแขงขันทางการคาใน 1. การแขงขันทางการคาในประเทศแล ะ ประเทศและตางประเทศสงผ ล ตอ ตา งประเทศ คุณภาพสินคา ปริมาณการผลิต และ ราคาสนิ คา

หลกั สูตรสถานศึกษาตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระท่ี 5 ภูมศิ าสตร มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธของสรรพสิ่งซ่ึงมีผลตอกันและกัน ในระบบของธรรมชาติ ใชแผนที่และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตรในการคนหา วิเคราะห สรุป และใชขอ มูลภูมสิ ารสนเทศอยา งมีประสทิ ธิภาพ ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.2 1. ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการ 1. เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตรท แี่ สดงลักษณะทาง รวบรวม วิเคราะห และนําเสนอขอมูล กายภาพและสงั คมของทวปี ยโุ รปและแอฟริกา เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคม ของทวปี ยโุ รป และแอฟริกา 2. วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะ 1. ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรป ทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและ และแอฟรกิ า แอฟรกิ า มาตรฐาน ส 5.2 เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพที่กอใหเกิดการสรางสรรค วัฒนธรรม มีจิตสํานึกและมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรและส่ิงแวดลอม เพื่อการ พัฒนา ทย่ี ั่งยืน ช้นั ตัวชี้วดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ม.2 1. วิเคราะหการกอเกิดส่ิงแวดลอมใหม 1. การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สงั คม ทางสังคม อันเปนผลจากการเปล่ียนแปลง และวฒั นธรรมของทวีปยโุ รปและแอฟรกิ า ทางธรรมชาติและทางสงั คมของทวีปยุโรป และแอฟริกา 2. ระบุแนวทางการอนุรักษ 1. การอนุรักษทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ มใน ในทวีปยุโรป และแอฟริกา ทวปี ยโุ รป และแอฟรกิ า 3. สํารวจ อภิปรายประเด็นปญหา 1. ปญ หาเกีย่ วกบั ส่ิงแวดลอมท่ีเกิดขึ้นในทวีปยโุ รป เก่ียวกับส่ิงแวดลอมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรป และแอฟรกิ า และแอฟริกา 4. วิเคราะหเ หตแุ ละผลกระทบท่ีประเทศ 1. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม ไทยไดรับจากการเปล่ียนแปลงของ ในทวีปยุโรป และแอฟริกาตอประเทศไทย สงิ่ แวดลอมในทวีปยโุ รป และแอฟรกิ า

คําอธบิ ายรายวิชา รหสั วิชา ส 22103 รายวิชา สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 เวลาเรยี น 3 คาบ : สปั ดาห : ภาคเรียน จาํ นวน 1.5 หนว ยกติ ศึกษา วิเคราะห อภิปรายความหมาย ความสําคัญของปจจัยท่ีมีผลตอ การลงทุน การออม การผลิต สินคาและบริการ และปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการผลิตสินคาและบริการ หลักการและเปาหมายปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ปญหาการผลิตสินคาและบริการ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการผลิต สินคาและบริการ การรักษาและคุมครองสิทธิประโยชนของผูบริโภค กฎหมายคุมครองสิทธิผูบริโภคและ หนว ยงานทเี่ ก่ียวของ การดําเนินกิจกรรมพิทักษสิทธิและผลประโยชนตามกฎหมายในฐานะผูบริโภคและแนว ทางการปกปองสทิ ธิของผบู ริโภค ศึกษา วิเคราะห อภิปรายระบบเศรษฐกิจแบบตางๆ ยกตัวอยางท่ีสะทอนใหเห็นการพ่ึงพาอาศัยกัน และการแขงขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย วิเคราะหการกระจายของทรัพยากรในโลกท่ีสงผลตอ ความสัมพันธ ทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ การแขงขันทางการคาในประเทศและตางประเทศ สงผลตอ คุณภาพสินคา ปรมิ าณการผลิตและราคาสินคา ศึกษา วิเคราะห เลือกใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวม การนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับลักษณะ ทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริกา และความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคม วิเคราะหการกอเกิดสิ่งแวดลอมใหมทางสังคม อันเปนผลจากการเปล่ียนแปลงทางธรรมชาติและทางสังคม ระบุแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในทวีปยุโรปและแอฟริกา สํารวจ อภิปราย ประเด็นปญหาเกี่ยวกับส่ิงแวดลอมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและแอฟริกา ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของ สิง่ แวดลอ มในทวปี ยโุ รปและแอฟรกิ าตอ ประเทศไทย โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู สืบคนขอมูล ปฏิบัติจริง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดวิเคราะห การแกปญหา การใหเหตุผล การส่ือความหมายทางสังคม และนําประสบการณดาน ความรู ความคิด ทักษะ กระบวนการท่ีไดไปใชในการเรียนรูสิ่งตางๆ และนําไปใชในชีวิตประจําวันอยาง สรา งสรรค เพ่ือตระหนักถงึ ความสําคญั เห็นคุณคา และมีเจตคติที่ดีตอวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม คานิยมท่ีเหมาะสม พัฒนาตนเองอยูเสมอ รวมทั้ง บาํ เพ็ญประโยชนตอสังคมและสวนรวมดาํ รงชีวิตอยูในสังคมอยางมีความสขุ ตัวชี้วัด ส 3.1 ม.2/3 ส 3.1 ม.2/4 ส 3.1 ม.2/1 ส 3.1 ม.2/2 ส 3.2 ม.2/3 ส 3.2 ม.2/4 ส 5.2 ม.2/1 ส 5.2 ม.2/2 ส 3.2 ม.2/1 ส 3.2 ม.2/2 ส 5.1 ม.2/1 ส 5.1 ม.2/2 ส 5.2 ม.2/3 ส 5.2 ม.2/4 รวมตวั ชว้ี ัด 14 ตัวชวี้ ัด

โครงสรางรายวิชา โรงเรียนคณะราษฎรบํารงุ จังหวัดยะลา กลุมสาระการเรียนรู สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รหสั วชิ า ส 22103 รายวชิ า สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เวลา 3 คาบ/สปั ดาห จํานวน 1.5 หนวยกิต ระดับ ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 2 ครผู สู อน นางสาวกรี กาญจน แกว ขอมดี ท่ี ชอื่ หนวย มาตรฐานการ สาระสาํ คัญ เวลา นํ้าหนัก ภาระงานท่ี การเรียนรู เรยี นรู/ตวั ชว้ี ัด (ช่วั โมง) คะแนน มอบหมาย 1. เศรษฐศาสตร ส 3.1 ม.2/1, - การลงทุนและการออม 20 15 - ใบงาน เบื้องตนและ ม.2/2, ม.2/3, 1. การลงทนุ และการออม - แบบทดสอบ เศรษฐกจิ พอเพียง ม.2/4 2. การบริหารจัดการเงินออม - สอบกอนเรียน และการลงทุนภาคครวั เรือน - สอบหลังเรียน 3. ปจ จัยการลงทุนและการออม 4. ปญหาการลงทุนและ การออมในสังคมไทย - การผลิตสินคาและบรกิ าร 1. การผลิตสินคาและบริการ 2. ปจ จยั การผลิตและบริการ 3. หลักการผลิตสนิ คา และ บริการอยางมคี ุณภาพ 4. การผลิตสินคา และ บรกิ ารในทองถิน่ - เศรษฐกิจพอเพยี ง 1. หลกั การและเปาหมาย ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. ปญ หาการผลิตสินคาและ บรกิ ารในทองถ่นิ 3. การประยุกตใชปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี งในการ ผลติ สินคาและบรกิ ารใน ทองถน่ิ

ท่ี ช่อื หนวย มาตรฐานการ สาระสาํ คญั เวลา น้าํ หนัก ภาระงานท่ี การเรียนรู เรยี นรู/ตวั ช้ีวัด (ช่ัวโมง) คะแนน มอบหมาย - การคุมครองสิทธผิ บู รโิ ภค 2. ระบบเศรษฐกิจ ส 3.2 ม.2/1, 1. การรกั ษาและคุมครอง 11 5 - ใบงาน ม.2/2, ม.2/3, สิทธปิ ระโยชนของผบู ริโภค 6 10 - แบบทดสอบ 3. เครื่องมอื ทาง ม.2/4 2. กฎหมายคุมครองสิทธิ 23 20 - สอบกอนเรยี น ภูมศิ าสตร ผบู ริโภคและหนว ยงานท่ี - สอบหลงั เรียน ส 5.1 ม.2/1 เก่ยี วของ 4. ทวีปยโุ รปและ 3. แนวทางการปกปองสทิ ธิ - ใบงาน ทวีปแอฟริกา ส 5.1 ม.2/1, ของผูบรโิ ภค - แบบทดสอบ ม.2/2 - ระบบเศรษฐกจิ - สอบกอ นเรียน ส 5.2 ม.2/1, 1. ระบบเศรษฐกิจแบบตางๆ - สอบหลังเรยี น ม.2/2, ม.2/3, 2. การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ - ใบงาน ม.2/4 3. การแขงขนั ทางการคา - แบบทดสอบ 4. การคา ระหวา งประเทศ - สอบกอนเรยี น 5. การกระจายทรัพยากรในโลก - สอบหลงั เรยี น 1. เครอื่ งมือทางภูมศิ าสตร - แผนที่ - รโี มตเซนซงิ - ระบบสารสนเทศ ภมู ศิ าสตรหรอื จไี อเอส (GIS) 1. ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา 2. ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของ ทวีปยโุ รปและทวีปแอฟรกิ า 3. วิกฤตการณดานทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอ มใน ทวปี ยโุ รปและทวีปแอฟริกา 4. แนวทางการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอมในทวีปยุโรปและ ทวปี แอฟริกา

คะแนน 50 คะแนน 20 คะแนน 1. คะแนนเกบ็ 30 คะแนน 2. คะแนนสอบกลางภาค 100 คะแนน 3. คะแนนปลายภาค รวม

กาํ หนดการสอน ภาคเรยี นที่ 2 ปการศึกษา 2564 วิชา สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 2 จาํ นวนหนวยกิต 1.5 จาํ นวน 60 ชว่ั โมง อตั ราสว นคะแนน 70 : 30 ที่ ช่ือหนวยการเรียนรู เวลา (ชั่วโมง) น้าํ หนกั คะแนน ปลายภาค 1 เศรษฐศาสตรเบื้องตน และเศรษฐกิจ ปกติ ออนไลน คะแนนเก็บ พอเพยี ง - 68 25 2 ระบบเศรษฐกจิ 3 เครื่องมือทางภมู ศิ าสตร 10 8 15 - 4 ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา 44 10 15 10 10 20 15 รวมตลอดภาคเรียน 30 30 70 30 ลงชือ่ ....................................................... ลงช่อื ......................................................... (นางสาวกีรกาญจน แกว ขอมด)ี (นางนงเยาว วกิ รยั เจริญยิ่ง) ครผู ูสอน หัวหนา กลมุ สาระการเรยี นรู ลงชอื่ ....................................................... (นางสาวเพรศิ พศิ คูหามขุ ) รองผูอาํ นวยการกลมุ บรหิ ารงานวิชาการ หมายเหตุ : เวลาทีใ่ ชใ นการสอนใหก าํ หนดเปนออนไลน 50% และสอนปกติในชั้นเรยี น 50% ของเวลาเรียนทั้งหมด

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 1 เรอ่ื ง ความรูเ บ้ืองตน เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร กลมุ สาระการเรียนรูสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวิชา สังคมศึกษา รหสั วิชา ส 22103 หนวยการเรยี นรทู ี่ 1เศรษฐศาสตรเบอื้ งตน และเศรษฐกจิ พอเพยี ง ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 2เวลาเรียน 1ชัว่ โมง ครผู สู อน นางสาวกีรกาญจน แกว ขอมดี โรงเรียนคณะราษฎรบํารุง จังหวดั ยะลา สพม.ยะลา มาตรฐานการเรียนรู ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชทรัพยากรทีม่ อี ยจู ํากัดไดอยา งมีประสิทธภิ าพและคุมคา รวมทั้งเขา ใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือ การดํารงชีวติ อยางมีดลุ ยภาพ ตัวช้ีวดั ส 3.1 ม.2/1 วเิ คราะหปจจยั ท่ีมผี ลตอ การลงทุนและการออม สาระสาํ คัญ/ความคิดรวบยอด เศรษฐศาสตรมุงศึกษาพฤติกรรมและการมีปฏิสัมพันธระหวางตัวแสดงทางเศรษฐกิจและการทํางาน ของเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตรจ ลุ ภาควิเคราะหองคประกอบหลักในระบบเศรษฐกิจ รวมท้ังตัวแสดงและตลาดท่ี เปนปจเจกบุคคล รวมถึงครัวเรือน ภาคธุรกิจ ผูซ้ือ และผูขาย การมีปฏิสัมพันธระหวางกัน และผลลัพธของ ปฏิสัมพันธน้ัน เศรษฐศาสตรมหภาควิเคราะหเศรษฐกิจในภาพรวม (หมายถึงการผลิตมวลรวม การบริโภค การออม และการลงทุน) และปญหาท่ีกระทบมัน รวมทั้งการไมไดใชของทรัพยากรตางๆ (แรงงาน, ทุน, และ ทีด่ นิ ) เงินเฟอ การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ และนโยบายสาธารณะท่ีจดั การปญหาเหลานั้น (การเงิน การคลัง และนโยบายอนื่ ๆ) จุดประสงค/สาระการเรียนรู 1. นักเรยี นอธบิ ายความหมายและความสําคัญของเศรษฐศาสตรได (K1) 2 นักเรยี นสามารถจาํ แนกและอธิบายขอบขา ย เปาหมายของการศกึ ษาวิชาเศรษฐศาสตรไ ด (P3) 3. นักเรียนเหน็ ความสาํ คญั ในการเรียนวชิ าเศรษฐศาสตร (A3) สมรรถนะสําคญั 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการใชทักษะชีวติ ส่อื /แหลง เรยี นรู 1. สอื่ Power point เร่อื ง ความรูเบ้อื งตนเกี่ยวกบั เศรษฐศาสตร 2. หนังสือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม. 2 3. แหลง ขอ มลู สารสนเทศ

ภาระงาน/ ชนิ้ งาน 1. ใบงาน เรอ่ื ง ความรเู บอ้ื งตนเก่ียวกบั เศรษฐศาสตร 2. แบบทดสอบ เร่ือง ความรเู บอื้ งตนเกย่ี วกับเศรษฐศาสตร 3. ศกึ ษาและสบื คน ขอ มลู ความหมายและความสําคัญของเศรษฐศาสตร การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู จุดประสงค วธิ ีการ เครอ่ื งมือ ดานความรู (K) ตรวจใบงาน - ใบงาน เรอ่ื ง ความรูเบ้ืองตน เกย่ี วกับเศรษฐศาสตร - แบบทดสอบ เร่ือง ความรูเบ้อื งตน เกีย่ วกบั ดา นทักษะและ ตรวจผลการทาํ กจิ กรรม เศรษฐศาสตร กระบวนการ (P) - นักเรยี นสามารถจําแนกและอธบิ ายขอบขา ย ดานคุณธรรม จรยิ ธรรม สงั เกตพฤตกิ รรมการทํา เปา หมายของการศึกษาวชิ าเศรษฐศาสตร โดยการตอบคําถาม และคา นิยม (A) กิจกรรม - แบบประเมินผลงานการทํางานรายบุคคล - แบบประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู (วิธกี ารสอนแบบโมเดลซปิ ปา (CIPPA Model) ข้นั ที่ 1 ทบทวนความรูเดิม 1. ครแู จง ตัวช้ีวัดช้นั ปแ ละจดุ ประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ 2. ครูถามนักเรียนวา รูจัก ความหมายของเศรษฐศาสตร บิดาของวิชาเศรษฐศาสตรหรือไม เศรษฐศาสตรจุลภาค เศรษฐศาสตรมหภาคตา งกันอยางไร นักเรียนชวยกนั ตอบคาํ ถามท่ีครูถาม ข้นั ท่ี 2 แสวงหาความรใู หม ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวาวิชาเศรษฐศาสตร มีวิวัฒนาการความเปนมาอยางไร พรอมท้ังให นักเรยี นดสู ่อื Power point เรื่อง ความรูเบอื้ งตน เกยี่ วกบั เศรษฐศาสตร ขั้นที่ 3 ศกึ ษาทําความเขา ใจขอมูล/ความรูใ หม และเชือ่ มโยงความรใู หมก บั ความรูเดิม นักเรียนศึกษาความหมายและความสําคัญของวิชาเศรษฐศาสตร โดยครูใหนักเรียนชวยกัน อธิบายความหมายและความสําคัญ รวมทั้งขอบขาย เปาหมายของวชิ าเศรษฐศาสตร ข้ันท่ี 4 แลกเปล่ียนความรูความเขาใจกับกลุม 1. นักเรียนแลกเปลยี่ นและรวมกนั อธบิ ายประเด็นสาํ คัญ ดังตอไปน้ี - วิชาเศรษฐศาสตร มคี วามสําคัญอยางไร - สาขาของวิชาเศรษฐศาสตร ไดแก - เปาหมายทางเศรษฐศาสตร - ประโยชนข องวิชาเศรษฐศาสตร

- การศึกษาเศรษฐศาสตรจุลภาคกับเศรษฐศาสตรมหภาคทําใหไดรับความรูแตกตางกัน อยางไร 2. นักเรยี นทาํ ใบงาน เรือ่ ง ความรเู บอ้ื งตนเก่ยี วกับเศรษฐศาสตร 3. นักเรียนทาํ แบบทดสอบ เรือ่ ง ความรเู บือ้ งตน เกี่ยวกบั เศรษฐศาสตร ขั้นที่ 5 สรุปและจัดระเบียบความรู นักเรียนแตละคนรว มมือกนั ตรวจสอบความถกู ตอ งและสรุปผลในใบงาน เร่อื ง ความรเู บื้องตน เกีย่ วกบั เศรษฐศาสตร และแบบทดสอบ เรอื่ ง ความรเู บ้ืองตน เก่ียวกับเศรษฐศาสตร ขัน้ ที่ 6 ปฏบิ ัติและ/หรือแสดงผลงาน นักเรยี นรว มกันสรปุ เรอ่ื ง ความรูเบอื้ งตน เกี่ยวกบั เศรษฐศาสตร ขนั้ ที่ 7 ประยกุ ตใชค วามรู ครูมอบนักเรียนแตละคนสืบคนความรูเพ่ิมเติมจากส่ิงท่ีนักเรียนไดเรียนรูมาเพ่ือตอยอดความรู ของตนเอง ............................................................................ เกณฑก ารประเมนิ เกณฑการประเมินความรคู วามสามารถ (K) 1. ใบงาน เรื่อง ความรเู บื้องตนเกยี่ วกับเศรษฐศาสตร ดีมาก (4) ดี (3) พอใช ( 2 ) ปรบั ปรงุ ( 1 ) ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ตอบไดตรงประเด็น แต ตอบไมตรงประเด็น ไมมี ชัดเจนครอบคลุมเนื้อหา ชัดเจนครอบคลุมเนื้อหา ยังไมครอบคลุมเนื้อหา ก า ร จั ด ร ะ บ บ ด า น ท้ังหมด สวนใหญ ท้งั หมด ความคดิ 2. แบบทดสอบ เรอื่ ง ความรูเ บอ้ื งตนเกยี่ วกับเศรษฐศาสตร คะแนน ระดับ 8 – 10 คะแนน ดเี ยีย่ ม 5 - 7 คะแนน 3 - 4 คะแนน ดี นอ ยกวา 2 คะแนน พอใช ปรับปรงุ

เกณฑก ารตัดสินระดบั คุณภาพ 1. ใบงาน เร่ือง ความรเู บื้องตนเกย่ี วกับเศรษฐศาสตร คะแนน ระดับคุณภาพ 4 คะแนน ดมี าก 3 คะแนน ดี 2 คะแนน พอใช 1 คะแนน ควรปรับปรงุ 2. แบบทดสอบ เรอ่ื ง ความรูเบอ้ื งตน เกี่ยวกบั เศรษฐศาสตร คะแนน ระดับ 8 - 10 คะแนน ดเี ยีย่ ม 5 - 7 คะแนน 3 - 4 คะแนน ดี ต่าํ กวา 2 คะแนน พอใช ปรับปรงุ **ผานเกณฑร ะดบั ดี

เกณฑการประเมินพฤติกรรม (P) แบบประเมนิ พฤติกรรมการทํางานรายบคุ คล คําช้ีแจง : ให ผสู อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขดี  ลงใน ชองท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ชื่อ-สกลุ ความมีวินัย ความมีน้าํ ใจ การรบั ฟง การแสดง การตรงตอเวลา รวม ที่ ของผูรับการ เอ้ือเฟอ เสียสละ ความคดิ เหน็ ความคิดเห็น 20 คะแนน ประเมนิ 432 1 4 3 2 1 4 3214 321432 1 ลงช่ือ................................................ผปู ระเมิน ................ /................ /................ เกณฑก ารใหค ะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอยา งสมาํ่ เสมอ ให 4 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบอยครงั้ ให 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมนอ ยครง้ั ให 1 คะแนน เกณฑก ารตัดสินคณุ ภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุระดับณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช ต่ํากวา 10 ปรับปรงุ

เกณฑการใหประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค (A) คาํ ชแ้ี จง : ใหผปู ระเมนิ ศกึ ษาขอ กําหนดการใหคะแนนในการประเมินผลตามสภาพจริงอยางละเอียดรอบรอบ แลวบันทึกคะแนนใหตรงกับพฤติกรรมตามรายการประเมินท่ีกําหนดโดยการบันทึกในชองท่ีกําหนดให พฤติกรรมการแสดงออกของนักเรยี นกําหนดเปนระดับคา คะแนนไดด ังน้ี ระดับคะแนน 4 มากท่สี ุด, 3 ด,ี 2 พอใช, 1 ปรับปรุง ท่ี ชื่อ-สกุล ความ ความสนใจใฝร ู ความมีวินยั ความซื่อสัตย ความมีระเบียบ รวมคะแนน รบั ผิดชอบ 20คะแนน เกณฑการใหค ะแนน ลงชื่อ...............................................................ผปู ระเมนิ .................../................/................ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา งสม่ําเสมอ ได 4 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบอยครงั้ ได 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ได 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมนอยครงั้ ได 1 คะแนน เกณฑการตัดสนิ คุณภาพ เกณฑ ระดบั คณุ ภาพ 4 ดีมาก ชวงคะแนน 3 ดี 18-20 2 พอใช 14-17 1 ปรบั ปรงุ 10-13 ต่าํ กวา 10

ผลการจดั การเรยี นรู บนั ทกึ หลังสอน ม.2/6 ม.2/2 ม.2/4 ผาน ไมผ า น ผาน ไมผาน ผา น ไมผ า น คน % คน % คน % คน % คน % คน % 1. ดา นความรู 38 100 - - 39 97.50 1 2.50 39 100 - - - 39 97.50 1 2.50 39 100 - - - นักเรียนอธิบาย - 39 97.50 1 2.50 39 100 - - ความหมายและ ค ว า ม สํ า คั ญ ข อ ง เศรษฐศาสตรได (K1) 2. ดา นทกั ษะกระบวนการ 38 100 - - นักเรียนสามารถ จํ า แ น ก แ ล ะ อ ธิ บ า ย ขอบขาย เปาหมายของ ก า ร ศึ ก ษ า วิ ช า เศรษฐศาสตรได (P3) 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 38 100 - ประสงค - นักเรียนเห็นความสําคัญ ใ น ก า ร เ รี ย น วิ ช า เศรษฐศาสตร (A3)

ผลการจัดการเรียนรู ม.2/8 ม.2/10 ม.2/12 ผาน ไมผาน คน % คน ผาน ไมผ า น คน % คน % 35 100 - 35 87. 5 12. คน % คน % 35 100 - % 50 50 - 1. ดานความรู 32 100 - - 35 87. 5 12. - - นักเรียนอธิบาย 50 50 ความหมายและ ค ว า ม สํ า คั ญ ข อ ง เศรษฐศาสตรได (K1) 2. ดา นทักษะกระบวนการ 32 100 - - - นักเรียนสามารถ จํ า แ น ก แ ล ะ อ ธิ บ า ย ขอบขาย เปาหมายของ ก า ร ศึ ก ษ า วิ ช า เศรษฐศาสตรไ ด (P3) 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 32 100 - - 35 87. 5 12. 35 100 - - ประสงค 50 50 - นกั เรยี นเหน็ ความสําคัญ ใ น ก า ร เ รี ย น วิ ช า เศรษฐศาสตร (A3) ปญ หา/อุปสรรค/แนวทางการแกไข 1.นกั เรยี นบางคนไมสามารถอธบิ ายความหมายและความสาํ คัญของเศรษฐศาสตรได เน่อื งจากนักเรียน ไมเ ขา เรียน 2.นักเรียนบางคนไมสามารถจําแนกและอธิบายขอบขาย เปาหมายของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรได เน่ืองจากไมเขาเรียน ทําใหนักเรียนไมเขาใจในเน้ือหาที่เรียน และไมสามารถทําการสืบคนหาคําตอบดวย ตนเอง จึงไมม ีงานสง ครู ขอเสนอแนะและการแกไ ข 1. นกั เรยี นท่ีไมผ านการประเมนิ ใหทําใบงานสงตามเวลาที่กาํ หนด 2. ใหนักเรยี นศึกษาเน้ือหาท่ีเรยี นผานสอื่ Powerpoint ทค่ี รูมอบหมายใหศ ึกษาทง้ั ในเฟชบุคและคลาส รมู วิชาสังคมศึกษา 3. ตดิ ตามนักเรยี นท่ีไมเ ขาเรยี น โดยผา นไลนระดับชั้นม.2 แจงครูทีป่ รึกษา และสงขอมลู ใหผ ปู กครอง ลงชื่อ................................................... (นางสาวกีรกาญจน แกว ขอมดี) ครผู สู อน

ความเหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรียนรู .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................... (นางนงเยาว วิกรยั เจรญิ ยงิ่ ) หัวหนา กลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ความคดิ เหน็ ฝา ยวิชาการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ................................................... (นางสาวเพรศิ พศิ คูหามุข) รองผูอํานวยการโรงเรียนฝา ยบริหารวชิ าการ ความคดิ เหน็ ผูอํานวยการโรงเรยี น .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................... (นายนพปฎล มุณีรัตน) ผูอาํ นวยการโรงเรียนคณะราษฎรบาํ รงุ จงั หวดั ยะลา

ใบงาน เรอื่ ง ความรูเบื้องตน เก่ยี วกับเศรษฐศาสตร คําชี้แจง ใหนกั เรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ 1. เศรษฐศาสตร คอื .............................................................................................................................................................................. 2. สาขาของวชิ าเศรษฐศาสตร ไดแก (1)................................................................................................................................................................ (2) .............................................................................................................................................................. 3. การศกึ ษาเศรษฐศาสตรจ ลุ ภาคจะทําใหรเู รื่องราวเก่ยี วกับอะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. การศึกษาเศรษฐศาสตรม หภาคจะทําใหร ูเ ร่ืองราวเกย่ี วกับอะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. การศึกษาเศรษฐศาสตรจลุ ภาคกบั เศรษฐศาสตรม หภาคทําใหไดรบั ความรูแตกตางกนั อยางไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 6. บดิ าแหงวชิ าเศรษฐศาสตร คอื .............................................................................................................................................................................. 7. เปาหมายสําคัญของวชิ าเศรษฐศาสตร มุง เนนใหค วามรูแกผ ูบรโิ ภคเพื่อใหเ กดิ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 8. เปา หมายสาํ คญั ของวชิ าเศรษฐศาสตร มงุ เนน ใหความรูแกผ ูประกอบการผลติ เพ่ือใหเกดิ ผลอยางไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 9. เปา หมายสําคญั ของวิชาเศรษฐศาสตร มงุ เนน ใหความรูแกผบู รหิ ารในองคกรของรัฐเพือ่ ผลสาํ คัญในเร่ืองใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 10. ประโยชนของวิชาเศรษฐศาสตร .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

แบบทดสอบ ความรเู บื้องตนเกย่ี วกับเศรษฐศาสตร คาํ ชแี้ จง ใหน กั เรยี นนําตัวอักษรหนา ขอความดานลา งทก่ี ําหนดใหมาใสใ หต รงความหมายของคําถามดานบน ……..............1. เศรษฐศาสตร หมายถงึ ……..............2. เศรษฐศาสตรจลุ ภาคเปนกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ในระดบั ……..............3. บดิ าของวิชาเศรษฐศาสตรค อื ……..............4. หนงั สอื ทางเศรษฐศาสตรท ่มี ีช่อื เสยี งของ อดัม สมิธ คือ ……..............5. บิดาของวชิ าเศรษฐศาสตรม หภาค คอื ……..............6. เปา หมายสําคัญในการดําเนินกจิ กรรมทางธุรกจิ ของผปู ระกอบการ คอื ……..............7. การผลติ หมายถึง ……..............8. มอื ที่มองไมเห็นคอื อะไร ……...............9. กลไกลราคา ในระบบเศรษฐกิจ หมายถึง ……..............10. กลไกลตลาดในระบบเศรษฐกิจไดแก ก. อดัม สมิธ (Adam Smith) ข. เปนวิชาทศ่ี กึ ษาเกี่ยวกับการจดั สรรทรัพยากรท่ีมอี ยอู ยางจํากดั เพ่ือตอบสนองความตอ งของมนุษย ค. จอหน เมนาวิคเคนส [John Maynardkeynes] ฆ. ตวั กาํ หนดการจดั สรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกจิ ง. เปน กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ในระดบั หนวยทีเ่ กีย่ วกบั พฤตกิ รรมของบุคลและหนว ยธรุ กจิ จ. กําไรสงู สุด ฉ. ตลาด อปุ สงค อุปทาน ราคา ช. ความมง่ั ค่งั ของประชาชาติ [The wealth of Nations] ซ. กลไกราคา/กลไกตลาด ญ. การสรางคุณคา ของสินคา+ บรกิ ารทีส่ ามารถตอบสนองความตองการของมนษุ ย

แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 2 เร่อื ง การออมและการลงทนุ กลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวชิ า สังคมศึกษา รหสั วิชา ส 22103 หนวยการเรียนรูท่ี 1เศรษฐศาสตรเบือ้ งตน และเศรษฐกิจพอเพยี ง ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 2เวลาเรยี น 2ช่ัวโมง ครูผสู อน นางสาวกีรกาญจน แกวขอมดี โรงเรยี นคณะราษฎรบํารงุ จงั หวดั ยะลา สพม.ยะลา มาตรฐานการเรียนรู ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชท รพั ยากรทีม่ ีอยจู าํ กัดไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพและคุมคา รวมทั้งเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือ การดาํ รงชีวิตอยางมีดุลยภาพ ตัวชี้วัด ส 3.1 ม.2/1 วิเคราะหปจ จัยท่ีมีผลตอการลงทนุ และการออม สาระสาํ คญั /ความคิดรวบยอด การออมเปนปจจัยสําคัญตอการลงทุนในประเทศ และเปนพ้ืนฐานของความม่ันคงทางเศรษฐกิจ โดย เรมิ่ จากหนวยยอ ยทสี่ ุดคือครอบครัวไปจนถึงสังคมระดับประเทศ ซึ่งการบริหารจัดการเงินออม ภาคครัวเรือน เปนการใชจา ยของบคุ คลในครอบครัวอยางมีเหตุผลเหมาะสมกับสถานภาพ ปจจัยของการลงทุนและการออม เชน อตั ราดอกเบี้ย คาของเงนิ เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับอนาคต มีผลตอการลงทุนและการออม การนํา เงินออมไปลงทุนในโครงการตาง ๆ ท่ีมีความจําเปนหรือสรางผลตอบแทนท่ีคุมคา จะเปนการชวยสราง เศรษฐกจิ บนพื้นฐานของความพอเพียง จดุ ประสงค/ สาระการเรยี นรู 1. นกั เรียนอธบิ ายความหมายและความสําคัญของการออมและการลงทนุ ตอระบบเศรษฐกจิ ได (K1) 2 นักเรยี นวิเคราะหความสาํ คัญของการออมและการลงทุนทีม่ ตี อ ระบบเศรษฐกจิ ได (P3) 3. นักเรียนเหน็ ความสําคญั ของการออม และการลงทนุ เพื่อนํามาประยุกตใ ชในการดาํ เนนิ ชีวติ ประจาํ วนั (A3) สมรรถนะสาํ คัญ 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการส่ือสาร 3. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต สอื่ /แหลง เรียนรู 1) ส่อื Power point เรอื่ งการออมและการลงทนุ 2) หนงั สอื เรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม. 2 3) แหลงขอมลู สารสนเทศ

ภาระงาน/ ชน้ิ งาน 1) ใบงาน เรอ่ื ง การออมและการลงทุน 2) แบบทดสอบ เรื่อง การออมและการลงทุน 3) ศกึ ษาและสบื คนขอ มูลความหมายและความสาํ คัญของการลงทนุ 4) วเิ คราะหค วามสําคัญของการออมและการลงทุนที่มีตอระบบเศรษฐกิจ การบริหารจัดการเงินออม และการลงทุนภาคครัวเรือน ปจจัยของการลงทุนและการออมและปญหาของการลงทุนและการออมใน สงั คมไทย การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู จดุ ประสงค วิธกี าร เคร่ืองมอื ดา นความรู (K) ตรวจใบงาน - ใบงาน เร่ือง การออมและการลงทนุ ดา นทกั ษะและ ตรวจผลการทาํ กจิ กรรม - แบบทดสอบ เรอื่ ง การออมและการลงทุน กระบวนการ (P) - บญั ชรี ายรับ-รายจาย ดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม สงั เกตพฤติกรรมการทํา - นักเรียนสามารถอธิบายความหมายและความ สําคญั ของการลงทุน รวมทัง้ วิเคราะหค วามสําคัญ และคานยิ ม (A) กจิ กรรม ของการออมตอระบบเศรษฐกิจ การบริหารจดั การเงนิ ออมและการลงทุนภาคครวั เรือน ปจจยั ของการลงทนุ และการออมและปญหาของการลงทนุ และการออม ในสังคมไทย โดยการตอบคาํ ถาม - แบบประเมนิ ผลงานการทาํ งานรายบุคคล - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค การจัดกิจกรรมการเรียนรู (วิธกี ารสอนแบบโมเดลซปิ ปา (CIPPA Model) ขัน้ ท่ี 1 ทบทวนความรเู ดมิ ครเู ขียนคาํ วา การออม (SAVING) และคาํ วา การลงทนุ (INVESTMENT) ใหนกั เรยี นชว ยกนั สบื คน เพ่ือหาความหมาย และใชค ําถามกระตนุ ความคิดวา นกั เรียนรูจักวธิ ีการออมและ การลงทุนอยางไรบาง ข้นั ที่ 2 แสวงหาความรูใ หม ใหนักเรียนศึกษาความรูจาก Power point เร่ือง การออมและการลงทุน หรือศึกษาจากแหลง สารสนเทศ ขนั้ ท่ี 3 ศึกษาทําความเขา ใจขอมลู /ความรใู หม และเช่ือมโยงความรูใหมกับความรเู ดิม ครูใหนักเรียนชวยกันนําเสนอวิธีการออมและการลงทุนตามความเขาใจของตนเอง แลกเปล่ียน ความรูกนั ในชั้นเรยี น แลว รวมกันสรุปความหมาย การออมและการลงทุน

- การออม (SAVING) โดยครูใหนักเรียนชวยกันนําเสนอวิธีการออมตามความเขาใจของตนเอง แลกเปลย่ี นความรูกันในชน้ั เรียน แลวรว มกันสรปุ ความหมาย การออม ดังนี้ การออม คอื การเก็บสะสมเงินทลี ะเลก็ ทีละนอยใหพอกพนู ขึ้นเม่อื เวลาผา นไป ซ่ึงการออมสว นใหญ มักจะอยใู นรปู -ขกอางรเลงนิงทฝนุากคกือับอะธนไราคาร หรอื บริษัทเงินทนุ โดยไดรบั ดอกเบ้ยี เปน ผลตอบแทน - การลงทนุ แบงออกเปน ประเภทใหญ ๆ ก่ีประเภท จากนั้นครแู ละนักเรียนสรปุ เปนความรู รว มกัน เปน แผนภาพบนกระดาน ดงั ตัวอยา ง ความหมาย : การนาํ เงนิ ท่ีเก็บสะสมไปสรางผลตอบแทนท่ีสงู กวา การออม เพือ่ ใหเกดิ การผลิตสนิ คา และบรกิ ารในอนาคตเพิ่มขน้ึ การลงทุนภาครฐั บาล การลงทุน การลงทุนภาคเอกชน  ดา นสาธารณปู โภค เชน ไฟฟา ประปา พลงั งาน ฯลฯ  การลงทนุ เพื่อผลิตสินคา/บริการ  การลงทนุ ทางการเงนิ  ดานการศึกษา - การซื้อทองคาํ  ดา นสาธารณสุข - การฝากเงนิ กบั สถาบันการเงนิ  ดานอตุ สาหกรรม ฯลฯ ขนั้ ที่ 4 แลกเปลี่ยนความรูค วามเขาใจกับกลุม 1. ใหนักเรียนวิเคราะหเปรียบเทียบระหวางการออมและการลงทุน แลวครูสรุปความรู เปน แผนภาพลงในตาราง ดงั นี้ การออม การลงทนุ วัตถุประสงค เปน การสะสมเงินเพื่อใหพอกพูนในระยะส้นั เปน การสะสมเงินใหง อกเงยตอเน่ืองใน เผอ่ื ไวใชจ ายยามฉุกเฉิน ระยะยาว วธิ ีการสะสม เงินฝากธนาคาร และบริษัทเงินทุน ลงทุนในพนั ธบัตร หุน กู หนุ กองทนุ รวม ความเสยี่ ง กองทนุ สว นบคุ คล กองทนุ สํารองเลย้ี งชีพ ผลตอบแทน ความเสย่ี งตา่ํ (เนื่องจากรฐั บาลค้ําประกนั เงนิ ฝากท้งั เงินตนและดอกเบ้ียเต็มจํานวน) มีความเส่ียงมากนอยตามประเภทและ ลกั ษณะของหลักทรัพยทล่ี งทุน ในปจจุบัน ดอกเบ้ยี ถอื วามีความเสี่ยงสงู กวาการฝากเงิน ดอกเบยี้ เงนิ ปน ผล และ/หรอื ผลกาํ ไร หรอื ขาดทนุ จากการลงทุน

ขอไดเปรยี บ มีสภาพคลองสูง ไดรบั ผลตอบแทนในระยะยาวสงู กวา มโี อกาสขาดทนุ จากการลงทนุ ได ขอ เสยี เปรียบ ผลตอบแทนจากดอกเบยี้ เงนิ ฝากต่ํา 2. นกั เรยี นทาํ ใบงาน เรื่อง การออมและการลงทุน เพ่ือเสริมสรางความเขาใจใหมีมากขึ้น ขัน้ ท่ี 5 สรุปและจดั ระเบียบความรู ใหน กั เรียนเห็นถึงความสําคัญของการลงทุนและการออมตอระบบเศรษฐกิจ โดยรว มกนั วิเคราะห และสรปุ ความรูเปนแผนภาพ ดังตวั อยา ง ความสาํ คัญของการออมและการลงทนุ ตอ ระบบเศรษฐกิจ การออม การลงทนุ ลดความเส่ยี งในการดาํ รงชวี ติ ภาคสวนทางเศรษฐกจิ ของประเทศขยายตัว สรา งความมนั่ คงในอนาคต ผลู งทุนและประเทศมรี ายไดเพม่ิ ชวยสงเสริมความมัน่ คงทางเศรษฐกจิ ของประเทศ ประเทศมีเสถียรภาพทางการเงนิ ประเทศมีเสถียรภาพ ความมั่นคงทางการเงนิ เกิดการเพิ่มการจางงานภายในประเทศ เพราะการออมเงินของประชาชน การพัฒนาเศรษฐกิจ มีความตอเนอื่ ง ขนั้ ที่ 6 ปฏิบัตแิ ละ/หรอื แสดงผลงาน นักเรียนทําแบบทดสอบ เรอ่ื ง การออมและการลงทนุ ขั้นที่ 7 ประยุกตใ ชค วามรู ใหนกั เรยี นรวมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใชคาํ ถามทา ทาย ดงั นี้ - นกั เรียนจะจดั การกบั เงินเหลือใชอ ยา งเหมาะสมไดอยา งไร เพื่อใหงอกเงยเพิ่มมากขน้ึ - นกั เรยี นมีวธิ กี ารลงทุนอยางไร ใหค มุ คา ทีส่ ุด ............................................................................ เกณฑการประเมิน เกณฑการประเมินความรูค วามสามารถ (K) 1. ใบงาน เร่ือง การออมและการลงทนุ ดมี าก (4) ดี (3) พอใช ( 2 ) ปรับปรุง ( 1 ) ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ตอบไดตรงประเด็น แต ตอบไมตรงประเด็น ไมมี ชัดเจนครอบคลุมเน้ือหา ชัดเจนครอบคลุมเนื้อหา ยังไมครอบคลุมเน้ือหา ก า ร จั ด ร ะ บ บ ด า น ทง้ั หมด สวนใหญ ทง้ั หมด ความคิด

2. แบบทดสอบ เรอื่ ง การออมและการลงทุน ระดบั ดเี ยยี่ ม คะแนน 8 – 10 คะแนน ดี 5 - 7 คะแนน พอใช 3 - 4 คะแนน ปรับปรงุ นอ ยกวา 2 คะแนน ระดบั เกณฑก ารตดั สินระดบั คุณภาพ ดเี ยยี่ ม 1. ใบงาน เรอ่ื ง การออมและการลงทนุ ดี พอใช คะแนน ระดบั คุณภาพ ปรับปรุง 4 คะแนน ดมี าก 3 คะแนน ดี 2 คะแนน พอใช 1 คะแนน ควรปรับปรุง 2. แบบทดสอบ เรอื่ ง การออมและการลงทุน คะแนน 8 - 10 คะแนน 5 - 7 คะแนน 3 - 4 คะแนน ต่าํ กวา 2 คะแนน **ผานเกณฑร ะดับ ดี

เกณฑการประเมินพฤติกรรม (P) แบบประเมนิ พฤติกรรมการทาํ งานรายบคุ คล คําช้ีแจง : ให ผสู อน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขีด  ลงใน ชองท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ชื่อ-สกลุ ความมีวินัย ความมีนํา้ ใจ การรับฟง การแสดง การตรงตอเวลา รวม ที่ ของผูรับการ เอ้ือเฟอ เสียสละ ความคดิ เหน็ ความคดิ เห็น 20 คะแนน ประเมนิ 432 1 4 3 2 1 4 3214 321432 1 ลงชอื่ ...............................................ผปู ระเมนิ ................ /................ /................ เกณฑก ารใหค ะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอยา งสมาํ่ เสมอ ให 4 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบอยครั้ง ให 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมนอ ยครง้ั ให 1 คะแนน เกณฑก ารตัดสินคณุ ภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุระดับณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช ต่ํากวา 10 ปรับปรงุ

เกณฑการใหประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค (A) คาํ ชแ้ี จง : ใหผปู ระเมนิ ศกึ ษาขอ กําหนดการใหคะแนนในการประเมินผลตามสภาพจริงอยางละเอียดรอบรอบ แลวบันทึกคะแนนใหตรงกับพฤติกรรมตามรายการประเมินท่ีกําหนดโดยการบันทึกในชองท่ีกําหนดให พฤติกรรมการแสดงออกของนักเรยี นกําหนดเปนระดับคา คะแนนไดด ังน้ี ระดับคะแนน 4 มากท่สี ุด, 3 ด,ี 2 พอใช, 1 ปรับปรุง ท่ี ชื่อ-สกุล ความ ความสนใจใฝร ู ความมีวินยั ความซื่อสัตย ความมีระเบียบ รวมคะแนน รบั ผิดชอบ 20คะแนน เกณฑการใหค ะแนน ลงชื่อ...............................................................ผปู ระเมนิ .................../................/................ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา งสม่ําเสมอ ได 4 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบอยครงั้ ได 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ได 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมนอยครงั้ ได 1 คะแนน เกณฑการตัดสนิ คุณภาพ เกณฑ ระดบั คณุ ภาพ 4 ดีมาก ชวงคะแนน 3 ดี 18-20 2 พอใช 14-17 1 ปรบั ปรงุ 10-13 ต่าํ กวา 10

บนั ทกึ หลังสอน ผลการจดั การเรยี นรู ม.2/2 ม.2/4 ม.2/6 ผาน ไมผา น ผาน ไมผาน ผาน ไมผ า น คน % คน % คน % คน % คน % คน % 39 100 - - 1. ดา นความรู 38 100 - - 40 100 - - 39 100 - - - นักเรียนอธิบาย 39 100 - - ความหมายและ ความสําคัญของการออม แ ล ะ ก า ร ล ง ทุ น ต อ ร ะ บ บ เศรษฐกิจได (K1) 2. ดา นทักษะกระบวนการ 38 100 - - 40 100 - - - นักเรียนวิเคราะห ความสําคัญของการออม และการลงทุนท่ีมีตอระบบ เศรษฐกจิ ได 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 38 100 - - 40 100 - - ประสงค - นักเรียนเห็นความสําคัญ ของการออม และการลงทุน เพื่อนํามาประยุกตใชในการ ดําเนนิ ชีวติ ประจาํ วนั (A3)

ผลการจดั การเรยี นรู ม.2/8 ม.2/10 ม.2/12 ผาน ไมผาน คน % คน ผาน ไมผ า น คน % คน % 35 100 - 36 90. 4 10. คน % คน % 35 100 - % 00 00 - 1. ดา นความรู 32 100 - - 35 100 - 36 90. 4 10. - - นักเรียนอธิบาย 00 00 - ความหมายและ 36 90. 4 10. 00 00 ความสําคัญของการออม และการลงทุนตอระบบ เศรษฐกิจได (K1) 2. ดานทกั ษะกระบวนการ 32 100 - - - นักเรียนวิเคราะห ความสําคัญของการออม และการลงทุนท่ีมีตอระบบ เศรษฐกจิ ได 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 32 100 - - ประสงค - นักเรยี นเหน็ ความสําคัญ ของการออม และการลงทุน เพื่อนํามาประยุกตใชในการ ดาํ เนินชวี ติ ประจําวัน (A3) ปญหา/อุปสรรค/แนวทางการแกไข 1.นักเรียนไมสามารถอธิบายความหมายและความสาํ คญั ของการลงทุนและการออมตอ ระบบเศรษฐกจิ ได เน่ืองจากไมเขาเรียน และไมต้งั ใจฟงเนอ้ื หาที่ครูสอน 2. เม่อื ครผู สู อนใหนักเรียนวเิ คราะหค วามสาํ คญั ของการออมและการลงทุนได เน่ืองจากไมต ั้งใจเรยี น ขอ เสนอแนะและการแกไ ข 1. ใหน กั เรยี นทไี่ มผา นการประเมนิ ใหท าํ ใบงานสง ตามเวลาที่กําหนด 2. นักเรียนสามารถศึกษาเนื้อหาท่ีเรียนผานส่ือ Power point ครูผูสอนไดลงไฟลไวในเฟชบุคและ คลาสรมู วิชาสงั คมศกึ ษา ลงช่ือ................................................... (นางสาวกรี กาญจน แกว ขอมดี) ครผู ูส อน

ความเหน็ ของหัวหนากลุมสาระการเรียนรู .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................... (นางนงเยาว วิกรยั เจริญยงิ่ ) หัวหนากลุมสาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ความคดิ เห็นฝา ยวิชาการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ................................................... (นางสาวเพรศิ พศิ คหู ามุข) รองผูอํานวยการโรงเรียนฝา ยบริหารวชิ าการ ความคดิ เห็นผูอํานวยการโรงเรียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................... (นายนพปฎล มุณีรัตน) ผูอํานวยการโรงเรยี นคณะราษฎรบาํ รงุ จงั หวดั ยะลา

ใบงาน เรือ่ ง การออมและการลงทุน 1. การออม คือ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. เปาหมายของการออม (1)................................................................................................................................................................ (2) .............................................................................................................................................................. 3. รายได สง ผลตอการออมอยา งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. สาเหตุท่ีสังคมไทย มีปญหาการออม เพราะเหตุใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. การลงทุน คือ .............................................................................................................................................................................. 6. ประเภทของการลงทนุ (1)................................................................................................................................................................ (2)................................................................................................................................................................ 7. รฐั บาลสามารถทาํ อยา งไรไดบางทีจ่ ะจูงใจใหน กั ลงทนุ มาลงทนุ ในประเทศไทย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 8. ปจ จบุ นั การลงทนุ สามารถทาํ ไดใ นรปู แบบใดไดบา ง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 9. การบรหิ ารจัดการเงนิ ออมภาคครวั เรือน (1)................................................................................................................................................................ (2) .............................................................................................................................................................. (3) .............................................................................................................................................................. 10. การบริหารจัดการการลงทุนในภาคครัวเรอื น (1)................................................................................................................................................................ (2) .............................................................................................................................................................. (3) ..............................................................................................................................................................

คําช้แี จง ใหนกั เรยี นอา นขอความที่กาํ หนดใหแลว จําแนกวา สัมพันธกบั “การออมทรัพย” หรอื “การลงทนุ ” โดยเขยี นเตมิ ลงในชอ งวา งใหถูกตอง การออมทรพั ย การลงทุน 1. สุชาติมีรายไดเ หลอื จากการใชจา ยเปน ประจาํ ทุกเดอื น ............................................. 2. พอใจนําเงนิ ท่เี กบ็ สะสมไวไ ปซือ้ พันธบัตรรฐั บาล ............................................ 3. ปกรัฐมีเงนิ รายไดจ ากการทํางานเดือนละ 25,000 บาท และมีรายจายใน ชวี ติ ประจาํ วันเดอื นละ 10,000 บาท ............................................. 4. สุชาติใชเ วลาวางหลังเลิกเรยี นในการหารายไดพิเศษ .............................................. 5.อรใชทรัพยส ินและเงนิ ทองอยางประหยดั เพื่อลดคาใชจายทไ่ี มจ ําเปน ............................................. 6. ยอดเรียนจบชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 6 มเี งนิ เรียนตอโดยไมตองรบกวนพอแม ............................................. 7. ชยั มีเงนิ หยอดกระปุกวนั ละ 20 บาท หลังจากใชจา ยที่โรงเรยี น ............................................. 8. เอกฝากเงินกบั ธนาคารพาณิชยทกุ เดือน ............................................. 9. ลุงศกั ดิส์ ะสมเงินไวใ ชจ ายในยามชรา ............................................ 10. การนํารายไดส วนท่ีไมไดใ ชจ ายในปจจุบนั เกบ็ ไวเ พ่อื การใชจายในอนาคต ............................................ 11. เปนปจจยั สาํ คญั ตอการลงทนุ ในประเทศ ............................................ 12. ชว ยลดการพ่ึงพาเงินทุนจากตา งประเทศ ............................................ 13. เอื้อนําเงินทเี่ หลอื จากการใชจ า ยในแตล ะเดือนไปลงทุนผลิตสนิ คา ............................................ 14. สมชายรบั ซือ้ เส้อื ผาที่ไมใชแ ลวจากเพอื่ นรว มงานแลว นาํ ไปขายทีต่ ลาดนดั ............................................. 15. ปุมรว มหนุ กบั เพ่ือนๆ ทอดลูกชิน้ ขายหลงั เลิกเรยี น ............................................. 16. ณรงคซ้ือพนั ธบัตรรฐั บาล หนุ กู กองทุนสํารองเลย้ี งชีพ ทองคาํ ............................................. 17. ปาสมปองวางแผนการสะสมเงินใหเ พิ่มพนู ตอเนื่องในระยะยาว ............................................. 18. แกว ตาเปด รา นขายของที่ระลกึ เปน สนิ คาที่หายาก รูปแบบแปลกตาไมซ้ําใคร ซึง่ เธอจะซ้ือสะสมไวจากการท่เี ดนิ ทางทอ งเทย่ี วทัง้ ในและตา งประเทศ ............................................. 19. การใชจา ยเพื่อใหเ กดิ การผลติ สนิ คาและบริการในอนาคตเพิ่มข้ึน ............................................ 20. ชว ยเพมิ่ อัตราการจางงาน สง ผลใหเ ศรษฐกจิ ของประเทศขยายตัว .............................................

แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 เรอ่ื ง ปจ จยั ของการออมและการลงทนุ กลุม สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวชิ า สังคมศึกษา รหัสวิชา ส 22103 หนว ยการเรียนรทู ่ี 1เศรษฐศาสตรเ บอ้ื งตนและเศรษฐกจิ พอเพยี ง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2เวลาเรียน 2ชัว่ โมง ครผู ูส อน นางสาวกรี กาญจน แกว ขอมดี โรงเรียนคณะราษฎรบํารุง จงั หวดั ยะลา สพม.ยะลา มาตรฐานการเรียนรู ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชท รัพยากรที่มอี ยูจํากัดไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพและคมุ คา รวมทั้งเขา ใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ การดํารงชวี ติ อยา งมีดุลยภาพ ตัวช้วี ัด ส 3.1 ม.2/1 วเิ คราะหป จ จัยท่ีมีผลตอ การลงทุนและการออม สาระสาํ คัญ/ความคิดรวบยอด ปจจัยที่สงผลตอการลงทุนและการออมประกอบดวย อัตราดอกเบ้ีย คาของเงิน เทคโนโลยี การคาด เดาเกี่ยวกับอนาคต และขนาดของรายได จุดประสงค/ สาระการเรียนรู 1. นักเรียนอธิบายปจจยั ของการออมและการลงทนุ ได (K1) 2 นกั เรียนศึกษา วเิ คราะห จาํ แนกปจจัยของการออมและการลงทนุ ได (P4) 3. นกั เรยี นเห็นความสาํ คญั ของการศกึ ษาเรยี นรู ปจจยั ที่สงผลของการออมและการลงทนุ เพ่ือนาํ มา ประยกุ ตใชใ นการใชช วี ิตประจาํ วัน (A3) สมรรถนะสาํ คัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต สอ่ื /แหลง เรยี นรู 1) ส่อื Power point เรื่อง ปจ จัยของการออมและการลงทุน 2) หนังสอื เรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม. 2 3) แหลงขอ มลู สารสนเทศ ภาระงาน/ ชน้ิ งาน 1) ใบงาน เรอื่ ง ปจ จยั ของการออมและการลงทนุ 2) ศึกษาและสืบคนขอมลู ปจ จัยของการออมและการลงทุน

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู จุดประสงค วธิ กี าร เครอ่ื งมอื ดานความรู (K) ตรวจใบงาน - ใบงาน เรอ่ื ง ปจ จยั ของการออมและการลงทนุ ดา นทกั ษะและ ตรวจผลการทาํ กจิ กรรม กระบวนการ (P) - นักเรยี นสามารถตอบคําถามและอธิบายปจจัยของ สังเกตพฤติกรรมการทํา ออมและการลงทนุ ดานคณุ ธรรม จริยธรรม กจิ กรรม - แบบประเมนิ ผลงานการทาํ งานรายบุคคล และคา นิยม (A) - แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม - แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค การจดั กจิ กรรมการเรียนรู (วธิ กี ารสอนแบบโมเดลซิปปา (CIPPA Model) ข้ันที่ 1 ทบทวนความรูเ ดมิ ครูเขียนแถบขอ ความบนกระดานใหนักเรยี นรวมกันศกึ ษา ดงั นี้ อตั ราดอกเบี้ย คา ของเงนิ เทคโนโลยี การคาดเดาเก่ียวกบั อนาคต ในประเด็นคําถามเก่ียวกับขอ ความทใ่ี หไปศึกษาขางตน - ความหมายของอัตราดอกเบ้ีย คา ของเงนิ เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับอนาคต - ความสําคญั ของอตั ราดอกเบีย้ คาของเงนิ เทคโนโลยี การคาดเดาเก่ยี วกับอนาคต ขั้นที่ 2 แสวงหาความรูใหม นักเรียนศึกษาจากส่ือ Power point เร่ือง ปจจัยของการออมและการลงทุน และใหนักเรียน แสวงหาความรูจากสารสนเทศตางๆ เชน ศึกษาจากYoutube หอ งสมุดออนไลน เปน ตน ขั้นท่ี 3 ศึกษาทาํ ความเขาใจขอ มลู /ความรูใหม และเช่อื มโยงความรใู หมก ับความรูเ ดิม 1. นักเรียนแบงกลุมออกเปน 5 กลุม ศึกษาความรูปจจัยของการลงทุนและการออมตามแถบ ขอความ ใหนักเรียนศึกษาสืบคนวิเคราะหขอมูลวา แตละปจจัยมีผลตอการลงทุน และการออม อยางไร สรุป เปนความรูออกนําเสนอแลกเปลย่ี นประสบการณเ รยี นรูหนาชน้ั เรียน 2. นักเรยี นทาํ ใบงาน เรื่อง ปจ จัยของการออมและการลงทนุ ขน้ั ท่ี 4 แลกเปล่ียนความรคู วามเขาใจกบั กลุม 1. นกั เรียนนําเสนอผลงานหนาชน้ั เรยี นในเรื่องท่ีใหไปศึกษา แลกเปลย่ี นขอเสนอแนะระหวางกนั 2. เฉลยใบงาน เรอื่ ง ปจจยั ของการออมและการลงทุน ข้ันท่ี 5 สรุปและจัดระเบียบความรู จบการนําเสนอของทุกกลมุ ครแู ละนักเรียนรวมกนั สรุปความรู อธิบายเปน แผนภาพบรู ณาการบน กระดาน

อัตราดอกเบีย้ คา ของเงนิ  อัตราดอกเบยี้ ลดลง การออมลดลง  ภาวะเงินเฟอ ปรับตัวสูง การออมลด  อัตราดอกเบย้ี สูง การออมเพิ่ม  ภาวะเงนิ มีเสถยี รภาพ การออมเพิ่ม เทคโนโลยี ปจจยั ของ การคาดเดาเก่ยี วกับอนาคต การอมมและ  เทคโนโลยีทีท่ นั สมยั  การคาดเดาภาวะเศรษฐกิจ ทําใหปริมาณการออมและ การลงทุน ในอนาคตมีผลตอการเพม่ิ และ การลงทุนเพมิ่ ลดการออมและการลงทนุ ขนาดของรายได  ถา คาดวา จะเกิดภาวะเศรษฐกจิ ตกตา่ํ ในอนาคตอาจจะมีการ ลดการลงทุนและเพ่ิมการออม ในปจจบุ นั  รายไดภ าคครัวเรือนเพิ่ม การออมและการลงทุนจะสงู เพิ่มข้ึน  รายไดภ าคครัวเรอื นลด การออมและการลงทุนจะลดลงตาม ขั้นท่ี 6 ปฏบิ ตั แิ ละ/หรอื แสดงผลงาน นักเรียนรวมกันสรุปความรู ดังนี้ - ปจ จัยที่สงผลตอการลงทุนและการออมประกอบดวย อัตราดอกเบีย้ คา ของเงนิ เทคโนโลยี การ คาดเดาเกี่ยวกบั อนาคต และขนาดของรายได ขนั้ ท่ี 7 ประยุกตใชความรู ครูมอบนักเรียนแตละคนสืบคนความรูเพิ่มเติมจากสิ่งท่ีนักเรียนไดเรียนรูมาเพื่อตอยอดความรูของ ตนเอง และนาํ เอาปจจัยทส่ี ง ผลตอการลงทุนและการออมไปประยกุ ตใชใ นชีวิตประจําวนั ............................................................................

เกณฑการประเมนิ เกณฑการประเมนิ ความรคู วามสามารถ (K) 1. ใบงาน เรื่อง ปจจัยการออมและการลงทนุ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช ( 2 ) ปรับปรงุ ( 1 ) ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ตอบไดตรงประเด็น แต ตอบไมตรงประเด็น ไมมี ชัดเจนครอบคลุมเนื้อหา ชัดเจนครอบคลุมเน้ือหา ยังไมครอบคลุมเนื้อหา ก า ร จั ด ร ะ บ บ ด า น ทง้ั หมด สว นใหญ ท้ังหมด ความคิด เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพ 1. ใบงาน เรอื่ ง ปจ จัยการออมและการลงทุน คะแนน ระดบั คณุ ภาพ 4 คะแนน ดีมาก 3 คะแนน ดี 2 คะแนน พอใช 1 คะแนน ควรปรับปรงุ **ผานเกณฑร ะดับ ดี

เกณฑการประเมินพฤติกรรม (P) แบบประเมนิ พฤติกรรมการทาํ งานรายบคุ คล คําช้ีแจง : ให ผสู อน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขีด  ลงใน ชองท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ชื่อ-สกลุ ความมีวินัย ความมีนํา้ ใจ การรับฟง การแสดง การตรงตอเวลา รวม ที่ ของผูรับการ เอ้ือเฟอ เสียสละ ความคดิ เหน็ ความคดิ เห็น 20 คะแนน ประเมนิ 432 1 4 3 2 1 4 3214 321432 1 ลงชอื่ ...............................................ผปู ระเมนิ ................ /................ /................ เกณฑก ารใหค ะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอยา งสมาํ่ เสมอ ให 4 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบอยครั้ง ให 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมนอ ยครง้ั ให 1 คะแนน เกณฑก ารตัดสินคณุ ภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุระดับณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช ต่ํากวา 10 ปรับปรงุ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุม คําชี้แจง : ให ผสู อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขีด  ลงใน ชอ งท่ีตรงกับระดับคะแนน การแกไข ชือ่ -สกลุ ความ การแสดงความ การรับฟง ความตงั้ ใจ ปญ หา/หรือ รวม 20 รวมมือกัน คดิ เห็น ความคดิ เหน็ ทํางาน ปรบั ปรุง คะแนน ท่ี ของผรู ับการ ทาํ กจิ กรรม ผลงานกลมุ ประเมนิ 432 1 4 3 2 1 4 3214 321432 1 ลงชื่อ............................................ผูประเมนิ ................ /................ /................ เกณฑการใหค ะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยางสม่าํ เสมอ ให 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบอยครง้ั ให 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให 2 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมนอ ยคร้ัง ให 1 คะแนน เกณฑก ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุระดบั ณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช ตา่ํ กวา 10 ปรับปรุง

เกณฑการใหประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค (A) คาํ ชแ้ี จง : ใหผปู ระเมนิ ศกึ ษาขอ กําหนดการใหคะแนนในการประเมินผลตามสภาพจริงอยางละเอียดรอบรอบ แลวบันทึกคะแนนใหตรงกับพฤติกรรมตามรายการประเมินท่ีกําหนดโดยการบันทึกในชองท่ีกําหนดให พฤติกรรมการแสดงออกของนักเรยี นกําหนดเปนระดับคา คะแนนไดด ังน้ี ระดับคะแนน 4 มากท่สี ุด, 3 ด,ี 2 พอใช, 1 ปรับปรุง ท่ี ชื่อ-สกุล ความ ความสนใจใฝร ู ความมีวินยั ความซื่อสัตย ความมีระเบียบ รวมคะแนน รบั ผิดชอบ 20คะแนน เกณฑการใหค ะแนน ลงชื่อ...............................................................ผปู ระเมนิ .................../................/................ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา งสม่ําเสมอ ได 4 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบอยครงั้ ได 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ได 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมนอยครงั้ ได 1 คะแนน เกณฑการตัดสนิ คุณภาพ เกณฑ ระดบั คณุ ภาพ 4 ดีมาก ชวงคะแนน 3 ดี 18-20 2 พอใช 14-17 1 ปรบั ปรงุ 10-13 ต่าํ กวา 10

บนั ทึกหลังสอน ผลการจดั การเรยี นรู ม.2/2 ม.2/4 ม.2/6 ผาน ไมผาน ผา น ไมผา น ผาน ไมผ า น คน % คน % คน % คน % คน % คน % 33 84. 6 15. 1. ดานความรู 36 94. 2 5.26 36 90.00 4 10. 62 38 - นักเรียนอธิบายปจจัย 74 00 33 84. 6 15. 62 38 ของการออมและการลงทุน 33 84. 6 15. ได (K1) 62 38 2. ดา นทักษะกระบวนการ 36 94. 2 5.26 36 90.00 4 10. - นักเรียนศึกษา 74 00 วิเคราะห จาํ แนกปจจัยของ การออมและการลงทุนได (P4) 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 36 94. 2 5.26 36 90.00 4 10. ประสงค - นักเรียนเห็นความสําคัญ 74 00 ของการศกึ ษาเรียนรู ปจจัยท่ี สงผลของการออมและการ ลงทุนเพื่อนํามาประยุกตใช ในการใชช วี ิตประจาํ วนั (A3)

ผลการจัดการเรียนรู ม.2/8 ม.2/10 ม.2/12 ผา น ไมผาน ผาน ไมผา น คน % คน % คน % คน % คน % คน % 1. ดา นความรู 31 96. 1 3.13 26 65. 14 35. 34 97. 1 2.86 - นกั เรยี นอธบิ ายปจ จัย 88 00 00 14 ของการออมและการ ลงทนุ ได (K1) 2. ดานทกั ษะกระบวนการ 31 96. 1 3.13 26 65. 14 35. 34 97. 1 2.86 - นกั เรยี นศกึ ษา 88 00 00 14 วิเคราะห จาํ แนกปจจัย ของการออมและการ ลงทุนได (P4) 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 31 96. 1 3.13 26 65. 14 35. 34 97. 1 2.86 ประสงค - นักเรยี นเห็นความสาํ คัญ 88 00 00 14 ของการศึกษาเรียนรู ปจจัย ที่สงผลของการออมและการ ลงทุนเพอ่ื นาํ มา ป ร ะ ยุ ก ต ใ ช ใ น ก า ร ใ ช ชวี ติ ประจําวัน (A3) ปญหา/อุปสรรค/แนวทางการแกไข 1.นกั เรยี นบางคนไมเขารว มกิจกรรมแลกเปลีย่ นความรู และนาํ เสนอโดยการอธิบายปจ จยั ของการออม และการลงทนุ ท่คี รูมอบหมาย เน่อื งจากนักเรยี นไมเ ขา เรยี นและไมรว มกิจกรรม 2.ทําใหนักเรียนไมสามารถวิเคราะห จําแนกปจจัยของการออมและการลงทุน ทําการสืบคนหาคําตอบ ดวยตนเอง จงึ ไมมีงานสง ครู ขอเสนอแนะและการแกไข 1. นักเรยี นที่ไมผา นการประเมนิ ใหทําใบงานสงตามเวลาทกี่ าํ หนด 2. นักเรยี นไมผ า นการเขารว มกิจกรรมในการนําเสนอขอมลู ผา นกระบวนการกลุม 3. ใหนักเรยี นศกึ ษาเนื้อหาที่เรยี นผานสอ่ื Powerpoint ทคี่ รูมอบหมายใหศึกษาทงั้ ในเฟชบุคและคลาส รมู วิชาสังคมศกึ ษา ลงช่อื ................................................... (นางสาวกรี กาญจน แกวขอมดี) ครูผสู อน

ความเห็นของหัวหนากลุมสาระการเรียนรู .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................... (นางนงเยาว วกิ รัยเจรญิ ยงิ่ ) หวั หนากลมุ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ความคิดเหน็ ฝา ยวชิ าการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ................................................... (นางสาวเพรศิ พศิ คหู ามุข) รองผอู ํานวยการโรงเรยี นฝา ยบริหารวชิ าการ ความคิดเห็นผูอํานวยการโรงเรียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ................................................... (นายนพปฎล มณุ ีรัตน) ผูอาํ นวยการโรงเรียนคณะราษฎรบํารุง จงั หวัดยะลา

ใบงาน เรอื่ ง ปจ จยั การออมและการลงทุน ตอนที่ 1 คาํ ชแี้ จง ใหนกั เรียนตอบคาํ ถามตอไปน้ี 1. ปจ จัยของการออม .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ปจ จยั ของการลงทนุ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. ปจ จัยที่มีผลตอ การลงทุนและการออมในสงั คมไทย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4.นกั เรยี นมีเปาหมายของการออมทีเ่ กีย่ วกบั ความตองการในอนาคตเกีย่ วกบั เร่ืองใดบา ง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ตอนท่ี 2 คําช้แี จง ใหน กั เรียนวเิ คราะหปจจยั ของการออมเงนิ ในกรณีศกึ ษาตอไปนี้ กรณศี ึกษาท่ี 1 ผูจ ัดการบริษัทแหงหน่งึ มีเงินเดือน เดอื นละ 50,000 บาท เม่อื หกั คาใชจ ายตา งๆ ท่จี ําเปนแลวสามารถ นําเงนิ ฝากธนาคารได เดือนละ 10,000 บาท แตล กู จางประจาํ ของบริษัทมีเงินเดือนเดือนละ 8,000 บาท เมอื่ หกั คาใชจา ยแลว สามารถนาํ เงินฝากธนาคาร เดือนละ 2,000 บาท .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. กรณีศึกษาที่ 2 ศุภโชคเก็บเงินออมฝากธนาคารทุกเดือน เดือนละ 10,000 บาท แตเขาตองการซ้ือรถจักรยานยนตคัน หนึง่ ซงึ่ ราคา 120,000 บาท เขาคาดวา กวา เขาจะเก็บเงินไดตามราคาของรถจกั รยานยนตใ น 2 ป ขา งหนา ราคาของรถจักรยานยนตอาจจะแพงขึ้นเปน ราคา 150,000 บาท ดงั นั้นเขาจึงตดั สินใจวา สนิ้ ปน ้เี ขาจะนาํ เงินมาซอ้ื รถจกั รยานยนต จะหยดุ การออมเงินชว่ั คราว .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 4 เรื่อง ปญหาของการลงทนุ และการออมในสังคมไทย กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวิชา สังคมศกึ ษา รหัสวิชา ส 22103 หนวยการเรยี นรทู ี่ 1เศรษฐศาสตรเบอ้ื งตนและเศรษฐกิจพอเพยี ง ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2เวลาเรียน 2ชั่วโมง ครูผูสอน นางสาวกีรกาญจน แกวขอมดี โรงเรียนคณะราษฎรบํารุง จังหวัดยะลา สพม. ยะลา มาตรฐานการเรียนรู ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช ทรัพยากรท่ีมีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมทั้งเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการ ดาํ รงชีวติ อยา งมดี ุลยภาพ ตวั ชีว้ ดั ส 3.1 ม.2/1 วิเคราะหป จจยั ทมี่ ีผลตอการลงทุนและการออม สาระสําคญั /ความคิดรวบยอด ปญหาของการลงทุนและการออมในสังคมไทย เกิดจากอัตราการออมที่ตํ่ากวาการลงทุน โดยพ่ึงพา เงินทุนจากตางชาติในปริมาณท่ีมาก ซึ่งเส่ียงตอการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด และการยายฐานการลงทุนไปยัง ประเทศอน่ื จุดประสงค/สาระการเรียนรู 1. นักเรียนอธิบายปญ หาของการลงทนุ และการออมในสงั คมไทยได (K2) 2. นกั เรียนศกึ ษาวิเคราะหป ญหาและอุปสรรคของการออมและการลงทนุ ได (P3) 3. นักเรียนสนใจศึกษาเรียนรู และรูจักวิเคราะหปญหาที่มีผลตอการออมและการลงทุน เพ่ือแกปญหา ในการดาํ เนินชีวติ ประจําวนั (A3) สมรรถนะสาํ คัญ 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการส่ือสาร 3. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ สอื่ /แหลงเรียนรู 1) สอ่ื Power point เรอ่ื ง ปญ หาของการลงทนุ และการออมในสังคมไทย 2) หนงั สอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ม. 2 3) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาตฉิ บับที่ 12 4) แหลงขอมูลสารสนเทศ ภาระงาน/ ช้นิ งาน 1) ใบงาน เร่ือง ปญหาของการลงทุนและการออมในสังคมไทย 2) ศกึ ษาและสืบคนขอมูลปญ หาของการลงทุนและการออมในสังคมไทย

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู จุดประสงค วิธีการ เครือ่ งมือ ดานความรู (K) ตรวจใบงาน - ใบงาน เร่ือง ปญหาของการลงทนุ และการออมใน สงั คมไทย ดา นทกั ษะและ ตรวจผลการทํากจิ กรรม - นักเรียนวเิ คราะหปญหาและอุปสรรคของการออมแ กระบวนการ (P) การลงทนุ โดยการตอบคําถาม สังเกตพฤตกิ รรมการทํา - แบบประเมนิ ผลงานการทํางานรายบคุ คล ดานคุณธรรม จริยธรรม กจิ กรรม - แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค และคานยิ ม (A) การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู (วิธีการสอนแบบโมเดลซปิ ปา (CIPPA Model) ขั้นท่ี 1 ทบทวนความรูเดมิ ครูนําขาวทางดานเศรษฐกิจที่เก่ียวกับการลงทุนภายในประเทศ หรือภาวะการเงินการคลังของ รฐั บาลจากหนงั สอื พิมพมาอา นใหน ักเรยี นฟง เพื่อกระตุนการเรียนรู นาํ เขาสูกิจกรรมของบทเรียน ขนั้ ท่ี 2 แสวงหาความรใู หม นักเรียนศึกษาขอมูลเพ่ิมเติมจาก Power Point เรื่อง ปญหาของการลงทุนและการออมใน สังคมไทย ครแู นะนําใหน ักเรียนศกึ ษาเพิ่มเตมิ จากแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาตฉิ บับที่ 12 ข้นั ท่ี 3 ศกึ ษาทําความเขา ใจขอ มลู /ความรใู หม และเช่อื มโยงความรูใหมกับความรูเดิม ครูและนักเรียนชวยกันสรุปปญหาการลงทุน และการออมในประเทศไทยที่ระบุเอาไวในแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติฉบับที่ 12 เขียนเปนแผนภาพบนกระดาน ใหนกั เรียนศึกษารวมกัน ดงั น้ี ปญหาการลงทนุ และการออมในประเทศไทย  การออมของประชาชนในประเทศต่ํากวาการลงทุน  การพึ่งพงิ เงินทุนจากตางชาติ  การกูยืมเงนิ จากตางประเทศของภาครัฐ  การเขามาลงทุนในตลาดหลกั ทรัพยของตา งชาติ ผลกระทบ อัตราดอกเบี้ยปรับตัวสูงขึ้น ทําใหตน ทุนสงู ข้ึน เสี่ยงตอ การขาดดลุ บญั ชีเดนิ สะพัด เสยี่ งตอการเคลื่อนยา ยเงินทุนออกนอกประเทศ การไหลเขาของเงนิ ทุนจากตา งชาตใิ นปรมิ าณมาก ทําใหเกิดการแข็งตวั ของคาเงินกระทบตอ การสง ออก

ขน้ั ท่ี 4 แลกเปล่ียนความรคู วามเขาใจกบั กลุม 1. ใหนักเรียนชวยกันวิเคราะหถึงสภาพปญหา และแนวทางการแกไข โดยใหนักเรียนศึกษา แนว ทางการลงทุน การสงเสริมการออม และเพิ่มทางเลือกในการระดมทุนในประเทศ แลวใหนักเรียนรวมกันสืบคน ขอ มูลเกย่ี วกบั นโยบายของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติฉบับท่ี 12 วากําหนดแนวทางในเรื่องนี้เอาไว อยางไรบา ง สรุปความรูนาํ เสนอ แลกเปล่ยี นความรกู นั ในชัน้ เรยี น 2. นักเรยี นทาํ ใบงาน เร่ือง ปญ หาของการลงทนุ และการออมในสังคมไทย ขน้ั ที่ 5 สรุปและจดั ระเบียบความรู 1. ครใู หผ แู ทนนกั เรียนออกนาํ เสนอผลการศึกษาหนา ช้นั เรยี น 2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรู แนวนโยบายการออมและการลงทุนของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาตฉิ บับที่ 12 เขียนเปนแผนภาพอธบิ ายบนกระดาน ดงั ตัวอยาง แนวทางการลงทนุ การสง เสริมการออม และการเพ่ิมทางเลือกในการระดม ทนุ ในประเทศตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติฉบับท่ี 12 1. สงเสริมการออมท้ังในภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ และภาครัฐ เพื่อใหการออม รวมของประเทศมีพอเพียงเพ่อื การลงทนุ ของประเทศ 2. พฒั นาระบบการออมตาง ๆ เชน การออมภาคบังคบั โดยการจัดตัง้ กองทนุ บําเหนจ็ บํานาญแหง ชาตแิ ละพัฒนากองทุนการออมเพ่ือการชราภาพสําหรบั แรงงานของประเทศท้งั หมด 3. สง เสริมระบบสหกรณและพฒั นาองคก รการเงินเพื่อเปน ทางเลือกในการออม ของประชาชน วตั ถุประสงคแ ละเปา หมาย • ลดการพึ่งพงิ เงินทนุ ตา งประเทศ • สรา งคา นยิ มการออมใหแ กประชาชน • ปลูกฝง นิสัยรักการออมแกประชาชน • เพมิ่ รายไดล ดรายจา ยโดยนําเงนิ ไปลงทนุ ในโครงการที่ใหผลตอบแทนท่ีคมุ คา • สรา งเศรษฐกจิ ชาตบิ นความพอเพียง

ขั้นท่ี 6 ปฏิบัตแิ ละ/หรอื แสดงผลงาน นักเรียนรว มกันสรุปความรู ดงั น้ี - ปญหาของการลงทุนและการออมในสังคมไทย เกิดจากอัตราการออมที่ตํ่ากวา การลงทุน โดยพ่ึงพาเงินทุนจากตางชาติในปริมาณที่มาก ซ่ึงเสี่ยงตอการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด และการยายฐานการ ลงทุนไปยังประเทศอน่ื ขั้นที่ 7 ประยุกตใชค วามรู ครมู อบนักเรยี นแตละคนสืบคนความรูเพิ่มเติมจากสง่ิ ท่นี ักเรียนไดเรียนรมู าเพอื่ ตอยอดความรูข อง ตนเอง แลกเปลีย่ นความรูแ ละประสบการณซงึ่ กันและกัน ............................................................................ เกณฑก ารประเมนิ เกณฑการประเมินความรูความสามารถ (K) 1. ใบงาน เร่ือง ปญหาของการลงทนุ และการออมในสงั คมไทย ดมี าก (4) ดี (3) พอใช ( 2 ) ปรับปรงุ ( 1 ) ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ตอบไดตรงประเด็น แต ตอบไมตรงประเด็น ไมมี ชัดเจนครอบคลุมเนื้อหา ชัดเจนครอบคลุมเนื้อหา ยังไมครอบคลุมเนื้อหา ก า ร จั ด ร ะ บ บ ด า น ท้ังหมด สวนใหญ ท้งั หมด ความคิด เกณฑก ารตัดสินระดับคณุ ภาพ 1. ใบงาน เรอื่ ง การออมและการลงทนุ คะแนน ระดบั คุณภาพ 4 คะแนน ดีมาก 3 คะแนน ดี 2 คะแนน พอใช 1 คะแนน ควรปรับปรุง **ผา นเกณฑระดับ ดี

เกณฑการประเมินพฤติกรรม (P) แบบประเมนิ พฤติกรรมการทาํ งานรายบคุ คล คําช้ีแจง : ให ผสู อน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขีด  ลงใน ชองท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ชื่อ-สกลุ ความมีวินัย ความมีนํา้ ใจ การรับฟง การแสดง การตรงตอเวลา รวม ที่ ของผูรับการ เอ้ือเฟอ เสียสละ ความคดิ เหน็ ความคดิ เห็น 20 คะแนน ประเมนิ 432 1 4 3 2 1 4 3214 321432 1 ลงชอื่ ...............................................ผปู ระเมนิ ................ /................ /................ เกณฑก ารใหค ะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอยา งสมาํ่ เสมอ ให 4 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบอยครั้ง ให 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมนอ ยครง้ั ให 1 คะแนน เกณฑก ารตัดสินคณุ ภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุระดับณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช ต่ํากวา 10 ปรับปรงุ

เกณฑการใหป ระเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค (A) คาํ ชแ้ี จง : ใหผปู ระเมินศกึ ษาขอ กาํ หนดการใหคะแนนในการประเมินผลตามสภาพจริงอยางละเอียดรอบรอบ แลวบันทึกคะแนนใหตรงกับพฤติกรรมตามรายการประเมินท่ีกําหนดโดยการบันทึกในชองท่ีกําหนดให พฤติกรรมการแสดงออกของนกั เรียนกําหนดเปนระดับคา คะแนนไดด ังน้ี ระดับคะแนน 4 มากทีส่ ดุ , 3 ด,ี 2 พอใช, 1 ปรับปรุง ท่ี ชื่อ-สกุล ความ ความสนใจใฝร ู ความมีวินยั ความซื่อสัตย ความมีระเบียบ รวมคะแนน รับผิดชอบ 20คะแนน เกณฑการใหค ะแนน ลงชื่อ...............................................................ผปู ระเมนิ .................../................/................ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา งสม่ําเสมอ ได 4 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอยครงั้ ได 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ได 2 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมนอยครงั้ ได 1 คะแนน เกณฑการตัดสินคุณภาพ เกณฑ ระดบั คณุ ภาพ 4 ดีมาก ชวงคะแนน 3 ดี 18-20 2 พอใช 14-17 1 ปรบั ปรงุ 10-13 ต่าํ กวา 10

บันทกึ หลังสอน ผลการจัดการเรียนรู ม.2/2 ม.2/4 ม.2/6 ผา น ไมผ า น ผาน ไมผ าน ผา น ไมผาน คน % คน % คน % คน % คน % คน % 36 92. 3 7.69 1. ดา นความรู 38 100 - - 38 95.00 2 5.00 31 - นักเรียนอธิบายปญหา 36 92. 3 7.69 31 ของการลงทนุ และการออม 36 92. 3 7.69 ในสังคมไทยได (K2) 31 2. ดา นทักษะกระบวนการ 38 100 - - 38 95.00 2 5.00 - นักเรียนศึกษา วิ เ ค ร า ะ ห ป ญ ห า แ ล ะ อุปสรรคของการออมและ การลงทุนได (P3) 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 38 100 - - 38 95.00 2 5.00 ประสงค - นักเรียน สนใจศึกษ า เรียนรู และรูจักวิเคราะห ปญหาท่ีมีผลตอการออมและ การลงทุน เพื่อแกปญหาใน การดําเนินชีวิตประจําวัน (A3)

ผลการจดั การเรยี นรู ม.2/8 ม.2/10 ม.2/12 ผาน ไมผา น คน % คน ผาน ไมผาน คน % คน % 35 100 - 35 87. 5 12. คน % คน % 35 100 - % 50 50 - 1. ดา นความรู 32 100 - - 35 100 - 35 87. 5 12. - - นกั เรยี นอธิบาย 50 50 - ปญหาของการลงทุนและ 35 87. 5 12. 50 50 การออมในสังคมไทยได (K2) 2. ดานทักษะกระบวนการ 32 100 - - - นักเรียนศึกษา วิ เ ค ร า ะ ห ป ญ ห า แ ล ะ อุปสรรคของการออมและ การลงทุนได (P3) 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 32 100 - - ประสงค - นักเรียนสนใจศึกษา เรียนรู และรูจักวิเคราะห ปญหาท่ีมีผลตอการออม แ ล ะ ก า ร ล ง ทุ น เ พื่ อ แกปญหาในการดําเนิน ชีวิตประจาํ วนั (A3) ปญ หา/อุปสรรค/แนวทางการแกไข 1.นักเรยี นบางคนเขา เรียนชากวากําหนดเวลาเรียน ทําใหข ยายเวลาในการจดั การเรียนรเู พ่มิ ขึ้น ขอเสนอแนะและการแกไ ข 1. นกั เรียนที่ไมผ า นการประเมินใหทาํ ใบงานสงตามเวลาที่กําหนด 2. เนนยาํ้ ทบทวนการเรยี นการสอนอกี คร้ังเพ่ือความเขา ใจอยา งกระจา งแจง ลงชื่อ................................................... (นางสาวกีรกาญจน แกว ขอมดี) ครูผูสอน