Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐศาสตร์ ม.5.ใหม่

เศรษฐศาสตร์ ม.5.ใหม่

Published by kingmanee2614, 2021-09-15 02:53:50

Description: เศรษฐศาสตร์ ม.5.ใหม่

Search

Read the Text Version

สงั คมศึกษา ส 32101 2 ชัว่ โมง

ผลการเรียนรวู ิชาเศรษฐศาสตร 1.อธบิ ายความหมายความสําคัญของวิชาเศรษฐศาสตร ได 2.อธบิ ายขอบขาย เปา หมายของการศกึ ษา วชิ าเศรษฐศาสตรได 3.อธบิ ายปญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐศาสตรไ ด 4.อธบิ ายกิจกรรมทางดานเศรษฐศาสตรไ ด 5.วิเคราะหการดาํ เนนิ ชีวติ ประจําวันตามหลัก เศรษฐศาสตรไ ด

6.อธิบายประเภทของระบบเศรษฐกจิ ของโลกในปจจบุ นั ได 7.วเิ คราะหผ ลดแี ละผลเสียของระบบเศรษฐกจิ แบบ ตาง ๆได 8.วิเคราะหข อ ดีและขอ เสียของตลาดประเภทตา งๆ ได 9.อธิบายการกาํ หนดราคาตามอุปสงค อุปทาน การ กาํ หนด ราคา คาจาง และกฎหมายที่เกย่ี วขอ งได

10.อธิบายบทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคา และควบคมุ ราคาได 11.ตระหนักถงึ ความสาํ คญั ของปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงทีม่ ีตอเศรษฐกิจ สังคมของ ประเทศ 12.วเิ คราะหสาระสาํ คญั ของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติฉบับตาง ๆ ได

13.ตระหนักถงึ ความสําคัญของระบบสหกรณใน การพัฒนาเศรษฐกจิ ในระดบั ชุมชนและประเทศ 14.วิเคราะหปญ หาทางเศรษฐกิจในชมุ ชนและแนว ทางแกไ ข 15.อธบิ ายบทบาทของรฐั บาลเก่ยี วกับนโยบาย การเงิน การคลงั ในการพัฒนาเศรษฐกจิ ของ ประเทศ

หนว ยการเรียนรูที่ 1 เศรษฐศาสตรเ บือ้ งตน

ความหมายของเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตรเปน วชิ าท่ีศกึ ษาพฤติกรรมของ มนุษยใ นดานตางๆนบั ตั้งแตก ารเลือกใชท รัพยากร การตดั สินใจซื้อสินคาไปบริโภค การเลือกท่จี ะ ประกอบอาชีพ และการปฏิบัตติ อ บคุ คลตางๆทอ่ี ยู ในสงั คม

เศรษฐศาสตรถือเปน วชิ าหนงึ่ ของสงั คมศาสตร คือศาสตรท ี่ศกึ ษาพฤตกิ รรมตางๆของมนุษยท ้ังใน ดา นจติ ใจและวฒั นธรรมเพือ่ นาํ มาแกปญ หาสังคม หรือสรางองคค วามรูใหมเ ชน สาขารฐั ศาสตร เศรษฐศาสตร สงั คมวิทยา บริหารศาสตร ประชากรศาสตร นิติศาสตรเปน ตน

กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของมนุษยเ กิดข้ึนจากความ ตองการคือปจ จัย 4 คือ อาหาร เครื่องนงุ หม ทอ่ี ยอู าศัย และ ยารกั ษาโรค เหตผุ ลที่ตอ งศกึ ษาวชิ าเศรษฐศาสตร วชิ าเศรษฐศาสตรเกดิ จากปญหาความขาดแคลนหรือ ความไมสมดลุ ระหวางทรัพยากรกบั ความตอ งการ ความขาด แคลนหมายถึงภาวะที่ปรมิ าณทรพั ยากรทไ่ี มเพียงพอตอการ ผลิตสนิ คาและบรกิ ารตา งตามทปี่ ระชาชนปรารถนาหรอื ทรพั ยากรท่ีมีอยูเพยี งพอทีจ่ ะผลิตทุกสงิ่ ทุกอยา งเพื่อสนอง ความตองการใหกบั ทกุ คน

1.ทรัพยากรมีอยูอยางจํากดั ทรัพยากรหรอื ทรัพย (Goods)คือ ส่ิงตางๆที่ ใชบ ําบัดความตอ งการของมนุษยทงั้ ท่เี กดิ ขนึ้ เอง ตามธรรมชาตหิ รือมนุษยสรางข้ึนทั้งที่มีรูปรางเชน บาน รถยนต เสื้อผา ปากกาฯลฯและไมม รี ปู ราง เชน บรกิ ารตา งๆ ทรพั ยแ บงออก เปน 2 ชนดิ

1.1 ทรพั ยเสรีหรือทรัพยห ายาก คือ ทรัพยที่ไมขาดแคลน มีเปน จํานวนมากไม จํากดั มีอยโู ดยธรรมชาติไดมาโดยไมตองซ้ือ หา เชน อากาศ แสงแดด สายลม น้าํ ฝน ฯลฯ

1.2.เศรษฐทรัพย คือทรพั ยท่ีมีอยอู ยางจาํ กดั มคี วามขาดแคลน ตอ งซือ้ หรือแลกเปลยี่ นจึงจะ ไดมาเชน บา น เครือ่ งไฟฟา รถยนต เสือ้ ผา ยารกั ษาโรค ฯลฯลักษณะสาํ คัญของเศรษฐทรัพย คือสามารถแสดงเจา ของหรือเปลยี่ นเจาของได

ความตองการของมนุษยไ มมีขอบเขตจาํ กัด 1.ความตองการทั่วไปไมม ีทสี่ ้นิ สุด เปน ธรรม ชาติของแตละบุคคลทจ่ี ะมีความตอ งการใน ส่งิ ตางๆโดยไมม ขี อบเขตจํากดั เชน เสื้อผา รถยนต บาน ฯลฯ 2.ความตองการท่ีส้ินสดุ เพยี งช่วั ขณะหนึ่ง เชน ความตอ งการน้ําดืม่ ความตองการอาหาร

3.ความตอ งการในสนิ คา ทที่ ดแทนกนั ได เชน สินคาประเภทเดยี วกัน มีหลายชนิด หลายยห่ี อ เมือ่ สนิ คาทีใ่ ชอยปู ระจาํ มรี าคาสงู ขน้ึ เราอาจเปลีย่ นยี่หอ ได 4.ความตอ งการในสินคา บางชนดิ ถาไดรบั การ สนอง ตอบทกุ ครั้งบอ ยๆอาจจะกลายเปน นิสัย เชน การ ติดบุหร่ี สุรา ยาเสพตดิ 5.ความตอ งการในสนิ คา บางอยางท่ีจะไป เกี่ยวพันกับความตอ งการของอยางอ่ืนเชน ถา ตองการรถยนต ก็ตอ ง การนํ้ามันดวย

ความสําคัญของวิชาเศรษฐศาสตร 1.ชวยในการตดั สินใจของประชาชน 2.ชว ยสรางความเขา ใจใหก บั ประชาชนเกยี่ วกับ นโยบายของรัฐ 3.ชวยสรา งองคค วามรใู นการบรหิ ารงาน 4.ชว ยสรา งผลประโยชนใ หเ กดิ กับประเทศชาติ

สรุป การศึกษาเศรษฐศาสตรจะชวยในการ ตัดสินใจของประชาชนในเชิงเหตุผลทาง เศรษฐกิจไดอยางเหมาะสม ชวยสรางความ เขาใจในนโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐสราง องคความรูทางเศรษฐศาสตรใหกบั ผบู ริหาร องคกรและผลประโยชนของประเทศ

ขอบขาย เปา หมาย ของการศึกษาวิชา เศรษฐศาสตร ขอบขา ยของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร มี 2 ลกั ษณะ 1.จําแนกตามเนือ้ หาของวิชา เศรษฐศาสตร สามารถจําแนกไดดงั น้ี

1.1 เศรษฐศาสตรจ ุลภาค (Microecnomics) เปน การศกึ ษาถงึ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของหนวย ยอ ยๆเฉพาะบุคคลหรือหนวยธุรกิจเล็กๆในสังคม เชนการกําหนดราคา กลไกลราคาหรือกลไกล ตลาด ทฤษฎกี ารผลิตและผลกาํ ไร พฤตกิ รรมของ ผูผ ลิตและผบู รโิ ภค

1.2 เศรษฐศาสตรม หภาค (Macroeconomics) เปน การศึกษาถึง พฤติกรรมเศรษฐกิจสวนรวม เกี่ยวกบั เรื่อง รายไดและรายไดประชาชาติ การจางงาน การออมการลงทุน การเงิน การคากับ ตางประเทศและการพัฒนาเศรษฐกิจ

2.จาํ แนกตามการวิเคราะหปญ หา 2.1 เศรษฐศาสตรตามความเปนจรงิ หรือ เศรษฐศาสตรพรรณนา เปน อธิบายเรือ่ งที่ เกิดขึ้น เรือ่ งที่เปน อยแู ละเรื่องที่จะเกิดขน้ึ วา เปน อยา งไรเชน อธิบายถงึ สาเหตขุ องการเกดิ ภาวะ เศรษฐกิจตกต่าํ ซงึ่ มาจากพื้นฐานภายนอกประเทศ

2.2 เศรษฐศาสตรท ค่ี วรจะเปนหรือเศรษฐ ศาสตรนโยบาย กลา วถงึ สง่ิ ทค่ี วรจะมีหรือควรจะ เปนโดยอาจจะเกิดขน้ึ หรือไมเ ปนไปตามทีค่ าด หมายไวกไ็ ด เชน ประเทศไทยควรนาํ กฎหมายทดี่ นิ และสง่ิ ปลกู สรางและภาษมี รดกมาใชเ พือ่ ทจ่ี ะทาํ ให รัฐมรี ายไดเพิ่มข้นึ

เปาหมายของวชิ าเศรษฐศาสตร 1.ผูป ระกอบการผลิต ชวยทําใหผ ูประกอบการ มคี วามรคู วาม สามารถในการวางแผนการผลิต การพยากรณการผลติ เพื่อสนองความตอ งการ ผบู รโิ ภคไดอยางถกู ตอ งในขณะเดย่ี วกนั กม็ ีความ สามารถในการประยกุ ตใชปจจยั การผลิตเพือ่ ลด ตนทนุ การผลิตและสามารถแขงขนั และไดผ ลกําไร

2.ผูบริโภค ชว ยใหผ บู ริโภครจู กั ตัดสนิ ใจเลือกใช ทรพั ยากรทีม่ ีอยูอ ยางจํากดั ในการบรโิ ภคและใช ในทางทดี่ ที ี่สุดเพือ่ ใหเ กดิ ประโยชนใ นอนาคต รวมทัง้ มีความรคู วามเขา ใจในสถานการณท าง เศรษฐกจิ และสามารถปรบั ตัวไดภ ายใตค วามผนั ผวนทางเศรษฐกจิ

3.ผบู รหิ ารในองคก รของรฐั ชวยผูบรหิ ารใน องคกรของรัฐมีความรคู วามเขาใจในเรื่องการ จดั สรรทรพั ยากรอยางเหมาะสมมคี วาม สามารถ ในการวางนโยบายเพือ่ สรางความเจริญเตบิ โตทาง เศรษฐกิจ รจู ักใชนโยบายและมาตรการตา งๆเพื่อ แกปญ หาเศรษฐกิจรวมทัง้ โครงการตางๆเพือ่ พัฒนาเศรษฐกจิ ใหสามารถแขง ขันกับตา งประเทศ

ปญ หาพนื้ ฐานทางเศรษฐศาสตร ทุกประเทศในปจ จบุ นั มักจะประสบปญ หา พื้นฐานทางเศรษฐกิจทค่ี ลา ยคลงึ กันเนื่องจาก ความไมพ อดีระหวางความตองการของมนษุ ยแ ละ สง่ิ ทจี่ ะมาตอบสนองความตองการโดยเฉพาะ ปจจัยขั้นพืน้ ฐานทีเ่ รยี กวา ปจจยั 4

What จะผลิตสินคาอะไรเนื่องจาก ทรพั ยากรมีจาํ กดั ทาํ ใหไมสามารถผลิต สินคาและบริการไดทกุ ชนิดเพื่อตอบสนอง ความตองการของสังคมไดหมดจึงตองเลือก วาจะผลิตสินคาและบริการประเภทใด จํานวนเทาใด

How จะผลิตอยางไร จะใชวิธีการผลิต แบบใด ตองใชปจจัยการผลิตอะไรบาง จึงจะทาํ ใหเสียตนทุนการผลิตต่ําและมี ประสิทธิภาพมากทีส่ ุด

For Whom จะผลิตเพื่อใคร เมื่อมี การผลิตสินคาและบริการไดมาแลว ใครจะเปน ผใู ชและจะจาํ แนกจาย สินคาไปใหผใู ชอยางไร

กจิ กรรมทางดา นเศรษฐศาสตร 1.การผลติ หมายถึงการสรา งอรรถประโยชน ของปจจยั การผลติ ตางข้นึ มาใหมเพือ่ กอใหเกดิ สนิ คาและบริการที่จะนาํ ไปตอบสนองความ ตองการของมนุษยร วมไปถงึ การผลิตสนิ คาข้นึ มา ใหม การเกบ็ สนิ คา เพื่อทําใหมคี ุณภาพดีขน้ึ การ เคลื่อนยา ยสนิ คา ไปสูผู บริโภคโดยแบง ปจจัยการ ผลิตออกเปน 4 ประเภท

1.ทีด่ ินและทรัพยากรธรรมชาติ เปน ทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเชน ทีด่ ิน แรธาตุ ปาไม แมน้ําประเทศทีม่ ีทรัพยากร อดุ มสมบูรณจะไดเปรียบในเรือ่ งการผลิต ผลตอบแทนจากการใชดินคือ คาเชา

2.แรงงาน เปนประชากรในวัยทาํ งานเปน ผูใชแรงงานและกาํ ลงั ความคิดในการผลิต สินคาและบริการไดรบั คาตอบแทนเปน คาจา ง 3.ทุน เปนสินคาเชนเครื่องจักร อุปกรณ โรงงาน รถยนต ผลตอบแทนจากการใชทนุ คือ ดอกเบีย้

4.ผปู ระกอบการ เปน ผรู วบรวมปจ จัยการ ผลิตเพื่อทาํ การผลิตใหไดผลผลิตตามวัตถุ ประสงคเปนผูยอมรบั ความเสี่ยงจากการผลิต และบริหารจดั การในองคกรใหเจริญเติบโต ผลตอบแทนที่ไดรับคือ กาํ ไร

๒.การบริโภค การบริโภคหมายถงึ การใชป ระโยชนจ ากสิ่งของและ บริการเพอื่ สนองความตอ งการของมนษุ ยโ ดยผูผลติ สนิ คาและ บริการจะตอ งพยายามผลิตสินคาใหตรงกับความตอ งการและ รสนิยมของผบู รโิ ภคใหไดม ากท่สี ดุ เพ่ือจูงใจใหผ ูบรโิ ภคเลือก ซื้อสนิ คาและบริการของตนใหม ากกวา ผูผลติ รายอื่นโดยการ โฆษณาผา นสื่อตา งๆไมวา จะเปน สือ่ วิทยุ โทรทัศน สื่อสงิ่ พมิ พ สือ่ อเิ ล็กทรอนิกสและสือ่ บคุ คลจงึ ไดมีพรบ.คมุ ครองผูบรโิ ภค พ.ศ.2522แกไ ขเพมิ่ เตมิ พ.ศ. 2541 เพือ่ คมุ ครองผบู ริโภคให ไดรบั ความเปนธรรมจากการบรโิ ภค ดงั น้ี

1.สิทธิท่จี ะไดร บั ฟง ขา วสาร รวมทั้งคําพรรณนา คุณภาพที่ถกู ตอ งและเพยี งพอกับสินคาและบรกิ าร 2.สทิ ธิท่ีจะเลือกซือ้ สินคา หรือบรกิ ารโดยความ สมัครใจและปราศจาก การชักจูงอันไมเ ปน ธรรม 3.สทิ ธิทจ่ี ะไดร ับความปลอดภยั จากการใชส นิ คา และบริการไมก อให เกดิ อนั ตรายตอ ชีวติ และ ทรัพยส นิ

4.สทิ ธิทจ่ี ะไดรับความเปน ธรรมในการทําสญั ญา โดยไมถ กู เอารัดเอาเปรียบจากผปู ระกอบการ 5.สทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั การพจิ ารณาและชดเชยความ เสยี หายซ่ึงเปน สิทธิทจี่ ะไดร ับความคุมครองและ ชดใชค าเสียหายเมือ่ มีการละเมิดสิทธขิ องผบู ริโภค

3.การกระจายรายได การกระจายรายไดห มายถึง การ กระจายรายไดระหวางเจาของปจ จยั การผลิต ทุกประเภทอนั ไดแก ที่ดิน แรงงาน ทุน และ ผปู ระกอบการซึ่งทาํ งานรวมกันในการผลิต สินคาและบริการโดยเจาของปจ จัยการผลิต จะไดรบั รายไดเปน คาเชา คาจาง ดอกเบี้ย และกาํ ไร

4.การแลกเปลีย่ น การแลกเปลีย่ นหมายถึงกระบวนการท่ีเกดิ จากบุคคลทั้งสองฝายมีความสมัครใจรวมกนั ใน การดาํ เนินกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ระหวา งกัน โดยมบี ุคคลหนงึ่ เปนผคู รอบครองทรพั ยสนิ และ บรกิ ารมีความเตม็ ใจและตอ งการมอบสง่ิ ของที่ ตนครอบครองอยใู หบ ุคคลอื่น

หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลก ปจจุบนั

หนว ยเศรษฐกจิ การดําเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจไมวา จะเปน กจิ กรรมที่เกยี่ ว ขอ งกบั การผลิต การบรโิ ภค การ แลกเปลย่ี น และการจําแนกแจก จา ยสินคาและ บริการไปยังผบู ริโภคจงึ จาํ เปนทจ่ี ะตอ งดําเนนิ การ อยา งประหยัดและสามารถตอบสนองความ ตอ งการของบุคคลในสงั คมใหม ากทส่ี ุด

ประเภทของหนวยเศรษฐกจิ 1.ครวั เรือน เปน หนว ยเศรษฐกจิ ที่อาจเปน บคุ คลเพยี งคนเดยี วหรือหลายคนรว มกันตัดสินใจ เพือ่ ใชทรพั ยากรไมวาจะเปน เงินทรพั ยสนิ และ แรงงานใหเ กดิ ประโยชนม ากท่สี ุดสมาชิกของ ครวั เรือนอาจเปนเจาของปจ จยั การผลิตโดยมี เปาหมายคือการแสวงหาความพอใจสงู สุดและ ผลตอบแทนคือกาํ ไร

2.ธรุ กิจ เปน บุคคลหรือกลมุ บุคคลที่ทาํ หนา ทีใ่ นการนาํ เอาปจ จัยการผลิตตางๆแลวนาํ ไป จาํ หนายใหแกผูบริโภคหนวยธรุ กิจนี้ประกอบ ดวยผูผลิต และผูขายโดยมีจดุ มุงหมายที่ สําคญั คือ การแสวงหากาํ ไรสูงสุดจากการ ประกอบการของตน

3.องคกรรฐั บาล เปนหนว ยงานของรัฐหรือ สวนราชการตางๆมีหนาที่และความสัมพนั ธกับ หนวยงานอืน่ ๆเชน ควบคมุ และใหค วามชว ยเหลือ แกครวั เรือนและธุรกิจเรียกเกบ็ ภาษีและธรุ กิจ ออกระเบียบและกฎหมายกระตุนและควบคมุ ภาวะเศรษฐกิจใหส มดุล ตดั สนิ ใจขอ พิพาทตางๆ ระหวา งหนวยเศรษฐกจิ อืน่ ๆ

ความสมั พนั ธของหนวยเศรษฐกิจ ในทางทฤษฎบี คุ คลในระบบเศรษฐกิจมหี นาท่ี เปน ทง้ั ผผู ลติ และผูบริโภคและเจาของปจจยั การ ผลติ แตใ นทางทฤษฎกี ารแบงหนา ที่แบบนจ้ี ะแยก ออกจากกนั โดยเดจ็ ขาดไดย ากเพราะบคุ คลเดียว อาจทาํ หนา ทเ่ี ปนทั้งผูผลิต เจาของปจจยั การผลติ และผบู ริโภครวมกนั ไปดวย

แผนผังที่ 1 แสดงกระแสหมุนเวยี นของกจิ กรรมทางเศรษฐกิจระหว่างหน่วยเศรษฐกิจ ตลาดปัจจัยการผลติ ธุรกจิ ครัวเรือน ตลาดสินค้า และบริการ

จากแผนผงั ที่ 1วงจรกระแสหมนุ เวยี นทางบน ครวั เรือนหรือเจาของปจ จัยการผลิตจะนําปจจัยการ ผลติ ออกสูตลาดปจ จยั การผลติ เมือ่ ตลาดตกลงใจที่ จะซือ้ ปจ จัยการผลิตแลวกจ็ ะจายเงนิ ใหกบั เจาของ ปจ จัยการผลิตในรูปแบบตา งๆเชน คา จา ง คาเชา ดอกเบีย้ และกําไรใหแกครัวเรือน

แผนผงั ท่ี 2 บทบาทของรฐั บาลท่ีความสมั พนั ธ์กบั หน่วยเศรษฐกจิ อน่ื ๆ ตลาดปัจจัยการผลติ ธุรกจิ สินค้าและบริการ รัฐบาล สินค้าและบริการ ครัวเรือน ภาษี ภาษี ตลาดสินค้า และบริการ

จากแผนภาพท่ี 2 บทบาทของรัฐบาลทเ่ี ปน ทง้ั ผบู รโิ ภค ผผู ลติ และเจาของปจจัยการผลิตโดยรฐั บาลจะมีรายไดจ าก ภาษอี ากรและขายสนิ คา ใหแ กธุรกิจและครัวเรือนขณะเดยี ว กันรฐั กน็ ํารายไดไ ปซือ้ ปจ จยั การผลติ ในตลาดปจ จยั การผลติ เพื่อนําไปผลติ สนิ คาและบริการทห่ี นว ยธรุ กจิ ไมทาํ การผลติ เชน ผลติ กระแส ไฟฟา นํ้าประปา โทรศัพท ยาสูบ การขนสง ทางรถไฟและเงนิ ชวยเหลือในภยั พบิ ัตติ า งๆ

ระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจ หมายถึง กระบวนการ ทางเศรษฐกิจทีเ่ กิดจากความรวมมือกันของ มนษุ ยในการสรางและใชทรัพยากรเพื่อสนอง ความตองการระหวางกนั ของสมาชิกใน สงั คมทีม่ ีการปฏิบตั ิคลายคลึงกนั โดยแบง ออกได 3 ระบบ

ระบบเศรษฐกจิ ผสม หนวยเศรษฐกิจภาครัฐบาลจะเปนฝายตัดสินใจเลือกวาจะใหหนวย เศรษฐกจิ ภาคเอกชนมบี ทบาทมากหรอื นอ ย ทางเลือกของรฐั บาล ระบบเศรษฐกิจที่เลือกใช ตองการใหภาคเอกชนมีบทบาทมาก - มากท่ีสดุ ทุนนยิ ม ผสม ตองการใหภ าคเอกชนมบี ทบาทมาก โดยทร่ี ฐั บาล สามารถเขาไปแทรกแซงไดเปนบางครงั้ สงั คมนิยม ตอ งการใหภาคเอกชนมีบทบาทอยู แตรัฐบาลควบคุม สงั คมนิยมคอมมิวนิสต และแทรกแซกอยูมาก ตอ งการใหภาคเอกชนมบี ทบาทนอยทส่ี ดุ

ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนยิ ม ลกั ษณะสาํ คญั • เอกชนเป็ นเจา้ ของปัจจยั การผลติ และทรพั ยส์ นิ • เอกชนมีเสรภี าพอย่างเต็มที่ในการประกอบการ • มีกาํ ไรเป็ นเครอื่ งจูงใจ • รฐั บาลไม่มีบทบาททางเศรษฐกจิ ขอ้ ดี ขอ้ เสีย • การจดั สรรทรพั ยากรเป็ นไป • ทาํ ใหก้ ารกระจายรายไดข้ องประชาชน อยา่ งมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ ไม่เท่าเทียมกนั • ก่อใหเ้ กิดการเจริญเตบิ โตทาง • ทาํ ใหค้ นในสงั คม เกิดคา่ นิยมยกยอ่ งวตั ถุ เศรษฐกิจ ท่ีเรยี กว่า วตั ถุนิยม • ผบู้ ริโภคมีโอกาสเลือกบริโภคสินคา้ • เอกชนเลือกประกอบธุรกิจท่ีมุ่งเนน้ กาํ ไร - บริการตา่ งๆในราคาท่ีเป็ นธรรม สงู สดุ มากที่สุด • เอกชนรวมตวั กนั ผกู ขาดการผลิตสนิ คา้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook