Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการ-กศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอน-2563

แผนปฏิบัติการ-กศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอน-2563

Published by latthaphon khumyarach, 2020-04-24 11:01:52

Description: แผนปฏิบัติการ-กศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอน-2563

Search

Read the Text Version

[แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] ก คำนำ แผนปฏิบัติการสำนักงาน กศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอนประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 ) เป็นแผนปฏิบัติการประจำปีที่แสดงให้เห็นภาพรวมในการดำเนินงานจัด การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน ที่สนองตอบต่อเจตนารมณ์ของ พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ทิศทางการ พัฒนาประเทศตามนโยบายของรัฐบาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ แผนปฏิบัติราชการประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2563 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้งนโยบายและจุดเน้นการ ดำเนินงานของ สำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 แผนปฏิบัติการสำนักงาน กศน. จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 ) ฉบับน้ี จัดทำขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกบั สถานการณ์ปจั จุบัน โดยเฉพาะการแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 ที่รัฐบาล จำเปน็ ตอ้ งช่วยเหลือประชาชน สาระสำคัญของแผนปฏิบัติการสำนักงาน กศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2563 (ฉบบั ปรบั ปรุงครงั้ ที่ 1 ) ฉบบั น้ี ประกอบด้วยรายละเอยี ดงาน/โครงการและ งบประมาณที่จะดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 สำนักงาน กศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอนขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความร่วมมือในการจัดทำ แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563 ฉบบั นี้จนสำเร็จลุลว่ งไปดว้ ยดี และหวงั เป็นอย่างยิ่ง ว่าเอกสารฉบบั น้ีจะเปน็ แนวทางในการบรหิ ารงาน/โครงการ/กจิ กรรม ตลอดจนเป็นเครอื่ งมือในการ กำกับติดตามผลการดำเนินงานของผู้บริหาร รวมทั้งเป็นข้อมูลสำหรับหน่วยงาน และผู้สนใจ กิจกรรมงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตอ่ ไป สำนักงาน กศน.จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน เมษายน 2563 สำนักงาน กศน.จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน

[แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] ข สารบญั คำนำ ก สารบญั ส่วนที่ 1 ข ส่วนท่ี 2 บทนำ ส่วนที่ 3 ➢ บริบททว่ั ไปของ สำนักงาน กศน.จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน 1 สาระสำคัญของแผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563 ➢ ทศิ ทางการพัฒนา และโอกาสของสำนักงาน กศน.จงั หวดั แม่ฮ่องสอน 6 ➢ นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงานของ สำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 7 การนำนโยบายสูก่ ารปฏิบัติ การบรหิ ารจดั การ และติดตามประเมนิ ผล ➢ นโยบายและจดุ เน้นการดำเนินงานของสำนกั งาน กศน.จังหวัด แมฮ่ ่องสอนปีงบประมาณ พ.ศ.2563 21 ➢ แผนงาน/โครงการ/เป้าหมายดำเนนิ การของสำนักงานกศน.จงั หวัด แมฮ่ ่องสอน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 34 ➢ โครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 o การจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 72 o การจัดการศกึ ษาเพ่ือส่งเสริมการรหู้ นังสือไทย 77 o การจัดการศกึ ษาต่อเนื่อง • กจิ กรรมการศึกษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวิต 81 • กิจกรรมการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสงั คมและชมุ ชน 85 • กจิ กรรมการศกึ ษาเพ่ือเรียนรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 90 • กิจกรรมการจดั การศกึ ษาเพ่ือชุมชนในเขตภเู ขา (ศศช.) 95 o การจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 100 o ทนุ การศึกษาเพ่ือเด็กสภาวะยากลำยากในเขตพน้ื ทสี่ ูงภาคเหนือ 105 สำนกั งาน กศน.จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน

[แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] ค o การจัดการศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชนในถ่ินทรุ กนั ดาร 109 เพอ่ื สนองงานตามพระราชดำรสิ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี o ขยายผลโครงการหลวงเพ่ือแกไ้ ขปัญหาพืน้ ท่กี ารปลูกฝิ่นอย่างยัง่ ยืน 115 o โครงการ/กิจกรรมสำคญั ตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี) • โครงการสนบั สนุนเสอื้ ผ้าและอุปกรณก์ ารเรยี นสำหรบั เดก็ และเยาวชนในถน่ิ ทุรกันดาร 119 • โครงการจดั อบรมการดูแลผสู้ งู อายุ 123 • โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน 128 • โครงการภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สารดา้ นอาชพี 132 • โครงการสร้างเครือข่ายเศรษฐกิจดิจิทัลสชู่ มุ ชน 136 ในระดบั ตำบล o โครงการ/กิจกรรมพฒั นาเพมิ่ ศักยภาพระบบการบริหารจัดการ หนว่ ยงานและสถานศึกษา 141-162 o ผงั มโนทัศนย์ ทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดำเนนิ งาน 163-166 สำนกั งาน กศน. จังหวดั แม่ฮ่องสอน ภาคผนวก 168 ➢ คณะผ้จู ัดทำ สำนักงาน กศน.จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน

[แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 1 สว่ นที่ 1 บทนำ สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

[แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 2 บริบทท่ัวไปของสำนกั งาน กศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอน ข้อมูลท่ัวไป ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดแม่ฮ่องสอน จัดตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ.2524 แรกเริ่มใช้อาคารห้องสมุดประชาชน (ที่ตั้งอาคารชานกะเลในปัจจุบัน) เป็นที่ทำการ ช่วั คราว ตอ่ มาได้ย้ายไปอยทู่ ี่โรงเรียนบา้ นจองคำใต้ (ท่ีต้งั สพป.แม่ฮอ่ งสอน เขต 1 ในปัจจุบัน) ปี พ.ศ. 2528 ศูนย์การศึกษานอกโรงเรยี นจังหวดั แมฮ่ ่องสอน ได้ย้ายที่ทำการใหม่ โดยใช้อาคารไม้ 2 ช้ัน ซงึ่ เป็นอาคารของโรงเรยี นห้องสอนศึกษาเดิม มีเนือ้ ทีท่ ้งั หมด 35 ไร่ และ ในปี พ.ศ. 2536 กรมการศกึ ษา นอกโรงเรียนได้อนุมัติจัดสรรงบประมาณให้ก่อสร้างอาคาร 3 ชั้น จำนวน 1 หลัง ใช้เป็นที่ทำการศูนย์ การศึกษานอกโรงเรยี นจังหวัดแม่ฮอ่ งสอน และเม่ือวันท่ี 4 มนี าคม 2551 สำนกั บริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรียน ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติ สง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2551 จงึ มผี ลทำให้ ศูนย์การศกึ ษานอกโรงเรียน จังหวัดแม่ฮ่องสอน เปลี่ยนชื่อเป็น สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด แม่ฮ่องสอน (สำนักงาน กศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอน) มีฐานะเป็นหน่วยงานทางการศึกษา และ ศูนย์บริการ การศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ เปลี่ยนเป็น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอ (กศน. อำเภอ) มฐี านะเปน็ สถานศกึ ษา มีหนา้ ที่ ส่งเสรมิ สนับสนนุ ประสานภาครีเครอื ขา่ ย พัฒนาแหล่งเรยี นรู้ และภูมิ ปัญญาทอ้ งถิน่ ในการจัดกระบวนการเรยี นการสอน ปจั จบุ นั บทบาทหนา้ ท่ีที่สำคัญของสำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดแม่ฮ่องสอน คือ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับกลุ่มเป้าหมายที่อยู่นอก ระบบโรงเรียน สนับสนุนส่งเสริมให้หนว่ ยงาน องค์กร ทั้งภาครัฐ และเอกชน จัดการศึกษานอกโรงเรียน และ กำกับดูแลติดตามผลการดำเนินงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ในสังกัด จำนวน 7 แหง่ ทีต่ ้ัง : เลขท่ี 36 ถนนปางล้อนคิ ม ตำบลจองคำ อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน 58000 หมายเลขโทรศพั ท์ : 0-5369-5004 , 0-5369-5467 หมายเลขโทรสาร : 0-5369-5475 E-mail : [email protected] เว็บไซต์ : http://maehongson.nfe.go.th/web-msn/ สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

[แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 3 ขอ้ มูลบคุ ลากร จำนวน 6 คน (วา่ ง 3) 1. ผบู้ ริหาร จำนวน 9 คน (ว่าง 2) 2. ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 3 คน (ว่าง1) 3. บุคลากรทางการศึกษา ม.38 ค.(2) จำนวน 5 คน 4. ลกู จา้ งประจำ 5. พนกั งานราชการ จำนวน 139 คน (วา่ ง 1) จำนวน 15 คน 5.1. ครอู าสาสมัคร กศน.พน้ื ที่สงู จำนวน 44 คน 5.2. ครูอาสาสมัคร กศน.พน้ื ที่ปกติ จำนวน 10 คน 5.3. ครู กศน.ตำบล จำนวน 56 คน 5.4. พนักงานราชการ อืน่ + บรรณรกั ษ์ จำนวน 296 คน 6. พนกั งานจา้ งเหมาบริการ รวม สถานศึกษาในสงั กดั มจี ำนวน 7 แห่ง ใหพ้ ้นื ที่ 7 อำเภอ ได้แก่ 1) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมอื งแม่ฮ่องสอน 2) ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอปาย 3) ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอปางมะผา้ 4) ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอขนุ ยวม 5) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอแมล่ านอ้ ย 6) ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอแม่สะเรยี ง 7) ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอสบเมย แหลง่ เรียนรู้ 1) หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอเมืองแมฮ่ ่องสอน 1 แหง่ 2) หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อำเภอแม่สะเรียง 1 แหง่ 3) หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวดั 1 แห่ง 4) หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอ 5 แห่ง 5) กศน.ตำบล 45 แหง่ 6) ศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” 115 แหง่ 7) ศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ในโครงการ กพด. 9 แห่ง สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

[แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 4 อำนาจและหนา้ ที่ของสำนักงาน กศน.จังหวัด สำนักงาน กศน.จังหวัด มีอำนาจหน้าที่บริหารจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ภายในจงั หวดั หรอื กรงุ เทพมหานคร แลว้ แต่กรณี รวมทง้ั มอี ำนาจหนา้ ท่ีดงั ตอ่ ไปนี้ 1. จัดทำยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใน จังหวดั ใหส้ อดคลอ้ งกับนโยบาย มาตรฐานการศกึ ษา แผนการศึกษาชาติ แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยและความต้องการของทอ้ งถ่นิ และชุมชน 2. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั 3.วิเคราะห์ จัดตั้ง จัดสรร เงินงบประมาณให้แก่สถานศึกษาและภาคีเครือข่ายที่ จัดการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 4. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ สถานศกึ ษาและภาคเี ครอื ขา่ ย 5. จดั ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษานอกระบบตามท่ีกฎหมายกำหนด 6. ส่งเสริม สนับสนุนการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์และการเทยี บ ระดบั การศกึ ษา 7. ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาร่วมกับสถานศึกษาและ ภาคเี ครือขา่ ย 8. ระดมทรัพยากรด้านต่างๆ รวมทงั้ ทรัพยากรบุคคล เพื่อการมสี ่วนรว่ มในการส่งเสริม สนับสนุนการ จดั และพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 9. สง่ เสริม สนับสนนุ การวจิ ยั และพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 10. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และภาคีเครือข่าย 11. ส่งเสริม สนับสนุน ติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ งานนโยบายพเิ ศษของรฐั บาลและงานเสรมิ สร้างความมนั่ คงของชาติ 12. กำกบั ดูแล นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของสถานศกึ ษาและภาคเี ครือข่าย 13. ปฏิบัติงานอ่นื ๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ภายใต้อำนาจหน้าที่ดังกล่าว จึงได้มีการออกแบบโครงสร้างรองรับ จากกลุ่มภารกิจภายใต้คำว่า “กลุ่ม” จำแนกไปสู่กลุ่มงาน และงาน ตามลำดับ โดยแต่ละงานจะแสดงภาระงานให้เห็นเป็นแนวทางการ ปฏิบัติที่ชัดเจน ตลอดจนผลสำเร็จที่คาดหวังจากการปฏิบัติงานต่าง ๆ ด้วย และได้จัดโครงสร้างเป็น 7 กลุ่ม ได้แก่ 1 กล่มุ อำนวยการ 2. กลุม่ ยทุ ธศาสตรแ์ ละการพัฒนา 3. กลุม่ ส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบ สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

[แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 5 4. กล่มุ ส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศยั 5. กลุ่มสง่ เสริมภาคเี ครือข่ายและกิจการพเิ ศษ 6. กลมุ่ งานเทศ ติดตามและพัฒนาระบบบรหิ ารและกระบวนการเรียนรู้ 7. กลมุ่ ตรวจสอบภายใน สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

[แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 6 ทศิ ทางการพัฒนา และโอกาสของสำนักงาน กศน.จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ตามท่ีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวธิ กี ารบริหารกจิ การบา้ นเมืองทดี่ ี พ.ศ. 2546 มาตรา 9 ไดก้ ำหนดไว้วา่ การบริหารราชการเพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธติ์ ่อภารกจิ ของรฐั ให้สว่ นราชการปฏิบัตคิ ือ (1) ก่อนจะ ดำเนินการตามภารกิจใด ส่วนราชการต้องจัดทำแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการล่วงหน้า (2) การกำหนด แผนปฏบิ ตั ริ าชการของส่วนราชการตาม (1) ต้องมีรายละเอียดของขั้นตอนระยะเวลาและงบประมาณที่จะต้อง ใช้ในการดำเนินการของแต่ละขั้นตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ และตัวชี้วัดความสำเร็จ ของภารกิจ และมาตรา 16 ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการนั้น “ในแต่ละ ปีงบประมาณ ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยให้ระบุสาระสำคัญเกี่ยวกับนโยบายการ ปฏิบัติราชการของส่วนราชการเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงานรวมทั้งประมาณการรายได้และรายจ่ายและ ทรัพยากรอื่นที่จะต้องใช้เสนอต่อรัฐมนตรีเพื่อให้ความเห็นชอบเมื่อรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติ ราชการของส่วนราชการใดแล้ว ให้สำนักงบประมาณดำเนินการจัดสรรงบประมาณเพื่อปฏิบัติงานให้บรรลุผล สำเร็จในแต่ละภารกิจตามแผนปฏิบัติราชการดังกล่าวในกรณีที่ส่วนราชการมิได้เสนอแผนปฏิบัติราชการใน ภารกิจใดหรือภารกิจใดไม่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี มิให้สำนักงบประมาณจัดสรรงบประมาณสำหรับ ภารกิจน้ัน ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 สอดคล้องกับมตคิ ณะรฐั มนตรี กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ป(ี พ.ศ. 2560 - 2579) แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) นโยบายและยุทเน้นการทำงาน ของสำนักงาน กศน. ประจำปี พ.ศ.2563 และะบริบทต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง สำนักงาน กศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอน จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ฉบับ ปรับปรุงครั้งที่ 1 ขึ้น โดยการนำสู่การปฏิบัติภารกิจด้านการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับบทบาทอำนาจหน้าที่ของ สำนักงาน กศน.จงั หวดั เพ่ือใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางในการปฏิบตั ิงานประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

[แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 7 นโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 วิสัยทศั น์ คนไทยต้องได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดำรงชีวิตที่ เหมาะสมกบั ชว่ งวัย สอดคล้องกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและมที ักษะทจี่ ำเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 พนั ธกจิ 1.จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอพียง เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรยี นรูข้ องประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย ให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงบริบททางสังคม และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ต ลอดชีวิต อย่างยง่ั ยืน 2.ส่งเสริม สนับสนุน แสวงหาและประสานความร่วมมือเชิงรุกภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามีส่วนร่วมใน การสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบ ตา่ งๆให้กบั ประชาชน 3.ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้พัฒนาประสิทธิภาพในการ จัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ให้กบั ประชาชนอย่างท่ัวถึง 4.พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมินผลในทกุ รปู แบบใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐาน สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทในปัจจุบัน 5.พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษาและการ เรยี นรู้ทีม่ คี ุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภบิ าล เป้าประสงค์ 1.ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาสทาง การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตาม อัธยาศัย ที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึงเป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของแต่ละ กลุ่มเปา้ หมาย 2.ประชาชนได้รบั การยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม ความเปน็ พลเมือง ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความ เข้มแข็งให้ชมุ ชน เพื่อพฒั นาไปสู่ความมนั่ คงและย่งั ยืนทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และ สิง่ แวดลอ้ ม 3.ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่าง สร้างสรรค์ 4.ประชาชนไดร้ ับการสรา้ งและสง่ เสริมใหม้ ีนิสยั รกั การอ่านเพื่อพัฒนาการแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

[แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 8 5.ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมทงั้ การขับเคล่ือนกิจกรรมการเรียนร้ขู องชุมชน 6.หน่วยงานและสถานศึกษา กศน.สามารถนำเทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล มาใช้ในการ ยกระดบั คุณภาพในการจดั การเรียนรแู้ ละเพิ่มโอกาสเรียนรู้ให้กับประชาชน 7.หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหาและ พัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร์และสิง่ แวดล้อม รวมทั้งตามความตอ้ งการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบที่หลากหลาย 8.หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเป็นไป ตามหลกั ธรรมาภบิ าล 9.บุคลากร กศน.ทุกประเภททุกระดับได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และการปฏบิ ตั งิ านตามสายงานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ตัวช้ีวดั ตวั ชีว้ ัดเชิงปริมาณ 1.จำนวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายตาม สทิ ธทิ ีก่ ำหนดไว้ 2.จำนวนของคนไทยกลุ่มเปา้ หมายต่างๆท่เี ข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนร้/ู ได้รับบริการกจิ กรรมการศึกษา ตอ่ เน่อื ง และการศกึ ษาตามอัธยาศัยทสี่ อดคล้องกบั สภาพ ปญั หา และความต้องการ 3.ร้อยละของกำลังแรงงานท่สี ำเร็จการศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ขึ้นไป 4.จำนวนภาคีเครือข่ายท่ีเข้ามามีสว่ นร่วมในการจัด/พัฒนา/ ส่งเสริมการศึกษา (ภาคีเครือข่าย:สถาน ประกอบการองคก์ ร หน่วยงานทีม่ าร่วมจดั /พัฒนา/สง่ เสรมิ การศึกษา) 5.จำนวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพื้นที่สูง ได้รับบริการการศึกษาตลอดชีวิตจากศูนย์การเรียน ชมุ ชนสงั กัดสำนกั งาน กศน. 6.จำนวนผรู้ ับบรกิ ารในพ้ืนทีเ่ ปา้ หมายไดร้ บั การสง่ เสริมดา้ นการร้หู นังสือและการพฒั นาทกั ษะชวี ิต 7.จำนวนนักเรียน/นักศึกษาทีไ่ ด้รบั บรกิ ารตวิ เขม้ เต็มความรู้ 8.จำนวนประชาชนท่ไี ด้รับการฝกึ อาชพี ระยะส้นั สามารถสรา้ งอาชพี เพ่ือสรา้ งรายได้ 9.จำนวนครู กศน. ตำบล จากพ้นื ท่ี กศน.ภาค ได้รบั การพฒั นาศักยภาพด้านการจัดการเรียนการสอน ภาษาองั กฤษเพือ่ การส่อื สาร 10.จำนวนประชาชนทไี่ ดร้ บั การฝกึ อบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการสอ่ื สารดา้ นอาชีพ 11.จำนวนผู้ผ่านการอบรมหลักสตู รการดแู ลผสู้ งู อายุ 12.จำนวนประชาชนท่ผี า่ นการอบรมจากศูนยด์ จิ ิทัลชมุ ชน 13.จำนวนศนู ยก์ ารเรียนรชู้ ุมชน กศน.บนพน้ื ท่ีสงู ในพ้นื ที่ 5 จงั หวัดท่สี ง่ เสริมการพัฒนาทักษะการฟัง พดู ภาษาไทยเพ่ือการสือ่ สาร รว่ มกนั ในสถานศึกษาสงั กดั สพฐ.ตชด. และ กศน. สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

[แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 9 14.จำนวนหลกั สตู รและสื่อออนไลน์ที่ให้บริการประชาชน ท้ังการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ตัวช้วี ัดเชงิ คุณภาพ 1.ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุก รายวิชาทกุ ระดับ 2.รอ้ ยละของผู้เรียนท่ีได้รับการสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานเทียบกบั ค่าเปา้ หมาย 3.ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง เทยี บกับเปา้ หมาย 4.ร้อยละของผู้ผ่านการฝึกอบรม/พัฒนาทักษะอาชีพระยะสั้นสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบ อาชพี หรอื พัฒนางานได้ 5.ร้อยละของผู้เรียนในเขตพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ หรือทักษะด้านอาชีพ สามารถมงี านทำหรือนำไปประกอบอาชพี ได้ 6.ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมที่สามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมายของ หลักสตู ร/กจิ กรรม การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง 7.ร้อยละของประชาชนที่ได้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 8.ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมที่มีความรู้ความเข้าใจ/เจตคต/ิ ทักษะ ตามจุดมงุ่ หมายของกจิ กรรมท่กี ำหนดของการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 9.รอ้ ยละของผู้สงู อายุทเ่ี ปน็ กลุ่มเป้าหมายมโี อกาสมาเขา้ ร่วมกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิต สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

[แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 10 นโยบายเร่งด่วนเพอ่ื รว่ มขบั เคลือ่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศ 1.ยุทธศาสตร์ดา้ นความมน่ั คง 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมทั้งน้อมนำและแผนแพร่ ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รวมถึงแนวทางพระราชดำริตา่ งๆ 1.2 เสริมสร้างความรู้ความเขา้ ใจและการมสี ว่ นรว่ มอย่างถูกต้องกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความ หลากหลายทางความคดิ และอดุ มการณ์ 1.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ ทั้ง ยาเสพตดิ การค้ามนุษย์ ภัยจากไซเบอร์ ภัยพบิ ัตจิ ากธรรมชาติ โรคอบุ ตั ิใหม่ ฯ 1.4 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสรา้ งเสรมิ โอกาสในการเขา้ ถงึ บริการการศึกษาในเขตพฒั นาพิเศษ เฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ และพื้นทช่ี ายแดนอืน่ ๆ 1.5 สร้างความรู้ความเข้าใจขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน กลุ่มชาติ พนั ธ์ุ และชาวตา่ งชาตทิ ี่มคี วามหลายหลาย 2.ยุทธศาสตรด์ ้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั 2.1 ยกระดับการจัดการศึกษาอาชีพ กศน.เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของประชาชนให้รองรับ อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S-curve และ New S - Surve) โดยเฉพาะในพื้นที่เขตระเบียง เศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพิเศษตามภูมิภาคต่างๆของประเทศ สำหรับพื้นที่ปกติให้พัฒนาอาชีพที่เน้นการต่อ ยอดศักยภาพและตามบริบทของพนื้ ท่ี 2.3 จัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาพน้ื ทภ่ี าคตะวนั ออก ยกระดับการศึกษาให้ประชาชนให้จบการศึกษาอย่าง นอ้ ยการศกึ ษาภาคบงั คบั สามารถนำคณุ วฒุ ทิ ่ไี ดร้ บั ไปต่อยอดในการประกอบอาชพี รองรับการพัฒนาเขตพ้ืนที่ ระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก (EEC) 2.3 พัฒนาส่งเสริมประชาชนเพื่อต่อยอดการผลิตและจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน.ออนไลน์ พรอ้ มทัง้ ประสานความร่วมมอื กบั ภาคเอกชนในการเพ่ิมชอ่ งทางการจำหนา่ ยสินคา้ และผลติ ภณั ฑใ์ ห้กว้างขวาง ย่งิ ขนึ้ 3.ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 3.1 สรรหาและพัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้เชื่อมโยง ความรู้กับผู้เรียนและผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการมีความรอบรู้และทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของสังคมและเป็น “ผู้อำนวยการการเรียนรู้” ที่สามารถบริหารจัดการความรู้ กิจกรรม และการ เรียนรทู้ ่ดี ี 1.เพ่ิมอัตราขา้ ราชการครูใหก้ บั สถานศกึ ษาทุกประเภท 2.พัฒนาขา้ ราชการครใู นรูปแบบครบวงจร ตามหลกั สตู รท่ีเชื่อมโยงกับวิทยฐานะ สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

[แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 11 3.พัฒนาครูให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นเรื่องการพัฒนาทักษะการ จดั การเรียนการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาต่างประเทศ ทกั ษะการจดั กระบวนการเรียนรู้ 4.พฒั นาศึกษานเิ ทศก์ ให้สามารถปฏิบัติการนิเทศไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 5.พัฒนาบุคลากร กศน.ทุกระดับทุกประเภทให้มีทักษะความรู้เรื่องการใช้ประโยชน์จาก ดจิ ิทัลและภาษาตา่ งประเทศทีจ่ ำเปน็ รวมทัง้ ความรเู้ กี่ยวกับอาชีพท่รี องรบั อุตสาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ (First S-Curve และ New S-Curve) 3.2 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับ บรบิ ทของพน้ื ที่ และตอบสนองความต้องการของประชาชนผรู้ บั บรกิ าร 3.3 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและประสิทธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับทุกคน สามารถ เรียนได้ทุกทท่ี กุ เวลา มกี ิจกรรมทีห่ ลากหลาย นา่ สนใจ สนองตอบความตอ้ งการของชมุ ชน 3.4 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ทั้งภาครฐั เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อ สร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ ประชาชนอยา่ งมีคณุ ภาพ 3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย เช่น การ จัดการศึกษาออนไลน์ กศน.ทั้งในรูปแบบของการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพและ การศึกษาตามอัธยาศยั รวมท้งั สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีในการปฏบิ ัตงิ าน การบริหารจดั การ การจัดการเรียนรู้ และใช้การวจิ ัยอย่างง่ายเพื่อสรา้ งนวตั กรรมใหม่ 3.6 พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และประชาชนทั่วไป ด้านความรู้ความเข้าใจและ ทักษะในการใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Literacy) 3.7 ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจำการ รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายพิเศษอื่นๆ อาทิผู้ต้องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ให้จบการศึกษานอก ระบบระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 3.8 พัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่างๆ โดยเน้นทักษะ ภาษาเพือ่ อาชพี ท้งั ในภาคธุรกจิ การบรกิ าร และการท่องเที่ยว 3.9 เตรียมความพร้อมของประชาชนในการเขา้ สู่สงั คมผสู้ งู อายุ ทีเ่ หมาะสมและมีคณุ ภาพ 3.10 จัดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์เชงิ รุกให้กบั ประชาชนในชุมชน โดยใหค้ วามรวู้ ทิ ยาศาสตร์อยา่ งง่าย ท้ัง วิทยาศาสตร์ในวิถีชีวิต และวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 3.11 ส่งเสริมการรู้ภาษาไทยให้กับประชาชนในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพื้นที่สูงให้ สามารถฟงั พูด อา่ น และเขยี นภาษาไทย เพอื่ ประโยชนใ์ นการใชช้ ีวติ ประจำวนั ได้ สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

[แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 12 4.ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อมในการ ให้บริการกจิ กรรมการศึกษาและการเรยี นรู้ 1) เร่งยกระดับ กศน.ตำบลนำร่อง 928 แห่ง (อำเภอละ 1 แห่ง) ให้เป็น กศน.ตำบล 5 ดีพรีเมียม ที่ประกอบด้วย ครูดี สถานที่ดี (ตามบริบทของพื้นท่ี) กิจกรรมดี เครือข่ายดี และมีนวัตกรรมการ เรียนรู้ทีด่ มี ีประโยชน์ 2) จัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน.เพื่อยกระดับการเรียนรู้ เป็นพื้นที่การเรียนรู้ (Co- Learing Space) ทท่ี นั สมยั สำหรับทกุ คน มีความพรอ้ มในการให้บริการต่างๆ 3) พฒั นาห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” ให้เปน็ Digital Library 4.2 จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้สำหรบั ทุกช่วงวัย ที่มีกิจกรรมท่ีหลากหลาย ตอบสนองความต้องการในการ เรียนรใู้ นแต่ละวนั เพื่อใหม้ ีพฒั นาการเรยี นรู้ท่ีเหมาะสม และมีความสขุ กับการเรียนรตู้ ามความสนใจ 4.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาและการเรียนรู้สำหรับกลุ่มเป้าหมายผู้พิการ โดยเน้น รปู แบบการศึกษาออนไลน์ 5.ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตท่เี ปน็ มิตรต่อสง่ิ แวดลอ้ ม 5.1 ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนในการรับมือและปรับตัวเพื่อลดความเสียหายจากภัย ธรรมชาตแิ ละผลกระทบทเ่ี กยี่ วข้องกบั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ 5.2 สร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชน เกี่ยวกับการคัดแยกตั้งแต่ต้นทาง การกำจัดขยะ และการนำกลับมาใช้ซ้ำ เพื่อลดปริมาณและต้นทุนในการ จดั การขยะของเมอื ง และสามารถนำขยะกลับมาใช้ประโยชนไ์ ด้โดยงา่ ย รวมทัง้ การจดั การมลพษิ ในชุมชน 5.3 ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งลดการใช้ ทรัพยากรท่สี ่งผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ ม เชน่ รณรงคเ์ รื่องการลดการใช้ถุงพลาสติก การประหยัดไฟฟ้า เปน็ ต้น 6.ยทุ ธศาสตร์ด้านการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ 6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤติมชิ อบ บรหิ ารจัดการบนขอ้ มูลและหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ มุง่ ผลสมั ฤทธิ์ที่มคี วามโปรง่ ใส 6.2 นำนวัตกรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทำงานทีเ่ ป็นดิจทิ ัลมาใช้ในการบรหิ ารและพฒั นางาน 6.3 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตำแหน่ง ใหต้ รงกับสายงานความชำนาญ และความตอ้ งการของบุคลากร สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

[แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 13 ภารกจิ ตอ่ เน่อื ง 1.ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 1) สนับสนุนการจดั การศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โดยดำเนินการให้ ผ้เู รียนได้รบั การสนบั สนนุ ค่าจัดซื้อหนังสือเรยี น ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจดั การเรียนการสอน อยา่ งทว่ั ถึงและเพยี งพอ เพ่อื เพ่มิ โอกาสในการเขา้ ถึงบริการทางการศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพโดยไม่เสียคา่ ใชจ้ า่ ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาด โอกาสทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจัด การศึกษาทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน ทงั้ ด้านหลักสตู ร รูปแบบ/กระบวนการเรยี นาการสอน ส่ือและนวตั กรรม ระบบการวัดและประเมินผล การเรยี น และระบบการใหบ้ รกิ ารนักศึกษาในรูปแบบอ่ืนๆ 4) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ที่มี ความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ กลุม่ เป้าหมายไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 5) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มคี ุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรูแ้ ละเข้าร่วมปฏิบตั ิกิจกรรม เพื่อเป้นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสรมิ สร้างความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการป้องกนั และ แก้ไขปัญหายาเสพติด การแข่งขันกีฬา การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสาและจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนำกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชน์อื่นๆ นอกหลกั สตู รมาใชเ้ พิม่ ช่ัวโมงกจิ กรรมใหผ้ ้เู รยี นจบตามหลกั สูตรได้ 1.2 การสง่ เสริมการร้หู นังสือ 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบเดียวกนั ทงั้ สว่ นกลางและสว่ นภูมภิ าค 2) พัฒนาหลักสูตร สื่อ แบบเรียน เครื่องมือวัดผลและเครื่องมือการดำเนินงานการส่งเสริมการรู้ หนังสอื ที่สอดคลอ้ งกบั สภาพแต่ละกล่มุ เปา้ หมาย 3) พฒั นาครู กศน.และภาคีเครอื ขา่ ยทีร่ ว่ มจดั การศกึ ษาให้มีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะการจัด กระบวรการเรียนรูใ้ หก้ ับผู้ไมร่ ู้หนงั สืออยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัครสง่ เสรมิ การรู้หนังสือใน พนื้ ที่มีความต้องการจำเปน็ เปน็ พิเศษ 4) ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกจิ กรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือ การ พัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพื่อเป็นเครื่องมือในการศึกษาและการเรีบนรู้อย่างต่อเนื่องตลอด ชีวติ ของประชาชน สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

[แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 14 1.3 การศกึ ษาตอ่ เน่ือง 1)จัดการศึกษาอาชพี เพื่อการมีงานทำอย่างยั่งยนื โดยให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพเพอื่ การมีงานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ บริการรวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของ แต่ละพื้นที่มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนา ประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหนึ่งอาชีพเด่น รวมทั้งให้มีการ กำกับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชพี เพื่อการมีงานทำอยา่ งเป็นระบบและต่อเน่อื ง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ท่ี สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดำรงชีวิต ตลอดจนสามารถพึ่งพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ เตรียมพร้อมสำหรับการปรบั ตวั ให้ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงข่าวสารข้อมลู และเทคโนโลยสี มยั ใหม่ในอนาคต โดย จัดกิจกรรมที่มเี นื้อหาสำคญั ต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและ ค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบต่างๆอาทิ ค่ายพัฒนาทักษะ ชวี ิตการจัดตงั้ ชมรม/ชุมนมุ การส่งเสริมความสามารถพิเศษตา่ งๆ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณา การในรูปแบบการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดกิจกรรม จิตอาสา การ สร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชนแต่ละพื้นที่ เคารพ ความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคมพหุ วัฒนธรรม โดยจดั กระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสำนกึ ความเปน็ ประชาธิปไตย การเคารพในสทิ ธิ และรับผิดชอบตอ่ หน้าที่ความเป็นพลเมืองดี การ สง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม การบำเพญ็ ประโยชนใ์ นชุมชน การบรหิ ารจดั การนำ้ การรบั มือกับสาธารณภัยการ อนุรักษ์พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนาสังคมและชุมชน อยา่ งย่งั ยนื 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบต่างๆให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืดหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการบริหาร จัดการความเสย่ี งอยา่ งเหมาะสมตามทิศทางการพัฒนาประเทศสคู่ วามสมดลุ และย่ังยนื 1.4 การศึกษาตามอธั ยาศัย 1) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ การเรยี นร้ใู หเ้ กดิ ขน้ึ ในสังคมไทย ให้เกิดขึน้ อยา่ งกวา้ งขวางและทวั่ ถึง เช่น พฒั นาห้องสมดุ ประชาชนทุกแห่งให้ มีการบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคลื่อนท่ีพร้อมอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรูท้ ี่หลากหลายให้บริการ สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

[แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 15 กบั ประชาชนในพื้นท่ตี ่างๆอยา่ งทวั่ ถึง สม่ำเสมอ รวมท้งั เสรมิ สร้างความพร้อมในดา้ นบคุ ลากร ส่ือ อปุ กรณเ์ พ่ือ สนับสนนุ การอ่านและการจดั กจิ กรรมเพ่อื สง่ เสริมการอา่ นอย่างหลากหลาย 2) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต ของประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรฐานวิทยาศาสตร์ และเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปะวิทยาการประจำ ท้องถิ่นโดยจัดทำและพัฒนานิทรรศการ สื่อและกิจกรรมการศึกษาที่เน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรง บันดาลใจด้านวิทยาศาสตร์ สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทาง วิทยาศาสตร์ผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์รวมทั้งสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมทง้ั ระดับภมู ิภาคและระดบั โลก เพ่อื ใหป้ ระชาชนมคี วามร้แู ละสามารถนำความรู้และทักษะไป ประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต การพัฒนาอาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิ บัติทาง ธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นไปอย่าง รวดเรว็ และรนุ แรง (Disruptive Change) ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 1.5 ประสานความร่วมมือหนว่ ยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่างๆที่มีแหล่งเรยี นรู้อื่นๆ เพื่อส่งเสริม การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พพิ ธิ ภัณฑ์ศนู ยเ์ รียนรู้ แหล่งโบราณคดี หอ้ งสมุด เป็นตน้ 2.ด้านหลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งานบริการทางวิชาการ และการประกนั คุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรม เพื่อส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทนั สมยั รวมทัง้ หลกั สูตรท้องถ่ินท่ีสอดคล้องกับ สภาพบริบทของพนื้ ทีแ่ ละความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมายและชุมชน 2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่นๆที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน กลมุ่ เปา้ หมายท่วั ไปและกลุ่มเปา้ หมายพเิ ศษ 2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย ด้วยระบบห้องเรียนและการควบคุม การสอบออนไลน์ 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เพื่อให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ มกี ารประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนไดร้ บั รู้และสามารถเขา้ ถึงระบบการประเมินได้ 2.5 พฒั นาระบบการวดั และประเมนิ ผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตรในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนำแบบทดสอบกลาง และระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Exam) มาใช้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2.6 ส่งเสรมิ และสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพ่ือพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การ วัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

[แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 16 การศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งให้มีการนำไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับ บรบิ ทอย่างต่อเน่ือง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยพัฒนาบุคคลกรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถดำเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเนื่องโดยใช้การประเมินภายในด้วย ตนเองและจัดให้มีระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สำหรับสถานศึกษาที่ยังไม่ได้เข้ารับ การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ให้พฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาให้ไดค้ ุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด 2.8 ประชาสมั พนั ธ/์ สร้างการรับรูใ้ หก้ ับประชาชนท่ัวไปเกย่ี วกับการบริการทางวิชาการด้านการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และสร้างช่องทางการแลกเปล่ยี นเรียนรดู้ ้านวิชาการของหน่วยงานและ สถานศึกษาในสงั กดั อาทิ ขา่ วประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อรปู แบบต่างๆการจดั นิทรรศการ/มหกรรมวชิ าการ กศน. 3.ดา้ นเทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อให้เชื่อมโยงและตอบสนอง ต่อการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพื่อกระจายโอกาสทาง การศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมายต่างๆให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนา ตนเองให้รู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทำ รายการติวเข้มเต็มความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทางอนิ เทอรเ์ น็ต 3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยผ่านระบบ เทคโนโลยีดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่างๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อื่นๆเพื่อส่งเสริม ใหค้ รู กศน.นำเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใช้ในการสรา้ งกระบวนการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการ ออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใชเ้ ปน็ ช่องทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิตโดยขยาย เครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ และเพิ่มช่องทางให้สามารถ รบั ชมรายการโทรทศั นเ์ พ่อื การศกึ ษาสาธารณะ (Free-ETV) 3.4 พัฒนาระบบการให้บรกิ ารสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพ่อื ใหไ้ ดห้ ลายช่องทางทัง้ ทางอนิ เตอร์เน็ต และรูปแบบอื่นๆอาทิ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Tablet รวมทั้งสื่อ Offline ในรูปแบบต่างๆ เพ่ือใหก้ ลุ่มเปา้ หมายสามารถเลอื กใช้บริการเพื่อเขา้ ถงึ โอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรไู้ ดต้ ามความต้องการ 3.5 สำรวจ วิจัย ติดตามประเมนิ ผลด้านการใช้สื่อเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ือง เพ่ือนำผลมา ใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชนไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

[แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 17 4. ด้านโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ หรอื โครงการอนั เก่ียวเนอ่ื งจากราชวงศ์ 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หรือโครงการอัน เกย่ี วเนอ่ื งจากราชวงศ์ 4.2 จัดทำฐานข้อมลู โครงการและกจิ กรรมของ กศน.ทสี่ นองโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริหรือ โครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ เพื่อนำไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและการพัฒนางานได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดำเนินงาน เพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพอื่ ให้เกิดความเข้มแขง็ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 4.4 พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” เพื่อให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหนา้ ทท่ี ีก่ ำหนดไว้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4.5 จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นที่สูง ถิ่น ทุรกันดารและพื้นทชี่ ายขอบ 5.ดา้ นการศึกษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ พ้ืนที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ และพน้ื ทบ่ี ริเวณชายแดนใต้ 5.1 พฒั นาการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 1) จัดและพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหา และความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย รวมทัง้ อตั ลกั ษณ์และความเปน็ พหุวฒั นธรรมของพ้นื ท่ี 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนสามมารถนำความรู้ท่ีไดร้ บั ไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ ริง 3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตราการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บคุ ลากรและ นักศึกษา กศน.ตลอดจนผ้มู าใช้บรกิ ารอยา่ งทัว่ ถึง 5.2 พัฒนาการจัดการศกึ ษาแบบบูรณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ 1) ประสานความร่วมมือกับหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องในการจัดทำแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และบรบิ ทของแตล่ ะจงั หวดั ในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ 2)จัดทำหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเน้นสาขาที่เป็นความต้องการของตลาด ใหเ้ กดิ การพัฒนาอาชพี ได้ตรงตามความต้องการของพนื้ ท่ี 5.3 จัดการศึกษาเพื่อความมนั่ คง ของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.) 1) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ตน้ แบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดำริปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง สำหรับประชาชนตามแนวชายแดน ด้วยวิธีการเรยี นร้ทู ห่ี ลากหลาย 2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใชว้ ิธีการหลากหลายใช้รูปแบบเชิงรุก เพ่ือการเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนำด้าน อาชพี ที่เน้นเรือ่ งเกษตรธรรมชาตทิ สี่ อดคล้องกบั บริบทของชุมชนชายแดน ให้แก่ประชาชนตามแนวชายแดน สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

[แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 18 6.ดา้ นบุคลากร ระบบการบรหิ ารจดั การและการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคส่วน 6.1 การพฒั นาบุคลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มสี มรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งก่อนและระหว่างการ ดำรงตำแหน่งเพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดำเนินงานของ หนว่ ยงานและสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสรมิ ให้ขา้ ราชการในสังกดั พัฒนาตนเองเพื่อเล่ือน ตำแหนง่ หรือเลื่อนวิทยฐานะ โดยเนน้ การประเมินวทิ ยฐานะเชงิ ประจกั ษ์ 2) พฒั นาศึกษานิเทศ กศน.ให้มสี มรรถนะทีจ่ ำเป็นครบถว้ น มคี วามเป็นมืออาชพี สามารถปฏบิ ตั ิการ นิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใน สถานศกึ ษา 3) พัฒนาหัวหนา้ กศน.ตำบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตำบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อำนวย ความสะดวกในการเรยี นรูเ้ พื่อให้ผเู้ รียนเกิดการเรนี รู้ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพอยา่ งแท้จรงิ 4) พัฒนาครู กศน.และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ได้ อยา่ งมคี ุณภาพ โดยสง่ เสริมใหม้ ีความรู้ความสามารถในการจดั ทำแผนการสอน การจดั กระบวนการเรยี นรู้ การ วดั และประเมนิ ผลและการวิจยั เบ้อื งตน้ 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถและมีความเป็นมืออาชพี ในการจดั บรกิ ารส่งเสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชีวิตของประชาชน 6) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน.ทุกระดับและคณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการบริหาร การดำเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 7) พฒั นาอาสาสมัคร กศน.ให้สามารถทำหน้าทส่ี นับสนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งในและ ต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ร่วมกันในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนา ประสทิ ธภิ าพในการทำงาน 6.2 การพฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐานและอัตรากำลงั 1) จัดทำแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและดำเนนิ การปรบั ปรุงสถานทแี่ ละวสั ดุอุปกรณใ์ ห้มีความ พรอ้ มในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ 2) บริหารอัตรากำลังที่มีอยู่ ทั้งในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้เกิด ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ในการปฏิบัตงิ าน 3) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพื่อนำมาใช้ในการ ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้มีความพร้อมสำหรับดำเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยและส่งเสรมิ การเรยี นรสู้ ำหรบั ประชาชน สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

[แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 19 6.3 การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ 1) พัฒนาระบบฐานข้อมลู ให้มีความครบถว้ น ถูกตอ้ ง ทนั สมยั และเชอ่ื มโยงกนั ทั่วประเทศอย่างเป็น ระบบเพ่ือให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกดั สามารถนำไปใช้เป็นเคร่ืองมือสำคัญในการบรหิ ารการวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามปนะเมนิ ผล รวมท้ังจดั บรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่าง มปี ระสิทธิภาพ 2) เพิ่มประสิทธิภาภการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกำกับ ควบคุม และเร่งรัด การเบกิ จา่ ยงบประมาณใหเ้ ป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน.ให้มีความครบถ้วน ถกู ต้อง ทันสมัย และเช่ือมโยง กันท่ัวประเทศ สามารถสบื ค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับผู้เรียน และการบรหิ ารจดั การอย่างมีประสิทธิภาพ 4) ส่งเสริมให้มีการจัดากรความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัยเพ่ือ สามารถนำมาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและ ชมุ ชนพรอ้ มทั้งพฒั นาขดี ความสามารถเชิงการแขง่ ขันของหนว่ ยงานและสถานศึกษา 5) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนทั้งในประเทศและต่างประเทศในการพัฒนาและส่งเสริมการ จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต 6) ส่งเสริมการใช้ระบบสำนกั งานอิเล็กทรอนิกส์ (E-office) ในการบริหารจดั การ เช่น ระบบการลา ระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ ระบบการขอใชร้ ถราชการ ระบบการขอให้ห้องประชุม เป็นต้น 6.4 การกำกบั นิเทศ ติดตาม ประเมินและรายงานผล 1) สรา้ งกลไกการกำกบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผลการดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัยให้เช่ือมโยงกบั หนว่ ยงาน สถานศกึ ษา และภาคเี ครือข่ายทั้งระบบ 2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกำกับ ติดตาม และ รายงานผลการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ ใหส้ ามารถตอบสนองการดำเนนิ งานตามนโยบายในแต่ละเรื่องได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 3) ส่งเสรมิ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่อื สาร และสือ่ อ่ืนๆทเ่ี หมาะสม เพอ่ื การกำกับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอย่างมีประสทิ ธิภาพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชาการประจำปีของ สำนกั งาน กศน.ใหด้ ำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เปน็ ไปตามเกณฑ์ วธิ กี าร และระยะเวลาท่กี ำหนด 5) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในภายนอกองค์กร ตั้งแต่ ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อำเภอ/เขต และตำบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และการพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

[แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 20 สว่ นท่ี 3 การนำนโยบายสกู่ ารปฏบิ ัติ การบรหิ ารจดั การและตดิ ตามประเมนิ ผล สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

[แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 21 นโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน สำนกั งาน กศน.จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 วิสัยทัศน์ ประชาชนในจังหวัดแม่ฮ่องสอนต้องได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดำรงชวี ิตทีเ่ หมาะสมกับชว่ งวัย สอดคล้องกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ีจำเป็น ในโลกศตวรรษที่ 21 พนั ธกิจ 1.จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอพียง เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ของประชาชนทุกกลุม่ เป้าหมาย ให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงบริบททางสังคม และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างยงั่ ยืน 2.ส่งเสริม สนับสนุน แสวงหาและประสานความร่วมมือเชิงรุกภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามีส่วนร่วมใน การสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบ ต่างๆใหก้ บั ประชาชน 3.ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้พัฒนาประสิทธิภาพในการ จัดและใหบ้ รกิ ารการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ให้กบั ประชาชนอย่างทั่วถงึ 4.พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมินผลในทุก รปู แบบให้มีคณุ ภาพและมาตรฐาน สอดคล้องกับบริบทในปจั จบุ นั 5.พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษาและการ เรียนรทู้ ีม่ ีคุณภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล เปา้ ประสงค์ 1.ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาสทาง การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตาม อัธยาศัย ที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึงเป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของแต่ละ กลุ่มเปา้ หมาย 2.ประชาชนได้รบั การยกระดับการศึกษา สร้างเสรมิ และปลกู ฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความเป็นพลเมือง ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความ เข้มแข็งใหช้ ุมชน เพือ่ พัฒนาไปสคู่ วามมนั่ คงและยั่งยนื ทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และ สิ่งแวดลอ้ ม สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

[แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 22 3.ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่าง สร้างสรรค์ 4.ประชาชนได้รับการสรา้ งและส่งเสรมิ ให้มีนสิ ัยรกั การอา่ นเพอื่ พฒั นาการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง 5.ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอธั ยาศยั รวมท้งั การขับเคลอื่ นกจิ กรรมการเรยี นรู้ของชุมชน 6.หน่วยงานและสถานศึกษา กศน.สามารถนำเทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยดี ิจิทัล มาใช้ในการ ยกระดบั คณุ ภาพในการจัดการเรยี นรู้และเพม่ิ โอกาสเรยี นรูใ้ ห้กับประชาชน 7.หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหาและ พัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตรแ์ ละสิ่งแวดลอ้ ม รวมทง้ั ตามความต้องการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบทหี่ ลากหลาย 8.หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเป็นไป ตามหลกั ธรรมาภบิ าล 9.บุคลากร กศน.ทุกประเภททุกระดับได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และการปฏิบัตงิ านตามสายงานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ตัวชว้ี ัด ตวั ช้วี ดั เชิงปรมิ าณ 1.จำนวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายตาม สิทธทิ ี่กำหนดไว้ 2.จำนวนของคนไทยกลุ่มเปา้ หมายตา่ งๆท่เี ขา้ รว่ มกิจกรรมการเรยี นร/ู้ ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษา ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศยั ทสี่ อดคล้องกบั สภาพ ปญั หา และความต้องการ 3.ร้อยละของกำลงั แรงงานทีส่ ำเร็จการศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ข้นึ ไป 4.จำนวนภาคเี ครอื ข่ายท่ีเข้ามามีสว่ นร่วมในการจัด/พัฒนา/ ส่งเสริมการศึกษา (ภาคีเครือข่าย:สถาน ประกอบการองค์กร หนว่ ยงานที่มาร่วมจัด/พฒั นา/ส่งเสรมิ การศกึ ษา) 5.จำนวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพื้นที่สูง ได้รับบริการการศึกษาตลอดชีวิตจากศูนย์การเรียน ชมุ ชนสังกัดสำนกั งาน กศน. 6.จำนวนผรู้ ับบริการในพืน้ ท่เี ป้าหมายได้รบั การสง่ เสริมดา้ นการรู้หนงั สือและการพฒั นาทกั ษะชวี ติ 7.จำนวนนักเรียน/นักศกึ ษาท่ีได้รบั บริการติวเขม้ เตม็ ความรู้ 8.จำนวนประชาชนทไ่ี ด้รับการฝกึ อาชีพระยะสนั้ สามารถสรา้ งอาชีพเพือ่ สรา้ งรายได้ 9.จำนวนครู กศน. ตำบล จากพ้นื ท่ี กศน.ภาค ได้รบั การพัฒนาศกั ยภาพด้านการจัดการเรียนการสอน ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สาร 10.จำนวนประชาชนทไ่ี ดร้ ับการฝกึ อบรมภาษาต่างประเทศเพ่ือการส่อื สารด้านอาชีพ สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

[แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 23 11.จำนวนผ้ผู ่านการอบรมหลักสูตรการดูแลผูส้ ูงอายุ 12.จำนวนประชาชนที่ผ่านการอบรมจากศนู ยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน 13.จำนวนศูนยก์ ารเรียนรู้ชุมชน กศน.บนพืน้ ทีส่ งู ในพ้ืนท่ีจงั หวัดแม่ฮ่องสอนส่งเสริมการพัฒนาทักษะ การฟงั พูดภาษาไทยเพื่อการสอ่ื สาร ร่วมกนั ในสถานศกึ ษาสังกัด สพฐ.ตชด. และ กศน. 14.จำนวนหลักสตู รและส่ือออนไลนท์ ่ีให้บริการประชาชน ท้งั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พ้นื ฐาน การศึกษาตอ่ เนอื่ ง และการศึกษาตามอัธยาศัย ตัวช้วี ัดเชิงคุณภาพ 1.ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุก รายวชิ าทุกระดับ 2.ร้อยละของผู้เรยี นท่ไี ด้รบั การสนบั สนุนการจดั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานเทียบกับค่าเปา้ หมาย 3.ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึ กษาต่อเนื่อง เทยี บกับเปา้ หมาย 4.ร้อยละของผู้ผ่านการฝึกอบรม/พัฒนาทักษะอาชีพระยะสั้นสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบ อาชีพหรอื พัฒนางานได้ 5.ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมที่สามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมายของ หลกั สตู ร/กิจกรรม การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง 6.ร้อยละของประชาชนที่ได้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาตามอัธยาศัย 7.ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายทีไ่ ด้รับบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมที่มีความรู้ความเข้าใจ/เจตคต/ิ ทักษะ ตามจดุ มงุ่ หมายของกิจกรรมท่ีกำหนดของการศึกษาตามอธั ยาศัย 8.ร้อยละของประชาชนและผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมีโอกาสมาเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาตลอด ชวี ิต สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

[แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 24 นโยบายเรง่ ด่วนเพอื่ ร่วมขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ 1.ยุทธศาสตรด์ ้านความม่นั คง 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมทั้งน้อมนำและเผยแพร่ ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รวมถึงแนวทางพระราชดำริต่างๆ 1.2 เสรมิ สร้างความรู้ความเข้าใจและการมีสว่ นรว่ มอย่างถูกต้องกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความ หลากหลายทางความคดิ และอุดมการณ์ 1.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ ทั้ง ยาเสพติด การค้ามนษุ ย์ ภยั จากไซเบอร์ ภัยพบิ ัตจิ ากธรรมชาติ โรคอบุ ัตใิ หม่ ฯ 1.4 สร้างความรู้ความเข้าใจขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน กลุ่มชาติ พนั ธุ์ และชาวต่างชาตทิ ่มี คี วามหลายหลาย 2.ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน 2.1 ยกระดับการจัดการศึกษาอาชีพ กศน.เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของประชาชนสำหรับพื้นที่ปกติให้ พฒั นาอาชพี ทเี่ นน้ การตอ่ ยอดศกั ยภาพและตามบรบิ ทของพืน้ ท่ี 2.2 พัฒนาส่งเสริมประชาชนเพื่อต่อยอดการผลิตและจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน.ออนไลน์ พร้อมทั้งประสานความรว่ มมือกับภาคเอกชนในการเพิ่มช่องทางการจำหนา่ ยสินคา้ และผลิตภณั ฑ์ให้กว้างขวาง ย่ิงข้ึน 3.ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 3.1 สรรหาและพัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้เชื่อมโยง ความรู้กับผู้เรียนและผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการมีความรอบรู้และทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของสังคมและเป็น “ผู้อำนวยการการเรียนรู้” ที่สามารถบริหารจดั การความรู้ กิจกรรม และการ เรยี นรู้ทดี่ ี 1.เพ่ิมอัตราข้าราชการครใู หก้ บั สถานศึกษาทุกประเภท 2.พฒั นาขา้ ราชการครใู นรูปแบบครบวงจร ตามหลักสูตรท่ีเช่อื มโยงกับวิทยฐานะ 3.พัฒนาครูให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นเรื่องการพัฒนาทักษะการ จัดการเรยี นการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 4.พฒั นาศึกษานิเทศก์ ให้สามารถปฏิบตั กิ ารนเิ ทศได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 5.พัฒนาบุคลากร กศน.ทุกระดับทุกประเภทให้มีทักษะความรู้เรื่องการใช้ประโยชน์จาก ดจิ ิทลั และภาษาต่างประเทศท่จี ำเปน็ รวมท้ังความรู้เกยี่ วกบั อาชีพท่รี องรบั อุตสาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ (First S-Curve และ New S-Curve) สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

[แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 25 3.2 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับ บริบทของพ้นื ท่ี และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผรู้ บั บรกิ าร 3.3 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและประสิทธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับทุกคน สามารถ เรียนได้ทุกท่ีทุกเวลา มีกิจกรรมทหี่ ลากหลาย นา่ สนใจ สนองตอบความต้องการของชมุ ชน 3.4 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคเี ครือข่าย ทั้งภาครฐั เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพ่ื อ สร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ ประชาชนอย่างมคี ุณภาพ 3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย เช่น การ จัดการศึกษาออนไลน์ กศน.ทั้งในรูปแบบของการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมท้งั สง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบรหิ ารจดั การ การจัดการเรียนรู้ และใชก้ ารวจิ ัยอยา่ งง่ายเพื่อสรา้ งนวตั กรรมใหม่ 3.6 พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และประชาชนทั่วไป ด้านความรู้ความเข้าใจและ ทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Digital Literacy) 3.7 ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจำการ รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายพิเศษอื่นๆ อาทิผู้ต้องขัง ประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ให้จบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน 3.8 พัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่างๆ โดยเน้นทักษะ ภาษาเพอ่ื อาชีพ ทง้ั ในภาคธรุ กจิ การบรกิ าร และการท่องเที่ยว เชน่ ภาษาองั กฤษ 3.9 เตรียมความพรอ้ มของประชาชนในการเข้าสู่สงั คมผสู้ งู อายุ ทเ่ี หมาะสมและมคี ณุ ภาพ 3.10 จัดกิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์ให้กับประชาชนในชุมชน โดยให้ความรู้วิทยาศาสตร์อย่างง่าย ทั้ง วิทยาศาสตร์ในวิถีชีวิต และวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม 3.11 ส่งเสริมการรู้ภาษาไทยให้กับประชาชนในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพื้นที่สูงให้ สามารถฟัง พูด อา่ น และเขียนภาษาไทย เพ่อื ประโยชนใ์ นการใช้ชวี ิตประจำวันได้ 4.ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อมในการ ใหบ้ รกิ ารกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ 1) เร่งยกระดับ กศน.ตำบลนำร่อง 7 แห่ง (อำเภอละ 1 แห่ง) ให้เป็น กศน.ตำบล 5 ดี พรเี มยี มท่ปี ระกอบด้วย ครูดี สถานทีด่ ี (ตามบรบิ ทของพ้ืนที่) กจิ กรรมดี เครือขา่ ยดี และมีนวัตกรรมการเรยี นรู้ ทดี่ มี ปี ระโยชน์ สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

[แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 26 2) จัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน.เพื่อยกระดับการเรียนรู้ เป็นพื้นที่การเรียนรู้ (Co- Learing Space) ท่ที นั สมยั สำหรบั ทุกคน มคี วามพรอ้ มในการให้บรกิ ารตา่ งๆ 3) พฒั นาหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” ใหเ้ ปน็ Digital Library 4.2 จัดตั้งศูนยก์ ารเรียนรู้สำหรบั ทุกช่วงวัย ที่มีกิจกรรมท่ีหลากหลาย ตอบสนองความต้องการในการ เรียนรู้ในแต่ละวัย เพือ่ ให้มีพัฒนาการเรยี นรู้ทเ่ี หมาะสม และมคี วามสุขกับการเรียนรูต้ ามความสนใจ 5.ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตที่เปน็ มิตรตอ่ สงิ่ แวดล้อม 5.1 ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนในการรับมือและปรับตัวเพื่อลดความเสียหายจากภัย ธรรมชาติและผลกระทบทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 5.2 สร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชน เกี่ยวกับการคัดแยกตั้งแต่ต้นทาง การกำจัดขยะ และการนำกลับมาใช้ซ้ำ เพื่อลดปริมาณและต้นทุนในการ จดั การขยะของเมือง และสามารถนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ไดโ้ ดยง่าย รวมทง้ั การจัดการมลพษิ ในชุมชน 5.3 ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งลดการใช้ ทรัพยากรทีส่ ่งผลกระทบต่อสิง่ แวดลอ้ ม เช่น รณรงคเ์ รือ่ งการลดการใชถ้ ุงพลาสตกิ การประหยัดไฟฟ้า เปน็ ต้น 6.ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ 6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤตมิ ิชอบ บริหารจัดการบนข้อมูลและหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ มงุ่ ผลสมั ฤทธ์ทิ ม่ี คี วามโปร่งใส 6.2 นำนวัตกรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทำงานท่เี ปน็ ดจิ ทิ ลั มาใช้ในการบริหารและพัฒนางาน 6.3 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตำแหน่ง ใหต้ รงกับสายงานความชำนาญ และความต้องการของบุคลากร สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

[แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 27 ภารกิจต่อเนอื่ ง 1.ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน 1) สนับสนุนการจดั การศึกษานอกระบบตัง้ แตป่ ฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยดำเนินการให้ ผูเ้ รยี นไดร้ ับการสนบั สนุนค่าจัดซื้อหนังสอื เรยี น คา่ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน และคา่ จัดการเรียนการสอน อย่างทั่วถึงและเพยี งพอ เพือ่ เพ่มิ โอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารทางการศกึ ษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสยี คา่ ใช้จา่ ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาด โอกาสทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การศึกษาแบบออนไลน์ในรูปแบบ Google classroom 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน ทัง้ ด้านหลกั สูตร รปู แบบ/กระบวนการเรยี นาการสอน สอ่ื และนวตั กรรม ระบบการวัดและประเมินผล การเรยี น และระบบการใหบ้ รกิ ารนักศกึ ษาในรปู แบบอืน่ ๆ 4) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ที่มี ความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ กลุม่ เปา้ หมายได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 5) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรูแ้ ละเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติด การแข่งขันกีฬา การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสาและจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนำกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชน์อื่นๆ นอกหลักสตู รมาใช้เพ่ิมชั่วโมงกิจกรรมใหผ้ เู้ รียนจบตามหลกั สูตรได้ 1.2 การส่งเสรมิ การรู้หนังสอื 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบเดียวกัน ท้ังสว่ นกลางและส่วนภมู ภิ าค 2) พัฒนาหลักสูตร สื่อ แบบเรียน เครื่องมือวัดผลและเครื่องมือการดำเนินงานการส่งเสริมการรู้ หนงั สือที่สอดคลอ้ งกบั สภาพแต่ละกล่มุ เป้าหมาย 3) พัฒนาครู กศน.และภาคีเครือข่ายทรี่ ว่ มจดั การศึกษาใหม้ ีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะการจัด กระบวรการเรียนรูใ้ ห้กับผู้ไมร่ ู้หนงั สืออยา่ งมีประสิทธิภาพ และอาจจัดใหม้ ีอาสาสมัครส่งเสริมการรู้หนังสือใน พน้ื ทมี่ คี วามตอ้ งการจำเปน็ เปน็ พเิ ศษ 4) ส่งเสริมสนับสนุนใหส้ ถานศึกษาจัดกจิ กรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือ การ พัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพื่อเป็นเครื่องมือในการศึกษาและการเรีบนรู้อย่างต่อเนื่องตลอด ชวี ติ ของประชาชน สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

[แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 28 1.3 การศึกษาตอ่ เนอื่ ง 1)จัดการศึกษาอาชพี เพื่อการมีงานทำอย่างยั่งยืน โดยให้ความสำคัญกับการจัดการศกึ ษาอาชีพเพ่อื การมีงานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ บริการรวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของ แต่ละพื้นที่มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนา ประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหนึ่งอาชีพเด่น รวมทั้งให้มีการ กำกบั ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำอย่างเปน็ ระบบและต่อเน่ือง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาส ผู้สูงอายุ ท่ี สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดำรงชีวิต ตลอดจนสามารถพึ่งพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ เตรยี มพรอ้ มสำหรบั การปรบั ตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงขา่ วสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมยั ใหม่ในอนาคต โดย จัดกิจกรรมที่มเี นื้อหาสำคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและ ค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบต่างๆอาทิ ค่ายพัฒนาทักษะ ชีวิตการจัดตงั้ ชมรม/ชุมนุม การสง่ เสริมความสามารถพิเศษต่างๆ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณ า การในรูปแบบการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดกิจกรรม จิตอาสา การ สร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชนแต่ละพื้นที่ เคารพ ความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคมพหุ วัฒนธรรม โดยจดั กระบวนการให้บุคคลรวมกลุม่ เพ่ือแลกเปล่ียนเรยี นรรู้ ่วมกนั สรา้ งกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสทิ ธิ และรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ที่ความเป็นพลเมืองดี การ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบำเพญ็ ประโยชนใ์ นชุมชน การบรหิ ารจดั การนำ้ การรับมือกบั สาธารณภัยการ อนุรักษ์พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนาสังคมและชุมชน อย่างย่งั ยนื 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบต่างๆให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืดหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการบริหาร จัดการความเสีย่ งอยา่ งเหมาะสมตามทิศทางการพัฒนาประเทศส่คู วามสมดุลและยั่งยืน 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 1) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ การเรยี นร้ใู ห้เกิดขนึ้ ในสังคมไทย ให้เกดิ ข้ึนอยา่ งกว้างขวางและทว่ั ถงึ เช่น พฒั นาห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้ มีการบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบรกิ ารเคลื่อนท่ีพร้อมอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรูท้ ี่หลากหลายให้บริการ สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

[แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 29 กับประชาชนในพ้นื ที่ต่างๆอย่างทั่วถงึ สมำ่ เสมอ รวมทั้งเสรมิ สร้างความพร้อมในดา้ นบคุ ลากร ส่ือ อปุ กรณเ์ พื่อ สนบั สนุนการอา่ นและการจัดกจิ กรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลาย 1.5 ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่างๆท่ีมีแหล่งเรียนรู้อื่นๆ เพื่อส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พพิ ธิ ภณั ฑ์ศูนย์เรยี นรู้ แหล่งโบราณคดี หอ้ งสมุด เปน็ ต้น 2.ด้านหลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งานบริการทางวิชาการ และการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรม เพื่อส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยท่ีหลากหลาย ทนั สมยั รวมทง้ั หลกั สูตรท้องถ่ินที่สอดคล้องกับ สภาพบรบิ ทของพน้ื ทแ่ี ละความตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมายและชุมชน 2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่นๆที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้ เรียน กลมุ่ เปา้ หมายทวั่ ไปและกล่มุ เป้าหมายพิเศษ 2.3 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เพื่อให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้งั มกี ารประชาสมั พันธใ์ หส้ าธารณชนได้รับร้แู ละสามารถเข้าถงึ ระบบการประเมินได้ 2.4 พัฒนาระบบการวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสตู รในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนำแบบทดสอบกลาง และระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Exam) มาใช้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ 2.5 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวจิ ัย เพือ่ พฒั นาหลักสูตร รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การ วัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งให้มีการนำไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับ บรบิ ทอยา่ งต่อเนื่อง 2.6 พัฒนาระบบประกันคุณภาพในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยพัฒนาบุคคลกรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถดำเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเนื่องโดยใช้การประเมินภา ยในด้วย ตนเองและจัดให้มีระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สำหรับสถานศึกษาที่ยังไม่ได้เข้ารับ การประเมนิ คุณภาพภายนอก ให้พัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาให้ไดค้ ุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด 2.7 ประชาสัมพันธ์/สรา้ งการรับรใู้ ห้กับประชาชนทั่วไปเกย่ี วกับการบริการทางวชิ าการด้านการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปลยี่ นเรียนร้ดู ้านวชิ าการของหน่วยงานและ สถานศึกษาในสังกดั อาทิ ข่าวประชาสัมพนั ธ์ ผ่านส่อื รปู แบบต่างๆการจัดนทิ รรศการ/มหกรรมวชิ าการ กศน. สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

[แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 30 3.ด้านเทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษา 3.1 จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา สำหรับ กลุม่ เปา้ หมายตา่ งๆให้มที างเลอื กในการเรยี นรูท้ ี่หลากหลายและมคี ณุ ภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้รู้เทา่ ทันส่ือ และเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การส่อื สาร เช่น รายการพฒั นาอาชีพเพื่อการมีงานทำ รายการติวเขม้ เต็มความรู้ ฯลฯ ที่เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทาง อินเทอร์เนต็ 3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยผ่านระบบ เทคโนโลยีดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่างๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อื่นๆเพื่อส่งเสริม ใหค้ รู กศน.นำเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาใชใ้ นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 ส่งเสริมการใช้สถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อให้สามารถรับชมรายการ โทรทศั นเ์ พ่ือการศึกษาสาธารณะ (Free-ETV) 3.4 พฒั นาระบบการให้บริการสือ่ เทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา เพอื่ ใหไ้ ด้หลายชอ่ งทางทงั้ ทางอินเตอร์เน็ต และรูปแบบอื่นๆอาทิ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Tablet รวมทั้งสื่อ Offline ในรูปแบบต่างๆ เพอื่ ให้กลุ่มเปา้ หมายสามารถเลอื กใชบ้ รกิ ารเพื่อเขา้ ถงึ โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรไู้ ด้ตามความต้องการ 3.5 สำรวจ วจิ ัย ตดิ ตามประเมินผลด้านการใชส้ ื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอย่างต่อเน่ือง เพ่ือนำผลมา ใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชนไดอ้ ยา่ งแท้จรงิ 4. ด้านโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ หรอื โครงการอันเกย่ี วเนอ่ื งจากราชวงศ์ 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หรือโครงการอัน เก่ียวเนอ่ื งจากราชวงศ์ เช่น โครงการสร้างป่าสร้างรายได้ และโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถ่ินทุรกันดาร (กพด.) 4.2 จดั ทำฐานขอ้ มลู โครงการและกจิ กรรมของ กศน.ทสี่ นองโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริหรือ โครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ เพื่อนำไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและการพัฒนางานได้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดำเนินงาน เพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพอ่ื ให้เกิดความเข้มแขง็ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 4.4 พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนจำนวน 124 แห่ง เพอื่ ให้มคี วามพรอ้ มในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามบทบาทหน้าทีท่ ่ีกำหนด ไวอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 4.5 จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นที่สูง ในถ่ิน ทรุ กันดารและพ้นื ทชี่ ายขอบ สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

[แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 31 5.ด้านบุคลากร ระบบการบริหารจดั การและการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคส่วน 5.1 การพฒั นาบคุ ลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มสี มรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งก่อนและระหวา่ งการ ดำรงตำแหน่งเพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดำเนินงานของ หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รวมท้ังส่งเสริมให้ข้าราชการในสงั กัดพฒั นาตนเองเพ่ือเลื่อน ตำแหน่งหรือเลื่อนวิทยฐานะ โดยเน้นการประเมินวิทยฐานะเชิงประจกั ษ์ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน.ให้มีสมรรถนะที่จำเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยในสถานศกึ ษา 3) พัฒนาหัวหน้า กศน.ตำบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสงู ขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตำบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อำนวย ความสะดวกในการเรียนร้เู พ่ือให้ผูเ้ รียนเกดิ การเรนี รู้ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพอยา่ งแทจ้ ริง 4) พัฒนาครู กศน.และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ได้ อยา่ งมีคณุ ภาพ โดยสง่ เสรมิ ใหม้ ีความรคู้ วามสามารถในการจัดทำแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การ วดั และประเมนิ ผลและการวิจัยเบื้องตน้ 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถและมีความเป็นมืออาชพี ในการจดั บรกิ ารสง่ เสริมการเรยี นรตู้ ลอดชีวิตของประชาชน 6) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน.ทุกระดับและคณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการบริหาร การดำเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน.อย่างมปี ระสิทธิภาพ 7) พฒั นาอาสาสมัคร กศน.ใหส้ ามารถทำหน้าที่สนับสนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งในและ ต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ร่วมกันในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนา ประสิทธิภาพในการทำงาน 5.2 การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและอตั รากำลงั 1) จดั ทำแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและดำเนนิ การปรบั ปรงุ สถานทแ่ี ละวสั ดุอปุ กรณ์ใหม้ ีความ พร้อมในการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ 2) บริหารอัตรากำลังที่มีอยู่ ทั้งในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้เกิด ประสทิ ธภิ าพสูงสุดในการปฏิบตั ิงาน สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

[แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 32 3) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพื่อนำมาใช้ในการ ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้มีความพร้อมสำหรับดำเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยและส่งเสริมการเรียนรู้สำหรบั ประชาชน 5.3 การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ 1) พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู ให้มีความครบถว้ น ถกู ตอ้ ง ทันสมยั และเช่อื มโยงกันทั่วประเทศอย่างเป็น ระบบเพ่ือใหห้ น่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนำไปใช้เป็นเครื่องมือสำคัญในการบรหิ ารการวางแผน การปฏบิ ตั งิ าน การติดตามปนะเมนิ ผล รวมทง้ั จัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ 2) เพิ่มประสิทธิภาภการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกำกับ ควบคุม และเร่งรัด การเบกิ จ่ายงบประมาณใหเ้ ปน็ ไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 3) พฒั นาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน.ให้มีความครบถว้ น ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยง กนั ทว่ั ประเทศ สามารถสืบคน้ และสอบทานได้ทันความต้องการเพ่ือประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับผู้เรียน และการบริหารจดั การอย่างมีประสิทธิภาพ 4) ส่งเสริมให้มีการจัดากรความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัยเพ่ือ สามารถนำมาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและ ชมุ ชนพรอ้ มทัง้ พัฒนาขดี ความสามารถเชิงการแข่งขนั ของหน่วยงานและสถานศึกษา 5) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนทั้งในประเทศและต่างประเทศในการพัฒนาและส่งเสริมการ จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการเรียนรู้ตลอดชวี ติ 6) ส่งเสริมการใชร้ ะบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการลา ระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใหห้ อ้ งประชุม เป็นต้น 5.4 การกำกับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินและรายงานผล 1) สร้างกลไกการกำกบั นเิ ทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดำเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหเ้ ชือ่ มโยงกับหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครือข่ายทั้งระบบ 2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกำกับ ติดตาม และ รายงานผลการนำนโยบายสู่การปฏิบตั ิ ใหส้ ามารถตอบสนองการดำเนนิ งานตามนโยบายในแต่ละเรื่องได้อย่าง มีประสทิ ธภิ าพ 3) สง่ เสรมิ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อสาร และสือ่ อ่ืนๆทเี่ หมาะสม เพื่อการกำกับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชาการประจำปีของ สำนักงาน กศน.ใหด้ ำเนินไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เปน็ ไปตามเกณฑ์ วธิ ีการ และระยะเวลาที่กำหนด สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

[แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 33 5) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในภายนอกองค์กร ตั้งแต่ ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อำเภอ/เขต และตำบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และการพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาของสำนักงาน กศน.จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความมั่นคง ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตรด์ ้านการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตท่เี ป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอ้ ม ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 ยุทธศาสตรด์ า้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

[แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] 34 แผนงาน โครงการ เป้าหมายดำเนินการ ของสำนกั งาน กศน.จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

[แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] แผนงาน ผลผลติ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ของสำนักง 1.บุคลากรภาครฐั ประเภทงบประมาณ งบบุคลากร งบดำเนินงาน 2.แผนงานพื้นฐานด้านการพฒั นา ผลผลิตท่ี 4 ผ้รู บั บรกิ ารการศกึ ษา งบดำเนินงาน และเสรมิ สร้างศักยภาพคน นอกระบบ งบดำเนนิ งาน งบดำเนินงาน

35 งาน กศน.จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน พ.ศ.2563 โครงการ/กิจกรรม ตามแผนงาน กจิ กรรมหลัก เป้าหมายทั้งปี รายการค่าใช้จา่ ยบคุ ลากรภาครฐั เงนิ เดือน/คา่ จา้ งประจำ/พนกั งาน - ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและ ราชการ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ - รายการคา่ ใช้จา่ ยบคุ ลากรภาครฐั 1) คา่ เชา่ บา้ น ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและ 2) ค่าตอบแทนจา่ ยแทนการจัดหา - การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต รถประจำตำแหน่ง 2,292 3) เงนิ ตอบแทนเงนิ เดือนเต็มขัน้ 2,048 กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบ 4) เงนิ คา่ ตอบแทนพเิ ศษรายเดอื น 1,202 สำหรบั ผู้ปฏบิ ตั ิงานในพ้นื ทพี่ เิ ศษ 641 5) เงินประกันสังคม 4,227 1) งบบรหิ ารจัดการ กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบ 2)กจิ กรรมสง่ เสริมการรหู้ นงั สอื ไทย กิจกรรมการศึกษานอกระบบ 3)งบกิจกรรมการศึกษาตอ่ เนือ่ ง - การศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ติ - การศึกษาเพอื่ พัฒนาสงั คมและ ชมุ ชน -การเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง - การศกึ ษาเพอื่ ชุมชนในเขตภูเขา (ศศช) สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

[แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ของสำนักง แผนงาน ผลผลติ ประเภทงบประมาณ 2.แผนงานพน้ื ฐานดา้ นการพฒั นา ผลผลิตท่ี 4 ผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษา งบดำเนนิ งาน และเสริมสร้างศกั ยภาพคน นอกระบบ งบเงินอดุ หนนุ งบเงนิ อดุ หนนุ งบรายจ่ายอน่ื งบรายจ่ายอ่ืน ผลผลิตท่ี 5 ผู้รับบริการการศกึ ษา งบดำเนนิ งาน ตามอธั ยาศัย

36 งาน กศน.จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน พ.ศ.2563 โครงการ/กิจกรรม ตามแผนงาน กจิ กรรมหลกั เปา้ หมายท้งั ปี - กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบ 4) งบคา่ สาธารณูปโภค โครงการทนุ การศึกษาเดก็ สภาวะ 1)บรหิ ารจัดการ 930 ยากลำบากในเขตพนื้ ทีส่ ูง 2)ทุนการศึกษา (ทนุ ละ5,000บาท) 90 ภาคเหนือ 9 แห่ง โครงการสนับสนนุ เส้ือผ้าและ คา่ เสอ้ื ผา้ และอปุ กรณ์การเรียนสำหรับ 1,140 คน อุปกรณ์การเรยี นสำหรบั เด็กและ เด็กและเยาวชนท่อี าศัยอยู่ในถิน่ - เยาวชนทอี่ าศัยอยู่ในถ่นิ ทุรกันดาร ทรุ กันดาร โครงการจัดการศึกษาสำหรบั เด็ก จัดการศกึ ษาสำหรับเดก็ และเยาวชน และเยาวชนในถิน่ ทรุ กันดาร เพอื่ ในถน่ิ ทรุ กนั ดารเพื่อสนองงานตาม สนองงานตามพระราชดำริสมเดจ็ พระราชดำริสมเด็จพระเทพ พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรม รตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกุมารี ราชกมุ ารี โครงการขยายผลโครงการหลวง 1) ส่งเสริมการรู้หนงั สือ เพอ่ื แก้ปัญหาพื้นทีป่ ลกู ฝ่นิ อยา่ ง 2) การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชวี ติ ย่ังยนื กิจกรรมการจัดการศึกษาตาม 1) งบบริหารจดั การ อธั ยาศัย 2) คา่ ส่อื วารสาร หนงั สือพมิ พ์ หอ้ ง สมดุ ฯ 3) งบคา่ สาธารณปู โภค สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

[แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] แผนงาน ผลผลติ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ของสำนกั ง 2.แผนงานพืน้ ฐานด้านการพัฒนา ประเภทงบประมาณ และเสริมสรา้ งศักยภาพคน 2.แผนงานยทุ ธศาสตรเ์ พือ่ โครงการความรว่ มมือการผลติ งบรายจา่ ยอ่นื สนบั สนนุ ดา้ นการพัฒนาและ ผู้ดูแลผู้สงู อายุ งบอดุ หนนุ เสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากร กระทรวงศึกษาธกิ าร มนษุ ย์ โครงการสนับสนุนคา่ ใชจ้ า่ ยใน การจดั การศกึ ษาต้ังแตร่ ะดับ อนุบาลจนจบการศกึ ษาขั้น พ้นื ฐาน โครงการขบั เคลือ่ นการพฒั นา งบรายจา่ ยอ่ืน การศกึ ษาทย่ี ง่ั ยนื โครงการพฒั นาศักยภาพครแู ละ งบรายจ่ายอื่น บคุ ลากรทางการศกึ ษา

37 งาน กศน.จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน พ.ศ.2563 โครงการ/กิจกรรม ตามแผนงาน กิจกรรมหลัก เปา้ หมายทงั้ ปี กิจกรรมสร้างแหลง่ เรียนรู้ระดับ 1) หนังสอื พิมพ์ กศน.ตำบล - ตำบล 2) สื่อ หนงั สอื กศน.ตำบลทีก่ อ่ สรา้ ง ตามแบบของ กศน. 100 คน โครงการความรว่ มมือการผลติ 3.ค่าสาธารณปู โภค กศน.ตำบลที่ ผู้ดแู ลผสู้ งู อายุ กอ่ สร้างตามแบบ รอ้ ยละ 60 ของผู้เรียนที่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 1) หลกั สูตร 70 ชั่วโมง ลงทะเบียนในถาคเรียนนั้นๆ โครงการสนับสนนุ คา่ ใช้จ่ายใน - ตามจำนวนผู้เรยี นที่ การจดั การศึกษาต้ังแตร่ ะดับ 1) คา่ หนังสอื เรียน ลงทะเบยี นในภาคเรยี นนัน้ ๆ อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขน้ั - ตามจำนวนผเู้ รยี นที่ พ้ืนฐาน 2) คา่ กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน ลงทะเบียนในภาคเรียนนน้ั ๆ 3) คา่ จดั การเรยี นการสอน (งบรายหวั ) โครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน 1) หลกั สูตรระยะสน้ั 30 ช่วั โมง 3,117 2) หลกั สตู รระยะส้ันแบบชน้ั เรยี น 240 โครงการพฒั นาทักษะครู กศน. ตั้งแต่ 31 ชว่ั โมงขึ้นไป ตน้ แบบการสอนภาษาองั กฤษเพ่ือ 3) กจิ กรรมพัฒนาอาชีพ 1 อำเภอ 1 การสอื่ สารดา้ นอาชพี อาชีพ ในรปู แบบ (1) และ (2) อบรมครู กศน.ต้นแบบ การสอน ภาษาองั กฤษเพอื่ การสื่อสารดา้ นอาชพี สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

[แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] แผนงาน ผลผลติ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ของสำนกั ง 3.แผนงานยุทธศาสตรพ์ ัฒนา โครงการศนู ยด์ จิ ิทลั ชมุ ชน เศรษฐกจิ และสังคมดิจิทัล ประเภทงบประมาณ งบรายจ่ายอน่ื

38 งาน กศน.จังหวัดแมฮ่ ่องสอน พ.ศ.2563 โครงการ/กิจกรรม ตามแผนงาน กจิ กรรมหลัก เปา้ หมายทง้ั ปี 1,350 คน โครงการสร้างเครือขา่ ยเศรษฐกจิ 1) อบรมแกนนำครู กศน. ดจิ ิทัลชุมชนระดบั ตำบล 2) อบรมขยายผลใหป้ ระชาชน สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

[แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] 39 แผนดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้น การทำงานของสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ของสำนกั งาน กศน.จังหวดั แม่ฮอ่ งสอน สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

[แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563] แผนปฏิบัติตกิ ารประจ สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและ (จำแนกตามง ������ หน่วยงาน ������ สถานศกึ ษา ท่ี ช่ือแผนงาน/โครงการ วัตถุประสงค์ กจิ กรรมหลัก ตัวช้ีวดั ความ 1 สง่ เสรมิ การรู้หนงั สอื ไทย เชิงปรมิ าณ เพ่ือสง่ เสริมการรู้ 1.สำรวจขอ้ มลู ร้อยละของผูอ้ า่ หนงั สอื ใหก้ ับกลุม่ กลุ่มเป้าหมายผไู้ ม่รู้หนังสือท่ี ออกเขยี นได้ เปา้ หมาย ผ้ทู ไี่ มร่ ู้ ตกเกณฑ์ จปฐ. 2.พฒั นาสือ่ หนังสอื ผูท้ ่ลี ืมหนงั สง่ เสรมิ การเรียนการสอนให้ สอื และคนไทยใน เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั จงั หวัดแมฮ่ ่องสอนท่ี สมรรถนะของผ้เู รียน 3. ตกเกณฑ์ จปฐ. ไดม้ ี จดั การเรยี นการสอนตาม การเรียนรอู้ ยา่ ง หลกั สูตร วัดและประเมินผล ต่อเนอ่ื ง สามารถอา่ น และตดิ ตามผ้เู รยี น 4. ออกเขยี นได้ และคิด ส่งเสริมการเรียนรูภ้ าษาไทย คำนวนตัวเลขท่ีใชใ้ น ให้กับกลุ่มเปา้ หมายเพอื่ ชวี ติ ประจำวันได้ ปอ้ งกนั การลมื หนงั สอื

40 กศน.กผ-01/2563 จำปีงบประมาณ 2563 ะการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดแมฮ่ ่องสอน งาน/โครงการ) √ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดแม่ฮ่องสอน มสำเร็จของโครงการ เป้าหมาย งบประมาณ เชงิ คุณภาพ งบดำเนินงาน งบรายจา่ ยอน่ื ประเภท จำนวน าน ผู้ไมร่ ูห้ นังสือที่ ตกเกณฑ์ จปฐ. กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย มีจำนวนลดลง ประชากรวยั 2,292 คน 1,260,600 - แรงงาน 16-59 ปี ทไี่ ม่รู้หนงั สอื ไทยและผทู้ ่ลี มื หนงั สือไทย สำนกั งำน กศน.จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

[แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563] แผนปฏบิ ัติตกิ ารประจ สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและ (จำแนกตามง ������ หนว่ ยงาน ������ สถานศกึ ษา ท่ี ช่อื แผนงาน/โครงการ วัตถุประสงค์ กิจกรรมหลัก ตวั ช้ีวดั ความ เชิงปรมิ าณ 2 โครงการจัดการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื พัฒนาทักษะให้ อบรมใหค้ วามรู้หลักสูตร 1.ระดับความพ กจิ กรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นา กล่มุ เป้าหมายทุกชว่ ง ระยะส้นั ไมเ่ กิน 30 ช่วั โมง พอใจของ ทักษะชวี ิต อายุได้รบั การศึกษา โดยเนน้ เน้อื หาใหเ้ ป็นสภาพ ผ้เู ข้าร่วม และพัฒนาการเรยี นรู้ ปัญหาของชมุ ชน กจิ กรรมท่มี ตี ่อ คณุ ลกั ษณะและ สภาพแวดลอ้ ม และฤดูกาล กจิ กรรม ทักษะทจี่ ำเป็นอยา่ ง นนั้ ๆ ให้ทันต่อเหตุการณ์ใน 2.ร้อยละของ รอบดา้ นใหท้ ันตอ่ การ ชว่ งเวลานั้นๆ ผเู้ ขา้ รว่ ม เปลย่ี นแปลง ภายใต้ กจิ กรรมทน่ี ำ ทักษะชีวติ 10 ความรู้ไปปรบั ประการ ใชไ้ ด้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook