Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์

หน่วยที่ 2 ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์

Published by kingmanee2614, 2021-02-04 04:19:33

Description: หน่วยที่ 2 ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์

Search

Read the Text Version

ป่ าไม้ เป็ นแหล่งท่ีมา ของปัจจยั สี่ ป่ าไม้ ปฏิสมั พนั ธ์ ป่ าไม้ เป็ นแนว ระหว่างมนุษย์ ช่วยลดมลพษิ ป้องกนั ทางอากาศ ลมพายุ กบั ป่ าไม้ ในประเทศไทย ป่ าไม้ ป่ าไม้ เป็ นสถานที่ เป็ นแหล่งที่อยู่ ท่องเท่ียว และท่ีหลบภยั ของสตั วป์ ่ า

ความหลากหลายของชนิดพนั ธุส์ ตั วใ์ นประเทศไทย 1. สตั วป์ ่ าในประเทศไทย จาํ แนกตามพระราชบญั ญตั ิสงวนและ คุม้ ครองสตั วป์ ่ า พ.ศ. 2535 แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม 1.1 สตั วป์ ่ าสงวน หมายถึง สตั วป์ ่ าหายากมี 15 ชนิด ดงั น้ ี แรด กระซู่ กูปรหี รอื โคไพร

ควายป่ า ละองหรอื ละมงั ่ กวางผา เลียงผา สมนั หรอื เน้ ือสมนั สมเสรจ็

เกง้ หมอ้ พะยนู หรอื หมูน้าํ แมวลายหินอ่อน นกกระเรยี น นกเจา้ ฟ้าหญิงสริ นิ ธร นกแตว้ แลว้ ทอ้ งดาํ

1.2 สตั วป์ ่ าคมุ้ ครอง แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด  สตั วป์ ่ าคุม้ ครองประเภทที่ 1 หมายถึง สตั วป์ ่ าท่ีปกติคนจะ ไมใ่ ชเ้ น้ ือเป็ นอาหาร หรือไมล่ ่าเพือ่ การกีฬา เป็ นสตั วป์ ่ าท่ีทาํ ลายศตั รูพืช หรือขจดั ส่ิงปฏิกูล หรือสงวนไวเ้ พอ่ื ประดบั ความงามตามธรรมชาติ หรือไมใ่ ห้ จาํ นวนลดลง มีท้งั ส้ ิน 166 ชนิด เชน่ ชา้ ง ชะมด กระรอก ลิง เสือปลา หมาไม้ และนกชนิดต่างๆ อีก 130 ชนิด เชน่ นกกวกั นกกาบบวั นกเงือก นกเขาไฟ  สตั วป์ ่ าคุม้ ครองประเภทท่ี 2 หมายถึง สตั วป์ ่ าที่คนนิยมใช้ เน้ ือมาปรุงเป็ นอาหาร หรือล่าเพอ่ื การกีฬา มีท้งั ส้ ิน 29 ชนิด เชน่ กระทิง กวาง กระจง เสือโครง่ หมีควาย และนกอ่ืนๆ อีก 19 ชนิด เชน่ นกกระสา นกแขวก นกอีโกง้ ไกป่ ่ า

1.3 สตั วป์ ่ าที่ไม่สงวนและคุม้ ครอง หมายถึง สตั วป์ ่ าท่ีสามารถ ทาํ การลา่ ไดต้ ลอดเวลา แต่ตอ้ งไม่ลา่ ในเขตหวงหา้ ม เชน่ อุทยานแหง่ ชาติ เขตรกั ษาพนั ธุส์ ตั วป์ ่ า และเขตหา้ มลา่ สตั ว์ สตั วป์ ่ าท่ีไมส่ งวนและคุม้ ครอง เชน่ หนู คา้ งคาว ตะกวด แย้ งูเหา่ นกกระจาบ หมปู ่ า

ความหลากหลายของชนิดพนั ธุส์ ตั วใ์ นประเทศไทย 2. สตั วน์ ้าํ ในประเทศไทย สตั วน์ ้าํ ในประเทศไทย จาํ แนกเป็ น สตั วน์ ้าํ จดื สตั วน์ ้าํ กรอ่ ย สตั วน์ ้าํ ทะเล สตั วน์ ้ําจืด สตั วน์ ้ํากร่อย และสตั วน์ ้ําทะเล มีความสาํ คญั ต่อกิจกรรม การประมง เพ่อื การบริโภคภายในและการสง่ ออกของประเทศไทย

สตั วน์ ้าํ จดื : จระเข้ สตั วน์ ้าํ กรอ่ ย : ปูแสม สตั วน์ ้าํ ทะเล : วาฬ

ประเทศไทยภายใตก้ ารเปลยี่ นแปลงทางสงั คมและ วฒั นธรรม กบั การเกดิ ภมู ิสงั คมใหม่ การพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมเพอ่ื มุ่งหวงั ใหเ้ กิดการขยายตวั ทางเศรษฐกิจ การนําเทคโนโลยี วทิ ยาการดา้ นต่างๆ เขา้ มาใชใ้ นดา้ นตา่ งๆ ในการดาํ เนินชวี ิต ก่อใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรม กบั การเกิดภูมิสงั คมใหมข่ องประเทศไทย ทาํ ใหเ้ กิดปัญหาตา่ งๆ ท่ีสง่ ผลกระทบตอ่ ทรพั ยากรสิ่งแวดลอ้ มทางธรรมชาติและสงั คม

โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงมีพระราชดาํ ริที่จะพฒั นา ความเป็ นอยขู่ องราษฎรใหเ้ กิดความ “พออยู่ พอกิน” โดยมีพระราชดาํ ริ ใหจ้ ดั ต้งั โครงการศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ จาํ นวน 6 ศนู ย์ ต้งั อยใู่ นภมู ิภาคต่าง ๆ โดยมีแนวทางและวตั ถุประสงค์ ท่ีสาํ คญั ดงั น้ ี

แนวทางและวตั ถุประสงคข์ อง ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นา อนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ 1. เป็ นแบบจาํ ลอง 2. มีลกั ษณะพิพิธภณั ฑ์ ยอ่ สว่ น ธรรมชาติของการพฒั นา ที่มีชวี ติ

แนวทางและวตั ถุประสงคข์ อง ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นา อนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ 3. เป็ นตน้ แบบแหง่ 4. เป็ นตน้ แบบของ ความสาํ เร็จ การบริหาร

แนวทางและวตั ถุประสงคข์ อง ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นา อนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ 5. มีลกั ษณะ การบริการ เบ็ดเสร็จที่จุดเดียว

ในปัจจุบนั ผลจากการพฒั นาตามแนวพระราชดาํ ริโดยให้ ความสาํ คญั กบั การพฒั นาคน ใหส้ ามารถอยไู่ ดด้ ว้ ยการพง่ึ พาตนเอง ได้ ปรากฏใหเ้ ห็นอยา่ งชดั เจน คือ ประชาชนมีการประกอบอาชีพ มีรายได้ ฐานะทางเศรษฐกิจดีข้ นึ สง่ ผลใหช้ ุมชนมีคุณภาพ เกิดการดาํ รงไวซ้ ่ึง วฒั นธรรมไทย การพฒั นาและอนุรกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มอยา่ งยงั ่ ยนื

ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาหว้ ยฮ่องไคร้ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชยี งใหม่ ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาภพู าน อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาหว้ ยทราย อ.ชะอาํ จ.เพชรบุรี แผนท่ีแสดงตาํ แหน่งศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ 6 ศนู ย์

ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาเขาหินซอ้ น อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชงิ เทรา ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาอ่าวคุง้ กระเบน อ.ท่าใหม่ จ.จนั ทบุรี ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาพิกุลทอง อ.เมืองนราธิวาส จ.นราธิวาส แผนท่ีแสดงตาํ แหน่งศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ 6 ศนู ย์

ปั ญหาทางกายภาพของโลก ทะเลทราย ปัญหาทางกายภาพของโลก เป็ นผลมาจากการเปลี่ยนแปลง ของเปลือกโลก ไดแ้ ก่ ทะเลทราย ทะเลทราย หมายถึง ดนิ แดนสว่ นหนึ่งของผวิ โลก ทม่ี ีความแหง้ แลง้ จดั จนพืชและสตั วไ์ ม่ สามารถดาํ รงชวี ติ อยไู่ ด้ แมก้ ระทงั่ มนุษยก์ ็อาจ ทนอยไู่ มไ่ ด้ เพราะมีแตค่ วามรอ้ นและเนิน ทรายเทา่ นนั้ 167

ปั ญหาทางกายภาพของโลก ทะเลทราย พ้ืนทบี่ นโลกรอ้ ยละ 20 ของพ้ืนทที่ งั้ หมดเป็นทะเลทราย ทะเลทราย มกั เกิดในบรเิ วณทแ่ี หง้ แลง้ เชน่ ดา้ นทศิ ตะวนั ตกของทวปี ทม่ี ีลม พดั ออกจากชายฝ่ังลงสทู่ ะเล ตามชายฝ่ังทมี่ กี ระแสนาํ้ เย็นไหลผา่ น และบรเิ วณดา้ นปลายลมของเขตภเู ขาสงู 168

ปั ญหาทางกายภาพของโลก ทะเลทราย ทะเลทรายทีเ่ กิดข้ึนบนพ้นื โลก แบง่ ออกเป็ น 2 เขต ไดแ้ ก่ ทะเลทรายแถบลมคา้ เป็ นทะเลทรายในพ้ืนทท่ี ไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากลมคา้ ทพ่ี ดั จากทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือในซกี โลกเหนือและทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใตใ้ นซกี โลกใต้ ครอบคลุม พ้ืนทต่ี งั้ แตใ่ กลเ้ สน้ ศูนยส์ ตู รไปจนถึง 30–35 องศาเหนือ และใต้ ซง่ึ พดั พาความแหง้ แลง้ เขา้ มาสพู่ ้ืนท่ี ทะเลทรายใน เขตน้ี เชน่ ทะเลทรายสะฮารา ทะเลทรายอาหรบั ทะเลทรายอหิ รา่ น 169

ปั ญหาทางกายภาพของโลก ทะเลทราย ทะเลทรายภาคพ้นื ทวีป เป็นทะเลทรายที่ ปรากฏอยใู่ นบรเิ วณทอี่ ยลู่ กึ เขา้ ไปในภาคพ้ืน ทวปี และไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากนาํ้ ทะเลนอ้ ยมาก หรอื ไมไ่ ดร้ บั เลย ทะเลทรายในเขตน้ี เชน่ ทะเลทรายโกบแี ละทะเลทรายเตอรก์ ีสถาน 170

ปั ญหาทางกายภาพของโลก ทะเลทราย ทะเลทรายทเ่ี กดิ จากการกระทําของลมและสภาพภมู อิ ากาศแหง้ แลง้ สามารถจําแนกได ้ ดงั น้ี ทะเลทรายหนิ เป็ นทะเลทรายทถี่ กู ปกคลมุ ดว้ ยหนิ แข็ง เนอื่ งจากเม็ดทรายและดนิ ถกู พัด พาไปจนหมดสนิ้ คงเหลอื แตด่ นิ ดานทโี่ ผลข่ น้ึ มา ทะเลทรายหนิ ปราศจากพชื พรรณปกคลมุ ไดแ้ ก่ ทะเลทรายหนิ แอลโฮมรา ทเ่ี ป็ นสว่ นหนง่ึ ของทะเลทรายสะฮาราในลเิ บยี ทะเลทรายหนิ กรวด เป็ นทะเลทรายทป่ี กคลมุ ดว้ ยเศษหนิ และกรวด เดมิ เคยเป็ นถน่ิ ทอี่ ยู่ ของฝงู อฐู มากอ่ น ในอยี ปิ ตแ์ ละลเิ บยี เรยี กชอ่ื ทะเลทรายชนดิ นว้ี า่ เซเรยี ร์ ทะเลทรายทราย เป็ นทะเลทรายทมี่ ที รายปกคลมุ พน้ื ทแี่ หง้ แลง้ มลี มเป็ นตวั การสําคญั ท่ี ทําใหเ้ กดิ การทับถมกันของเนนิ ทรายแบบตา่ ง ๆ 171

ปญั หาทางกายภาพของโลก ทะเลทราย ทะเลทรายทเี่ กดิ จากการกระทําของลมและสภาพภมู อิ ากาศแหง้ แลง้ สามารถจําแนกได ้ ดงั น้ี ทะเลทรายหนิ เป็ นทะเลทรายทถ่ี กู ปกคลมุ ดว้ ยหนิ แข็ง เนอ่ื งจากเม็ดทรายและดนิ ถกู พัด พาไปจนหมดสนิ้ คงเหลอื แตด่ นิ ดานทโี่ ผลข่ น้ึ มา ทะเลทรายหนิ ปราศจากพชื พรรณปกคลมุ ไดแ้ ก่ ทะเลทรายหนิ แอลโฮมรา ทเ่ี ป็ นสว่ นหนงึ่ ของทะเลทรายสะฮาราในลเิ บยี ทะเลทรายหนิ กรวด เป็ นทะเลทรายทป่ี กคลมุ ดว้ ยเศษหนิ และกรวด เดมิ เคยเป็ นถน่ิ ทอี่ ยู่ ของฝงู อฐู มากอ่ น ในอยี ปิ ตแ์ ละลเิ บยี เรยี กชอื่ ทะเลทรายชนดิ นวี้ า่ เซเรยี ร์ ทะเลทรายทราย เป็ นทะเลทรายทม่ี ที รายปกคลมุ พน้ื ทแ่ี หง้ แลง้ มลี มเป็ นตวั การสําคญั ท่ี ทําใหเ้ กดิ การทบั ถมกันของเนนิ ทรายแบบตา่ ง ๆ 172

ปญั หาทางกายภาพของโลก ทะเลทราย ทะเลทรายแดนทรุ กนั ดาร พบในดนิ แดนทรุ กนั ดารทเ่ี กดิ พายฝุ นเป็ นครัง้ คราวในเขต ภมู อิ ากาศแหง้ แลง้ เป็ นระยะเวลาหลายศตวรรษ จงึ เกดิ รอ่ งธารและหบุ เหวขนาดใหญท่ มี่ ี ความกวา้ งและลกึ จํานวนมาก พนื้ ทน่ี ไ้ี มส่ ามารถทจ่ี ะใชป้ ระโยชนไ์ ดเ้ ลย ทะเลทรายภเู ขา บางแหง่ พน้ื ทตี่ ามทรี่ าบสงู หรอื ภเู ขาจะเกดิ จากการกรอ่ นของนํ้าคา้ งแขง็ ทําใหภ้ มู ปิ ระเทศเกดิ การผพุ ังสลายอยา่ งรวดเร็วและรนุ แรง 173

สรปุ ปญั หาทางกายภาพของโลก ทะเลทราย ปญั หาทางกายภาพของประเทศไทย ทงุ่ กลุ ารอ้ งไห้ ดนิ แดนทม่ี คี วามแหง้ แลง้ จดั จนพชื และสตั วไ์ ม่ สามารถดํารงชวี ติ อยไู่ ด ้ แมก้ ระทง่ั มนุษย์ เพราะมแี ต่ เป็ นทงุ่ กวา้ งในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ความรอ้ นและเนนิ ทราย พนื้ ทบี่ นโลกรอ้ ยละ 20 ตงั้ อยใู่ นพน้ื ทข่ี อง 5 จงั หวดั ไดแ้ ก่ จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด ของพนื้ ทท่ี งั้ หมดเป็ นทะเลทราย สรุ นิ ทร์ ศรษี ะเกษ ยโสธร และมหาสารคาม ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ทะเลทรายทเี่ กดิ ขน้ึ บนพน้ื โลก แบง่ เป็ น 2 เขต ไดแ้ ก่ เป็ นแอง่ กวา้ ง ทะเลทรายแถบลมคา้ ไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากลมคา้ ทพี่ ดั มขี อบสงู ลาดลงตรงกลาง จากทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือในซกี โลกเหนือและทศิ ฤดฝู นนํ้าจะทว่ มขงั อยกู่ ลางทงุ่ ตะวนั ออกเฉียงใตใ้ นซกี โลกใต ้ นํ้าจะระบายลงสแู่ มน่ ํ้ามลู ทะเลทรายภาคพนื� ทวปี ปรากฏอยใู่ นบรเิ วณทลี่ กึ มเี กลอื และยปิ ซมั ปนอยทู่ วั่ ไป เขา้ ไปในภาคพนื้ ทวปี ดนิ ในทงุ่ กลุ ารอ้ งไหเ้ ป็ นดนิ ตะกอนหรอื ทรายแป้ง ชนดิ ของทะเลทราย สภาพภมู อิ ากาศ ทะเลทรายภาคพนื� ทวปี บรเิ วณทอ่ี ยลู่ กึ เขา้ ไปใน เป็ นแบบรอ้ นชนื้ แบบทงุ่ หญา้ เขตรอ้ น มรี ะยะฝนตกชกุ ภาคพน้ื ทวปี และไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากน้ําทะเลนอ้ ยมาก และฝนแลง้ สลบั กนั ทะเลทรายหนิ ถกู ปกคลมุ ดว้ ยหนิ แข็ง เม็ดทราย และดนิ ถกู พดั พาไปจนหมด การพฒั นาพน้ื ทก่ี งุ้ กลุ ารอ้ งไห้ ทะเลทรายหนิ กรวด ปกคลมุ ดว้ ยเศษหนิ และกรวด พ.ศ. 2514 กรมพัฒนาทด่ี นิ กระทรวงมหาดไทย ทะเลทรายทราย ปกคลมุ พน้ื ทแี่ หง้ แลง้ มลี มท่ี ไดส้ ํารวจดนิ และวางแผนการใชท้ ด่ี นิ เพอ่ื พฒั นา ทําใหเ้ กดิ การทบั ถมกนั ของเนนิ ทรายแบบตา่ ง ๆ เกษตรกรรม ทําใหใ้ นทงุ่ กลุ ารอ้ งไหไ้ ดร้ ับการพฒั นาจน ทะเลทรายแดนทรุ กนั ดาร พบในดนิ แดนทรุ กนั ดาร เป็ นแหลง่ ผลติ ขา้ วหอมมะลคิ ณุ ภาพดขี องประเทศ ทเ่ี กดิ พายฝุ นเป็ นครงั้ คราวในเขตภมู อิ ากาศแหง้ แลง้ ทะเลทรายภเู ขา เกดิ จากการกรอ่ นของนํ้าคา้ 1ง74แขง็ ทําใหเ้ กดิ การผพุ งั สลายอยา่ งรวดเร็วและรนุ แรง

ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตขิ องประเทศไทยและของโลก แผ่นดนิ ถล่ม แผน่ ดนิ ถล่ม หมายถึง ปรากฏการณท์ างธรรมชาตจิ าก การสกึ กรอ่ นชนิดหน่ึงทก่ี ่อใหเ้ กิดความเสยี หายตอ่ บรเิ วณพ้ืนทที่ ี่ เป็นเนินสงู หรอื ภูเขาทล่ี าดชนั มาก เนื่องจากขาดความสมดุลใน การทรงตวั ทาํ ใหเ้ กิดการปรบั ตวั ของพ้ืนทต่ี อ่ แรงดงึ ดูดของโลก และเกิดการเคล่ือนตวั ขององคป์ ระกอบทางธรณีวทิ ยาบรเิ วณนนั้ จากทส่ี งู ลงสทู่ ต่ี าํ่ 175

ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติของประเทศไทยและของโลก แผ่นดนิ ถล่ม สาเหตุ เกิดจากมวลดนิ และหนิ เคลือ่ นลงตามมาลาดเขา ดว้ ยอทิ ธพิ ลของแรงโนม้ ถ่วงของโลก และมนี าํ้ เขา้ มาเกย่ี ว ขอ้ งทาํ ใหม้ วลดนิ และหนิ เคลื่อนตวั ได้ แผน่ ดนิ ถลม่ มกั เกดิ หลงั จากนาํ้ ป่ าไหลหลาก หรอื ภายหลงั ฝนตกหนกั รุนแรง อยา่ งตอ่ เน่ือง สาเหตอุ นื่ ๆ เชน่ การลกั ลอบตดั ไมท้ าํ ลาย ตน้ ป่ าตน้ นาํ้ และการสรา้ งบา้ นเรอื นในพ้ืนทท่ี ม่ี คี วามเสยี่ ง ตอ่ การเกดิ แผน่ ดนิ ถลม่ 176

ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติของประเทศไทยและของโลก การเกิดแผน่ ดนิ ถลม่ ในประเทศไทยมกั เกิดจากพายุ แผ่นดนิ ถล่ม หมุนเขตรอ้ นทาํ ใหเ้ กิดฝนตกหนกั ตอ่ เนื่อง การ ทาํ ลายป่ าไมเ้ พ่ือนาํ ทด่ี นิ ไปใชใ้ นการเกษตรและสรา้ งท่ี อยูอ่ าศยั ทาํ ใหไ้ มม่ ตี น้ ไมช้ ว่ ยยึดหนา้ ดนิ 177

ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตขิ องประเทศไทยและของโลก ผลกระทบ แผ่นดนิ ถล่ม ทาํ ใหเ้ กดิ การสญู เสยี ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ เป็นจาํ นวนมาก ทาํ ใหบ้ า้ นเรอื น พ้ืนท่ี การเกษตร และสภาพแวดลอ้ มเสยี หาย การป้ องกนั หลีกเลีย่ งการสรา้ งทอ่ี ยอู่ าศยั ในพ้ืนท่ี เสย่ี งตา่ ง ๆ เชน่ บรเิ วณหุบเขา ไมต่ ดั ไม้ ทาํ ลายป่ า ตดิ ตามการพยากรณอ์ ากาศ และแจง้ เตอื นอยา่ งสมาํ่ เสมอ 178

เรองนารู “เอาตวั รอดจาก...ดนิ ถลม่ ” สง่ิ บอกเหต:ุ มีฝนตกหนกั อยา่ งตอ่ เน่ือง นาํ้ ในแมน่ าํ้ มสี ีขุน่ ขน้ และระดบั นาํ้ เพ่ิม สูงข้นึ อยา่ งรวดเรว็ มีตน้ ไมข้ นาดเล็กไหลปนมากบั นาํ้ มีเสียงดงั ผดิ ปกตบิ รเิ วณ ภูเขา การอพยพ: ใหอ้ พยพไปตามเสน้ ทางทพ่ี น้ จากแนวการไหลของดนิ ถลม่ ข้นึ ทส่ี ูง หรอื สถานทป่ี ลอดภยั หากจาํ เป็ นตอ้ งใชเ้ สน้ ทางดงั กลา่ ว ใหใ้ ชเ้ ชอื กผกู ลาํ ตวั แลว้ ยดึ ตดิ ไวก้ บั ตน้ ไมห้ รอื สิ่งปลกู สรา้ งทม่ี น่ั คงแข็งแรง เพ่ือป้ องกนั กระแสนาํ้ พดั จมนาํ้ หา้ มวา่ ยนาํ้ หนีโดยเดด็ ขาด เพราะอาจกระแทกกบั ซากตน้ ไมห้ รอื หนิ ทไ่ี หล มาตามนาํ้ ได้ หลงั เกดิ ดนิ ถล่ม: หา้ มเขา้ ใกลบ้ รเิ วณทเ่ี กดิ ดนิ ถลม่ หรอื บา้ นเรอื นทไ่ี ดร้ บั ความ เสียหาย เนื่องจากอาจเกดิ การพงั ทลายซาํ้ ทาํ ทางเบีย่ ง เพ่ือไมใ่ หน้ าํ้ ไหลลงมา สมทบเขา้ ไปในมวลดนิ เดมิ ทมี่ ีความเสี่ยง 179

ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติของประเทศไทยและของโลก อทุ กภยั อทุ กภยั หมายถึง ภยั ทเี่ กิดจากนาํ้ เป็นภยั ธรรมชาตทิ ม่ี นุษยป์ ระสบบอ่ ยครง้ั สรา้ ง ความเสยี หายใหแ้ กช่ วี ติ และทรพั ยส์ นิ ของ ประชาชน การแบง่ ประเภทของอุทกภยั แบง่ ไดเ้ ป็น 4 ประเภท คอื 180

ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติของประเทศไทยและของโลก น้าํ ป่ าไหลหลากเละน้าํ ท่วมฉบั พลนั มกั เกดิ บรเิ วณทร่ี าบระหวา่ งภูเขา เกิดจากฝนทต่ี กหนกั ตอ่ เนื่อง ทาํ ใหด้ นิ ดูดซบั นาํ้ ไมท่ นั นาํ้ ฝนจงึ ไหลลงสูท่ ี่ ราบอยา่ งรวดเร็ว ความแรงของนาํ้ ทาํ ลายตน้ ไม้ อาคาร ถนน สะพาน และทรพั ยส์ นิ ตา่ ง ๆ อาจทาํ ใหม้ ี ผูไ้ ดร้ บั บาดเจบ็ หรอื เสยี ชวี ติ และทาํ ใหเ้ กิดการ เปล่ยี นแปลงลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ 181

ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติของประเทศไทยและของโลก น้าํ ท่วมขงั เกดิ จากปรมิ าณนาํ้ ทมี่ กี ารสะสมมาก มกั เกิด บรเิ วณทรี่ าบนาํ้ ทว่ มถงึ อาจเกิดจากฝนตกหนกั เป็ นเวลาหลายวนั หรอื นาํ้ ทะเลหนุนจนนาํ้ ในบรเิ วณ ปากแมน่ าํ้ เออ่ ลน้ ข้นึ มาทว่ ม การสรา้ งอาคาร บา้ นเรอื นกดี ขวางทางนาํ้ ไหล ทาํ ใหน้ าํ้ ทว่ มขงั ระบายออกไมไ่ ด้ 182

ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติของประเทศไทยและของโลก คลน่ื ซดั ฝ่ัง เป็นลกั ษณะของอุทกภยั ทเ่ี กดิ จากพายุลมแรงซดั ฝ่ัง ทาํ ให้ นาํ้ ทว่ มบรเิ วณชายฝั่งทะเล บางครงั้ มีคลืน่ สงู 10 เมตร น้าํ ลน้ ตลง่ิ เป็นลกั ษณะของอุทกภยั ทมี่ ีปรมิ าณนาํ้ จาํ นวนมากทเี่ กิดจาก ฝนตกหนกั ตอ่ เน่ือง ทาํ ใหน้ าํ้ ระบายลงสแู่ มน่ าํ้ ไมท่ นั เกิด สภาวะนาํ้ ลน้ ตลง่ิ เขา้ ทว่ มบา้ นเรอื น ไรน่ า ตามสองฝ่ังแมน่ าํ้ 183

ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาตขิ องประเทศไทยและของโลก อทุ กภยั ผลกระทบ 184 ความแรงของกระแสนาํ้ ทไี่ หลบา่ ลงมาจาก ทสี่ ูงทาํ ใหบ้ า้ นเรอื นชวี ติ ทรพั ยส์ นิ และ สงิ่ กอ่ สรา้ งตา่ ง ๆ ไดร้ บั ความเสยี หาย อาจเกดิ โรคระบาด สง่ ผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ สงั คม ปัญหาความปลอดภยั ใน ชวี ติ ตลอดจนปัญหาทางการเมอื ง

ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาตขิ องประเทศไทยและของโลก ตดิ ตามขา่ วการพยากรณอ์ ากาศ อทุ กภยั ของกรมอุตุนิยมวทิ ยา ระวงั โรคระบาด ควรดมื่ นาํ้ อยา่ งสมาํ่ เสมอ โดยการตม้ ใหเ้ ดอื ดเสยี กอ่ น ถา้ อยทู่ ร่ี าบใหร้ ะวงั การป้ องกนั เม่อื เกดิ กระเสนาํ้ หลากตอ้ ง ความเสยี หาย ระวงั กระแสนาํ้ พดั ไป นาํ้ ป่ าไหลหลาก จากอุทกภยั จากภูเขาหรอื ทรี่ าบสงู ถา้ อยรู่ มิ นาํ้ ใหเ้ อาเรอื หลบเขา้ ฝั่ง ไวใ้ นทที่ สี่ ะดวกพรอ้ มใชง้ าน 185

เรอ่ื งน่ารู้ “9 โรครา้ ยทม่ี ากบั นาํ้ ทว่ ม” 1. โรคนาํ้ กดั เทา้ 4. โรคตาแดง 7. โรคไขเ้ ลือดออก 2. โรคไขห้ วดั 5. โรคตดิ เช้อื ในระบบทางเดนิ อาหาร 8. โรคหดั 3. โรคปอดบวม 6. โรคฉ่หี นูหรอื โรคเลปโตสไปโรซสิ 9. โรคไขม้ าลาเรยี 186

ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตขิ องประเทศไทยและของโลก ภยั แลง้ ภยั แลง้ หมายถึง ภยั ทเี่ กิดจากความแหง้ แลง้ ของ ลมฟ้ าอากาศ มีฝนนอ้ ยกวา่ ปกติ หรอื ฝนไมต่ ก ตอ้ งตามฤดกู าลเป็นระยะเวลานาน สาเหตุ มีสาเหตุจากมนุษย์ เกิดจากการพฒั นาทางอตุ สาหกรรม การเผาเช้อื เพลิง การทาํ ลายชนั้ โอโซน ทาํ ลายป่ าไม้ ทาํ ใหเ้ กิดภาวะโลกรอ้ น ภยั แลง้ ทม่ี ีสาเหตุมาจากธรรมชาติ เกิดจากการเปลยี่ นแปลงของอุณหภมู โิ ลก 187

ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติของประเทศไทยและของโลก ผลกระทบท่ีเกดิ จากภยั แลง้ ภยั แลง้ ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ทาํ ใหแ้ หลง่ นาํ้ ต้นื เขิน นาํ้ ใตด้ นิ เกดิ ความ แหง้ แลง้ และทาํ ใหท้ ด่ี นิ แหง้ แลง้ เพาะปลกู พืชไมไ่ ด้ ดา้ นเศรษฐกิจ พืชผลทางการเกษตรลดลง ไมเ่ พียงพอตอ่ การบรโิ ภค สนิ คา้ บางประเภทมรี าคาสงู ข้นึ ดา้ นสงั คม ประชาชนไมม่ งี านทาํ ตอ้ งละท้งิ ถิ่นฐานมา หางานทาํ ในเมืองใหญ่ คณุ ภาพชวี ติ ลดลง 188

ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตขิ องประเทศไทยและของโลก ภยั แลง้ การป้ องกนั และแกไ้ ข การแจกนา้ํ ใหแ้ ก่ประชาชนทอี่ ยใู่ นพ้นื ทีป่ ระสบภยั แลง้ การขุดเจาะนา้ํ บาดาล การจดั ทาํ ฝนเทียม การสรา้ งเขือ่ นกกั เก็บนาํ้ และการรกั ษาพ้นื ทีป่ ่ าไมใ้ หค้ งความอดุ มสมบูรณ์ เขอ่ื นภมู พิ ล จงั หวดั ตาก มปี ระโยชนม์ ากในการกกั เก็บน้าํ ไวใ้ ชใ้ นยามขาด แคลนน้าํ 189

ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาตขิ องประเทศไทยและของโลก แผน่ ดินไหว คอื กระบวนการทแี่ ผน่ ดนิ เกิด แผ่นดนิ ไหว การสนั่ สะเทอื น ณ จดุ ใดจดุ หนึ่งบนผวิ โลก ซงึ่ เกิดจากหลายสาเหตุ บรเิ วณทเ่ี กิดบอ่ ยครง้ั ไดแ้ ก่ บริเวณรอบมหาสมทุ รแปซฟิ ิก บริเวณรอบทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนียน กลางมหาสมทุ ร แอตแลนตกิ และกลางมหาสมทุ รอนิ เดยี สว่ นในประเทศไทยบรเิ วณภาคเหนือและแนวทวิ เขาดา้ น ตะวนั ตกทต่ี ดิ กบั ประเทศเมียนมา เป็นบรเิ วณทม่ี คี วามเสย่ี ง ตอ่ การเกิดแผน่ ดนิ ไหวมากทส่ี ุด 190

ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติของประเทศไทยและของโลก ความรุนแรงของแผน่ ดนิ ไหวใชเ้ กณฑม์ าตราริกเตอร์ แผ่นดนิ ไหว แบง่ ระดบั ความสมั พนั ธข์ องปรากฏการณไ์ ด้ ดงั น้ี มาตรารกิ เตอร์ (Richter Scale) 191

ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาตขิ องประเทศไทยและของโลก ผลกระทบท่ีเกดิ จากแผ่นดนิ ไหว แผ่นดนิ ไหว สรา้ งความเสยี หายทางตรงและทางออ้ ม ความเสยี หายทางตรง มกั จะเกดิ กบั สงิ่ ก่อสรา้ ง ต่าง ๆ โดยเฉพาะสง่ิ ก่อสรา้ งที่ตงั้ อยู่บนชน้ั หินอ่อน หรอื ดนิ เหนยี วความเสยี หายทางออ้ มมกั ปรากฏ เฉพาะบรเิ วณท่ีใกลก้ บั ชายฝั่งทะเล โดยเฉพาะหาก แผ่น ดนิ ไหวมีศนู ยก์ ลางอยู่ในมหาสมุทรจะทาํ ให้ เกดิ ปรากฏการณข์ องคลน่ื ขนาดใหญ่ท่ีเรยี กว่า สนึ ามิ 192

ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติของประเทศไทยและของโลก แผ่นดนิ ไหว การป้ องกนั จดั ตง้ั หน่วยงานท่ีมีหนา้ ที่ศกึ ษาทาํ นาย ประกาศเตอื น แผ่นดนิ ไหว ภยั แผ่นดนิ ไหวและใหก้ ารศกึ ษาเรอื่ งแผ่นดนิ ไหวแก่ ประชาชาชน ออกกฎหมายเกย่ี วกบั แผ่นดนิ ไหว มาตรการดา้ น วิศวกรรมของอาคารสงู ใหป้ ลอดภยั และทนทาน ต่อแรงสนั่ สะเทือน จดั ตงั้ องคก์ รอาสาสมคั รแผ่นดนิ ไหว เพอื่ ช่วยหน่วยงาน ทางราชการในการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร โดยเฉพาะ จงั หวดั ท่ีมีโอกาสเสย่ี งภยั แผ่นดนิ ไหวสงู 193

ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติของประเทศไทยและของโลก สนึ ามิ หมายถึง คลน่ื ทะเลขนาดใหญท่ เี่ คลอื่ นตวั อยา่ ง สนึ ามิ รวดเรว็ และมพี ลงั มากเกิดจากมวลนาํ้ ในทะเลและ มหาสมุทรไดร้ บั แรงสน่ั สะเทอื นอยา่ งรุนแรงจนกลายเป็น คล่นื กระจายตวั ออกไปจากศูนยก์ ลางของการสนั่ สะเทอื น นนั้ คลนื่ สนึ ามมิ ีความเรว็ ในการเคลอ่ื นทปี่ ระมาณ 700‒800 กิโลเมตรตอ่ ชวั่ โมงเมือ่ คลื่น สนึ ามิเขา้ หาชายฝ่ัง จะมีความสงู ไดถ้ ึง 30 เมตร บรเิ วณทเ่ี กิดคลืน่ สนึ ามิ บอ่ ยครงั้ คอื ในมหาสมุทรแปซฟิ ิก สาเหตเุ กิดจาก แผน่ ดนิ ไหวใตท้ อ้ งสมุทร 194

ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติของประเทศไทยและของโลก สนึ ามิ สาเหตุ คล่นื สนึ ามเิ กิดจากการกระทบกระเทอื นทท่ี าํ ใหน้ าํ้ ปรมิ าณ มากเกดิ การเคลือ่ นตวั เชน่ แผน่ ดนิ ไหว แผน่ ดนิ เล่อื น และอกุ าบาตรพุง่ ชน เมอ่ื แผน่ ดนิ ไหวเกิดใตท้ ะเล จะทาํ ให้ นาํ้ ทะเลเกดิ การเคลอ่ื นตวั เพื่อปรบั ระดบั ใหเ้ ขา้ สจู่ ดุ สมดุล และกอ่ ใหเ้ กิดคลืน่ สนึ ามิซงึ่ มกั จะเกดิ บรเิ วณขอบทเี่ ป็ นแนว รอยตอ่ ของเปลอื กโลก 195

ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติของประเทศไทยและของโลก ผลกระทบท่ีเกดิ จากคลนื่ สนึ ามิ สนึ ามิ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มและสงั คม เชน่ คลนื่ สนึ ามิ สามารถเปลีย่ นสภาพพ้ืนทช่ี ายฝ่ังไดใ้ นระยะเวลาอนั สนั้ ประชาชนขาดทอ่ี ยอู่ าศยั ทรพั ยส์ นิ เสยี หาย สง่ิ ปลูกสรา้ ง และสาธารณูปโภคถกู ทาํ ลายผลกระทบตอ่ ระบบเศรษฐกิจ ของประเทศทีป่ ระสบภยั สง่ ผลใหภ้ าคการทอ่ งเทย่ี วไดร้ บั ผลกระทบอยา่ งรุนแรง 196

ภมยั าพตบิ รตั กทิ าารงปธ้ รอรงมกชนั าภตขยิั อจงาปกรคะลเทน่ื ศสไนึทายมแลิ เะมขื่ออวงโนั ลทก่ี 28 ธนั วาคม พ.ศ. 2547 กรมอุตนุ ิยมวทิ ยาประกาศมาตรการ 14 ขอ้ ในการป้ องกนั ภยั จากสนึ ามิ ดงั น้ี เมื่อรสู้ กึ ว่ามีการสนั่ ไหวเกดิ ข้นึ ในทะเลใหร้ บี ไปยงั บรเิ วณทีส่ งู หรือทด่ี อนทนั ที เมื่อไดร้ บั ฟังประกาศจากทางการใหเ้ ตรียมรบั สถานการณท์ ี่อาจเกดิ คลน่ื สนึ ามิได้ สงั เกตปรากฏการณข์ องชายฝั่ง หากมีการลดระดบั ของนาํ้ ลงมากหลงั เกดิ แผ่นดนิ ไหว ใหอ้ อกห่างจากชายฝั่งมาก ๆ ถา้ อยู่ในเรือใหร้ บี นาํ เรอื ออกไปกลางทะเล คลน่ื สนึ ามิอาจเกดิ ข้ึนไดห้ ลายระลอก ควรรอสกั ระยะจงึ ค่อยลงไปชายหาด ตดิ ตามการเสนอข่าวของทางราชการอย่างใกลช้ ดิ และต่อเนอื่ ง หากที่พกั อาศยั อยูใ่ กลช้ ายหาดควรทาํ เขื่อน กาํ แพง และสรา้ งที่พกั อาศยั ใหม้ น่ั คง 197

หลกี เลยี่ งการก่อสรา้ งใกลช้ ายฝ่ังที่มีความเสย่ี งภยั สงู วางแผนการฝึ กซอ้ มรบั ภยั จากคลนื่ สนึ ามิ เช่น กาํ หนดสถานท่ีในการ อพยพ จดั วางผงั เมืองใหเ้ หมาะสม แหล่งที่อยู่อาศยั ควรอยูห่ ่างจากชายฝั่ง ประชาสมั พนั ธ์และใหค้ วามรแู้ ก่ประชาชนเรอ่ื งการป้ องกนั และบรรเทาภยั วางแผนล่วงหนา้ เรอ่ื งการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกย่ี วขอ้ ง หาก เกดิ สถานการณข์ ้นึ จรงิ อย่าลงไปชายหาดเพอื่ ดคู ลน่ื สนึ ามิ เมื่อไดย้ นิ ข่าวการเกดิ คลน่ื สนึ ามิ จงอย่าประมาท ใหเ้ ตรยี มพรอ้ มรบั สถานการณ์ 198

เรอ่ื งนา่ รู้ 1 “5 อนั ดบั สนึ ามทิ ร่ี นุ แรงทสี่ ดุ ในโลก” อา่ วลทิ จยู า (สหรัฐอเมรกิ า) คลน่ื สงู 524 เมตร 2 ตกึ เอมไพรส์ เตท ลสิ บอน สงู 448 เมตร  ไมเ่ กนิ 10 คน (โปรตเุ กส) เนอื่ งจากเกดิ ใน คลน่ื สงู 120 เมตร 3  60,000 คน เกาะกรากะตัว แถบทไี่ รผ้ คู ้ น คลนื่ สงู 39 เมตร 4  36,000 คน มหาสมทุ รอนิ เดยี 5 คลน่ื สงู 24 เมตร  300,000 คน ญปี่ ่ นุ คลนื่ สงู 17 เมตร  31,00019ค9 น

ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตขิ องประเทศไทยและของโลก ภูเขาไฟ ภูเขาไฟ ก่อรปู มาจากหนิ หลอมเหลวทอ่ี ยภู่ ายในโลกและถกู แรงกระทาํ ใหเ้ คลอื่ นทีม่ าส่พู ้นื ผิวโลก หรือเกิดจากหิน หนืด ทาํ ใหเ้ กิดผลกระทบต่อชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชน ผลกระทบจากภเู ขาไฟ ทาํ ลายชวี ิตและทรพั ยส์ นิ ของประชาชนท่ีตงั้ บา้ นเรอื นอยูใ่ นบรเิ วณใกลเ้ คยี ง ความเสยี หายเหล่าน้เี กดิ จากการไหลบ่าของหินหนดื เถา้ ถ่าน ฝ่ นุ ละออง เศษหิน ตกลงมาทบั ถมอยา่ งรวดเรว็ อย่างไรกต็ าม ผลจากการระเบดิ ของ ภเู ขาไฟยงั ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ คอื พ้นื ผวิ ของลาวาท่ีทบั ถมกนั อยูใ่ นบรเิ วณ ที่ราบหรอื ท่ีราบสงู ระยะแรกยงั ไม่สามารถนาํ ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการ เพาะปลกู ได้ ตอ้ งปล่อยท้ิงไวจ้ นกว่าจะเกดิ การสลายเป็ นดนิ อดุ มสมบรู ณ์ ซง่ึ เรยี กว่า ดนิ ภูเขาไฟ นอกจากน้ภี เู ขาไฟบางลกู ยงั มีความสวยงาม เช่น ภเู ขาไฟฟจู ิ 200


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook