Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติศาสตร์ม.4 ใหม่ 1

ประวัติศาสตร์ม.4 ใหม่ 1

Published by kingmanee2614, 2021-01-25 03:58:12

Description: ประวัติศาสตร์ม.4 ใหม่ 1

Search

Read the Text Version

ประวัติศาสตรไ ทย ส 30101

ผลการเรียนรูที่คาดหวงั ๑.นกั เรียนมีความรูค วามเขาใจเวลาและยคุ สมยั ทาง ประวัตศิ าสตรท่ีปรากฏในหลักฐานทางประวตั ิ ศาสตรไทย ๒.นักเรยี นสามารถยกตวั อยางเวลาและยุคสมัยทาง ประวตั ิศาสตรข องสงั คมมนุษยท ่ีมปี รากฏในหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร ๓.นกั เรียนสามารถบอกขั้นตอนของวิธีการทางประวตั ิ ศาสตรโดยนาํ เสนอตัวอยางทลี่ ะขัน้ ตอนอยา งชัดเจน

๔.นกั เรยี นมีความตระหนกั ในคุณคา และประโยชนข องวิธกี าร ทางประวตั ิศาสตรทม่ี ีตอ การศึกษาทางประวตั ศิ าสตร ๕.วิเคราะหค วามสําคัญของสถานบันพระมหากษตั รยิ ต อ ชาติ ไทย ๖.วิเคราะหอ ทิ ธิพลของวฒั นธรรมตะวนั ตกและตะวันออกท่มี ี ตอ สงั คมไทย ๗.วเิ คราะหผลงานของบุคคลท้ังชาวไทยและตา งประเทศทีม่ ี สวนสรา งสรรคว ัฒนธรรมไทยและประวตั ศิ าสตรไทย ๘.วเิ คราะหป จ จยั ที่สง เสริมการสรางสรรคภ มู ิปญญาไทย และวัฒนธรรมไทยซง่ึ มผี ลตอ สงั คมไทยในยุคปจ จบุ นั

๙.วเิ คราะหสภาพแวดลอ มทม่ี ผี ลตอการสรางสรรค ภมู ปิ ญญาและวัฒนธรรมไทย ๑๐.บอกแนวทางการอนรุ ักษภูมิปญญาและวฒั นธรรม ไทยและการมีสวนรว มในการอนรุ กั ษ

หนว ยการเรียนรทู ี่ ๑ เวลาและยคุ สมัย ทางประวัติศาสตร

เวลาและยคุ สมัยและศักราชในประวตั ศิ าสตรไทย ๑.ความสําคัญของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร ประวตั ิศาสตรคือการศึกษาเรือ่ งราวของสงั คมมนษุ ยใ น อดีตซ่ึงเกิดขน้ึ ในชว งเวลาและยุคสมัยตา งๆกันประวัตศิ าสตร ใหค วามสาํ คญั กับชว งเวลาซึ่งมคี วาม สาํ คัญตอ มนุษยมาก เชน ใชในการนัดหมาย การดาํ เนนิ ชวี ิต การเร่ิมการเพาะปลูก การเกบ็ เก่ียว ถา การนบั เวลาผิดพลาดอาจทาํ ใหเ กิดการ เสียหายดังนัน้ เวลาจงึ มคี วามสําคัญ

๒.การนับและเทียบศักราช ศักราช หมายถึงอายุเวลาทีต่ ้งั ข้ึน อยางเปน ทางการโดย ถือเอาเหตกุ ารณ สําคัญเหตุการณเหตุการณหนึง่ เปนจุด เริม่ ตนแลวนับเวลาเปนปเรียงตาม ลาํ ดบั ติดตอกันมา

๑.พทุ ธศกั ราช (พ.ศ.)เปน ศักราชทางพระพุทธ ศาสนานิยมใชกันในหลายประเทศท่นี บั ถือพระพทุ ธ ศาสนาโดยมกี ารนับ ๒ แบบ -แบบไทยเปน การนับปแบบปเ ตม็ โดยเริม่ นับ ปถัดจากปทพี่ ระพทุ ธเจาเสดจ็ ดบั ขันธป รนิ พิ พาน ไปแลวครบ๑ป เปน พ.ศ.๑

-แบบลังกา เปน การนับปแบบปยาง โดยนบั ปถดั จากปท ี่พระพทุ ธเจา เสด็จดับขันธปรินพิ านเปน พ.ศ.๑ ในปพ .ศ.๒๔๕๕ รชั สมัยรชั กาลท่ี ๖ทรงประกาศ ยกเลิกใชรตั นโกสนิ ทรศกโดยมาใชพ ุทธศักราชแทนแต ยังคงปใ หมในวันที่ ๑ เมษายน ในป พ.ศ. ๒๔๘๔ รฐั บาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดเปลีย่ นวันขึ้นปใหมม าเปนวนั ที่ ๑ มกราคมตามหลกั สากล

๒.ครสิ ตศ กั ราช คริสตศกั ราช เปนศักราชทผี่ นู ับถือคริสตศาสนา ตั้งขนึ้ โดยเรมิ่ นบั ตั้งแตวันท่เี ชื่อกนั วาเปน วนั สมภพของ พระเยซูโดยใชอ ักษรยอ ค.ศ. ภาษาองั กฤษใช A.D. เมื่อตง้ั ค.ศ. ๑ ขึน้ ตรงกับ พ.ศ. ๕๔๔ คริสตศ กั ราช จงึ นอ ยกวา พุทธศกั ราช ๕๔๔-๑ = ๕๔๓ ป พ.ศ. = ค.ศ. + ๕๔๓ ค.ศ. = พ.ศ. - ๕๔๓

๓.มหาศักราช มหาศักราช ยอ ม.ศ. ผูตง้ั คือ พระเจา กนิษกะ กษตั รยิ ผยู งิ่ ใหญของพวกกษุ าณะซึ่งอยูทางตอนเหนือ ของอินเดยี โดยพระองคข ึ้นครองราชยตรง พ.ศ. ๖๒๒ ม.ศ. ๑ ตรงกบั พ.ศ. ๖๒๒ มหาศักราชนอย กวา พทุ ธศักราช ๖๒๒-๑ = ๖๒๑ พ.ศ. = ม.ศ. + ๖๒๑ ม.ศ. = พ.ศ.-๖๒๑

๔.จุลศักราช จุลศกั ราช ยอวา จ.ศ. ตั้งขน้ึ เมื่อ พ.ศ. ๑๑๘๒ โดยพระเจาบพุ พะโสระหนั กษตั ริยพมา จลุ ศกั ราช ๑ ตรงกับ พ.ศ. ๑๑๘๒ จลุ ศักราช นอยกวาพทุ ธศักราช ๑๑๘๑ พ.ศ. = จ.ศ. + ๑๑๘๑ จ.ศ. = พ.ศ. - ๑๑๘๑

๕.รัตนโกสินทรศ ก รตั นโกสนิ ทรศ ก ยอ ร.ศ. เปน ศกั ราชท่ี ร.๕ตง้ั ขน้ึ พ.ศ. ๒๔๓๒ โดยนบั ปที่ ร.๑สถาปนากรงุ รัตนโกสนิ ทร พ.ศ. ๒๓๒๕ เปน ร.ศ. ๑ รัตนโกสนิ ทรศกจงึ นอ ยกวา พทุ ธศักราช ๒๓๒๔ ป พ.ศ. = ร.ศ. +๒๓๒๔ ร.ศ. = พ.ศ. - ๒๓๒๔

๖.ฮิจเราะหศักราช ฮิจเราะหศ ักราช มาจากภาษาอาหรบั แปลวา การอพยพ อกั ษรยอ ฮ.ศ. เปนศักราชของผนู ับศาสนา อิสลามนับตั้งแตน บีมฮุ ัมมดั ศาสดาเร่ิมอพยพพวกมสุ ลมิ จากนครเมกะฮยังเมืองมะดนี ะฮ ในป ค.ศ. ๖๒๒ตรงกบั พ.ศ. ๑๑๖๕ ในปจจุบันการเปลยี่ นศกั ราชระหวา งฮิจเราะห ศกั ราชกบั พทุ ธศักราชใหเอา ๑๑๒๒บวกหรือลบ พ.ศ. = ฮ.ศ. + ๑๑๒๒ ฮ.ศ. = พ.ศ. - ๑๑๒๒

การเทียบพุทธศักราช พ.ศ. เทา กับ ค.ศ. + 543 ม.ศ. + 621 จ.ศ. + 1181 ร.ศ. + 2324 ฮ.ศ. + 1122

การเทียบคริสตศ ักราช ค.ศ. พ.ศ. - 543 เทา กบั ม.ศ. + 78 จ.ศ. + 638 ร.ศ. + 1781 ฮ.ศ. + 579

ทศวรรษ ศตวรรษ สหสั วรรษ ๑.ทศวรรษ หมายถึง รอบ ๑๐ ป ๒.ศตวรรษ หมายถึง รอบ ๑๐๐ ป ๓.สหสั วรรษ หมายถึง ๑,๐๐๐ ป

การแบง ยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตรไ ทย ยุคหิน เปน ยคุ สมยั เริ่มแรกของมนุษย แบงออก เปน ๒ ยคุ ๑.ยุคหนิ เกา มอี ายุระหวาง ๗๐๐,๐๐๐-๑๐,๐๐๐ ป มนษุ ยยคุ นีร้ ูจกั ใชเครือ่ งมือหินกรวดกะเทาะหนา เดียว สําหรบั ใชตัด สบั หรือขดุ พบในหลายพื้นที่เชน บานแม ทะและบานดอนมูล จ.ลําปาง บานเกา จ.กาญจนบุรี แหลงโบราณคดีผาบงุ อาํ เภอฮอด จ.เชยี งใหม

๒.ยคุ หนิ ใหม มีอายรุ ะหวา ง ๑๐,๐๐๐-๔,๐๐๐ป มาแลวจากการขุดคนพบทางโบราณคดีพบหลกั ฐานเครือ่ งมือหนิ ขัดท่ีมีลกั ษณะดา นหนึง่ คมดา น หนึ่งมนและมีผวิ เรียบนอก จากนยี้ งั พบภาชนะดิน เผาแบบตา งๆทั้งแบบมีขาและไมม ขี าพบอยูทวั่ ประเทศเชน บา นเกา จ.กาญจนบุรี บา นเชยี ง จ.อดุ รธานี จ.ชลบรุ ี

๒.ยคุ โลหะ แบงออกเปน ๒ ยคุ ยอ ย ดังน้ี ๑.ยุคสําริด มอี ายรุ ะหวา ง ๔,๐๐๐-๒,๕๐๐ ปม าแลว มนุษยยคุ น้รี ูจักนําโลหะสําริดที่มีสวนผสมของทองแดง กบั ดบี กุ หรือตะก่ัวมาทําเครือ่ งมือเครือ่ งใชเชน ขวาน มีด ใบหอก กลองสําริด เครือ่ งประดบั ประเภทกาํ ไล แขนสาํ ริด แหวนสําริด ลูกปดโดยขดุ พบหลักฐานที่บา น โคกพลบั จ.ราชบุรี บานนาดี บา นเชยี ง จ.อดุ รธานี

๒.ยุคเหล็ก เริ่มเมื่อประมาณ ๒,๕๐๐ป ลวงมาแลวมีการพบเครือ่ งมือที่ทําดวยเหลก็ ซึง่ มีความแข็งแรงและใชประโยชนไดมาก กวาสาํ ริดในหลายที่ เชนบานดอนตาเพชร จ.กาญจนบุรีพบเสียม มีดขอ ใบหอก หวั ธนู ที่บานตมู อาํ เภอโนนสงู จ.นครราชสีมา

สมัยประวัติศาสตรของประเทศไทย หลกั ฐานเกีย่ วกับการเริ่มสมยั ประวัติ- ศาสตรซึ่งเปนสมยั ทีเ่ ริ่มมีตัวอักษรใชใน ดินแดนประเทศไทยทีเ่ กาแกทีส่ ุดคือ ศิลา จารึก สมัยประวตั ิศาสตรในดินแดนประเทศ ไทยนิยมแบงดังนี้

๑.สมัยอาณาจักรโบราณหรือสมยั กอนสโุ ขทัย ใน อดตี มอี าณา จักรต้งั อยหู ลายอาณาจกั รโดยมอี าณา จกั รท่ีเกาแกทีส่ ดุ นาจะอยบู รเิ วณภาคกลางของดนิ แดน ประเทศไทยคืออาณา จักรทวารวดีซง่ึ มศี นู ยก ลางใน เขตจงั หวดั นครปฐมโดยพบเหรยี ญเงนิ จารกึ วา ศรที วาร ดี ศวรปณุ ยะและอาณาจักรละโว อาณาจกั รศรวี ชิ ยั

สมยั ทวารวดี อาณาจกั รตามพรลงิ ค

๒.สมยั สุโขทยั (ราว พ.ศ.๑๗๙๒-๒๐๐๖) เริ่มตน สถาปนาอาณาจกั รสโุ ขทยั จนสโุ ขทยั ถกู รวมเขา กบั อาณา จักรอยุธยาสโุ ขทัยมอี ารยธรรมทส่ี าํ คัญคือ การประดิษฐ อักษรไทย การรับนับถือพระพุทธ ศาสนานิกายเถรวาท การ จดั ระเบยี บการปกครอง การสรางศิลปะแบบสุโขทยั เชน เจดยี ท รงดอกบัวตูม(หรือทรงพุมขาวบิณฑ พระพุทธรูปปาง ลีลา สุโขทยั มกี ษตั ริยปกครองถึง ๙ พระองคก ษัตริยท ่สี าํ คัญ มากทสี่ ดุ คือ พอ ขนุ รามคําแหงมหาราชกับพระมหาธรรม ราชาที่ ๑ (ลไิ ทย)

















๓.สมัยอยุธยา (พ.ศ.๑๘๙๓-๒๓๑๐) เมื่ออาณาจักรสุโขทยั เสือ่ มอาํ นาจคนไทย ลุมแมน้าํ เจาพระยาไดต้ังอาณาจกั รใหมคือ อยธุ ยา เมือ่ พ.ศ.๑๘๙๓ยืนยาวถึง ๔๑๗ ป จนถึง พ.ศ.๒๓๑๐โดยนกั ประวัติศาสตรได แบงสมัยอยธุ ยาออกเปนยอยดังน้ี

๑.สมัยการวางรากฐานอํานาจและเสริม ความมน่ั คง (พ.ศ.๑๘๙๓-๑๙๙๑)คือสมยั สมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ ๑(อทู อง)ถึงสมัย สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจาสามพระ ยา)ซึ่งเปน ชวงเริ่มตนอาณาจักรยงั มีขนาดเล็ก และยงั มีการคาขายกับจีน

๒.สมัยท่มี ีอาํ นาจทางการเมอื งและความ รงุ เรอื งทางเศรษฐกิจ (พ.ศ. ๑๙๙๑-๒๒๓๑) คือ สมัยสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถจนถงึ สมยั สมเดจ็ พระนารายณม หาราชเปน ชว งทอี่ ยุธยามีความมั่น คงและติดตอ คา ขายกบั ตา งประเทศอยา งกวา ง ขวาง กษัตรยิ ท ี่ยิง่ ใหญไ ดแก สมยั สมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถจนถึงสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเดจ็ พระนารายณม หาราช

๓.สมยั เสือ่ มอํานาจ (พ.ศ.๒๒๓๑-๒๓๑๐) คือสมัยสมเดจ็ พระเพทราชาถึงสมยั สมเดจ็ พระที่น่งั สรุ ิยาศนอัมรินทร (พระเจาเอกทศั ) นับเปนชวงทีอ่ ยุธยามีความเขมแข็งนอยลง เนือ่ งจากเกิดกบฏภายในแยงชิงอํานาจกัน หลายคร้ังจนนําไปสูการเสียกรงุ ศรีอยธุ ยา คร้ังที๒่

ราชวงศท ีป่ กครองอาณาจกั รอยุธยา ๑.สมัยราชวงศอูท อง พ.ศ. ๑๘๙๓- ๑๙๑๓และพ.ศ.๑๙๓๑-๑๙๕๒มีกษัตริย ๓ พระองค ๒.สมยั ราชวงศสพุ รรณภมู ิ พ.ศ. ๑๙๑๓-๑๙๓๑และ พ.ศ. ๑๙๕๒-๒๑๑๒ มี กษัตริย ๑๓ พระองค

๓.สมัยราชวงศสโุ ขทัย พ.ศ. ๒๑๑๒-๒๑๗๓ มีกษตั รยิ  ๗ พระองค ๔.สมยั ราชวงศป ราสาททอง พ.ศ.๒๑๗๓- ๒๒๓๑ มีกษตั ริย ๔ พระองค ๕.สมยั ราชวงศบ า นพลหู ลวง พ.ศ. ๒๒๓๑- ๒๓๑๐ มกี ษัตรยิ  ๖ พระองค

ซ่ึงรวมเปนกษัตริยรวม ๓๔ (นบั รวมขนุ วรวงศา ธริ าช ) พระองค ซงึ่ ถือวา มมี าก ซึง่ อาณาจักรกรุง ศรีอยธุ ยา เปนราชธานมี าตัง้ แตวนั ที่ ๓ เมษายน ๑๘๙๓ จนถงึ วนั ท่ี ๗ เมษายน ๒๓๑๐ เปนเวลา ยาวนานถึง ๔๑๗ ป

พระมหากษตั ริยแ ละพระราชวงศใ นสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ลําดบั พระนาม ปท ค่ี รองราชย พระราชวงศ 1. สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ 1 (พระเจาอูทอง) 1893 - 1912 (19 ป) ราชวงศอูทอง 2 .สมเด็จพระราเมศวร (โอรสพระเจา อูทอง) ครองราชยครงั้ ที่ 1 พ.ศ.1912 -1913 (1 ป) ราชวงศอทู อง 3. สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี 1 (ขุนหลวงพะงั่ว) พ.ศ.1913 - 1931 (18 ป) ราชวงศสพุ รรณภูมิ 4. สมเด็จพระเจา ทองลนั (โอรสขนุ หลวงพะงวั่ ) 1931 (7 วนั ) ราชวงศสุพรรณภูมิ สมเดจ็ พระราเมศวร ครองราชยครงั้ ท่ี 2 1931 - 1938 (7 ป) ราชวงศอูท อง

5. สมเดจ็ พระรามราชาธริ าช (โอรสพระราเมศวร) 1938 - 1952 (14 ป) อทู อง 6. สมเดจ็ พระนครนิ ทราธิราช (เจานครอนิ ทร) โอรสพระอนชุ า ของขุนหลวงพระงว่ั 1952 - 1967 (16 ป) สุพรรณภมู ิ 7. สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ 2 (เจา สามพระยา) โอรสเจา นคร อินทร 1967 –1991 (16 ป) สุพรรณภมู ิ 8. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (โอรสเจา สามพระยา) 1991 – 2031 (40 ป) สพุ รรณภูมิ 9. สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ 3 (โอรสพระบรมไตรโลกนาถ) 2031 – 2034 (3 ป) สุพรรณภมู ิ 10. สมเดจ็ พระรามาธิบดที ี่ 2 (โอรสพระบรมไตรโลกนาถ) 2034 - 2072 (38 ป) สพุ รรณภูมิ

11.สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ 4 (พระอนุชา ตางมารดาพระรามาธิบดที ่ี 2) 2072 - 2076 (4 ป) สพุ รรณภมู ิ 12.สมเด็จพระรษั ฎาธริ าชกุมาร (โอรสพระบรม ราชาธิราชที่ 4) 2076 – 2077 (1 ป) สพุ รรณภมู ิ 13.สมเดจ็ พระไชยราชาธิราช (โอรสพระ รามาธิบดที ี่ 2) 2077 – 2089 (12 ป) สพุ รรณภูมิ

14.สมเด็จพระยอดฟา (พระแกว ฟา ) (โอรสพระ ไชยราชาธริ าช) 2089 - 2091 (2 ป) สุพรรณภูมิ -ขุนวรวงศาธิราช (สาํ นักประวัตศิ าสตรบ างแหงไม ยอมรบั วาเปน กษตั ริย) 2091 (42 วัน) อทู อง (ไมได รบั การยกยอ ง แตผ า นพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก) 15.สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ (พระเฑยี รราชา) 2091 - 2111 (20 ป) สุพรรณภูมิ

16. สมเด็จพระมหนิ ทราธิราช (โอรสพระมหาจกั รพรรด)ิ 2111 - 2112 (1 ป) สพุ รรณภมู ิ 17.สมเด็จพระมหาธรรมราชา (ราชบตุ รเขยในพระมหา จักรพรรด)์ิ 2112 – 2133 (21 ป) สุโขทยั 18.สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช (โอรสพระมหาธรรมราชา) 2133 - 2148 (15 ป) สโุ ขทยั 19. สมเด็จพระเอกาทศรถ (โอรสพระมหาธรรมราชา) 2148 - 2153 (5 ป) สุโขทัย 20.สมเดจ็ พระศรเี สาวภาคย (โอรสพระเอกาทศรถ) 2153 - 2154 (1 ป) สุโขทัย 21.สมเดจ็ พระเจา ทรงธรรม (โอรสพระเอกาทศรถ) 2154 - 2171 (17 ป) สุโขทยั

22.สมเด็จพระเชษฐษธิราช(โอรสพระเจาทรงธรรม) 2171-2173(1ป 8 เดือน) 23. สมเด็จพระอาทิตยวงศ (โอรสพระเจา ทรงธรรม) 2173 (36 วนั ) สโุ ขทยั 24. สมเดจ็ พระเจา ปราสาททอง (ออกญากลาโหมสรุ ยิ วงค) 2173 - 2199 (25 ป) ปราสาททอง 25. สมเด็จเจา ฟาไชย (โอรสพระเจา ปราสาททอง) 2199 (9 เดือน) ปราสาททอง

26. สมเด็จพระศรีสธุ รรมราชา (อนุชาพระเจาปราสาท ทอง) 2199 (2 เดือน 17 วนั ) ปราสาททอง 27. สมเด็จพระนารายณมหาราช (โอรสพระเจา ปราสาท ทอง) 2199 – 2231 (32 ป) ปราสาททอง 28. สมเดจ็ พระเพทราชา 2231 - 2246 (15 ป) บานพลู หลวง 29.สมเด็จพระสรรเพชญที่ 8 (พระเจา เสือ) 2246 - 2251 (6 ป) บานพลหู ลวง

30.สมเด็จพระเจา อยูหัวทายสระ (โอรสพระเจาเสือ) 2251 - 2275 (24 ป) บา นพลหู ลวง 31.สมเด็จพระเจา อยูหัวบรมโกศ (โอรสพระเจาเสือ) 2275 - 2301 (26 ป) บา นพลูหลวง 32.สมเดจ็ พระเจา อทุ มุ พร (โอรสพระเจา อยหู วั บรมโกศ) 2301 (2 เดือน) บา นพลูหลวง 33.สมเด็จพระที่นัง่ สรุ ยิ าสนอมั รินทร (พระเจาเอกทัศน) (โอรสพระเจาอยูหัวบรมโกศ) 2301 - 2310 (9 ป) บา น พลูหลวง




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook