Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปเล่มรายงานสรุป SROI_MK อว.ส่วนหน้า

รูปเล่มรายงานสรุป SROI_MK อว.ส่วนหน้า

Published by pollajan.y, 2023-06-16 06:08:37

Description: รูปเล่มรายงานสรุป SROI_MK อว.ส่วนหน้า

Search

Read the Text Version

2

รายงานการศกึ ษา ผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสงั คมรายจังหวดั ของโครงการ U2T ดว ยกลไก อว.สวนหนา จังหวดั มหาสารคาม โดย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และ มหาวิทยาลยั ราชภฎั มหาสารคาม กนั ยายน 2564 - มกราคม 2565

4

ก กติ ตกิ รรมประกาศ ตามท่ี คณะรัฐมนตรีมีมติเมอ่ื วันท่ี 6 ตุลาคม 2563 เห็นชอบใหกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร วจิ ัย และนวตั กรรม (อว.) โดยสาํ นกั งานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรวิจัยและนวัตกรรม ดําเนนิ โครงการ ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตําบลแบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสูตําบล สรางรากแกวให ประเทศ) มี วัตถุประสงคเ พื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตําบลแบบบรู ณาการ โดยมหาวทิ ยาลัยในพ้ืนที่ เปนหนวยบูรณา การโครงการ (System Integrator) การจางงาน การฟนฟูเศรษฐกิจและสังคมที่มีความ ครอบคลุมในประเดน็ ตา ง ๆ ตามปญ หาและความตอ งการของชมุ ชน และการจดั ทาํ ขอ มลู ขนาดใหญของชุมชน (Community Big Data) เพอื่ การยกระดับเศรษฐกิจและสังคม โดยมีวตั ถปุ ระสงคข องโครงการ ดงั นี้ 1. ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตําบลแบบบูรณาการโดยมหาวิทยาลัยเปน System Integrator 2. การจัดทําขอ มูลขนาดใหญของชมุ ชน (Community Big Data) 3. ใหเ กิดการจา งงานประชาชนทว่ั ไป บัณฑิตใหม และนักศกึ ษา ใหมงี านทาํ และฟน ฟูเศรษฐกจิ ชมุ ชน 4. ใหเ กิดการพัฒนาตามปญหาและความตอ งการของชุมชน จากวตั ถุประสงคข างตน พ้ืนท่ีดําเนินการในจังหวัดมหาสารคามไดดําเนินโครงการผานมาในระยะ 10 เดือนแลวน้ันจึงมีความจําเปนตองศึกษาผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคมจังหวัดมหาสารคาม ของโครงการ ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตําบลแบบบูรณาการ U2T ดวยกลไก อว.สวนหนา จังหวัดมหาสารคามโดย การประเมนิ ศักยภาพและผลกระทบทางเศรษฐกจิ และสงั คมรายตําบลในพื้นท่ี 42 ตําบล ใหมีความครอบคลุม ถูกตอง และทนั สมัย เพอ่ื นําสงขอมลู ใหกลมุ ภารกิจบริหารยุทธศาสตรนาํ ไปวิเคราะหตอ ไป และนําคืนใหกับ หนวยงานในพน้ื ทไ่ี ดใ ชป ระโยชนต อ ยอดกบั การพัฒนาจังหวัดในอนาคตในทกุ ระดบั ต้งั แตก ารแผนระดบั ชุมชน ระดบั อาํ เภอ และระดับจังหวดั ตอ ไป อว.สว นหนา จังหวัดมหาสารคาม คณะผูจดั ทาํ

ข บทสรปุ ผบู รหิ าร จังหวัดมหาสารคาม เปนศูนยกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (สะดืออีสาน) เปนมหามงคลนามที่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยูหัว (รัชกาลที่ 4) ทรงพระราชทานใหเปนช่ือเมืองคร้ังทรงโปรดเกลาฯ ตั้ง เมอื งเม่อื วนั ท่ี 22 สิงหาคม พ.ศ. 2408 มคี วามหมายวา ถิน่ ฐานทอ่ี ดุ มสมบรู ณด ว ยความดงี ามทั้งปวง ลกั ษณะ ภมู ปิ ระเทศ โดยทว่ั ไปของจงั หวัดมหาสารคาม เปน พ้ืนท่ีคอนขา งราบเรยี บถึงลูกคล่ืนลอนลาด พื้นท่ีโดยท่ัวไปมี ความสูงจากระดับนํ้าทะเลประมาณ 130 - 230 เมตร ดานทิศตะวันตกและทิศเหนือเปนที่สูงในเขตอําเภอ โกสมุ พิสัย อําเภอเชยี งยนื และอาํ เภอกนั ทรวิชัย ครอบคลุมพ้ืนท่ี ประมาณคร่ึงหน่ึงของพื้นท่จี ังหวัด และคอย ๆ ลาดเทมาทางทิศตะวันออกและทศิ ใตมลี ําน้ําสําคญั สายหลักไหลผาน ไดแก ลําน้ําชี จังหวัดมหาสารคามมี ลักษณะฝนตกสลับกับอากาศแหง (Wet and dry climate) มีปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยตอ ปอ ยูทปี่ ระมาณ 118 มิลลิเมตร/ป อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปอยูทปี่ ระมาณ 27.98 องศาเซลเซยี ส ในชวงเดือนเมษายนของทุกปจ ังหวัด จะมีอุณหภูมิสูงสุดเฉล่ียประมาณ 39 องศาเซลเซียส สวนอุณหภูมิตํ่าสุดวัดไดในชวงเดือนมกราคม อยูที่ ประมาณ 15 องศาเซลเซยี ส อุณหภมู ิเฉลี่ยตลอดท้ังปอยูที่ประมาณ 27 องศาเซลเซียส จังหวัดมีฤดูกาลตางๆ แบงเปน 3 ฤดู คือ ฤดูรอน เริม่ ต้ังแตเดือนมีนาคมไปจนถงึ เดือนมถิ ุนายน ฤดูฝน เร่มิ ตง้ั แตกรกฎาคมไปจนถงึ เดอื นตลุ าคม และฤดูหนาวเร่มิ ตงั้ แตเดอื นพฤศจิกายนไปจนถึงเดือนกุมภาพันธ ทั้งนี้จังหวัดมหาสารคามแบง เขตการปกครองออกเปน 13 อําเภอ 1 องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาลเมือง 1 แหง เทศบาลตําบล 18 แหงองคการบริหารสวนตําบล 123 แหง และหมูบาน 1,944 หมูบาน โดยอําเภอที่มีพื้นทม่ี ากท่ีสุดคือ โกสุม พิสัย (827.9) รองลงมาคือ อําเภอบรบือ (681.6) อําเภอวาปปทุม (605.8) และอําเภอเมืองมหาสารคาม (556.7) ตามลาํ ดับ ขอมลู พ้นื ฐานจังหวัดมหาสารคาม เปนดงั ภาพ การดําเนินงานโครงการ U2T ในรอบท่ี 1 ในจังหวัดมหาสารคามมีการดําเนินกิจกรรมโครงการดว ย 4 มหา วิทย าลั ย ประก อบดวย ม หาวิทยาลัยมหาสา รคา ม มหา วิทยาลัยรา ชภัฎมหาสารคา ม มหาวิทยาลัยขอนแกน และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน โดยการดําเนินโครงการครอบคลุมพื้นที่

ค 12 อําเภอ ท้ังหมด 42 ตําบล (แสดงรายละเอียดดังภาพดานลาง) ซ่ึงมหาวิทยาลัยในพื้นที่เปนหนวยบูรณา การโครงการ (System Integrator) การจางงาน การฟน ฟูเศรษฐกิจและสังคมท่ีมีความครอบคลุมในประเดน็ ตาง ๆ ตามปญ หาและความตองการของชุมชน และการจัดทําขอมูลขนาดใหญของชุมชน (Community Big Data) เพื่อการยกระดับเศรษฐกิจและสงั คม โดยมีวัตถุประสงคของโครงการ เพ่ือ 1) ยกระดับเศรษฐกิจและ สังคมรายตําบลแบบบูรณาการโดยมหาวิทยาลัยเปน System Integrator 2) การจัดทําขอมูลขนาดใหญของ ชมุ ชน (Community Big Data) 3) ใหเกิดการจางงานประชาชนท่ัวไป บัณฑิตใหม และนักศึกษา ใหมีงานทําและ ฟนฟเู ศรษฐกจิ ชมุ ชน 4) ใหเ กดิ การพัฒนาตามปญหาและความตอ งการของชุมชน ผลการประเมินศักยภาพตําบล ตามเปาหมาย 16 ประการของทงั้ 42 ตาํ บล มรี ายละเอียดดังนี้ จากผลการดําเนินงานสามารถสรุปผลการวิเคราะหสภาพแวดลอม และแนวทางการพัฒนาจังหวัด มหาสารคามจาก การวิเคราะหSWOT และ TOWS Matrix จากขอมลู ท่ีรวบรวมไดจ ากโครงการ U2T มี รายละเอียดดังภาพ และเม่ือนาํ ขอสรปุ นไ้ี ปวิเคราะหร วมกบั ความตอ งการของประชาชนที่มกี ารสาํ รวจจากสาํ นักงานจงั หวัด มหาสารคาม พบวา มีความสอดคลองกันในทง้ั 4 ดา น (แสดงประเด็นสอดคลอ งจะเปนตวั อกั ษรสีแดง) ซ่ึงผลการวเิ คราะหสมรรถนะ (Gap Analysis) ดวยโมเดล ABC พบวา ประเดน็ ท่คี วรพฒั นาเรงดว นของจงั หวัด มหาสารคามมีอยู 2 ประเด็น ไดแ ก การพัฒนาความรูดานการเกษตรอินทรีย/เกษตรปลอดภัยใหกับแรงงาน เกษตรกรทองถ่ินใหมคี วามรูและมีคุณภาพเพ่ือลดชองวางความรูของเกษตร และประเด็นตอมา คือ การเพิ่ม

ง ประสิทธิภาพและยกระดับผลผลิตทางการเกษตรอินทรีย/เกษตรปลอดภัย เนนประสิทธิภาพการผลิตทาง การเกษตรใหไดม าตรฐานในกลุมผลิตภัณฑจ ากเกษตรอนิ ทรยี /เกษตรปลอดภัย รายละเอยี ดการวิเคราะหเปน ดงั ภาพ ทง้ั นี้จากผลการวิเคราะหผลลพั ธในทุกมติ จิ ากโครงการ U2T ทาํ ใหพบขอสรุปท่ีนา สนใจคือ โครงการ U2T เปนสวนหน่ึงของการขับเคล่ือนการดําเนินของจังหวัดใหเปนรูปธรรมไดอยางมีหลักเหตุเผลดวย วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม ท่ีสอดคลองประสานรอยเปนเนื้อเดียวกันกับประเพณี วัฒนธรรม ทองถ่ินไดอยางกลมกลืน อว.สวนหนา จังหวัดมหาสารคามจึงขอสรุปประเด็นการพัฒนาของจังหวัดในภาพ กวาง ๆ ใน 4 ประเด็นดังน้ี

สารบญั จ กิตติกรรมประกาศ หนา บทสรปุ ผบู ริหาร สว นที่ 1 ขอมลู ท่ัวไปจงั หวดั มหาสารคาม ก ข 1.1 ขอมูลพื้นฐานดา นกายภาพ 1 1.2 ขอมลู เชิงเปรียบเทยี บ 1 1.3 รายช่อื ตาํ บลทเ่ี ขารวมในโครงการ U2T ในปง บประมาณ 2564 7 สวนที่ 2 ผลการดาํ เนินงานสรุปตามตวั ชี้วัด TSI และ USI 30 2.1 ผลการดําเนินงาน TSI และ USI ภาพรวมจังหวัดมหาสารคาม 33 2.2 ผลการดาํ เนนิ งาน USI 33 2.3 ผลการดําเนนิ งาน TSI 36 43 สว นที่ 3 สรปุ ผลการประเมนิ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมโครงการ U2Tของจงั หวัด มหาสารคาม 85 3.1 สรุปภาพรวมการประเมนิ ตดิ ตามผลกระทบทางเศรษฐกิจและสงั คมโครงการ U2T 86 3.2 ผลสรปุ การประเมนิ โครงการตดิ ตามผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมโครงการ 88 U2T จาํ แนกตามตาํ บลเปา หมาย 3.3 ผลสรปุ การประเมนิ โครงการตดิ ตามผลกระทบทางเศรษฐกจิ และสังคมโครงการ 92 U2T จําแนกตามลกู จางโครงการ 3.4 ผลสรุปการประเมนิ โครงการตดิ ตามผลกระทบทางเศรษฐกจิ และสงั คมโครงการ 99 U2T จาํ แนกตามครอบครวั ลกู จา งโครงการ 3.5 ผลสรุปการประเมนิ โครงการติดตามผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมโครงการ 103 U2T จาํ แนกตามชมุ ชนภายในตําบล 3.6 ผลสรุปการประเมนิ โครงการตดิ ตามผลกระทบทางเศรษฐกิจและสงั คมโครงการ 110 U2T จาํ แนกตามชมุ ชนภายนอกตาํ บล 3.7 ผลสรปุ การประเมนิ โครงการติดตามผลกระทบทางเศรษฐกิจและสงั คมโครงการ 113 U2T จําแนกตามอาจารยผดู แู ลโครงการ 3.8 ผลสรุปการประเมนิ โครงการติดตามผลกระทบทางเศรษฐกจิ และสังคมโครงการ 120 U2T จําแนกตามเจา หนาทโี่ ครงการ (USI)

ฉ หนา สารบญั (ตอ ) 125 3.9 ผลสรุปการประเมนิ โครงการติดตามผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมโครงการ 133 U2T จําแนกตามผแู ทนตาํ บล 3.10 ผลสรปุ การประเมินโครงการติดตามผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมโครงการ 136 U2T จําแนกตามหนว ยงานภาครัฐ 3.11 ผลสรปุ การประเมนิ โครงการติดตามผลกระทบทางเศรษฐกจิ และสงั คมโครงการ 141 U2T จําแนกตามหนว ยงาน อปท. 3.12 ผลสรุปการประเมินโครงการติดตามผลกระทบทางเศรษฐกจิ และสังคมโครงการ 145 U2T จาํ แนกตามเอกชนในพื้นที่ 3.13 Infographic การผลสรปุ ภาพรวมการประเมนิ โครงการติดตามผลกระทบ 187 ทางเศรษฐกจิ และสงั คมโครงการ U2T ในประเด็นสาํ คญั จําแนกรายตาํ บล 188 189 สว นที่ 4 สรุปผลการวิเคราะหข อมลู จากฐาน BCD 190 4.1 สรปุ ผลขอมูลจากฐาน BCD จังหวดั มหาสารคาม 191 4.2 ผูทย่ี ายกลับบาน เนอ่ื งจากสถานการณโ ควดิ 192 4.3 แหลง ทอ งเทยี่ ว 193 4.4 ทพี่ ัก / โรงแรม 194 4.5 รานอาหารในทอ งถ่ิน 195 4.6 อาหารทนี่ าสนใจประจําถ่นิ 196 4.7 เกษตรกรในทองถิ่น 197 4.8 พชื ในทองถิน่ 198 4.9 สตั วในทองถิ่น 4.10 ภูมปิ ญ ญาทอ งถ่ิน 4.11 แหลง นาํ้ ในทองถ่ิน

สารบญั (ตอ) ช สว นท่ี 5 บทสรปุ นําเสนอแนวทางพฒั นาจงั หวดั มหาสารคาม หนา 5.1 ผลการวิเคราะหสภาพแวดลอมและศักยภาพ (SWOT Analysis) 5.2 ผลการวเิ คราะห TOWS Analysis 199 5.3 ผลการวเิ คราะห GAP Analysis 200 5.4 สรปุ เรอ่ื งเลา ความสําเรจ็ ของดจี ังหวดั มหาสารคาม 201 202 บรรณานกุ รม 204 ภาคผนวก ภาคผนวก ก ขอมลู PBM และ TPMAP รายตาํ บล 207 ภาคผนวก ข ขอมลู BCD รายตาํ บล ภาคผนวก ค ลงิ ค VDO สรปุ งาน U2T ของจงั หวัดมหาสารคาม 209 211 213

ซ สารบัญภาพ ภาพที่ หนา 1.1 แผนทแี่ สดงทต่ี ้ังและอาณาเขตตดิ ตอกับจงั หวัดใกลเ คยี งกบั พ้ืนทีจ่ งั หวดั 2 มหาสารคาม 1.2 เปรยี บเทยี บผลิตภณั ฑมวลรวมจังหวัดมหาสารคาม 2560 – 2562 8 1.3 เ ป รี ย บ เ ที ย บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ จั ง ห วั ด ม ห า ส า ร ค า ม กั บ จั ง ห วั ด ใ น ก ลุ ม ภ า ค 8 ตะวันออกเฉยี งเหนอื ตอนกลาง พ.ศ. 2562 1.4 14 1.5 แผนผังประชากรผทู อ่ี ยใู นวัยทํางาน (อายุ 15 ป ขนึ้ ไป) ในพน้ื ทจี่ ังหวัดมหาสารคาม 15 3.1 ตาํ แหนง การงาน ผูลงทะเบยี นสมัครงาน และบรรจงุ าน ป พ.ศ. 2562 – 2563 85 3.2 ตัวชีว้ ดั ในมติ ผิ ลกระทบของผมู ีสวนไดสวนเสยี 86 3.3 กญุ แจสาํ คัญเชิงกลยทุ ธในโครงการ U2T ป 2564 86 3.4 การเปลย่ี นแปลงในมิตขิ องผมู สี วนไดส ว นเสีย 87 3.5 ภาพรวมการวเิ คราะห SROI 88 3.6 กจิ กรรมท่ีดาํ เนินงานของทกุ ตําบลโดยแบง เปน ดานตา ง ๆ 92 3.7 กิจกรรมที่ดาํ เนินงานของทุกตําบลโดยแบง เปน ดา นตา ง ๆ 100 3.8 จํานวนการรูจ กั โครงการ U2T ของครอบครวั ลูกจา ง 101 จาํ นวนสวัสดกิ ารท่ีไดร บั จากการจา งงานโครงการ U2T สง ผลใหเกิดการ 3.9 เปลี่ยนแปลงตอ ลูกจา งและครอบครัว 104 3.10 กจิ กรรมท่ีดาํ เนินงานของทุกตําบลโดยแบง เปนดานตา ง ๆ 104 3.11 จาํ นวนการรูจกั โครงการ U2T ของชุมชนภายในตําบล 111 3.12 จาํ นวนการรจู กั โครงการ U2T ของชุมชนภายนอกตาํ บลทีร่ บั ผดิ ชอบ 112 ความคดิ เหน็ เกยี่ วกับผลกระทบดานอน่ื ๆ จากการใหบรกิ าร/การจดั สง วตั ถุดิบ 3.13 ใหก บั ชุมชน/ผูประกอบการ/นกั วิจยั หรือเกิดความกงั วลดานอน่ื ๆ ตอชมุ ชน 114 3.14 ภายนอกตําบลท่รี ับผดิ ชอบ 121 กิจกรรมที่ดาํ เนินงานของทุกตําบลโดยแบงเปนดา นตา ง ๆ ความคิดเหน็ เกยี่ วกบั การดําเนินงานโครงการ U2T ทาํ ใหห นวยงานทีร่ ับผิดชอบเปน ทรี่ ูจกั สงผลใหเกดิ ภาพลักษณท ี่ดีข้นึ

ฌ สารบญั ภาพ (ตอ) ภาพที่ หนา 3.15 ความคิดเห็นเกี่ยวกับความคาดหวังจากการดําเนินกิจกรรม โครงการยกระดับ 121 เศรษฐกจิ และสงั คมรายตําบลแบบบูรณาการ U2T ในครง้ั นี้ 3.16 ความคิดเห็นเก่ียวกับผลกระทบดานลบอ่ืน ๆ จากการดําเนินกิจกรรม โครงการ 122 ยกระดบั เศรษฐกิจและสงั คมรายตําบลแบบบูรณาการ U2T 3.17 ความคดิ เห็นเก่ยี วกับโอกาส การตอยอดการดําเนินงาน วธิ หี รอื นวัตกรรมใหม ๆ ใน 122 การขยายผลทดี่ ตี อสงั คมและชุมชม 3.18 กจิ กรรมทด่ี าํ เนนิ งานของทกุ ตําบลโดยแบงเปน ดา นตา ง ๆ 125 3.19 ความคิดเห็นเก่ียวกับความคาดหวังจากการดําเนินกิจกรรม โครงการยกระดับ 126 เศรษฐกิจและสงั คมรายตําบลแบบบูรณาการ U2T ในครัง้ นี้ 3.20 ความคิดเห็นเก่ียวกับผลกระทบดานลบอ่ืน ๆ จากการดําเนินกิจกรรม โครงการ 126 ยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายตาํ บลแบบบรู ณาการ U2T 3.21 ความคดิ เหน็ เกีย่ วกับหนวยงานภาคีเครือขายที่รวมดาํ เนินงานโครงการ U2T สง ผล 138 ใหหนว ยงานทีร่ ับผดิ ชอบเปนท่รี ูจกั และเกิดภาพลกั ษณท ่ีดี 3.22 ความคิดเห็นเก่ียวกับผลกระทบดานลบอื่น ๆ จากการดําเนินกิจกรรม โครงการ 139 ยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายตําบลแบบบูรณาการ U2T 3.23 ความคิดเห็นเก่ียวกับผลกกระทบดานลบอื่น ๆ จากการรวมดําเนินกิจกรรม 139 โครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสังคมรายตําบลแบบบรู ณาการ U2T 3.24 ความคิดเห็นเก่ยี วกบั หนว ยงานภาคเี ครือขายท่ีรวมดาํ เนินงานโครงการ U2T สง ผล 142 ใหหนว ยงานที่รับผดิ ชอบเปน ทร่ี จู กั และเกดิ ภาพลกั ษณที่ดี 3.25 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบดานลบอื่น ๆ จากการดําเนินกิจกรรม โครงการ 143 ยกระดบั เศรษฐกจิ และสังคมรายตําบลแบบบรู ณาการ U2T 3.26 ความคิดเหน็ เกย่ี วกบั ผลกระทบดานลบอ่ืน ๆ จากการรว มดําเนนิ กิจกรรมโครงการ 143 ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตาํ บลแบบบูรณาการ U2T 4.1 สรปุ ขอมลู ภาพรวมของจังหวัดมหาสารคาม 188 4.2 สรุปภาพรวมประเด็นการยา ยถ่นิ เนอ่ื งจากสถานการณโควิดของจงั หวัดมหาสารคาม 189 4.3 สรุปภาพสถานทท่ี องเทีย่ วของจงั หวัดมหาสารคาม 190 4.4 สรปุ ภาพรวมที่พกั แนะนาํ ของจงั หวัดมหาสารคาม 191 4.5 สรุปภาพรวมอาหารประจาํ ทองถิน่ ของจังหวัดมหาสารคาม 192

ญ หนา สารบัญภาพ (ตอ ) 193 194 ภาพที่ 195 196 4.6 สรปุ ภาพรวมรา นอาหารของจังหวัดมหาสารคาม 197 4.7 สรปุ ภาพรวมเกษตรกรทม่ี พี น้ื ท่ที ําการเกษตรของจงั หวดั มหาสารคาม 198 4.8 สรุปภาพรวมภูมิปญญาในทองถิน่ ของจงั หวดั มหาสารคาม 4.9 สรปุ ภาพรวมพืชในทองถิน่ ของจงั หวดั มหาสารคาม 4.10 สรปุ ภาพรวมสตั วในทอ งถ่นิ ของจังหวดั มหาสารคาม 4.11 สรปุ ภาพรวมแหลง นาํ้ ในทองถน่ิ ของจงั หวัดมหาสารคาม

ฎ สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา 1.1 จํานวนอําเภอ หมูบาน ตาํ บล อบต. เทศบาลตาํ บล เทศบาลเมอื ง พนื้ ทข่ี องจังหวัด 3 มหาสารคาม 1.2 จํานวนประชากร แยกเปน ชาย หญิง และจาํ นวนครวั เรือน จําแนกเปนรายอําเภอ 4 1.3 แสดงเนอื้ ท่ปี ลูกขาวนาป เน้อื ทีเ่ กบ็ เกย่ี ว ผลผลิต ผลผลติ เฉลย่ี ตอ ไร และมลู คา 9 ผลผลติ จาํ แนกเปน รายอาํ เภอ ปก ารเพาะปลกู 2563/2564 1.4 แสดงเนอ้ื ทป่ี ลูกมนั สาํ ปะหลัง เน้อื ทเ่ี ก็บเกี่ยว ผลผลิต ผลผลติ เฉล่ยี ตอไร และมลู คา 10 ผลผลติ จําแนกเปน รายอําเภอ ปการเพาะปลูก 2563 1.5 แสดงเนื้อท่ีปลูกออยโรงงาน เน้ือที่เก็บเก่ียว ผลผลิต ผลผลติ เฉล่ียตอไร และมูลคา 10 ผลผลติ จําแนกเปนรายอําเภอ ปการเพาะปลูก 2563/2564 1.6 แสดงเนอื้ ท่เี พาะปลกู พชื เนอ้ื ที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต ผลผลติ เฉลย่ี ตอไร และมลู คา 11 ผลผลิต จําแนกตามชนดิ ของพชื ปการเพาะปลูก 2563/2564 1.7 แสดงเนือ้ ท่ีเพาะปลูกพชื ขา วนาปทีผ่ า นการรับรองมาตรฐานอินทรยี /GAP 12 ป 2558 – 2560 1.8 แสดงจาํ นวนการตรวจสอบและยนื ยนั การปรับปรงุ ฐานขอ มลู เกษตรกรผเู ลี้ยงสตั ว 12 ป 2564 1.9 ดชั นีราคาผบู ริโภคจังหวัดมหาสารคาม จําแนกตามประเภทของดชั นแี ละ 13 หมวดสนิ คา 1.10 แรงงานไปทาํ งานตา งประเทศ จําแนกตามวิธกี ารเดนิ ทาง 14 1.11 จํานวนนักเรยี นและโรงเรียนในสังกดั สาํ นกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั มหาสารคาม 18 ปการศึกษา 2564 1.12 ขอมลู ทรพั ยากรสาธารณสุข 20 1.13 จาํ นวนของแพทย ทันตแพทย เภสชั กร พยาบาลวชิ าชีพ อตั ราตอประชากรแยก 21 ตาม โรงพยาบาลทว่ั ไปและโรงพยาบาลชมุ ชน ของจังหวัดมหาสารคาม 1.14 ปงบประมาณ 2563 22 1.15 แสดงขอมูลอา งเกบ็ นา้ํ ขนาดกลางของจังหวัดมหาสารคาม 22 1.16 แสดงขอมลู พ้นื ท่ีโครงการปอ งกนั และบรรเทาอทุ กภัยบานตูม-ต้ิว 23 แสดงขอมลู พน้ื ทีช่ ลประทานของโครงการฯทีค่ าบเกย่ี วในเขต จังหวัดมหาสารคาม

ฏ สารบัญตาราง (ตอ) ตารางที่ หนา 1.17 แสดงขอมูลพน้ื ที่สถานสี บู นา้ํ ดวยพลังไฟฟา ในเขตจงั หวดั มหาสารคาม รายอาํ เภอ 23 1.18 แสดงสถติ ินักทอ งเท่ยี วจังหวดั มหาสารคาม 2561 – 2563 27 1.19 แสดงมลู คา ผลิตภณั ฑม วลรวมจงั หวัดมหาสารคาม 29 1.20 รายช่อื ตําบลในจังหวัดมหาสารคามที่เขา รว มโครงการและมหาวิทยาลัยท่ีรบั ผดิ ชอบ 31 2.1 เปาหมาย 16 ประการ โดย TPMAP 33 2.2 ผลการประเมินศักยภาพตาํ บลตามเปา หมายของจงั หวัดมหาสารคาม 16 ประการ โดยใช 34 TPMAP 3.1 จํานวน รอยละ ของกิจกรรม/โครงการ ท่ีไดด าํ เนินการ ของตําบลเปา หมาย 88 3.2 คาเฉลย่ี การประเมนิ สงผลใหเ กดิ ผลกระทบ/เกิดการเปลีย่ นแปลงดานศักยภาพ 89 3.3 จาํ นวนสมาชิกของกลมุ ชมุ ชน 89 3.4 คา เฉลย่ี การเปล่ียนแปลงรายไดก อน-หลังการดาํ เนินการโครงการ 89 3.5 คา เฉลยี่ การประเมนิ สง ผลใหเกดิ ผลกระทบ/เกดิ การเปลยี่ นแปลงดา นเศรษฐกจิ / 90 การเงนิ 3.6 คาเฉล่ียการประเมินสง ผลใหเกดิ ผลกระทบ/เกิดการเปลีย่ นแปลงดา นภาคีเครอื ขาย 90 และการมสี วนรว ม 3.7 คา เฉล่ียการประเมินสง ผลใหเ กิดผลกระทบ/เกิดการเปลีย่ นแปลงดา นสขุ ภาวะ 91 (กาย/ใจ) 3.8 คา เฉลย่ี การประเมินสง ผลใหเกิดผลกระทบ/เกดิ การเปลีย่ นแปลงดานความเปนอยู 91 สังคมและสงิ่ แวดลอม 3.9 จาํ นวน รอยละ ของกจิ กรรม/โครงการ ท่ไี ดดาํ เนนิ การ 92 3.10 จํานวนกิจกรรมภายใตโ ครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายตําบลแบบ 93 บรู ณาการ (U2T) จําแนกตามหมบู า น 3.11 คา เฉลี่ยการประเมนิ สง ผลใหเกดิ ผลกระทบ/เกิดการเปลยี่ นแปลงดานศกั ยภาพ 96 3.12 รายไดโดยเฉลย่ี ของสมาชิก กอน-ระหวาง การดําเนินโครงการของลกู จา งโครงการ 96 3.13 การใชจา ยโดยเฉล่ียของสมาชิก กอ น-ระหวาง การดาํ เนินโครงการของลูกจาง 97 โครงการ 3.14 คาเฉลยี่ การประเมินสง ผลใหเ กิดผลกระทบ/เกิดการเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกจิ / 97 การเงนิ

ฐ สารบัญตาราง (ตอ) ตารางท่ี หนา 3.15 คา เฉลีย่ การประเมนิ สงผลใหเกิดผลกระทบ/เกิดการเปล่ยี นแปลงดานภาคเี ครอื ขา ย 97 และการมีสว นรว ม 3.16 คาเฉลย่ี การประเมินสงผลใหเกิดผลกระทบ/เกดิ การเปลี่ยนแปลงดานสุขภาวะ 98 (กาย/ใจ) 3.17 คา เฉลย่ี การประเมนิ สง ผลใหเ กิดผลกระทบ/เกิดการเปลยี่ นแปลงดา นความเปนอยู 98 สังคมและสงิ่ แวดลอม 3.18 จํานวนแบบสอบถามครอบครัวลกู จาง จาํ แนกตามอาํ เภอ 99 3.19 การดาํ เนินกิจกรรม/โครงการ U2T สงผลใหเกดิ การเปล่ยี นแปลงตอ ครอบครวั 100 ลกู จา งโครงการ 3.20 คา เฉลี่ยการประเมินสง ผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอครอบครัวลูกจางโครงการ 101 3.21 คา เฉลยี่ การประเมินสงผลใหเ กิดผลกระทบ/เกดิ การเปลย่ี นแปลงดานภาคเี ครอื ขา ย 102 และการมีสวนรว ม 3.22 คาเฉลี่ยการประเมินสง ผลใหเกดิ ผลกระทบ/เกิดการเปลี่ยนแปลงดานสุขภาวะ 102 (กาย/ใจ) 3.23 คาเฉลย่ี การประเมินสง ผลใหเ กิดผลกระทบ/เกดิ การเปลย่ี นแปลงดานความเปน อยู 103 สังคมและส่ิงแวดลอม 3.24 จาํ นวน รอ ยละ ของกิจกรรม/โครงการ ทไ่ี ดดาํ เนินการ 103 3.25 จํานวนการเรยี นรจู ักโครงการ U2T ของชมุ ชนภายในตาํ บล 104 3.26 จาํ นวนกจิ กรรมภายใตโครงการยกระดบั เศรษฐกิจและสังคมรายตําบลแบบ 106 บูรณาการ (U2T) จําแนกตามหมูบาน 3.27 คา เฉล่ียการประเมินสงผลใหเกิดผลกระทบ/เกิดการเปลี่ยนแปลงดา นศกั ยภาพ 108 3.28 คา เฉล่ยี การประเมนิ สง ผลใหเ กิดผลกระทบ/เกิดการเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ/ 108 การเงนิ 3.29 คา เฉลี่ยการประเมินสงผลใหเ กิดผลกระทบ/เกดิ การเปลี่ยนแปลงดานภาคเี ครอื ขา ย 109 และการมสี วนรวม 3.30 คาเฉลี่ยการประเมนิ สง ผลใหเ กิดผลกระทบ/เกิดการเปลย่ี นแปลงดานสุขภาวะ 109 (กาย/ใจ)

ฑ สารบญั ตาราง (ตอ ) ตารางที่ หนา 3.31 คา เฉลย่ี การประเมินสงผลใหเกิดผลกระทบ/เกิดการเปลี่ยนแปลงดา นความเปน อยู 110 สังคมและส่ิงแวดลอม 3.32 รายงานแบบสอบถามเกีย่ วกับจาํ นวนทอ่ี ยูอาศัยของผูเ ขา รวมโครงการจําแนกตาม 110 ชุมชนภายนอกตาํ บล รายอาํ เภอ 3.33 คาเฉลี่ยการประเมินผลกระทบตอการเปล่ียนแปลงดา นเศรษฐกจิ และการเงนิ 112 3.34 คา เฉลยี่ การประเมินผลกระทบตอ การเปล่ียนแปลงดา นภาคเี ครอื ขา ยและการมีสว น 113 รว ม 3.35 จํานวน รอ ยละ ของกจิ กรรม/โครงการ ทไ่ี ดด าํ เนินการ 113 3.36 จํานวนกิจกรรมภายใตโ ครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสังคมรายตาํ บลแบบ 115 บูรณาการ (U2T) จําแนกตามหมูบา น 3.37 คาเฉลย่ี การประเมนิ ผลกระทบตอการเปล่ียนแปลงดา นศักยภาพ 118 3.38 คาเฉลย่ี การประเมินผลกระทบตอ การเปล่ยี นแปลงดานเศรษฐกิจและการเงนิ 119 3.39 คาเฉลย่ี การประเมินผลกระทบตอการเปลีย่ นแปลงดา นภาคีเครอื ขายและการมสี วน 119 รวม 3.40 คาเฉลี่ยการประเมนิ ผลกระทบตอ การเปลย่ี นแปลงดานสุขภาวะ (กาย/ใจ) 120 3.41 จํานวนแบบสอบถามเกย่ี วกบั พืน้ ทใ่ี นความรบั ผดิ ชอบโครงการ U2T จําแนกตาม 120 เจา หนา ทีโ่ ครงการ รายอาํ เภอ 3.42 คาเฉล่ยี การประเมินสงผลใหเ กิดผลกระทบตอการเปล่ยี นแปลงดานศกั ยภาพ 123 3.43 คาเฉลี่ยการประเมนิ ผลกระทบดานภาคเี ครอื ขายและการมีสว นรว มในระดบั 124 ความสาํ คญั (0-10) 3.44 คาเฉล่ยี การประเมินผลกระทบดา นสุขภาวะ (กาย/ใจ) ในระดบั ความสาํ คัญ (0-10) 124 3.45 จาํ นวน รอ ยละ ของกจิ กรรม/โครงการ ทีไ่ ดดาํ เนนิ การ 125 3.46 จาํ นวนกิจกรรมภายใตโครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายตําบลแบบ 127 บรู ณาการ (U2T) จําแนกตามหมูบาน 3.47 คาเฉลี่ยการประเมินสงผลใหเกิดผลกระทบตอการเปลีย่ นแปลงดานศักยภาพ 130 3.48 คาเฉลย่ี การประเมนิ สง ผลใหเกดิ ผลกระทบตอ การเปล่ียนแปลงดา นเศรษฐกิจและ 131 การเงนิ

ฒ สารบัญตาราง (ตอ ) ตารางที่ หนา 3.49 คา เฉลี่ยการประเมนิ ผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงดา นภาคเี ครอื คายและ 132 การมีสว นรว ม 3.50 คาเฉลี่ยการประเมนิ ผลกระทบตอ การเปล่ียนแปลงดานสุขภาวะ (กาย/ใจ) 132 3.51 รายงานแบบสอบถามเกย่ี วกบั จาํ นวนพื้นที่ท่ีรบั ผดิ ชอบโครงการจาํ แนกตาม 133 หนว ยงานภาครัฐ รายอาํ เภอ 3.52 คา เฉลี่ยการประเมนิ ผลกระทบตอการเปลย่ี นแปลงดานศกั ยภาพ 134 3.53 คา เฉล่ียการประเมินผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงดานภาคีเครือขายและการมสี ว น 135 รวม 3.54 รายงานแบบสอบถามเกี่ยวกบั จาํ นวนท่ีอยอู าศัยของผูเ ขา รว มโครงการจําแนกตาม 136 หนวยงาน อปท. รายอาํ เภอ 3.55 จํานวนผปู ฏบิ ัตงิ านในหนว ยงาน อปท. 138 3.56 คา เฉล่ียของคา ตอบแทนผปู ฏิบัตงิ านในหนวยงาน อปท. 138 3.57 คา เฉลย่ี การประเมินสงผลใหเ กิดผลกระทบ/เกิดการเปลยี่ นแปลงดา นศักยภาพ 140 3.58 คาเฉลย่ี การประเมนิ สง ผลใหเกิดผลกระทบตอ การเปลี่ยนแปลงดานภาคเี ครือขา ย 141 และการมสี วนรว ม 3.59 รายงานแบบสอบถามเกยี่ วกบั จํานวนท่ีอยูอาศยั ของผูเขา รวมโครงการจําแนกตาม 142 เอกชนในพื้นที่ รายอําเภอ 3.60 จํานวนบุคลากรผูเขารว มโครงการ 142 3.61 คาใชจายและคาตอบแทนเฉลี่ยขอบผเู ขา รวมโครงการ 142 3.62 คาเฉลย่ี การประเมินสง ผลใหเ กิดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงดานศักยภาพ 144 3.63 คา เฉลี่ยการประเมนิ สง ผลใหเ กดิ ผลกระทบตอ การเปลีย่ นแปลงดานภาคเี ครือขาย 144 และการมสี ว นรว ม 4.1 หมวดหมูข องขอมูลจากฐาน CBD 187 5.1 สรปุ ผลการวิเคราะห SWOT 200 5.2 ผลสรปุ การวเิ คราะหก ลยุทธด วย TOWS จากจุดแขง็ และจุดออ น จาํ นแกตาม 201 โอกาสและอปุ สรรค 5.3 สรปุ ผลการวิเคราะห GAP จาํ แนกตามโมเดล ABC 202 5.4 สรปุ รายการประเดน็ เดนรายตําบล มหาวิทยาลยั รับผดิ ชอบของจงั หวัดมหาสารคาม 204



1 สวนที่ 1 ขอ มูลท่ัวไปจังหวัดมหาสารคาม จงั หวดั มหาสารคาม เปน ศนู ยกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (สะดืออีสาน) เปน มหามงคลนามท่ี พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยูหัว (รัชกาลท่ี 4) ทรงพระราชทานใหเปนช่ือเมืองคร้ังทรงโปรดเกลาฯ ต้ัง เมืองเมือ่ วันท่ี 22 สิงหาคม พ.ศ. 2408 มีความหมายวา ถ่ินฐานที่อุดมสมบูรณดวยความดีงามทั้งปวง มีทาว มหาชัย (กวด) เปนเจาเมืองทาวมหาชัย (กวด) ไดพาผูคนออกจากเมอื งรอยเอ็ดมาทางทิศตะวันตก ประมาณ 1,000 เสน จึงหยุดต้ังอยูบริเวณท่ีดอน แลวจัดพิธีการฝงเสาหลักเมือง บริเวณน้ันไดสรางวัดชื่อวัดดอนเมือง แตร าษฎรนยิ มเรียกวา “วัดขา วอา ว” อยไู ดป ระมาณ 6 เดือน เห็นวาขาดแคลนแหลงน้ํา จึงยายมาตั้งระหวาง กุดยางใหญกับหนองกระทุม ซึ่งเปนชุมชนท่ีมีผูคนอาศัยอยูบางแลว คือบานจาน ประกอบกับหางออกไป เล็กนอยทางทิศตะวันตกก็มีหนองหัวชาง (บริเวณทิศใตว ัดนาควิชัย) และถัดจากหนองกระทุมออกไปเล็กนอย ก็เปนหวยคะคาง นับวาเปนชัยภูมิท่ีมีแหลงนํ้าสมบูรณ จึงไดตั้งเปนเมืองมหาสารคาม มีพระเจริญราชเดช (กวด) เปนเจาเมือง คนแรก สวนทาวบัวทองไดพ าผูคนจํานวนหนึ่งไปต้ังถ่ินที่อยูบริเวณบานลาดริมฝงลําน้ําชี ตามท่ีตนเหน็ เหมาะสมและเสนอตัง้ เปน เมืองต้ังแตแรก โดยเมืองมหาสารคามเมอื่ แรกตั้งยังตองขึ้นอยูในความ ดแู ลบงั คบั บญั ชา ของพระขัติยวงษา (จนั ) เจาเมอื งรอ ยเอด็ พุทธศักราช 2456 หมอมเจานพมาศ นวรัตน ไดรับการแตงตั้งเปนปลัดมณฑลประจําจังหวัด โดย ความเหน็ ชอบของพระมหาอํามาตยาธิบดี (เสง็ วิริยะศิริ) และไดยายศาลากลางจังหวัดมาตั้ง ณ ที่ศาลากลาง หลังเดิมหรือท่ีวาการอําเภอเมืองมหาสารคามในปจจุบัน ตอมาในป พุทธศักราช 2542 ไดยายศาลากลาง จังหวัดมาต้ังอยู ณ ที่ปจจุบัน คอื บริเวณถนนเล่ียงเมืองมหาสารคาม – รอยเอ็ด ตําบลแวงนาง อําเภอเมือง มหาสารคาม จากอดตี จนถึงปจ จบุ ันจังหวัดมหาสารคามมผี ูดํารงตําแหนงเจา เมืองและผูวาราชการจังหวัด รวม 51 คน 1.1 ขอ มลู พน้ื ฐานดา นกายภาพ 1.1 ท่ตี ง้ั และขนาดพ้นื ที่ จังหวดั มหาสารคาม ต้งั อยูบริเวณตอนกลางของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื มีพื้นที่ 5,291.683 ตารางกโิ ลเมตร หรือ 3,307,301.87 ไร มีพ้นื ที่เปนลําดับที่ 14 ของภาคและเปนลําดับท่ี 41 ของประเทศไทย มอี าณาเขตติดตอ กบั จังหวดั ใกลเคยี ง ดังน้ี ทางทศิ เหนือ ตดิ ตอ กับ จังหวดั ขอนแกน และจังหวดั กาฬสนิ ธุ ทิศใต ติดตอ กบั จังหวัดสุรนิ ทร และจงั หวัดบุรรี ัมย ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอกบั จังหวัดกาฬสนิ ธุ และจังหวัดรอ ยเอ็ด ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ กบั จงั หวดั ขอนแกน และจังหวัดบุรรี ัมย

2 ภาพที่ 1.1 แผนท่ีแสดงท่ีตัง้ และอาณาเขตติดตอ กบั จงั หวัดใกลเคยี งกบั พื้นที่จงั หวดั มหาสารคาม 1.2 ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศ โดยทว่ั ไปของจงั หวัดมหาสารคาม เปน พน้ื ทค่ี อนขางราบเรยี บถึงลูกคล่ืน ลอนลาด พืน้ ที่โดยทั่วไปมีความสงู จากระดับน้าํ ทะเลประมาณ 130 - 230 เมตร ดา นทิศตะวนั ตกและทศิ เหนือ เปนทสี่ ูงในเขตอาํ เภอโกสุมพิสัย อําเภอเชียงยืน และอําเภอกันทรวิชัย ครอบคลุมพ้ืนท่ี ประมาณคร่ึงหนึ่งของ พ้ืนท่จี งั หวัด และคอ ย ๆ ลาดเทมาทางทิศตะวันออกและทิศใตม ีลาํ น้ําสาํ คญั สายหลกั ไหลผาน ไดแ ก ลํานาํ้ ชี 1.3 ลักษณะภูมิอากาศ มลี ักษณะฝนตกสลับกับอากาศแหง (Wet and dry climate) มปี ริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยตอปอยูที่ ประมาณ 118 มิลลเิ มตร/ป อุณหภูมิเฉล่ียตลอดปอยูท่ีประมาณ 27.98 องศาเซลเซียส ในชวงเดือนเมษายน ของทุกปจังหวัดจะมีอุณหภูมิสูงสุดเฉล่ียประมาณ 39 องศาเซลเซียส สวนอุณหภูมิต่ําสุดวัดไดในชวงเดือน มกราคม อยูที่ประมาณ 15 องศาเซลเซยี ส อุณหภูมิเฉลย่ี ตลอดทงั้ ปอ ยูท ีป่ ระมาณ 27 องศาเซลเซยี ส จังหวดั มี ฤดูกาลตางๆ แบงเปน 3 ฤดู คือ ฤดูรอน เริ่มต้ังแตเดือนมีนาคมไปจนถึงเดือนมิถุนายน ฤดูฝน เร่ิมตั้งแต กรกฎาคมไปจนถึงเดือนตลุ าคม และฤดหู นาวเร่ิมตั้งแตเ ดอื นพฤศจิกายนไปจนถึงเดอื นกมุ ภาพันธ

3 1.4 เขตการปกครอง และจํานวนประชากร 1) จังหวัดแบงเขตการปกครองออกเปน 13 อําเภอ 1 องคการบรหิ ารสวนจังหวัด เทศบาล เมือง 1 แหง เทศบาลตําบล 18 แหงองคการบริหารสวนตําบล 123 แหง และหมูบาน 1,944 หมบู าน โดย อําเภอท่ีมพี ้ืนท่ีมากที่สุดคือ โกสุมพิสัย (827.9) รองลงมาคือ อําเภอบรบือ (681.6) อําเภอวาปปทมุ (605.8) และอําเภอเมืองมหาสารคาม (556.7) ตามลําดบั ตารางที่ 1.1 : จาํ นวนอาํ เภอ หมูบ าน ตาํ บล อบต. เทศบาลตําบล เทศบาลเมือง พืน้ ท่ขี องจงั หวัดมหาสารคาม อําเภอ เขตการปกครอง พนื้ ที่ หมบู าน ตาํ บล อบต. เทศบาลตําบล เทศบาลเมือง (ตร.กม.) เมอื งมหาสารคาม 185 14 13 1 1 556.7 กันทรวิชยั 183 10 8 3 - 372.2 โกสมุ พสิ ยั 233 17 17 1 - 827.9 เชยี งยนื 116 8 7 2 - 289.0 นาเชอื ก 145 10 10 1 - 528.2 บรบือ 209 15 15 1 - 681.6 พยคั ฆภมู พิ สิ ัย 227 14 14 1 - 409.8 วาปปทุม 241 15 15 1 - 605.8 นาดูน 94 9 6 3 - 248.4 แกดํา 88 5 4 2 - 149.5 ยางสีสุราช 91 7 7 - - 242.5 กดุ รัง 85 5 5 - - 267.0 ช่นื ชม 47 4 2 2 - 113.0 รวม 1,944 133 123 18 1 5,291.6 ทีม่ า : ที่ทาํ การปกครองจังหวัดมหาสารคาม 2) จังหวัดมีประชากรจํานวน 953,660 คน แบง เปนชาย จํานวน 467,497 คน และหญิง จํานวน 486,163 คน โดยอําเภอทีม่ ีประชากรมากทสี่ ุด คอื อําเภอเมืองมหาสารคาม จํานวน 157,203 คน อันดบั สอง คือ อําเภอโกสมุ พิสยั จํานวน 119,090 คน อันดับสาม คอื อําเภอวาปปทุม จํานวน 112,266 คน และอันดับสี่ คอื อําเภอบรบอื จาํ นวน 107,264 คน ตามลาํ ดับ

4 ตารางที่ 1.2 จํานวนประชากร แยกเปน ชาย หญงิ และจํานวนครวั เรอื น จําแนกเปนรายอําเภอ อาํ เภอ ชาย หญงิ รวม จํานวนบาน เมืองมหาสารคาม 74,185 83,018 157,203 59,216 แกดํา 14,945 14,794 29,739 8,101 โกสมุ พิสยั 58,631 60,459 119,090 35,708 กันทรวชิ ัย 40,013 44,568 84,581 29,512 เชยี งยืน 29,954 30,815 60,769 20,286 บรบือ 53,340 53,924 107,264 36,338 นาเชือก 30,383 30,561 60,944 19,190 พยคั ฆภมู ิพิสยั 43,403 44,229 87,632 25,845 วาปปทมุ 55,712 56,554 112,266 32,715 นาดนู 18,695 18,695 37,390 10,362 ยางสสี ราช 17,479 17,664 35,143 9,676 กุดรงั 18,647 18,388 37,035 10,579 ชน่ื ชม 12,110 12,494 24,604 6,905 รวม 467,497 486,163 953,660 304,433 ทีม่ า : กรมการปกครอง (รายงานสถติ จิ าํ นวนประชากรและบาน ประจาํ ป พ.ศ. 2563) 1.5 ดานโครงสรา งพ้ืนฐาน 1) การไฟฟา จังหวัดมหาสารคาม มีผลการสาํ รวจขอ มลู จาํ นวนผูใชไ ฟฟาและการจําหนา ย กระแสไฟฟา จาํ แนกตาม ประเภทตาง ๆ เปนขอมลู สะสมต้ังแตเดือนมกราคม 2564 ถึงเดือนมิถุนายน 2564 ของจังหวัดมหาสารคาม พบวา 1.1) จาํ นวนผูใชไ ฟฟา ทั้งสน้ิ 313,954 ราย โดยอําเภอที่มจี ํานวนผูใ ชไฟฟามากที่สุด อันดับแรก คือ อําเภอเมืองมหาสารคาม เทากับ 99,628 ราย รองลงมาไดแก อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย เทากับ 53,673 ราย อนั ดับสาม ไดแก อาํ เภอบรบือ เทากับ 46,726 ราย 1.2) จากสถติ ิขอมูลหนวยการใชไ ฟฟา ( วัตต/ชั่วโมง ) ของการไฟฟาสวนภมู ิภาคฯ ยอดสะสมตั้งแต เดอื นมกราคม 2564 ถึงมิถุนายน 2564 จังหวดั ไดจาํ หนายกระแสไฟฟา ใหสวนตา งๆ ไดแ ก ท่ีอยูอาศยั สถาน ธุรกิจ และอุตสาหกรรม สวนทรี่ าชการและสาธารณะ และอ่ืนๆ รวม 434,206,833.59 วัตต/ช่ัวโมง (ที่มา : การไฟฟา สวนภมู ภิ าคจังหวดั มหาสารคาม มถิ นุ ายน 2563)

5 2) การประปา จังหวัดมีพื้นทใี่ หบริการน้าํ ประปารวมท้ังส้นิ 7 อําเภอ ไดแ ก อําเภอเมอื งมหาสารคาม อําเภอกันทร วิชัย อําเภอโกสุมพิสยั อําเภอบรบือ อําเภอกุดรัง อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย และอําเภอวาปปทุม จําแนกการให บริหารออกเปน 2 สาขา คือ 2.1) การประปาสวนภมู ภิ าค สาขามหาสารคาม มพี ืน้ ทีใ่ หบ รกิ ารน้ําประปา 4 อาํ เภอ ประกอบดวย 2.1.1) อําเภอเมืองมหาสารคาม ใหบริการพื้นท่ี เทศบาลเมืองมหาสารคาม,เทศบาลตําบล แวงนาง, อบต.เกิ้ง, อบต.แกงเลิงจาน, อบต.เขวา, อบต.ทาสองคอน, อบต.เก้ิง, อบต.แวงนาง, อบต.หนองกุง, อบต.หนองโน, อบต.หนองปลิง, และ อบต.หวยแอง 2.1.2) อําเภอกันทรวิชัย ใหบริการพื้นท่ี เทศบาลตําบลขามเรียง, เทศบาลตําบลโคกพระ, เทศบาลตาํ บลทาขอนยาง, อบต.ขามเฒา พัฒนา, อบต.คนั ธารราษฎร, อบต.โคกพระ, อบต.ศรสี ุข และ อบต.มะคา 2.1.3) อําเภอโกสมุ พสิ ยั ใหบริการพื้นที่ เทศบาลตําบลหวั ขวาง และ อบต.หัวขวาง 2.1.4) อําเภอบรบือ ใหบริการพน้ื ท่ี เทศบาลตําบลบรบือ, อบต.โนนราษี, อบต.บรบือ อบต. บอใหญ, อบต.หนองสมิ , อบต.หนองโก, อบต.หนองจิก และ อบต.กุดรงั (อําเภอกดุ รงั ) 2.2) การประปาสว นภูมิภาคพยัคฆภูมิพิสัยมพี นื้ ท่ีรับผิดชอบในการใหบรกิ ารนํ้าประปา 2 อําเภอ คอื อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย และอําเภอวาปปทุม (ที่มา : การประปาสวนภูมิภาค สาขามหาสารคาม : กันยายน 2564) 3) การสอ่ื สารโทรคมนาคม 3.1) จังหวัดมีทท่ี าํ การไปรษณยี  14 แหง ไดแก 1) ตําบลเก้ิง อําเภอเมืองมหาสารคาม 2) ตาํ บลแกง เลิงจาน อําเภอเมืองมหาสารคาม 3) ตําบลเขวา อําเภอเมืองมหาสารคาม 4) ตาํ บลโคกกอ อําเภอเมือง มหาสารคาม 5) ตาํ บลดอนหวาน อาํ เภอเมืองมหาสารคาม 6) ตําบลตลาด อําเภอเมืองมหาสารคาม 7) ตําบล ทาตูม อําเภอเมืองมหาสารคาม 8) ตําบลทา สองคอน อําเภอเมืองมหาสารคาม 9) ตําบลบัวคอ อําเภอเมอื ง มหาสารคาม 10) ตําบลลาดพฒั นา อําเภอเมอื งมหาสารคาม 11) ตาํ บลแวงนาง อาํ เภอเมอื ง มหาสารคาม 12) ตําบลหนองโน อําเภอเมืองมหาสารคาม 13) ตําบลหนองปลิง อาํ เภอเมืองมหาสารคาม และ 14) ตําบลหว ย แอง อําเภอเมืองมหาสารคาม (ทม่ี า : ที่ทาํ การไปรษณียจังหวัดมหาสารคาม : กันยายน 2564) 3.2) จังหวัดมหาสารคาม มีสถานีวิทยุกระจายเสียงหลัก จํานวน 5 สถานี ไดแก 1) สถานี วิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยจังหวัดมหาสารคาม (สวท.) 2) สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพบก หนวย บญั ชาการรกั ษาดินแดนจังหวัดมหาสารคาม (รด.) 3) สถานีวิทยุกระจายเสียงทหารอากาศ 014 มหาสารคาม (ทอ.) 4) สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.) 5) สถานีวิทยุองคก ารสื่อสารมวลชนแหง ประเทศไทย (อสมท.) นอกจากน้ียงั มีสถานีวิทยุชมุ ชนอีกจํานวน 64 แหง และสถานี เคเบิลทีวี 2 แหง (ท่ีมา : สํานกั งานประชาสมั พนั ธจังหวัดมหาสารคาม : กรกฎาคม 2564) 4) การคมนาคม การคมนาคมขนสงของจังหวดั มหาสารคาม จะใชการคมนาคมทางถนนเปนหลกั ประกอบดวย ถนน ทางหลวงแผนดินสายประธาน ถนนทางหลวงแผนดินสายรองประธาน ถนนทางหลวงแผนดิน ที่เชื่อมโยง ระหวางจังหวดั กบั อําเภอ หรอื สถานทีส่ ําคัญ และทางหลวงชนบทและทางหลวงทอ งถน่ิ ดงั นี้ 4.1) ถนนทางหลวงแผน ดินสายประธาน ประกอบดว ย  ทางหลวงแผนดินหมายเลข 23 (บานไผ-ยโสธร-รอยเอ็ด-มหาสารคาม- อุบลราชธานี( เปนเสน ทางทีม่ คี วามสําคญั ในระดบั ภาค ทําหนา ทเี่ ช่ือมโยงจังหวัดตอนกลางกับจังหวัดตอนลาง

6 ของภาคตะวันออกเฉยี งเหนือทางทศิ ตะวันออก  ทางหลวงแผนดินหมายเลข 23 (ตอนเลี่ยงเมืองดานตะวันออกและดา น ตะวันตก( เปนระบบถนนวงแหวนของชุมชนเมืองมหาสารคาม มีบทบาทในการแบงเบาปริมาณการจราจร ของระบบ ถนนสายหลัก และทําใหการเชื่อมโยงติดตอของชมุ ชนภายในจังหวัดมีประสิทธิภาพมากข้ึน และทําหนา ท่ีเปน ทางเลีย่ งเมอื ง (BY PASS) กรณีไมตอ งการผา นชมุ ชนเมืองมหาสารคาม 4.2) ถนนทางหลวงแผนดนิ สายรองประธาน ประกอบดว ย  ทางหลวงแผนดินหมายเลข 208 (มหาสารคาม-โกสมุ พิสยั -ทา พระเชอื่ มโยง กับถนน มิตรภาพจังหวัดขอนแกน) เชื่อมโยงระหวางจังหวดั มหาสารคาม กับจังหวัดขอนแกน ผานอําเภอโกสุมพิสัย เทศบาลตาํ บลทาพระ และบรรจบกบั ทางหลวงแผนดินหมายเลข 2 (ถนนมติ รภาพ)  ทางหลวงแผนดินหมายเลข 213 (มหาสารคาม-กันทรวิชัย-กาฬสินธุ) เชื่อมโยง ระหวา งจังหวดั มหาสารคาม กบั จงั หวัดกาฬสนิ ธุ ผา นอาํ เภอกนั ทรวิชยั อาํ เภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ  ทางหลวงแผนดนิ หมายเลข 219 (บรบือ-นาเชือก-พยัคฆภูมิพิสัย-บุรีรัมย) เชื่อมโยง ระหวางจังหวัดมหาสารคาม กับจังหวัดบุรีรัมย และจังหวัดสุรินทร ซึ่งเปนจังหวัดทางตอนใตของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ  ทางหลวงแผนดนิ หมายเลข 209 (สายขอนแกน – เชยี งยนื - กาฬสินธ)ุ  ทางหลวงแผน ดินหมายเลข 202 (สายพยัคฆภมู พิ ิสัย – พุทไธสง - สวุ รรณภมู )ิ 4.3) ถนนทางหลวงแผนดินท่ีเช่ือมโยงระหวางจังหวัด กับอําเภอ หรือสถานท่ีสําคัญ เพ่ือใหสามารถติดตอกันไดอยางมีประสิทธิภาพ และมีบทบาทในการแบงเบา ปริมาณการจราจรของระบบ ถนนทางหลวงแผนดินสายประธาน และทําหนาที่การเช่ือมโยงติด ตอระหวางชุมชนสําคัญของจังหวัด ประกอบดวย  ทางหลวงแผนดินหมายเลข 2040 (อําเภอเมืองมหาสารคาม – อําเภอวาปปทุม – อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย – จงั หวัดบุรีรัมย(  ทางหลวงแผนดนิ หมายเลข 2045 (รอยเอด็ – หนองคโู คก - อาํ เภอวาปปทมุ (  ทางหลวงแผน ดนิ หมายเลข 2237 (สายโกสุมพิสยั - เชียงยืน(  ทางหลวงแผนดินหมายเลข 2152 (สายเชียงยนื - ชื่นชม - กระนวน(  ทางหลวงแผน ดนิ หมายเลข 2300 (สายโกสุมพิสยั - กุดรงั (  ทางหลวงแผนดินหมายเลข 2322 (สายโกสุมพิสยั – กุดรัง – บรบือ - นาดูน(ทาง หลวงแผน ดนิ หมายเลข 2063 (สายบรบอื - วาปป ทุม)  ทางหลวงแผนดนิ หมายเลข 2381 (สายนาเชือก - นาดนู )  ทางหลวงแผนดินหมายเลข 2118 (สายกนั ทรวิชัย - เชียงยืน)  ทางหลวงแผนดินหมายเลข 2380 (สายมหาสารคาม - แกดํา) 4.4) ทางหลวงชนบทและทางหลวงทอ งถนิ่ เปน ระบบถนนที่เช่ือมโยงติดตอระหวางชุมชนศนู ยกลางชนบทและพืน้ ที่ชนบท เปน เสนทาง ที่นาํ ผลผลิตจากพนื้ ที่เกษตรกรรมมายังตลาดที่เปนชุมชนศูนยกลางของพ้ืนท่ีและการกระจายสินคา ตลอดจน การบริการตาง ๆ ไปสูพื้นท่ีโดยรอบและมบี ทบาทในการแบง เบาปริมาณการจราจรของระบบถนน ประธาน และทาํ หนา ทีเ่ ชือ่ มโยงติดตอ ระหวางชมุ ชนสําคญั ของจังหวัด

7 1.2 ขอ มลู เชิงเปรียบเทยี บ 1) ดานเศรษฐกจิ 1.1) ผลผลิตมวลรวมจงั หวดั ประมาณการมูลคาผลิตภัณฑจังหวัดมหาสารคามป 2562 มูลคา 59,208 ลา นบาท รายได ประชากรตอ หัว ป 2562 มีมูลคา 75,334 บาท คิดเปนลาํ ดับท่ี 63 ของประเทศ และเปนลําดับที่ 8 ในภาค ตะวันออกเฉยี งเหนือ โดยสาขาท่ีมีมูลคาสูงสดุ และมีความสําคัญในการสรา งรายไดใหกบั จงั หวัด จาํ แนกเปน - ภาคเกษตร มีมูลคา11,889ลานบาทซึ่งจังหวัดมหาสารคามมีพื้นที่ 5,291.683 ตาราง กิโลเมตร หรือ 3,307,301.87 ไร และขอมูลสํารวจ ในป พ .ศ.2562 จังหวัดมหาสารคามมีเนื้อท่ีใชประโยชน ทางการเกษตร จํานวน 2,818,489 ไร คิดเปนรอยละ 85.22 ของพื้นที่จังหวัด ประชากรสว นใหญป ระกอบ อาชพี เกษตรกรรม อาชีพสําคัญไดแก การทํานา ทําไร เลี้ยงสัตว การเกษตรจึงเปนสาขาการผลิตท่ีสําคัญของ จังหวดั มหาสารคาม - นอกภาคเกษตร มมี ูลคา 47,318 ลานบาท และมีสาขาท่ีมีมูลคาสูงสุด 3 อันดับแรก คอื อนั ดบั 1 สาขาการศึกษา มมี ลู คา 10,679 ลานบาท โดยจังหวัดมหาสารคาม มนี สิ ติ นกั ศึกษา ในมหาวิทยาลัย มากกวา 50,000 คน สงผลตอ การเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจของจังหวัด อันดับ 2 สาขา อุตสาหกรรม มี มูลคา 9,054 ลา นบาท และอันดบั 3 สาขาการผลิต มมี ูลคา 7,925 ลานบาท ตามลําดบั

8 ภาพท่ี 1.2 เปรียบเทยี บผลติ ภัณฑม วลรวมจังหวัดมหาสารคาม 2560 – 2562 ที่มา : สํานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ภาพที่ 1.3 เปรยี บเทยี บผลิตภณั ฑจ งั หวัดมหาสารคามกบั จังหวัด ในกลุมภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนกลาง พ.ศ. 2562 ท่ีมา : สํานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ

9 1.2) ดานการเกษตร จังหวัดมหาสารคามมพี ื้นท่ีท้ังหมด 3,307,301.87 ไร และขอมูลสํารวจ ในป พ.ศ. 2562 จังหวัดมี พนื้ ท่ีทาํ การเกษตรจํานวน 2,818,489 ไร คิดเปนรอยละ 85.22 ของพ้นื ท่จี งั หวดั 1.2.1) พชื เศรษฐกิจหลัก จังหวัดมหาสารคามมีพื้นที่ทงั้ หมด 3,307,304 ไรและจากสถิติ เมอื่ ป พ.ศ. 2562 จังหวดั มหาสารคามมีพ้ืนท่ีทาํ การเกษตร จํานวน 2,818,489 ไร คิดเปน รอ ยละ 85.22 ของ พนื้ ทีจ่ ังหวัดโดยมีพชื เศรษฐกจิ หลักทีส่ าํ คัญ ไดแก ขา วนาป มนั สําปะหลัง และออยโรงงาน ในรอบปเพาะปลกู 2563/64 พบวา มพี ื้นที่ปลูกขาว จํานวน 2,115,175 ไร มีผลผลิต 737,839 ตัน มูลคา 7,747.30 ลานบาท มันสาํ ปะหลัง 156,248 ไร มีผลผลติ 488,907 ตัน มลู คา 919.15 ลานบาท และออยโรงงาน 76,547.21 ไร มี ผลผลติ 548,748.30 ตนั มลู คา 493.87 ลานบาท ปรากฏตามตาราง ตารางท่ี 1.3 แสดงเนื้อท่ปี ลูกขาวนาป เนือ้ ท่ีเก็บเก่ียว ผลผลติ ผลผลิตเฉลี่ยตอไร และมูลคาผลผลิต จําแนก เปนรายอาํ เภอ ปก ารเพาะปลูก 2563/2564 ขา วนาป อาํ เภอ เน้ือที่เพาะปลกู เนอ้ื ท่เี ก็บเก่ียว ผลผลติ ผลผลิตเฉลีย่ มลู คา (ไร) (ไร) (ตนั ) ตอ ไร (กก.) (ลา นบาท) เมอื งมหาสารคาม 191,072 181,100 70,629 390 741.6 กนั ทรวชิ ัย 163,043 153,312 61,478 401 645.5 โกสุมพิสยั 240,636 225,701 92,537 410 971.6 เชียงยนื 128,095 117,526 48,656 414 510.9 นาเชือก 138,771 136,571 48,619 356 510.5 บรบอื 270,723 269,073 93,906 349 986.0 พยคั ฆภูมพิ ิสัย 285,231 261,671 87,660 335 920.4 วาปป ทุม 285,008 278,632 101,701 365 1,067.9 นาดนู 115,624 112,096 37,552 335 394.3 แกดํา 73,731 73,531 25,736 350 270.2 ยางสีสรุ าช 92,845 87,869 29,700 338 311.9 กดุ รงั 91,096 87,556 28,281 323 297.0 ชื่นชม 39,300 37,325 11,384 305 119.5 ยอดรวม 2,115,175 2,021,963 737,839 365 7,747.3 ที่มา : ขอมลู เอกภาพ สํานักงานเกษตรจงั หวัดมหาสารคาม, 2564

10 ตารางที่ 1.4 แสดงเนื้อท่ีปลูกมันสําปะหลัง เน้ือท่เี กบ็ เก่ียว ผลผลิต ผลผลิตเฉลี่ยตอไร และมูลคาผลผลิต จําแนกเปนรายอาํ เภอ ปการเพาะปลูก 2563 มนั สําปะหลัง อําเภอ เนอื้ ที่ เน้ือท่ีเก็บเกย่ี ว ผลผลิต ผลผลติ เฉลย่ี มลู คา เพาะปลกู (ไร) (ไร) (ตัน) ตอ ไร (กก.) (ลานบาท) เมอื งมหาสารคาม 4,459 4,379 14,823 3,385 27.87 กันทรวชิ ัย 117 117 351 3,000 0.66 โกสุมพสิ ยั 47,064 44,890 137,274 3,058 258.08 เชียงยนื 5,173 5,152 16,981 3,296 31.92 นาเชอื ก 12,660 12,324 38,463 3,121 72.31 บรบอื 37,885 37,387 116,274 3,110 218.60 พยัคฆภูมพิ สิ ัย 56 56 163 2,911 0.31 วาปป ทุม 1,506 1,506 4,782 3,175 8.99 นาดูน 2,902 2,902 9,373 3,230 17.62 แกดาํ 1,307 1,289 3,868 3,001 7.27 ยางสสี ราช 1,150 1,122 3,734 3,328 7.02 กดุ รัง 39,523 39,289 135,429 3,447 254.61 ช่นื ชม 2,446 2,446 7,392 3,022 13.90 ยอดรวม 156,248 152,859 488,907 3,198 919.15 ทีม่ า : ขอ มูลเอกภาพ สาํ นักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคาม, 2564 ตารางที่ 1.5 แสดงเน้ือที่ปลูกออยโรงงาน เน้ือท่ีเก็บเกี่ยว ผลผลิต ผลผลิตเฉล่ียตอไร และมูลคา ผลผลิต จําแนกเปนรายอําเภอ ปก ารเพาะปลกู 2563/2564 ออยโรงงาน อําเภอ เนอื้ ทเี่ พาะปลกู เน้ือทีเ่ ก็บเก่ียว ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตเฉล่ยี มูลคา (ไร) (ไร) ตอ ไร (กก.) (ลานบาท) เมืองมหาสารคาม 2,416.25 1,784.50 17,845.00 10,000.00 16.06 แกดาํ 612.00 0.00 0.00 - 0.00 โกสุมพสิ ยั 28,721.00 15,445.00 162,415.00 10,515.70 121.81 กันทรวิชัย 129.75 0.00 0.00 - 0.00 เชยี งยืน 1,894.25 1,425.00 19,223.55 13,490.21 11.53 บรบอื 16,789.00 9,148.00 74,776.00 8,174.03 74.78 นาเชือก 2,802.00 624.00 4,992.00 8,000.00 5.99 วาปปทุม 1,379.00 1,485.00 17,828.00 12,005.39 14.80 นาดนู 459.00 202.00 2,085.00 10,321.78 1.88 ยางสีสราช 756.46 0.00 0.00 - 0.00 กดุ รัง 4,238.50 7,523.75 67,713.75 9,000.00 67.71

11 ออยโรงงาน อําเภอ เน้อื ที่เพาะปลูก เนือ้ ทเี่ ก็บเก่ียว ผลผลติ (ตนั ) ผลผลิตเฉลีย่ มูลคา (ไร) (ไร) ตอไร (กก.) (ลา นบาท) ช่ืนชม 16,350.00 16,350.00 181,870.00 11,123.55 181.87 พยคั ฆภมู ิพิสัย - -- -- ยอดรวม 76,547.21 53,987.25 548,748.30 92,630.66 493.87 ทมี่ า : สาํ นักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคาม, (รายงานสถติ ทิ างการเกษตร รต.01 ปเพาะปลูก2564) ตารางท่ี 1.6 แสดงเนอ้ื ที่เพาะปลูกพืช เน้ือทเ่ี ก็บเกี่ยว ผลผลิต ผลผลิตเฉลี่ยตอไร และมูลคาผลผลิต จําแนก ตามชนดิ ของพชื ปก ารเพาะปลูก 2563/2564 ชนดิ พืช เนือ้ ที่เพาะปลกู เน้อื ที่เกบ็ เก่ียว ผลผลิต (ตนั ) ผลผลติ เฉลย่ี ตอ มูลคา (ไร) (ไร) ไร (กก.) (ลา นบาท) ขาวนาป 2,115,175.00 2,021,963.00 737,839.00 365.00 7,747.30 มันสาํ ปะหลัง 156,248.00 152,859.00 488,907.00 3,198.00 919.15 ออ ยโรงงาน 76,547.21 53,987.25 548,748.30 10,164.41 493.87 ยางพารา 11,989.00 10,486.00 1,604.00 153.00 28.76 ยูคาลิปตสั 9,714.00 1,747.00 26,705.50 15,286.49 22.70 มันแกว 1,907.50 1,326.00 4,191.00 3,160.63 33.40 ยาสูบ 2,234.00 1,883.00 444.76 236.20 33.11 หมอน 895.00 378.00 1,031.70 2,729.37 5.99 กก 240.00 720.00 1,080.00 1,500.00 43.20 ท่ีมา : สํานกั งานเกษตรจงั หวัดมหาสารคาม มถิ นุ ายน 2564

12 ตารางท่ี 1.7 แสดงเนอื้ ทเ่ี พาะปลกู พชื ขาวนาปท ผี่ านการรับรองมาตรฐานอนิ ทรยี /GAP ป 2558 – 2560 เน้อื ที่เพาะปลกู ขา ว (ไร) อําเภอ เนือ้ ที่ท้ังหมด ผาน คิดเปน รอยละ ผา นมาตรฐาน คิดเปนรอ ยละ มาตรฐาน ของ พ้นื ทปี่ ลูก GAP ของ พนื้ ที่ปลูก อินทรยี  ทัง้ หมด ทั้งหมด เมอื งมหาสารคาม 188,088 1,889.00 1.00 183.00 0.10 บรบือ 266,298 459.00 0.17 2,726.00 1.02 วาปปทุม 273,986 519.00 0.19 568.00 0.21 โกสมุ พสิ ยั 234,516 982.10 0.42 2,660.00 1.13 กันทรวชิ ัย 171,626 285.00 0.17 6,016.72 3.51 เชียงยนื 125,476 300.00 0.24 1,400.75 1.12 นาเชอื ก 143,541 - - 2,377.00 1.66 นาดนู 112,204 952.75 0.85 298.00 0.27 แกดํา 70,245 - - 157.00 0.22 ยางสสี ราช 91,755 - -- - กดุ รัง 83,539 - - 2,278.00 2.73 ชน่ื ชม 31,505 - - 547.00 1.74 รวมยอด 2,070,655 6,814.85 0.33 19,680.47 0.95 ทีม่ า : ศนู ยว ิจยั ขา วขอนแกน , กรมการขาว : ตลุ าคม 2560 1.3) การปศสุ ตั ว ตารางที่ 1.8 แสดงจํานวนการตรวจสอบและยืนยันการปรับปรงุ ฐานขอมลู เกษตรกรผูเลี้ยงสัตว ป 2564 ที่ ชนดิ สัตว จาํ นวนตัว เกษตรกร(ราย) 1 โคเนอ้ื 265,166 53,140 2 โคนม 8,226 255 3 กระบือ 59,293 12,662 4 สกุ ร 132,485 4,422 5 เปด 370,884 15,783 6 ไก 4,023,799 71,325 ทม่ี า : สาํ นักงานปศสุ ตั วจ งั หวัดมหาสารคาม ขอ มลู ณ วันท่ี 27 กรกฎาคม 2564

13 1.4) ดานการอตุ สาหกรรม สถิติขอมลู สถานประกอบการอุตสาหกรรมที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ (สะสม) ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2564 จํานวนทัง้ ส้ิน 240 โรงงาน มีจํานวนเงนิ ลงทุน รวม 11,896.38 ลานบาท และมีจํานวน คนงานทั้งสิ้น 6,773 คน สาขาอตุ สาหกรรมท่มี กี ารลงทนุ มากท่สี ดุ 3 อันดบั แรกของจงั หวดั ไดแก 1.4.1) อุตสาหกรรมอาหาร ประกอบดวยนํ้าตาล เชน น้ําตาลทรายดิบ นํ้าตาลทรายขาว รองลงมา ไดแกน้ําแข็งกอนเล็ก การฆาสัตวและชําแหละไก การผลิตและบรรจุอาหารเสริม ทํานมสด พาสเจอรไรส ปจจุบันมโี รงงานทัง้ สน้ิ 41 โรงงาน คดิ เปน รอ ยละ 17.08 ของโรงงานทั้งหมด เงนิ ลงทนุ 3,905.29 ลานบาท 1.4.2) อตุ สาหกรรมผลติ ภณั ฑจ ากพืช ประกอบดวยการผลติ มนั สําปะหลงั การทําแปง รองลงมาไดแก การ สี ฝด หรือขัดขาว และการตม น่ึง หรืออบพืชหรือเมล็ดพืช ปจจุบันมโี รงงาน ทง้ั สิ้น 24 โรงงาน คิดเปน รอยละ 10.00 ของโรงงานทงั้ หมด เงนิ ลงทนุ 2,457.55 ลา นบาท คนงาน 660 คน 1.4.3) อุตสาหกรรมเคร่ืองด่ืม ประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิตโซดาและนํ้าดม่ื ปจจุบันมี โรงงานท้ังสิ้น 1 โรงงาน คดิ เปนรอ ยละ 0.41 ของโรงงานทงั้ หมด เงินลงทุน 1,48000 ลา นบาท คนงาน 95 คน (ทมี่ า : สํานกั งานอตุ สาหกรรมจังหวัดมหาสารคาม ณ วนั ที่ 31 กรกฎาคม 2564) 1.5) การพาณชิ ย 1.5.1) ดชั นรี าคาผูบริโภค  ดัชนรี าคาผบู รโิ ภคของจังหวดั มหาสารคามเดือนมิถุนายน 2564 เทากับ 100.9 เมื่อเทยี บกับ ดัชนีราคาเดอื นพฤษภาคม 2564 เทา กับ 100.5 สงู ข้ึนรอยละ 0.4  ดชั นหี มวดอาหาร และเครอ่ื งด่มื สงู ขน้ึ รอ ยละ 0.3 สาเหตุมาจากผักและผลไม รอ ยละ 0.7  ดัชนีราคาหมวดอนื่ ๆ ที่ไมใชอ าหารและเครื่องด่ืม สูงขึ้นรอยละ 0. 5 สาเหตุมาจากหมวด พาหนะการขนสง และการสือ่ สาร สูงข้นึ รอยละ 0.9  ดัชนรี าคาผูบริโภคพืน้ ฐานของจังหวัดมหาสารคาม เดือนมิถุนายน 2564 เทากับ 100.0 เม่ือ เทยี บกบั เดอื นพฤษภาคม 2564 เทากบั 99.9 สงู ขนึ้ รอ ยละ 0.1 เน่อื งจาก หมวดพลังงาน สูงข้นึ รอ ยละ 0.7 ตารางท่ี 1.9 ดชั นรี าคาผูบรโิ ภคจังหวัดมหาสารคาม จําแนกตามประเภทของดชั นแี ละหมวดสินคา หมวด เมษายน 2564 พฤษภาคม 2564 มิถุนายน 2564 ดชั นรี าคาผูบรโิ ภค 101.2 100.5 100.9 หมวดอาหารและเคร่อื งดมื่ 105.3 103.4 103.7 หมวดอืน่ ๆท่ีไมใชอ าหารและเคร่อื งดม่ื 98.0 98.4 98.9 ดชั นีราคาผูบ รโิ ภคพน้ื ฐาน 99.9 99.9 100.0 ท่ีมา : สํานักงานพาณิชยจังหวัดมหาสารคาม : มิถุนายน 2564 1.5.2) การสํารวจจาํ นวนธนาคารพาณชิ ยแ ละสถาบันการเงนิ ปรากฏขอ มลู ดังน้ี 1) ธนาคารพาณชิ ย จาํ นวน 33 สาขา ประดวย ธนาคารกรุงไทย (9) , ธนาคารกรุงเทพ (7) , ธนาคารไทยพาณิชย (5) , ธนาคารกสิกรไทย (6) , ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (3) , ธนาคารทีทบี ีธนชาติ (2) , ธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย (1)

14 2) สถาบันการเงินจํานวน 29 สาขา จําแนกได ดังน้ี ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ การเกษตร (18) , ธนาคารออมสิน (9) , ธนาคารอาคารสงเคราะห (1) , ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลาง และขนาดยอ มแหงประเทศไทย (1) ทม่ี า : ธนาคารแหงประเทศไทย สํานกั งานภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ สงิ หาคม 2564 1.6) แรงงาน 1.6.1) โครงสรา งประชากรจงั หวดั มหาสารคาม (1) จังหวัดมหาสารคามมีประชากรผูอยูในวัยทํางาน อายุ 15 ปขึ้นไป จํานวน 679,520 คน คิดเปนรอ ยละ 70.59 ของจาํ นวนประชากรจังหวัดมหาสารคาม 962,665 คน (2) กลุมผูอยูในกําลังแรงงาน (ผูพรอมทาํ งาน) จํานวน 394,078 คน จําแนกเปน ผูมีงานทํา 387,257 คน ผวู า งงาน 5,528 คน และผทู ร่ี อฤดูกาล 1,292 คน (3) อตั ราการวางงานจงั หวัดมหาสารคาม มอี ตั รารอยละ 1.40 (4) ผมู งี านทํา จาํ นวน 387,257 คน จําแนกตามการทํางาน ดังน้ี - ทาํ งานในภาคเกษตรกรรมจํานวน 174,186 คน คิดเปนรอยละ 44.98และทํางาน นอกภาคเกษตรกรรม จาํ นวน 213,037 คน คิดเปน รอ ยละ 55.02 - จําแนกเปนแรงงานในระบบ จํานวน 72,254 คน คิดเปนรอยละ 18.66แรงงาน นอกระบบ จํานวน 315,003 คน คิดเปนรอ ยละ 81.34 (5) แรงงานนอกระบบ จํานวน 315,003 คน รายละเอยี ดดงั น้ี - ทํางานอยูในภาคเกษตรกรรม มีจํานวน 217,620 คน คิดเปนรอยละ 69.09 และ ทาํ งานนอกภาคการเกษตร จํานวน 97,384 คน คดิ เปนรอยละ 30.91 - ดานการศึกษา สวนใหญมีระดบั การศึกษาในระดับต่ํากวาประถมศึกษา จาํ นวน 106,097 คน คิดเปนรอ ยละ 33.68 รองลงมาคือระดับประถมศึกษา จํานวน 85,804 คน คิดเปนรอยละ 27.24 ภาพท่ี 1.4 แผนผังประชากรผทู อ่ี ยใู นวัยทาํ งาน (อายุ 15 ป ขึ้นไป) ในพืน้ ที่จงั หวัดมหาสารคาม

15 1.6.2) คาจางขัน้ ตา่ํ และเครอื ขา ยดานแรงงาน (1) คาจางข้ันตํา่ จังหวัดมหาสารคาม วันละ 315 บาท ประกาศบังคับใชเมื่อวันท่ี 1 มกราคม 2563 (2) เครอื ขา ยอาสาสมคั รแรงงานตําบล (อสร.) จํานวน 133 คน (3) เครอื ขายชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการ จํานวน 11 แหง (ทม่ี า : สาํ นกั งานแรงงานจงั หวัดมหาสารคาม ขอมลู ณ วันท่ี 3 สิงหาคม 2564) 1.6.3) การจดั หางานและการสง เสริมการมงี านทํา ในป 2563 มีตําแหนง งานวางสําหรับแรงงานท่ีจบการศึกษามีจํานวนท้ังสิ้น 3,118 อัตรา พบวาไมร ะบุเพศมจี ํานวนสงู สดุ 1,727 อัตรา คิดเปนรอยละ 55.39 รองลงมาคือ เพศชาย จํานวน 911 อัตรา คิดเปน รอ ยละ 29.22 และเพศหญงิ จาํ นวน 480 อตั รา คดิ เปนรอยละ 15.40 เมื่อพิจารณาถงึ จาํ นวนผูมาลงทะเบยี นสมคั รงานในป 2563 พบวามีจํานวนท้ังส้ิน 2,300 คน เปนเพศหญิง จํานวน 1,298 คน คิดเปนรอยละ 56.44 ของจํานวนผลู งทะเบียนสมัครงานทั้งหมด เพศชาย จํานวน 1,002 คน คิดเปนรอยละ 43.56 จํานวนผไู ดบ รรจุงานทั้งสิ้น 1,784 คน เปนเพศหญิง จํานวน 985 คน คดิ เปน รอ ยละ 55.22 ของผไู ดบ รรจงุ านทงั้ หมด และเพศชาย จํานวน 799 คน คดิ เปน รอ ยละ 44.78 ภาพท่ี 1.5 ตาํ แหนงการงาน ผลู งทะเบียนสมคั รงาน และบรรจุงาน ป พ.ศ. 2562 – 2563 ทม่ี า : สํานักงานจดั หางานจงั หวัดมหาสารคามขอมูล ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2563 1.6.4) แรงงานตางดา ว มีจาํ นวนท้ังส้นิ 756 คน จําแนกดังน้ี 1) คนตางดาวมาตรา 59 ประเภททั่วไป ไดแก คนตางดาวท่ีมีถิ่นท่ีอยูใน ราชอาณาจักร หรือไดรับอนุญาตใหเขามาในราชอาณาจักรเปนการช่วั คราวตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง โดยมิใชไดรบั อนญุ าตใหเขามาในฐานะนักทอ งเท่ียว หรือผูเดนิ ทางผาน และไมมลี กั ษณะตองหา มตามท่ีกําหนด ในกฎกระทรวงจาํ นวน 161 คน 2) คนตางดาวมาตรา 59 ตามมติ ครม. 20 ส.ค. 62 ไดแก คนตา งดาวสัญชาติ กัมพูชา ลาว และเมยี นมา ที่หลบหนีเขาเมืองไดร ับผอนผันใหทํางานและอยูในราชอาณาจักรเปนการช่ัวคราว ตาม มติคณะรฐั มนตรี ไดผ านการพิสูจนสัญชาติและปรับสถานการณเ ขาเมืองถูกกฎหมายเรียบรอยแลว จํานวน 215 คน 3) คนตางดาวมาตรา 59 นําเขาตาม MOU ไดแก คนตางดาวสัญชาติเมียนมา ลาว และกัมพูชาทีเ่ ขามาทํางานตามความตกลงระหวา งรฐั บาลไทย กับ รัฐบาลประเทศตนทาง จํานวน 369 คน 4) คนตางดาวมาตรา 63 ประเภทชนกลุมนอ ย ไดแก คนตางดาวทไ่ี มไดรับ สัญชาติไทยตามกฎหมายวาดวยสัญชาติ และกระทรวงมหาดไทยไดออกเอกสารเพ่ือรอพิสูจนสถานะยื่นขอ

16 ใบอนญุ าตทาํ งานจาํ นวน 11 คน (ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดมหาสารคามขอมลู ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2563) 1.6.5) แรงงานไปทาํ งานตา งประเทศ ตารางที่ 1.10 แรงงานไปทาํ งานตางประเทศ จาํ แนกตามวธิ กี ารเดินทาง วธิ ีการเดินทาง ป 2562 จํานวน (คน) รอยละ (%) 1. บริษทั จัดหางานจัดสง 318 33.90 2. Re-Entry 265 28.25 3. เดนิ ทางดวยตนเอง 157 16.74 4. นายจางพาไปฝกงาน 16 1.71 5. นายจางพาไปทาํ งาน 120 12.79 6. กรมการจัดหางานจดั สง 62 6.61 รวม 938 100.00 ทมี่ า : สาํ นกั งานจดั หางานจงั หวดั มหาสารคามขอมูล ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2563 หมายเหตุ : วธิ ี Re-Entry Permit คือ การขออนุญาตเดนิ ทางกลับเขามาในประเทศไทยหลังจากทไี่ ดเดินทาง ออกนอกประเทศ โดยวีซาทถ่ี ืออยูยังไมหมดอายุ ซ่ึงการยื่นขอ Re-Entry Permit จะตองทํากอนเดินทางออก นอกประเทศ ไมเชนนั้น จะไมสามารถกลบั เขามาไดอีก แถมยังตอ งเสยี เวลาไปทาํ Visa ใหมหากจะกลับเขามา ในประเทศ 1.6.6) ดานการพัฒนาทกั ษะฝม ือแรงงาน 1) การฝกเตรียมเขาทํางาน จํานวน 31 คน ผานการฝก จํานวน 9 คน คดิ เปน รอ ยละ 29.03 ไมผ า นการฝก จํานวน 22 คน คน คดิ เปน รอยละ 80.97 2) การฝก ยกระดบั ฝมือแรงงาน จํานวน 600 คน ซึ่งมผี านการฝก จํานวน 593 คน คดิ เปน รอ ยละ 98.83 ไมผา นการฝก จาํ นวน 7 คน คน คดิ เปนรอยละ 1.17 3) การฝกอาชีพเสริม จํานวน 80 คน ผานการฝก จํานวน 75 คน คน คิดเปน รอยละ 93.75 ไมผ านการฝก จาํ นวน 5 คน คิดเปน รอ ยละ 6.25 4) การฝกทดสอบมาตรฐานฝม ือแรงงาน จํานวน 371 คน ซ่ึงมีผา นการฝก จํานวน 303 คน คดิ เปนรอยละ 81.67 ไมผานการฝก จํานวน 68 คน คน คดิ เปน รอ ยละ 18.33 (ทมี่ า สาํ นกั งานพฒั นาฝมอื แรงงานมหาสารคาม ขอ มูล ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2563) 1.6.7) การสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน 1) การคุมครองแรงงาน จากการตรวจสถานประกอบการท้ังสิ้น 54 แหง มีลูกจาง ท่ี ผานการตรวจจาํ นวน 721 คน ซ่งึ สถานประกอบการท่ตี รวจสวนใหญเ ปนสถานประกอบการขนาดเลก็ (ลูกจาง ต่ํากวา 10 คน( จํานวน 50 แหง รอยละ 92.59 โดยสถานประกอบการสว นใหญ จํานวน 39 แหง รอ ยละ 72.23 ปฏิบัติถูกตองตามกฎหมาย สถานประกอบการที่ปฏิบัติไมถกู ตองตามกฎหมายมีจํานวน 15 แหง รอย ละ 27.78 และสถานประกอบการขนาด 20-49 คน จาํ นวน 7 แหง รอ ยละ 12.96 มสี ัดสวน การไมปฏิบัตติ าม

17 กฎหมายมากที่สุด โดยเรื่องทไี่ มป ฏบิ ตั ติ ามกฎหมายมากที่สดุ คอื เรื่องขอ บังคับในการทํางาน มจี ํานวน 8 เร่ือง รอยละ 53.33 รองลงมาคือ เวลาทํางาน วันหยุด และ คาลวงเวลา คาทาํ งาน และคาจางขั้นตํ่า ประเภท อุตสาหกรรมทปี่ ฏิบตั ไิ มถ กู ตองตามกฎหมายมากทส่ี ุ ด คืออุตสาหกรรมขายสง ขายปลีก การซอมแซมรถยนต รถจักรยานยนต ของใชสว นบุคคล และของใชในครัวเรอื น จํานวน 6 เร่ือง รอ ยละ 40.00 รองลงมาคือ การ ผลติ และการไฟฟา กาช และการประปาจาํ นวนสถานประกอบการละ 2 เรื่อง รอ ยละ 13.33 ตามลาํ ดับ 2) การตรวจความปลอดภัยในการทํางาน มีการตรวจความปลอดภัยในสถาน ประกอบการทงั้ สิ้น 175 แหง ลูกจางท่ีผานการตรวจ จํานวน 5,964 คน พบวาสถานประกอบการที่ปฏิบัติ ถูกตองตามกฎหมายความปลอดภัย จํานวน 118 แหง รอยละ) 66.30) ปฏิบัตไิ มถูกตอง จํานวน 60 แหง (รอยละ 33.70) โดยประเภทอุตสาหกรรมท่มี ีอัตราการปฏิบัตไิ มถูกตองมากที่สุด ไดแก ประเภทการขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนต ฯลฯ จํานวน 72 แหง รองลงมาคือ การไฟฟา กาซ และการประปา จํานวน 12 แหง ตามลาํ ดับ 3) องคการนายจางและลูกจาง มีองคก ารนายจางจํานวน 3 แหง และองคก าร ลกู จาง 2 แหง ซ่ึงเปน องคกรประเภทสหภาพแรงงานในสหภาพแรงงานเอกชน (ที่มา สาํ นักงานสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงานจังหวัดมหาสารคาม ขอ มูล ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2563) 1.6.8) ดานการประกนั สงั คม 1) จํานวนสถานประกอบการ ณ เดอื น ธันวาคม 2563 มีสถานประกอบการ ที่ขน้ึ ทะเบียนประกันสังคมทั้งส้ิน จํานวน 2,016 แหง ผูประกันตนท้ังส้ิน 72,7678 คน และมีสถานพยาบาล ใน สังกัดประกันสงั คมทเ่ี ปนสถานพยาบาลของรัฐบาล จํานวน 2 แหง รอยละ)100) ของสถานพยาบาลทั้งหมด สถานประกอบการทมี่ ผี ูประกันตนมากท่ีสุด 3 อันดับแรก ไดแก สถานประกอบการขนาด 1,000 คนขึ้นไป จํานวน 5,490 คน คิดเปนรอยละ 17.07รองลงมาคอื สถานประกอบการขนาด 1-10 คน จํานวน 4,895 คน คดิ เปน รอยละ 15.22 และสถานประกอบการขนาด 21-50 คน จาํ นวน 4,492 คน คิดเปนรอยละ 13.97 2) การใชบริการของกองทุนประกันสังคม พิจารณาตามประเภทของประโยชน ทดแทนซ่ึงมี 7 กรณี ไดแก เจ็บปวย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะหบุตร ชราภาพ และวางงาน จาํ นวนผูใชบรกิ ารท้ังสน้ิ จาํ นวน 194,261 ราย แยกเปน - กรณีสงเคราะหบ ตุ ร จํานวน 131,160คน คดิ เปนรอยละ 67.52 - กรณชี ราภาพ จํานวน 17,495 ราย คิดเปนรอยละ 9.01 - กรณวี างงาน จํานวน 25,303คน คดิ เปน รอ ยละ 13.03 - กรณีเจ็บปวย จํานวน 15,464 ราย คดิ เปน รอยละ 7.96 - กรณีคลอดบตุ ร จํานวน 2,541 ราย คิดเปน รอยละ 1.31 - กรณที ุพพลภาพ จํานวน 2,031 คน คดิ เปนรอยละ 1.63 - กรณีตาย จาํ นวน 285 คน คดิ เปนรอ ยละ 0.15 - สําหรับการจายเงินประโยชนทดแทน จํานวน 529,792,436.03 บาท โดยกรณี วางงานมีการจายเงินสูงสุด จํานวน 127,195,057.52 บาท คิดเปนรอยละ 24.01 ของการจา ยเงิน ประโยชนทดแทนท้ังหมด 3) การเลิกจา งแรงงาน ป 2564 มีการเลิกกิจการทัง้ หมด 19 แหง และลูกจางถกู เลิก จาง จาํ นวน 79 คน (ทม่ี า สาํ นักงานประกนั สงั คมจังหวัดมหาสารคาม ขอ มลู ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2563)

18 2) ดา นสงั คม และความมัน่ คง 2.1) การศึกษา จํานวนนักเรยี นและโรงเรยี นในสังกัดสํานกั งานศกึ ษาธกิ ารมหาสารคามปก ารศึกษา 2564 ตาราง 1.11 จาํ นวนนกั เรยี นและโรงเรียนในสงั กดั สาํ นักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั มหาสารคาม ปก ารศกึ ษา 2564 สังกัด สถานศึกษ นกั เรยี น/ หมายเหตุ า นกั ศกึ ษา 1.กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ) 653 138,605 1.1 สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน (สพฐ.) 598 95,651 1.1.1 สํานักงานเขตพน้ื ทการศกึ ษาประถมศึกษา 196 22,607 มหาสารคาม เขต 1 221 23,589 145 17,174 1.1.2 สาํ นกั งานเขตพ้ืนทการศกึ ษาประถมศกึ ษา 35 31,906 มหาสารคาม เขต 2 1.1.3 สาํ นักงานเขตพน้ื ทการศกึ ษาประถมศกึ ษา มหาสารคาม เขต 3 1.1.4 สํานักงานเขตพื้นทการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 26 1.1.5 ศูนยก ารศึกษาพิเศษจงั หวัดมหาสารคาม 1 375 1.2 สํานักงานคณะกรรมการสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน (สช) 33 11,087 1.2.1 ประเภทสถานศึกษาท่ัวไป (รวมเตรียมอนบุ าล) 29 8,967 1.2.2 ประเภทสถานศึกษาการกศุ ลของวัด (รวมเตรียมอนบุ าล) 4 2,120 1.3 สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ะศึกษา (สอศ) 9 12,933 1.3.1 อาชีวะรัฐบาล 6 12,137 1.3.2 อาชวี ะเอกชน 3 796 1.4 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม 13 18,934 ขอ มลู ป 63 อัธยาศยั จังหวัดมหาสารคาม (กศน.) ระดบั อาํ เภอ ขอมูลป 63 375 81,990 ขอมลู ป 63 2. สว นราชการอื่น 5 57,746 2.1 กระทรวงการอุดมศกึ ษาวิทยาศาสตร วิจัย และนวัตกรรม 3 3,746 (อว) 2.1.1 โรงเรยี นสาธิต (แยก สาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคามฝา ย 2 54,000 ประถมและมธั ยม) 2.1.2 สถาบนั อุดมศกึ ษา 1) อุดมศกึ ษาภาครฐั 2 54,000 ขอ มูลป 63 2) มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม 1 40,828 ขอ มลู ป 63 3) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 1 13,172 ขอ มูลป 63

19 สังกดั สถานศกึ ษ นักเรียน/ หมายเหตุ า นกั ศกึ ษา 22,091 2.2 กระทรวงมหาดไทย (มท) : กรมสงเสริมการปกครองสวน 359 10,056 ทองถนิ่ 4,780 2.2.1 โรงเรยี นในสังกัดกรมการปกครองสว นทอ งถ่ิน 36 1) โรงเรยี นสงั กัดองคก ารบรหิ ารสวนจังหวดั (อบจ.) 20 2) โรงเรยี นสงั กัดเทศบาลเมอื ง (ทม.) 7 3,023 3) โรงเรียนสงั กัดองคก ารบริหารสว นตาํ บล (อบต.) 4 750 4) โรงเรยี นสังกดั เทศบาลตาํ บล (ทต.) 5 1,503 2.3 กระทรวงสาธารณสขุ (สธ) : วิทยาลัยศรีพยาบาลมหาสารคาม 1 500 ขอ มูลป 63 2.4 กระทรวงการทองเท่ยี วและกีฬา(กก) : มหาวิทยาลัยการกีฬา 1 861 ขอ มูลป 63 แหงชาติ วทิ ยาเขตมหาสารคาม 9 792 1,028 220,595 2.5 สํานักงานพระพทุ ธศาสนาแหงชาติ (พศ.) : โรงเรียนปริยติ ธรรม รวมท้งั สน้ิ ทม่ี า : สํานักงานศึกษาการจังหวัดมหาสารคาม ประจาํ ป พ.ศ.2564 หมายเหตุ ขอ มูล ขอ 2.2 ,2.3 ,2.4 เปนขอมูลปการศึกษา 2563 เน่ืองจาก สถาบันการศึกษาจะ เกบ็ ขอมูล ณ วันที่ 31 สงิ หาคม ของทุกป 2.2) สถานบริการสาธารณสขุ จังหวัดมหาสารคาม มีสถานบริการสาธารณสุขท้ังของรัฐและของเอกชน จํานวน 292 แหง มีแพทย รวมทั้งหมด 287 คน จํานวนแพทยตอประชากร 1 ตอ 3,354 ประชาชนเขาถึงบริการ สาธารณสุขมากข้ึน และมีโอกาสไดรบั บรกิ ารทางการแพทยมากขึ้น อยางไรก็ตามยังมีปญหาสุขภาวะ เน่ืองจาก ประชาชนยังขาด ความตระหนกั เกี่ยวกับโรคภัยตางๆ และมีพฤติกรรมดานสขุ ภาพทไ่ี มถกู ตอง

20 ตารางท่ี 1.12 ขอ มลู ทรัพยากรสาธารณสุข ชอ่ื โรงพยาบาล ขนาด ทีต่ ั้ง โรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 580 1 แหง (รพท.มหาสารคาม:S) เตยี ง ขนาด 120 2 แหง (รพ.โกสมพิสัยF1,รพ.บรบอื :M2) เตียง ขนาด 90 เตยี ง 2แหง (รพ.พยัคฆภมู ิพสิ ัย:M2,วาปป ทุม:M2) โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 60 เตยี ง 2 แหง (รพ.เชยี งยืน:F2,รพ.กันทรวิชยั :F2) ขนาด 30 เตยี ง 4 แหง (รพ.ยางสีสราชF2, รพ.นาดูนF2, รพ.แกดาํ :F2, รพ.นา เชือก:F2) ขนาด 10 เตยี ง 1 แหง (รพ.กุดรงั :F3) เปด ใหบริการเฉพะผปู วยนอก 1 แหง (รพ.ชืน่ ชม:F3) โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพ 175 แหง ตาํ บล ศูนยส ขุ ภาพชุมชนเมือง 4 แหง โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย 1 แหง (มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ) โรงพยาบาล ขนาด 55 เตยี ง 1 แหง (โรงพยาบาลไทยอินเตอรมหาสารคาม) คลินิกเวชกรรม 108 แหง คลนิ ิกทนั ตกรรม 47 แหง สถานพยาบาลและการผดงุ 75 แหง ครรภ เทคนคิ การแพทย 5 แหง คลินิกแพทยแผนไทย 7 แหง กายภาพบาํ บัด 3 แหง สหคลนิ ิก 3 แหง คลนิ กิ เฉพาะทางดา นเวช 41 แหง กรรม คลนิ ิกประกอบโรคศลิ ปะ 3 แหง การแพทยแผนจีน รวม 292 แหง ทม่ี า : สาํ นักงานสาธารณสุขจงั หวัดมหาสารคาม สิงหาคม 2564

21 2.3) ขอ มูลบคุ ลากรสาธารณสุข ตารางที่ 1.13 จํานวนของแพทย ทันตแพทย เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ อัตราตอประชากรแยกตาม โรงพยาบาลท่วั ไปและโรงพยาบาลชมุ ชน ของจังหวัดมหาสารคาม ปงบประมาณ 2563 ประเภทบุคลากร รพท. รพช. รวม จํานวนตอ ประชากร 1. แพทย 141 146 287 1 : 3,354 2. ทันตแพทย 19 74 93 1 : 10,351 3. เภสัชกร 42 83 125 1 : 7,701 4. พยาบาลวิชาชพี 612 698 1,310 1 : 735 ท่ีมา : ขอมูลจากระบบ HROPS เม่อื วันที่ 31 มกราคม 2564 3) ดา นทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอม 3.1) ปาไม จังหวัดมหาสารคาม มีพืน้ ที่ปาไม 133,128.81 ไร (ขอมลู กรมปาไม ป พ.ศ.2563) คิด เปนรอยละ 3.80 ของพน้ื ที่จังหวัด สวนใหญเปนปาเต็งรัง ซึ่งอยูทางทิศใตของจังหวัด บรเิ วณอําเภอกุดรัง อาํ เภอบรบอื อาํ เภอนาเชอื ก อาํ เภอนาดนู และอําเภอวาปปทุม มีปาสงวนแหงชาติ จํานวน 10 แหง (พ้ืนทปี่ า สงวนแหงชาติสวนใหญมอบให สปก. ปฏิรปู ที่ดิน) มวี นอุทยาน จาํ นวน 2 แหง คือ วนอุทยานโกสัมพี ตั้งอยู อําเภอโกสุมพิสัย เนื้อท่ี 177.243 ไร และวนอุทยานชีหลง ตง้ั อยูอําเภอกันทรวิชัย เนื้อที่ 279.159 ไร มีสวน รุกชาติ 2 แหง คือ สวนรกุ ชาตพิ ุทธมณฑล อําเภอนาดนู และสวนรุกชาติทาสองคอน อําเภอเมอื งมหาสารคาม มีเขตหามลาสตั วปา 1 แหง และประกาศเปนเขตคุมครองส่ิงแวดลอม คือ เขตหามลา สัตว ปาดูนลาํ พัน อําเภอนาเชอื ก เนื้อที่ 376.025 ไร 3.2) แหลงนํา้ และพน้ื ที่ชลประทาน - แหลงน้ําชลประทานจังหวดั มหาสารคาม ประกอบดวยอางเก็บนํ้าขนาดกลาง จํานวน 18 แหง รวมพ้ืนที่ชลประทาน 53,120 ไร (ตารางท่ี 1.14) - โครงการปอ งกันอทุ กภัยบา นตมู - บานติ้ว พนื้ ท่ีชลประทาน 37,000 ไร (ตารางที่ 1.15) - แหลงนํ้าชลประทานพ้ืนท่ีคาบเก่ียว ไดแก โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาหนองหวาย , โครงการสง นา้ํ และบํารงุ รักษาชีกลาง , โครงการสง น้ําและบํารุงรกั ษาเสียวใหญ , โครงการชลประทานรอยเอด็ (อางเก็บนํ้าหวยแอง , อางเก็บนาํ้ หว ยแลง( ซ่งึ มีพ้ืนที่ชลประทานที่อยใู นเขตจังหวัดมหาสารคาม รวมท้ังหมด 175,203 ไร (ตารางที่ 1.16) - สถานสี ูบน้ําดว ยไฟฟา จาํ นวน 98 แหง พื้นท่รี ับประโยชน 173,693 ไร (ตารางที่ 1.17)

22 ตาราง 1.14 แสดงขอมลู อางเก็บนํ้าขนาดกลางของจงั หวัดมหาสารคาม พืน้ ทรี่ ับ ระดับเกบ็ ปรมิ าณความ พนื้ ท่ี ประเภท ชลประทาน ลุมน้ํา ช/ี ท่ี อางเก็บนาํ้ อําเภอ นํ้าฝน กัก จนุ าํ้ (ไร) มูล (ตร.ม.) (ม.รทก.) (ลาน ลบ.ม.) 4,186 ชี 3,000 ชี 1 หว ยคะคาง เมอื ง 72.50 162.85 4.126 2,409 ชี อปุ โภค- ชี 2 แกง เลงิ จาน เมือง 208.00 143.88 8.024 บริโภค 7,366 ชี 3 หนองกระทุม เมอื ง 38.00 140.15 2.636 1,700 ชี 1,929 ชี 4 หนองแวงนอ ย เมอื ง 24.40 152.00 0.385 600 ชี 2,720 ชี 5 หว ยขอนสกั โกสุมพิสยั 78.10 175.00 8.659 1,460 ชี 161.78 1.625 3,200 มลู 6 หนองแกดาํ แกดาํ 43.50 144.48 3.580 2,000 มูล 198.00 1.606 1,500 มูล 7 หนองบัว กันทรวิชัย 26.00 162.32 2.804 380 มูล 167.77 1.290 18,510 มูล 8 หนองเทวราช เชียงยนื 8.95 178.70 5.066 1,013 มลู 171.00 3.584 1,147 มลู 9 หวยประดู บรบือ 16.75 179.53 0.870 อุปโภค- มูล 201.00 0.368 บริโภค 10 รองหวั ชา ง บรบือ 25.00 166.00 31.338 53,120 140.00 3.036 11 หวยเชยี งคาํ บรบือ 21.80 144.16 2.244 152.00 0.564 12 หนองบอ บรบอื 20.50 13 เอกสัตยส นุ ทร บรบือ 8.00 14 หนองคูขาด บรบือ 2.24 15 หว ยคอ นาเชือก 208.00 16 หว ยจอกขวาง วาปปทุม 141.00 17 หนองไฮ วาปปทุม 7.80 18 ฮองซองแมว วาปปทมุ 3.00 รวม 81.805 ตารางท่ี 1.15 : แสดงขอ มูลพืน้ ท่ีโครงการปอ งกันและบรรเทาอุทกภัยบา นตมู -ต้วิ ท่ี โครงการ อาํ เภอ พ้ืนท่ชี ลประทาน (ไร) ลมุ น้ํา ชี 1 ปองกนั อทุ กภยั บานตูม-ตว้ิ เมอื ง 37,000 รวม 37,000

23 ตารางที่ 1.16 : แสดงขอมลู พื้นที่ชลประทานของโครงการฯที่คาบเก่ยี วในเขต จงั หวัดมหาสารคาม ที่ โครงการ อาํ เภอ พน้ื ทชี่ ลประทาน (ไร) ลมุ นาํ้ 1 สง นา้ํ และบาํ รงุ รักษาหนองหวาย รวม 123,256 ชี ชี - อําเภอโกสมพิสัย โกสุมพิสยั 87,447 ชี - อําเภอเชียงยืน เชียงยืน 35,809 ชี 2 สง น้ําและบาํ รงุ รักษาชกลาง รวม 11,580 มลู - เข่ือนมหาสารคาม โกสุมพสิ ยั 8,600 มลู มูล - เขอื่ นวังยาง เมอื ง 2,980 3 สงน้าํ และบํารงุ รักษาเสยี วใหญ รวม 33,553 - อําเภอบรบอื 33,553 4 ชลประทานรอยเอ็ด (บางสว น) รวม 6,814 - อางเก็บนาํ้ หวยแอง เมอื ง 4,594 - อางเก็บนํา้ หว ยแลง วาปปทุม 2,220 รวม 175,203 ตารางท่ี 1.17 : แสดงขอมูลพื้นท่สี ถานสี บู นาํ้ ดว ยพลงั ไฟฟาในเขตจงั หวัดมหาสารคาม รายอําเภอ ท่ี อาํ เภอ จํานวน (แหง ) พน้ื ทรี่ บั ประโยชน (ไร) ลุมนํ้า 1 เมอื ง 35 59,100 ชี 2 กนั ทรวชิ ยั 27 56,500 ชี 3 โกสุมพสิ ัย 27 41,393 ชี 4 ชื่นชม 5 6,700 ชี 5 เชียงยืน 3 7,000 ชี 6 วาปปทมุ 1 3,000 ชี รวม 98 173,693 หมายเหตุ : ท่ีมาของขอ มูล โครงการชลประทานมหาสารคาม ป ปรบั ฐานขอมูลเม่ือป พ.ศ.2563 3.3) ทรัพยากรดิน สามารถจําแนกกลมุ ดินของจงั หวัดมหาสารคามไดเปน 3 กลุมใหญ ๆ คอื (1) กลมุ ดนิ ไร สามารถแบงยอยเปน กลุมดินไรท ่ัวไป มีพืน้ ที่เพียงเล็กนอย ครอบคลมุ พ้ืนที่ ทางทิศตะวันตกของจังหวัดดินไรกลุมนี้อยูในพืน้ ที่บางสวนของอําเภอวาปปทมุ และอําเภอแกดํา กลุมดนิ ไร ทรายสวนใหญอยใู นบรเิ วณทศิ ตะวนั ตกของจังหวดั บริเวณอําเภอโกสมุ พสิ ยั อําเภอบรบอื และอาํ เภอนาเชือก (2) กลุมดินนา สวนใหญครอบคลุมพื้นที่ทางทิศเหนือและทิศใตของจังหวัดสามารถแยก ออกเปนกลุมยอยตามคุณสมบัติของดินไดเปน กลุมดินนาท่ัวไป ครอบคลุมพ้ืนที่อําเภอเชียงยืน อําเภอวาป ปทุม อําเภอนาดูน อาํ เภอพยัคฆภมู ิพิสัย และบางสว นของอําเภอเมอื งมหาสารคาม กลุมดินนาดี อยูบริเวณลุม แมน้ําชี ทางทิศเหนอื ของจังหวัดซึ่งครอบคลุมพื้นท่ีของอําเภอโกสุมพิสัยและอําเภอกันทรวิชัย และบางสวน อยูทางตอนใต ของจงั หวัด

24 (3) กลุมดินคละ สวนใหญอยูในบรเิ วณตอนกลางของจังหวัด สามารถแบงยอยได เปนกลุม ดินไรทั่วไป คละกับดินนาทั่วไป ครอบคลุมพื้นที่ของอําเภอเมืองมหาสารคาม อําเภอบรบือ อําเภอนาเชอื ก อาํ เภอนาดูน และอาํ เภอพยัคฆภูมิพิสยั และกลมุ ดินไรทรายคละกับดินไรทวั่ ไป อยูใ นพื้นท่ีอําเภอเมือง อําเภอ แกดํา และอาํ เภอวาปปทุม ท้งั น้ี พบวาจงั หวดั มหาสารคามมีดนิ ทเ่ี ปนปญ หา ประมาณ 2,442,724 ไร ไดแก ดินเค็ม ดิน ทรายจดั และดินปนกรวด สําหรบั พ้ืนที่ดินเค็มพบวามีกระจายท่ัวไปทางตอนกลางและตอนลางของ จังหวัด สามารถจําแนกตามระดับความเคม็ ดงั น้ี (1) ดินเค็มนอย (slightly salt affected areas) เปนบริเวณที่พบคราบเกลือ มีปริมาณนอย กวา 1% ของพ้ืนท่ี มีอยูประมาณ 1 ลานไร คิดเปนรอยละ 32 ของพ้ืนที่นาในจังหวัดสวนใหญ อยูในพื้นที่ อําเภอเชียงยืน อําเภอโกสมุ พสิ ยั อําเภอบรบอื อําเภอนาเชอื ก อาํ เภอวาปปทุม และอําเภอพยัคฆภูมิพิสัย ท้ังนี้ พน้ื ที่ดินเค็มนอยหากมีการใชประโยชนดินอยางไมเหมาะสม เกลอื จากน้ําใตด นิ มีโอกาสที่จะแพรกระจาย ทํา ใหดนิ แปรสภาพไปเปนดินเคม็ ปานกลาง หรอื เปน ดนิ เค็มมาก (2) ดนิ เคม็ ปานกลาง (moderately salt affected areas) คือพน้ื ท่บี รเิ วณท่ีพบ คราบเกลือ กระจัดกระจายตามผิวดินมีปรมิ าณ 1 - 10% ของพน้ื ทมี่ ปี ริมาณรองลงมาครอบคลุมพื้นท่ปี ระมาณ 1.7 แสนไร คดิ เปน รอ ยละ 5 ของพน้ื ทจี่ ังหวดั อยูในทรี่ าบในเขตอําเภอพยัคฆภมู พิ สิ ยั (3) ดินเคม็ มาก (highly salt affected areas) คือบรเิ วณท่พี บคราบเกลอื ตามผิวดิน กระจัด กระจายอยูทัว่ ไปมปี ริมาณมากกวา 10 % ของพ้ืนที่ ครอบคลุมพืน้ ทปี่ ระมาณ 1.7 แสนไร คิดเปนรอย ละ 5 ของพื้นที่จังหวดั อยใู นบรเิ วณอําเภอวาปปทมุ พืน้ ทด่ี นิ ทรายจดั มีความอดุ มสมบูรณค อ นขางตํา่ ถงึ ตํ่ามาก มคี วามสามารถในการ อุมน้ํานอย มีเนื้อท่ี 1,177,256 ไร หรือรอ ยละ 35.60 ของพื้นที่จังหวัด พบมากดานทศิ ตะวันตกของจังหวัด ในเขต อาํ เภอบรบือ อําเภอโกสุมพิสัย รองลงมา ในเขตพื้นท่ี อําเภอนาเชือก และอําเภอนาดนู ดินคอนขางเปนทราย มีเนื้อท่ี 1,014,205 ไร หรอื รอยละ 30.67 ของพื้นท่ีจังหวัด พบมากในเขตอําเภอวาปปทุม รองลงมา อําเภอ พยคั ฆภมู พิ สิ ยั อาํ เภอเชียงยืน และอําเภอเมืองมหาสารคามดินปนกรวดเปนดินตนื้ ปนลูกรัง ปนกรวด ที่มีการ ระบายนํ้าไดปานกลาง มีเนอ้ื ที่ 4,630 ไร หรือ รอ ยละ 0.14 ของพ้ืนท่จี งั หวัดพบมากในเขตพื้นท่ี อําเภอนาดูน รองลงมาในเขตพื้นท่ี อาํ เภอวาปป ทมุ อําเภอกันทรวชิ ัย และ อําเภอบรบอื 4) แหลง ทอ งเที่ยวทางประเพณีและวัฒนธรรม มดี ังนี้ 4.1) แหลง ทองเทยี่ วทางประเพณแี ละวฒั นธรรม มีดงั นี้ 1) งานนมสั การพระธาตุนาดนู อาํ เภอนาดูน เปน งานประเพณีประจําปซึ่ง จัดข้ึน ในชวงวันขึ้น 15 คํ่า เดือน 3 ของทุกป เพ่ือเปนการนมัสการองค พระธาตุ ในงานมีขบวนแหประเพณี 12 เดือน การแสดงตํานานนครจัม ปาศรี 2) งานบุญเบิกฟา จัดข้ึนในวันข้ึน 3 คํ่า เดือน 3 ของทุกป ถือเปนงาน ประเพณี ประจําป ของชาวจังหวัดมหาสารคาม และเปนเอกลกั ษณของ จังหวัด ซ่ึงมีแนวความคิดที่ฟนฟูเก่ียวกับการทํานา เพ่ือใหคนทั้งหลายได ตระหนกั ถงึ ความสาํ คญั ของชาวนา และการบํารุงดนิ อันเปนหัวใจสําคญั ของการผลิตขา ว กําหนดจัดงาน 10 วัน 10 คืน

25 3) งานออนซอนกลองยาว เปนงานประเพณีของชาวอําเภอวาปปทุม ซ่ึง ทุกหมูบานมีคณะกลองยาว โดยมีการผลิตกลอง ยาวเสียงดี ไวสําหรับ ประกวด กลองยาวชิงชนะเลิศระดับประเทศ ซ่ึงจะจัดงานหลังวัน มาฆบชู าประมาณ 1 เดอื น หรอื ประมาณกลางเดอื นมนี าคมของทกุ ป 4) งานประเพณแี ขง เรอื ยาว ลอยกระทง ลอ งเรอื ไฟ เปนงานประเพณีชาว พุทธ ทไี่ ดปฏิบตั ิสืบทอดกันมากระทั่งปจจุบัน จะจดั ขึ้นในวันออกพรรษา เพ่ืออนุรักษสงเสริม ประเพณีอันดีงาม สถานที่จัดงานบริเวณบึงบอน ตําบลหวั ขวาง อาํ เภอโกสุมพิสัย 5) งานบุญพาขาวลิง หรือบุญเลี้ยงอาหารลิง เปนงานประจําปของชาว อําเภอ โกสุมพิสัย ยึดเอาวันท่ี 2 เมษายนของทุกปเปนวันจัดงานเพื่อหา รายไดสมทบ เปน กองทุนจัดซ้ืออาหารไวเล้ยี งฝงู ลิงตลอดท้ังป ซ่ึงเปนการ แสดงออกในการทาํ บุญ ใหทานแกส ัตว 6) พระพุทธมงคล ตําบลโคกพระ อําเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม เปน พระพุทธรปู ยืนขางตน โพธิ์จนโดนตนโพธห์ิ อหุมไปบางสวน มลี ักษณะ เปนพระ ที่ทาํ มาจากหนิ ทราย ศิลปะยุคทวารวดี สูงราว 4 เมตร พระพทุ ธ มงคลเปนพระพุทธรูป สําคัญของจังหวัดมหาสารคาม ดวยมีความเกาแก จนกรมศิลปากรไดข นึ้ ทะเบียน ใหเปน วตั ถุสาํ คัญและเปน สมบตั ิของชาติ 7) พระพุทธม่งิ เมืองหรอื ทช่ี าวบานเรยี กวา “หลวงพอพระยืน” ตั้งอยูทวี่ ัด สุวรรณาวาสไมไ กลจากพระพุทธมงคล ดวยเปนพระที่มีตํานานการสราง รวมกัน ถูกสรางขึ้นมาพรอมๆ กันดวยวัตถุประสงคการสรางเดียวกัน ลักษณะเปนพระที่ทํา มาจากศิลาแลงสูงราว 4 เมตร กวาง 1 เมตร เปน ศิลปะแบบทวารดเี ชนเดยี วกัน กบั พระพุทธมงคล 8) วัดปาวังน้ําเย็น ตําบลเกิ้ง อําเภอเมอื งมหาสารคาม วัดแหงน้ีมีศาลา การเปรยี ญ ไมทีใ่ หญม หึมา สรางโดยใชเสาไมสักนับรอย ๆ ตน ภายในวัด ยังมีเจดียศรี มหาสารคาม ท่ีองคเจดียบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระพุทธรูปทองคํา 3 องค พระเนื้อผง 84,000 องค พระบูชา 84,000 องค รวมถึง พระพมิ พเ กา แก จากกรพุ ระนาดนู

26 4.2) แหลง ทองเท่ยี วทางธรรมชาติ มีดงั น้ี 1) วนอุทยานโกสัมพี ตั้งอยูท่ีบานหัวขวาง ตาํ บลหัวขวาง อําเภอโกสุม พิสัย มีเน้ือท่ีประมาณ 150 ไร ตง้ั อยูริมฝงแมน้ําชี มสี ภาพเปน ปาเบญจ พรรณ มีตน ไมหลากหลายชนิด ทําใหท ศั นียภาพ รมร่ืน นอกจากนี้ยังมีฝูง ลิงแสมขนสีทอง อาศยั อยูน ับพนั ตัว 2) เขตหา มลาสัตวปาดูนลําพัน ต้ังอยูท่ตี ําบลนาเชอื ก อําเภอนาเชือก มี พื้นที่ท้ังหมดประมาณ 350 ไร ภายในเปนปาพรุน้ําจดื หรือปา ทามผสม กับปาบก ทําใหมีความหลากหลายของพันธุพืช และสัตวปาเปนที่อยูของ ปูทูลกระหมอม หรือปู แปง ซึ่งเปนปูท่ีหายากและพบเพียงแหงเดียวที่ ปาดูนลาํ พนั 3) อุทยานวงั มัจฉา ตั้งอยูที่บานโขงกุดหวาย ต.เกิ้ง อ.เมืองมหาสารคาม มีพ้ืนที่เปนเกาะลอมรอบดวยนํ้าเปนแหลงปลาชุกชุม บนเกาะมีสัตวปา หลากหลาย ชนิดเหมาะสาํ หรบั เปน ท่พี ักผอ นและชมธรรมชาติ 4) สะพานไมวัดปาวังเกาะเกิ้ง ต้ังอยูที่ตําบลเกิ้ง อําเภอเมือง มหาสารคาม วดั ปาแหง น้มี ดี ีท่สี ะพานไม ดวยวัดปาวงั เกาะเก้ิงต้งั อยูในพ้ืน ที่ดินท่ีถูกลํานํ้าชีหลง ลอมรอบ จนมีสภาพเปนเกาะ พระอาจารยกมล (หลวงพอตุม) จึงไดรวมกับชาวบาน และนักศึกษาที่มาออกคายอาสา พัฒนาลงมือทําการกอสรางสะพานแหงนี้ ตัวสะพาน ไดนําแบบมาจาก สะพานมอญ และไดเพิ่มศาลาพักตรงกึ่งกลางเพื่อเปน ที่พักผอน หยอนใจ ของผคู น ทั้งน้ี บรเิ วณคุงนํ้าใตสะพานมีฝูงปลาชะโดยักษอาศัยอยูจํานวน มาก นอกจากน้ีภายในวัดมีลักษณะเปนปารกทึบ มีฝูงหมูปาเปนจํานวน มาก 5) สะพานไมแกดํา ตั้งอยูท่ีตาํ บลแกดํา อําเภอแกดํา เปนสะพานไมยาว ประมาณ 1 กิโลเมตร ทอดจากชายฝงหนองแกดําดานวัดดาวดึงษแกดํา ไปยัง หมบู า นหวั ขวั คําวา ขวั ภาษาอีสาน แปลวา สะพาน ชือ่ หมูบา นที่ตัง้ มานีน้ าจะเปนไป ไดวา สะพานและหมบู านสรา งข้ึนมาพรอ มๆ คนแกคน เฒา ทรี่ จู ักในหมบู า นอายุ 80 กวา ป ก็บอกวาเกิดมากเ็ หน็ สะพานอยูอยาง น้แี ลวเหมอื นกัน แตถาถามถึงคนผูสราง สะพานลวน ลมหายตายจากไป หมดแลว จึงประมาณอายุของสะพานไดนาจะ 100 ป สรางข้ึนมาเพื่อใช ในการไปมาหาสกู ันระหวางคน 2 ฟากฝง หนอง

27 4.3) สถานการณทอ งเที่ยวของจงั หวดั สถานการณท องเท่ยี วของจงั หวดั มหาสารคาม ในป 2563 จังหวัดมหาสารคาม มีจํานวนนักทองเที่ยว รวมทั้งส้ิน 452,503 คน เปนนักทองเที่ยวชาวไทย จาํ นวน 449,796 คน นักทองเทีย่ ว ชาวตางชาติ จํานวน 2,707 คน ลดลงรอ ยละ 39.49 จากป 2562 และมรี ายไดจ ากการทอ งเทย่ี ว จํานวน 607 ลานบาท เปนรายได จากนกั ทอ งเท่ียวชาวไทย จํานวน 603 ลานบาท และรายไดจ ากนักทองเท่ียว ชาวตางชาติ จํานวน 3.53 ลา น บาท ลดลงจากป 2562 รอยละ 49.36 ท้ังนี้ เนื่องมาจากผลกระทบของ สถานการณการแพรระบาดของโรค ตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตารางที่ 1.18 แสดงสถิตินักทองเทยี่ วจังหวัดมหาสารคาม 2561 – 2563 ป จาํ นวน (คน) รายได (ลานบาท) พ.ศ. ชาวไทย ชาวตา งชาติ รวมทั้งสน้ิ %change ชาวไทย ชาวตา งชาติ รวมท้งั สน้ิ %change + 6.21 2561 713,106 9,615 722,721 +1.84 1,143.12 17.70 1,160.82 +3.17 -49.36 2562 737,819 9,956 747,775 +3.47 1,179.59 18.04 1,197.63 2563 449,796 2,707 452,503 -39.49 603.00 3.53 607 ท่มี า : กองเศรษฐกจิ การทอ งเทย่ี วและกฬี า กระทรวงการทอ งเที่ยวและกีฬา (สงิ หาคม 2564) 1.3 ประเด็นปญ หาและความตองการเชงิ พื้นท่ี 1) ปญ หาความยากจน ประชากรจังหวัดมหาสารคามยังมีรายไดตอคนตอปต ํ่า เน่ืองจากประชากรสวนใหญมอี าชีพ เกษตร ทํานา และรับจางท่ัวไป ซ่ึงอาชีพดังกลาวนั้นมีรายไดคอนขางต่ํา เม่ือเทียบกับคาจางขั้นตํ่าจังหวัด มหาสารคาม วันละ 315 บาท ทั้งน้ี สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติจัดทําขอมูล ผลิตภัณฑ จังหวัดตอหัว (GPP per capita) ป 2562 จํานวน 75,334 บาท และเมอ่ื เปรยี บเทียบดานรายได กบั จงั หวดั อื่นๆ พบวา จงั หวัดมหาสารคามอยูลําดบั 63 โดยเรียงลําดับทั้งหมด 77 จังหวัด และลําดับที่ 8 ของ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 2) ปญ หาการศกึ ษา จังหวัดมหาสารคามเปนศูนยกลางการศึกษาของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงมนี ิสิตนักศึกษา ใน ระดับมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย มากกวา 81,990 คน สงผลตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัด มหาสารคาม โดยมมี ูลคา ผลติ ภัณฑสูงเปนอันดบั 2 รองจากภาคเกษตร ถึงแมวา รัฐขยายโอกาสทางการศึกษา ใหทั่วถึง โดยจัดโครงการเรียนฟรี 15 ป ก็ตาม แตปญหาทางการศกึ ษาโดยเฉพาะคุณภาพการศกึ ษาของ จงั หวัด ยงั อยใู นเกณฑที่จะตอ งพัฒนาใหไดม าตรฐาน โดยเฉพาะบคุ ลากรทางการศึกษาที่ตองไดร ับการพัฒนา ใหเปนมืออาชีพ นอกจากน้ีปญหาของการพัฒนาหลักสูตรเพ่ือใหทันตอความกาวหนาของวิทยาการทาง การศึกษาที่เปลยี่ นแปลง ไปอยางรวดเร็ว ทําใหผทู ี่จบการศึกษามีความรูและทักษะไมส อดคลองกับความ ตอ งการของตลาดแรงงาน สง ผลตอปญ หาการวางงาน ดังน้ัน จงึ มีความจําเปนที่จะตองแกไขปญหาการศึกษา ของจังหวดั อยางเปนระบบ โดยเพิ่มการศึกษานอกระบบโรงเรียนใหมากข้ึน และเนนการศึกษาในระดับ อาชีวศกึ ษา เพอื่ เพ่ิมความรูและ ทกั ษะของนิสิตนักศกึ ษา และพฒั นาครใู หม คี ุณภาพมากขึน้ ทั้งนี้ จากการสํารวจความตอ งการของประชาชนในพืน้ ท่ี พบวา ตอ งการใหมีการจัดการศึกษา ทั้งใน ระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอยางทั่วถึง เทาเทียม และมีคุณภาพ พัฒนาครูใหเปนมืออาชีพ ตลอดจนใหเด็กและเยาวชนทั้งหมดสามารถอานออก เขียนได และเรียนจบแลวมีงานทาํ นอกจากน้ีเห็นวา

28 จังหวดั ควรมีการจัดทําขอมูลสถิติทางการศึกษาท่ีครบถวนและทันสมัย รวมท้ังการเสริมสราง และพัฒนา นกั เรียน/ นักศกึ ษาทงั้ ในเชงิ ปริมาณและคุณภาพใหเพียงพอกับความตอ งการของตลาดแรงงาน และพัฒนาให จังหวัด เปน HUB ทางดา นแรงงานฝมือ 3) ปญ หาโครงสรางพ้นื ฐาน จังหวัดมหาสารคาม มีพืชเศรษฐกิจหลักท่ีสาํ คัญ ไดแก ขาว ออยโรงงาน และมนั สําปะหลัง โดยมี แหลง นํ้าตนทุนสายหลัก คือ แมน้ําชี แตการบริการจัดการใชแมน้ํา ยังไมมีประสิทธิภาพมากพอ ประกอบกับ สภาพดินมีความสามารถในการอุมนํา้ ตํ่า ขาดความอุดมสมบูรณ และระบบชลประทานไมท่ัวถึง ปญหาคือ จังหวดั ยังขาดระบบชลประทานเพื่อสงเสรมิ การเพาะปลูกเปนอยางมาก ตลอดจนปญหาเสนทาง คมนาคม ขนสง ซ่ึงปญหาท่ีพบโดยสวนมากคอื เสนทางมสี ภาพชํารุดทุดโทรม ทาํ ใหการลําเลียงพืชเศรษฐกิจ หลักของ เกษตรกรเปนไปดว ยความลําบาก ทําใหเกิดปญหาในการขนสง สง ผลใหผลผลิตทางการเกษตรไปสูตลาด เกดิ ความเนาเสยี ไมท ันตอการกระจายสินคา และประชาชนในพืน้ ท่ีตองการใหภาครฐั แกไขปญ หาโดยเรง ดวน 4) ปญหาสถานการณภ ยั แลง/น้าํ ทว ม ปญหาดานภัยแลง นับวันยิ่งทวีความรุนแรงและขยายวงกวางออกไป โดยในรอบ 10 ป ท่ีผานมา ปริมาณนํ้าฝนท่ีตกอยูระดับต่ําสุดในรอบ 10 ป สงผลใหในหลายพ้ืนที่ของจังหวัดมหาสารคามประสบกับ ปญหา แหลงนํ้าดิบที่จะนําไปผลิตนํ้าประปา แหลงนํ้าเพื่อการเกษตร ซึ่งทางจังหวัดก็ไดระดมใหความ ชวยเหลอื ทั้งการทาํ ฝายดิน เปา ลางบอ บาดาล ขดุ ลอกคลอง รวมถงึ การนํารถบรรทุกน้ําอุปโภคบริโภคออกไป แจกจาย ใหกับราษฎรทป่ี ระสบภัยแลง นอกจากนี้ยังไดส งเสริมใหเกษตรกรขุดสระนํ้า เพ่ือกักเก็บน้าํ ไวใช ใน หนา แลง และปลูกพชื ที่ใชน้ํานอย ตลอดจนพฒั นาแหลง นํา้ ขนาดเลก็ ใหก ระจายในเขตพื้นที่เพ่ือจะไดมีปริมาณ น้าํ ท่เี พียงพอสําหรับการใชอปุ โภคบรโิ ภค และการเกษตร ปญหานํ้าทวม เนื่องจากจังหวัดมหาสารคามตัง้ อยูในพ้ืนท่ีลุมแมน้ําชี มีแมน ํ้าชี เปนแมน ํ้าสายหลัก เม่ือถึงฤดฝู น นํ้าชีจะเออทวมทั้ง 2 ฝง ในพื้นที่อําเภอโกสุมพิสยั อําเภอกันทรวิชัย และอําเภอเมือง มหาสารคาม ซึ่งสงผลกระทบตอราษฎรในพื้นท่ีทั้ง 3 อําเภอ พ้ืนที่นาถูกนํ้าทวมเสียหายทุกป แนวทางแกไข กาํ หนดจะพฒั นาแกมลิง เพ่อื กักเก็บนํ้าในบริเวณพืน้ ท่ลี มุ นํา้ ชี 1.4 ผลการพัฒนาและแกไ ขปญหาจังหวัดในชวงที่ผานมา การพัฒนาจังหวดั มหาสารคามตามแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 ประกอบดวย 4 ประเด็นการ พฒั นา ดังนี้ ประเดน็ การพัฒนาท่ี 1 ปรับโครงสรางการผลติ ดานการเกษตรใหเออ้ื ตอการผลติ สินคา เกษตร และอาหารคณุ ภาพ ประเด็นการพฒั นาท่ี 2 สง เสรมิ การคา การลงทุน การทอ งเท่ยี วเชิงสรา งสรรค และวัฒนธรรม เปน มิตรกบั สงิ่ แวดลอม ประเด็นการพฒั นาท่ี 3 สงเสริมและพัฒนาการจัดการศกึ ษาเพ่ือยกระดับสูการเปนศูนยกลาง บรกิ ารทางการศึกษาและวฒั นธรรมของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ประเดน็ การพัฒนาที่ 4 พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน สูสงั คมรรู กั สามคั คี เทิดทนู สถาบัน ของชาตเิ อ้อื อาทรและสมานฉันท โดยมีจุดเนนการพัฒนาเพ่อื เพ่ิมผลผลิตของพชื เศรษฐกิจของจังหวัดใหไดมาตรฐาน สงเสริม การผลติ พืชเศรษฐกิจของจงั หวัด การสรางความเขมแข็งใหภาคการเกษตรเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขัน ใหกับเกษตรกร ดานสงเสริมการคา การลงทุน จังหวัดเนนการปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน โดยเฉพาะ การ

29 ปรับปรุงเสนทางคมนาคมขนสงเพื่อเปน การลดตน ทุนดานการขนสง สวนในดานการทองเท่ียวจังหวัด ยังคง เนนการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแบบวิถีอีสาน นอกจากนี้ยังใหความสําคัญกับการสง เสริมความเขมแข็ง ให ชุมชนและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในการพึ่งพาตนเอง และอาชพี เสริมนอกฤดูการเกษตร ไมว าจะเปน การผลติ ผา ไหม เสือ่ กก ซง่ึ ไดมีการสง เสริมการผลติ และการแปรรปู สนิ คาใหส นองตอบความตอ งการของตลาด จากการ ดาํ เนินการ ตามแผนพฒั นาจังหวดั พ.ศ. 2561-2565 ท่ผี านมา สรปุ ผลไดดังน้ี 1) เศรษฐกจิ ภาพรวม เศรษฐกิจในภาพรวมของจังหวัดมหาสารคาม ในป พ.ศ. 2562 มีมูลคาผลิตภัณฑมวลรวม จํานวน 59,208 ลานบาท ประกอบดวย เศรษฐกิจภาคการเกษตร มีมลู คา เทากับ 11,889 ลานบาท คิดเปน รอยละ 20.08 และนอกภาคการเกษตร ป พ.ศ. 2562 มีมูลคาเทากับ 47,318 ลานบาท คิดเปน 79.92 โดยมี สาขาภาคการคา/บริการ/อ่ืนๆ มีมูลคามากเปนอันดับหน่ึง จํานวน 27,406 ลานบาท คดิ เปนรอยละ 46.29 รองลงมาคือ ภาคการเกษตร จํานวน 11,889 ลานบาท คิดเปนรอยละ 20.08 จะเห็นไดว า จังหวัด มหาสารคามเศรษฐกจิ จากภาคการคา/บรกิ าร มากทีส่ ดุ และรองลงมาคอื ภาคเกษตร ตารางท่ี 1.19 แสดงมูลคา ผลิตภณั ฑมวลรวมจงั หวดั มหาสารคาม ผลิตภณั ฑม วลรวม หนวย : ลานบาท อตั ราการเปลีย่ นแปลง ป พ.ศ 2560 ป พ.ศ 2561 ป พ.ศ 2562 ป พ.ศ 2561 ป พ.ศ. 2562 1. ภาคการเกษตร 12,107 12,558 11,889 3.72 -5.33 2. ภาคอตุ สาหกรรม 7,902 8,945 9,054 13.20 1.12 3. ภาคการศกึ ษา 11,207 10,703 10,679 -4.50 -0.22 4. ภาคการคา / 25,638 26,810 27,586 4.57 2.89 บรกิ าร/ อ่นื ๆ ผลติ ภัณฑม วลรวม 56,854 59,016 59,208 3.80 0.32 ทุก สาขา ทมี่ า : สํานักงานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ 2) ภาคการเกษตร จะเห็นไดวามีการปรับตัวลดลงอยางตอ เน่ือง โดยในภาพรวมจังหวัดมีพ้ืนที่ ทํา การเกษตรรวมทั้งหมด 2.82 ลา นไร พืชหลักที่มีการเพาะปลกู แก ขาว ออยโรงงาน มันสําปะหลัง ยางพารา มะนาว ปาลม นํา้ มนั และขา วโพดหวาน แตเนื่องจากการผลิตยังตองอาศยั ปจจัยทางธรรมชาตเิ ปนสําคัญ จาก ปญ หาภยั แลง ทีร่ นุ แรงข้นึ ทกุ ป ท้งั ปริมาณน้ําเพอื่ การเกษตร สภาพดินท่ีเสื่อมโทรม การระบาดของศัตรพู ืช ทํา ใหส ง ผลตอ ผลิตภาพของผลผลติ และมลู คา การผลิตภาคการเกษตร 3) ภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดมหาสารคาม มีมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภาคอุตสาหกรรม เทากับ 9,054 ลา นบาท ซ่ึงปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นคดิ เปนรอยละ 1.12 เทียบกับป พ.ศ. 2561 ซงึ่ เทากับ 8,954 ลานบาท โดยขอ มูล ณ เดือน ธันวาคม 2562 มโี รงงานอุตสาหกรรมรวม 2539 แหง เงนิ ลงทุน ท้ังส้ิน 12,779 ลานบาท มีจํานวน คนงานท่ีอยูในระบบ 10,853 คน ปญหาภาคอุตสาหกรรม คือ ระบบ Logistics และระบบการ กระจายสนิ คา ยังไมท่วั ถึง 4) ภาคการศกึ ษา จากขอมลู เฉพาะในเขตสํานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ในป พ.ศ. 2563 พบวาอัตราสวนครูตอนักเรียนอยูท่ี 1 : 11 คน และมีอัตราสวนนักเรียนเฉล่ียตอหองอยูท ี่ 13 คนและมี

30 จํานวนปการศกึ ษาเฉลี่ยเทากับ 8 ป ซ่ึงปรับตวั ลดลงจากป 2560 ในดานคุณภาพการศึกษาทพี่ ิจารณา จาก ขอมูลคะแนน O-NET มีการปรับตัวเพิ่มขึ้น และ IQ มีการปรับตัวลดลง ซ่ึงต่ํากวาคาเฉล่ียภาพรวม อยางไรก็ ตาม คา สัดสว นของเด็กทมี่ ี EQ ไมต่ําวาเกณฑมาตรฐาน อยูที่รอยละ 81.95 ซ่งึ สงู กวาคา เฉลย่ี 5) ภาคการคา /บริการ/อน่ื ๆ - ดา นการคา และธุรกิจขนาดยอ ม ป พ .ศ.2562 จังหวัดมหาสารคามมมี ูลคา ผลติ ภณั ฑม วลรวม สาขาขายสงและขายปลีกรวมเทา 6,611 ลานบาท มีการปรับตวั ทเ่ี พ่ิมขึ้นจากป พ.ศ.2561 คิดเปน รอยละ 3.28 โดยมวี ิสาหกิจชุมชนไดรับการอนุมัติจดทะเบียนปรับตัวลดลง ป พ.ศ. 2562 มีการจดทะเบียน จํานวน 3,335 แหง ป พ .ศ.2561 จดทะเบียน 3,407 แหง รายไดจากการจําหนายสินคา OTOP ขยายตัว อยาง ตอเนื่อง ป พ.ศ. 2563 มีรายไดจ ากการจําหนายสนิ คา OTOP จํานวน 2,206 ลานบาท ป พ .ศ.2562 มรี ายได จําหนา ยสินคา OTOP จาํ นวน 1916 ลานบาท กําไรของวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม ในป พ.ศ. 2561 กําไร จํานวน 4,728 ลานบาท และในป พ.ศ. 2560 กาํ ไรจาํ นวน 3,919 ลา นบาท - ดานการทองเที่ยวของจังหวัดมหาสารคาม รายไดจากการทอ งเท่ียวมกี ารขยายตัว อยาง ตอเนื่อง ต้ังแตป  พ .ศ.2560 2561 2562 มีมูลคาเทากับ 1,198 ลานบาท ซ่ึงสอดคลองกับมูลคา ผลิตภัณฑ มวลรวมสาขาที่พกั แรมและบรกิ ารดา นอาหารทม่ี กี ารปรบั ตวั เพิ่มขน้ึ ใน ป พ.ศ. 2562 จาํ นวน 397 ลา นบาท ป พ.ศ. 2561 จํานวน 373 ลานบาท และป พ.ศ. 2560 จาํ นวน 332 ลานบาท ประเด็นที่ยังเปนปญหา (1) น้ําสําหรับการเกษตรยังไมเพียงพอและทั่วถึงโดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงฤดูแลง เกษตรกร ประสบปญหาขาดแคลนน้ําอยางหนัก จังหวัดจึงมคี วามจําเปนตองพัฒนาแหลงน้ําใหกระจายครอบคลุมพื้นท่ี ทางการเกษตร เชน การพัฒนาแหลงน้ําผิวดิน (แกมลิง ขุดลอก( การขดุ เจาะบอบาดาล และขุดบอนํ้าขนาด เล็ก ในไรน า เพือ่ แกไขปญ หาดังกลา ว (2) เกษตรกรยงั ทําการเกษตรแบบดั้งเดิมซึ่งกระบวนการผลิตเปน การผลติ ตามหวงฤดูกาล และมี ตนทนุ การผลิตท่สี ูง จังหวดั จึงตองมีการปรับเปล่ียนวิธีการ โดยการสงเสริมการนาํ เทคโนโลยี และนวัตกรรม สมยั ใหมม าใชเพ่อื เปนการลดตนทุนการผลิต รวมถงึ เปนการสรางมูลคาเพิ่มใหกับเกษตรกร (3) ปญหาตลาดรองรับสินคาทางการเกษตร และราคาสินคาทางการเกษตรตกตํ่า เกษตรกร มี รายไดต ่ํากวาตนทุน จึงตองสงเสริมการรวมกลุมของเกษตรกร รวมถึงพัฒนากระบวนการผลิตไปสูมาตรฐาน รองรับเพื่อเปนการสรา งมลู คาเพ่มิ ใหกบั สนิ คา ทางการเกษตร 1.3 รายชือ่ ตําบลที่เขารว มในโครงการ U2T การดําเนินงานโครงการ U2T ในรอบที่ 1 ดําเนินกิจกรรมโครงการดวย 4 มหาวิทยาลัย ประกอบดวย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม มหาวิทยาลัยขอนแกน และ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน โดยการดําเนนิ โครงการครอบคลุมพ้นื ท่ี 12 อาํ เภอ ทัง้ หมด 42 ตําบล รายละเอียดดังตาราง 1.20


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook