Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตร์

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

กระทรวงศึกษาธกิ าร วช-ร 01 บนั ทึกข้อความ สว่ นราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อำเภอแม่แจม่ จังหวดั เชยี งใหม่ ท่ี วันท…ี่ …………………………………………………………………………………………… เรือ่ ง การเสนอแผนการจัดการเรียนร้เู พอ่ื ขออนญุ าตใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ข้าพเจ้านางสาวศิริมา เมฆปัจฉาพิชิต ตำแหน่ง ครู ค.ศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ไดจ้ ัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าประวัติศาสตร์ รหัสวชิ า ส 31102 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 3 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ หน่วยการ เรยี นรู้ท่ี 2 การสร้างองคค์ วามรู้ใหมท่ างประวัตศิ าสตร์สากล และหน่วยการเรียนรูท้ ่ี 3 อารยธรรมโลกยุคโบราณ รวมจำนวน 6 แผน จำนวน 20 ชัว่ โมง รายละเอยี ดดังแนบมาพร้อมนี้ จึงเรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบและพจิ ารณา ลงชอื่ ............................................................ครผู สู้ อน (นางสาวศริ ิมา เมฆปัจฉาพิชิต) ….……./………………../………… ความเห็นของหัวหนา้ กลมุ่ /ตวั แทนกลมุ่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม หมายเหตุ 1. สว่ นประกอบของเอกสาร ท่ี รายการ มี ไมม่ ี 1 คำอธบิ ายรายวิชา 2 ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้ (ตารางวิเคราะห์ KPA) 3 โครงการสอน/สาระการเรียนร/ู้ จำนวน ชม. 4 การออกแบบกระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 5 แผนการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 6 รายละเอยี ดแผนการวดั และประเมนิ การเรยี นรู้ 2. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ ท่ี ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรบั ปรุง 3. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ ท่ี ( ) ท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการจัดกจิ กรรมได้อย่างเหมาะสม ( ) ท่ียงั ไมเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป 4. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ ที่ ( ) นำไปใชจ้ ริง ( ) ควรปรับปรงุ ก่อนนำไปใช้ 5. ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ………………………………………………………… (นางสาวศริ ิมา เมฆปัจฉาพิชิต) หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้

ความเห็นของรองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บริหารงานวิชาการ 1. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ ที่ ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรบั ปรุง 2. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ ท่ี ( ) ที่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการจดั กิจกรรมได้อยา่ งเหมาะสม ( ) ทีย่ ังไม่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ ที่ ( ) นำไปใช้จรงิ ( ) ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. ลงช่ือ ……………………………………………………………. (นายวเิ ศษ ฟองตา) รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ความคดิ เหน็ ของผูบ้ ริหารสถานศึกษา ( ) อนุญาตใหใ้ ช้ นำแผนการจัดการเรียนรูน้ ี้ ไปใช้จัดกจิ กรรมการเรยี นรไู้ ด้ ( ) ไมอ่ นุญาต เพราะ ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ……………………………………………………………. (นายอดิศร แดงเรือน) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร วช-ร 01 บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อำเภอแม่แจม่ จังหวดั เชียงใหม่ ที่ วันท…่ี …………………………………………………………………………………………… เรอื่ ง การเสนอแผนการจัดการเรียนรูเ้ พอื่ ขออนุญาตใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ข้าพเจ้านางสาวศิริมา เมฆปัจฉาพิชิต ตำแหน่ง ครู ค.ศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ได้จัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาประวัติศาสตร์ รหัสวชิ า ส 31104 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 2 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การเปล่ียนแปลงในประวัติศาสตร์สมัยใหม่ของ มนุษยชาติ และหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21 จำนวน 5 แผน จำนวน 20 ชั่วโมง รายละเอียดดังแนบมาพร้อมน้ี จึงเรยี นมาเพอื่ โปรดทราบและพจิ ารณา ลงช่ือ............................................................ครผู ูส้ อน. (นางสาวศิริมา เมฆปจั ฉาพิชิต) ….……./..………………../………… ความเห็นของหัวหนา้ กลมุ่ /ตัวแทนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม หมายเหตุ 1. สว่ นประกอบของเอกสาร ที่ รายการ มี ไมม่ ี 1 คำอธิบายรายวิชา 2 ตัวชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ (ตารางวเิ คราะห์ KPA) 3 โครงการสอน/สาระการเรียนร/ู้ จำนวน ชม. 4 การออกแบบกระบวนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 5 แผนการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 6 รายละเอียดแผนการวดั และประเมินการเรียนรู้ 2. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ ที่ ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรบั ปรงุ 3. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ ท่ี ( ) ที่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการจดั กิจกรรมไดอ้ ย่างเหมาะสม ( ) ทยี่ ังไมเ่ น้นผ้เู รียนเปน็ สำคญั ควรปรับปรุงพัฒนาตอ่ ไป 4. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ ที่ ( ) นำไปใช้จริง ( ) ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้ 5. ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ………………………………………………………… (นางสาวศิรมิ า เมฆปัจฉาพิชิต) หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ความเหน็ ของรองผอู้ ำนวยการกล่มุ บริหารงานวิชาการ 1. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ ท่ี ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรับปรงุ 2. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ ท่ี ( ) ที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญมาใชใ้ นการจดั กจิ กรรมได้อย่างเหมาะสม ( ) ทีย่ งั ไมเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป 3. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ ที่ ( ) นำไปใช้จรงิ ( ) ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้ 4. ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ……………………………………………………………. ( นายวเิ ศษ ฟองตา ) รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 ความคดิ เหน็ ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ( ) อนุญาตให้ใช้ นำแผนการจดั การเรยี นรนู้ ี้ ไปใชจ้ ดั กิจกรรมการเรยี นรไู้ ด้ ( ) ไม่อนุญาต เพราะ ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. ลงช่อื ……………………………………………………………. (นายอดศิ ร แดงเรือน) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ รหัสวิชา ส 31102 ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์ หนว่ ยกติ 0.5 (นน./นก.) ระยะเวลา 6 ช่วั โมง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ แผนจดั การเรยี นร้ทู ่ี 1 เร่อื ง เวลาทางประวัตศิ าสตร์ ระยะเวลา 3 ชว่ั โมง ....................................................................................... ....................................................................................................... 1. สาระสาคัญ เวลาในทางประวัติศาสตร์ คือเคร่ืองบ่งบอกถึงอดีต ปัจจุบัน และอนาคตที่สาคัญย่ิง เนื่องจากการบอกเวลา ในทางประวัติศาสตร์นั้น สามารถบ่งบอกได้ถึงคุณค่าและความน่าเชื่อถือของประวัติศาสตร์นั้นๆได้ รวมท้ังยังสามารถ เชื่อมโยงประวตั ศิ าสตร์ในแต่ละแห่งผา่ นกาลเวลาทีศ่ กึ ษาค้นคว้า 2. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ช้ีวดั ชนั้ ป/ี ผลการเรยี นร/ู้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถใช้วิธกี ารทาง ประวัตศิ าสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณต์ ่างๆอย่างเปน็ ระบบ ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนักถงึ ความสาคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ท่ีแสดง ถึงการเปลย่ี นแปลงของมนษุ ยชาติ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge เวลาทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏขึ้นตามหลักฐานการพัฒนาและการอยู่อาศัยขอ งมนุษย์ที่พบจาก การศึกษาทางประวตั ิศาสตรส์ ากลมีความสาคัญและการเปล่ียนแปลงอยา่ งไรบ้าง 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process เน้นให้นักเรยี นได้ทางานเป็นกลมุ่ คิดคานวณการเทยี บศักราชเพอื่ การศึกษาทางประวตั ิศาสตรส์ ากล และประวัตศิ าสตรไ์ ทย 3.3 คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ : Attitude มคี วามสนใจใฝ่เรยี นรู้ และมีทศั นคติท่ดี ีตอ่ การศึกษาประวัตศิ าสตร์ 4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน 4.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา - ความรับผิดชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลุม่ 6. คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งม่ันในการทางาน

7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน : - ใบความรูท้ ี่ 1 เรอ่ื ง เวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ - แบบฝึกหัดที่ 1 เร่ือง ศักราชและการคานวณ 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ (ความสามารถในการวเิ คราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการถามตอบ) ทาความเข้าใจและช้ีแจงสาระการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบในหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ืองเวลาและยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ นักเรียนจะต้องเรียนรู้เก่ียวกับศักราชและการเทียบศักราช การคานวณศักราช และการแบ่งยุคสมัยทาง ประวตั ศิ าสตร์ 1. ถาม-ตอบ พื้นฐานความรู้เดิมด้วยคาถามสาคัญ คือ นักเรียนรู้จักศักราชใดบ้าง ท่ีมาของศักราชนั้นคืออะไร และทาไมจงึ มกี ารนับศักราช 2. แบ่งกลุ่มนกั เรยี น กลุ่มละ 6 – 10 คน รว่ มกนั ศกึ ษาใบความรู้ท่ี 1 เรือ่ ง เวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มต้ังคาถามจากใบความรู้ท่ีได้รับ กลุ่มละ 5 ข้อ สลับกันถามทีละกลุ่ม กลุ่มที่ตอบได้มาก ทีส่ ุดจะได้รบั คะแนนพเิ ศษ 1 ดาวเพม่ิ คะแนนจิตพิสัย 4. สรปุ ความรู้ทีไ่ ดร้ บั ลงในสมดุ ในรปู แบบแผนผงั ความคิด 5. ทาแบบฝกึ หัดที่ 1 เร่อื ง ศกั ราชและการคานวณ ทบทวนความเข้าใจ 9. สอื่ การเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ สภาพการใช้สอ่ื รายการสือ่ ขนั้ ตรวจสอบความรเู้ ดิม,ขยายความรู้ ขนั้ สร้างความสนใจและขยายความรู้ 1. ใบความร้ทู ่ี 1 เร่ือง เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ 2. วดี ิทศั นย์ ุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ การคานวณศักราช และการเทียบศักราช 10. การวัดผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลักฐานการเรยี นรู้ วธิ วี ดั เครือ่ งมอื ประเดน็ / การเรียนรู้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน วดั ฯ เกณฑก์ ารให้ คะแนน เข้าใจและสามารถ แบบฝึกหัดที่ 1 เร่ือง การคานวณศักราชในแบบฝึกหัด แบบฝึกหัด 5 คือ ดเี ย่ยี ม สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ท า ง ศักราชและการคานวณ ท่ีให้ไปถูกต้อง ครบถ้วน ภายใน ท่ี 1 4 คือ ดีมาก ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ไ ด้ ระยะเวลาทีก่ าหนดไว้ 3 คือ ดี อยา่ งถูกตอ้ ง ไม่ว่าจะ ใบความรู้ที่ 1 เร่ือง การถามตอบของครูและนักเรียน การสังเกต 2 คอื พอใช้ ในชว่ งเวล่าใดก็ตาม เวลาและยุคสมัยทาง และการต้ังคาถามถามตอบของ แ ล ะ ก า ร 1 คอื ควรปรับปรุง ประวตั ิศาสตร์ นกั เรยี นเอง สอบถาม 0 คือ ไม่ผา่ น 11. จดุ เนน้ ของโรงเรียน การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและกจิ กรรมสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ครู ผู้เรียน 1. ความพอประมาณ พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดีด้านจติ ใจ รู้ จั ก ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ม า ผ ลิ ต สื่ อ ที่ มีจิตสานึกท่ีดี เอื้ออาทร รู้จักประนี เหมาะสมและสอดคล้องเน้ือหาเป็น ประนอม นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม/กลุ่ม ประโยชน์ต่อผู้เรียนและพัฒนาจากภูมิ ปัญญาของผู้เรียน

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ครู ผเู้ รยี น 2. ความมเี หตผุ ล 3. มภี มู คิ มุ้ กนั ในตัวท่ดี ี - ยดึ ถือการประกอบอาชีพด้วยความ ไมห่ ยดุ นงิ่ ทจ่ี ะคน้ หาความรู้เพ่อื อนาคต 4. เงือ่ นไขความรู้ ถูกต้อง สุจริต แมจ้ ะตกอยู่ในภาวะขาด ของตนเอง 5. เง่อื นไขคุณธรรม แคลนในการดารงชีวติ ภูมปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวงั ระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ ภมู ิธรรม : ซ่อื สัตย์ สุจริต ขยันอดทน ภูมิธรรม : ซ่ือสัตย์ สจุ รติ ขยนั อดทน ตรงตอ่ เวลาและแบ่งปัน ตรงต่อเวลา เสยี สละ ความรอบรู้ เรื่อง เวลาและยุคสมัย ความรอบรู้ เร่ือง เวลาและยุคสมัย ทางประวัติศาสตร์ ท่ีเกี่ยวข้องรอบด้าน ทางประวัติศาสตร์ กรณีที่เกิดงาน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมา ปริมาณที่เก่ียวข้อง การคานวณสูตรท่ี พิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อ ต้องใช้ สามารถนาความรู้เหล่านั้นมา ประกอบการวางแผน การดาเนินการจัด พิจารณาให้เช่ือมโยงกัน สามารถ กิจกรรมการเรยี นรใู้ หก้ ับผู้เรียน ประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี ความซือ่ สตั ยส์ ุจรติ และมีความอดทน มี ความซือ่ สตั ย์สุจริตและมีความอดทน มี ความเพียร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนนิ ความเพยี ร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนิน ชวี ิต ชีวิต กจิ กรรม ครู ผ้เู รียน สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ เ ว ล า แ ล ะ ยุ ค ส มั ย ท า ง เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ - ระบุปัจจัยท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโต ของตน้ ไม้ ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ กั บ ก า ร - เวลาในการทางานและการรู้จักแบ่ง - ทาปฏิทินต้นไม้ช่วยบันทึกผลการ สังเกตการเจรญิ เตบิ โตของตน้ ไม้ เจริญเตบิ โตของตน้ ไม้ ช่วงงาน เพื่อใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและ ปฏิบตั ติ ามได้อยา่ งเป็นระบบ ลงชอื่ .................................................. ผ้สู อน (นางสาวศิริมา เมฆปัจฉาพชิ ติ )

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ รหัสวชิ า ส 31102 ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 1 ช่วั โมง/สปั ดาห์ หนว่ ยกติ 0.5 (นน./นก.) ระยะเวลา 6 ชั่วโมง หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เร่ือง เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ แผนจดั การเรยี นรู้ที่ 2 เรื่อง ยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์ ระยะเวลา 3 ชว่ั โมง .............................................................................................................................................................................................. 1. สาระสาคญั ยุคสมัย คือ คาท่ีแบ่งแยกช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ เพ่ือให้สามารถศึกษาเรียนรู้เร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ได้ อยา่ งเป็นระบบ โดยแบ่งออกเป็น 2 ยคุ สมัยหลักๆ ได้แก่ ยุคก่อนประวตั ิศาสตร์ และยุคประวัตศิ าสตร์ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ปี/ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถใชว้ ิธกี ารทาง ประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณต์ ่างๆอย่างเป็นระบบ ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนักถึงความสาคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดง ถึงการเปลีย่ นแปลงของมนษุ ยชาติ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ออกเป็น 2 สมัยจากการแบ่งด้วยตัวอักษรและการจดบันทึก ประวัติศาสตร์ ซึ่งการพฒั นาของมนษุ ยใ์ นแตล่ ะยุคสมยั ซง่ึ มีความเหมอื นและแตกต่างกันอย่ใู นตวั ไดแ้ ก่ 1. สมยั ก่อนประวัติศาสตร์ ได้แก่ ยคุ หิน และยคุ โลหะ 2. สมยั ประวัติศาสตร์ ไดแ้ ก่ สมยั โบราณ สมัยกลาง สมัยใหม่ และปัจจบุ นั 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process การทางานเป็นกลุ่ม การตัง้ คาถามเพอื่ การเรยี นรู้ 3.3 คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude มีความสนใจใฝเ่ รียนรู้ และมีทศั นคติทด่ี ีตอ่ การศึกษาประวัติศาสตร์ 4. สมรรถนะสาคัญของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 4.2 ความสามารถในการคิด 5. คณุ ลักษณะของวิชา - ความรับผิดชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลุ่ม 6. คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ 1. ใฝเ่ รียนรู้ 2. มุ่งม่ันในการทางาน

7. ช้ินงาน/ภาระงาน : - ใบกจิ กรรมท่ี 1 เร่ือง เวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ 8. กิจกรรมการเรียนรู้ (ความสามารถในการวเิ คราะห์ / ใฝ่เรยี นรู้ / เทคนคิ การถามตอบ) 1. ทบทวนความรู้เดมิ เร่ืองศักราชและการคานวณ 2. ถาม-ตอบ พื้นฐานความรู้เดิมด้วยคาถามสาคัญ คือ ยุคสมัยคืออะไร รู้หรือไม่ทาไมเราจึงต้องมีการแบ่งยุค สมยั และนักประวัติศาสตร์ใชอ้ ะไรในการแบง่ ยคุ สมัยประวัติศาสตร์ 3. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 6 – 10 คน ร่วมกันศึกษายุคสมัยทางประวัติศาสตร์จากวีดิทัศน์และ ภาพประกอบคาอธบิ ายในโปรแกรมเพาเวอร์พอ้ ยต์การแบง่ ยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ 4. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ต้ังคาถามจากการศึกษายุคสมัยทางประวัติศาสตร์ โดยเริ่มจากยุคก่อนประวัติศาสตร์ ได่ แก่ ยคุ หิน และยุคโลหะ และยุคประวัตศิ าสตร์ จากยุคโบราณ ยุคกลาง ยุคใหม่ และยุคปัจจุบัน กลุ่มละ 10 ข้อ แบ่งเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ 5 ข้อ และยุคประวัติศาสตร์ 5 ข้อ สลับกันถามทีละกลุ่ม กลุ่มท่ีตอบ ไดม้ ากที่สดุ จะไดร้ ับคะแนนพเิ ศษ 1 ดาวเพ่มิ คะแนนจติ พิสัย 5. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ตอบคาถามในใบกจิ กรรมท่ี 1 เรอื่ ง เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรปุ ความรทู้ ่ไี ดร้ บั และบันทึกลงในสมุดในรูปแบบแผนผงั ความคิด 9. สอื่ การเรยี นการสอน / แหล่งเรียนรู้ สภาพการใช้ส่ือ รายการสื่อ ขนั้ ตรวจสอบความรูเ้ ดิม ขั้นสรา้ งความสนใจ 1. การถามตอบดว้ ยชดุ คาถามสาคัญ ข้ันขยายความรู้ 2. วีดทิ ัศน์และภาพประกอบคาอธิบายการแบง่ ยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์ 3. ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วิธวี ัด เคร่ืองมอื วัดฯ ประเดน็ / การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑก์ ารให้ คะแนน เข้าใจและสามารถ ใบกิจกรรมท่ี 1 เร่ือง การทางานเป็นกลุ่ม การ การสังเกตและ 5 คอื ดเี ยี่ยม สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ท า ง เวลาและยุคสมัยทาง สืบค้นข้อมูลและการสรุป การตอบคาถาม 4 คือ ดีมาก ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ไ ด้ ประวัตศิ าสตร์ ข้อมลู ในใบกจิ กรรม 3 คือ ดี อย่างถกู ต้อง ไม่ว่าจะ 2 คือ พอใช้ ในชว่ งเวลา่ ใดกต็ าม 1 คือ ควรปรับปรงุ 0 คือ ไม่ผา่ น

11. จุดเน้นของโรงเรยี น การบูรณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและกจิ กรรมสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ครู ผเู้ รียน 6. ความพอประมาณ พอดดี ้านเทคโนโลยี พอดดี ้านจิตใจ 7. ความมีเหตผุ ล 8. มีภูมิคมุ้ กันในตัวทีด่ ี รู้ จั ก ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ม า ผ ลิ ต สื่ อ ที่ มีจิตสานึกท่ีดี เอื้ออาทร รู้จักประนี 9. เงอื่ นไขความรู้ เหมาะสมและสอดคล้องเนื้อหาเป็น ประนอม นึกถงึ ประโยชน์ส่วนรวม/กลมุ่ 10.เง่ือนไขคุณธรรม ประโยชน์ต่อผู้เรียนและพัฒนาจากภูมิ ปญั ญาของผ้เู รียน - ยึดถือการประกอบอาชพี ด้วยความ ไม่หยุดนิ่งทจี่ ะคน้ หาความรเู้ พอื่ อนาคต ถูกต้อง สุจรติ แม้จะตกอย่ใู นภาวะขาด ของตนเอง แคลนในการดารงชีวิต ภูมปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวัง ระมัดระวงั สร้างสรรค์ ภมู ธิ รรม : ซือ่ สตั ย์ สุจริต ขยันอดทน ภมู ธิ รรม : ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต ขยนั อดทน ตรงตอ่ เวลาและแบ่งปัน ตรงต่อเวลา เสียสละ ความรอบรู้ เรื่อง เวลาและยุคสมัย ความรอบรู้ เรื่อง เวลาและยุคสมัย ทางประวัติศาสตร์ ที่เก่ียวข้องรอบด้าน ทางประวัติศาสตร์ กรณีท่ีเกิดงาน ความรอบคอบท่ีจะนาความรู้เหล่าน้ันมา ปริมาณที่เก่ียวข้อง การคานวณสูตรท่ี พิจารณาให้เช่ือมโยงกัน เพื่อ ต้องใช้ สามารถนาความรู้เหล่าน้ันมา ประกอบการวางแผน การดาเนินการจัด พิจารณาให้เชื่อมโยงกัน สามารถ กจิ กรรมการเรียนรู้ใหก้ ับผู้เรียน ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มี มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มี ความซ่อื สัตย์สจุ รติ และมีความอดทน มี ความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มี ความเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการดาเนิน ความเพียร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ชีวิต ชวี ติ กิจกรรม ครู ผเู้ รียน สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ เ ว ล า แ ล ะ ยุ ค ส มั ย ท า ง เวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ - ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ของต้นไม้ ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ กั บ ก า ร - เวลาในการทางานและการรู้จักแบ่ง - ทาปฏิทินต้นไม้ช่วยบันทึกผลการ สังเกตการเจรญิ เติบโตของต้นไม้ เจรญิ เติบโตของต้นไม้ ช่วงงาน เพื่อใหเ้ กิดความเข้าใจและ ปฏิบตั ติ ามได้อย่างเปน็ ระบบ ลงช่ือ..................................................ผสู้ อน (นางสาวศิรมิ า เมฆปัจฉาพิชติ )

ใบความรู้ ประวัตศิ าสตรส์ ากล ส 31102 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เรื่อง เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ ครศู ริ มิ า เมฆปจั ฉาพิชติ ชือ่ -สกุล .............................................................................. ชน้ั ............... เลขท่ี ............ เวลากบั ประวตั ศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเร่ืองราวต่างๆ ในอดีตโดยมีความสัมพันธ์ก่อให้เกิดความง่ายต่อการทาความเข้าใจใน เหตุการณ์ต่างๆ โดยมีระยะเวลาเป็นตัวกาหนดในการศึกษาเร่ืองราวการนับเวลาและการเปรียบเทียบศักราชในการศึกษา เร่อื งราวทางประวัตศิ าสตร์ มกั นยิ มใชก้ ารระบุชว่ งเวลาเพ่ือให้ทราบถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึน โดยจะแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การนับเวลาแบบไทย และการนับเวลาแบบสากลการนับเวลาแบบไทยในประวัติศาสตร์ไทย จะมีการบันทึกเร่ืองราวต่างๆ โดยมกี ารอ้างองิ ถึงการนบั ช่วงเวลาแตกต่างกนั ไป ตามแตล่ ะทอ้ งถิ่นมดี ังนี้ การนับและเทียบศกั ราช 1. พุทธศักราช (พ.ศ.) เป็นการนับเวลาทางศกั ราชในกลุ่มผู้นับถือพระพุทธศาสนา โดยเร่ิมนับตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จ ดบั ขนั ธ์ปรินพิ พาน ใหน้ บั เป็นพุทธศักราชท่ี1 ทงั้ นี้ประเทศไทยจะนยิ มใช้การนบั เวลาแบบนี้ โดยเริ่มใช้ตั้งแต่คร้ังสมัยสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช จนมาเป็นที่แพร่หลายและระบุใช้กันอย่างเป็นทางการในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รชั กาลท่ี 6) ในปีพุทธศักราช 2455 2. มหาศักราช(ม.ศ.) การนบั ศักราชน้จี ะพบในหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยสุโขทัยและอยุธยาตอนต้นโดยคิดขึ้น จากกษตั รยิ ์ของอนิ เดีย (พระเจา้ กนิษกะ) ซงึ่ พ่อคา้ อินเดยี และพวกพราหมณ์นาเข้ามาเผยแพรใ่ นเวลาติดต่อการค้ากับไทยในสมัย โบราณ จะมีปรากฏในศิลาจาลกึ เพ่อื บนั ทกึ เรอื่ งราวเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ที่เกิดข้ึน ซึ่งถือว่าปีมหาศักราชท่ี 1 จะตรงกับปีพุทธศักราช 6213 3. จุลศักราช (จ.ศ.) จัดตั้งขึ้นโดยสังฆราชมนุโสรหัน แห่งอาณาจักรพุกาม เม่ือปีพุทธศักราช 1181 โดยไทยรับเอา วิธีการนับเวลานี้มาใช้ในสมยั อยุธยาเพอ่ื การคานวณทาง โหราศาสตร์ ใชบ้ อกเวลาในจารกึ ตานาน พระราชพงศาวดาร จดหมาย เหตุ ตา่ งๆ จนมาถึงสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว (รัชกาลท่ี5) จงึ เลกิ ใช้ 4. รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ) การนับเวลาแบบน้ีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่5) ทรงต้ังข้ึนในปี พทุ ธศกั ราช 2432 โดยกาหนดใหก้ าหนดให้นบั ปีท่ีพระบาทสมเดจ็ พระพุทะยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปีพุทธศักราช 2325 เป็นรัตนโกสินทร์ศกที่1 และให้เริ่มใช้ศักราชนี้ในทางราชการตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน ร.ศ.108 (พ.ศ. 2432) เปน็ ต้นมา การนบั เวลาแบบสากล 1. คริสต์ศกั ราช (ค.ศ.) เปน็ การนับเวลาทางศักราชของผู้นับถือศาสนาคริสต์ ซ่ึงถือเป็นการนับเวลาท่ีนิยมใช้กันมาทั่ว โลก โดยคริสต์ศักราชท่ี 1 เริ่มนับต้ังแต่ปีที่พระเยซูคริสต์ประสูต(ตรงกับ พ.ศ.543)และถือระยะเวลาท่ีอยู่ก่อนคริสต์ศักราชลง ไป จะเรยี กว่าสมยั กอ่ นครสิ ต์ศักราชหรือก่อนคริสตกาล 2. ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) เป็นการนับเวลาทางศักราชของผู้นับถือศาสนาอิสลามโดยอาศัยปีที่ท่านนบีมูฮัมหมัดได้ อพยพจากเมืองเมกกะไปยังเมืองเมดินะ เป็นปีเริ่มต้นของศักราชอิสลามซ่ึงตรงกับวันท่ี 6 กรกฎาคม ค.ศ. 622 อย่างไรก็ตาม การนับศักราชแบบต่างๆ ในบางครั้งบางเหตุการณ์ก็ไม่ได้ระบุความชัดเจนไว้ แต่อาจกล่าวการนับเวลาอย่างกว้างๆไว้ ซ่ึงนิยม เรียกกนั ใน 3 รปู แบบ ดังนี้

ทศวรรษ (decade) คือ รอบ 10 ปี นับจากศักราชท่ีลงท้ายด้วย 1 ไปจนถึงศักราชที่ลงท้ายด้วย 0 เช่น ทศวรรษท่ี 1990 ตามคริสตศ์ ักราช หมายถงึ ค.ศ. 1991 - 2000 ศตวรรษ (century) คือ รอบ 100 ปี นับจากศักราชที่ลงท้าย 1 ไปจนครบ 100 ปีในศักราชท่ีลงท้ายด้วย 00 เช่น พทุ ธศตวรรษที่ 26 คอื พ.ศ. 2501 - 2600 สหสั วรรษ (millennium) คือ รอบ 1000 ปี ศักราชที่ครบแต่ละสหัสวรรษจะลงท้ายด้วย 000 เช่น สหัสวรรษท่ี 2 นบั ตามพุทธศกั ราช คอื พ.ศ. 1001 - 2000 หลกั การเทยี บศกั ราช การนับศักราชที่แตกต่างกัน จะทาให้เกิดความสับสนและไม่ชัดเจนในการศึกษาเร่ืองราวประวัติศาสตร์ ดังนั้น การ เปรยี บเทียบศกั ราชให้เป็นแบบเดียวกัน จะช่วยให้สามารถศึกษาเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ได้เข้าใจมากขึ้น รวมทั้งทาให้ทราบ ว่าในช่วงศักราช หรือช่วงเวลาเดียวกันในแต่ละภาคของโลก เกิดเหตุการณ์สาคัญๆ ทางประวัติศาสตร์ อะไรบ้าง ซึ่งการ เปรยี บเทียบศักราชสามารถกระทาได้งา่ ยๆ โดยนาตัวเลขผลตา่ งของอายศุ กั ราชแตศ่ ักราชมาบวกหรือลบกับศักราชท่ีเราต้องการ ตามหลกั เกณฑ์ดังนี้ ม.ศ. + 621 = พ.ศ พ.ศ. – 1181 = จ.ศ. พ.ศ. – 2325 = ร.ศ. จ.ศ. + 1181 = พ.ศ. พ.ศ. – 543 = ค.ศ. ร.ศ. + 2325 = พ.ศ. ค.ศ. – 621 = ฮ.ศ. ฮ.ศ. + 621 = ค.ศ. พ.ศ. – 621 = ม.ศ. ฮ.ศ. + 1164 = พ.ศ. ค.ศ. + 543 = พ.ศ. การแบง่ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ๑. สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ อายุระหวา่ งราว ๕๐,๐๐๐-๑,๗๐๐ ปมี าแลว้ สมยั ก่อนประวัติศาสตร์ของไทยเป็นการศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ ท่ีได้จากหลักฐานที่ถูกละท้ิงไว้บนดินในบริเวณท่ีเคย เป็นทอี่ ยูอ่ าศยั หรือในหลมุ ศพ อาจจะเป็นเครื่องมือเครือ่ งใช้ท่ที าจากหนิ ในรปู แบบตา่ งๆ ภาชนะที่ทาด้วยดินหรือโลหะ ตลอดจน เครื่องประดับทีต่ ดิ อยู่กับโครงกระดกู ซ่งึ เร่ืองราวของมนุษย์กลุ่มต่างๆเหล่าน้ีอยู่ในระยะเวลาท่ีไม่ปรากฏว่ามีการใช้หนังสือเป็น ส่ือภาษาท่ีบันทึกไว้แต่อย่างใด แต่เราสามารถศึกษาอายุของหลักฐานโบราณวัตถุนั้นๆจากรูปร่างลักษณะ และจากวัสดุที่ใช้ทา ข้ึน ทั้งโดยวิธีการหาอายุจากวิธีวิทยาศาสตร์ คือ วิธี คาร์บอน ๑๔ หรือเทอร์โมลูมิเนสเซนส์ และการศึกษาเปรียบเทียบกับ รปู แบบของโบราณวัตถจุ ากแหล่งโบราณคดีของเพือ่ นบา้ น หรือดนิ แดนอารยธรรมร่วมสมัยใกล้เคียงที่สามารถศึกษากาหนดอายุ ได้ แหลง่ โบราณคดกี อ่ นประวตั ิศาสตร์ของไทยนี้แต่เดิมแบ่งออกเป็น ๔ สมัย ตามลักษณะและวัสดุที่นามาทาเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ คือ ๑. สมยั หนิ เก่า อายุประมาณ ๕๐,๐๐๐-๑๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว ๒. สมัยหนิ กลาง อายุประมาณ ๑๐,๐๐๐-๗,๐๐๐ ปีมาแล้ว ๓. สมยั หนิ ใหม่ อายปุ ระมาณ ๗,๐๐๐-๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว ๔. สมัยโลหะ อายุประมาณ ๕,๖๐๐-๑,๗๐๐ ปีมาแลว้ อย่างไรก็ดี สมัยก่อนประวัติศาสตร์นี้นักวิชาการโบราณคดีรุ่นใหม่ได้ใช้ศัพท์ในการกาหนดเรียกสมัยเหล่านี้ใหม่ โดยใช้ ลักษณะความเจรญิ ของสังคมเปน็ การกาหนดอายุ คอื ๑. สังคมล่าสตั ว์ ๒. สงั คมเกษตรกรรม ๓. สังคมเมอื งเร่มิ แรก

เครอื่ งปน้ั ดินเผาสมยั ก่อนประวัตศิ าสตรข์ องไทย เคร่ืองปนั้ ดนิ เผาสมัยก่อนประวัติศาสตร์พบว่าเกิดขึ้นคร้ังแรกในสมัยหินกลางหรือสังคมล่าสัตว์ ทาขึ้นอย่างเรียบง่ายไม่ พิถีพิถันนัก โดยใช้มือป้ันขึ้นรูปอย่างอิสระ จากนั้นได้พัฒนาให้มีความประณีตสวยงามขึ้นโดยใช้แป้นหมุนช่วยในการข้ึนรูป และตกแต่งผิวภาชนะด้วยการขัดผิวใหม้ นั ประดบั ลวดลายด้วยกรรมวิธีต่างๆ และเน้อื ดินป้ันทาไดบ้ างลง ดังที่พบในสมัยหินใหม่ หรอื สงั คมเกษตรกรรม และยุคโลหะหรือสงั คมเมอื งเรมิ่ แรก จากการที่เครื่องปั้นดินเผามีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของคนตั้งแต่เกิดจนตาย ท้ังในชีวิตประจาวันและในพิธีกรรม ดังน้ันจึงพบเศษเครื่องปั้นดินเผากระจายอยู่ตามแหล่งโบราณคดีเป็นจานวนมาก ซ่ึงบางชิ้นมีการตกแต่งเขียนลวดลายสวยงาม อันสะท้อนให้เห็นถึงคติความเชื่ออันเป็นเหตุให้เกิดพิธีกรรมของกลุ่มชนในยุคนั้นๆด้วย แหล่งที่พบเคร่ืองป้ันดินเผาสมัยก่อน ประวตั ิศาสตรท์ ่ีนา่ สนใจมีดังนี้ ยคุ หนิ กลาง ใ น ยุ ค หิ น ก ล า ง เ ป็ น ส มั ย ก่ อ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ท่ี มี อ า ยุ ป ร ะ ม า ณ ๑ ๐ ,๐ ๐ ๐ ปี ถึ ง ๗ ,๐ ๐ ๐ ปี ในยุคน้ีได้พบเครื่องป้ันดินเผาที่เก่าที่สุดท่ีถ้าผีอาเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีทั้งท่ีเป็นภาชนะผิวเรียบและที่มีผิวขัดมัน รวมท้งั มกี ารตกแต่งผวิ ด้วยลายเชือกทาบ อันแสดงใหเ้ หน็ ความสัมพนั ธก์ ับวัฒนธรรมโฮบเิ หียน ยคุ หนิ ใหม่ ยุคหินใหม่ มีอายุประมาณ ๗,๐๐๐-๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว ยุคน้ีได้พบเคร่ืองปั้นดินเผาตามแหล่งโบราณคดีในภาค ตา่ งๆ เกอื บทกุ จงั หวดั ทีส่ าคัญอาทเิ ชน่ จังหวัดกาญจนบุรี ลพบุรี นครศรีธรรมราช กระบี่ และพังงา เป็นต้นก่อนคริสตร์กาล ใน ยุคน้ีได้เกิดการเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรมคร้ังย่ิงใหญ่ของมนุษย์ 4 ประการ คือ มีการคิดค้นการเพาะปลูกข้าวเป็นคร้ัง แรก เร่ิมต้นการเลี้ยงสัตว์ รู้จักการทาเครื่องป้ันดินเผา และการประดิษฐ์อาวุธและเครื่องมือเคร่ืองใช้จากหิน โดยขัดให้ เรยี บ สามารถใช้ประโยชน์ไดง้ ่ายและ มีประสทิ ธภิ าพ พื้นฐานทางเศรษฐกจิ และการดารงชีวิตของมนุษย์เปล่ียนแปลงไปจากการ เป็นผ้เู สาะแสวงหาอาหาร (food-gatherer) มาเปน็ ผผู้ ลิตอาหาร (food-producer) โดยพบหลักฐานว่ามีการเพาะปลูกข้าวเป็น ครั้งแรกที่เมืองจาร์โม (Jarmo) ทางภาคเหนือของเมโสโปเตเมีย เมื่อประมาณ 6,750 ปีก่อนคริสตกาล มนุษย์เร่ิมรู้จักการ ชลประทานอย่างง่ายๆ ทาอ่างเก็บน้า ทานบกั้นน้า และพยายามเรียนรู้ที่จะควบคุมธรรมชาติ และแสวงหาประโยชน์ จากธรรมชาติ การผลิตเคร่ืองปั้นดินเผาชี้ให้เห็นว่า มนุษย์เริ่มสะสมอาหารไว้ให้เพียงพอต่อการบริโภค เม่ือมนุษย์ยุคหินใหม่ เปลี่ยนชีวิตจากการเป็นนักล่าสัตว์มาเป็นกสิกร วิถีการดารงชีวิตก็เปลี่ยนจากการเร่ร่อนมาเป็นการต้ังหลักแหล่งอยู่กับท่ี มีการ สรา้ งบ้านเรือนอยู่อย่างถาวรในบริเวณท่ีมีแหล่งน้าอุดมสมบูรณ์ จากครอบครัวหลายครอบครัวกลายเป็นหมู่บ้านเล็กๆ เกิดเป็น สังคมชนเผา่ (tribal societies) คนในสังคมจะมภี าษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมเดียวกัน และเพ่ือความเป็นระเบียบ เรียบร้อยของสังคม ทาให้เกิดกฎหมายและกฎข้อบังคับในหมู่บ้านขึ้น มีหัวหน้าปกครอง หมู่บ้านกสิกรเหล่าน้ีเองคือชุมชนแห่ง แรกของโลก ซ่ึงเป็นสังคมโบราณที่เก่าแก่ท่ีสุดเท่าท่ีพบหลักฐานมา อยู่ท่ีเขตตะวันออกกลางแถบประเทศตุรกี ซีเรีย อิสราเอล อิรัก อิหร่าน และอียิปต์ ในปัจจุบันเม่ือชุมชนของมนุษย์มีขนาดใหญ่โตขึ้น ก็เกิดมีบ้านเมืองตามลุ่มแม่น้าใหญ่ๆ พร้อมกับ สรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมของตนขนึ้ มา สาหรับท่ีจังหวัดกาญจนบุรี พบที่หมู่บ้านเก่าตาบลจระเข้เผือก อาเภอเมือง และที่ถ้าเขาสามเหล่ียม ตาบลช่องสะเดา อาเภอเมือง ที่จังหวัดลพบุรี พบที่บ้านโคกเจริญ ตาบลบัวชุม และท่ีเนินคลองบารุง ตาบลหนองยายโต๊ะ อาเภอชัยบาดาลสว่ นทีจ่ ังหวดั นครศรธี รรมราชพบท่นี พพติ า อาเภอทา่ ศาลา และจงั หวดั กระบี่ พบท่อี าเภออา่ วลึก เคร่ืองปั้นดินเผายุคหินใหม่นี้มีหลายรูปแบบล้วนมีความประณีต สวยงามด้วยเทคนิคท่ีขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน แมว้ า่ บางแหลง่ ยังคงขึน้ รูปอสิ ระด้วยมอื สืบตอ่ มากต็ าม รปู แบบของภาชนะมีทงั้ หมอ้ ก้นกลม หม้อสามขา และพาน ซ่ึงล้วนมีเนื้อ ดนิ ปั้นบางลง เน้ือดินละเอียดขึน้ และมีสตี า่ งๆ ท้งั สดี า สแี ดง สีเทา และสีน้าตาล ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับลักษณะส่วนผสมของดินและการ เผาภาชนะเหลา่ น้มี ที ้ังแบบเรียบและทีม่ กี ารตกแตง่ ดว้ ยลายเชือกทาบและลายขูดขดี

ยุคโลหะ ยุคโลหะมีอายุระหว่าง ๕,๖๐๐-๑,๗๐๐ ปีมาแล้ว เร่ิมจากมนุษย์รู้จักใช้ทองแดงและสาริดมาประกอบเป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ และเคร่ืองประดับ มนษุ ย์สมัยนี้พัฒนากิจกรรมการเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว์ให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน ในยุคนี้มีการ เปลย่ี นแปลงในด้านความเป็นอยขู่ องสงั คมและการเมืองอยา่ งมาก ได้เปลี่ยนสภาพความเป็นอยู่จากชุมชนกสิกรรมขนาดใหญ่มา เป็นเมอื งอย่างแท้จริง คือ เมืองเป็นศูนย์กลางของการกสิกรรม การปกครองและสังคมในเวลาเดียว ผู้ที่อยู่ในเมืองมิได้มีแต่พวก กสกิ รเทา่ นนั้ แตย่ งั มชี า่ งฝีมือ นักรบ และพระผทู้ าหน้าท่ปี กครองบรหิ ารเมือง ในยุคสาริด สังคมขยายตัวมากขึ้น จึงจาเป็นต้องมีคนท่ีทาหน้าที่ต่างๆ กันหลายด้าน เช่น พระทาหน้าท่ีเซ่นสรวงบูชา ติดต่อกับเทพเจ้าให้ประทานความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ชุมชน กษัตริย์ทาหน้าท่ีปกครองบ้านเมือง เป็นต้น โครงสร้างความสัมพันธ์แบบเครือญาติท่ีเคยเป็นมาแต่เดิมจะเปลี่ยนไปเป็นโครงสร้างที่อาศัยอาชี พและตาแหน่งหน้าท่ี เป็นเกณฑ์ในการกาหนดกลุ่มคนและความสัมพันธ์ทางสังคม ซึ่งมักแบ่งออกได้ดังน้ี คือ ชนช้ันสูง ได้แก่ พระ ขุนนาง กษัตริย์ นักรบ ชนช้ันกลาง ได้แก่ พ่อค้า ช่างฝีมือ ชาวนา และชนช้ันต่า ได้แก่ ทาส การแบ่งงานและหน้าที่มีผลต่อ การเพิ่มผลผลิต คือ แต่ละคนทางานตามความถนัด ซ่ึงจะได้งานมากขึ้นจนกลายเป็นส่วนเกินไว้แลกเปล่ียน เกิดมีการค้าขายแลกเปล่ียนสินค้ากัน มนุษย์สมัยน้ีเริ่มรู้จักใช้ภาพส่ือความเข้าใจกัน เป็นต้นกาเนิดของการประดิษฐ์ตัวอักษร ซึ่งทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงยุคสมัยไปสู่ยุคประวัติศาสตร์ มีการรวมกลุ่มเป็นชุมชนเมืองซ่ึงจะพัฒนาไปสู่นครรัฐ มีการคิดค้นและใช้เทคโนโลยีง่ายๆ เช่น การใช้ลูกล้อในการขนส่งทางบกและในพลังงานจักรกล การใช้คันไถไม้ และเริ่มการ เดินเรอื เคร่ืองป้ันดินเผาในยุคน้ีมีความสวยงามมาก บางแหล่งแสดงให้เห็นว่ามีการทาอย่างพิถีพิถันอย่างย่ิง และทาควบคู่ไปกับการผลิตเครื่องใช้โลหะท่ีมีทั้งสาริด ทองแดง และเหล็ก แสดงถึงความเจริญในเรื่องเทคโนโลยีที่ พัฒนาขน้ึ อย่างมาก เป็นที่น่าสังเกตว่า ในขณะท่ีการหล่อโลหะทาได้ดี แต่เคร่ืองปั้นดินเผากลับไม่ค่อยได้รับความสนใจเท่าท่ีควร มี ก า ร ต ก แ ต่ ง แ บ บ เ รี ย บ ง่ า ย เ ช่ น ท า น้ า ดิ น สี แ ด ง ท่ั ว ไ ป ไ ม่ เ ขี ย น ล ว ด ล า ย ห รื อ ท า ข น า ด เ ล็ ก ๆ การตกแต่งเครื่องปั้นดินเผาท่ีสาคัญมีพบท่ีโนนนกทา อาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่นที่บ้านเชียง อาเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานีบ้านปราสาท ตาบลธารปราสาท อาเภอโนนสูงจังหวัดนครราชสีมา และบ้านดอนตาเพชรอาเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี เคร่ืองปั้นดินเผาดังกล่าวจะมีลักษณะพิเศษที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถ่ิน อาทิท่ีบ้านเชียง จะมีการพัฒนาลวดลาย ตกแต่งภาชนะต่างๆ ด้วย ซึ่งในระยะแรกภาชนะเป็นสีดา เขียนลาดลายด้วยวิธีขูดขีดลงไปในเน้ือดินปั้น ในระยะต่อมามีการใช้ดินสีแดงเขียนเป็นลายต่างๆ โดยเฉพาะลายก้านขดและในระยะหลังก็มีการตกแต่งน้อยลง เพียงแต่ทาด้วยน้าดินสีแดงเรียบๆ เท่าน้ัน สาหรับเครื่องปั้นดินเผาที่บ้านปราสาท มีรูปแบบที่โดดเด่น คือหม้อมีเชิง การแบง่ ยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์สากล ประวัติศาสตร์สากลในที่นี้จากัดขอบเขตเฉพาะประวัติศาสตร์ ยุโรป แอฟริกาโดยกล่าวถึงเกณฑ์การแบ่งยุคและ เหตุการณ์สาคญั ดังน้ี การแบง่ ยุคสมยั ทางประวัติศาสตรย์ โุ รป ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ยุคก่อนประวัติศาสตร์เป็นยุคท่ีมนุษย์เริ่มรู้จักดัดแปลงวัสดุตามธรรมชาติมาเป็นเคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ในการยังชีพ ที่สาคัญได้แก่ การนาก้อนหินมากะเทาะ ให้มีคม ดัดแปลงเป็นเคร่ืองมือสับ ตัด ขูด เพ่ือยังชีพ โดยอาศัย ตามถา้ เก็บพชื ผกั ตามธรรมชาติ ลา่ สตั วเ์ ป็นอาหาร อยไู่ ม่เปน็ หลักแหลง่ ยุคหนิ แบ่งเป็นยุคหินเก่า และยุคหนิ ใหม่ พบในบริเวณ ตา่ ง ๆ ทว่ั โลกแตล่ ะแห่งมวี วิ ัฒนาการคลา้ ยกัน (แต่อยู่ในช่วงเวลาไม่เทา่ กัน)

1. ยคุ หินเกา่ ( Paleolithic หรือ The Old Stone Age ) พัฒนาการในยคุ หินเก่า สรุปได้ดงั น้ี ระยะเวลาโดยประมาณ ชอื่ เรยี กมนษุ ย์กอ่ นประวัติศาสตร์ เร่ืองที่คน้ พบ และเครอื่ งมือหนิ 2 ลา้ นปี Australopitheecus เรยี กกนั ว่า มนุษย์วานร 1.75 ลา้ นปี Homo habilis 1.5 ลา้ นปี Homo erectus หินเก่าตอนตน้ เครื่องมือแบบเชลลนี พบมาก เคร่อื งมอื หนิ กะเทาะหรือขวานกาป้ัน ใช้สับ ตัด ขูด ตอนกลางของยโุ รปและเครื่องมือ มนษุ ยไ์ ฮเดนเบริ ์กมนุษย์ชวา มนุษยป์ ักก่งิ ในเอเซยี แบบอาชลีน หินเกา่ ตอนกลาง เครือ่ งมือแบบมสู ์เตเรยี น ปลาย มนุษยน์ ีแอนเดอธัล (Neanderthal Man) กะโหลก ประมาณ 150,000 ปี ระหว่าง แหลม ศรี ษะแบน หนา้ ผากลาด เรม่ิ รู้จักศลิ ปะวาดภาพ หิมะละลาย สตั ว์บนผนงั ถา้ เริ่มมีพธิ ีฝงั ศพ หนิ เก่าตอนปลาย มนษุ ยโ์ ครมันยอง (Cro-magnonan) พบที่ฝรง่ั เศส ประมาณ 40,000 ปี ระยะที่ 4 เครอ่ื งมือแบบแมกดาเลเนยี น เคร่อื งมือทาจากกระดูก เขาสัตว์ เคร่ืองประดบั ของยุคนา้ แข็งสดุ ท้าย หลายรปู แบบ ภาพเขยี นในถา้ ท่ีเสปนและฝร่งั เศส ตัวอย่างหลักฐานยุคหินเกา่ ซ่งึ แบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนตน้ ตอนกลางและตอนปลาย ยคุ หนิ เก่าตอนตน้ เคร่ืองมือหินกะเทาะ ได้แก่ ขวานมือหรือ ขวานกาปั้น พบมากในยุโรปตอนกลาง อายุใกล้เคียงกับ มนุษย์ชวา และมนุษย์ปักก่ิง ท่ีพบในเอเซีย มนุษย์บางกลุ่ม เช่น มนุษย์ไฮเดนเบิร์ก สามารถพัฒนาเครื่องมือให้มีประสิทธิภาพ มากขึน้ เชน่ เครอ่ื งมอื หนิ กะเทาะแบบอาชลีน (Acheulean) เป็นตน้ ยคุ หนิ เก่าตอนกลาง รูปรา่ งของเครื่องมอื หินกะเทาะแบบน้ีมปี ลายคอ่ นขา้ งแหลม มนุษย์กลุ่มท่ีทาเครื่องแบบน้ี ได้แก่ นแี อนเดอธลั (Neanderthal) ในเยอรมนั นี เคร่อื งมือหินกะเทาะที่ทาขึ้นเรยี กกันวา่ แบบมูสเ์ ตเรียน (Mousterian) ยุคหินเก่าตอนปลาย เป็นผลงานของมนุษย์โครมันยอง เรียกกันว่าแบบแมกดาเลเนียน (Magdalenian ) ซึ่งนอกจาก ทาดว้ ยหนิ ไฟแลว้ ยังนากระดกู สัตวเ์ ขาสตั ว์ เปลือกหอยและงาช้าง มาใช้ ประโยชน์ เคร่ืองมือสมัยน้ีมีความประณีตมาก รู้จักใช้ มีดมีด้าม ทาเข็มจากกระดูกสัตว์ มีการฝนและขัดเครื่องมือให้เรียบและคม ใช้ประโยชน์ได้หลายด้านมากข้ึน เคร่ืองมือหินของ พวกโครมันยองแบบแมกดาเลเนียนจัดเป็นแบบสุดท้ายของยุคหินเก่าตอนปลาย มีพัฒนาการมากขึ้นรู้จักประดิษฐ์เข็มทาจาก กระดูกสตั ว์ แสดงวา่ เรมิ่ รจู้ ักการเยบ็ เครอ่ื งนงุ่ หม่ จากหนังสตั ว์ และทาเครือ่ งมอื เครือ่ งใช้หลากหลายมากข้ึน เช่นฉมวกจับปลา เป็นตน้ ที่สาคัญคือ เร่ิมรู้จักทาเครื่องประดับและวาดภาพในผนังถ้า ศิลปะแบบแมกดาเลเนียนท่ีมีชื่อเสียงท่ีสุด ได้แก่ ภาพวาด บนผนังถ้าในประเทศฝรัง่ เศสและสเปน

ใบกจิ กรรมที่ 1 ประวัติศาสตรส์ ากล ส 31102 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เรอื่ ง เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์ ครูศริ ิมา เมฆปัจฉาพิชิต ชอื่ -สกุล .............................................................................. ชัน้ ............... เลขท่ี ............ คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาคน้ คว้าเรื่องเวลาและยุคสมัยทางประวัตศิ าสตรพ์ ร้อมอธิบายหัวขอ้ ตา่ งๆในแบบกจิ กรรมนี้ การแบง่ ชว่ งเวลาตามแบบสากล 1. สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ ................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... .... แสดงการแบ่งยุคสมยั ก่อนประวตั ิศาสตรใ์ นระบบสากล 1. ยคุ หนิ เก่า ............................................................................................................................. ..................................................... ........................................................................................................................................ ................................................................. 2. ยคุ หนิ กลาง ................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................................ 3. ยุคหนิ ใหม่ ............................................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ............................................................................ 4. ยุคสาริด (ทองแดงผสมดบี ุก) ............................................................................................................................. ........................ .......................................................................................................... ............................................................................................... 5. ยุคเหลก็ ............................................................................................................................. ........................................................ ............................................................................................................................. ............................................................................ 2. สมัยประวตั ิศาสตร์ .................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... 1) ประวัตศิ าสตรส์ มยั โบราณ .................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .................................... 2) ประวัติศาสตรส์ มัยกลาง .................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... 3) ประวตั ิศาสตรส์ มยั ใหม่ ............................................................................................................................. ................................. ........................................................................................................................................................................... .............................. 4) ประวัตศิ าสตรร์ ่วมสมัย .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................ การแบ่งยคุ สมยั ดังกลา่ ว นิยมใชก้ นั อย่างแพร่หลาย ทาให้เข้าใจชว่ งเวลาตา่ งๆ ไดง้ ่าย เพราะไม่ได้มกี ารกล่าวถงึ ศักราช แตใ่ นประวัตศิ าสตรไ์ ทยไม่ค่อยนิยมใช้ มกั จะใช้อาณาจักรหรือราชธานีเป็นตวั กาหนดแทน

การแบง่ ช่วงเวลาตามแบบไทยการแบ่งช่วงเวลาทางประวตั ศิ าสตร์ไทย จะมีความสอดคล้องและความแตกต่างจากแบบ สากล กลา่ วคือในส่วนท่ีสอดคล้อง คอื ในสมยั ก่อนประวตั ิสาสตรจ์ ะมกี ารแบ่งยุคหนิ และยคุ โลหะ แต่ในความแตกต่าง เม่ือมาถงึ สมยั ประวัติศาสตรจ์ ะจดั แบ่งตามความเหมาะสมกบั สภาพสังคมไทย ดงั รปู แบบต่อไปน้ี 1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ............................................................................................................................. ................................ ................................................................................. ........................................................................................................................ ซ่งึ สามารถแบ่งการดารงชีวิตของมนษุ ย์สมยั กอ่ นประวตั ศาสตร์ในประเทศไทยออกเป็นดังน้ี 1). ยุคหนิ เปน็ ยคุ สมยั เริ่มแรกท่มี นุษยอ์ ยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มขนาดเลก็ ไม่มอี ยู่อาศยั แน่นอน เคล่ือนย้ายไปเร่ือยๆ อาศยั เครอ่ื งมอื หินกะเทาะเพื่อการลา่ สัตว์ และปอ้ งกนั ตวั ซ่งึ ในยุคหนิ นจ้ี ะสามารถแบ่งเปน็ 3 ยุค ดังน้ี ยคุ หินเกา่ ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................................ ยคุ หินกลาง ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. ............................................................................ ยุคหนิ ใหม่ ................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................. ............ 2.) ยุคโลหะ เปน็ ยุคทมี่ นุษย์รู้จกั ใช้แร่ธาตุมาประดิษฐ์เปน็ อุปกรณ์เครื่องใช้ตา่ งๆ ซ่งึ สามารถแบ่งเปน็ 2 ยคุ ย่อย ไดแ้ ก่ ยุคสาริด .................................................................................................................... ............................................ ......................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............. ยุคโลหะ ............................................................................................................. ............................. ......................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... .................................................... ......................................................................................................................................................................................................... 2. สมยั ประวัติศาสตร์ไทย ..................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................ ................................................................. .............................................................................................................................................................................................. ........... กล่าวโดยสรุป การแบ่งชว่ งเวลาทางประวตั ศิ าสตรไ์ ทย สามารถจัดแบง่ อยา่ งกวา้ งๆ ได้เป็น 2 ชว่ ง ดงั น้ี 1) สมัยก่อนประวัติศาสตร์ไทย ........................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... 2) สมัยประวัติศาสตร์ไทย ............................................................................................................................. ............. ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ....

ใบกจิ กรรมท่ี 1 ประวตั ศิ าสตร์สากล ส 31102 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 เรือ่ ง เวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ ครูศริ ิมา เมฆปจั ฉาพิชติ ชอื่ -สกุล .............................................................................. ชั้น ............... เลขที่ ............ คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนศกึ ษาคน้ คว้าเรื่องเวลาและยคุ สมยั ทางประวัติศาสตรพ์ ร้อมอธบิ ายหัวขอ้ ต่างๆในแบบกจิ กรรมน้ี การแบง่ ชว่ งเวลาตามแบบสากล 1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นสมัยท่ีมนุษย์ยังไม่มีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้บันทึกเร่ืองราวต่างๆ จึงต้องอาศัยการ วิเคราะห์ตีความจากหลักฐานท่ีมีการค้นพบ เช่น เคร่ืองมือเครื่องใช้ โครงกระดูก งานศิลปะต่างๆ โดยรวมจะเห็นว่าในช่วง สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรน์ ี้ เคร่อื งมือเครื่องใชต้ า่ งๆ มกั ทาดว้ ยหนิ และโลหะ จึงเรยี กว่า ยคุ หิน และยคุ โลหะ แสดงการแบ่งยุคสมัยก่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นระบบสากล 1. ยคุ หนิ เก่า 1,700,000-10,000 ปี กอ่ นปจั จบุ นั มกี ารลา่ สตั วเ์ ป็นอาหาร อาศัยอย่ใู นถ้าใชเ้ ครื่องมือหนิ แบบหยาบๆ รจู้ ัก เขยี นภาพตามผนังถา้ 2. ยคุ หนิ กลาง 10,000-5,000 ปี กอ่ นปัจจุบนั มกี ารดารงชวี ติ เหมอื นยุคหนิ เกา่ รจู้ ักทาเคร่ืองมือหนิ ให้มีความประณตี ยิ่งขนึ้ ร้จู กั ทาเคร่ืองปัน้ ดนิ เผาใหม้ ีผิวเรยี บ 3. ยคุ หินใหม่ 5,000-2,000ปี ก่อนปจั จบุ ัน เรมิ่ รจู้ กั การเพาะปลูก เล้ยี งสัตว์ ตั้งหลักแหลง่ ทถ่ี าวร รจู้ กั ทาเครื่องมอื หนิ ขดั เครอื่ งป้นั ดินเผาและเครอื่ งประดบั 4. ยคุ สารดิ (ทองแดงผสมดบี ุก) 3,500-2,500ปี กอ่ นปัจจบุ ัน อาศยั อยเู่ ปน็ ชมุ ชน ดารงชวี ิตด้วยการเพาะปลกู เช่น ปลูก ขา้ ว เล้ยี งสตั ว์ เปน็ ตน้ ร้จู ักทาเครอ่ื งมือเครอื่ งใช้ เครื่องประดบั ด้วยสาริด 5. ยคุ เหลก็ 2,500-1,500ปี ก่อนปจั จบุ นั มกี ารตดิ ต่อค้าขายกับดินแดนอน่ื เคร่อื งมือเครื่องใช้ทาด้วยเหล็ก 2. สมัยประวัติศาสตร์ เริ่มต้นเมื่อมนุษย์เริ่มรู้จักคิดประดิษฐ์ตัวอักษรข้ึน เพื่อใช้บันทึกเรื่องราวต่างๆ ท่ีเกี่ยวกับความ เช่ือและพิธีกรรม จึงทาให้รับรู้เรื่องราวทางประวัติสาสตร์ให้มากข้ึน การบันทึกในระยะแรกจะปรากฎอยู่ในกระดูก ไม้ไผ่ แผ่น หิน ใบลาน เป็นตน้ สมยั ประวตั ิศาสตรน์ ยิ มแบ่งเปน็ ช่วงเวลาต่างๆ ดังนี้ 1) ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ แต่ละประเทศจะเริ่มไม่พร้อมกัน ในสมัยประวัติศาสตร์สากลเร่ิมตั้งแต่อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมลมุ่ แม่นา้ ไนล์ อารยธรรมกรกี -โรมนั และสน้ิ สุดใน ค.ศ.476 เมอื่ กรงุ โรมแตก 2) ประวตั ิศาสตร์สมยั กลาง เรม่ิ ภายหลังทีก่ รงุ โรมแตกในค.ศ. 476 จนกระทั่งค.ศ. 1453 เมื่อพวกท่ีนับถอื ศาสนาอิสลามตีกรุง คอนสเตนติโนเปิลของโรมันตะวันออกแตกจนกระทงั่ สิน้ สุดสงครามโลกครั้งท่ี 2 3) ประวัตศิ าสตรส์ มัยใหม่ เริม่ หลงั จากท่ีกรุงคอนสเตนติโนเปิลแตกจนกระทงั่ ส้ินสดุ สงครามโลกคร้ังที่ 2 4) ประวตั ิศาสตร์ร่วมสมยั เร่ิมภายหลงั ส้ินสดุ สงครามโลกครงั้ ที่ 2 จนถงึ ปัจจบุ ัน การแบ่งยุคสมัยดังกล่าว นยิ มใช้กนั อย่างแพร่หลาย ทาให้เข้าใจช่วงเวลาต่างๆ ได้ง่าย เพราะไม่ได้มีการกล่าวถึงศักราช แตใ่ นประวตั ศิ าสตรไ์ ทยไม่คอ่ ยนยิ มใช้ มกั จะใช้อาณาจักรหรือราชธานเี ปน็ ตัวกาหนดแทน การแบง่ ช่วงเวลาตามแบบไทยการแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตรไ์ ทย จะมีความสอดคล้องและความแตกตา่ งจากแบบ สากล กลา่ วคือในสว่ นที่สอดคล้อง คอื ในสมัยก่อนประวตั ิสาสตรจ์ ะมีการแบ่งยคุ หินและยคุ โลหะ แตใ่ นความแตกต่าง เม่อื มาถงึ สมยั ประวัตศิ าสตร์จะจัดแบง่ ตามความเหมาะสมกบั สภาพสงั คมไทย ดังรูปแบบต่อไปน้ี

1. สมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ เป็นช่วงทย่ี งั ไม่มีการใชต้ ัวอักษรในการบนั ทึกเรือ่ งราวตา่ งๆ จะอาศัยหลกั ฐานท่ีมกี ารขุดค้นพบเพื่อ การวิเคราะห์ตีความ เชน่ โครงกระดูก เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ซง่ึ สามารถแบ่งการดารงชีวิตของมนุษยส์ มัยก่อนประวัตศาสตร์ ในประเทศไทยออกเปน็ ดังน้ี 1). ยุคหิน เป็นยุคสมยั เร่ิมแรกทมี่ นุษยอ์ ยูร่ ว่ มกนั เปน็ กลุ่มขนาดเล็ก ไม่มีอยู่อาศยั แน่นอน เคลอื่ นยา้ ยไปเรื่อยๆ อาศัย เครอ่ื งมอื หินกะเทาะเพื่อการลา่ สตั ว์ และปอ้ งกันตัว ซึ่งในยคุ หินนจี้ ะสามารถแบง่ เป็น 3 ยุค ดังนี้ ยคุ หินเกา่ จะเป็นพวกแร่ร่อน อาศัยตามถ้า ใชเ้ ครื่องมือหนิ กรวดกะเทาะดา้ นเดยี วทไี่ มม่ ีความประณตี เช่น ขวานหนิ กาปั้น หลักฐานที่พบในประเทศไทย ไดแ้ ก่ บริเวณบา้ นแม่ทะ และบ้านดอลมลู จ. ลาปาง รวมถงึ ที่บา้ นเก่า ต. จระเขเ้ ผือก อ. เมอื ง จ.กาญจนบุรี ยุคหินกลาง จะเริ่มมีพฒั นาการท่ดี ีขึน้ โดยเครื่องมือหินจะมีความประณตี ยงั อาศยั อยใู่ นถ้า และนาเอาวสั ดธุ รรมชาตมิ า ดดั แปลงเปน็ ยอปุ กรณ์ในการดารงชวี ิต ซง่ึ พบได้จากเคร่ืองประดับเครื่องป้ันดินเผา หลกั ฐานท่พี บในประเทศไทย ได้แก่ บรเิ วณ ถ้าผี จ.แม่ฮอ่ งสอน ยุคหินใหม่ มนุษย์ในยุคนี้จะเร่ิมรู้จักการเพาะปลูก เล้ียงสัตว์ และต้ังหลักแหล่งที่อยูอาศัย มีการสร้างเคร่ืองมือ ที่ เรียกว่า ขวานหิานขัด หรือขวานฟ้า รวมทั้งการสร้างภาชนะเคร่ืองปั้นดินเผา และการนากระดูกสัตว์มาประยุกต์ดัดแปลงเป็น เคร่ืองใช้ไม้สอยต่างๆ หลักฐานที่พบในประเทศไทย ได้แก่ บริเวณบ้านโนนกทา ต.บ้านนาดี อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น และที่ถ้าผา แตม้ อ.โขงเจยี น จ. อุบลราชธานี 2.) ยุคโลหะ เปน็ ยุคทมี่ นษุ ย์รู้จักใชแ้ ร่ธาตมุ าประดษิ ฐ์เป็นอุปกรณเ์ ครื่องใชต้ ่างๆ ซ่ึงสามารถแบ่งเปน็ 2 ยคุ ย่อย ไดแ้ ก่- ยุคสาริด โดยมนุษย์ในยุคน้ีมีพัฒนาการความคิดในการประดิษฐ์เคร่ืองมือต่างๆ โดยเอาสาริด คือ แร่ทองแดงผสมกับ ดีบุก มาหลอ่ หลอมเปน็ อปุ กรณ์ตา่ งๆ ใชใ้ นการดารงชวี ติ รวมถึงมีการสรา้ งสรรค์ผลงานเครือ่ งปนั้ ดนิ เผาที่มีลวดลายสวยงามเป็น เอกลกั ษณเ์ ดน่ หลกั ฐานท่พี บในประเทศไทย ได้แก่ บา้ นเชยี ง อ.หนองหาน จ.อุดรธานี ยุคโลหะ มนุษย์ในยุคน้ีจะเป็นชุมชนเกษรที่มีการขยายตัวใหญ่ขึ้น มีการติดต่อกับชุมชนอื่นๆ เกิดการแลกเปลี่ยน วัฒนธรรม สาหรับเครอื่ งมือเคร่อื งใชต้ ่างๆ จะนาเอาแร่เหล็กมาหลอมสร้างเป็นอุปกรณ์ เนื่องจากจะมีความทนแข็งแรงมากกว่า รวมถึงรู้จักการสร้างพิธีกรรมโดยอาศัยภาชนะดินเผาต่างๆ ตกแต่งให้เกิดความสวยงาม หลักฐานท่ีพบในประเทศไทย ได้แก่ บ้านดอลตาเพรช อ.พนมทวน จ.กาญจบุรี รวมถงึ หมู่บา้ นใหม่ชัยมงคล จ. นครสวรรค์ 2. สมยั ประวัติศาสตร์ไทย การเขา้ สู่ช่วงเวลาสมัยประวัติศาสตร์ไทย นักวิชาการได้กาหนดจากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ท่ีเก่าแก่ท่ีสุดท่ีพบในเมืองไทย คือ ศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พ.ศ. 1826 สาหรับการแบ่งยุคสมัยของไทย นิยม แบ่งตามราชอาณาจักรหรือราชธานี คือ สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี และรัตนโกสินทร์ หรือแบ่งตามลักษณะทางการ เมืองการปกครองเป็นสมัยสมบูรณาญาสิทธิราช สมัยประชาธิปไตยเป็นต้น กล่าวโดยสรุป การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ ไทย สามารถจดั แบง่ อย่างกว้างๆ ไดเ้ ปน็ 2 ชว่ ง ดงั น้ี 1) สมัยก่อนประวัติศาสตร์ไทย เป็นสมัยท่ีมนุษย์ยังไม่มีการคิดตังอักษรขึ้นใช้สาหรับบันทึกเร่ืองราวต่างๆ การศึกษาทาง ประวัตศิ าสตร์ จึงต้องอาศยั การวิเคราะหแ์ ละตีความจากหลักฐาน ชนั้ ตน้ ท่ีได้จากการค้นพบตามท้องท่ีต่างๆในประเทศไทย เช่น เครื่องมือ เครื่องใช้ที่ทาด้วยหิน โลหะสาริด เหล็ก เคร่ืองประดับ ภาชนะดินเผา โครงกระดูก ภาพเขียนสีตามผนังถ้า เป็นต้น โดยแบง่ เปน็ ยุคสมยั ต่างๆ ตามพัฒนาการทางด้านเทคโนโลยเี ครื่องมอื เคร่ืองใช้ 2) สมยั ประวัติศาสตรไ์ ทย เป็นช่วงเวลาทีม่ นษุ ยไ์ ดม้ กี ารประดิษฐ์คิดค้นตัวอักษรขึ้นใช้แล้ว นักวิชาการจึงอาศัยหลักฐานที่ เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรเช่น จารกึ จดหมายเหตบุ นั ทกึ การเดินทาง พงศาวดาร เป็นต้น และหลักฐานท่ีไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ท้ัง ที่เป็นโบราณสถาน เช่น เจดีย์ปราสาทหิน วัด เป็นต้น และโบราณวัตถุ เช่น พระพุทธรูป เงินเหรียญ เคร่ืองมือเคร่ืองใช้รวมทั้ ง งานศิลปะตา่ งๆ เปน็ ต้น มาเป็นข้อมลู ในการวเิ คราะหต์ ีความ เพื่อใหท้ ราบประวตั ิความเปน็ มาในอดตี ให้ชดั เจนมากยง่ิ ขน้ึ

แบบฝกึ หัดที่ 1 ประวตั ศิ าสตร์สากล ส 31102 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรอ่ื ง ศกั ราชและการคานวณ ครศู ริ ิมา เมฆปัจฉาพิชติ ชื่อ-สกุล .............................................................................. ชัน้ ............... เลขท่ี ............ คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอา่ นเหตุการณ์ในตารางแล้วคานวณศกั ราชให้ถูกต้อง ขอ้ เหตุการณ์ พ.ศ. ม.ศ. จ.ศ. ร.ศ. ค.ศ. ฮ.ศ. 1 นักเรียนเตรียมอุดม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมท้ังนิสิต นักศึกษาและนกั เรียนเตรียมปริญญา มหาวทิ ยาลยั วชิ าธรรมศาสตร์ และการเมือง ร่วม เดินขบวนเพ่ือสนับสนุนรัฐบาลในการเรียกร้อง 1862 ดินแดนอินโดจีนที่สูญเสียไปในสมัยรัชกาลที่ 5 คืนจากฝรั่งเศส นับเปน็ การเดนิ ขบวนครงั้ แรกในประวตั ิศาสตร์ไทย 8 ตุลาคม พ.ศ. 2483 2 สาธารณรัฐหมู่เกาะฟิจิได้รับเอกราช จาก สหราชอาณาจักร เมื่อ 1332 วนั ท่ี 10 ตุลาคม พ.ศ.2513 3 พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงสาธิตให้ผู้แทนรัฐบาลสิงคโปร์ชม 191 การทดลองฝนหลวง 19 ตุลาคม พ.ศ.2515 4 ประเทศลาวไดร้ ับเอกราชคืนจากประเทศฝรง่ั เศส 22 ตุลาคม พ.ศ. 1953 2496 5 มีการประชุมทั่วไปของสหประชาชาติเป็นครั้งแรก 23 1308 ตลุ าคม พ.ศ.2489 6 เบนจามิน แฟรงคลิน ค้นพบประจุไฟฟ้าในอากาศ 15 2295 มิถุนายน พ.ศ.2295 7 เจ้าหญงิ ไดอานา เสยี ชีวติ ทกี่ รุงปารีส 31 สิงหาคม พ.ศ.2540 1997 8 ยานอวกาศ มารส์ พาทไฟนเ์ ดอร์ ของสหรฐั อเมริกา ลงจอดบนดาว 1919 องั คารเปน็ ผลสาเร็จ 4 กรกฎาคม พ.ศ.2540 9 เกิดเหตกุ ารณ์ 8888 ในประเทศพม่า 8 สงิ หาคม พ.ศ.2531 207 10 เกิดเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ (Black May) 17 พฤษภาคม พ.ศ. 211 2535 11 ยานขนส่งอวกาศ สเปช ชัตเติล ทดลองบินในชั้นบรรยากาศเป็น 1899 ครัง้ แรก 12 สิงหาคม พ.ศ.2520 12 ลเู ทอร์ เทอร่ี แพทย์ชาวอเมรกิ าแถลงข่าวว่าการสูบบุหร่ีเป็นสาเหตุ 1385 ของโรคมะเร็งปอดและโรครา้ ยอน่ื ๆ 11 มกราคม พ.ศ.2507 13 คณะราษฎรประกาศใช้รัฐธรรมนูญปกครองแผ่นดินสยามช่ัวคราว 2475 พุทธศักราช 2475 27 มิถุนายน พ.ศ.2475 14 อดอลฟ์ ฮิตเลอร์ ข้นึ เปน็ ผู้นาของเยอรมนี 2 สิงหาคม พ.ศ.2477 1355 15 หมอบรดั เลย์ หมอสอนศาสนาชาวอเมรกิ นั เร่มิ การผ่าตัดครั้งแรกใน 1199 ประเทศไทย 13 มกราคม พ.ศ.2380

ฉบบั เฉลย แบบฝึกหดั ท่ี 1 ประวตั ศิ าสตรส์ ากล ส 31102 ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 เรอื่ ง ศกั ราชและการคานวณ ครูศริ ิมา เมฆปัจฉาพชิ ติ ชอ่ื -สกุล .............................................................................. ชั้น ............... เลขท่ี ............ คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นอ่านเหตกุ ารณใ์ นตารางแล้วคานวณศกั ราชใหถ้ กู ต้อง ข้อ เหตกุ ารณ์ พ.ศ. ม.ศ. จ.ศ. ร.ศ. ค.ศ. ฮ.ศ. 1 8 ตลุ าคม นักเรียนเตรียมอุดม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมทั้ง นิสิต นักศึกษาและนักเรียนเตรียมปริญญา มหาวิทยาลัยวิชา ธรรมศาสตร์และการเมือง ร่วมเดินขบวนเพื่อสนับสนุนรัฐบาลใน 2483 1862 1302 159 1940 1361 การเรียกร้องดินแดนอินโดจีนที่สูญเสียไปในสมัยรัชกาลท่ี 5 คืน จากฝรั่งเศส นบั เป็นการเดนิ ขบวนครง้ั แรกในประวัตศิ าสตรไ์ ทย 2 10 ตุลาคม สาธารณรัฐหมู่เกาะฟิจิได้รับเอกราช จาก สหราช 2513 1892 1332 189 1970 1391 อาณาจักร เมือ่ วนั ที่ 3 19 ตุลาคม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสาธิตให้ผู้แทน 2515 1894 1334 191 1972 1393 รัฐบาลสงิ คโปร์ชมการทดลองฝนหลวง 4 22 ตุลาคม ประเทศลาวได้รับเอกราชคืนจากประเทศฝรง่ั เศส 2496 1875 1315 172 1953 1374 5 23 ตลุ าคม มีการประชุมทวั่ ไปของสหประชาชาตเิ ปน็ ครั้งแรก 2489 1868 1308 165 1946 1367 6 15 มถิ นุ ายน เบนจามิน แฟรงคลิน ค้นพบประจไุ ฟฟา้ ในอากาศ 2295 1674 1114 -29 1752 1173 7 31 สงิ หาคม เจ้าหญิงไดอานา เสียชีวิตที่กรุงปารีส 2540 1919 1359 216 1997 1418 8 4 กรกฎาคม ยานอวกาศ มาร์ส พาทไฟน์เดอร์ ของ 2540 1919 1359 216 1997 1418 สหรฐั อเมริกา ลงจอดบนดาวองั คารเป็นผลสาเร็จ 9 8 สงิ หาคม เกิดเหตุการณ์ 8888 ในประเทศพมา่ 2531 1910 1350 207 1988 1409 10 17 พฤษภาคม เกิดเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ (Black May) 2535 1914 1354 211 1992 1413 11 12 สิงหาคม ยานขนส่งอวกาศ สเปช ชัตเติล ทดลองบินในชั้น 2520 1899 1339 196 1977 1398 บรรยากาศเปน็ ครง้ั แรก 12 11 มกราคม ลูเทอร์ เทอรี่ แพทย์ชาวอเมริกาแถลงข่าวว่าการ 2507 1886 1326 183 1964 1385 สูบบุหร่ีเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอดและโรคร้ายอื่นๆ 13 27 มิถุนายน คณะราษฎรประกาศใช้รัฐธรรมนูญปกครอง 2475 1854 1294 151 1932 1353 แผน่ ดินสยามชั่วคราวพุทธศักราช 2475 14 2 สิงหาคม อดอลฟ์ ฮติ เลอร์ ข้ึนเป็นผูน้ าของเยอรมนี 2477 1856 1296 153 1934 1355 15 13 มกราคม หมอบรดั เลย์ หมอสอนศาสนาชาวอเมริกันเริ่มการ 2380 1759 1199 56 1837 1258 ผา่ ตดั คร้งั แรกในประเทศไทย



แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ รหสั วิชา ส 31102 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์ หน่วยกิต 0.5 (นน./นก.) ระยะเวลา 4 ชัว่ โมง หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง องคค์ วามรทู้ างประวตั ศิ าสตร์ แผนจดั การเรียนรูท้ ่ี 3 เรื่อง หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ระยะเวลา 1 ชัว่ โมง ....................................................................................... ....................................................................................................... 1. สาระสาคญั หลักฐานทางประวัติศาสตร์ คือ สิ่งที่เกิดข้ึนในช่วงเวลาท่ีผ่านมาแล้ว ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ ถือเป็นส่ิงที่ บอกเล่าถึงอดีตได้เป็นอย่างดี หลักฐานทางประวัติศาสตร์นั้นจะได้รับความเชื่อถือก็ต่อเมื่อผ่านการศึกษาจากวิธีการทาง ประวัติศาสตร์แล้วเท่านั้น เน่ืองจากสามารถบ่งบอกได้ถึงคุณค่าและความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ชิ้น นนั้ ๆได้ สามารถนามาเชอื่ มโยงประวตั ิศาสตร์ร้อยเรียงเรือ่ งราวทศ่ี กึ ษาคน้ ควา้ 2. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชี้วัดช้นั ปี/ผลการเรยี นรู/้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ สามารถใช้วิธกี ารทาง ประวตั ศิ าสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณต์ ่างๆอย่างเป็นระบบ ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ม.4-6/2 สรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ทางประวตั ศิ าสตรโ์ ดยใช้วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ อย่างเปน็ ระบบ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนอ้ื หาสาระหลัก : Knowledge หลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้แก่อะไรบ้าง นามาใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างไร และมีความ เกีย่ วข้องกับนักเรียนอย่างไรบา้ ง 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process เนน้ ให้นกั เรยี นได้ทางานเปน็ กลุม่ นาหลักฐานทางประวัติศาสตรไ์ ปใชใ้ นการเรยี นรู้อยา่ งเปน็ ระบบ 3.3 คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ นาวิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ และมีทัศนคติท่ีดีต่อ การศกึ ษาประวัติศาสตร์ 4. สมรรถนะสาคัญของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 5. คุณลักษณะของวิชา - ความรอบคอบ - กระบวนการกลมุ่ 6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. มุง่ มัน่ ในการทางาน

7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน : - ใบความรทู้ ี่ 2 เร่อื ง หลักฐานและวธิ ีการทางประวัติศาสตร์ - ใบกิจกรรมที่ 2 เรอื่ ง หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ (ความสามารถในการวเิ คราะห์ / ใฝ่เรยี นรู้ / เทคนิคการถามตอบ และกระบวนการกลุ่ม) 1. ทบทวนความเข้าใจของนักเรียนเกย่ี วกับหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ 2. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 7 – 10 คน ร่วมกันศึกษาใบความรู้ท่ี 2 เรื่อง หลักฐานและวิธีการทาง ประวตั ิศาสตร์ 3. ใชค้ าถามสาคัญถามในแต่ละกลมุ่ ได้แก่ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์มีกี่ประเภท แบ่งโดยใช้อะไรเป็นพื้นฐาน ในชีวติ ประจาวนั ของนกั เรยี นมีอะไรบา้ งทจี่ ะกลายเป็นหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์หลังจากนี้ไปอีก 50 ปี 4. นักเรยี นทาใบกิจกรรมท่ี 2 เรื่อง หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ 5. นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรุป เร่ือง หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ 9. ส่ือการเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้ รายการสอ่ื สภาพการใช้สอื่ 1. ใบความรทู้ ่ี 2 เรื่อง หลักฐานและวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ ข้ันตรวจสอบความรู้เดิม,ขยายความรู้ 2. บตั รภาพ ชุด หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ ขั้นสร้างความสนใจ 3. ใบกิจกรรมท่ี 2 เรื่อง หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ ขน้ั ขยายความรู้ 10. การวัดผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ วิธีวดั เคร่อื งมือวดั ฯ ประเด็น/ การเรยี นรู้ ชนิ้ งาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้ คะแนน เข้าใจและสามารถ ใบกิจกรรมที่ 2 เร่ือง การทางานเป็นกลุ่ม การ การสังเกตและ 4 คอื ดมี าก สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ท า ง หลักฐานทางประวัติ สืบค้นข้อมูลและการสรุป การตอบคาถาม 3 คอื ดี ประวัติศาสตร์จาก ศาสตร์ ข้อมูล ในใบกจิ กรรม 2 คือ พอใช้ ห ลั ก ฐ า น ท า ง ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การถามตอบคาถามสาคัญ การสังเกตและ 1 คอื ควรปรับปรงุ ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ไ ด้ หลักฐานและวธิ ีการทาง ท่ี ค รู จั ด เ ต รี ย ม ไ ว้ ข อ ง การสอบถาม 0 คือ ไม่ผา่ น อย่างเหมาะสม ประวัติศาสตร์ นกั เรยี น 11. จุดเนน้ ของโรงเรยี น การบูรณาการกจิ กรรมสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น กิจกรรม ครู ผเู้ รยี น สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ บันทกึ การเจริญเติบโตของ - สามารถบอกได้ว่าบันทกึ การเจริญเติบโตของ - ทาปฏิทินต้นไม้ช่วยบันทึก ตน้ ไม้ ตน้ ไม้ เปน็ หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ชิน้ หนงึ่ ซ่งึ ผลการสังเกตการเจริญเติบโต เกดิ ขึน้ ในระยะเวลาที่เราทาการศึกษาต้นไม้น้ันๆ ของตน้ ไม้ ลงช่ือ..................................................ผูส้ อน (นางสาวศริ ิมา เมฆปัจฉาพิชติ )

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ รหัสวชิ า ส 31102 ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ หนว่ ยกติ 0.5 (นน./นก.) ระยะเวลา 4 ชว่ั โมง หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรือ่ ง องค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ แผนจดั การเรยี นรู้ที่ 4 เร่ือง วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ ระยะเวลา 3 ชวั่ โมง ....................................................................................... ....................................................................................................... 1. สาระสาคญั วิธีการทางประวัติศาสตร์ คือ กระบวนการในการศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ และได้รับการ ยอมรับในระดบั สากล เพราะมีข้ันตอนในการศึกษาค้นคว้าคล้ายคลึงกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์เพียงแค่ปรับใช้ให้เข้ากับ การศึกษาทางประวัติศาสตร์ โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1.การกาหนดหัวข้อท่ีต้องการ ศึกษา 2.การรวบรวมหลักฐาน 3.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน 4.การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ข้อมูล และ 5.การเรยี บเรียงและนาเสนอขอ้ มลู 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชน้ั ป/ี ผลการเรียนรู/้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้วิธกี ารทาง ประวตั ิศาสตรม์ าวิเคราะห์เหตกุ ารณ์ต่างๆอย่างเป็นระบบ ตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้ ส 4.1 ม.4-6/2 สร้างองค์ความรใู้ หมท่ างประวัติศาสตรโ์ ดยใช้วธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ อย่างเป็นระบบ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เนอื้ หาสาระหลกั : Knowledge วิธีการทางประวัติศาสตร์มีท้ังหมด 5 ข้ันตอน ได้แก่ 1.การกาหนดหัวข้อท่ีต้องการศึกษา 2.การ รวบรวมหลักฐาน (หลักฐานปฐมภูมิ และหลักฐานทุติยภูมิ) 3.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน (การวิพากษ์เอกสาร หลกั ฐานท่ีเกยี่ วข้อง) 4.การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจดั หมวดหมู่ขอ้ มูลและ 5.การเรยี บเรยี งและนาเสนอขอ้ มูล 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process เน้นให้นักเรียนไดท้ างานเปน็ กลมุ่ นาวธิ ีการทางประวัติศาสตรไ์ ปใช้ในการเรียนรู้อยา่ งเป็นระบบ 3.3 คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ : Attitude มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ นาวิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ และมีทัศนคติท่ีดีต่อ การศึกษาประวัตศิ าสตร์ 4. สมรรถนะสาคญั ของนกั เรยี น 4.1 ความสามารถในการส่อื สาร 4.2 ความสามารถในการคิด 5. คุณลักษณะของวิชา - ความรับผิดชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกล่มุ

6. คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. ม่งุ ม่ันในการทางาน 7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน : - ใบความร้ทู ่ี 2 เรื่อง หลกั ฐานและวธิ ีการทางประวัติศาสตร์ - แบบฝกึ หัดที่ 2 เร่ือง วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ - แผนผังความคดิ สรปุ เรือ่ ง การศึกษาและวธิ ีการทางประวัติศาสตร์ในชีวติ ประจาวันของนกั เรียน - แบบทดสอบวัดความรู้หลงั เรยี น เรอื่ ง หลกั ฐานและวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชัว่ โมงท่ี 1 - 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์/ มงุ่ ม่ันในการทางาน / เทคนิคการถามตอบและกระบวนการกลุม่ ) 1. ทบทวนความเข้าใจของนกั เรยี นเกยี่ วกบั หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์และวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ 2. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 7 – 10 คน ร่วมกันศึกษาใบความรู้ที่ 2 เร่ือง หลักฐานและวิธีการทาง ประวตั ศิ าสตร์ 3. ใชค้ าถามสาคัญถามในแตล่ ะกลมุ่ ได้แก่ วิธีการทางประวัติศาสตร์มีข้ันตอนใดบ้าง วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีความแตกต่างหรือคล้ายคลึงกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์อย่างไร การวิพากษ์เอกสารหรือหลักฐานคืออะไร หลักฐานช้ันต้นกับหลักฐานชั้นรองต่างกันอย่างไร หลักฐานชั้นใดมีความน่าเช่ือถือมากกว่ากัน เพราะเหตุใด จึงมคี วามน่าเชอื่ ถอื มากกว่า 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มตั้งคาถามจากใบความรู้ท่ีได้รับ กลุ่มละ 5 ข้อ สลับกันถามทีละกลุ่ม กลุ่มท่ีตอบได้มาก ทส่ี ุดจะได้รบั คะแนนพิเศษ 1 ดาวเพิ่มคะแนนจติ พสิ ัย 5. ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มเลือกเร่ืองทต่ี ้องการจะศกึ ษาทเ่ี กี่ยวกับครอบครวั ของตนเอง หรือโรงเรียน หรอื ชุมชน ใกล้เคียง มากลุม่ ละ 1 เร่อื ง แล้วตอบคาถามในแบบฝึกหัดท่ี 2 เรอ่ื ง วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ ชั่วโมงท่ี 3 (ความสามารถในการวเิ คราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ประเมนิ ผลโดยแบบทดสอบวดั ความรู้) 1. ทบทวนความรู้เร่ืองวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ 2. นกั เรียนสรปุ ความรู้ในรูปแบบแผนผังความคิด เร่ือง หลักฐานและวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ 3. ทาแบบทดสอบวัดความร้หู ลังเรยี น เรือ่ ง หลกั ฐานและวธิ ีการทางประวัติศาสตร์ 4. นักเรยี นและครรู ่วมกนั เฉลยแบบทดสอบวดั ความรู้หลงั เรยี น 5. นักเรยี นและครูร่วมกนั สรุปบทเรียนในหนว่ ยการเรียน 9. ส่ือการเรยี นการสอน / แหล่งเรยี นรู้ สภาพการใช้สือ่ รายการส่อื ขน้ั ตรวจสอบความรเู้ ดิม ข้นั สร้างความสนใจ 1. ใบความรูท้ ่ี 2 เร่ือง หลักฐานและวิธีการทางประวัติศาสตร์ ข้นั ขยายความรู้ ขน้ั ตรวจสอบความรู้ใหม่ 2. การนาเสนอภาพประกอบคาบรรยาย เรื่อง วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ 3. แบบฝึกหดั ท่ี 2 เร่อื ง วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 4. แบบทดสอบวัดความรู้หลังเรยี น

10. การวดั ผลและประเมินผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วธิ วี ัด เครอื่ งมอื วัดฯ ประเด็น/ การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การใหค้ ะแนน เข้าใจและสามารถ แบบฝึกหัดที่ 2 เรื่อง การทางานเป็นกลุ่ม การ การสังเกตและ 4 คือ ดมี าก สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ท า ง วิ ธี ก า ร ท า ง สืบค้นข้อมูลและการสรุป การตอบคาถาม 3 คือ ดี ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ไ ด้ ประวตั ิศาสตร์ ข้อมลู ในใบกิจกรรม 2 คือ พอใช้ อย่างเป็นระบบ โดย ใบความรู้ท่ี 2 เร่ือง การถามตอบของครูและ การสังเกตและ 1 คือ ควรปรับปรุง ใ ช้ วิ ธี ก า ร ท า ง หลักฐานและวิธกี ารทาง นั ก เ รี ย น แ ล ะ ก า ร ต้ั ง การสอบถาม 0 คือ ไมผ่ า่ น ประวตั ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ คาถามถามตอบของ นกั เรียนเอง แบบทดสอบวัดความรู้ ประเมินจากแบบทดสอบ แบบทดสอบวัด คะแนนท่ไี ดจ้ ากการ หลังเรยี น วดั ความรู้หลังเรยี น ความรหู้ ลงั เรยี น ทาแบบทดสอบ ลงชือ่ ..................................................ผู้สอน (นางสาวศริ ิมา เมฆปัจฉาพชิ ิต)

ใบความรู้ ประวตั ิศาสตร์สากล ส 31102 ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 เรอื่ ง วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ ครศู ริ ิมา เมฆปัจฉาพิชิต ชื่อ-สกุล .............................................................................. ชั้น ............... เลขที่ ............ วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อให้ได้ความรู้และคาตอบที่เชื่อว่าสะท้อน ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอดีตได้ถูกต้องมากท่ีสุด ซึ่งไม่มีใครสามารถตอบได้ว่าข้อเท็จจริงที่ถูกต้องคืออะไร ดังนั้น จึงต้องมี กระบวนการศกึ ษา และการใชเ้ หตผุ ลในการตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานและนาไปใช้อย่างถูกต้อง ทาให้การศึกษา ประวตั ิศาสตร์เปน็ ศาสตรท์ สี่ ะทอ้ นข้อเทจ็ จรงิ ท่แี ตกตา่ งจากนทิ าน นยิ าย หรอื เร่ืองบอกเลา่ ที่เล่อื นลอย นิตเช นักประวัตศิ าสตรช์ าวเยอรมนั ในคริสต์ศตวรรษท่ี 19 ผู้ตีความว่าข้อเท็จจริงคือ คำอธิบำยที่เกดิ จำกกำรตีควำมของเรำเอง ปัญหาเชิงปรัชญาประการหน่ึงเก่ียวกับการแสวงหาคาตอบหรือคาอธิบายทาง ประวัตศิ าสตร์ท่ถี กเถยี งกันมาตงั้ แต่คริสต์ศตวรรษท่ี 16-17 คือ การหาความจริงทาง ประวัติศาสตรเ์ ปน็ การหาความจริงแบบไหน? และสามารถพิสูจน์/เปรียบเทียบกับการ หาความจริงทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างไร?ทั้งนี้ เพราะเช่ือกันว่าการหาความรู้/ความ จริงแบบวิทยาศาสตร์เป็นการหาความรู้/ความจริงท่ีถูกต้อง มาในปลาย คริสต์ศตวรรษที่ 19 คาถามที่ถกเถียงกันมากก็คือ ประวัติศาสตร์เป็นวิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ? และนักประวัติศาสตร์หลายคนพยายามเสนอ (defense) โดยทาให้ ประวัติศาสตร์มลี กั ษณะเป็นวทิ ยาศาสตร์ มกี ารนาวิธีการ \"วิพากษ์\" หลักฐานทางประวัติศาสตร์มาใช้ นักประวัติศาสตร์ใน ยุคนั้นพยายามทาให้ความรู้ทางประวัติศาสตร์เป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ กระท่ังคริสต์ศตวรรษท่ี 20 ถึงปัจจุบันมี แนวโน้มท่ีจะเห็นว่าความเป็น \"วัตถุวิสัย\" ของประวัติศาสตร์ลดลง เช่นเดียวกันกับท่ียอมรับว่าวิทยาศาสตร์ไม่ใช่ความรู้ที่ สมบูรณ์ การศึกษาประวัติศาสตร์เริ่มจากการต้ังคาถามพ้ืนฐานหลัก 5 คาถาม คือ \"เกิดเหตุการณ์อะไรข้ึนในอดีต\" (What), \"เหตุการณ์นั้นเกิดข้ึนเม่ือไหร่\" (When), \"เหตุการณ์น้ันเกิดข้ึนท่ีไหน\" (Where), \"ทาไมจึงเกิดเหตุการณ์นั้นข้ึน\" (Why), และ \"เหตุการณน์ ั้นเกิดขึน้ ได้อย่างไร\" (How) วธิ ิการทางประวตั ศิ าสตรป์ ระกอบด้วยขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่  การรวบรวมหลักฐาน  การคัดเลอื กหลักฐาน  การวิเคราะห์ ตีความ ประเมนิ หลักฐาน  การเชือ่ มโยงความสัมพนั ธข์ องหลักฐาน  การนาเสนอขอ้ เท็จจริง นอกจากน้ี รอบิน จี. คอลลิงวูด (R. G. Collingwood) นักปรัชญาประวัติศาสตร์คนสาคัญชาวอังกฤษใน ครสิ ต์ศตวรรษที่ 20 ผู้เปน็ เจา้ ของผลงานเร่อื งIdea of History ให้ความเห็นเกย่ี วกบั วธิ ิการศึกษาประวัตศิ าสตร์ ดงั น้ี  วธิ กี ารศกึ ษาหลักฐานทางประวัตศิ าสตรต์ า่ งจากการศกึ ษาหลกั ฐานทางวิทยาศาสตร์  นกั ประวตั ศิ าสตรต์ อ้ งระมัดระวังในการยืนยนั ความถูกต้องของหลักฐาน

 การนาเสนอในลักษณะ \"ตัด-แปะประวัติศาสตร์\" ไม่ถูกต้องและเป็นวิธีการที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ ควรนาเสนอโดย การประมวลความคดิ ให้เปน็ ข้อสรปุ  วิธีการทางประวัตศิ าสตรท์ ่ีมีลักษณะเป็นแบบวิทยาศาสตรค์ ือการตั้งคาถาม ประโยชน์ของการศกึ ษาประวัติศาสตร์ ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์จะช่วยให้มนุษย์เกิดสานึกในการค้นคว้าและสืบค้นข้อมูลที่เช่ือมโยงอดีตและ ปัจจุบัน อันสร้างความภูมิใจและกระตุ้นความรู้สึกนิยมในชาติหรือเผ่าพันธ์ุ ตลอดจนตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทาง วัฒนธรรมทีบ่ รรพบรุ ษุ สัง่ สมไว้, ประวตั ิศาสตรช์ ่วยให้เกิดการเรียนรู้จากอดีตเพื่อเป็นบทเรียนสาหรับปัจจุบัน องค์ความรู้ท่ี ได้จากการศึกษาประวัติศาสตร์จะทาให้เข้าใจถึงปัญหา สาเหตุของปัญหา และผลกระทบจากปัญหา , การศึกษา ประวัติศาสตรก์ ่อให้เกิดองค์ความรทู้ ี่หลากหลาย ซงึ่ สามารถนาความรู้เหล่าน้ันไปกาหนดยุทธศาสตร์ในการดาเนินนโยบาย ให้เป็นประโยชน์ต่อทั้งปัจจุบันและอนาคต, วิธีการทางประวัติศาสตร์ทาให้ผู้ศึกษาส่ังสมประสบการณ์และทักษะในการ วิเคราะห์ ไต่สวน และแก้ปัญหา ซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการศึกษาศาสตร์แขนงอ่ืน ๆ คุณสมบัตินี้นับเป็น องค์ประกอบสาคญั ของการพฒั นาคณุ ภาพประชากรในสงั คมท่เี จริญกา้ วหนา้ และมพี ัฒนาการส วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ การศึกษาประวัติศาสตร์ มีปัญหาที่สาคัญอยู่ประการหนึ่ง คือ อดีตท่ีมีการฟ้ืนหรือจาลองข้ึนมาใหม่น้ัน มีความถูกต้อง สมบรู ณ์และเชื่อถอื ไดเ้ พยี งใด รวมทง้ั หลกั ฐานท่ีเปน็ ลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ที่นามาใช้ เป็นข้อมูลน้ัน มคี วามสมบรู ณ์มากน้อยเพียงใด เพราะเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์มีอยู่มากมายเกินกว่าที่จะศึกษาหรือจดจาได้ หมด แต่ หลกั ฐานที่ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู อาจมเี พียงบางส่วน ดังน้ัน วิธีการทางประวัติศาสตร์จึงมีความสาคัญเพ่ือใช้เป็นแนวทางสาหรับผู้ศึกษาประวัติศาสตร์หรือผู้ท่ีจะเรียนรู้ ประวัติศาสตร์จะได้นาไปใช้ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง ไม่ลาเอียง และเกิดความน่าเช่ือถือได้มากท่ีสุด ในการสืบค้น ค้นคว้าเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ มีอยู่หลายวิธี เช่น จากหลักฐานทางวัตถุท่ีขุดค้นพบ หลักฐานท่ีเป็นการบันทึกลาย ลักษณ์อักษร หลักฐานจากคาบอกเล่า ซ่ึงการรวบรวมเรื่องราวต่างๆทางประวัติศาสตร์เหล่าน้ี เรียกว่า วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ คือ การรวบรวม พจิ ารณาไตรต่ รอง วิเคราะหแ์ ละตคี วามจากหลักฐานแลว้ นามาเปรียบเทียบ อย่างเป็นระบบ เพื่ออธิบายเหตุการณ์สาคัญท่ีเกิดข้ึนในอดีต ว่าเหตุใดจึงเกิดขึ้น หรือเหตุการณ์ในอดีตน้ันได้เกิดและ คล่คี ลายอย่างไร ซงึ่ เป็นความมุ่งหมายท่สี าคญั ของการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ ประเภทหลกั ฐานประวตั ศิ าสตร์ 1. หลักฐานทจ่ี าแนกตามความสาคัญ 1.1 หลักฐานช้ันต้น primary sources หมายถึง คาบอกเล่าหรือบันทึกของผู้พบเห็นเหตุการณ์หรือผู้ท่ีเก่ียวข้อง กับเหตุการณ์ โดยตรง ได้แก่ บันทึกการเดินทาง จดหมายเหตุ จารึก รวมถึงส่ิงก่อสร้าง หลักฐานทางโบราณคดี โบราณสถาน โบราณวตั ถุ เช่น โบสถ์ เจดีย์ วหิ าร พระพุทธรปู รูปปัน้ หมอ้ ไห ฯลฯ 1.2 หลักฐานชั้นรอง secondary sources หมายถึง ผลงานที่เขียนขึ้น หรือเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิด เหตุการณน์ ้นั แล้ว โดยอาศัยคาบอกเล่า หรอื จากหลักฐานชั้นต้นต่างๆ ไดแ้ ก่ ตานาน วิทยานิพนธ์ เปน็ ต้น 2. หลกั ฐานท่ใี ชอ้ กั ษรเป็นตวั กาหนด 2.1 หลกั ฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร written sources หมายถึง หลักฐานท่ีมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรบอก เล่าเร่ืองราวต่างๆ ได้แก่ ศิลาจารึก พงศาวดาร ใบลาน จดหมายเหตุ วรรณกรรม ชีวประวัติ หนังสือพิมพ์ วารสาร

นติ ยสาร รวมถึงการบันทึกไว้ตามสิ่งก่อสร้าง โบราณสถาน โบราณวัตถุ แผนท่ี หลักฐานประเภทน้ีจัดว่าเป็นหลักฐานสมัย ประวัตศิ าสตร์ 2.2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร หมายถึง ส่ิงที่มนุษย์สร้างข้ึนท้ังหมดที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ สิง่ ก่อสรา้ ง โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศลิ ปการแสดง คาบอกเล่า นาฏศิลป์ ตนตรี จิตรกรรม ฯลฯ 3. หลักฐานทีก่ าหนดตามจดุ หมายของการผลิต 3.1 หลักฐานที่มนษุ ย์ตงั้ ใจสร้างขึน้ artiface หลักฐานทีม่ นษุ ย์สรา้ งขน้ึ เพอื่ ใชใ้ นการดารงชีวติ 3.2 หลักฐานที่มิไดเ้ ป็นผลผลิตท่มี นษุ ย์สรา้ งหรอื ตัง้ ใจสรา้ ง วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ หมายถงึ กระบวนการสืบคน้ เรือ่ งราวในอดตี ของสังคมมนุษย์ เร่ิมต้นท่ีความอยากรู้อยากเห็น ของผตู้ ้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้า หาคาตอบด้วยตนเอง จากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเหลือ มาถึงปัจจุบนั โดยไม่หลงเชื่อคาพูดของใครคนใดคนหน่ึง หรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง ส่ิงที่ต้อง ทาเป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีต เมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทาง ประวตั ิศาสตรอ์ ย่างกว้างขวางและละเอียด ลออ ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจากหลักฐานทุกช้ินด้วยจิตสานึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริง เสมอไป แล้วรวบรวมข้อเท็จจริงท่ีได้ จากน้ันนาเสนอผลท่ีศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจนเพ่ือให้ผู้อื่น ตรวจสอบ หรอื ศึกษาคน้ ควา้ ต่อไปได้ ขนั้ ตอนของวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ ประกอบดว้ ย 1. การกาหนดหัวขอ้ เรื่องท่ีต้องการศึกษาให้ชดั เจน (เร่ืองอะไร ชว่ งเวลาใด ท่ไี หน) 2. รวบรวมขอ้ มลู จากหลกั ฐานทางประวัติศาสตรใ์ หค้ รบถว้ น ครอบคลมุ 3. ตรวจสอบความจรงิ จากหลักฐาน ทเี่ รยี กวา่ การวพิ ากษว์ ิธีทางประวตั ศิ าสตร์ 4. วิเคราะหข์ ้อมลู และตคี วามเพอ่ื คน้ หาข้อเท็จจริง 5. นาเสนอผลงานความร้ทู ีค่ น้ พบ โดยปราศจากอคตแิ ละความลาเอยี ง วิธีการทางประวตั ิศาสตรก์ บั วิธีการทางวิทยาศาสตร์ วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ กบั วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ มีบางสว่ นทีค่ ล้ายคลึงกัน และมบี ทสว่ นแตกต่างกันดงั น้ี 1.วิธีการทางประวัติศาสตร์มีการกาหนดประเด็นปัญหาเพ่ือสืบค้นหาคาตอบ เช่นเดียวกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ท่ีมี การสรา้ งสมมตฐิ านข้ึนแลว้ ทดลองเพื่อ ตรวจสอบสมมติฐานน้นั 2.วิธีการทางวิทยาศาสตร์ใช้วิธีการสร้างสถานการณ์ใหม่ หรือ ทดลองเพื่อทดสอบสมมติฐานท่ีตั้งข้ึน แต่นัก ประวัติศาสตร์ไม่สามารถสร้างสถานการณ์ข้ึนใหม่ให้เหมือนกับสถานการณ์ ท่ีเกิดขึ้นจริงในอดีตได้ เพราะเหตุการณ์ท่ี เกิดขึ้นในอดตี จะเกดิ ขนึ้ คร้ังเดยี ว มีลักษณะเฉพาะ และไมส่ ามารถสร้างซ้าไดอ้ ีก แต่นักประวัติศาสตร์จะรวบรวมข้อมูลจาก หลักฐานอย่างหลากหลาย ตรวจสอบความน่าเช่ือถือของหลักฐาน จนกระท่ังได้ข้อมูลท่ีจะสร้างความม่ันใจว่าจะสามารถ อธิบายและสรุปเป็นหลัก การได้ ดังนั้นแม้นักประวัติศาสตร์จะมิได้เห็นเหตุการณ์น้ันโดยตรง แต่พยายามหาข้อมูลให้มาก เพ่ือให้ได้ข้อเท็จจริงให้ถูกต้องตามความเป็นจริงที่น่าเป็นไปได้ แต่นักวิทยาศาสตร์จะทดสอบหรือทดลองให้ได้ผลสรุปด้วย ตนเอง 3. การนาเสนอผลงานของนักวิทยาศาสตร์ และนักประวัติศาสตร์ก็อาศัยหลักการความเป็นไปได้มาคาดคะเน และ สรุปผลเช่นกัน แต่ผลสรุปทางวิทยาศาสตร์ จะสามารถนาไปทดลองซ้าๆ ก็จะได้ผลเช่ นนั้นทุกครั้ง แต่ผลสรุปทาง

ประวัติศาสตร์ไม่สามารถนาไปทดลองได้ และมีความแตกต่างที่เป็น “มิติของเวลา” เช่นเดียวกับศาสตร์ทางสังคมศาสตร์ อ่นื ๆ ทไ่ี มส่ ามารถควบคมุ ปัจจัยท่เี ป็นตวั แปรได้ทัง้ หมด 4. ประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ไม่สามารถนิยามคาเฉพาะ เพราะความหมายจะไม่ชัดเจนตายตัวในทุกกาลและเทศะ เช่น ประชาธิปไตยของท้องถ่ินหน่ึง กับอีกท้องถิ่นหนึ่งจะมีนัยแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับผู้ใช้หรือผู้นิยามซึ่งแตกต่างกับ วทิ ยาศาสตร์ทสี่ ามารถใหน้ ยิ ามคาเฉพาะทีม่ คี วามหมายตายตัวไม่ เปลย่ี นแปลงตามเวลาและสถานท่ี คุณคา่ ของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1.วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นวิธีการวิจัยเอกสารและหลักฐานอ่ืนๆ ที่เป็นร่องรอยจากอดีตอย่างกว้างขวาง เพื่อให้ ไดม้ าซ่ึงความรใู้ หมบ่ นพน้ื ฐานของการวิเคราะห์ขอ้ มลู ท่รี วบรวมมา อย่างเป็นระบบ และมเี หตมุ ีผล 2.ขั้นตอนการวพิ ากษว์ ธิ ีทางประวตั ิศาสตรห์ รือการตรวจสอบความจริงจากขอ้ มูลและหลกั ฐาน ซึ่งเป็นขั้นตอนของการ คน้ หาความหมายท่ีซกุ ซ่อนอยู่ในหลักฐานจะทาให้ผู้ศึกษา ประวัติศาสตร์ระมัดระวัง และคิดพิจารณาข้อเท็จ และข้อจริงท่ี แฝงอย่ใู นหลักฐานให้ชัดเจน 3.วิธีการทางประวัติศาสตร์เน้นการเข้าใจอดีต คือ การให้ผู้ศึกษาเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ต้องทาความเข้าใจยุค สมัยทีต่ นศกึ ษา เพ่อื ให้เขา้ ถงึ ความคดิ ของผู้คนในยุคนนั้ โดยไม่นาความคิดของปจั จบุ นั ไปตดั สินอดตี อย่างไรก็ตาม เมื่อประวัติศาสตร์คือการสืบค้นอดีตของสังคมมนุษย์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ซ่ึง เป็นวิธีการในการ สืบสวนและคน้ ควา้ จึงนบั เปน็ วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ในรูปแบบหน่งึ ท่มี เี หตผุ ลประกอบผลสรุปนัน่ เอง

ใบกิจกรรมที่ 2 ประวตั ศิ าสตรส์ ากล ส 31102 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เรอ่ื ง หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ครศู ิริมา เมฆปัจฉาพชิ ิต ชอ่ื -สกลุ .............................................................................. ช้นั ............... เลขที่ ............ คาชี้แจง ให้นกั เรียนศึกษาคน้ ควา้ เร่ืองหลักฐานทางประวัติศาสตรพ์ ร้อมอธบิ ายหวั ข้อตา่ งๆในแบบกจิ กรรมนี้ ๑. หลักฐานที่จาแนกตามความสาคญั ๑.๑ หลักฐานชัน้ ต้น ( primary sources) หมายถงึ …………………………….………………………………………………………....... .....…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ๑.๒ หลักฐานชั้นรอง ( secondary sources) หมายถงึ .…………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ๒. หลักฐานท่ใี ช้อักษรเป็นตัวกาหนด ๒.๑ หลักฐานท่ีเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร (written sources) หมายถงึ ………………………….……………………………………...... ......…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ๒.๒ หลักฐานที่ไม่เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร หมายถึง …………………………………..…………………………………………………………… …............……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …...........……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. หลักฐานท่ีกาหนดตามจดุ หมายของการผลิต ๓.๑ หลกั ฐานท่ีมนษุ ย์ตง้ั ใจสร้างขึ้น หมายถึง ……………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ๓.๒ หลักฐานที่มไิ ดเ้ ป็นผลผลิตท่ีมนุษยส์ ร้างหรอื ตั้งใจสรา้ ง หมายถงึ …………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………............………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ประวัติศาสตร์จะเกิดขึ้นได้ด้วยองค์ประกอบสาคัญได้แก่ สังคมมนุษย์ หลักฐาน มิติของเวลา และวิธีก ารทาง ประวัติศาสตร์ โดยข้ันแรกต้องมีเหตุการณ์หรือพฤติกรรมในสังคมมนุษย์เกิดข้ึนแต่เน่ืองจากสังคมมนุษย์เกิดขึ้นมากว่า 500,000 ปมี าแล้ว ความจรงิ ในอดตี จึงต้องอาศัยร่องรอยหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ซึ่งอาจเกิดจากธรรมชาติหรืออาจเกิดจาก สงิ่ ทม่ี นษุ ยต์ ง้ั ใจหรอื อาจไมต่ ้ังใจจะสร้างหลักฐานข้นึ และเม่ือเกดิ หลกั ฐานขนึ้ แล้วตอ้ งอาศยั นกั ประวัติศาสตร์หรือผู้ที่สนใจศึกษา ประวัติศาสตร์ทาหน้าท่ีรวบรวมตรวจสอบ พิจารณา ไตร่ตรอง วิเคราะห์ ตีความ วินิจฉัยและเรียบเรียงข้อเท็จจริงที่ค้นพบเพื่อ อธบิ ายเรือ่ งราวในสังคมนนั้ ๆวา่ เกิดข้ึนเพราะเหตใุ ดและผลของเหตุการณ์นัน้ เปน็ อยา่ งไร อย่างไรก็ตามไม่มีผู้ใดสามารถจาลองอดีตได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ฉะนั้นเหตุการณ์ท่ีเรียบเรียงขึ้นเป็นประวัติศาสตร์นี้ จงึ เป็นเรอ่ื งราวเพียงส่วนหนึ่งของพฤติกรรมมนุษย์ในอดีตเท่าน้ันโดยผู้ศึกษาเห็นว่าเหตุการณ์น้ันมีความสาคัญต่อสังคมและควร เรียนรู้ถือเป็นบทเรียนของอดีตท่ีมีผลถึงปัจจุบันและอนาคต การสืบค้นอดีตเพ่ือเข้าใจสังคมปัจจุบันและเห็นแนวทางปฏิบัติใน

อนาคตคอื คณุ คา่ สาคัญของประวัติศาสตร์ นอกจากน้ปี ระวตั ิศาสตร์ยงั ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นมีความเข้าใจความรกั และความภมู ิใจในชาติของตน เข้าใจลักษณะเฉพาะทาง วฒั นธรรมของสงั คมมนษุ ยท์ อี่ ย่ใู นพื้นท่ีต่างๆกันและท่ีสาคัญผู้ศึกษาประวัติศาสตร์จะได้รับการฝึกฝนทักษะการคิดวิเคราะห์การ แยกแยะข้อเท็จจรงิ จากข้อมูลหลักฐานท่ีหลากหลายได้ฝึกฝนการอ่าน การเขียน การเล่าเรื่องและการนาเสนออย่างมีเหตุผลอัน เป็นกระบวนการสรา้ งภูมิปัญญาอยา่ งแท้จริง คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนบอกประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์จากรูปท่ีกาหนดให้ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. …………………………………………………………………..

ใบกจิ กรรมที่ 3 ประวัติศาสตรส์ ากล ส 31102 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เร่ือง วิธีการประเมินความน่าเช่อื ถอื ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ครูศิรมิ า เมฆปัจฉาพิชิต ช่อื -สกุล .............................................................................. ช้นั ............... เลขท่ี ............ คาช้ีแจง ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเรื่องวิธีการประเมินความน่าเช่ือถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์พร้อมอธิบายหัวข้อการ ประเมินความน่าเชือ่ ถอื ในแบบกจิ กรรมนี้ วธิ ีการประเมนิ ความน่าเชื่อถือของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์‎ วธิ ีการประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค่ า ข อ ง ห ลั ก ฐ า น ท า ง การศึกษาประวัติศาสตร์จาเป็นต้องอาศัยหลักฐานต่างๆ ประวัตศิ าสตรแ์ บง่ เป็น ๒ ประเภท เก่ียวกับเรื่องนั้นๆมาศึกษาวิเคราะห์ตีความเร่ืองราว และ ๑. การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าหลักฐานจาก ตรวจสอบความถูกต้องของเรื่องราวเหตุการณ์นั้นๆหลักฐานท่ี ภายในหมายถึง การตรวจสอบความน่าเช้ือถือของ เกี่ยวข้องกับเรื่องราวประวัติความเป็นมาของมนุษย์ เรียกว่า หลักฐานว่ามีความน่าเช่ือถือมาก ปานกลางหรือไม่ หลักฐานทางประวัตศิ าสตรซ์ ่งึ สามารถแยกไดด้ ังนี้ นา่ เช่ือถอื ทง้ั หมดซ่ึงจะตอ้ งใช้ด้วยความระมดั ระวังและควร ตรวจสอบดังนี้ ๑. หลักฐานทางศิลปกรรมและโบราณคดีหลักฐานทาง ศิลปกรรมที่สาคัญคือ ศิลปวัตถุแบบอู่ทอง ศิลปวัตถุแบบลพบุรี ๑.๑ ช่วงระยะเวลาของเหตุการณ์และการบันทึก ศลิ ปวตั ถุแบบทวารวดีนอกจากนี้ได้แก่ เงินตรา ซากอิฐปูนของวัด ไดท้ นั เหตุการณค์ วามถกู ต้องย่อมมีมากขน้ึ วาอาราม พระพุทธรปู เครอ่ื งใชต้ ามบา้ นเรอื น ฯลฯ ๑.๒ จุดมุ่งหมายของผู้บันทึกบางคนต้ังใจบันทึก ๒. หลักฐานที่เป็นหนังสือเก่านั้นมักจะเขียนลงบนสมุด ได้ทนั เหตกุ ารณ์ความถกู ตอ้ งยอ่ มมมี ากข้นึ เทา่ นั้น ข่อยหรือใบลาน เช่น ตานานสิงหนวัติ (เล่าเรื่องต้ังแต่พระเจ้าสิง หนวัติอพยพมาจากเหนือ) จามเทวีวงศ์ (เป็นเร่ืองเมืองหริภุญ ๑.๓ ผู้บันทึกรู้ในเร่ืองราวน้ันจริงหรือไม่ เรื่องราว ไชย) รัตน์พิมพ์วงศ์ (เป็นตานานพระแก้วมรกต) สิหิงคุนิทาน ที่อา้ งอิงมาจากบุคคลอื่นหรอื เปน็ คาพูดของผู้บนั ทกึ เอง (เป็นประวัติพุทธศาสนาและประวัติเมืองต่าง ๆ ในลานนา ไทย) จุลยุทธ์กาลวงศ์ (เป็นพงศาวดารไทย ตั้งแต่สมัยพระเจ้าอู่ ๑.๔ คุณสมบัติของผู้บันทึกเก่ียวกับการศึกษาเล่า ทองตลอดสมัยอยุธยา) ตานานสุวรรณโคมคา และตานานมูล เรียนสภาพแวดล้อมน่าเชื่อถือหรือไม่ขณะที่บันทึกน้ัน ศาสนา (เป็นเร่ืองราวประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย) ปัญหา สภาพร่างกายหรือจิตใจปกติหรือไม่มีความกดดันทาง ของหลักฐานท่ีเป็นหนังสือเก่า คือ เราไม่ทราบว่าผู้บันทึกเขียนไว้ อารมณ์ หรือถูกบีบบังคับให้เขียนหรือไม่ข้อความใน เม่ือไรมีความจรงิ แค่ไหนและแต่งเติมเพียงใด หลักฐานท่อี าจเกดิ การคดั ลอกหรือแปลผิดพลาดหรือมีการ ต่อเตมิ เกิดข้นึ ๓. หลกั ฐานทีเ่ ป็นศลิ าจารกึ ศิลาจารกึ ถือวา่ เป็นหลักฐาน ท่ีสาคัญมากในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยในระยะเร่ิมแรกสมัย ๑.๕ ข้อความนั้นมีอคติเก่ียวกับเชื้อชาติ ศาสนา สุโขทยั ทสี่ าคัญไดแ้ ก่ ศิลาจารกึ หลักที่ ๑ (จารึกพ่อขุนรามคาแหง) ลทั ธกิ ารเมือง ฐานะทางเศรษฐกจิ สงั คมหรือไม่ , ศิลาจารึกหลักท่ี ๒ (จารึกวัดศรีชุม) , ศิลาจารึกหลักที่ ๓ (จารึก นครชุม) , ศิลาจารึกหลักท่ี ๔ (จารึกวัดป่ามะม่วง) , ศิลาจารึก ๑.๖ วิธีการในการบันทึกใช้วิธีการบันทึกอย่างไร หลักท่ี ๘ (จารึกวัดพระมหาธาตุ) , จารึกหลักที่ ๒๔ (จารึกวัดหัว ถ่ีถ้วนมีอรรถรสหรือเป็นการบันทึกโดยการสืบหาสาเหตุ เวียงไชยา) , จารกึ หลักท่ี ๓๕ (จารกึ ดงแม่นางเมือง นครสวรรค์) , อ ย่ า ง เ ท่ี ย ง ธ ร ร ม ถ้ า ห า ก ผู้ บั น ทึ ก ใ ช้ วิ ธี ก า ร ท า ง จารึกหลักที่ ๖๒ (จารึกวัดพระยืน ลาพูน) ฯลฯ หมายเหตุ ศิลา ประวัติศาสตร์บันทึกเหตุการณ์จะทาให้เป็นหลักฐานที่ จารึกให้ลาดบั หลักตามการคน้ พบ ก่อน – หลัง น่าเช่อื ถอื ๔. หลักฐานพวกท่ีเป็นพงศาวดารพระราชพงศาวดาร ๒. การประเมินคุณค่าหลักฐานจากภายนอกเป็น สยามมีมากมาย แต่ที่มีความสาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ การมุ่งวิเคราะห์และพิสูจน์หลักฐานว่าเป็นของจริงหรือ ของปลอมไม่ว่าจะเป็นบางส่วนหรือท้ังหมด โดยอาศัย วิธีการเปรียบเทียบกับหลักฐานอื่น อย่างไรก็ตาม การ ตรวจสอบหลักฐานว่าจริงหรือปลอมนั้นผู้ศึกษาไม่สามารถ

ไทย ได้แก่ ตรวจสอบด้วยตนเองได้ท้ังหมดเพราะต้องใช้ความรู้ ๔.๑ พระราชพงศาวดารสยามท่ีแต่งในสมัยอยุธยา คือ ความสามารถเฉพาะทางจริงๆจึงต้องอาศัยผลงานหรือขอ ความรว่ มมือจากผู้เช่ียวชาญสาขาอ่ืนๆท่ีเกี่ยวข้องซ่ึงส่วนนี้ ฉบับหลวงประเสรฐิ จะเป็นการตรวจสอบหาข้อบกพร่องของ ๔.๒ พระราชพงศาวดารสยามท่ีแต่งในสมัยรัตนโกสินทร์ แยกเปน็ ๓ รชั กาล คอื ๔.๒.๑ ฉบับรัชกาลท่ี ๑ มี ๔ สานวน คือ ฉบับ พันจนั ทนุมาศ (เจิม), ฉบบั เจา้ พระยาพิพิธพิชัย ฉบับพระ พนั รัตน์ ฉบบั บรติ ิชมิวเซยี ม ๔.๒.๒ ฉบับรัชกาลที่ ๓ มี ๑ สานวน คือ ฉบับ สมเด็จกรมพระปรมานชุ ติ ชโิ นรส ๔.๒.๓ ฉบับรัชกาลที่ ๔ มี ๔ สานวน คือ ฉบับ พระราชหตั ถเลขา ๔.๓ พระราชพงศาวดารฉบับอื่น ๆ คือ พระราช พงศาวดารกรุงเก่าฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด) พงศาวดาร เหนอื พงศาวดารโยนก ๕. หลักฐานที่เป็นจดหมายเหตุชาวต่างประเทศหลักฐาน พวกน้เี ป็นหลักฐานภาษาตา่ งประเทศ เพราะมชี าวยโุ รปหลายชาติ เข้ามาติดต่อในสมัยอยุธยาหลักฐานเหล่าน้ีอยู่ในรูปของบันทึก จดหมายเหตุ จดหมายถึงผู้บังคับบัญชาจดหมายของข้าราชการ และพอ่ ค้า เอกสารทางการทูตบันทึกของมิชชันนารีเช่น จดหมาย เหตขุ องลาลแู บร์ บันทึกของบาดหลวงเดอ ช่ัว สี จดหมายเหตุวัน วิลิต เอกสารฮอลันดา ฯลฯ อ้างอิงจาก (สุริยันตร์ เชาวน์ปรีชา: เอกสารประกอบ การสัมมนาประวัติพระยาพิชัยดาบหักเพ่ือการ จัดทาหลักสตู รบคุ คลสาคญั ท้องถิ่น.) คาถามสรปุ ผลการเรียนรู้ 1. หากนกั เรียนตอ้ งการศึกษาประวัติศาสตร์ชาติไทย นักเรียนควรศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ใด เพราะอะไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ 2. หากนักเรยี นต้องการศึกษาประวัตศิ าสตรย์ ุโรปตอนกลาง นกั เรียนควรศึกษาหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรใ์ ด เพราะอะไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ 3. หากมนี ักโบราณคดีถกเถยี งกันในเรื่องของประวัตศิ าสตร์ นักเรยี นจะตดั สนิ ใจเช่อื นักโบราณคดที ่ีมีคุณสมบัติอะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ใบกจิ กรรมที่ 4 ประวตั ิศาสตร์สากล ส 31102 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 เร่ือง การแยกแยะและวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ ครศู ิรมิ า เมฆปัจฉาพิชติ ชื่อ-สกุล .............................................................................. ช้นั ............... เลขท่ี ............ คาช้แี จง ให้นักเรยี นศกึ ษาค้นควา้ เรือ่ งการแยกแยะและวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์พรอ้ มอธบิ ายหัวข้อต่างๆในแบบกจิ กรรมนี้ วธิ กี ารแยกแยะหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ การแยกแยะหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ข้ันตอน หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรจะมีการเขียนเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ เร่ืองราวที่จด วธิ กี ารทาง บันทกึ ไวเ้ รยี กว่าข้อมลู เมื่อจะใชข้ อ้ มลู ควรต้องดาเนินการ ดงั น้ี ประวัติศาส ๑. การแยกแยะความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงกับความคิดเห็นข้อมูลเรื่องราวทางประวัติศาสตร์น้ัน ตร์ จะมีทั้งข้อเท็จจริงกับความคิดเห็นของผู้เขียน ผู้บันทึกหรือผู้แต่ง ข้อเท็จจริงเป็นข้อมูลจากหลักฐานต่างๆ ซ่ึง ข้ันตอนท่ี ๑ อาจตรงกนั บา้ งไมต่ รงกันหรือขัดแย้งกันบ้าง แต่ความคิดเห็นเป็นส่วนท่ีผู้เขียน ผู้บันทึกหรือผู้แต่ง ผู้ใช้หลักฐาน การกาหนด คิดวา่ ขอ้ มลู ทถี่ ูกตอ้ งนา่ จะเปน็ อย่างไร เปา้ หมาย ๒. การแยกแยะระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริง ข้อมูลหรือเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ขั้ น เรียกว่า ข้อเท็จจริง คาว่าข้อเท็จจริง แยกออกเป็นข้อเท็จจริงกับข้อจริง เรื่องราวทางประวัติศาสตร์จึง การกาหนด ประกอบด้วย ข้อเท็จจริงกับข้อจริงหรือความจริงเช่น เร่ืองราวการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งท่ี ๑ (พ.ศ. เ ป้ า ห ม า ย ๒๑๑๒) การเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ ๒ ( พ.ศ. ๒๓๑๐ ) ความจริงคือไทยเสียกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. ๒๑๑๒ เป็นขั้นตอน และ พ.ศ. ๒๓๑๐ ส่วนข้อเท็จจริงคือ ข้อมูลที่เป็นคาอธิบายที่ปรากฏในหลักฐานท้ังหลายว่าทาไมไทยจึงเสีย แ ร ก นั ก กรุงศรีอยุธยาเช่น คนไทยเตรียมตัวไม่พร้อม ผู้นาอ่อนแอและมีความแตกแยกภายใน ทหารมีจานวนน้อย มี ประวัติศาส อาวธุ ลา้ สมัยและมจี านวนไม่พอเพยี ง ข้าศกึ มีผนู้ าท่ีเขม้ แขง็ และมีความสามารถสูง มีทหารจานวนมากกว่าและมี ต ร์ ต้ อ ง มี อาวุธดีกวา่ คาอธิบายดังกล่าวอาจถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นความจริงหรือไม่เป็นความ จุดประสงค์ จรงิ ดงั นนั้ จงึ เรียกคาอธบิ ายหรือเหตุผลวา่ ขอ้ เทจ็ จริง ชัดเจนว่าจะ ศึกษาอะไร ดังน้ัน ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ จึงต้องค้นคว้าข้อมูลจากหลักฐานหลายแหล่งหรืออ่าน อ ดี ต ส่ ว น หนังสือหลายเล่ม เพ่ือจะได้สามารถแยกแยะว่าเร่ืองใดเป็นความจริง เร่ืองใดเป็นข้อเท็จจริง เร่ืองนี้ยังเป็น ไ ห น ส มั ย ประโยชน์ในการรับรู้รบั ฟังข้อมลู หรือเรื่องราวทงั้ หลายในชีวติ ประจาวนั วา่ เร่ืองใดควรเช่ือและเร่ืองใดไมค่ วรเชือ่ อะไร และ เ พ ร า ะ เ ห ตุ ใด เป็นการ ตั้งคาถามที่ ต้ อ ง ก า ร ศึ ก ษ า นั ก ประวัติศาส ต ร์ ต้ อ ง อ า ศั ย ก า ร อ่ า น ก า ร สังเกต และ ค ว ร ต้ อ ง มี ค ว า ม รู้

กว้างๆ ทาง ประวัติศาส ต ร์ ใ น เ รื่ อ ง นั้นๆมาก่อน บ้ า ง ซึ่ ง คาถามหลัก ที่ นั ก ประวัติศาส ตร์ควรคานึง อ ยู่ ตลอดเวลาก็ คื อ ท า ไ ม และเกิดขึ้น อยา่ งไร ขั้นตอนท่ี ๒ การ รวบรวม ขอ้ มูล ห ลั กฐานทาง ประวัติศาส ต ร์ ท่ี ใ ห้ ข้อมู ลมีทั้ ง ห ลั ก ฐ า น ท่ี เ ป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อัก ษ ร แ ล ะ ห ลั ก ฐ า น ที่ ไ ม่ เ ป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อักษร มีทั้ง ที่ เ ป็ น ห ลั ก ฐ า น ช้ันต้น(ปฐม ภู มิ ) แ ล ะ หลักฐานชั้น ร อ ง ( ทุ ติ ย ภูมิ) ข้ันตอนท่ี ๓ การประเมิน คุณค่าของ

หลักฐาน วิ พ ากษ์วิธีทาง ประวัติศาส ตร์ คือ การ ตรวจสอบ ห ลั ก ฐ า น แล ะข้ อมู ล ในหลักฐาน เหล่าน้ันว่า มี ค ว า ม น่ า เ ช่ื อ ถื อ ห รื อ ไ ม่ ประกอบด้ว ยการ วิ พ า ก ษ์ ห ลั ก ฐ า น และวิพากษ์ ข้ อ มู ล โ ด ย ขั้ น ต อ น ท้ั ง สองจะ กระทา ควบคู่กันไป เ นื่ อ ง จ า ก การ ตรวจสอบ ห ลั ก ฐ า น ต้ อ ง พิ จ า ร ณ า จากเน้ือหา ห รื อ ข้ อ มู ล ภายใน หลักฐานนั้น และในการ วิ พ า ก ษ์ ข้อมูลก็ต้อง อ า ศั ย รู ป ลั ก ษ ณ ะ ของ ห ลั ก ฐ า น ภายนอก

ประกอบด้ว ยการ วิ พ า ก ษ์ ห ลั ก ฐ า น หรือวิพากษ์ ภายนอก ข้ันตอนท่ี ๔ การตีความ หลักฐาน กา ร ตี ค ว า ม ห ลั ก ฐ า น ห ม า ย ถึ ง การ พิ จ า ร ณ า ข้ อ มู ล ใ น หลักฐานว่า ผู้ ส ร้ า ง หลักฐ านมี เ จ ต น า ท่ี แ ท้ จ ริ ง อย่างไร โดย ดู จ า ก ลี ล า ก า ร เ ขี ย น ของผู้บันทึก และรูปร่าง ลั ก ษ ณ ะ โ ด ย ทั่ ว ไ ป ของ ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ กรรมต่างๆ เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ความหมาย ท่ีแท้จริงซ่ึง อาจแอบ แฟงโดย เจตนา ห รื อ ไ ม่ ก็ ตาม ข้ันตอนท่ี ๕ การ

สั ง เ ค ร า ะ ห์ และการ วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้อมลู จัดเ ป็ น ขั้ น ต อ น สุดท้ายของ วิ ธี ก า ร ท า ง ประวัติศาส ต ร์ ซึ่ ง ผู้ ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า จะต้องเรียบ เ รี ย ง เ ร่ื อ ง ห รื อ นาเสนอ ข้ อ มู ล ใ น ลั ก ษ ณ ะ ท่ี เ ป็ น ก า ร ต อ บ ห รื อ อ ธิ บ า ย ความอยากรู้ ข้ อ ส ง สั ย ตลอดจน ความรู้ใหม่ ค ว า ม คิ ด ใหม่ท่ีได้จาก ก า ร ศึ ก ษ า ค้นควา้ น้นั ลั ก ษณะ ประเภท ความหมาย และ ความสาคัญ ของ ประวัติศาส ต ร์ ประวัติศาส ต ร์ เ ป็ น วิ ช า ท่ี ว่ า ด้ ว ย

พฤ ติ ก ร ร ม ห รื อ เรื่องราวของ ม นุ ษ ย์ ท่ี เ กิ ด ขึ้ น ใ น อ ดี ต ร่ อ ง ร อ ย ที่ คน ใ น อ ดี ต สร้างเอาไว้ เ ป้ า ห ม า ย ของการ เ รี ย น รู้ ประวัติศาส ตร์ คือ การ เข้าใจสังคม ใ น อ ดี ต ใ ห้ ใกล้เคียงกับ ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง ม า ก ที่ สุ ด เ พื่ อ นามา เ ส ริ ม ส ร้ า ง ความเข้าใจ ใ น สั ง ค ม ปจั จบุ ัน คาช้ีแจง ให้นักเรียนเลือกเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่นักเรียนสนใจมา 1 เร่ือง และใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษา ความเป็นจริงในเร่ืองราวทางประวัตศิ าสตรท์ ีน่ ักเรียนเลือก เรอื่ งท่นี ักเรียนสนใจ คือ ................................................................................................................................................................. เพราะเหตใุ ด ............................................................................................................................. ...................................................... ขัน้ ตอนท่ี ๑ การกาหนดเป้าหมาย …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ข้ันตอนท่ี ๒ การรวบรวมขอ้ มูล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ข้นั ตอนท่ี ๓ การประเมนิ คุณค่าของหลกั ฐาน

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ขนั้ ตอนท่ี ๔ การตคี วามหลกั ฐาน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ขั้นตอนท่ี ๕ การสงั เคราะห์และการวิเคราะหข์ อ้ มูล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ใบกิจกรรมที่ 2 ประวัตศิ าสตร์สากล ส 31102 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 เรอื่ ง หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ ครูศิรมิ า เมฆปัจฉาพชิ ิต ชอ่ื -สกุล .............................................................................. ชน้ั ............... เลขที่ ............ คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาค้นคว้าเรอ่ื งหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรพ์ ร้อมอธิบายหัวขอ้ ตา่ งๆในแบบกิจกรรมนี้ ๑. หลักฐานที่จาแนกตามความสาคญั ๑.๑ หลักฐานชั้นต้น ( primary sources) หมายถึง คาบอกเล่าหรือบันทึกของผู้พบเห็นเหตุการณ์หรือผู้ที่เก่ียวข้อง กับเหตุการณ์โดยตรง ได้แก่ บันทึกการเดินทาง จดหมายเหตุ จารึกรวมถึงส่ิงก่อสร้าง หลักฐานทางโบราณคดี โบราณสถาน โบราณวตั ถุ เชน่ โบสถ์ เจดยี ์ วหิ าร พระพุทธรูป รูปป้นั หม้อ ไห ฯลฯ ๑.๒ หลักฐานชั้นรอง ( secondary sources) หมายถึง ผลงานท่ีเขียนขึ้น หรือเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิด เหตกุ ารณน์ น้ั แลว้ โดยอาศยั คาบอกเล่าหรอื จากหลกั ฐานช้นั ตน้ ตา่ งๆไดแ้ ก่ ตานาน วทิ ยานิพนธ์ เป็นต้น ๒. หลักฐานที่ใช้อักษรเปน็ ตวั กาหนด ๒.๑ หลกั ฐานทีเ่ ปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร (written sources) หมายถึง หลกั ฐานท่มี ีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรบอก เล่าเรื่องราวต่างๆได้แก่ ศิลาจารึก พงศาวดาร ใบลาน จดหมายเหตุ วรรณกรรม ชีวประวัติ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร รวมถึงการบนั ทกึ ไว้ตามส่งิ กอ่ สร้าง โบราณสถาน โบราณวัตถุ แผนที่ หลักฐานประเภทน้จี ดั วา่ เปน็ หลักฐานสมยั ประวัติศาสตร์ ๒.๒ หลักฐานท่ีไม่เป็นลายลักษณ์อักษร หมายถึง ส่ิงท่ีมนุษย์สร้างขึ้นท้ังหมดท่ีไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ สงิ่ กอ่ สรา้ ง โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปะการแสดง คาบอกเล่า นาฏศิลป์ ตนตรี จติ รกรรม ฯลฯ ๓. หลักฐานทกี่ าหนดตามจุดหมายของการผลติ ๓.๑ หลักฐานท่ีมนษุ ย์ต้ังใจสรา้ งขึน้ หมายถงึ หลกั ฐานทีม่ นุษยส์ รา้ งข้ึนเพื่อใช้ในการดารงชีวติ ๓.๒ หลักฐานที่มิได้เป็นผลผลิตที่มนุษย์สร้างหรือตั้งใจสร้าง หมายถึง วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการสืบค้น เรื่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์เร่ิมต้นท่ีความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการ ศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้า หาคาตอบ ด้วยตนเอง จากร่องรอยท่คี นในอดตี ไดท้ าไวแ้ ละตกทอดเหลอื มาถงึ ปจั จบุ ัน ประวัติศาสตร์จะเกิดขึ้นได้ด้วยองค์ประกอบสาคัญได้แก่ สังคมมนุษย์ หลักฐาน มิติของเวลา และวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ โดยขั้นแรกต้องมีเหตุการณ์หรือพฤติกรรมในสังคมมนุษย์เกิดขึ้นแต่เน่ืองจากสังคมมนุษย์เกิดขึ้นมากว่า 500,000 ปีมาแล้ว ความจริงในอดีตจึงต้องอาศัยร่องรอยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ซ่ึงอาจเกิดจากธรรมชาติหรืออาจเกิด จากสิ่งท่มี นุษย์ต้ังใจหรอื อาจไม่ตงั้ ใจจะสรา้ งหลกั ฐานขน้ึ และเมือ่ เกิดหลักฐานข้ึนแล้วต้องอาศัยนักประวัติศาสตร์หรือผู้ที่สนใจ ศึกษาประวัติศาสตร์ทาหน้าท่ีรวบรวมตรวจสอบ พิจารณา ไตร่ตรอง วิเคราะห์ ตีความ วินิจฉัยและเรียบเรียงข้อ เท็จจริงท่ี คน้ พบเพอื่ อธบิ ายเรือ่ งราวในสงั คมนนั้ ๆว่าเกิดขึน้ เพราะเหตใุ ดและผลของเหตกุ ารณน์ ้ันเป็นอย่างไร อย่างไรก็ตามไม่มผี ใู้ ดสามารถจาลองอดีตไดอ้ ยา่ งครบถ้วนสมบูรณ์ฉะน้ันเหตุการณ์ท่ีเรียบเรียงข้ึนเป็นประวัติศาสตร์นี้ จงึ เป็นเรอ่ื งราวเพียงสว่ นหนงึ่ ของพฤตกิ รรมมนุษยใ์ นอดีตเทา่ น้นั โดยผศู้ กึ ษาเห็นวา่ เหตุการณน์ ้ันมคี วามสาคัญต่อสังคมและควร เรียนร้ถู ือเป็นบทเรียนของอดีตท่ีมีผลถึงปัจจุบันและอนาคต การสืบค้นอดีตเพ่ือเข้าใจสังคมปัจจุบันและเห็นแนวทางปฏิบัติใน อนาคตคอื คุณคา่ สาคัญของประวตั ิศาสตร์ นอกจากนี้ประวัติศาสตร์ยังช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจความรักและความภูมิใจในชาติของตน เข้าใจลักษณะเฉพาะ ทางวัฒนธรรมของสังคมมนุษย์ท่ีอยู่ในพ้ืนที่ต่างๆกันและท่ีสาคัญผู้ศึกษาประวัติศาสตร์จะได้รับการฝึกฝนทักษะการคิด วิเคราะห์การแยกแยะข้อเท็จจริงจากข้อมูลหลักฐานที่หลากหลายได้ฝึกฝนการอ่าน การเขียน การเล่าเร่ืองและการนาเสนอ อยา่ งมีเหตุผลอันเป็นกระบวนการสร้างภูมิปญั ญาอยา่ งแท้จรงิ

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนบอกประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์จากรูปท่ีกาหนดให้ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ หลักฐานชั้นตน้ หลกั ฐานชั้นรอง หลกั ฐานท่ีเป็นลายลักษณอ์ กั ษร หลกั ฐานทไี่ ม่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร

ใบกจิ กรรมที่ 3 ประวัติศาสตร์สากล ส 31102 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เรือ่ ง วิธีการประเมินความน่าเช่อื ถอื ของหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ครูศิริมา เมฆปัจฉาพชิ ิต ช่ือ-สกุล .............................................................................. ช้ัน ............... เลขท่ี ............ คาช้ีแจง ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเรื่องวิธีการประเมินความน่าเช่ือถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์พร้อมอธิบายหัวข้อ การ ประเมินความน่าเช่ือถอื ในแบบกจิ กรรมนี้ วธิ กี ารประเมนิ ความน่าเช่ือถือของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์‎ วธิ ีการประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถอื ของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค่ า ข อ ง ห ลั ก ฐ า น ท า ง การศึกษาประวัติศาสตร์จาเป็นต้องอาศัยหลักฐานต่างๆ ประวตั ศิ าสตร์แบง่ เป็น ๒ ประเภท เก่ียวกับเรื่องนั้นๆมาศึกษาวิเคราะห์ตีความเร่ืองราว และ ๑. การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าหลักฐานจาก ตรวจสอบความถูกต้องของเร่ืองราวเหตุการณ์นั้นๆหลักฐานที่ ภายในหมายถึง การตรวจสอบความน่าเช้ือถือของ เกี่ยวข้องกับเร่ืองราวประวัติความเป็นมาของมนุษย์ เรียกว่า หลักฐานว่ามีความน่าเชื่อถือมาก ปานกลางหรือไม่ หลักฐานทางประวัตศิ าสตรซ์ งึ่ สามารถแยกไดด้ งั น้ี นา่ เช่อื ถือท้ังหมดซ่งึ จะต้องใชด้ ว้ ยความระมัดระวังและควร ตรวจสอบดังนี้ ๑. หลักฐานทางศิลปกรรมและโบราณคดีหลักฐานทาง ศิลปกรรมที่สาคัญคือ ศิลปวัตถุแบบอู่ทอง ศิลปวัตถุแบบลพบุรี ๑.๑ ช่วงระยะเวลาของเหตุการณ์และการบันทึก ศลิ ปวตั ถุแบบทวารวดีนอกจากน้ีได้แก่ เงินตรา ซากอิฐปูนของวัด ไดท้ นั เหตุการณค์ วามถกู ต้องยอ่ มมีมากขึน้ วาอาราม พระพุทธรูป เคร่อื งใช้ตามบ้านเรอื น ฯลฯ ๑.๒ จุดมุ่งหมายของผู้บันทึกบางคนต้ังใจบันทึก ๒. หลักฐานที่เป็นหนังสือเก่าน้ันมักจะเขียนลงบนสมุด ได้ทนั เหตกุ ารณค์ วามถกู ตอ้ งย่อมมมี ากขึน้ เทา่ นัน้ ข่อยหรือใบลาน เช่น ตานานสิงหนวัติ (เล่าเรื่องต้ังแต่พระเจ้าสิง หนวัติอพยพมาจากเหนือ) จามเทวีวงศ์ (เป็นเร่ืองเมืองหริภุญ ๑.๓ ผู้บันทึกรู้ในเรื่องราวน้ันจริงหรือไม่ เรื่องราว ไชย) รัตน์พิมพ์วงศ์ (เป็นตานานพระแก้วมรกต) สิหิงคุนิทาน ที่อา้ งอิงมาจากบุคคลอืน่ หรือเปน็ คาพูดของผู้บันทึกเอง (เป็นประวัติพุทธศาสนาและประวัติเมืองต่าง ๆ ในลานนา ไทย) จุลยุทธ์กาลวงศ์ (เป็นพงศาวดารไทย ต้ังแต่สมัยพระเจ้าอู่ ๑.๔ คุณสมบัติของผู้บันทึกเกี่ยวกับการศึกษาเล่า ทองตลอดสมัยอยุธยา) ตานานสุวรรณโคมคา และตานานมูล เรียนสภาพแวดล้อมน่าเชื่อถือหรือไม่ขณะท่ีบันทึกน้ัน ศาสนา (เป็นเร่ืองราวประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย) ปัญหา สภาพร่างกายหรือจิตใจปกติหรือไม่มีความกดดันทาง ของหลักฐานท่ีเป็นหนังสือเก่า คือ เราไม่ทราบว่าผู้บันทึกเขียนไว้ อารมณ์ หรือถูกบีบบังคับให้เขียนหรือไม่ข้อความใน เม่ือไรมีความจริงแค่ไหนและแต่งเตมิ เพยี งใด หลกั ฐานทอี่ าจเกิดการคัดลอกหรือแปลผิดพลาดหรือมีการ ต่อเติมเกิดขน้ึ ๓. หลกั ฐานทเ่ี ป็นศลิ าจารกึ ศิลาจารกึ ถือวา่ เป็นหลักฐาน ท่ีสาคัญมากในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยในระยะเริ่มแรกสมัย ๑.๕ ข้อความน้ันมีอคติเก่ียวกับเช้ือชาติ ศาสนา สุโขทยั ทสี่ าคัญไดแ้ ก่ ศิลาจารกึ หลักท่ี ๑ (จารึกพ่อขุนรามคาแหง) ลทั ธกิ ารเมือง ฐานะทางเศรษฐกิจ สังคมหรอื ไม่ , ศิลาจารึกหลักท่ี ๒ (จารึกวัดศรีชุม) , ศิลาจารึกหลักท่ี ๓ (จารึก นครชุม) , ศิลาจารึกหลักที่ ๔ (จารึกวัดป่ามะม่วง) , ศิลาจารึก ๑.๖ วิธีการในการบันทึกใช้วิธีการบันทึกอย่างไร หลักท่ี ๘ (จารึกวัดพระมหาธาตุ) , จารึกหลักท่ี ๒๔ (จารึกวัดหัว ถ่ีถ้วนมีอรรถรสหรือเป็นการบันทึกโดยการสืบหาสาเหตุ เวียงไชยา) , จารกึ หลกั ท่ี ๓๕ (จารกึ ดงแม่นางเมือง นครสวรรค์) , อ ย่ า ง เ ท่ี ย ง ธ ร ร ม ถ้ า ห า ก ผู้ บั น ทึ ก ใ ช้ วิ ธี ก า ร ท า ง จารึกหลักที่ ๖๒ (จารึกวัดพระยืน ลาพูน) ฯลฯ หมายเหตุ ศิลา ประวัติศาสตร์บันทึกเหตุการณ์จะทาให้เป็นหลักฐานท่ี จารึกให้ลาดบั หลักตามการคน้ พบ กอ่ น – หลงั น่าเชอื่ ถือ ๔. หลักฐานพวกท่ีเป็นพงศาวดารพระราชพงศาวดาร ๒. การประเมินคุณค่าหลักฐานจากภายนอกเป็น สยามมีมากมาย แต่ท่ีมีความสาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ การมุ่งวิเคราะห์และพิสูจน์หลักฐานว่าเป็นของจริงหรือ ของปลอมไม่ว่าจะเป็นบางส่วนหรือทั้งหมด โดยอาศัย วิธีการเปรียบเทียบกับหลักฐานอ่ืน อย่างไรก็ตาม การ ตรวจสอบหลักฐานว่าจริงหรือปลอมนั้นผู้ศึกษาไม่สามารถ

ไทย ได้แก่ ตรวจสอบด้วยตนเองได้ทั้งหมดเพราะต้องใช้ความรู้ ๔.๑ พระราชพงศาวดารสยามที่แต่งในสมัยอยุธยา คือ ความสามารถเฉพาะทางจริงๆจึงต้องอาศัยผลงานหรือขอ ความร่วมมือจากผเู้ ชยี่ วชาญสาขาอ่ืนๆท่ีเกี่ยวข้องซ่ึงส่วนนี้ ฉบับหลวงประเสรฐิ จะเป็นการตรวจสอบหาขอ้ บกพร่องของ ๔.๒ พระราชพงศาวดารสยามท่ีแต่งในสมัยรัตนโกสินทร์ แยกเปน็ ๓ รชั กาล คอื ๔.๒.๑ ฉบับรัชกาลท่ี ๑ มี ๔ สานวน คือ ฉบับ พันจนั ทนุมาศ (เจิม), ฉบับเจ้าพระยาพิพิธพิชัย ฉบับพระ พนั รัตน์ ฉบบั บรติ ิชมิวเซยี ม ๔.๒.๒ ฉบับรัชกาลท่ี ๓ มี ๑ สานวน คือ ฉบับ สมเดจ็ กรมพระปรมานชุ ติ ชโิ นรส ๔.๒.๓ ฉบับรัชกาลท่ี ๔ มี ๔ สานวน คือ ฉบับ พระราชหัตถเลขา ๔.๓ พระราชพงศาวดารฉบับอ่ืน ๆ คือ พระราช พงศาวดารกรุงเก่าฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด) พงศาวดาร เหนอื พงศาวดารโยนก ๕. หลักฐานที่เป็นจดหมายเหตุชาวต่างประเทศหลักฐาน พวกน้เี ป็นหลักฐานภาษาตา่ งประเทศ เพราะมชี าวยุโรปหลายชาติ เข้ามาติดต่อในสมัยอยุธยาหลักฐานเหล่านี้อยู่ในรูปของบันทึก จดหมายเหตุ จดหมายถึงผู้บังคับบัญชาจดหมายของข้าราชการ และพอ่ ค้า เอกสารทางการทูตบันทึกของมิชชันนารีเช่น จดหมาย เหตขุ องลาลแู บร์ บันทึกของบาดหลวงเดอ ช่ัว สี จดหมายเหตุวัน วิลิต เอกสารฮอลันดา ฯลฯ อ้างอิงจาก (สุริยันตร์ เชาวน์ปรีชา: เอกสารประกอบ การสัมมนาประวัติพระยาพิชัยดาบหักเพื่อการ จัดทาหลักสตู รบคุ คลสาคญั ท้องถิน่ .) คาถามสรปุ ผลการเรียนรู้ 1. หากนกั เรียนตอ้ งการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย นกั เรียนควรศกึ ษาหลักฐานทางประวัตศิ าสตรใ์ ด เพราะอะไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ 2. หากนักเรยี นต้องการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ยุโรปตอนกลาง นักเรียนควรศกึ ษาหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ใด เพราะอะไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ 3. หากมนี ักโบราณคดีถกเถยี งกันในเร่ืองของประวตั ศิ าสตร์ นกั เรียนจะตัดสนิ ใจเช่อื นักโบราณคดที ี่มีคุณสมบัติอะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ใบกิจกรรมท่ี 4 ประวัติศาสตร์สากล ส 31102 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เรอื่ ง การแยกแยะและวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ ครูศิริมา เมฆปัจฉาพชิ ติ ชอื่ -สกลุ .............................................................................. ช้นั ............... เลขที่ ............ คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นศึกษาค้นควา้ เร่ืองการแยกแยะและวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์พร้อมอธิบายหัวข้อต่างๆในแบบกิจกรรมนี้ วธิ กี ารแยกแยะหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ การแยกแยะหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ข้ันตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ทเ่ี ปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรจะมกี ารเขียน ข้ันตอนที่ ๑ การกาหนดเปา้ หมาย เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ เรื่องราวท่ีจดบันทึกไว้เรียกว่าข้อมูล เมอื่ จะใช้ขอ้ มลู ควรต้องดาเนินการ ดังน้ี ข้ันการกาหนดเป้าหมาย เป็นข้ันตอนแรก นัก ประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร ๑. การแยกแยะความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงกับ อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เป็นการต้ัง ความคิดเห็นข้อมูลเรื่องราวทางประวัติศาสตร์น้ันจะมีทั้ ง คาถามที่ต้องการศึกษา นักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการ ข้อเท็จจริงกับความคิดเห็นของผู้เขียน ผู้บันทึกหรือผู้แต่ง อ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทาง ข้อเท็จจริงเป็นข้อมูลจากหลักฐานต่างๆ ซึ่งอาจตรงกันบ้างไม่ ประวัติศาสตร์ในเรื่องน้ันๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคาถามหลักที่ ตรงกันหรือขัดแย้งกันบ้าง แต่ความคิดเห็นเป็นส่วนที่ผู้เขียน ผู้ นักประวัติศาสตร์ควรคานึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทาไมและ บันทึกหรือผู้แต่ง ผู้ใช้หลักฐานคิดว่าข้อมูลที่ถูกต้องน่าจะเป็น เกดิ ข้ึนอย่างไร อย่างไร ข้นั ตอนท่ี ๒ การรวบรวมขอ้ มูล ๒. การแยกแยะระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริง ข้อมูล หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ให้ข้อมูลมีทั้ง หรือเรื่องราวทางประวัติศาสตร์เรียกว่า ข้อเท็จจริง คาว่า หลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรและหลักฐานท่ีไม่เป็น ข้อเท็จจริง แยกออกเป็นข้อเท็จจริงกับข้อจริง เรื่องราวทาง ลายลักษณ์อักษร มีทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้น(ปฐมภูมิ) ประวัติศาสตร์จึงประกอบด้วย ข้อเท็จจริงกับข้อจริงหรือความ และหลกั ฐานชน้ั รอง(ทุตยิ ภมู ิ) จริงเช่น เรื่องราวการเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังท่ี ๑ (พ.ศ. ขัน้ ตอนท่ี ๓ การประเมินคุณคา่ ของหลกั ฐาน ๒๑๑๒) การเสยี กรงุ ศรอี ยุธยาครงั้ ที่ ๒ ( พ.ศ. ๒๓๑๐ ) ความจริง คือไทยเสียกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. ๒๑๑๒ และ พ.ศ. ๒๓๑๐ ส่วน วิพากษ์วธิ ีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบ ข้อเท็จจริงคือ ข้อมูลท่ีเป็นคาอธิบายที่ปรากฏในหลักฐาน หลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่าน้ันว่า มีความ ท้ังหลายว่าทาไมไทยจึงเสียกรุงศรีอยุธยาเช่น คนไทยเตรียมตัวไม่ น่าเชื่อถือหรือไม่ ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานและ พร้อม ผู้นาอ่อนแอและมีความแตกแยกภายใน ทหารมีจานวน วิพากษ์ข้อมูลโดยขั้นตอนทั้งสองจะกระทาควบคู่กันไป น้อย มีอาวุธล้าสมัยและมีจานวนไม่พอเพียง ข้าศึกมีผู้นาท่ี เน่ืองจากการตรวจสอบหลักฐานต้องพิจารณาจาก เขม้ แขง็ และมีความสามารถสูง มีทหารจานวนมากกว่าและมีอาวุธ เนื้อหา หรือข้อมูลภายในหลักฐานนั้น และในการ ดีกว่า คาอธิบายดังกล่าวอาจถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง ซ่ึงเรียกอีก วิพากษ์ข้อมูลก็ต้องอาศัยรูปลักษณะของหลักฐาน อย่างหน่ึงว่าเป็นความจริงหรือไม่เป็นความจริง ดังนั้นจึงเรียก ภายนอกประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานหรือวิพากษ์ คาอธบิ ายหรอื เหตุผลวา่ ขอ้ เท็จจรงิ ภายนอก ขั้นตอนท่ี ๔ การตีความหลักฐาน ดังนั้น ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ จึงต้อง ค้นคว้าข้อมูลจากหลักฐานหลายแหล่งหรืออ่านหนังสือหลายเล่ม การตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณา เพ่ือจะได้สามารถแยกแยะว่าเร่ืองใดเป็นความจริง เรื่องใดเป็น ข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาที่แท้จริง ข้อเท็จจริง เร่ืองน้ียังเป็นประโยชน์ในการรับรู้รับฟังข้อมูลหรือ อย่างไร โดยดูจากลีลาการเขียนของผู้บันทึกและรูปร่าง เรือ่ งราวท้งั หลายในชวี ติ ประจาวันว่าเรื่องใดควรเชื่อและเร่ืองใดไม่ ลักษณะโดยท่ัวไปของประดิษฐ์กรรมต่างๆเพื่อให้ได้ ควรเช่อื ความหมายที่แท้จริงซึ่งอาจแอบแฟงโดยเจตนาหรือไม่ก็ ตาม

ขัน้ ตอนที่ ๕ การสังเคราะหแ์ ละการวเิ คราะห์ข้อมลู จั ด เ ป็ น ขั้ น ต อ น สุ ด ท้ า ย ข อ ง วิ ธี ก า ร ท า ง ประวัติศาสตร์ ซึ่งผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องเรียบเรียงเร่ือง หรอื นาเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบาย ความอยากรู้ ข้อสงสัยตลอดจนความรู้ใหม่ความคิดใหม่ ที่ได้จากการศกึ ษาค้นคว้านน้ั ลักษณะประเภท ความหมายและความสาคัญ ของประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์เป็นวิชาที่ว่าด้วย พ ฤ ติ ก ร ร ม ห รื อ เ ร่ื อ ง ร า ว ข อ ง ม นุ ษ ย์ ที่ เ กิ ด ข้ึ น ใ น อ ดี ต รอ่ งรอยท่ีคนในอดีตสร้างเอาไว้ เป้าหมายของการเรียนรู้ ประวตั ศิ าสตร์ คือ การเขา้ ใจสงั คมในอดีตให้ใกล้เคียงกับ ความเป็นจริงมากท่ีสุด เพ่ือนามาเสริมสร้างความเข้าใจ ในสังคมปจั จบุ นั คาช้ีแจง ให้นักเรียนเลือกเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ที่นักเรียนสนใจมา 1 เรื่อง และใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษา ความเปน็ จรงิ ในเรอ่ื งราวทางประวัตศิ าสตร์ทนี่ ักเรยี นเลือก เร่ืองทน่ี กั เรยี นสนใจ คือ ......................................................................................................................... ........................................ เพราะเหตุใด ............................................................................................................................. ...................................................... ขั้นตอนท่ี ๑ การกาหนดเป้าหมาย …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ข้ันตอนท่ี ๒ การรวบรวมขอ้ มูล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ขั้นตอนท่ี ๓ การประเมินคุณคา่ ของหลกั ฐาน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ขั้นตอนที่ ๔ การตคี วามหลกั ฐาน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ขั้นตอนท่ี ๕ การสังเคราะห์และการวิเคราะหข์ ้อมูล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............

แบบฝกึ หัดที่ 2 ประวัตศิ าสตร์สากล ส 31102 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เร่อื ง วิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ ครศู ิรมิ า เมฆปัจฉาพิชิต ชอื่ -สกุล .............................................................................. ช้ัน ............... เลขที่ ............ คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นเลือกเรือ่ งทต่ี ้องการจะศกึ ษา 1 เร่อื ง ซงึ่ เก่ียวกับครอบครวั /โรงเรียน/ชุมชน ของตนเอง เรอื่ งทต่ี ้องการศึกษา ............................................................................................................................. ............................................................................... การรวบรวมหลักฐาน .............................................................................................................................................. ......... - หลักฐานปฐมภูมิ - หลกั ฐานทตุ ิยภูมิ ............................................................................................................................. .......................... ...................................................................................... ................................................................. การประเมนิ คุณคา่ ............................................................................................................................. .......................... - วพิ ากษภ์ ายนอก .................................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. .......................................... - วพิ ากษ์ภายใน ............................................................................................................................. .......................... ............................................................................................................................. .......................... ........................................................................................................ ............................................... ............................................................................................................................. .......................... การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมขู่ ้อมูล - การวิเคราะหข์ ้อมลู ............................................................................................................................. .......................... ....................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................... - การสังเคราะห์ขอ้ มลู ............................................................................................................................. .......................... ........................................................................................................ ............................................... ............................................................................................................................. .......................... - ก า ร จั ด ห ม ว ด ห มู่ ....................................................................................................................................................... ขอ้ มลู ............................................................................................................................. .......................... ............................................................................................................................. .......................... การนาเสนอข้อมูล ............................................................................................................................. ............................................................................... ................................................................................................................................................................................ ............................ ...................................................................................................... ...................................................................................................... ............................................................................................................................. ...............................................................................