Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มที่ 3 คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ

เล่มที่ 3 คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ

Published by kanya jirathumtrakul, 2021-02-02 16:31:50

Description: เล่มที่ 3 คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ

Search

Read the Text Version

- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ป็นทางการ - การดังต่อไปนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต โดยรู้อยู่แล้ว หรือในกรณีการเยียวยาทางแพ่ง มีเหตุอันควรรู้ ว่าการกระทาน้ันจะจูงใจให้เกิด ก่อให้เกิด ให้ความสะดวก หรือปกปิดการละเมิดลิขสิทธิ์ หรือสทิ ธิขา้ งเคยี งใด ๆ ภายใต้บทน้ี (เอ) ลบหรอื เปลย่ี นแปลงอาร์ เอ็ม ไออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรือ (บ)ี จาหน่าย นาเข้าเพื่อจาหน่าย แพร่เสียงแพร่ภาพ เผยแพร่ หรือทาให้ปรากฏ ต่อสาธารณชน ซ่ึงสาเนาของงาน การแสดงที่ได้มีการบันทึกไว้แล้วในส่ิงบันทึกเสียง หรือสิ่งบันทึกเสียง โดยรู้อยู่แล้วว่าอาร์ เอ็ม ไออิเล็กทรอนิกส์ได้ถูกลบหรือ เปล่ียนแปลงโดยไม่ได้รบั อนุญาต ข้อ 11.16: ข้อจากัดและข้อยกเว้นของการให้ความคุ้มครองและการเยียวยาสาหรับมาตรการ ทางเทคโนโลยแี ละอาร์เอม็ ไอ 1. ภาคีแต่ละฝ่ายอาจให้มีข้อจากัดและข้อยกเว้นท่ีเหมาะสมสาหรับมาตรการเพื่อปฏิบัติ ตามข้อ 11.14 (การหลบเลี่ยงมาตรการทางเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ) และข้อ 11.15 (การคมุ้ ครองขอ้ มลู การบริหารสิทธอิ ิเล็กทรอนกิ ส์) ตามกฎหมายและระเบียบขอ้ บังคบั ของตน 2. พันธกรณีท่ีกาหนดในข้อ 11.14 (การหลบเลี่ยงมาตรการทางเทคโนโลยีท่ีมีประสิทธิภาพ) และข้อ 11.15 (การคุ้มครองข้อมูลการบริหารสิทธิอิเล็กทรอนิกส์) จะไม่กระทบต่อสิทธิ ข้อจากดั ขอ้ ยกเว้น หรือข้อต่อสู้ของการละเมิดลิขสิทธ์ิหรือสิทธิข้างเคียงใด ๆ ภายใต้กฎหมาย และระเบียบข้อบงั คบั ของภาคใี ด ขอ้ 11.17: การใชซ้ อฟต์แวร์โดยรฐั บาล ภาคแี ตล่ ะฝา่ ยยนื ยันพนั ธกรณีท่ีจะ (เอ) คงไว้ซ่ึงกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ หรือนโยบายอันเหมาะสม ที่กาหนดให้รัฐบาล กลางของตนใช้เพียงเฉพาะซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่ไม่ละเมิด ในลักษณะที่สอดคล้อง กบั บทน้ี และ (บ)ี ส่งเสริมให้รัฐบาลในระดับภูมิภาคและท้องถ่ินของตนนามาใช้หรือคงไว้ซึ่งมาตรการ ท่คี ล้ายกนั กบั มาตรการทร่ี ะบใุ นอนุวรรค (เอ) เมื่อข้อมูลเช่นว่าน้ีติดอยู่กับสาเนาของงาน การแสดงที่ได้บันทึกไว้แล้วในสิ่งบันทึกเสียง หรือส่ิงบันทึกเสียง หรือปรากฏโดยเกี่ยวข้องกับการเผยแพร่หรือการทาให้งาน การแสดงท่ีบันทึกไว้แล้วในสิ่งบันทึกเสียง หรอื สิ่งบนั ทึกเสียง ปรากฏตอ่ สาธารณชน 11-9

- คำ�แปลอย่างไมเ่ ป็นทางการ - ข้อ 11.18: ขอ้ จากัดและข้อยกเว้น 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะจากัดข้อจากัดหรือข้อยกเว้นของสิทธิแต่เพียงผู้เดียวเฉพาะในกรณีพิเศษ ซึ่งไม่ขัดกับการแสวงหาประโยชน์ตามปกติจากงาน การแสดง หรือสิ่งบันทึกเสียง และไมก่ ระทบกระเทอื นถึงสทิ ธอิ นั ชอบธรรมของผทู้ รงสทิ ธิเกินสมควร15 2. ไม่มีความใดในวรรค 1 ท่ีจะลดหรือขยายขอบเขตการนามาใช้ซึ่งข้อจากัดและข้อยกเว้นที่ภาคี สามารถมีได้ในฐานะภาคีความตกลงทริปส์ อนุสัญญากรุงเบิร์น อนุสัญญากรุงโรม สนธิสัญญา ดบั บลิว ซี ที หรือสนธสิ ัญญาดับบลิว พี พี ที 3. ภาคแี ต่ละฝ่ายจะพยายามให้มคี วามสมดุลท่ีเหมาะสมในระบบลิขสิทธิ์และสิทธิข้างเคียงของตน ซ่ึงรวมถึงการมีข้อจากัดและข้อยกเว้นท่ีสอดคล้องกับวรรค 1 เพื่อความมุ่งประสงค์อันชอบธรรม ซึ่งอาจรวมถึงการศึกษา การวิจัย การวิจารณ์ การแสดงความเห็น การรายงานข่าว และการอานวยความสะดวกการเข้าถึงงานท่ีมีการโฆษณาแล้วสาหรับคนตาบอด คนพิการ ทางการเหน็ หรือคนพกิ ารทางสอ่ื สง่ิ พิมพ์ 4. เพื่อความชัดเจนยิ่งขึ้น ภาคีอาจนามาใช้หรือคงไว้ซึ่งข้อจากัดหรือข้อยกเว้นของสิทธิ ตามวรรค 1 สาหรับการใช้ที่เป็นธรรมตราบเท่าที่ข้อจากัดหรือข้อยกเว้นเช่นว่าน้ันถูกจากัดไว้ ตามทร่ี ะบุในวรรค 1 ส่วน ซี เครื่องหมายการค้า ขอ้ 11.19: การคุ้มครองเครอ่ื งหมายการค้า ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้เครื่องหมายใด ๆ หรือกลุ่มของเคร่ืองหมายใด ๆ ท่ีสามารถแสดงได้ว่าสินค้า และบริการของบุคคลหน่ึงนั้นแตกต่างจากสินค้าและบริการของบุคคลอื่น สามารถเป็นเคร่ืองหมาย การค้าได้ เครือ่ งหมายเช่นวา่ น้ัน โดยเฉพาะคา รวมทั้งชอื่ ของบุคคล ตวั อักษร ตัวเลข รูปร่างหรือรูปทรง ของวัตถุ รูปทรงสามมิติ และกลุ่มของสี ตลอดจนส่ิงเหล่านี้อย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน สามารถ จดทะเบียนเป็นเครื่องหมายการค้าได้ ในกรณีท่ีเคร่ืองหมายไม่สามารถแสดงความแตกต่างของสินค้า หรือบริการท่ีเกี่ยวข้องโดยตัวเอง ภาคีอาจกาหนดให้ความสามารถในการจดทะเบียนขึ้นอยู่กับ ลักษณะบ่งเฉพาะที่ได้มาโดยการใช้ ภาคีจะต้องไม่กาหนดเง่ือนไขให้เคร่ืองหมายการค้าที่จะได้รับ การจดทะเบียนเป็นเคร่ืองหมายที่ปรากฏแก่สายตา หรือปฏิเสธการรับจดทะเบียนเคร่ืองหมายการค้า เพียงเพราะเครือ่ งหมายนน้ั เป็นเสียง16 15 เพื่อความชัดเจนยิ่งขึ้น วรรคนี้ไม่ขัดขวางภาคีในการให้ข้อจากัดหรือข้อยกเว้นสาหรับงานแพร่เสียงแพร่ภาพ ทีส่ อดคลอ้ งกบั ความตกลงพหุภาคีเกย่ี วกับทรพั ย์สนิ ทางปัญญาที่ภาคีนน้ั เป็นหรอื จะเป็นภาคี 16 ภาคีอาจกาหนดใหม้ ีคาอธิบายเครื่องหมายการคา้ ทเ่ี พียงพอ ซึง่ สามารถแสดงออกมาได้โดยชัดแจง้ 11-10

- ค�ำ แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - ข้อ 11.20: การค้มุ ครองเคร่ืองหมายร่วมและเครือ่ งหมายรบั รอง 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้เครื่องหมายการค้ารวมไปถึงเครื่องหมายร่วมและเครื่องหมายรับรอง ทั้งน้ี ภาคีไม่จาเป็นต้องจัดให้เคร่ืองหมายรับรองเป็นประเภทแยกออกมาต่างหากในกฎหมาย และระเบียบขอ้ บังคับของตน ตราบใดทีเ่ คร่อื งหมายเหล่านั้นไดร้ ับการคุม้ ครอง 2. ภาคีแต่ละฝา่ ยจะให้เคร่ืองหมายท่ีอาจเป็นสิ่งบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ได้สามารถได้รับความคุ้มครอง ภายใต้ระบบเคร่อื งหมายการคา้ ตามกฎหมายและระเบยี บข้อบงั คบั ของตน ข้อ 11.21: ระบบการระบจุ าพวกเคร่ืองหมายการคา้ 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะนามาใช้หรือคงไว้ซึ่งระบบการระบุจาพวกเครื่องหมายการค้าที่สอดคล้อง กับความตกลงเมื องนีซว่ า ด้ วย ก า ร ร ะ บุ จ า พว ก สิ น ค้ า แ ล ะบ ริ ก า ร ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ เ พ่ื อ การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า ทาขึ้น ณ เมืองนีซ เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1957 ซ่ึงมกี ารปรบั ปรุงเป็นคร้งั คราว (ต่อไปในที่น้จี ะเรยี กว่า “ความตกลงเมอื งนซี ” ในบทน้ี) 2. ภาคีท่ีอาศัยคาแปลของการระบุจาพวกของความตกลงเมืองนีซ (ต่อไปในที่นี้จะเรียกว่า “การระบุจาพวกของนีซ” ในบทนี้) จะต้องทาตามฉบับปรับปรุงท่ีเป็นปัจจุบันของการระบุ จาพวกของนีซเท่าท่ีคาแปลอยา่ งเปน็ ทางการถูกตีพิมพ์และเผยแพร่ ข้อ 11.22: การจดทะเบยี นและคาขอจดทะเบยี นเครือ่ งหมายการค้า 1. ภาคแี ต่ละฝา่ ยจะจดั ให้มรี ะบบการจดทะเบียนเคร่อื งหมายการค้าซึง่ จะต้องรวมถงึ (เอ) ข้อกาหนดให้มีการแจ้งผู้ยื่นคาขอเป็นลายลักษณ์อักษร ซ่ึงอาจเป็นการแจ้ง ด้วยวธิ อี เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ถึงเหตผุ ลของการปฏิเสธรบั จดทะเบยี นเครือ่ งหมายการคา้ (บี) โอกาสสาหรับผู้ยื่นคาขอท่ีจะช้ีแจงต่อคาสั่งของหน่วยงานผู้มีอานาจของภาคี อุทธรณ์ คาสัง่ ปฏเิ สธในชั้นแรก และอุทธรณ์คาส่ังปฏิเสธการรับจดทะเบียนเคร่ืองหมายการค้า ในชนั้ สุดทา้ ยตอ่ ศาล (ซ)ี โอกาสในการทาอย่างน้อยหนึ่งสิ่งดังต่อไปน้ีก่อนท่ีเครื่องหมายการค้าจะได้รับ การจดทะเบียน (หนง่ึ ) คดั ค้านคาขอจดทะเบียนเครอ่ื งหมายการค้า หรือ (สอง) ให้ข้อมูลกับหน่วยงานผู้มีอานาจว่าคาขอจดทะเบียนเคร่ืองหมายการค้า ไมม่ ลี กั ษณะอันพงึ รบั จดทะเบียน 11-11

- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - (ดี) โอกาสในการทาอย่างน้อยหนึ่งส่ิงดังต่อไปน้ีภายหลังเครื่องหมายการค้าได้รับ การจดทะเบยี นแลว้ (หน่ึง) คัดคา้ นการจดทะเบียน (สอง) ย่นื คาขอเพกิ ถอนการจดทะเบียน (สาม) ย่ืนคาขอยกเลกิ การจดทะเบียน หรือ (ส่ี) ยนื่ คาขอให้การจดทะเบียนเปน็ โมฆะ และ (อี) ข้อกาหนดที่ให้คาส่ังทางปกครอง17 จากกระบวนการคัดค้าน เพิกถอน ยกเลิก หรือ ทาให้เป็นโมฆะ จะต้องระบุเหตุผลและเป็นลายลักษณ์อักษร คาส่ังดังกล่าว อาจถกู จดั ส่งโดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ 2. ภาคแี ตล่ ะฝา่ ยจะจดั ให้มี (เอ) ระบบการยื่นคาขออิเล็กทรอนิกส์สาหรับการประมวล จดทะเบียน และคงไว้ ซง่ึ เคร่ืองหมายการค้า และ (บ)ี ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ของคาขอและการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า ท่สี าธารณชนสามารถเข้าถึงได้ ข้อ 11.23: สทิ ธิที่เกดิ ขน้ึ ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้เจ้าของเคร่ืองหมายการค้าที่ได้รับการจดทะเบียนมีสิทธิแต่เพียงผู้เดียว ในการปอ้ งกนั มิให้บคุ คลอ่นื ทง้ั หมดทีไ่ ม่ได้รบั ความยินยอมจากเจา้ ของเคร่ืองหมายการค้าใช้เครื่องหมาย ท่ีเหมอื นหรอื คลา้ ยกันในทางการค้าสาหรับสินค้าหรือบริการท่ีเหมือนหรือคล้ายกันกับสินค้าหรือบริการ ท่เี ครอ่ื งหมายการค้าน้ันได้รับการจดทะเบียนไว้ หากการใช้ดังกล่าวน่าจะทาให้เกิดความสับสน ในกรณี ของการใช้เคร่ืองหมายที่เหมือนกันสาหรับสินค้าหรือบริการเดียวกันให้สันนิษฐานว่า น่าจะทาให้เกิด ความสับสน สิทธิท่ีกล่าวมาในข้อนี้จะไม่กระทบกระเทือนสิทธิใด ๆ ท่ีมีอยู่ก่อนแล้ว หรือกระทบ ต่อความเปน็ ไปได้ทภี่ าคจี ะใหส้ ทิ ธิเกดิ ขนึ้ มาไดโ้ ดยผา่ นการใช้ 17 เพือ่ ความมงุ่ ประสงค์ของอนุวรรคน้ี “คาสั่งทางปกครอง” รวมถงึ คาสัง่ กง่ึ ตลุ าการ 11-12

- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - ข้อ 11.24: ข้อยกเว้น ภาคีอาจกาหนดข้อยกเว้นท่ีจากัดสาหรับสิทธิท่ีเกิดข้ึนจากเคร่ืองหมายการค้า อาทิ การใช้คาบรรยาย ลักษณะอย่างเป็นธรรม ตราบเท่าท่ีข้อยกเว้นดังกล่าวคานึงถึงประโยชน์อันชอบธรรมของเจ้าของ เคร่ืองหมายการค้าและของบคุ คลทส่ี าม ข้อ 11.25: การคุ้มครองเครอ่ื งหมายการคา้ ที่มีมาก่อนสงิ่ บง่ ช้ที างภูมศิ าสตร์ ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้ความคุ้มครองเครื่องหมายการค้าที่มีมาก่อนส่ิงบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ในเขตอานาจ ของตน โดยสอดคลอ้ งกบั ความตกลงทริปส์ ขอ้ 11.26: การคุม้ ครองเครอ่ื งหมายการค้าที่มีชอื่ เสียงแพร่หลายทั่วไป 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้มีมาตรการท่ีเหมาะสมเพ่ือปฏิเสธหรือเพิกถอนการจดทะเบียน และห้ามการใช้18 เครื่องหมายการค้าท่ีเหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าที่มีชื่อเสียง แพร่หลายทั่วไป19, 20 กับสินค้าหรือบริการที่เหมือนหรือคล้ายกัน หากการใช้เครื่องหมาย การคา้ นนั้ นา่ จะทาใหเ้ กดิ ความสับสนกบั เคร่ืองหมายการคา้ ท่มี ีชื่อเสียงแพรห่ ลายท่วั ไปนัน้ 2. ภาคีแต่ละฝ่ายตระหนักถึงความสาคัญของข้อเสนอแนะร่วมว่าด้วยข้อกาหนดสาหรับ การคุ้มครองเครื่องหมายที่มีช่ือเสียงแพร่หลายท่ัวไป ซ่ึงรับรองโดยสหภาพอนุสัญญา กรุงปารีส ว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม และที่ประชุมสมัชชาใหญ่ของไวโป ครงั้ ทสี่ ามสบิ ส่ี เมื่อวันท่ี 20 ถงึ 29 กนั ยายน ค.ศ. 1999 3. ภาคีต้องไม่กาหนดเป็นเงื่อนไขของเครื่องหมายการค้าท่ีเป็นเคร่ืองหมายการค้าที่มีช่ือเสียง แพร่หลายท่ัวไปว่า เคร่ืองหมายการค้านั้นจะต้องได้รับการจดทะเบียนในภาคีน้ันหรือประเทศ อ่ืนใดแล้ว ถูกระบุในรายการเครื่องหมายการค้าท่ีมีช่ือเสียงแพร่หลายทั่วไป หรือได้รับ การยอมรบั วา่ เปน็ เครอื่ งหมายการคา้ ทมี่ ีชอ่ื เสียงแพรห่ ลายทั่วไปแลว้ 18 เพอื่ ความชัดเจนยง่ิ ขึ้น ภาคีอาจปฏิบัตติ ามพนั ธกรณใี นการมมี าตรการท่ีเหมาะสมเพ่อื หา้ มการใชเ้ คร่อื งหมายการคา้ ท่ีเหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าท่ีมีชื่อเสียงแพร่หลายทั่วไปภายใต้วรรคนี้ ด้วยการให้อานาจหน่วยงาน ทางตลุ าการในการห้ามการใชเ้ คร่อื งหมายการคา้ ดงั กลา่ ว 19 เพื่อความมุ่งประสงค์ของวรรคนี้ ภาคีอาจกาหนดให้ “การทาซ้า การลอกเลียน หรือการแปล เครื่องหมายการค้า ทีม่ ีชอื่ เสยี งแพรห่ ลายทวั่ ไป” มีความหมายเดียวกับ “เหมอื นหรอื คล้ายกับเครอื่ งหมายการค้าท่ีมชี อ่ื เสียงแพรห่ ลายท่ัวไป” 20 กล่มุ ภาคีเข้าใจว่าเครอ่ื งหมายการค้าทม่ี ีชอ่ื เสียงแพร่หลายท่วั ไป คอื เคร่ืองหมายการค้าที่ภาคีพิจารณาว่ามีชื่อเสียง แพร่หลายอยแู่ ล้วก่อนการยื่นคาขอ การจดทะเบียน หรอื การใช้ เครอ่ื งหมายการคา้ ดังกล่าว 11-13

- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - ขอ้ 11.27: เครอ่ื งหมายการค้าจากเจตนาไมส่ จุ ริต21 ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้หน่วยงานผู้มีอานาจมีอานาจปฏิเสธคาขอหรือเพิกถอนการจดทะเบียน หากคาขอ จดทะเบยี นเคร่อื งหมายการคา้ ถูกยืน่ โดยมีเจตนาไม่สุจรติ ตามกฎหมายและระเบียบขอ้ บงั คับของตน ขอ้ 11.28: คาขอหน่ึงเดียวสาหรบั หลายสนิ ค้าหรือบรกิ าร ภาคแี ตล่ ะฝา่ ยจะใหค้ าขอหน่ึงเดียวสาหรับการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าสามารถเป็นคาขอสาหรับ หลายสินค้า หรือบริการ หรือท้ังสองส่ิงรวมกัน โดยไม่คานึงถึงว่าจะอยู่ภายใต้ประเภทหนึ่ง หรือหลายประเภทของการระบจุ าพวกของนซี สว่ น ดี สง่ิ บง่ ชี้ทางภูมศิ าสตร์ ข้อ 11.29: การคมุ้ ครองสง่ิ บ่งชีท้ างภูมศิ าสตร์ ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้กฎหมายและระเบียบข้อบังคับของตนมีวิธีการเพ่ือคุ้มครองส่ิงบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ อย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ ภาคีแต่ละฝ่ายตระหนักว่าการคุ้มครองดังกล่าวอาจกระทา โดยผ่านระบบเครื่องหมายการค้า ระบบเฉพาะ หรือวิธีการทางกฎหมายอ่ืน ตราบเท่าที่เป็นไปตาม เงอื่ นไขภายใตค้ วามตกลงทริปส์ทกุ ประการ ข้อ 11.30: กระบวนการทางปกครองภายในประเทศสาหรับการคุ้มครองสิ่งบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ 1. หากภาคมี กี ระบวนการทางปกครอง22ภายในประเทศสาหรับการคุ้มครองสิ่งบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ ไม่ว่าผ่านระบบเคร่ืองหมายการค้าหรือระบบเฉพาะ ภาคีน้ันจะต้องดาเนินการดังต่อไปนี้ สาหรับคาขอรับความคมุ้ ครองดังกล่าว (เอ) รับคาขอรับความคุ้มครองส่ิงบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์โดยไม่กาหนดให้ภาคีต้องเป็น ผยู้ นื่ คาขอในนามประชาชนของตน23 21 เพ่ือความมุ่งประสงค์ของข้อนี้ หนว่ ยงานผูม้ อี านาจของภาคีอาจพจิ ารณาว่าเครื่องหมายการคา้ น้นั เหมือนหรือคล้าย กบั เครอ่ื งหมายการคา้ ทม่ี ีชอ่ื เสียงแพร่หลายท่วั ไปของบคุ คลอ่นื หรือไม่ 22 เพื่อความมุ่งประสงค์ของข้อน้ี “กระบวนการทางปกครอง” รวมถึงกระบวนการกงึ่ ตลุ าการ 23 เพื่อความชัดเจนยิ่งข้ึน ภาคีอาจกาหนดให้คาขอรับความคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่มาจากอีกภาคีหนึ่ง ประกอบด้วยหลักฐานที่แสดงแก่ภาคีน้ันอย่างเพียงพอว่าส่ิงบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ดังกล่าวได้รับความคุ้มครอ ง ในอีกภาคหี น่งึ นนั้ 11-14

- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - (บ)ี ดาเนนิ การกบั คาขอตามกระบวนการและขัน้ ตอนที่สมเหตุสมผล24 (ซี) ให้กฎหมายและระเบียบข้อบังคับเก่ียวกับการคุ้มครองสิ่งบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์มีอยู่ โ ด ย พ ร้ อ ม ต่ อ ส า ธ า ร ณ ช น แ ล ะ ร ะ บุ ก ร ะ บ ว น ก า ร เ กี่ ย ว กั บ ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง สิ่ ง บ่ ง ช้ี ทางภูมศิ าสตร์ รวมท้งั กระบวนการเกี่ยวกับการย่นื คาขอ อยา่ งชดั เจน (ด)ี มีข้อมูลท่ีจะทาให้สาธารณชนสามารถรับทราบเก่ียวกับกระบวนการยื่นคาขอ รบั ความคมุ้ ครองสงิ่ บ่งชท้ี างภมู ิศาสตร์ และอนุญาตให้ผู้ยื่นคาขอหรือตัวแทนขอทราบ สถานะของคาขอ และ (อ)ี ให้มีการประกาศโฆษณาคาขอสาหรับการคัดค้านและให้มีกระบวนการสาหรับ การคดั ค้านสงิ่ บ่งชี้ทางภูมศิ าสตรต์ ามคาขอ ท้ังนี้ คาขอคัดค้านจะต้องถูกรับโดยไม่ต้อง ให้ภาคอี ืน่ เป็นผูย้ ่นื ในนามประชาชนของตน 2. สาหรับการคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ภายใต้วรรค 1 ภาคีจะต้องให้มีกระบวนการสาหรับ การเพกิ ถอน25 การให้ความค้มุ ครองสิง่ บ่งชที้ างภูมิศาสตร์ ขอ้ 11.31: เหตแุ หง่ การคัดคา้ นและเพิกถอน 1. สาหรับกระบวนการคัดค้านตามอนุวรรค 1(อี) ของข้อ 11.30 (กระบวนการทางปกครอง ภายในประเทศสาหรบั การคุม้ ครองส่ิงบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์) ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องมีกระบวนการ ที่ให้ผู้มีส่วนได้เสียเป็นอย่างน้อย สามารถคัดค้านการให้ความคุ้มครองส่ิงบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ และทใ่ี ห้มกี ารปฏเิ สธการให้ความคุ้มครองน้ันได้ อย่างน้อยด้วยเหตุว่าส่ิงบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์น้ัน เปน็ คาทต่ี ามปรกตใิ นภาษาทัว่ ไปเปน็ ชอ่ื สามญั 26 ของสนิ คา้ ที่เกยี่ วขอ้ งในอาณาเขตของภาคนี ัน้ 2. หากภาคีให้ความคุ้มครองส่ิงบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผ่านกระบวนการดังกล่าวในข้อ 11.30 (กระบวนการทางปกครองภายในประเทศสาหรบั การคมุ้ ครองสิง่ บ่งชี้ทางภูมิศาสตร์) แก่คาแปล หรือการถอดอักษรของสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์นั้น ภาคีดังกล่าวจะให้มีเหตุแห่งการคัดค้าน 24 กล่มุ ภาคีเขา้ ใจวา่ เพ่ือความมุ่งประสงค์ของอนุวรรคนี้ กระบวนการและขั้นตอนท่ีสมเหตุสมผลอาจถูกพิจารณาว่า เปน็ กระบวนการและขั้นตอนที่ไม่เปน็ ภาระอนั เกินควร 25 เพ่ือความชัดเจนยิ่งข้ึน เพื่อความมุ่งประสงค์ของส่วนนี้ การเพิกถอนอาจดาเนินการผ่านกระบวนการการทาให้ เปน็ โมฆะหรือการยกเลกิ 26 ในกรณีที่ภาคีใช้บังคับข้อน้ีกับส่ิงบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์สาหรับไวน์และสุรา หรือคาขอรับความคุ้มครองส่ิงบ่งชี้ ทางภูมิศาสตร์สาหรับไวน์และสุรา ภาคีกลุ่มภาคีเข้าใจว่า ไม่มีความใดในส่วนน้ีท่ีกาหนดให้ภาคีต้องคุ้มครองส่ิงบ่งชี้ ทางภูมิศาสตร์ของภาคีอ่ืนใดสาหรับผลิตภัณฑ์จากพืชองุ่นที่มีสิ่งบ่งชี้ท่ีเหมือนกับชื่อสามัญของพันธุ์องุ่นที่มีอยู่ใน อาณาเขตของภาคีนั้น 11-15

- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ป็นทางการ - เช่นเดียวกับเหตุท่ีระบุในวรรค 1 เป็นอย่างน้อย สาหรับการคัดค้านการให้ความคุ้มครอง คาแปลหรือการถอดอกั ษรนัน้ 27 3. สาหรับกระบวนการดังกล่าวในวรรค 1 ในการพิจารณาว่าคาใดเป็นคาที่ตามปรกติ ในภาษาท่ัวไปเป็นช่ือสามัญของสินค้าท่ีเกี่ยวข้องในอาณาเขตของภาคี ภาคีแต่ละฝ่าย จะให้หน่วยงานผู้มีอานาจมีอานาจพิจารณาว่าผู้บริโภคมีความเข้าใจคาดังกล่าวในอาณาเขต ของภาคนี ้นั อย่างไร ปจั จัยทเ่ี กยี่ วข้องกับความเข้าใจของผ้บู รโิ ภคอาจรวมถึง (เอ) ว่าคาดังกล่าวถูกใช้เรียกสินค้าประเภทน้ัน ตามท่ีระบุในแหล่งท่ีมาที่เชื่อถือได้ เชน่ พจนานกุ รม หนงั สือพมิ พ์ และเวบ็ ไซตท์ ่ีเก่ยี วขอ้ ง หรอื ไม่ และ (บี) ว่าสินค้าท่ีถูกเรียกด้วยคาดังกล่าวมีการทาการตลาดและใช้ในทางการค้าในอาณาเขต ของภาคนี น้ั อย่างไร28 4. สาหรับกระบวนการเพิกถอนในวรรค 2 ของข้อ 11.30 (กระบวนการทางปกครอง ภายในประเทศสาหรับการคุ้มครองส่ิงบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์) ทุกภาคีจะไม่ตัดความเป็นไปได้ ท่ีความคุ้มครองส่ิงบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์อาจถูกเพิกถอน หรือส้ินสุดไป ด้วยเหตุว่าคาที่ได้รับ ความคุ้มครองนนั้ เลิกเปน็ ไปตามเง่ือนไขที่ทาให้ได้รับความคุ้มครองแต่ทีแรกในภาคนี ั้น ข้อ 11.32: คาประกอบ สาหรับกระบวนการที่กล่าวถึงในข้อ 11.30 (กระบวนการทางปกครองภายในประเทศสาหรับ การคุ้มครองสิ่งบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์) และข้อ 11.31 (เหตุแห่งการคัดค้านและเพิกถอน) คาหน่ึงคาใด ใน ค า ป ร ะก อ บ ที่ ไ ด้ รับ ค ว า ม คุ้ม ค ร อ ง เ ป็น ส่ิ ง บ่ ง ช้ีท า ง ภู มิ ศ าส ต ร์ จ ะไม่ ไ ด้ รั บ ค ว า ม คุ้ ม ค รอ ง ใ น ภ า คี หากคาน้ันเปน็ คาทต่ี ามปรกติในภาษาทั่วไปเปน็ ชื่อสามญั ของสินค้าท่ีเกย่ี วข้องในอาณาเขตของภาคนี น้ั ข้อ 11.33: วนั ของการคุม้ ครองส่ิงบ่งชที้ างภูมิศาสตร์ การคุ้มครองส่ิงบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ผ่านกระบวนการทางปกครอง29 ภายในประเทศตามข้อ 11.30 (กระบวนการทางปกครองภายในประเทศสาหรับการคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์) จะเริ่มต้นไม่เร็วไป กว่าวนั ย่ืนคาขอรับความค้มุ ครอง30ในภาคนี ้นั หรือวันท่ขี ้ึนทะเบียนในภาคดี ังกลา่ ว ตามแตก่ รณี 27 ภาคีไมจ่ าเปน็ ต้องนาวรรคนไี้ ปใช้บงั คับกับคาขอรบั ความค้มุ ครองสงิ่ บง่ ชท้ี างภมู ศิ าสตร์สาหรับไวนแ์ ละสุรา 28 เพอื่ ความม่งุ ประสงค์ของอนุวรรคน้ี หน่วยงานผู้มีอานาจของภาคีอาจพิจารณา ตามความเหมาะสม ว่าคาดังกล่าว ถูกใช้ ในม าตร ฐาน ระห ว่าง ประ เทศ ท่ีเก่ีย วข้อ งที่ ก ลุ่มภ าคี ย อมรั บว่า ใช้อ้ างถึง ประ เภท หรือ หมว ดหมู่ ของ สินค้ า ในอาณาเขตของภาคีนัน้ 29 เพ่อื ความมงุ่ ประสงค์ของขอ้ น้ี “กระบวนการทางปกครอง” รวมถงึ กระบวนการกง่ึ ตลุ าการ 11-16

- ค�ำ แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - ข้อ 11.34: การคุ้มครองหรือการยอมรับสง่ิ บง่ ช้ีทางภมู ศิ าสตร์ตามความตกลงระหว่างประเทศ หากภาคคี ้มุ ครองหรือยอมรบั ส่ิงบง่ ชท้ี างภมู ิศาสตรต์ ามความตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับภาคีใด หรือประเทศที่ไม่ได้เป็นภาคี และความตกลงดังกล่าวสรุปผลภายหลังวันมีผลใช้บังคับ ของความตกลงฉบับน้ีสาหรับภาคีน้ัน และส่ิงบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์นั้นไม่ได้รับ ความคุ้มครอง ผ่านกระบวนการตามข้อ 11.30 (กระบวนการทางปกครองภายในประเทศสาหรับการคุ้มครอง สิง่ บ่งช้ที างภูมิศาสตร)์ ภาคดี งั กลา่ วจะต้อง (เอ) จัดให้มขี ้อมลู เกย่ี วกบั กระบวนการการคุ้มครองหรือยอมรับส่ิงบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไว้แก่ สาธารณะ และหากเกี่ยวข้อง อนุญาตให้ผู้มีส่วนได้เสียเป็นอย่างน้อยรับทราบสถานะ คาร้องขอรับความค้มุ ครองหรอื การยอมรบั ได้ (บี) ให้สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่อยู่ระหว่างการพิจารณาเพื่อคุ้มครองหรือยอมรับถูกประกาศ โฆษณาเพื่อการคัดค้าน ให้มีกระบวนการสาหรับผู้มีส่วนได้เสียเป็นอย่างน้อย ในการคัดค้านส่ิงบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์นั้นด้วยเหตุตาม วรรค 1 ของข้อ 11.31 (เหตุแห่งการคัดค้านและเพิกถอน) และนาข้อ 11.32 (คาประกอบ) มาใช้กับ กระบวนการดงั กล่าว และ (ซี) จัดให้มีรายละเอียดเก่ียวกับคาท่ีภาคีกาลังพิจารณาให้ความคุ้มครองหรือยอมรับ ผ่านความตกลงระหว่างประเทศท่ีเกี่ยวข้องกับภาคีหรือประเทศที่ไม่ได้เป็นภาคีไว้แก่ สาธารณะ ข้อ 11.35: การคุ้มครองหรือยอมรับส่ิงบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ภายใต้ความตกลงระหว่างประเทศ ทสี่ รปุ ผลแลว้ 1. ไม่มีภาคีใดถูกกาหนดให้ต้องนาข้อ 11.34 (การคุ้มครองหรือการยอมรับสิ่งบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ ตามความตกลงระหว่างประเทศ) ไปใช้กับส่ิงบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ท่ีถูกระบุไว้อย่างเฉพาะเจาะจง แลว้ ใน และที่ไดร้ ับการคมุ้ ครองหรือยอมรับแล้วตามความตกลงระหว่างประเทศท่ีเกี่ยวข้องกับ ภาคีหรือประเทศท่ีไม่ได้เป็นภาคี หากความตกลงน้ันสรุปผลแล้วก่อนวันมีผลใช้บังคับของ ความตกลงนีส้ าหรับภาคดี งั กล่าว 2. สาหรับความตกลงระหว่างประเทศตามวรรค 1 ที่อนุญาตให้มีการคุ้มครองหรือยอมรับ ส่งิ บง่ ชีท้ างภมู ศิ าสตรใ์ หมไ่ ด้ ภาคจี ะต้อง 32 30 เพ่ือความชัดเจนยิ่งข้ึน ในกรณีท่ีภาคีคุ้มครองสิ่งบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ผ่านระบบเคร่ืองหมายการค้า วันยื่นคาขอ ตามข้อนร้ี วมถึง ตามแตก่ รณี วนั ที่มกี ารอ้างนบั วันยน่ื ย้อนหลังตามอนุสัญญากรงุ ปารีส 32 ภาคีอาจปฏิบัตติ ามวรรคนีด้ ว้ ยการปฏบิ ตั ติ ามพนั ธกรณีภายใต้ขอ้ 11.30 (กระบวนการทางปกครองภายในประเทศ สาหรับการคุม้ ครองสิ่งบง่ ช้ที างภมู ศิ าสตร์) และขอ้ 11.31 (เหตแุ หง่ การคัดคา้ นและเพกิ ถอน) 11-17

- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - (เอ) ปฏิบัติตามอนุวรรค (ซี) ของข้อ 11.34 (การคุ้มครองหรือการยอมรับสิ่งบ่งช้ี ทางภูมิศาสตร์ตามความตกลงระหว่างประเทศ) และ (บี) ใหม้ ีโอกาสสาหรับผูม้ ีสว่ นได้เสียเป็นอย่างน้อยในการให้ข้อคิดเห็นต่อการคุ้มครองหรือ ยอมรับสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ใหม่น้ัน โดยมีระยะเวลาอันสมควรก่อนท่ีคาดังกล่าว จะไดร้ บั การคุ้มครองหรอื ยอมรับ สว่ น อี สิทธิบตั ร ขอ้ 11.36: ส่ิงทสี่ ามารถจดสิทธิบัตรได้ 1. โดยขึ้นอยู่กับข้อกาหนดในวรรค 2 และ 3 สิทธิบัตรจะถูกออกได้สาหรับการประดิษฐ์ใด ๆ ไม่วา่ ผลิตภณั ฑห์ รอื กรรมวธิ ี ในเทคโนโลยีทุกสาขา หากเป็นการประดิษฐ์ข้ึนใหม่ มีขั้นการประดิษฐ์ สูงขึ้นและสามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม33 โดยข้ึนอยู่กับวรรค 3 และส่วน เอ็ม (ระยะเวลาปรับตัวและความช่วยเหลือทางเทคนิค) สิทธิบัตรและสิทธิตามสิทธิบัตรจะมีอยู่ โดยไม่เลือกปฏิบัติ ไม่ว่าในด้านสถานที่ของการประดิษฐ์ สาขาเทคโนโลยี และไม่ว่าผลิตภัณฑ์ จะถกู นาเข้าหรอื ผลติ ในประเทศ 2. ภาคีอาจกาหนดให้การประดิษฐ์ที่การป้องกันการแสวงหาประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ภายในอาณาเขต ของตนมีความจาเป็นเพ่ือปกป้องความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี รวมถึงเพ่ือคุ้มครอง ชีวิตหรือสุขภาพของมนุษย์ สัตว์ หรือพืช หรือเพื่อหลีกเล่ียงผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อ ส่ิงแวดล้อม ไม่สามารถจดสิทธิบัตรได้ ตราบเท่าท่ีการยกเว้นน้ันไม่ได้มีขึ้นเพียงเพราะการ แสวงหาประโยชนด์ งั กลา่ วถูกหา้ มโดยกฎหมายและระเบียบขอ้ บงั คบั ของตน 3. ภาคอี าจเวน้ จากการจดสิทธบิ ตั รสาหรบั (เอ) วิธีการวินิจฉยั บาบดั และผา่ ตัด เพื่อรักษาโรคมนษุ ย์หรอื สตั ว์ และ (บ)ี พืชหรือสัตว์นอกเหนือจากจุลชีพ และกรรมวิธีทางชีววิทยาสาหรับการผลิตพืชหรือ สัตวน์ อกเหนือจากกรรมวิธีที่ไม่ใช่ทางชีววิทยาและจุลชีววิทยา อย่างไรก็ดี ภาคีแต่ละฝ่าย จะต้องให้ความคุ้มครองพันธุ์พืช ไม่ว่าโดยสิทธิบัตรหรือโดยระบบเฉพาะหรือ โดยทั้งสองระบบรวมกัน กลุ่มภาคีจะทบทวนอนุวรรคน้ีเมื่อมีการแก้ไขอนุวรรค 3 (บี) ของข้อ 27 ของความตกลงทริปส์ เพ่ือตัดสินใจว่าจะนาการแก้ไขท่ีคล้ายกันนั้นมาใช้ กับอนวุ รรคนีห้ รอื ไม่ 33 เพ่ือความมุ่งประสงค์ของส่วนนี้ ภาคีอาจถือว่าคาว่า “ขั้นการประดิษฐ์ท่ีสูงข้ึน” และ “สามารถประยุกต์ ในทางอุตสาหกรรม” มีความหมายเดยี วกบั คาว่า “ทีไ่ ม่เปน็ ทป่ี ระจักษ์” และ “มีประโยชน์” ตามลาดับ 11-18

- ค�ำ แปลอย่างไม่เป็นทางการ - ขอ้ 11.37: สทิ ธิทเ่ี กิดขน้ึ 1. ภาคีแต่ละฝา่ ยจะให้สทิ ธบิ ัตรก่อใหเ้ กิดสทิ ธแิ ต่เพียงผ้เู ดียวแก่ผู้ทรงสิทธิบตั รดังต่อไปน้ี (เอ) ในกรณีสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์ สิทธิในการป้องกันมิให้บุคคลอื่นที่ไม่ได้รับความยินยอม จากผทู้ รงสทิ ธบิ ัตร ผลิต ใช้ เสนอขาย ขาย หรือนาเข้า34 เพ่ือความมุ่งประสงค์ข้างต้น ซ่งึ ผลติ ภัณฑ์ตามสิทธิบัตร และ (บี) ในกรณีสิทธิบัตรกรรมวิธี สิทธิในการป้องกันมิให้บุคคลอ่ืนที่ไม่ได้รับความยินยอม จากผู้ทรงสิทธิบัตรใช้กรรมวิธีตามสิทธิบัตร รวมถึงมิให้ใช้ เสนอขาย ขาย หรือนาเข้า เพ่อื ความมุ่งประสงคข์ า้ งต้นเป็นอย่างนอ้ ย ซึ่งผลิตภัณฑท์ ่ีผลติ โดยใชก้ รรมวธิ ตี ามสิทธบิ ัตร 2. ผทู้ รงสทิ ธิบตั รมีสิทธโิ อน หรือโอนทางมรดกซง่ึ สทิ ธบิ ัตร และทาสัญญาอนุญาตให้ใชส้ ิทธิ ขอ้ 11.38: ขอ้ ยกเว้นของสิทธิทีเ่ กดิ ข้ึน ภาคอี าจกาหนดขอ้ ยกเวน้ ท่จี ากดั สาหรับสทิ ธิแต่เพยี งผู้เดียวท่เี กิดขึ้นจากสิทธิบัตร ตราบเท่าที่ข้อยกเว้น ดั ง ก ล่ า ว ไ ม่ ขั ด ต่ อ ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ สิ ท ธิ บั ต ร ต า ม ป ก ติ แ ล ะ ไ ม่ ท า ใ ห้ เ สื่ อ ม เ สี ย ต่ อ ป ร ะ โ ย ช น์ ของผู้ทรงสทิ ธิบตั รเกนิ สมควร โดยคานงึ ถึงประโยชนอ์ ันชอบธรรมของบคุ คลท่สี าม ขอ้ 11.39: การใช้อืน่ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าตจากผู้ทรงสทิ ธิ เพ่ือความชัดเจนย่ิงขึ้น ไม่มีความใดในความตกลงน้ีที่จะจากัดสิทธิและพันธกรณีภายใต้ข้อ 31 และ ขอ้ 31 ทวิ ของความตกลงทรปิ ส์ และภาคผนวกและเอกสารแนบทา้ ยของความตกลงทริปส์ของภาคี ขอ้ 11.40: การใชส้ ิทธิบตั รเพ่ือการทดลอง โดยไม่เป็นการจากัดข้อ 11.38 (ข้อยกเว้นของสิทธิท่ีเกิดขึ้น) ภาคีแต่ละฝ่ายจะกาหนดให้บุคคลใด ๆ สามารถกระทาการที่จะเป็นการละเมิดสิทธิบัตรได้ หากการกระทาเช่นว่าน้ันเป็นไปเพ่ือการทดลอง35 เกีย่ วกับการประดิษฐต์ ามสิทธิบัตร 34 สิทธินี้ เช่นเดียวกับสิทธิอื่นท้ังหมดที่เกิดขึ้นภายใต้บทนี้ท่ีเก่ียวกับการใช้ ขาย นาเข้า หรือจาหน่ายซึ่งสินค้า ขน้ึ อยกู่ ับบทบัญญัติของขอ้ 11.6 (การส้นิ ไปซ่งึ สทิ ธิในทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา) 35 เพ่ือความชัดเจนย่ิงขึ้น ภาคีแต่ละฝ่ายสามารถกาหนด โดยสอดคล้องกับข้อ 11.38 (ข้อยกเว้นของสิทธิท่ีเกิดขึ้น) การกระทาท่ถี ือว่าเปน็ การกระทา “เพื่อการทดลอง” 11-19

- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - ขอ้ 11.41: กระบวนการของการตรวจสอบและการจดทะเบยี น 1. กลุ่มภาคีตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพของระบบสิทธิบัตร ของตน ตลอดจนการทาให้ง่ายข้ึนและปรับปรุงซึ่งกระบวนการและขั้นตอนของหน่วยงาน ผูม้ ีอานาจ เพอื่ ประโยชน์ของผ้ใู ช้ระบบสิทธิบัตรทงั้ หมดและสาธารณชนโดยรวม 2. ภาคีแต่ละฝา่ ยจะจดั ใหม้ ีระบบสทิ ธิบัตร ซึ่งรวมถึง (เอ) ข้อกาหนดให้มีการแจ้งผู้ยื่นคาขอถึงเหตุผลของการปฏิเสธการออกสิทธิบัตร เปน็ ลายลักษณอ์ ักษร (บ)ี โอกาสสาหรบั ผยู้ น่ื คาขอในการแก้ไขคาขอหรอื ให้ขอ้ สังเกตเก่ยี วกับคาขอ36 (ซ)ี โอกาสในการทาอย่างน้อยหนง่ึ สงิ่ ดังตอ่ ไปนี้กอ่ นสทิ ธิบัตรจะถูกออก (หน่งึ ) ย่นื คาคัดค้านคาขอรบั สิทธิบตั ร หรือ (สอง) ใหข้ อ้ มูลกบั หนว่ ยงานผมู้ อี านาจท่ีแสดงถงึ การขาดความใหม่หรือขั้นการประดิษฐ์ ท่สี งู ขึน้ ของการประดิษฐต์ ามคาขอรบั สิทธบิ ตั ร (ด)ี โอกาสในการทาอย่างนอ้ ยหนึ่งสิ่งดังตอ่ ไปนภี้ ายหลงั จากสิทธิบัตรถกู ออกแล้ว (หนง่ึ ) คดั คา้ นการออกสิทธบิ ัตร (สอง) ขอให้ยกเลกิ สทิ ธิบตั ร (สาม) ขอให้เพิกถอนสิทธิบัตร หรือ (สี่) ขอใหส้ ทิ ธบิ ัตรเปน็ โมฆะ และ (อี) ข้อกาหนดที่ให้คาส่ังทางปกครอง37 จากกระบวนการคัดค้าน ยกเลิก เพิกถอน หรือ ทาให้เป็นโมฆะ จะต้องระบุเหตุผลและเป็นลายลักษณ์อักษร โดยอาจแจ้งคาสั่ง ดงั กล่าวโดยวธิ อี ิเลก็ ทรอนิกส์ 36 เพ่ือความมุ่งประสงค์ของอนุวรรคนี้ กลุ่มภาคีเข้าใจว่า “การแก้ไข” อาจรวมถึงการแก้ไขให้ถูกต้อง และ “ข้อสังเกต” อาจรวมถึงคาอธิบายหรือคาชี้แจงต่อคาส่ังของหน่วยงานผู้มีอานาจ ไม่ว่าคาชี้แจงดังกล่าว จะถกู ให้พรอ้ มกับการแก้ไขคาขอหรือการแก้ไขคาขอให้ถูกตอ้ งหรอื ไมก่ ต็ าม 37 เพือ่ ความมงุ่ ประสงค์ของอนวุ รรคนี้ “คาสง่ั ทางปกครอง” อาจรวมถงึ คาสง่ั กง่ึ ตลุ าการ 11-20

- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เปน็ ทางการ - ข้อ 11.42: ระยะผ่อนผนั สาหรับสทิ ธบิ ัตร กลุ่มภาคีคานึงถึงประโยชน์ของระยะผ่อนผันสาหรับสิทธิบัตรที่จะไม่นาการเปิดเผยการประดิษฐ์ ตอ่ สาธารณชนบางกรณมี าพจิ ารณาว่าการประดิษฐม์ คี วามใหม่หรือไม่ เพอ่ื เปน็ การสง่ เสริมนวัตกรรม ขอ้ 11.43: ระบบย่ืนคาขอรับสทิ ธิบัตรแบบอิเล็กทรอนิกส์ ภาคีแต่ละฝ่ายถูกส่งเสริมให้นาระบบยื่นคาขอรับสิทธิบัตรแบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ เพ่ืออานวย ความสะดวกการยนื่ คาขอของผ้ยู ่นื คาขอ ข้อ 11.44: การประกาศโฆษณา 18 เดอื น 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะประกาศโฆษณาคาขอรับสิทธิบัตรโดยพลันหลังจากเวลา 18 เดือน นับจาก วันยื่นคาขอหรือวันท่ีได้อ้างสิทธิย้อนหลังที่เร็วที่สุดในกรณีท่ีมีการอ้างขอถือสิทธิย้อนหลัง ไดส้ ้ินสุดลง เวน้ แต่คาขอจะถูกประกาศโฆษณาไปก่อนแล้ว หรือถกู ถอน ละทิ้งหรอื ถกู ปฏิเสธแลว้ 38 2. หากคาขอไมถ่ กู ประกาศโฆษณาโดยพลันตามวรรค 1 ภาคีจะต้องประกาศโฆษณาคาขอน้ันหรือ สทิ ธิบัตรตามคาขอโดยเร็วทีส่ ุดท่ีสามารถทาได้ 3. ไม่มีความใดในข้อน้ีจะถูกตีความว่าภาคีจะต้องเปิดเผยข้อมูลที่ตนพิจารณาแล้วเห็นว่า จะขดั กบั ความมั่นคงของประเทศหรือความสงบเรยี บร้อยหรือศีลธรรมอันดี 4. ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้ผู้ย่ืนคาขอสามารถร้องขอให้มีการประกาศโฆษณาคาขอก่อนเวลาที่ระบุ ในวรรค 1 จะสนิ้ สุดลงได้ ขอ้ 11.45: ข้อมูลท่ถี ือเป็นงานท่ีปรากฏอยู่แล้วต่อสาธารณชนบนอินเทอรเ์ นต็ กลุ่มภาคีตระหนักว่าข้อมูลที่ปรากฏต่อสาธารณชนบนอินเทอร์เน็ตอาจเป็นส่วนหน่ึงของงานท่ีปรากฏ อยูแ่ ลว้ ได้ ข้อ 11.46: การตรวจสอบแบบเร่ง ภ า คี แ ต่ ล ะ ฝ่ า ย จ ะ พ ย า ย า ม จั ด ใ ห้ มี ก ร ะ บ ว น ก า ร ภ า ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ ส า ห รั บ ผู้ ย่ื น ค า ข อ รั บ สิ ท ธิ บั ต ร ในการขอให้มีการเร่งการตรวจสอบคาขอรบั สทิ ธบิ ตั รของตน โดยเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และกฎของภาคนี ั้น 38 กลุ่มภาคีเข้าใจว่า เพ่ือความมุ่งประสงค์ของข้อน้ี คาขอจะถูกถอน ละทิ้ง หรือปฏิเสธ ตามกฎหมายและระเบียบ ขอ้ บงั คับภายในของภาคี 11-21

- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - ขอ้ 11.47: การนามาใชซ้ ่งึ ระบบจาแนกสิทธิบตั รระหวา่ งประเทศ ภ า คี แ ต่ ล ะ ฝ่ า ย จ ะ พ ย า ย า ม ใ ช้ ร ะ บ บ จ า แ น ก สิ ท ธิ บั ต ร ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ค ว า ม ต ก ล ง ส ต ร า ส บู ร์ ก ว่าด้วยการจาแนกสิทธิบัตรระหว่างประเทศ ทาข้ึน ณ เมืองสตราสบูร์ก เม่ือวันท่ี 24 มีนาคม ค.ศ. 1971 ตามทมี่ ีการแก้ไขเป็นครงั้ คราว ขอ้ 11.48: การค้มุ ครองพันธุ์พืชใหม่39 ภ า คี แ ต่ ล ะ ฝ่ า ย จ ะ ใ ห้ ค ว า ม คุ้ ม ค ร อ ง พั น ธุ์ พื ช ใ ห ม่ โ ด ย ร ะ บ บ ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง พั น ธ์ุ พื ช โ ด ย เ ฉ พ า ะ ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ สว่ น เอฟ การออกแบบอตุ สาหกรรม ขอ้ 11.49: การคุ้มครองการออกแบบอตุ สาหกรรม 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้ความคุ้มครองการออกแบบอุตสาหกรรมซ่ึงถูกสร้างสรรค์ข้ึนอย่างอิสระ ทเี่ ป็นแบบใหม่หรือต้นฉบับ ภาคีอาจกาหนดว่าการออกแบบไม่ถือว่าเป็นแบบใหม่หรือต้นฉบับ หากไมม่ ีความแตกตา่ งอยา่ งมีนัยสาคัญจากการออกแบบที่เป็นที่รู้จักกันอยู่แล้วหรือการรวมกัน ของส่วนของการออกแบบท่ีเป็นที่รู้จักอยู่แล้ว ภาคีอาจให้ความคุ้มครองดังกล่าวไม่ครอบคลุม ถงึ การออกแบบท่ีถกู กาหนดโดยข้อพจิ ารณาด้านเทคนิคหรือการใช้งานเป็นสาคญั 2. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องให้ข้อกาหนดสาหรับการได้มาซึ่งความคุ้มครองการออกแบบสิ่งทอ โดยเฉพาะในเรอ่ื งคา่ ใช้จ่าย การตรวจสอบหรือการประกาศโฆษณา จะไม่ส่งผลกระทบอันเกินควร ต่อโอกาสในการขอรับและได้มาซึ่งความคุ้มครอง ท้ังน้ี ภาคีแต่ละฝ่ายสามารถปฏิบัติ ตามพันธกรณนี ้ีผ่านกฎหมายการออกแบบอตุ สาหกรรมหรอื กฎหมายลขิ สิทธิ์ 3. ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้เจ้าของการออกแบบอุตสาหกรรมท่ีได้รับความคุ้มครองมีสิทธิป้องกันมิให้ บุคคลอ่ืนที่ไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของ ผลิต ขาย หรือนาเข้า ส่ิงของท่ีใช้หรือ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ก า ร อ อ ก แ บ บ ที่ เ ป็ น ก า ร ล อ ก เ ลี ย น ห รื อ โ ด ย ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ป็ น ก า ร ล อ ก เ ลี ย น การออกแบบทไี่ ด้รับความคุ้มครอง เมื่อการกระทาดังกล่าวเปน็ การกระทาเพ่ือความมุ่งประสงค์ ในเชิงพาณิชย์ 4. ภาคีแต่ละฝ่ายอาจกาหนดข้อยกเว้นที่จากัดสาหรับการคุ้มครองการออกแบบอุตสาหกรรม ตราบเท่าที่ข้อยกเว้นดังกล่าวไม่ขัดต่อการใช้ประโยชน์การออกแบบอุตสาหกรรมท่ีได้รับ 39 เพอ่ื ความชัดเจนย่งิ ขึ้น ในสว่ นของการคมุ้ ครองพันธุ์พชื อนวุ รรค 3 (บ)ี ของข้อ 11.36 (สิ่งที่สามารถจดสิทธิบัตรได้) อยู่ภายใต้ขอ้ นี้ 11-22

- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เปน็ ทางการ - ความคุ้มครองตามปกติและไม่ทาให้เส่ือมเสียต่อประโยชน์ของเจ้าของการออกแบบท่ีได้รับ ความคมุ้ ครอง โดยคานึงถึงประโยชน์อันชอบธรรมของบคุ คลทีส่ าม 5. ภาคีแต่ละฝ่ายยนื ยนั วา่ มีการคุ้มครองการออกแบบอุตสาหกรรมสาหรับการออกแบบ (เอ) ท่ีเป็นส่วนหนง่ึ ของสิง่ ของหนึง่ ๆ หรอื อกี ทางเลอื กหนงึ่ (บ)ี โดยให้ความสาคัญ เมอ่ื เหมาะสม กับสว่ นหนึ่งของสิ่งของในบริบทของส่ิงของน้ันท้ังช้ิน ตามกฎหมายและระเบียบข้อบงั คบั ของตน ขอ้ 11.50: ข้อมูลท่ีถือเป็นการออกแบบที่ปรากฏอยแู่ ล้วต่อสาธารณชนบนอนิ เทอรเ์ นต็ 40 กลุ่มภาคีตระหนักว่าข้อมูลท่ีปรากฏต่อสาธารณชนบนอินเทอร์เน็ตอาจเป็นส่วนหนึ่งของ การออกแบบ ทป่ี รากฏอย่แู ลว้ ได้ ข้อ 11.51: การจดทะเบียนหรือการออกสิทธิบัตรการออกแบบอุตสาหกรรม และคาขอ จดทะเบียน การออกแบบอตุ สาหกรรม ภาคีแต่ละฝ่ายจะจัดให้มีระบบสาหรับจดทะเบียนหรือการออกสิทธิบัตรการออกแบบอุตสาหกรรม ซ่งึ จะรวมถึง (เอ) ข้อกาหนดให้มีการแจ้งผู้ยื่นคาขอถึงเหตุผลของการปฏิเสธการรับจดทะเบียน หรือออกสทิ ธบิ ตั รการออกแบบอุตสาหกรรมเป็นลายลักษณ์อักษร ซ่ึงอาจเป็นการแจ้ง โดยวธิ ีอิเล็กทรอนิกส์ (บี) โอกาสสาหรับผู้ย่ืนคาขอในการชี้แจงต่อคาส่ังของหน่วยงานผู้มีอานาจของภาคี และโต้แย้ง คัดค้าน หรืออุทธรณ์คาสั่งปฏิเสธรับจดทะเบียนหรือออกสิทธิบัตร การออกแบบอตุ สาหกรรม (ซี) โอกาสในการย่ืนคาขอเพิกถอนหรือคาขอใหก้ ารจดทะเบียนเป็นโมฆะหรือคาขอยกเลิก การจดทะเบยี นหรอื การออกสิทธบิ ัตรการออกแบบอุตสาหกรรม (ด)ี ข้อกาหนดที่ให้คาสั่งทางปกครอง41 จากกระบวนการเพิกถอนหรือการขอให้เป็นโมฆะ หรือการยกเลิก จะต้องระบุเหตุผลและเป็นลายลักษณ์อักษร โดยอาจแจ้งคาส่ัง ลายลกั ษณ์อักษรดงั กลา่ วโดยวิธอี เิ ล็กทรอนกิ ส์ 40 เพ่ือความชัดเจนย่ิงข้ึน ไม่มีความในข้อนี้ท่ีจะเป็นการกาหนดให้ภาคีจะต้องให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองของตน ทาการตรวจสอบสาระสาคญั ของการออกแบบ 11-23

- คำ�แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - ขอ้ 11.52: การนามาใชซ้ ง่ึ ระบบจาแนกการออกแบบอุตสาหกรรมระหวา่ งประเทศ ภาคีแต่ละฝ่ายจะพยายามใช้ระบบจาแนกการออกแบบอุตสาหกรรมระหว่างประเทศที่สอดคล้องกับ ความตกลงโลคาร์โนว่าด้วยการกาหนดการจาแนกการออกแบบอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ ลงนาม ณ เมอื งโลคาร์โน เมอื่ วนั ท่ี 8 ตลุ าคม ค.ศ. 1968 ตามที่มีการแก้ไขเป็นครัง้ คราว ส่วน จี ทรพั ยากรพนั ธกุ รรม ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน และการแสดงออกทางวัฒนธรรมดงั้ เดมิ 42 ข้อ 11.53: ทรัพยากรพนั ธกุ รรม ภูมิปญั ญาท้องถิ่น และการแสดงออกทางวัฒนธรรมดัง้ เดมิ 1. โดยข้ึนอยู่กับพันธกรณีระหว่างประเทศของภาคี ภาคีแต่ละฝ่ายอาจจัดให้มีมาตรการ ท่ีเหมาะสม43 เพื่อปกป้องทรัพยากรพันธุกรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และการแสดงออก ทางวฒั นธรรมดั้งเดมิ 2. ในกรณีท่ีภาคีมีข้อกาหนดเร่ืองการเปิดเผยเก่ียวกับแหล่งท่ีมาหรือแหล่งกาเนิดของทรัพยากร พันธุกรรม44 โดยเป็นส่วนหน่ึงของระบบสิทธิบัตร ภาคีน้ันจะพยายามเผยแพร่กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับข้อกาหนดดังกล่าว โดยรวมถึง บนอินเทอร์เน็ตหากกระทาได้ ในลักษณะท่ีจะทาให้ผู้มีส่วนได้เสียและภาคีอ่ืน ๆ สามารถ ทาความคนุ้ เคยได้ 3. ภาคีแต่ละฝ่ายจะพยายามดาเนนิ การตรวจสอบสิทธิบัตรทม่ี คี ุณภาพ ซงึ่ อาจรวมถงึ (เอ) การที่ในการพิจารณางานที่ปรากฏอยู่แล้ว ข้อมูลในเอกสารท่ีเป็นสาธารณะเก่ียวกับ ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ทรัพยากรพนั ธุกรรมอาจถูกนามาพจิ ารณาด้วย 41 เพ่อื ความมุง่ ประสงค์ของอนุวรรคนี้ “คาสง่ั ทางปกครอง” อาจรวมถงึ คาสัง่ กึ่งตุลาการ 42 เพ่ือความชัดเจนย่ิงขึ้น ส่วนน้ีไม่กระทบต่อท่าทีของภาคีใดในเร่ืองทรัพยากรพันธุกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการแสดงออกทางวัฒนธรรมด้งั เดิม รวมถึงในการเจรจาทวิภาคหี รอื พหุภาคีในกรอบใด ๆ เชน่ คณะกรรมการร่วม ระหว่างรัฐว่าด้วยทรัพย์สินทางปัญญาและทรัพยากรพันธุกรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และการแสดงออกทางวัฒนธรรม ดัง้ เดิมขององค์การทรพั ย์สินทางปญั ญาโลก 43 เพื่อความชัดเจนย่ิงขึ้น กลุ่มภาคีเข้าใจว่า “มาตรการท่ีเหมาะสม” เป็นส่ิงที่ภาคีแต่ละฝ่ายจะพิจารณาเอง และอาจไมจ่ าเป็นตอ้ งเกยี่ วขอ้ งกบั ระบบทรัพยส์ นิ ทางปญั ญาของภาคีนัน้ 44 กลุม่ ภาคีตระหนกั ถึงขอ้ เท็จจรงิ ทีบ่ างภาคีมีการกาหนด ตามแตก่ รณี ในระบบสทิ ธิบัตรของตนใหต้ อ้ งแสดงหลักฐาน การขออนุญาตก่อนการเข้าถึงและข้อตกลงแบ่งปันผลประโยชน์สาหรับทรัพยากรพันธุกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เกย่ี วข้อง 11-24

- คำ�แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - (บ)ี โ อกาสสาหรับบุคคลท่ีสามในการอ้างงานท่ีปรากฏ อยู่แล้ว ท่ีอาจส่งผ ล ต่อการจดสิทธิบัตรต่อผู้ตรวจสอบโดยเป็นลายลักษณ์อักษร โดยรวมถึงงานที่ปรากฏ อยู่แล้วทเ่ี กย่ี วกับภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ ที่เก่ยี วขอ้ งกบั ทรัพยากรพนั ธกุ รรม และ (ซี) หากเก่ียวข้องและมีความเหมาะสม การใช้ฐานข้อมูลหรือห้องสมุดดิจิทัลท่ีมีข้อมูล ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ที่เกย่ี วข้องกบั ทรัพยากรพันธุกรรม ส่วน เอช การแขง่ ขันที่ไมเ่ ปน็ ธรรม ขอ้ 11.54: การปอ้ งกนั ที่มปี ระสทิ ธภิ าพจากการแขง่ ขนั ทไ่ี มเ่ ปน็ ธรรม ภาคีแต่ละฝ่ายจะมีการป้องกันท่ีมีประสิทธิภาพจากการกระทาที่เป็นการแข่งขันท่ีไม่เป็นธรรม โดยสอดคล้องกบั อนสุ ัญญากรงุ ปารีส45 ขอ้ 11.55: ชอ่ื โดเมน สาหรับระบบของภาคีในการบริหารจัดการโดเมนระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ซีซีทีแอลดี) และโดยสอดคล้องกับกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของภาคีนั้น และหากเก่ียวข้อง นโยบายเร่ือง ความเป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคลท่ีเก่ียวข้องของหน่วยงานบริหารจัดการชื่อโดเมน ภาคีแต่ละฝ่าย จะให้มีสิ่งดังตอ่ ไปนี้ (เอ) กระบวนการท่ีเหมาะสมสาหรับการระงับข้อพิพาท ซึ่งมีพื้นฐานมาจาก หรือตามแนวทางท่ีนาแบบอย่างมาจากหลักการของนโยบายระงับข้อพิพาท เรื่องช่ือโดเมน ตามที่ได้รับการรับรองจากองค์กรความร่วมมือด้านการจัดสรรช่ือ และหมายเลขทางอินเทอร์เน็ต หรอื ที่ (หน่ึง) ถกู ออกแบบมาเพ่ือระงับข้อพิพาทอย่างรวดเรว็ และมีค่าใชจ้ า่ ยที่สมเหตุสมผล (สอง) เสมอภาคและเปน็ ธรรม (สาม) ไม่สร้างภาระอนั เกนิ ควร และ (ส่ี) ไม่ตดั สิทธิการเข้าสู่กระบวนการพจิ ารณาทางตุลาการ และ 45 เพ่อื ความชัดเจนยิ่งขนึ้ กลมุ่ ภาคีเขา้ ใจว่าข้อ 10 ทวิ ของอนสุ ัญญากรุงปารสี ครอบคลมุ การกระทาทเ่ี ป็นการแขง่ ขัน ทีไ่ ม่เปน็ ธรรมสาหรับการคา้ ขายสินค้าและบรกิ าร ในกรณีทีเ่ ก่ยี วข้อง 11-25

- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - (บ)ี การเยียวยาที่เหมาะสม46 อย่างน้อยในกรณีที่บุคคลจดทะเบียนหรือถือครองชื่อโดเมน ที่เหมือนหรือคล้ายจนก่อให้เกิดความสับสนกับเคร่ืองหมายการค้า โดยมีเจตนา ไมส่ จุ รติ ทจี่ ะแสวงหาผลประโยชน์ ข้อ 11.56: การคุ้มครองข้อมูลทไ่ี ม่เปิดเผย 1. ภาคีแต่ละฝา่ ยจะให้ความค้มุ ครองข้อมูลท่ีไม่เปิดเผยตามวรรค 2 ของข้อ 39 ของความตกลงทริปส์ 2. นอกเหนือจากวรรค 1 แล้ว กลุ่มภาคีตระหนักถึงความสาคัญของการคุ้มครองข้อมูล ที่ไมเ่ ปดิ เผยในส่วนทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ท่รี ะบุในวรรค 2 ของข้อ 11.1 (วตั ถุประสงค)์ ส่วน ไอ ชอื่ ประเทศ ข้อ 11.57: ช่ือประเทศ ภาคีแต่ละฝ่ายจะจัดให้มีวิธีการทางกฎหมายสาหรับผู้มีส่วนได้เสียในการป้องกันการใช้ในเชิงพาณิชย์ ซ่ึงชอ่ื ประเทศของภาคีกับสินคา้ ในลกั ษณะที่จะทาให้ผบู้ รโิ ภคหลงผดิ ในแหล่งกาเนิดของสนิ คา้ นั้น สว่ น เจ การบังคบั ใช้สทิ ธิในทรพั ย์สินทางปญั ญา ส่วนย่อย 1 พันธกรณีทวั่ ไป ข้อ 11.58: พนั ธกรณีท่วั ไป 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้มีกระบวนการบังคับใช้สิทธิที่กาหนดไว้ในส่วนนี้ในกฎหมายและระเบียบ ข้อบังคับของตน เพ่ือให้มีการดาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพกับการกระทาท่ีเป็นการละเมิด สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่อยู่ภายใต้บทนี้ โดยรวมถึงการเยียวยาที่รวดเร็วเพื่อป้องกัน การละเมิดและการเยียวยาท่ีจะเป็นการยับย้ังไม่ให้มีการละเมิดต่อไปอีก กระบวนการเหล่าน้ี จะถูกนามาใช้ในลักษณะท่จี ะไม่ก่อให้เกิดอปุ สรรคตอ่ การคา้ อนั ชอบธรรม และโดยมีการป้องกันการ ใช้ในทางทผี่ ดิ 46 กลุ่มภาคีเข้าใจว่าการเยียวยาดังกล่าวอาจ แต่ไม่จาเป็นต้อง รวมถึงการยกเลิก เพิกถอน โอน ชดเชยค่าเสียหาย หรือคาสง่ั คุม้ ครองชว่ั คราว 11-26

- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - 2. กระบวนการเกี่ยวกับการบังคับใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาจะต้องมีความเท่าเทียม และเป็นธรรม กระบวนการดังกล่าวจะไม่มีความยุ่งยากหรือมีค่าใช้จ่ายเกินควร หรือมกี าหนดเวลาทไ่ี ม่สมเหตสุ มผลหรือความล่าช้าอันไม่สมควร 3. ในการปฏิบัติตามส่วนน้ี ภาคีแต่ละฝ่ายจะคานึงถึงความจาเป็นของความได้สัดส่วนระหว่าง ค ว า ม ร้ า ย แ ร ง ข อ ง ก า ร ล ะ เ มิ ด สิ ท ธิ ใ น ท รั พ ย์ สิ น ท า ง ปั ญ ญ า กั บ ก า ร เ ยี ย ว ย า ห รื อ โ ท ษ และหากเกย่ี วขอ้ ง ผลประโยชน์ของบคุ คลทสี่ าม 4. กลุ่มภาคเี ข้าใจวา่ ส่วนนี้ไม่สร้างพันธกรณีให้ต้องจัดให้มีระบบทางตุลาการสาหรับการบังคับใช้ สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาต่างหากจากระบบบังคับใช้กฎหมายทั่วไป หรือกระทบ กับความสามารถของภาคีแต่ละฝ่ายในการบังคับใช้กฎหมายโดยทั่วไป ไม่มีความใดในส่วนน้ี ท่ีจะสร้างพันธกรณีเก่ียวกับการจัดสรรทรัพยากรระหว่างการบังคับใช้สิทธิในทรัพย์สิน ทางปัญญากับการใช้บังคับกฎหมายโดยทั่วไป 5. ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง แ พ่ ง ท่ี เ กี่ ย ว กั บ ลิ ข สิ ท ธิ์ ข อ ง ผู้ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ภ า คี แ ต่ ล ะ ฝ่ า ย จะให้มีข้อสันนิษฐาน47 ว่า หากไม่มีการพิสูจน์เป็นอย่างอ่ืน ผู้ท่ีมีช่ือแสดงไว้ในทางปกติ ว่าเป็นผู้สร้างสรรค์ของงาน คือ ผู้สร้างสรรค์งานดังกล่าว พันธกรณีตามประโยคก่อนหน้านี้ จะใช้กับกระบวนการพิจารณาทางอาญาและทางปกครองด้วยหากเกี่ยวข้องในกฎหมาย และระเบียบขอ้ บังคบั ของภาคี สว่ นยอ่ ย 2 การเยยี วยาทางแพ่ง48 ขอ้ 11.59: กระบวนการที่เท่าเทยี มและเป็นธรรม 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้ผู้ทรงสิทธิ49 สามารถใช้กระบวนการทางแพ่งในการบังคับใช้สิทธิ ในทรั พย์สิ นทาง ปัญญ าที่ค รอบค ลุมโ ดยบท น้ี จ าเล ยมีสิท ธิที่จ ะได้รั บกา รแจ้ ง อยา่ งเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรในระยะเวลาท่ีเหมาะสมและโดยมีรายละเอียดที่เพียงพอ โดยรวมถึง มูลฐานของการกล่าวหา คู่ความในกระบวนการทุกฝ่ายจะได้รับอนุญาตให้แต่งตั้งทนายความ อิสระเพื่อดาเนินการแทน และกระบวนการจะไม่มีข้อกาหนดท่ีสร้างภาระอันเกินควรเกี่ยวกับ การบังคบั ปรากฏตัวตอ่ หน้าศาล ค่คู วามในกระบวนการทุกฝ่ายจะมสี ิทธิท่ีจะพิสูจน์คากล่าวอ้าง 47 เพ่ือความชัดเจนยิ่งข้ึน ภาคีอาจปฏิบัติตามวรรคนี้ผ่านการใช้คาให้การโดยการสาบานหรือเอกสา ร ที่เป็นพยานหลักฐานได้ เช่น คาให้การเป็นลายลักษณ์อักษร ภาคีอาจให้ข้อสันนิษฐานข้างต้นเป็นข้อสันนิษฐาน ท่ีอาจโตแ้ ยง้ ไดโ้ ดยอาจถูกโต้แย้งโดยหลกั ฐานท่แี สดงเป็นอยา่ งอ่นื 48 ภาคีอาจปฏิบัติตามพันธกรณีในส่วนย่อยน้ีในการมีกระบวนการทางแพ่งสาหรับการบังคับใช้สิทธิในส่ิงบ่งช้ี ทางภมู ศิ าสตรต์ ามเชงิ อรรถ 4 ของขอ้ 23 ของความตกลงทริปส์ 49 เพอื่ ความมุ่งประสงค์ของข้อนี้ “ผทู้ รงสิทธิ” รวมถึงสหพันธ์และสมาคมที่มีสทิ ธิตามกฎหมายท่ีจะอ้างสิทธดิ งั กล่าว 11-27

- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - ของตนและนาสืบพยานหลักฐานท่ีเกี่ยวข้องท้ังหมด กระบวนการจะมีวิธีการเพ่ือบ่งช้ี และคมุ้ ครองข้อมลู อันเป็นความลบั เวน้ แตจ่ ะขัดกับขอ้ กาหนดตามรัฐธรรมนญู ของภาคี 2. ภาคีแต่ละฝ่ายอาจอนุญาตให้มีการใช้การระงับข้อพิพาททางเลือกเพื่อระงับข้อพิพาททางแพ่ง เกยี่ วกับสทิ ธิในทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา ข้อ 11.60: คา่ เสียหาย 1. ภาคแี ตล่ ะฝ่ายจะให้50 ในกระบวนการทางแพ่งเก่ยี วกับการบังคับใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา เจ้าหน้าท่ีฝ่ายตุลาการมีอานาจสั่งให้ผู้ละเมิดจ่ายค่าเสียหายแก่ ผู้ทรงสิทธิท่ีเพียงพอ แก่การชดเชยความเสียหายที่ผู้ทรงสิทธิได้รับจากการละเมิดสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ของผู้ทรงสทิ ธิ โดยผูล้ ะเมิดทีก่ ระทาการละเมดิ โดยรหู้ รือมีเหตุอันควรรู้ 2. ในการตัดสินจานวนค่าเสียหายตามวรรค 1 เจ้าหน้าที่ฝ่ายตุลาการของภาคีมีอานาจพิจารณา ทรี่ วมถงึ การวดั มูลค่าอนั ชอบธรรมใด ๆ ท่ีผ้ทู รงสทิ ธยิ ื่นมาด้วย51 3. ในกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิข้างเคียงและการละเมิดเครื่องหมายการค้า เจ้าหน้าที่ ฝ่ายตุลาการมีอานาจสั่งให้ผู้ละเมิดที่กระทาการละเมิดโดยรู้หรือมีเหตุอันควรรู้ จ่ายผลกาไร ของผู้ละเมิดอนั เกดิ จากการละเมิดนนั้ แกผ่ ูท้ รงสทิ ธิ52 ขอ้ 11.61: ค่าใช้จ่ายและคา่ ธรรมเนียมศาล ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายตุลาการของตน เม่ือเหมาะสม มีอานาจสั่ง53 เมื่อสิ้นสุดกระบวนการ ทางแพ่งเก่ียวกับการละเมิดลิขสิทธ์ิหรือสิทธิข้างเคียงและเครื่องหมายการค้าเป็นอย่างน้อย ให้คู่ความ ฝ่ายทีช่ นะคดีได้รับเงนิ ค่าใชจ้ ่ายหรอื ค่าธรรมเนียมศาล และค่าทนายความท่ีเหมาะสม หรือค่าใช้จ่ายอื่น ใดตามกฎหมายของภาคี จากคคู่ วามฝา่ ยท่ีแพ้คดี 50 ภาคีอาจให้ผู้ทรงสิทธิไม่มีสิทธิได้รับการชดเชยตามวรรค 1 และ 3 ได้ หากมีคาตัดสินว่าไม่มีการใช้เคร่ืองหมาย การค้า เพื่อความชัดเจนยิ่งข้ึน ภาคีไม่มีพันธกรณีที่จะต้องกาหนดให้มีความเป็นไปได้ท่ีการเยียวยาใด ๆ ในวรรค 1 และ 3 จะสามารถถูกสง่ั โดยคู่ขนานกันได้ 51 เพ่ือความชัดเจนย่ิงขึ้น เจ้าหน้าท่ีฝ่ายตุลาการของภาคีอาจมีอานาจในการพิจารณามูลค่าของสินค้าหรือบริการ ทีถ่ ูกละเมิดโดยวัดจากราคาตลาดในการตดั สินจานวนค่าเสียหาย เมอ่ื เหมาะสม 52 ภาคีอาจปฏบิ ัติตามวรรคน้ี โดยการสนั นษิ ฐานวา่ ผลกาไรเปน็ คา่ เสยี หายที่กลา่ วถงึ ในวรรค 1 53 เจ้าหน้าที่ฝ่ายตุลาการของภาคีอาจมีอานาจมีคาส่ังดังกล่าวผ่านกระบวนการแยกต่างหากภายหลังส้ินสุด กระบวนการพิจารณาทางแพง่ 11-28

- คำ�แปลอยา่ งไม่เปน็ ทางการ - ขอ้ 11.62: การทาลายสินค้าละเมดิ และวัสดุและอปุ กรณ์ 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้ ในกระบวนการพิจารณาทางแพ่ง เจ้าหน้าที่ฝ่ายตุลาการมีอานาจ อย่างน้อย เมื่อได้รับการร้องขอจากผู้ทรงสิทธิ ส่ังทาลายสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์และสินค้าละเมิด เครื่องหมายการคา้ เวน้ แต่ในกรณที เ่ี ป็นพฤตกิ ารณ์พิเศษ โดยไม่มีค่าชดเชยใด ๆ54 2. ภาคีแตล่ ะฝา่ ยจะให้ ในกระบวนการพิจารณาทางแพ่ง เจา้ หนา้ ท่ฝี า่ ยตลุ าการมีอานาจสั่งให้วัสดุ และอุปกรณ์ ซ่ึงโดยส่วนใหญ่แล้วถูกใช้ในการสร้างสินค้าละเมิดดังกล่าว ถูกกาจัด55 ออกนอกชอ่ งทางการคา้ โดยไมม่ คี ่าชดเชยใด ๆ เพ่ือลดความเส่ยี งในการกระทาละเมดิ ตอ่ ไปอีก 3. สาหรับสินค้าละเมิดเคร่ืองหมายการค้า เพียงแค่การนาเครื่องหมายการค้าที่ติดอยู่ โดยผิดกฎหมายออกไม่เพียงพอ เว้นแต่ในกรณีท่ีเป็นพฤติการณ์พิเศษ ที่จะอนุญาตการปล่อยสินค้า ออกส่ชู ่องทางการคา้ ข้อ 11.63: ข้อมูลท่เี ปน็ ความลับในกระบวนการพจิ ารณาทางแพ่ง ภาคแี ตล่ ะฝา่ ยจะให้ ในกระบวนการพิจารณาทางแพง่ ทเ่ี กี่ยวกับการบังคับใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา เจ้าหน้าที่ฝ่ายตุลาการมีอานาจลงโทษคู่ความในคดี ทนายความ ผู้เช่ียวชาญ หรือบุคคลอ่ืนท่ีอยู่ภายใต้ อานาจศาล สาหรับการละเมิดคาส่ังตุลาการ56 เก่ียวกับการคุ้มครองข้อมูลที่เป็นความลับท่ีถูกจัดทาข้ึน หรือแลกเปลยี่ นในกระบวนการพิจารณาดงั กล่าว ขอ้ 11.64: มาตรการช่ัวคราว 1. ในกระบวนการทางแพ่งที่เก่ียวกับการละเมิดเครื่องหมายการค้า ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้เจ้าหน้าที่ ฝ่ายตุลาการมีอานาจกาหนดมาตรการชั่วคราวเพ่ือยึด หรือนามาเก็บรักษาไว้ ซ่ึงสินค้า ตอ้ งสงสยั ว่าจะละเมดิ และท้ังสองสง่ิ ดงั ต่อไปน้ี (เอ) วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ท่โี ดยสว่ นใหญ่แล้วถกู ใชใ้ นการกระทาละเมิดที่ถูกกลา่ วหา และ (บ)ี พยานเอกสารที่เก่ยี วขอ้ งกับการละเมิดทีถ่ ูกกล่าวหา 54 เพื่อความชัดเจนย่ิงข้ึน กลุ่มภาคีเข้าใจว่า แม้ว่าเจ้าหน้าที่ฝ่ายตุลาการจะมีอานาจส่ังทาลายสินค้า เจ้าหน้าที่ฝ่าย ตลุ าการอาจมีอานาจสั่งให้มีการกาจดั สนิ ค้าดังกล่าวออกนอกช่องทางการค้าเพื่อหลีกเล่ียงความเสียหายต่อผู้ทรงสิทธิ โดยไมม่ ีการชดเชยใด ๆ แทนการทาลาย 55 เพื่อความชัดเจนยิ่งขึ้น กลุ่มภาคีเข้าใจว่า แม้ว่าเจ้าหน้าท่ีฝ่ายตุลาการจะมีอานาจสั่งกาจัดวัสดุและอุปกรณ์ เจ้าหน้าท่ฝี า่ ยตุลาการอาจมอี านาจสงั่ ทาลายวัสดแุ ละอปุ กรณด์ ังกลา่ วโดยไมม่ คี า่ ชดเชยใด ๆ แทนการกาจดั 56 เพื่อความชัดเจนย่ิงขึ้น เพื่อความมุ่งประสงค์ของข้อนี้ กลุ่มภาคีเข้าใจว่ากฎหมายของภาคีอาจใช้คาอ่ืน นอกเหนือจากคาวา่ “คาสั่งตลุ าการ” เช่น คาวา่ “คาสัง่ ศาล” 11-29

- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - 2. ในกระบวนการทางแพ่งท่ีเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิข้างเคียง ภาคีแต่ละฝ่าย จะให้เจ้าหน้าท่ีฝ่ายตุลาการมีอานาจใช้มาตรการชั่วคราวเพ่ือยึด หรือนามาเก็บรักษาไว้ ซึง่ สินคา้ ตอ้ งสงสยั ว่าจะละเมิด และสง่ิ ต่อไปน้ีอยา่ งน้อยหน่ึง (1) สง่ิ (เอ) วสั ดุและอุปกรณ์ท่ีโดยส่วนใหญแ่ ลว้ ถกู ใชใ้ นการกระทาละเมิดที่ถูกกล่าวหา หรือ (บี) พยานเอกสารที่เกย่ี วข้องกับการละเมิดทถี่ ูกกลา่ วหา 3. ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้เจ้าหน้าท่ีฝ่ายตุลาการมีอานาจกาหนดมาตรการช่ัวคราวแบบฝ่ายเดียว เมื่อเหมาะสม โดยเฉพาะเมื่อความล่าช้าน่าจะก่อให้เกิดความเสียหายท่ีไม่อาจแก้ไขได้แก่ ผทู้ รงสทิ ธิ หรอื เม่ือมีความเสยี่ งซึง่ สามารถแสดงให้เห็นได้ท่ีพยานหลกั ฐานจะถกู ทาลาย 4. ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้เจ้าหน้าท่ีฝ่ายตุลาการมีอานาจกาหนดให้ผู้ร้องขอมาตรการช่ัวคราวแสดง พยานหลักฐานท่ีมีอยู่ตามสมควร เพื่อแสดงให้เห็นด้วยความแน่นอนในระดับท่ีเพียงพอว่า ผู้ร้องขอเป็นผู้ทรงสิทธิ และสิทธิของผู้ร้องขอได้ถูกละเมิดหรือการละเมิดกาลังจะเกิดขึ้น และส่ังให้ผู้ร้องขอวางหลักทรัพย์หรือหลักประกันท่ีเท่าเทียมกันท่ีเพียงพอสาหรับการคุ้มครอง จาเลยและปอ้ งกันการใช้กระบวนการในทางที่ผิด รวมท้ังไม่ขัดขวางการใช้กระบวนการสาหรับ มาตรการชั่วคราวดงั กลา่ วอย่างไม่สมควร 5. เพื่อความชัดเจนยงิ่ ข้นึ กลุ่มภาคีเข้าใจว่ามาตรการชั่วคราวจะถูกใช้โดยสอดคล้องกับวรรค 4 ถึง 8 ของข้อ 50 ของความตกลงทริปส์ สว่ นยอ่ ย 3 มาตรการ ณ จดุ ผ่านแดน ข้อ 11.65: การระงับการปล่อยสินค้าท่ีต้องสงสัยว่าเป็นสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์หรือสินค้าละเมิด เครอ่ื งหมายการคา้ โดยการร้องขอจากผ้ทู รงสทิ ธิ 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะนามาใช้หรือคงไว้ซ่ึงกระบวนการ57 สาหรับสินค้านาเข้า ท่ีให้ผู้ทรงสิทธิ ซึ่งมีเหตุอันควรสงสัยว่าอาจมีการนาเข้าสินค้าละเมิดลิขสิทธ์ิหรือสินค้าละเมิดเคร่ืองหมาย การคา้ สามารถย่ืนคาขอตอ่ หนว่ ยงานผ้มู อี านาจของภาคใี หร้ ะงับการปล่อยสนิ ค้าทต่ี อ้ งสงสัยวา่ 57 กลุ่มภาคีเข้าใจว่าไม่มีพันธกรณีท่ีจะต้องใช้กระบวนการเช่นว่าน้ีกับการนาเข้าสินค้าท่ีถูกนาเข้าสู่ตลาดในภาคีอ่ืน หรือประเทศทไี่ ม่ไดเ้ ปน็ ภาคี โดยหรือโดยได้รบั ความยนิ ยอมจากผูท้ รงสทิ ธิ หรอื กับสินคา้ ระหวา่ งทาง 11-30

- คำ�แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - ละเมดิ ลขิ สิทธห์ิ รือละเมดิ เครือ่ งหมายการค้า58 โดยสอดคลอ้ งกับขอ้ 51 ของความตกลงทริปส์ 2. เพ่อื ความมุ่งประสงค์ของส่วนย่อยนี้ “หน่วยงานผู้มีอานาจ” อาจรวมถึงเจ้าหน้าที่ฝ่ายตุลาการ ฝ่ายปกครอง หรือฝ่ายบังคับใช้กฎหมายท่ีเหมาะสม ภายใต้กฎหมายและระเบียบข้อบังคับของ ภาคี ขอ้ 11.66: คาขอเพอ่ื ระงับหรือกักสนิ ค้า ภาคีแต่ละฝ่ายจะพยายามให้คาขอ59 ทร่ี บั ไว้เพ่อื ระงบั หรอื กักสนิ คา้ มีผลคงอยูเ่ ปน็ ระยะเวลาที่เหมาะสม เพอื่ เป็นการลดภาระในการดาเนนิ การของผทู้ รงสทิ ธิ ข้อ 11.67: หลักทรพั ย์หรือหลักประกนั ท่ีเทา่ เทียมกนั ภ า คี แ ต่ ล ะ ฝ่ า ย จ ะ ใ ห้ ห น่ ว ย ง า น ผู้ มี อ า น า จ มี อ า น า จ ก า ห น ด ใ ห้ ผู้ ท ร ง สิ ท ธิ ท่ี ด า เ นิ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ตามข้อ 11.65 (การกักสินค้าต้องสงสัยว่าเป็นสินค้าละเมิดลิขสิทธ์ิหรือสินค้าละเมิดเครื่องหมายการค้า โดยการร้องขอจากผู้ทรงสิทธิ) วางหลักทรัพย์หรือหลักประกันท่ีเท่าเทียมกัน ซึ่งเพียงพอท่ีจะคุ้มครอง จาเลยและหน่วยงานผู้มีอานาจ และป้องกันการใช้กระบวนการในทางที่ผิด ภาคีแต่ละฝ่ายจะกาหนดให้ หลักทรพั ยห์ รือหลักประกนั ท่ีเท่าเทียมกันน้ันไม่ขัดขวางการใช้กระบวนการขา้ งตน้ อย่างไมส่ มควร ขอ้ 11.68: ขอ้ มูลทหี่ น่วยงานผมู้ ีอานาจใหแ้ ก่ผทู้ รงสทิ ธิ โดยไม่กระทบต่อกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของภาคีเก่ียวกับความลับของข้อมูล เมื่อหน่วยงาน ผู้มีอานาจได้ทาการยึดหรือกักสินค้าต้องสงสัยว่าเป็นสินค้าละเมิดลิขสิทธ์ิหรือสินค้าละเมิดเครื่องหมาย 58 เพื่อความมุ่งประสงค์ของส่วนย่อย 1 (พันธกรณีท่ัวไป) ส่วนย่อย 2 (การเยียวยาทางแพ่ง) ส่วนย่อย 3 (มาตรการ ณ จุดผ่านแดน) และส่วนย่อย 4 (การเยยี วยาทางอาญา) (เอ) “สินค้าละเมิดเครื่องหมายการค้า” หมายถึง สินค้าใด ๆ รวมถึงบรรจุภัณฑ์ ที่ปรากฏโดยไม่ได้รับ อนุญาต ซ่ึงเครื่องหมายการค้าท่ีเหมือนกับเคร่ืองหมายการค้าท่ีได้รับการจดทะเบียนอย่างถูกต้อง สาหรับสนิ คา้ ดงั กล่าว หรือท่ีไม่สามารถแยกออกได้ในสว่ นที่เป็นสาระสาคัญจากเครอื่ งหมายการค้าน้ัน และซ่ึงเป็นการละเมิดสิทธิของเจ้าของเคร่ืองหมายการค้าดังกล่าวภายใต้กฎหมายและ ระเบียบ ขอ้ บงั คับของภาคีทม่ี กี ระบวนการภายใตส้ ว่ นยอ่ ยข้างตน้ และ (บี) “สินค้าละเมิดลิขสิทธ์ิ” หมายถึง สินค้าใดๆ ท่ีเป็นสินค้าลอกเลียนท่ีถูกผลิตข้ึนโดยไม่ได้รับ ความยินยอมจากผู้ทรงสิทธิหรือบุคคลท่ีได้รับอนุญาตอย่างถูกต้องจากผู้ทรงสิทธิในประเทศที่มี การผลิตสินค้า และท่ีถูกผลิตข้ึน ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมจากผลิตภัณฑ์ท่ีการลอกเลียนจะถือเป็น การละเมิดลขิ สิทธิ์หรอื สทิ ธขิ า้ งเคียงภายใต้กฎหมายของภาคีที่มีกระบวนการภายใต้สว่ นยอ่ ยขา้ งต้น 59 เพ่อื ความม่งุ ประสงค์ของสว่ นยอ่ ยนี้ ภาคีอาจให้ “คาขอ” หมายถงึ “การจดแจ้ง” 11-31

- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - การค้า ภาคีน้ันอาจกาหนดให้หน่วยงานผู้มีอานาจมีอานาจแจ้งผู้ทรงสิทธิให้ทราบถึงช่ือและท่ีอยู่ ของผู้ส่งของ ผู้นาเข้า หรือผู้รับของ คาบรรยายลักษณะสินค้า จานวนสินค้า และหากทราบ ประเทศ แหลง่ กาเนดิ ของสินค้า ข้อ 11.69: การระงับการปล่อยสินค้าที่ต้องสงสัยว่าเป็นสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์หรือสินค้าละเมิด เคร่อื งหมายการค้าโดยการดาเนนิ การโดยตาแหน่ง 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะนามาใช้หรือคงไว้ซ่ึงกระบวนการสาหรับสินค้านาเข้า ที่ให้หน่วยงาน ผู้มีอานาจสามารถดาเนินการระงับการปล่อยสินค้าที่ต้องสงสัย61 ว่าเป็นสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ หรือสินค้าละเมิดเคร่ืองหมายการค้าได้ด้วยตนเอง ภาคีแต่ละฝ่ายจะกาหนดให้ผู้นาเข้า และผู้ทรงสิทธิได้รับการแจ้งถึงการระงับการปล่อยสินค้าโดยพลันเม่ือหน่วยงานผู้มีอานาจ ไดด้ าเนนิ การดว้ ยตนเอง 2. ภาคีอาจนามาใช้หรือคงไว้ซ่ึงกระบวนการสาหรับสินค้าส่งออก ที่ให้หน่วยงานผู้มีอานาจ สามารถดาเนินการระงับการปล่อยสินค้าที่ต้องสงสัยว่าเป็นสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์หรือสินค้า ละเมดิ เครื่องหมายการค้าได้ดว้ ยตนเอง ภาคีดังกล่าวจะกาหนดให้ผู้ส่งออกและผู้ทรงสิทธิได้รับ การแจง้ ถงึ การระงบั การปลอ่ ยสินค้าโดยพลันเมื่อหนว่ ยงานผู้มีอานาจไดด้ าเนินการดว้ ยตนเอง 3. ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้การยกเว้นหน่วยงานและเจ้าหน้าท่ีของรัฐจากความรับผิดในการมีมาตรการ เยยี วยาท่ีเหมาะสม เฉพาะในกรณีทีก่ ารกระทาเกิดข้ึนจากหรอื โดยมีเจตนาทสี่ ุจรติ ข้อ 11.70: ขอ้ มลู ทผ่ี ทู้ รงสทิ ธใิ ห้แก่หนว่ ยงานผู้มอี านาจในกรณกี ารดาเนนิ การโดยตาแหนง่ ภาคีแตล่ ะฝ่ายจะกาหนดให้หนว่ ยงานผ้มู ีอานาจมีอานาจ เม่ือเร่ิมดาเนินการด้วยตนเอง ขอให้ผู้ทรงสิทธิ ให้ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือช่วยเหลือหน่วยงานผู้มีอานาจในการดาเนินมาตรการ ณ จุดผ่านแดน ตามส่วนยอ่ ยน้ี ภาคอี าจอนุญาตให้ผทู้ รงสิทธใิ ห้ข้อมลู ท่เี ก่ยี วขอ้ งแก่หนว่ ยงานผมู้ ีอานาจได้ด้วย ข้อ 11.71: การตัดสนิ เร่ืองการละเมดิ ภายในระยะเวลาอันควรโดยหน่วยงานผู้มอี านาจ62 ภ า คี แ ต่ ล ะ ฝ่ า ย จ ะ น า ม า ใ ช้ ห รื อ ค ง ไ ว้ ซ่ึ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ที่ ใ ห้ ห น่ ว ย ง า น ผู้ มี อ า น า จ ส า ม า ร ถ ตั ด สิ น ภายในระยะเวลาอันควรภายหลังการเร่ิมกระบวนการตามข้อ 11.65 (การระงับการปล่อยสินค้า 61 ภาคีอาจปฏิบัติตามพันธกรณีน้ีบนพ้ืนฐานว่าหน่วยงานผู้มีอานาจมีเหตุอันควรเช่ือได้ว่าสินค้าเป็นสินค้าละเมิด ลขิ สทิ ธห์ิ รอื สินค้าละเมดิ เครื่องหมายการคา้ 62 ภาคีอาจปฏิบัติตามพันธกรณีในข้อน้ีในส่วนที่เกี่ยวกับการตัดสินว่าสินค้าต้องสงสัยภายใต้ข้อ 11.69 (การระงับ การปล่อยสินค้าท่ีต้องสงสัยว่าเป็นสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์หรือสินค้าละเมิดเคร่ืองหมายการค้าโดยการดาเนินการ โดยตาแหน่ง) ละเมิดสิทธิในทรพั ย์สินทางปัญญาหรอื ไม่ โดยการตดั สินว่าสินค้าต้องสงสัยมีคาพรรณนาหลอกลวงขาย สนิ ค้า 11-32

- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - ท่ีต้องสงสัยว่าเป็นสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์หรือสินค้าละเมิดเครื่องหมายการค้าโดยการร้องขอ จากผู้ทรงสิทธิ) และข้อ 11.69 (การระงับการปล่อยสินค้าที่ต้องสงสัยว่าเป็นสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ หรือสินค้าละเมิดเคร่ืองหมายการค้าโดยการดาเนินการโดยตาแหน่ง) ว่าสินค้าต้องสงสัยว่าเป็นสินค้า ละเมดิ ลขิ สิทธิห์ รือสินค้าละเมดิ เคร่ืองหมายการคา้ ละเมิดทรัพย์สนิ ทางปญั ญาหรือไม่ ขอ้ 11.72: คาสัง่ ทาลายโดยหนว่ ยงานผมู้ ีอานาจ ภาคีแต่ละฝ่ายจะกาหนดให้ โดยไม่กระทบต่อสิทธิฟ้องร้องอ่ืน ๆ ของผู้ทรงสิทธิและโดยขึ้นอยู่กับสิทธิ ของจาเลยในการร้องขอการพิจารณาทบทวนโดยศาล หน่วยงานผู้มีอานาจมีอานาจสั่งทาลาย และอานาจส่ังกาจัดสนิ ค้าที่ถกู ตัดสินแลว้ วา่ เปน็ สินค้าละเมิดลขิ สทิ ธ์ิหรอื สินคา้ ละเมิดเครื่องหมายการค้า ในกรณีที่สินค้าดังกล่าวไม่ถูกทาลาย ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องให้ เว้นแต่ในกรณีที่เป็นพฤติการณ์พิเศษ สนิ ค้าดงั กล่าวถูกกาจัดออกนอกช่องทางการค้า เพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายต่อผู้ทรงสิทธิ สาหรับสินค้า ละเมิดเคร่ืองหมายการค้า เพียงแค่การนาเคร่ืองหมายการค้าที่ติดอยู่โดยผิดกฎหมายออกไม่เพียงพอ เว้นแตใ่ นกรณีทเี่ ป็นพฤตกิ ารณ์พิเศษ ท่จี ะอนญุ าตการปลอ่ ยสนิ ค้าออกสูช่ อ่ งทางการค้า ข้อ 11.73: ค่าธรรมเนียม ในกรณีที่มีการกาหนดหรือประเมินค่าธรรมเนียมการย่ืนคาขอ ค่าธรรมเนียมการเก็บรักษาสินค้า หรอื คา่ ธรรมเนยี มการทาลาย สาหรบั มาตรการ ณ จดุ ผา่ นแดน เพือ่ บงั คบั ใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ภาคแี ต่ละฝ่ายจะกาหนดให้ค่าธรรมเนียมดังกล่าวไม่ถูกตั้งไว้ในอัตราที่ขัดขวางการใช้มาตรการดังกล่าว อยา่ งไมส่ มควร สว่ นยอ่ ย 4 การเยียวยาทางอาญา ข้อ 11.74: กระบวนการและโทษทางอาญา 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะกาหนดให้มีกระบวนการและโทษทางอาญาอย่างน้อยในกรณีของการละเมิด ลิขสิทธ์ิหรือสิทธิขา้ งเคยี งหรอื การละเมิดเครื่องหมายการคา้ โดยเจตนาในขนาดเชงิ พาณชิ ย์63 2. ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้การนาเข้าสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์หรือสินค้าละเมิดเคร่ืองหมายการค้า โดยเจตนาในขนาดเชิงพาณิชย์เป็นการกระทาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายท่ีอยู่ภายใต้บังคับ ของกระบวนการและโทษทางอาญาตามวรรค 1 ภาคีอาจปฏิบัติตามพันธกรณีเกี่ยวกับ การนาเข้าภายใต้ข้อน้ีโดยการให้การจาหน่ายหรือการขายสินค้าเช่นว่านั้นในขนาดเชิงพาณิชย์ เปน็ การกระทาท่ไี ม่ชอบด้วยกฎหมายท่มี โี ทษทางอาญา 63 เพื่อความมุ่งประสงค์ของข้อนี้ วรรค 1 ไม่ขัดขวางภาคีในการกาหนดขอบเขตของกระบวนการและโทษทางอาญา ในกรณขี องการละเมิดสทิ ธิขา้ งเคยี งโดยเจตนาในขนาดเชิงพาณิชย์ ตามกฎหมายและระเบียบข้อบงั คับของตน 11-33

- คำ�แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - 3. สาหรับความผิดตามวรรค 1 และ 2 ภาคีแต่ละฝ่ายจะกาหนดดงั ตอ่ ไปนี้ (เอ) โทษซึ่งรวมถึงโทษจาคุกและโทษปรับที่เพียงพอท่ีจะเป็นสิ่งยับยั้งการกระทาผิด โดยสอดคล้องกับระดับของโทษสาหรับความผดิ ทางอาญาที่มคี วามร้ายแรงเท่ากัน64 (บี) เจ้าหน้าท่ีฝ่ายตุลาการมีอานาจส่ังยึด65 สินค้าต้องสงสัยว่าเป็นสินค้าละเมิดลิขสิทธ์ิ หรือสินค้าละเมิดเคร่ืองหมายการค้า วัสดุและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้ว ถูกใชใ้ นการกระทาความผิด และพยานเอกสารที่เก่ียวข้องกับความผดิ ท่กี ล่าวหา และ (ซ)ี เจา้ หนา้ ทฝ่ี า่ ยตุลาการมีอานาจส่ัง โดยไมต่ ้องมีการชดเชยใด ๆ แก่จาเลย รบิ หรอื ทาลาย (หนงึ่ ) สนิ ค้าละเมดิ ลขิ สทิ ธิห์ รือสินคา้ ละเมดิ เคร่ืองหมายการค้า (สอง) วัสดุและอุปกรณ์ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วถูกใช้ในการผลิตสินค้าละเมิดลิขสิทธ์ิ หรือสินค้าละเมดิ เครือ่ งหมายการค้า และ (สาม) ป้ายหรือบรรจุภัณฑ์อ่ืน ๆ ที่มีเคร่ืองหมายการค้าละเมิดอยู่และที่ถูกใช้ ในการกระทาความผิด 4. โดยคานงึ ถงึ ความจาเปน็ ในการดาเนินการกบั การทาซ้า66 โดยไม่ได้รับอนุญาตซึ่งงานภาพยนตร์ ในขนาดเชิงพาณิชยจ์ ากการแสดงในโรงภาพยนตร์ ซ่ึงสร้างความเสียหายอย่างสาคัญแก่ผู้ทรงสิทธิ ในตลาดสาหรับงานดังกล่าว และโดยคานึงถึงความจาเป็นในการยับยั้งความเสียหายดังกล่าว ภาคแี ต่ละฝา่ ยจะนามาใช้หรือคงไวซ้ ง่ึ มาตรการ ทอี่ ยา่ งน้อยจะตอ้ งรวมถึงกระบวนการและโทษ ทางอาญาที่เหมาะสม67 64 ไม่มีความใดในข้อน้ีท่ีจะถูกตีความว่า ภาคีมีพันธกรณีท่ีจะต้องกาหนดให้สามารถกาหนดโทษจาคุกและโทษปรับ โดยค่ขู นานกันได้ 65 ภาคีอาจปฏิบัติตามพันธกรณีภายใต้อนุวรรคนี้สาหรับการยึดก่อนการพิจารณาคดี โดยการกาหนดให้เจ้าหน้าท่ี บังคับใช้กฎหมายมอี านาจสง่ั ยดึ ดังกล่าวได้ 66 เพ่อื ความมุ่งประสงค์ของวรรคน้ี ภาคีอาจใหค้ าวา่ “การทาซ้า” มคี วามหมายเหมอื นกบั “การผลติ ซ้า” 67 เพื่อความมุ่งประสงค์ของวรรคน้ี ภาคีอาจกาหนดเกณฑ์ความผิดทางอาญาสาหรับการทาซ้าโดยไม่ได้รับอนุญาต ซงึ่ งานภาพยนตร์ โดยสอดคลอ้ งกบั กฎหมายและระเบียบขอ้ บังคบั ของตน 11-34

- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - ส่วนย่อย 5 การบงั คบั ใช้สิทธิในสภาพแวดลอ้ มดจิ ิทัล ขอ้ 11.75: การดาเนนิ การอยา่ งมีประสทิ ธิภาพกบั การละเมดิ ในสภาพแวดล้อมดิจิทลั ภาคีแต่ละฝ่ายยืนยันว่า กระบวนการบังคับใช้สิทธิท่ีกาหนดในส่วนย่อย 2 (การเยียวยาทางแพ่ง) และ สว่ นยอ่ ย 4 (การเยียวยาทางอาญา) จะมีอยู่ในระดับเดียวกันสาหรบั การละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิข้างเคียง และการละเมิดเคร่ืองหมายการค้าบนสภาพแวดลอ้ มดจิ ิทัล สว่ น เค ความร่วมมือและการปรกึ ษาหารือ ข้อ 11.76: ความรว่ มมอื และการหารอื 1. กลมุ่ ภาคตี ระหนักถงึ ความสาคัญของการใช้ประโยชน์และการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา และ การบังคบั ใชส้ ิทธใิ นทรพั ย์สนิ ทางปญั ญาเพื่อส่งเสริมการคา้ และการลงทุนในกลมุ่ ภาคีมากยงิ่ ขน้ึ 2. กลุ่มภาคีรับทราบถึงความแตกต่างอย่างสาคัญระหว่างความสามารถของภาคีบางประเทศ ในดา้ นทรัพยส์ นิ ทางปัญญา 3. เพื่ออานวยความสะดวกในการปฏิบัติตามบทนี้อย่างมีประสิทธิภาพ ภาคีแต่ละฝ่ายจะร่วมมือ กบั ภาคอี ่ืน ๆ ในดา้ นทรัพย์สนิ ทางปญั ญา และมสี ่วนรว่ มในการหารอื และการแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหวา่ งกนั ในประเดน็ ด้านทรพั ย์สนิ ทางปัญญา 4. กลุ่มภาคีจะพยายามร่วมมือกันเพื่อส่งเสริมการศึกษาและความตระหนักรู้เก่ียวกับ การใช้ประโยชน์และคุม้ ครองทรัพย์สนิ ทางปญั ญา และการบังคับใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 5. กลุม่ ภาคจี ะร่วมมอื กนั ในเร่ืองมาตรการ ณ จุดผ่านแดน โดยมีเป้าหมายเพื่อขจัดการค้าระหว่าง ประเทศซง่ึ สนิ ค้าที่ละเมดิ สิทธิในทรัพย์สินทางปญั ญา 6. กลุ่มภาคีจะพยายาม เมื่อเหมาะสม ร่วมมือกันระหว่างสานักงานสิทธิบัตรของตนเพื่ออานวย ความสะดวกในการแลกเปล่ียนผลการค้นหาและตรวจสอบ และการแลกเปลี่ยนข้อมูล เรอ่ื งระบบรบั รองคุณภาพซง่ึ อาจส่งเสรมิ ความเข้าใจท่ดี ขี นึ้ เก่ียวกับระบบสิทธบิ ัตรของกลุ่มภาคี68 68 วรรคน้ีอาจนามาใช้กับระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลระดับพหุภาคีเพ่ือสนับสนุนการแลกเปลี่ยนผลการค้นหาและ ตรวจสอบ 11-35

- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - 7. กลุ่มภาคีจะพยายามร่วมมือโดยการแลกเปล่ียนข้อมูลเก่ียวกับแนวทางการดาเนินงานของภาคี แตล่ ะฝ่ายเพื่อป้องกนั การละเมดิ ลิขสิทธอิ์ อนไลน์ 8. กลมุ่ ภาคีอาจร่วมมอื เกย่ี วกับการบรหิ ารจดั การระบบการคมุ้ ครองพันธ์ุพืชใหม่ รวมถึงข้อยกเว้น สทิ ธขิ องนกั ปรบั ปรุงพนั ธ์ุ ตามวรรค 3 ของข้อ 11.9 (ความตกลงพหุภาคี) หรือข้อ 11.48 (การ คุ้มครองพนั ธุ์พชื ใหม่) 9. กลุ่มภาคีจะพยายามร่วมมือกันในประเด็นเก่ียวกับระยะผ่อนผันสาหรับสิทธิบัตร เพือ่ เปน็ การส่งเสริมนวตั กรรม 10. กลุ่มภาคีอาจร่วมมือกันในประเด็นเกี่ยวกับกระบวนการและข้ันตอนของสานักงานสิทธิบัตร ของตน โดยมเี ป้าหมายเพื่อลดคา่ ใช้จา่ ยในการขอรบั สทิ ธิบัตร 11. กลุ่มภาคีอาจแลกเปล่ียนข้อมูลเก่ียวกับการคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของตน โดยรวมถึง ขอ้ มูลเรื่องระบบ กระบวนการ และสนิ ค้าทค่ี รอบคลมุ 12. กล่มุ ภาคอี าจร่วมมือกนั ในการฝกึ อบรมผตู้ รวจสอบสิทธิบัตรในการตรวจสอบคาขอรับสิทธิบัตร ทเ่ี กี่ยวกับภมู ิปญั ญาท้องถิ่นท่เี ก่ียวข้องกับทรพั ยากรพันธุกรรม 13. กิจกรรมความร่วมมือท้ังหมดภายใต้บทนี้จะเป็นไปโดยการร้องขอของภาคี บนข้อกาหนด ท่ีเห็นชอบร่วมกัน และโดยข้ึนอยู่กับกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนความ พรอ้ มของทรพั ยากรของภาคที เี่ กี่ยวข้อง ส่วน แอล ความโปร่งใส ข้อ 11.77: ความโปร่งใส 1. ภาคีแต่ละฝา่ ยจะให้คาตัดสินของศาลในช้ันสุดท้าย และคาสั่งทางปกครองที่มีผลเป็นการทั่วไป เก่ียวกับการมีอยู่ ขอบเขต การได้มา การบังคับใช้ และการป้องกันการใช้ในท างท่ีผิด ซึ่งสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา จะต้องถูกเผยแพร่ หรือในกรณีที่ไม่สามารถเผยแพร่ได้ ถูกจัดให้มีไว้แก่สาธารณะ อย่างน้อยในภาษาประจาชาติของภาคีนั้น ในลักษณะที่จะทาให้ ภาคีอ่ืนและผู้ทรงสิทธิสามารถทาความคุ้นเคยได้ ภาคีแต่ละฝ่ายจะพยายามให้คาตัดสิน ของศาลในชน้ั สดุ ท้ายดงั กล่าวถูกเผยแพร่ออนไลน์ เม่อื สามารถกระทาได้69 69 เพื่อความชัดเจนยิ่งขึ้น ไม่มีความใดในวรรคนี้กาหนดให้ภาคีต้องระบุเรื่องการเผยแพร่ออนไลน์ในกฎหมายและ ระเบยี บขอ้ บงั คับของตน 11-36

- คำ�แปลอยา่ งไม่เปน็ ทางการ - 2. ภาคีแต่ละฝ่ายจะมีมาตรการที่เหมาะสม เท่าท่ีจะเป็นไปได้ตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ของตน เพ่ือเผยแพร่หรือจัดให้มีไว้แก่สาธารณะ ซ่ึงข้อมูลเก่ียวกับคาขอและการจดทะเบียน สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา และในกรณีท่ีเกี่ยวข้อง ข้อมูลเกี่ยวกับสถานะทางกฎหมาย เช่น วนั ทีไ่ ด้รับการจดทะเบยี นและวนั ส้นิ อายุ ส่วน เอม็ ระยะเวลาปรบั ตวั และความชว่ ยเหลือทางเทคนิค ขอ้ 11.78: ระยะเวลาปรบั ตัวของภาคีประเทศพัฒนาน้อยท่ีสุดภายใตค้ วามตกลงทริปส์ ไม่มีความใดในบทนี้ท่ีจะเป็นการลิดรอนสิทธิของภาคีใด ๆ ท่ีจะได้รับประโยชน์จากระยะเวลาปรับตัว ที่เกี่ยวข้องภายใต้ความตกลงทริปส์ ท่ีได้รับการตกลงหรืออาจได้รับการตกลงกันภายใต้ดับบลิว ที โอ ไมว่ า่ จะกอ่ น ในวันท่ี หรือหลงั ความตกลงฉบบั นี้มผี ลใชบ้ งั คับ ข้อ 11.79: ระยะเวลาปรับตัวเฉพาะภาคี 1. โดยคานึงถึงระดับการพัฒนาที่แตกต่างกันของภาคีแต่ละฝ่าย และโดยไม่กระทบต่อข้อ 11.78 (ระยะเวลาปรับตัวของภาคีประเทศพัฒนาน้อยที่สุดภายใต้ความตกลงทริปส์) ภาคีอาจชะลอ การปฏบิ ัตติ ามบทบญั ญัติของบทน้ีบางประการตามภาคผนวก 11 เอ (ระยะเวลาปรบั ตวั เฉพาะภาค)ี 2. ในช่วงระยะเวลาตามภาคผนวก 11 เอ (ระยะเวลาปรับตัวเฉพาะภาคี) ภาคีจะไม่แก้ไข มาตรการ เพ่ือให้มาตรการดังกล่าวสอดคล้องน้อยลงกับพันธกรณีภายใต้บทบัญญัติที่ระบุ ในภาคผนวก 11 เอ (ระยะเวลาปรับตัวเฉพาะภาคี) สาหรับภาคีน้ัน หรือนามาใช้ซ่ึงมาตรการ ใหม่ที่สอดคล้องกับพันธกรณีดังกล่าวน้อยลงกว่ามาตรการของภาคีน้ันท่ีมีผลอยู่ ณ วันลงนาม ความตกลงฉบับน้ี ข้อบทนี้ไม่ส่งผลต่อสิทธิและพันธกรณีของภาคีภายใต้ความตกลงระหว่าง ประเทศทภ่ี าคนี น้ั และอกี ภาคหี นึ่งเปน็ ภาคีอยู่ ข้อ 11.80: การแจ้งเก่ยี วกับระยะเวลาปรับตัวเฉพาะภาคี 1. ภาคีใด ๆ ที่มีระยะเวลาปรับตัวเฉพาะภาคีสาหรับพันธกรณีภายใต้บทน้ีตามภาคผนวก 11 เอ (ระยะเวลาปรับตัวเฉพาะภาคี) จะต้องแจ้งคณะกรรมการด้านสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ถึงแผนการและความคืบหน้าของการปฏิบัติตามพันธกรณีแต่ละพันธกรณี ภายหลังการมีผลใช้ บงั คบั ของความตกลงฉบบั นี้สาหรบั ภาคนี ัน้ ดงั ต่อไปน้ี (เอ) สาหรับระยะเวลาปรับตัวห้า (5) ปีหรือน้อยกว่า ภาคีน้ันจะต้องทาการแจ้ง หก (6) เดือนก่อนสิ้นสุดระยะเวลาปรับตัว และ 11-37

- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - (บี) สาหรับระยะเวลาปรับตัวมากกว่าห้า (5) ปี ภาคีน้ันจะต้องทาการแจ้งเป็นรายปี ในวันครบรอบปีของการมีผลใช้บังคับของความตกลงนี้สาหรับภาคีน้ัน โดยเริ่มจาก วันครบรอบปีท่ีห้าสาหรับภาคีนั้น รวมทั้งทาการแจ้งหก (6) เดือนก่อนส้ินสุด ระยะเวลาปรับตัว70 2. ภาคีใด ๆ อาจร้องขอข้อมูลเพ่ิมเติมเกี่ยวกับความคืบหน้าของอีกภาคีในการปฏิบัติ ตามพนั ธกรณี ภาคที ไี่ ดร้ บั การร้องขอจะตอบข้อร้องขอดงั กลา่ วโดยพลัน 3. โดยไม่ช้าไปกว่าวันท่ีระยะเวลาปรับตัวส้ินสุด ภาคีที่มีระยะเวลาปรับตัวเฉพาะภาคีจะแจ้งภาคี อื่น ๆ เก่ยี วกบั มาตรการทไ่ี ดด้ าเนนิ การเพื่อปฏบิ ัตติ ามพันธกรณที ่ตี นมรี ะยะเวลาปรับตัว 4. หากภาคไี มด่ าเนินการแจ้งตามวรรค 3 ข้างต้น ประเด็นดังกล่าวจะถูกบรรจุในวาระการประชุม สมยั สามัญครั้งตอ่ ไปของคณะกรรมการด้านสภาพแวดลอ้ มทางธุรกิจโดยอัตโนมตั ิ ขอ้ 11.81: ความช่วยเหลือทางเทคนคิ 1. โดยสอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงคข์ องบทท่ี 15 (ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ) กลุ่มภาคี ตกลงที่จะดาเนินการให้ความช่วยเหลือทางเทคนิคที่จาเป็น ตามความต้องการที่ถูกระบุไว้ สาหรับการปฏิบัติตามบทนี้ซ่ึงกาหนดไว้ในภาคผนวก 11 บี (รายการร้องขอความช่วยเหลือ ทางเทคนคิ ) 2. ความช่วยเหลือทางเทคนิคตามวรรค 1 จะอยู่บนเงื่อนไขที่ยอมรับร่วมกัน โดยข้ึนอยู่กับกฎ และระเบยี บข้อบังคับทเี่ กย่ี วขอ้ ง รวมทง้ั ความพร้อมของทรัพยากรของกลมุ่ ภาคีที่เกยี่ วข้อง สว่ น เอ็น ประเดน็ เก่ียวกับกระบวนการ ขอ้ 11.82: การปรับปรุงกระบวนการสาหรับการบรหิ ารจัดการสิทธใิ นทรัพยส์ ินทางปัญญา กลุ่มภาคีตระหนักถึงความสาคัญของการบริหารจัดการระบบทรัพย์สินทางปัญญาที่มีประสิทธิภาพ และในการนี้ ภาคีแต่ละฝ่ายจะทบทวนและจะพยายาม เม่ือเหมาะสม ปรับปรุงกระบวนการสาหรับ การบริหารจัดการสิทธใิ นทรพั ยส์ ินทางปญั ญา 70 เพ่ือความชัดเจนยิ่งข้ึน อนุวรรคน้ีจะนามาใช้กับการขยายระยะเวลาปรับตัวตามท่ีระบุในภาคผนวก 11 เอ (ระยะเวลาปรับตัวเฉพาะภาค)ี ด้วย 11-38

- คำ�แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - ข้อ 11.83: การปรบั ปรุงขอ้ กาหนดด้านเอกสารของกระบวนการ นอกเหนือจากข้อ 11.82 (การปรับปรุงกระบวนการสาหรับการบริหารจัดการสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา) ภาคีแตล่ ะฝา่ ยจะพยายามปรับปรงุ ขอ้ กาหนดด้านกระบวนการที่ตนมีเกี่ยวกบั (เอ) การรบั รองคาแปลสาหรับคาขอรับสทิ ธิบัตร และ (บี) การยนื ยนั ลายมอื ชื่อสาหรับคาขอรับสทิ ธบิ ตั ร การออกแบบอุตสาหกรรม และ เคร่อื งหมายการค้า 11-39

- ค�ำ แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - ภาคผนวก 11 เอ ระยะเวลาปรับตัวเฉพาะภาคี เพือ่ ความมงุ่ ประสงค์ของภาคผนวกน้ี: (เอ) “ระยะเวลาปรบั ตัว” หมายถึง ระยะเวลาช่วงหน่ึง ซ่งึ ก่อนที่จะส้ินสุดน้ัน ภาคีจะต้อง ปฏบิ ัติตามบทบัญญัติของบทที่ 11 (ทรัพยส์ ินทางปัญญา) (บี) จานวนปี เชน่ “หา้ (5) ปี” ระบรุ ะยะเวลาปรบั ตัวของภาคี ซง่ึ เรม่ิ ตน้ ณ วันท่ี ความตกลงฉบับนี้มีผลใช้บังคับสาหรบั ภาคีน้ัน และ (ซี) ข้อ วรรค หรอื อนุวรรค ระบุบทบัญญตั ทิ ่ภี าคอี าจชะลอการปฏิบัตติ ามไปจนกว่า การสนิ้ สดุ ของระยะเวลาปรบั ตัว กมั พชู า: บทบัญญตั ิ ระยะเวลาปรับตวั อนุวรรค 1(อี) ของข้อ 11.9 (ความตกลงพหุภาคี) 10 ปี ซึ่ ง อ า จ ข ย า ย ไ ป ไ ด้ อี ก ค รั้ ง ห น่ึ ง (ในส่วนของ ดบั บลวิ ซี ที) เปน็ ระยะเวลาหา้ ปี อนุวรรค 1(เอฟ) ของข้อ 11.9 (ความตกลงพหุภาคี) 10 ปี ซ่ึ ง อ า จ ข ย า ย ไ ป ไ ด้ อี ก ค ร้ั ง ห น่ึ ง (ในส่วนของ ดบั บลวิ พี พี ท)ี เป็นระยะเวลาหา้ (5) ปี ข้อ 11.14 (การหลบเล่ียงมาตรการทางเทคโนโลยี 10 ปี ซึ่ ง อ า จ ข ย า ย ไ ป ไ ด้ อี ก ค รั้ ง ห นึ่ ง ทมี่ ีประสทิ ธิภาพ) เปน็ ระยะเวลาห้า (5) ปี ข้อ 11.15 (การคุ้มครองข้อมูลการบริหารสิทธิ 10 ปี ซึ่ ง อ า จ ข ย า ย ไ ป ไ ด้ อี ก ค ร้ั ง ห นึ่ ง อิเล็กทรอนกิ ส์) เป็นระยะเวลาห้า (5) ปี ข้อ 11.19 (การคุ้มครองเคร่ืองหมายการค้า) 10 ปี ซ่ึ ง อ า จ ข ย า ย ไ ป ไ ด้ อี ก ค ร้ั ง ห น่ึ ง (ในสว่ นเคร่อื งหมายเสยี ง) เปน็ ระยะเวลาหา้ (5) ปี อนุวรรค 2(เอ) และ (บี) ของข้อ 11.22 (การจด 10 ปี ซึ่ ง อ า จ ข ย า ย ไ ป ไ ด้ อี ก ค ร้ั ง ห น่ึ ง ทะเบยี นและคาขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า) เปน็ ระยะเวลาหา้ (5) ปี ขอ้ 11.48 (การคุม้ ครองพันธุพ์ ืชใหม่) 10 ปี ซ่ึ ง อ า จ ข ย า ย ไ ป ไ ด้ อี ก ค ร้ั ง ห น่ึ ง เป็นระยะเวลาหา้ (5) ปี วรรค 2 ของข้อ 11.62 (การทาลายสินค้าละเมิด 10 ปี ซึ่ ง อ า จ ข ย า ย ไ ป ไ ด้ อี ก ค ร้ั ง ห น่ึ ง และวสั ดุอปุ กรณ)์ เป็นระยะเวลาห้า (5) ปี อนุวรรค 1(เอ) ของขอ้ 11.64 (มาตรการชั่วคราว) 10 ปี ซ่ึ ง อ า จ ข ย า ย ไ ป ไ ด้ อี ก ค รั้ ง ห น่ึ ง เป็นระยะเวลาห้า (5) ปี อนุวรรค 3(บี) และ (ซี) ของข้อ 11.74 (กระบวนการ 10 ปี ซ่ึ ง อ า จ ข ย า ย ไ ป ไ ด้ อี ก ค รั้ ง ห นึ่ ง และโทษทางอาญา) เปน็ ระยะเวลาห้า (5) ปี 11เอ-1

- คำ�แปลอย่างไม่เป็นทางการ - ข้อ 11.75 (การดาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ 10 ปี ซึ่ ง อ า จ ข ย า ย ไ ป ไ ด้ อี ก ค ร้ั ง ห น่ึ ง กบั การละเมดิ ในสภาพแวดลอ้ มดจิ ิทลั ) เปน็ ระยะเวลาห้า (5) ปี สปป. ลาว: บทบญั ญตั ิ ระยะเวลาปรบั ตัว อนุวรรค 1(อี) ของข้อบทท่ี 11.9 (ความตกลงพหุ 10 ปี ภาค)ี (ในส่วนของ ดับบลวิ ซี ท)ี อนุวรรค 1(เอฟ) ของข้อบทที่ 11.9 (ความตกลงพหุ 10 ปี ภาคี) (ในส่วนของ ดบั บลิว พี พี ท)ี อนุวรรค 1(จี) ของ 11.9 (ความตกลงพหุภาคี) 15 ปี (ในส่วนของสนธิสญั ญามารร์ าเคช) ข้อ 11.19 (การคุ้มครองเครื่องหมายการค้า ) 15 ปี (ในส่วนของเครอ่ื งหมายท่ีไม่ใชเ่ ครอ่ื งหมายดง้ั เดิม) อนุวรรค 2(เอ) ของข้อ 11.22 (การจดทะเบียนและ 10 ปี คาขอจดทะเบยี นเคร่ืองหมายการค้า) มาเลเซีย: บทบญั ญตั ิ ระยะเวลาปรบั ตวั อนุวรรค 1(จี) ของข้อ 11.9 (ความตกลงพหุภาคี) ห้า (5) ปี (ในสว่ นของสนธิสัญญามารร์ าเคช) เมยี นมา: บทบัญญตั ิ ระยะเวลาปรับตวั อนุวรรค 1(เอ) ถึง (จี) ของข้อ 11.9 (ความตกลง 10 ปี พหุภาคี) (ในส่วนของอนุสัญญากรุงปารีส อนุสัญญา กรุงเบิร์น พี ซี ที พิธีสารมาดริด ดับบลิว ซี ที ดับบลิว พี พี ที และสนธสิ ญั ญามารร์ าเคช) ข้อบทที่ 11.19 (การคุ้มครองเครื่องหมายการค้า) 10 ปี (ในสว่ นของเคร่ืองหมายเสียง) อนุวรรค 2(เอ) และ (บี) ของข้อ 11.22 (การจด ห้า (5) ปี ทะเบยี นและคาขอจดทะเบียนเคร่ืองหมายการค้า) 11เอ-2

- ค�ำ แปลอย่างไม่เป็นทางการ - ข้อ 11.30 (กระบวนการทางปกครองภายในประเทศ 10 ปี สาหรบั การคุ้มครองสิง่ บง่ ชท้ี างภูมิศาสตร์) ข้อ 11.48 (การคุ้มครองพันธ์พุ ืชใหม่) ห้า (5) ปี ข้อ 11.70 (ข้อมูลที่ผู้ทรงสิทธิให้แก่หน่วยงานผู้มีอานาจ สาม (3) ปี ในกรณีการดาเนินการโดยตาแหนง่ ) ขอ้ 11.75 (การดาเนินการอย่างมปี ระสิทธิภาพกับการ 10 ปี ละเมดิ ในสภาพแวดล้อมดจิ ิทัล) ฟิลิปปนิ ส:์ บทบัญญัติ ระยะเวลาปรบั ตวั ข้อ 11. 19 (การคุ้มครองเครื่องหมายการค้า ) ห้า (5) ปี (ในสว่ นของเครอ่ื งหมายเสยี ง) ก ลุ่ ม ภ า คี จ ะ พิ จ า ร ณ า ค า ร้ อ ง ข อ อั น ส ม ค ว ร ของฟิลิปปินส์เพ่ือขยายระยะเวลาจากการ สิ้นสุดระยะเวลาห้า (5) ปีดังกล่าว คาร้องขอ น้ันจะระบุสาเหตุและระยะเวลาที่เหมาะสม สาหรบั การขยายระยะเวลาท่รี ้องขอ ไทย: บทบญั ญัติ ระยะเวลาปรับตัว อนุวรรค 1(อี) ของข้อ 11.9 (ความตกลงพหุภาคี) สาม (3) ปี (ในส่วนของ ดบั บลวิ ซี ท)ี อนุวรรค 1(เอฟ) ของข้อ 11.9 (ความตกลงพหุภาคี) ห้า (5) ปี (ในส่วนของ ดบั บลวิ พี พี ท)ี ข้อ 11.10 (สิทธิแต่เพียงผู้เดียวของผู้สร้างสรรค์ ห้า (5) ปี นักแสดง และผู้ผลิตส่ิงบันทึกเสียง) (ในส่วนของ นักแสดง) ข้อ 11.11 (สิทธิในการได้รับค่าตอบแทนสาหรับการ ห้า (5) ปี แพร่เสียงแพร่ภาพ) (ในส่วนของนกั แสดง) ขอ้ 11.44 (การประกาศโฆษณา 18 เดอื น) หา้ (5) ปี ขอ้ 11.62 (การทาลายสินคา้ ละเมิด และวัสดุอุปกรณ์) ห้า (5) ปี 11เอ-3

- คำ�แปลอย่างไมเ่ ป็นทางการ - เวียดนาม: บทบญั ญัติ ระยะเวลาปรับตวั อนุวรรค 1(อี) ของข้อ 11.9 (ความตกลงพหุภาคี) สาม (3) ปี (ในสว่ นของ ดับบลวิ ซี ที) อนุวรรค 1(เอฟ) ของข้อ 11.9 (ความตกลงพหุภาคี) สาม (3) ปี (ในสว่ นของ ดับบลิว พี พี ท)ี อนุวรรค 1(จี) ของข้อ 11.9 (ความตกลงพหุภาคี) หา้ (5) ปี (ในสว่ นของสนธสิ ัญญามาร์ราเคช) ข้อ 11.19 (การคุ้มครองเครื่องหมายการค้า) (ในส่วน สาม (3) ปี ของเครอื่ งหมายเสียง) อนวุ รรค 2(เอ) ของข้อ 11.22 (การจดทะเบียนและคา หา้ (5) ปี ขอจดทะเบียนเคร่ืองหมายการค้า) (ในส่วนของการ จดั ตง้ั ระบบย่นื คาขออเิ ล็กทรอนกิ สส์ าหรบั เคร่ืองหมาย การค้า) 11เอ-4

- คำ�แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - ภาคผนวก 11 บี รายการร้องขอความชว่ ยเหลือทางเทคนิค กัมพูชา: บทบญั ญตั ิทีเ่ ก่ยี วข้อง ความช่วยเหลือทางเทคนคิ อนุวรรค 2 (เอ) ของข้อ 11.22 (การจดทะเบียน เพ่ือสนับสนุนความต้องการในการดาเนินการ และคาขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคา้ ) ของกัมพูชา ให้การสนับสนุนการจัดตั้งระบบย่ืนคาขอ อิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือประมวลผล จดทะเบียน และคงไว้ ซง่ึ เครื่องหมายการค้า อนุวรรค 1 (อี) และ (เอฟ) ของข้อ 11.9 (ความ 1. สนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ ความสามารถแก่ ตกลงพหภุ าค)ี , (เอ) เจ้าหน้าท่ีและผู้เช่ียวชาญท่ีเกี่ยวข้องกับ ข้อ 11.14 (การหลบเล่ียงมาตรการทาง ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ก้ ไ ข ก ฎ ห ม า ย เ พ่ื อ ใ ห้ เทคโนโลยีทม่ี ีประสิทธิภาพ) ครอบคลุมถึงการคมุ้ ครองเคร่ืองหมายเสียง ข้อ 11.16 (ข้อยกเว้นของการให้ความคุ้มครอง (บี) ผู้ตรวจสอบเครื่องหมายการค้า ในส่วนท่ี และการเยียวยาสาหรับมาตรการทางเทคโนโลยี เกี่ยวกบั การคุ้มครองเครอื่ งหมายเสียง และขอ้ มลู การบริหารสิทธิ) (ซี) ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลสารสนเทศ เพื่อคงไว้ ข้อ 11.19 (การคุ้มครองเคร่ืองหมายการค้า) ซึ่งและพัฒนาระบบยื่นคาขออิเล็กทรอนิกส์ วรรค 2 ของข้อ 11.22 (การจดทะเบียนและคา สาหรับ เคร่ืองหมายการค้า สิทธิบัตร และ ขอจดทะเบยี นเคร่ืองหมายการคา้ ) การคุ้มครองพันธพ์ุ ชื ใหม่ และ ข้อ 11.48 (การคุ้มครองพันธุพ์ ชื ใหม่) (ดี) เจ้าหน้าที่และผู้เช่ียวชาญท่ีเก่ียวข้องกับ ข้อ 11.62 (การทาลายสินค้าละเมิด และวัสดุ ข้อมูลการบริหารสิทธิ มาตรการทาง อุปกรณ์) อนุวรรค 1 (เอ) ของข้อ 11.64 เทคโนโลยี และการบังคับใช้สิทธิใน (มาตรการช่ัวคราว) อนุวรรค 3 (บี) และ (ซี) ของ ทรพั ย์สินทางปญั ญา ข้อ 11.74 (กระบวนการและโทษทางอาญา) และ ข้อ 11.75 (การดาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ให้ทักษะความรู้ความเชี่ยวชาญเก่ียวกับการ กบั การละเมิดในสภาพแวดล้อมดิจทิ ัล) ภาคยานุวัติเข้าเป็นภาคี ดับบลิวซีที และดับบลิว พี พี ที 11บี-1

- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - สปป.ลาว: บทบญั ญัติที่เกยี่ วข้อง ความช่วยเหลือทางเทคนิค อนุวรรค 2 (เอ) ของข้อ 11.22 (การจดทะเบียน เพื่อสนับสนุนความต้องการในการดาเนินการของ และคาขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า) สปป.ลาว ให้การสนับสนุนการจัดตั้งระบบยื่นคาขอ อิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือประมวลผล จดทะเบียน และคงไว้ ซง่ึ เครอื่ งหมายการคา้ เมยี นมา: บทบญั ญตั ทิ ่ีเกย่ี วข้อง ความช่วยเหลือทางเทคนิค ข้อ 11.13 (องคก์ รจดั เกบ็ คา่ ลิขสิทธิ์) สนับสนุนเก่ียวกับการดาเนินงานขององค์กรจัดเก็บ ค่าลิขสิทธิ์ รวมท้ังการจัดตั้งและให้บริการแก่สมาชิก ขององค์กรจัดเก็บคา่ ลิขสทิ ธิ์ ข้อ 11.19 (การคุ้มครองเคร่ืองหมายการค้า) สนับสนุนการฝึกอบรมท่ีจาเป็นแก่ผู้ตรวจสอบ (ในส่วนของเครื่องหมายท่ีไม่ใช่เครื่องหมาย เคร่ืองหมายการค้าให้มีความรู้คว ามสามารถ ดง้ั เดมิ ) ในเครื่องหมายทุกประเภท โดยไม่จากัดอยู่เฉพาะ เครื่องหมายการค้าแบบดั้งเดิมท่ีเป็นเคร่ืองหมาย ที่สามารถมองเหน็ ได้ดว้ ยตา อนุวรรค 2 (เอ) ของข้อ 11.22 (การจดทะเบียน เพอื่ สนับสนุนความต้องการในการดาเนินการของเมียนมา และคาขอจดทะเบียนเครอ่ื งหมายการค้า) ให้การสนับสนุนการจัดตั้งระบบยื่นคาขออิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือประมวลผล จดทะเบยี น และคงไว้ซึง่ เครอ่ื งหมายการค้า อนุวรรค 2 (บี) ของข้อ 11.22 (การจดทะเบียน เพ่อื สนับสนุนความต้องการในการดาเนินการของเมียนมา และคาขอจดทะเบียนเคร่อื งหมายการค้า) ให้การสนับสนุนการจัดตั้งฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับการย่ืนคาขอและจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า แบบออนไลน์ท่ีสาธารณชนสามารถเขา้ ถึงได้ สว่ น ดี (ส่งิ บง่ ชี้ทางภูมิศาสตร์) สนับสนุนการดาเนินการและการพัฒนาระบบสาหรับ การคมุ้ ครองสิ่งบง่ ชี้ทางภูมิศาสตร์ ขอ้ 11.69 (การระงับการปล่อยสินค้าที่ต้องสงสัย สนับสนุนการสร้างเสริมความสามารถของเจ้าหน้าท่ี ว่าเป็นสินค้าละเมิดลิขสิทธ์ิหรือสินค้าละเมิด ศุลกากรของเมียนมาในการตรวจสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้าโดยการดาเนินการโดย แ ล ะ สิ น ค้ า ล ะ เ มิ ด เ ค รื่ อ ง ห ม า ย ก า ร ค้ า อ ย่ า ง มี ตาแหน่ง) และข้อ 11.70 (ข้อมูลท่ีผู้ทรงสิทธิ ประสิทธิภาพในการบังคับใช้สิทธิโดยการดาเนินการ ให้แก่หน่วยงานผู้มีอานาจในกรณีการดาเนินการ โดยตาแหน่ง โดยตาแหนง่ ) 11บ-ี 2

- ค�ำ แปลอย่างไม่เป็นทางการ - ข้อ 11.75 (การดาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนความต้องการในการดาเนินการของเมียนมา กบั การละเมดิ ในสภาพแวดล้อมดิจทิ ลั ) ในการดาเนินการอยา่ งมีประสทิ ธิภาพกับการละเมิดบน สภาพแวดลอ้ มดจิ ิทัล เวยี ดนาม: บทบัญญตั ทิ ีเ่ กีย่ วข้อง ความช่วยเหลือทางเทคนคิ อนุวรรค 1 (อี) ถึง (จี) ของข้อ 11.9 (ความตกลง 1. สนับสนุนการสรา้ งเสริมความสามารถแก่ พหุภาคี) ข้อ 11.19 (การคุ้มครองเครื่องหมาย การค้า) และวรรค 2 ของข้อ 11.22 (การจด (เอ) เจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้องกับกระบวนการแก้ไข ทะเบียนและคาขอจดทะเบียนเครื่องหมาย กฎหมายเพ่ือให้ครอบคลุมถึงการคุ้มครอง การคา้ ) เคร่อื งหมายเสยี ง (บี) ผู้ตรวจสอบเครื่องหมายการค้า ในส่วนท่ี เกี่ยวกบั การค้มุ ครองเครอ่ื งหมายเสยี ง (ซ)ี ผ้เู ช่ียวชาญดา้ นข้อมูลสารสนเทศ เพื่อคงไว้ซ่ึง และพฒั นาระบบอิเล็กทรอนิกส์ 2. ให้ทักษะความรู้ความเช่ียวชาญเกี่ยวกับการ ภาคยานุวัติเข้าเป็นภาคีดับบลิว ซี ที ดับบลิว พี พี ที และสนธสิ ัญญามารร์ าเคช 11บ-ี 3

- คำ�แปลอย่างไมเ่ ป็นทางการ - บทที่ 12 พาณชิ ย์อิเล็กทรอนิกส์ ส่วน เอ บทบัญญตั ิทั่วไป ขอ้ 12.1: คานิยาม เพอ่ื ความมงุ่ ประสงคข์ องบทนี้ (เอ) อุปกรณ์ประมวลผล หมายถึง เซิร์ฟเวอร์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล สาหรับประมวลผลหรือเก็บข้อมลู เพื่อการใชใ้ นเชงิ พาณิชย์ (บี) บุคคลท่ีครอบคลมุ หมายถงึ (หนึง่ ) “การลงทุนท่ีครอบคลุม” ตามท่ีได้ให้ความหมายไว้ในอนุวรรค (เอ) ของขอ้ 10.1 (คานิยาม) (สอง) “ผู้ลงทุนของภาคี” ตามท่ีได้ให้ความหมายไว้ในอนุวรรค (อี) ของข้อ 10.1 (คานิยาม) แต่ไม่รวมถึงผู้ลงทุนในสถาบันการเงิน หรือ ผู้ลงทุน ในผใู้ ห้บรกิ ารดา้ นการเงิน1 หรอื (สาม) ผูใ้ หบ้ ริการของภาคี ตามที่ได้ใหค้ วามหมายไวใ้ นข้อ 8.1 (คานยิ าม) แต่ไม่รวมถึง “สถาบันการเงิน” “หน่วยงานภาครัฐ” หรือ “ผู้ให้บริการ ด้านการเงิน” ตามท่ีได้ให้ความหมายไว้ในข้อ 1 (คานิยาม) ของภาคผนวก 8 เอ (บรกิ ารดา้ นการเงนิ ) (ซี) การยืนยันตัวบุคคลทางอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง กระบวนการในการพิสูจน์ ห รื อ ต ร ว จ ส อ บ ก า ร แ ส ด ง ข้ อ มู ล ห รื อ ก า ร เ รี ย ก ร้ อ ง สิ ท ธิ ท า ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ เ พ่ื อ ท่ี จ ะ ส ร้ า ง ร ะ ดั บ ค ว า ม มั่ น ใ จ ต่ อ ค ว า ม น่ า เ ช่ื อ ถื อ ข อ ง ก า ร แ ส ด ง ข้ อ มู ล หรอื การเรียกรอ้ งสิทธนิ ้นั และ (ดี) ข้อความอิเล็กทรอนิกส์เชิงพาณิชย์ที่ไม่พึงประสงค์ หมายถึง ข้อความ อิเล็กทรอนิกส์ท่ีถูกส่ง เพ่ือวัตถุประสงค์เชิงพาณิชย์และการตลาด ไปยังที่อยู่ 1 เพอื่ ความชัดเจนยง่ิ ขนึ้ ผู้ลงทุนในสถาบันการเงิน หรือผู้ลงทุนในผู้ให้บริการด้านการเงิน อาจยังคงเป็น “บุคคล ทคี่ รอบคลมุ ” ในความสมั พนั ธก์ บั การลงทนุ อ่นื ท่ไี มใ่ ช่สถาบนั การเงิน หรือผใู้ หบ้ รกิ ารด้านการเงิน 12-1

- คำ�แปลอยา่ งไม่เปน็ ทางการ - อิเล็กทรอนิกส์ โดยมไิ ด้รับความยินยอมจากผู้รับ หรือทั้งท่ีได้รับการปฏิเสธโดยตรง จากผู้รบั 2 ข้อ 12.2: หลักการและวตั ถุประสงค์ 1. กลุ่มภาคีตระหนักถึงการเติบโตทางเศรษฐกิจและโอกาสจากพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ก ร อ บ ที่ ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม ม่ั น ใ จ ข อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค ใ น พ า ณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ และความสาคญั ของการอานวยความสะดวกให้กบั การใชแ้ ละพัฒนาพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ 2. วัตถปุ ระสงคข์ องบทนี้ ไดแ้ ก่ (เอ) ส่งเสริมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างกลุ่มภาคีและการใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ข้ามพรมแดนให้มากข้ึน (บ)ี สนับสนุนการสร้างสภาพแวดล้อมแห่งความเช่ือม่ันและความม่ันใจในการใช้ พาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และ (ซี) พัฒนาความรว่ มมอื ระหว่างกลุ่มภาคี เก่ียวกบั การพฒั นาพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนิกส์ ข้อ 12.3: ขอบเขต3 1. บทนี้ใช้บังคับกับมาตรการที่ภาคีนามาใช้หรือคงไว้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อพาณิชย์ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 2. บทนีจ้ ะไม่ใชบ้ ังคบั กับการจัดซอ้ื จดั จ้างโดยรัฐ 3. บทน้ีจะไม่ใช้บังคับกับข้อมูลท่ีเก็บรักษาหรือประมวลผลโดยภาคี หรือในนามของภาคี หรือมาตรการที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลเหล่าน้ัน รวมถึงมาตรการท่ีเก่ียวข้องกับการเก็บรักษา ขอ้ มลู เหล่านน้ั 4. ขอ้ 12.14 (ตาแหน่งของอุปกรณ์ประมวลผล) และ ข้อ 12.15 (การโอนข้อมูลข้ามพรมแดน 2 ภาคีอาจใช้คานิยามน้ีกับข้อความอิเล็กทรอนิกส์เชิงพาณิชย์ที่ไม่พึงประสงค์ ท่ีถูกส่งผ่านช่องทางการส่ง ในหนึง่ ช่องทาง หรือมากกวา่ หนึ่งช่องทาง รวมถงึ บริการข้อความส้ัน (เอส เอ็ม เอส) หรือไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่คานึงถึงเชิงอรรถนี้ กลุ่มภาคีจะต้องพยายามนามาใช้หรือคงไว้ซึ่งมาตรการ ที่สอดคล้องกับข้อ 12.9 (ข้อความอิเล็กทรอนิกส์เชิงพาณิชย์ที่ไม่พึงประสงค์) ซึ่งใช้กับช่องทางการส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์เชิงการค้า ทไ่ี ม่พึงประสงค์อืน่ ๆ 3 เพือ่ ความชดั เจนย่ิงขึน้ กลมุ่ ภาคียนื ยนั ว่าขอ้ ผูกพันภายใตบ้ ทนจี้ ะไม่สง่ ผลตอ่ ท่าทขี องภาคีใดในดบั บลวิ ที โอ 12-2

- คำ�แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - ด้วยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์) จะไม่ใช้บังคับกับแง่มุมของมาตรการของภาคี ที่ไม่สอดคล้อง กับพันธกรณีในบทที่ 8 (การค้าบริการ) หรือบทที่ 10 (การลงทุน) ในขอบเขต ซึ่งมาตรการ ดังกลา่ วจะถูกนามาใช้บังคบั หรือคงไว้ ตามท่ี (เอ) ข้อ 8.8 (ตารางมาตรการท่ีไม่สอดคล้องกับพันธกรณี) หรือข้อ 10.8 (ข้อสงวน และมาตรการทีไ่ ม่สอดคลอ้ งกบั พนั ธกรณี) (บ)ี ข้อกาหนด ข้อจากัด คุณสมบัติ และเง่ือนไขใด ที่กาหนดไว้ในข้อผูกพันของภาคี หรือในส่วนของสาขา ซึ่งไม่ได้ข้ึนกับข้อผูกพันของภาคี ซ่ึงจัดทาข้ึนตามข้อ 8.6 (การประติบัติเย่ียงชาติท่ีได้รับการอนุเคราะห์ย่ิง) หรือ ข้อ 8.7 (ตารางข้อผูกพัน เฉพาะ) หรือ (ซี) ขอ้ ยกเวน้ ใด ซ่งึ ใชบ้ งั คบั กับข้อผูกพันในบทที่ 8 (การค้าบริการ) หรือบทท่ี 10 (การลงทุน) 5. เพ่อื ความชัดเจนย่ิงข้นึ มาตรการที่ส่งผลกระทบต่อการให้บริการ ท่ีนาส่งทางอิเล็กทรอนิกส์ จะขึน้ กับข้อผูกพนั ซง่ึ บรรจใุ นบทบัญญตั ทิ เี่ ก่ียวขอ้ งใน (เอ) บทที่ 8 (การค้าบรกิ าร) และ (บ)ี บทท่ี 10 (การลงทุน) รวมถึงภาคผนวก 2 (ตารางข้อผูกพันเฉพาะสาหรับบริการ) ภาคผนวก 3 (ตารางข้อสงวน และมาตรการท่ีไม่สอดคลอ้ งกับพันธกรณสี าหรับบรกิ ารและการลงทุน) รวมท้ังข้อยกเว้นใด ๆ ซง่ึ ใชก้ ับขอ้ ผกู พันเหลา่ น้ัน ขอ้ 12.4: ความร่วมมอื 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะรว่ มมือกันตามความเหมาะสมเพอ่ื (เอ) ทางานรว่ มกันเพือ่ ช่วยเหลอื วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้ก้าวข้ามอุปสรรค ต่อการใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (บี) ระบุสาขาสาหรับความร่วมมือเฉพาะระหว่างกลุ่มภาคี ซึ่งจะช่วยเหลือกลุ่มภาคี ใช้บังคับหรือส่งเสริมกรอบกฎหมายด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของกลุ่มภาคี เช่น การวิจัยและกิจกรรมอบรม การสร้างขีดความสามารถ และการให้ความ ช่วยเหลอื ทางเทคนิค 12-3

- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - (ซ)ี แลกเปล่ียนข้อมูล ประสบการณ์ และแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ ในการจัดการกับ ความท้าทายเก่ยี วกับการพฒั นาและการใช้พาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (ดี) ส่งเสริมภาคธุรกิจเพ่ือพัฒนากระบวนการหรือการปฏิบัติ ที่เสริมความน่าเช่ือถือ และความม่นั ใจของผบู้ รโิ ภค เพื่อสง่ เสริมการใช้พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ และ (อี) เข้าร่วมอย่างแข็งขันในเวทีภูมิภาคและพหุภาคี เพ่ือส่งเสริมการพัฒนาพาณิชย์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 2. กลุ่มภาคีจะพยายามใช้รูปแบบของความร่วมมือ ซ่ึงต้ังอยู่บนและไม่ซ้าซ้อนกับข้อริเร่ิม ความรว่ มมือที่มีอยู่แลว้ ในเวทรี ะหว่างประเทศ สว่ น บี การอานวยความสะดวกทางการคา้ ข้อ 12.5: การค้าไร้กระดาษ 1. ภาคแี ตล่ ะฝา่ ยจะ (เอ) ทางานไปสู่การใช้ข้อริเร่ิม ซ่ึงเอื้ออานวยต่อการใช้การค้าไร้กระดาษ โดยคานึงถึง กระบวนการท่ีได้รับความเห็นชอบภายใต้องค์กรระหว่างประเทศ รวมทั้ง องค์การศุลกากรโลก4 (บ)ี พยายามที่จะยอมรับเอกสารการบริหารงานด้านการค้าที่ส่งทางอิเล็กทรอนิกส์ ว่ามีสถานะทางกฎหมายเท่าเทียมกบั เอกสารดงั กล่าวในรปู แบบกระดาษ และ (ซี) พยายามที่จะจัดทาเอกสารการบริหารงานด้านการค้าในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ใหแ้ พรห่ ลายต่อสาธารณชน 2. กลุ่มภาคีจะร่วมมือกันในเวทีระหว่างประเทศ เพ่ือส่งเสริมการยอมรับ เอกสาร การบรหิ ารงานด้านการค้าในรูปแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ ข้อ 12.6: การยนื ยันตัวบุคคลทางอิเล็กทรอนกิ ส์และลายมอื ชอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 1. ยกเว้นในกรณีที่กาหนดไว้เป็นอย่างอื่นในกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ภาคีจะไม่ปฏิเสธ 4 กัมพูชา สปป.ลาว และเมียนมา จะยังไม่ผูกพันกับอนุวรรคน้ี เป็นช่วงเวลาห้า (5) ปี หลังจากวันที่ความตกลง ฉบบั นีม้ ผี ลใช้บังคับ 12-4

- คำ�แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - ความถูกต้องทางกฎหมายของลายมือชื่อเพียงเพราะว่า ลายมือช่ือนั้นอยู่ในรูป อเิ ล็กทรอนิกส์5 2. โดยคานึงถึงบรรทัดฐานระหว่างประเทศสาหรับการยืนยันตัวบุคคลทางอิเล็กทรอนิกส์ ภาคีแตล่ ะฝา่ ยจะ (เอ) อนุญาตให้ผู้มีส่วนร่วมในธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์กาหนดเทคโนโลยีและรูปแบบ การบังคับใช้การยืนยันตัวบุคคลทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสม สาหรับธุรกรรม ทางอเิ ล็กทรอนิกส์ของตน (บ)ี ไม่จากัดการยอมรับเทคโนโลยีและรูปแบบการบังคับใช้การยืนยันตัวบุคคล ทางอิเล็กทรอนกิ ส์ สาหรับธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ และ (ซ)ี อนุญาตให้ผู้มีส่วนร่วมในธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มีโอกาสพิสูจน์ว่าธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ของตนสอดคล้องกับกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของภาคี ในเรือ่ งการยนื ยันตัวบุคคลทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 3. โดยไม่คานึงถึงวรรค 2 ภาคีแต่ละฝ่ายอาจกาหนดว่าสาหรับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ บางประเภท กระบวนการยืนยันตัวบุคคลจะต้องได้มาตรฐานในการปฏิบัติในระดับหนึ่ง หรอื ได้รบั การรับรองจากหนว่ ยงานทม่ี อี านาจในการให้การรบั รองตามกฎหมายและระเบียบ ข้อบงั คบั ของภาคี 4. กลมุ่ ภาคจี ะส่งเสริมการใช้การยนื ยนั ตวั บคุ คลทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ทท่ี างานร่วมกนั ได้ ส่วน ซี การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอื้ออานวยสาหรบั พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ข้อ 12.7: การคุ้มครองผบู้ รโิ ภคออนไลน์ 1. กลุ่มภาคีตระหนักถึงความสาคัญของการนามาใช้และการคงไว้ ซึ่งมาตรการคุ้มครอง ผู้บริโภคที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพ สาหรับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และมาตรการอ่ืน ๆ ท่เี ออ้ื อานวยตอ่ การพัฒนาความเชอื่ มนั่ ของผูบ้ รโิ ภค 5 กัมพูชา สปป.ลาว และเมยี นมา จะยงั ไม่ผกู พันกบั วรรคน้ี เป็นช่วงเวลาห้า (5) ปีหลังจากวันที่ความตกลงฉบับนี้ มีผลใชบ้ งั คบั 12-5

- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - 2. ภาคีแต่ละฝ่ายจะบัญญัติหรือคงไว้ ซึ่งกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพ่ือให้ความคุ้มครอง แก่ผู้บริโภคท่ีใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ต่อการดาเนินการที่ฉ้อฉลและทาให้เข้าใจผิด ซ่ึงสามารถก่อให้เกิดความเสยี หายหรืออาจเปน็ อันตรายตอ่ ผู้บริโภค6 3. กลุ่มภาคีตระหนักถึงความสาคัญของความร่วมมือระหว่างหน่วยงานผู้มีอานาจที่รับผิดชอบ ในการคุ้มครองผู้บริโภคจากกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อส่งเสริม การคุ้มครองผ้บู รโิ ภค 4. ภาคีแต่ละฝ่ายจะเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค ที่ตนจัดให้แก่ผู้ใช้พาณิชย์ อิเลก็ ทรอนิกส์ รวมถงึ วิธกี ารซง่ึ (เอ) ผู้บริโภคสามารถตดิ ตามการเยียวยา และ (บ)ี ธรุ กิจสามารถปฏิบัตติ ามข้อกาหนดทางกฎหมาย ขอ้ 12.8: การคมุ้ ครองข้อมลู สว่ นบุคคลออนไลน์ 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะนามาใช้หรือคงไว้ซ่ึงกรอบกฎหมายท่ีให้ความม่ันใจต่อการคุ้มครองข้อมูล สว่ นบคุ คลของผใู้ ช้พาณชิ ย์อิเล็กทรอนกิ ส7์ ,8 2. ในการพฒั นากรอบกฎหมายสาหรบั การคุม้ ครองข้อมลู สว่ นบุคคล ภาคีแต่ละฝ่ายจะคานึงถึง มาตรฐานระหว่างประเทศ หลักการ แนวทาง และคุณสมบัติ ขององค์การหรือหน่วยงาน ระหว่างประเทศทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 3. ภาคีแต่ละฝ่ายจะเผยแพร่ข้อมูลเก่ียวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ท่ีตนจัดให้ กับผู้ใช้พาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงวธิ ีการซง่ึ 6 กัมพชู า สปป.ลาว และเมียนมา จะยงั ไมผ่ กู พันกบั วรรคนี้ เปน็ ชว่ งเวลาห้า (5) ปี หลังจากวนั ท่คี วามตกลงฉบบั นี้ มีผลใช้บงั คบั 7 กมั พชู า สปป.ลาว และเมียนมา จะยงั ไมผ่ กู พนั กับวรรคนี้ เป็นชว่ งเวลาหา้ (5) ปี หลงั จากวนั ทค่ี วามตกลงฉบบั นี้ มีผลใชบ้ ังคบั 8 เพ่ือความชัดเจนย่ิงข้ึน ภาคีอาจใช้บังคับพันธกรณีในวรรคนี้ โดยการนามาใช้หรือการคงไว้ซ่ึงมาตรการ เช่น กฎหมายและระเบยี บข้อบังคับด้านการคุม้ ครองข้อมูลส่วนบุคคลหรือความเป็นส่วนตัวที่ครอบคลุม กฎหมาย และระเบียบข้อบังคับรายสาขาที่ครอบคลุมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ท่ีใช้ในการบงั คบั ใช้ข้อผูกพนั ทางสัญญาของนติ ิบุคคล ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การคุ้มครองข้อมลู สว่ นบุคคล 12-6

- คำ�แปลอย่างไมเ่ ป็นทางการ - (เอ) ปจั เจกบุคคลสามารถตดิ ตามการเยียวยา และ (บี) ธุรกิจสามารถปฏิบตั ิตามข้อกาหนดทางกฎหมาย 4. กลุ่มภาคีจะส่งเสริมให้นิติบุคคลเผยแพร่นโยบายและกระบวนการเกี่ยวกับการคุ้มครอง ข้อมูลสว่ นบุคคล รวมถึงการเผยแพรท่ างอนิ เทอร์เนต็ 5. กลมุ่ ภาคจี ะรว่ มมือกันเทา่ ทีจ่ ะเป็นไปได้เพ่ือการคุ้มครองข้อมลู ส่วนบุคคลทีโ่ อนมาจากภาคี ข้อ 12.9: ข้อความอิเล็กทรอนิกสเ์ ชิงพาณชิ ย์ท่ไี มพ่ ึงประสงค์ 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะนามาใช้หรือคงไว้ซ่ึงมาตรการเก่ียวกับข้อความอิเล็กทรอนิกส์เชิงพาณิชย์ ท่ีไมพ่ งึ ประสงคซ์ ง่ึ (เอ) กาหนดให้ผู้ส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์เชิงพาณิชย์ที่ไม่พึงประสงค์อานวยความสะดวก ความสามารถของผู้รบั ในการหยดุ รบั ข้อความดังกลา่ ว (บี) กาหนดให้มกี ารขอความยินยอมจากผู้รับเพื่อรับข้อความอิเล็กทรอนิกส์เชิงพาณิชย์ ตามทร่ี ะบุไว้ตามกฎหมายและระเบียบขอ้ บังคับของตน หรอื (ซี) มฉิ ะน้ัน กาหนดใหม้ ขี อ้ ความอิเลก็ ทรอนิกส์เชิงพาณิชย์ที่ไมพ่ งึ ประสงค์น้อยท่สี ุด 2. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องมีการจัดการกับผู้ให้บริการที่ส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์เชิงพาณิชย์ ท่ีไม่พงึ ประสงค์ทีม่ ไิ ดป้ ฏบิ ัตติ ามมาตรการในการปฏิบัตติ ามพันธกรณีภายใต้วรรค 19 3. กลุ่มภาคีจะพยายามท่ีจะร่วมมือกัน ในกรณีท่ีเหมาะสมเก่ียวกับข้อห่วงกังวลท่ีเกี่ยวข้องกับ ระเบยี บข้อบงั คบั ดา้ นข้อความอเิ ล็กทรอนิกส์เชิงพาณิชย์ท่ีไม่พงึ ประสงค์ ขอ้ 12.10: กรอบระเบียบขอ้ บังคับภายในประเทศ 1. ภาคีแตล่ ะฝ่ายจะคงไว้หรอื นามาใช้ซง่ึ กรอบกฎหมายท่ีกากับดูแลธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยคานึงถึงกฎหมายแม่แบบของคณะกรรมาธิการสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายการค้า ระหว่างประเทศเรื่องพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ค.ศ. 1996 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วย การใช้การสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์ในสัญญาระหว่างประเทศ ซึ่งจัดทา ณ นครนิวยอร์ก 9 กมั พูชา สปป.ลาว และเมียนมา จะยงั ไม่ผูกพนั กบั วรรคน้ี เป็นช่วงเวลาห้า (5) ปี หลงั จากวนั ทีค่ วามตกลงฉบับน้ี มีผลใชบ้ ังคบั บรไู นดารสุ ซาลามจะยังไม่ผูกพันกับวรรคน้ี เป็นช่วงเวลาสาม (3) ปี หลังจากวันท่ีความตกลงฉบับน้ี มีผลใช้บังคบั 12-7

- ค�ำ แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 2005 หรืออนุสัญญาระหว่างประเทศท่ีเก่ียวข้อง และกฎหมายแมแ่ บบที่เก่ยี วขอ้ งกบั พาณิชย์อิเลก็ ทรอนิกส์อ่นื ๆ10 2. ภาคีแต่ละฝ่ายจะพยายามที่จะหลีกเลี่ยงภาระด้านระเบียบข้อบังคับที่เกินความจาเป็น ตอ่ ธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ ข้อ 12.11: อากรศุลกากร 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะคงไว้ซ่ึงการปฏิบัติในปัจจุบันของการไม่จัดเก็บอากรศุลกากรสาหรับ การสง่ ผ่านทางอเิ ล็กทรอนกิ สร์ ะหวา่ งกลมุ่ ภาคี 2. การปฏิบัติที่อ้างถึงในวรรค 1 สอดคล้องกับข้อตัดสินใจของรัฐมนตรีดับบลิว ที โอ ณ วันท่ี 13 ธันวาคม ค.ศ. 2017 ในความสัมพันธ์กับแผนการทางานเร่ืองพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (ดบั บลิว ท/ี เอม็ ไอ เอน็ (17)/65) 3. ภาคีแต่ละฝ่ายอาจปรับเปลี่ยนการปฏิบัติท่ีอ้างถึงในวรรค 1 ให้สอดคล้องกับผลลัพธ์ ของขอ้ ตัดสนิ ใจของรฐั มนตรีดับบลิว ที โอ ในอนาคต เร่ืองอากรศุลกากรสาหรับสิ่งท่ีส่งผ่าน ทางอเิ ล็กทรอนิกส์ ภายในกรอบของแผนการทางานเร่ืองพาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนิกส์ 4. กลุ่มภาคีจะทบทวนข้อน้ีในแง่มุมของข้อตัดสินใจของรัฐมนตรีดับบลิว ที โอ ในอนาคต ในความสัมพนั ธก์ บั แผนการทางานเร่อื งพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ 5. เพื่อความชัดเจนยิ่งขึ้นวรรค 1 จะไม่ห้ามภาคีจากการจัดเก็บภาษี ค่าธรรมเนียม หรือค่าภาระอน่ื ใด สาหรบั การส่งผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีเงอื่ นไขว่าภาษี ค่าธรรมเนียม และคา่ ภาระ น้ันจะต้องจดั เกบ็ ให้สอดคล้องกับความตกลงฉบับนี้ ขอ้ 12.12: ความโปรง่ ใส 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะเผยแพร่มาตรการทั้งหมดท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้หรือมีผลกระทบ ต่อการปฏิบัติตามบทน้ี โดยพลันเท่าท่ีจะเป็นไปได้ หรือหากไม่สามารถดาเนินการได้ หรอื ไม่เชน่ นั้นจดั ใหม้ ไี ว้แกส่ าธารณะ รวมถึงการเผยแพรท่ างอินเทอร์เนต็ หากเปน็ ไปได้ 2. ภาคีแต่ละฝ่ายจะตอบสนองโดยพลันเท่าท่ีจะเป็นไปได้ ต่อคาร้องขอท่ีเก่ียวข้องของภาคีอ่ืน สาหรับข้อมูลที่เฉพาะเจาะจงเก่ียวกับมาตรการใด ท่ีเก่ียวข้องการใช้หรือมีผลกระทบ ต่อการปฏิบัติตามบทน้ี 10 กมั พูชาจะยงั ไม่ผูกพนั กบั วรรคนี้ เป็นช่วงเวลาห้า (5) ปี หลังจากวนั ทค่ี วามตกลงฉบับนีม้ ผี ลใช้บังคบั 12-8

- คำ�แปลอยา่ งไม่เปน็ ทางการ - ข้อ 12.13: ความมนั่ คงปลอดภัยไซเบอร์ กลุ่มภาคตี ระหนกั ถึงความสาคญั ของ: (เอ) การสร้างขีดความสามารถของหน่วยงานผู้มีอานาจท่ีรับผิดชอบต่อการตอบสนอง ต่อเหตุการณ์ความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอร์ รวมถึงผ่านการแลกเปล่ียน แนวปฏบิ ัติทเี่ ปน็ เลิศ และ (บี) การใช้กลไกความร่วมมือที่มีอยู่แล้วเพ่ือร่วมมือในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคง ปลอดภยั ไซเบอร์ ส่วน ดี การส่งเสรมิ พาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ข้ามพรมแดน ขอ้ 12.14: ตาแหน่งของอุปกรณ์ประมวลผล 1. กลุ่มภาคีตระหนักว่าภาคีแต่ละฝ่ายอาจมีมาตรการของตนเก่ียวกับการใช้หรือตาแหน่ง ของอุปกรณ์ประมวลผล รวมถงึ ข้อกาหนดเพื่อความมั่นคงและความลบั ของการสื่อสาร 2. ไม่มีภาคีใดกาหนดให้บุคคลท่ีเกี่ยวข้องใช้หรือระบุตาแหน่งของอุปกรณ์ประมวลผลไว้ ในอาณาเขตของภาคีนัน้ ในฐานะเง่ือนไขสาหรับการประกอบธุรกิจในอาณาเขตของภาคนี ั้น11 3. ไมม่ ีความใดในขอ้ นี้ทจ่ี ะขดั ขวางภาคจี ากการนามาใช้หรือคงไวซ้ ่งึ (เอ) มาตรการท่ีไม่สอดคล้องกับวรรค 2 ซ่ึงภาคีพิจารณาว่าจาเป็นต่อการบรรลุ วตั ถุประสงค์ของนโยบายสาธารณะที่ชอบดว้ ยกฎหมาย12 โดยมีเงื่อนไขวา่ มาตรการ จะต้องไม่ใช้ในทางที่จะก่อให้เกิดวิธีการของการเลือกปฏิบัติตามอาเภอใจ หรือไม่มี เหตผุ ล หรอื เปน็ ข้อจากัดตอ่ การค้า หรอื (บ)ี มาตรการใดที่ภาคีพิจารณาว่าจาเป็นสาหรับการคุ้มครองผลประโยชน์ ด้านความมั่นคงท่ีจาเป็น มาตรการนน้ั จะไม่ถกู โตแ้ ย้งโดยกลุ่มภาคีอืน่ 11 กมั พูชา สปป.ลาว และเมียนมา จะยังไมผ่ ูกพันกบั วรรคน้ี เปน็ ชว่ งเวลาหา้ (5) ปี หลงั จากวันที่ความตกลงฉบับน้ี มีผลใช้บังคับ และต่อไปได้อีกสาม (3) ปี หากมีความจาเป็น เวียดนามจะยังไม่ผูกพันกับวรรคน้ี เป็นช่วงเวลา หา้ (5) ปี หลังจากวนั ทคี่ วามตกลงฉบบั น้มี ีผลใชบ้ ังคับ 12 เพื่อความมุ่งประสงค์ของอนุวรรคน้ี กลุ่มภาคียืนยันว่าความจาเป็นในการใช้นโยบายสาธารณะที่ชอบด้วย กฎหมายนน้ั จะตัดสินโดยภาคีทีใ่ ช้เอง 12-9

- คำ�แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - ข้อ 12.15: การโอนข้อมูลข้ามพรมแดนด้วยวิธีทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 1. กลุ่มภาคีตระหนักว่าภาคีแต่ละฝ่ายอาจมีมาตรการของตนเก่ียวกับการโอนข้อมูลด้วยวิธี ทางอิเล็กทรอนิกส์ 2. ภาคีจะไม่ขัดขวางการโอนข้อมูลข้ามพรมแดนด้วยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ เม่ือกิจกรรมน้ัน เป็นไปเพอ่ื การประกอบธรุ กิจของบคุ คลที่เกยี่ วข้อง13 3. ไม่มีความใดในข้อบทน้ีทจ่ี ะขดั ขวางภาคจี ากการนามาใชห้ รือคงไว้ซงึ่ (เอ) มาตรการท่ีไม่สอดคล้องกับวรรค 2 ซึ่งภาคีพิจารณาว่าจาเป็นต่อการบรรลุ วัตถปุ ระสงค์ของนโยบายสาธารณะทีช่ อบด้วยกฎหมาย14 โดยมเี งอื่ นไขว่ามาตรการ จะต้องไม่ใช้ในทางท่ีจะก่อให้เกิดวิธีการของการเลือกปฏิบัติตามอาเภอใจ หรอื ไมม่ ีเหตผุ ล หรอื เปน็ ขอ้ จากัดต่อการคา้ หรือ (บี) มาตรการใดท่ีภาคีพิจารณาว่าจาเป็นสาหรับการคุ้มครองผลประโยชน์ด้าน ความม่นั คงทจ่ี าเป็น มาตรการนน้ั จะไม่ถูกโตแ้ ย้งโดยกลมุ่ ภาคีอ่นื สว่ น อี บทบัญญัติอ่ืน ๆ ข้อ 12.16: การหารอื เรอื่ งพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 1. กลุ่มภาคีตระหนักถึงคุณค่าของการหารือ รวมถึงการหารือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตามความเหมาะสม ในการส่งเสริมการพัฒนาและการใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยการดาเนินการหารือนั้น กลุม่ ภาคีจะพจิ ารณาประเดน็ ดังต่อไปนี้ (เอ) ความร่วมมือตามขอ้ 12.4 (ความรว่ มมือ) (บ)ี ประเด็นปัจจุบันและท่ีจะเกิดข้ึน เช่น การปฏิบัติต่อสินค้าดิจิทัล โค้ดต้นกาเนิด และการไหลเวียนของข้อมูลข้ามพรมแดนและตาแหน่งของอุปกรณ์ประมวลผล สาหรบั บริการด้านการเงิน และ 13 กัมพชู า สปป.ลาว และเมียนมา จะยงั ไม่ผูกพนั กบั วรรคน้ี เป็นช่วงเวลาหา้ (5) ปี หลงั จากวันท่ีความตกลงฉบับน้ี มีผลใช้บังคับ และต่อไปได้อีกสาม (3) ปี หากมีความจาเป็น เวียดนามจะยังไม่ผูกพันกับวรรคนี้ เป็นช่วงเวลา หา้ (5) ปี หลงั จากวันท่คี วามตกลงฉบบั นีม้ ผี ลใชบ้ งั คบั 14 เพื่อความมุ่งประสงค์ของอนุวรรคนี้ กลุ่มภาคียืนยันว่าความจาเป็นในการใช้นโยบายสาธารณะท่ีชอบด้วย กฎหมายนน้ั จะตัดสินโดยภาคที ่ใี ช้เอง 12-10

- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - (ซี) ประเด็นอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาและการใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น การปฏิบัติที่ไม่ส่งเสริมการแข่งขัน การระงับข้อพิพาทออนไลน์ และการส่งเสริมทักษะที่เก่ียวข้องสาหรับ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ รวมถึง การเคลอ่ื นยา้ ยข้ามพรมแดนช่วั คราวของผปู้ ระกอบวชิ าชีพ 2. การหารอื จะดาเนินการตามอนุวรรค 1(เจ) ของขอ้ 18.3 (หน้าที่ของคณะกรรมการร่วมอาร์เซ็ป) 3. กลุ่มภาคจี ะต้องคานึงถึงประเดน็ ท่อี ยู่ในรายการในวรรค 1 และข้อเสนอแนะอื่น ๆ ท่ีเกิดข้ึน จากการหารือตามข้อบทนี้ เข้าไปในบริบทของการทบทวนท่ัวไปของความตกลงฉบับน้ี ตามข้อ 20.8 (การทบทวนทวั่ ไป) ขอ้ 12.17: การระงับขอ้ พพิ าท 1. เมื่อมีเหตุการณ์ของความแตกต่างระหว่างกลุ่มภาคีเก่ียวกับการตีความและการปฏิบัติ ตามบทน้ี กลุ่มภาคีจะต้องใช้การหารือโดยสุจริตในลาดับแรกก่อน และใช้ความพยายาม ทุกอยา่ งเพ่อื ที่จะหาทางออกที่ทงั้ สองฝ่ายพอใจ 2. เม่ือมีเหตุการณ์ท่ีการหารือตามวรรค 1 ล้มเหลวในการขจัดความแตกต่างนั้น ภาคีใด ที่เกี่ยวข้องกับหารือน้ันอาจยกเรื่องดังกล่าวขึ้นต่อคณะกรรมการร่วมอาร์เซ็ป ตามข้อ 18.3 (หนา้ ท่ขี องคณะกรรมการรว่ มอารเ์ ซป็ ) 3. ไม่มีภาคีใดจะถูกไต่สวนเพ่ือระงับข้อพิพาทภายใต้บทที่ 19 (การระงับข้อพิพาท) สาหรับ เรื่องใดท่ีเกิดขึ้นภายใต้บทน้ี ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของการทบทวนทั่วไปของความตกลง ฉบับน้ี ตามข้อ 20.8 (การทบทวนท่ัวไป) กลุ่มภาคีจะทบทวนการใช้บังคับของบทที่ 19 (การระงับข้อพิพาท) กับบทน้ี เม่ือการทบทวนเสร็จสิ้น บทท่ี 19 (การระงับข้อพิพาท) จะใช้บงั คับกบั บทน้รี ะหวา่ งกลมุ่ ภาคีท่ตี กลงจะนามาใช้ 12-11

- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - บทที่ 13 การแขง่ ขนั ทางการคา้ ขอ้ 13.1: วตั ถปุ ระสงค์ บทนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าในตลาด และเสริมสร้างประสิทธิภาพ เชิงเศรษฐกิจ ตลอดจนสวัสดิภาพของผู้บริโภค ผ่านการบัญญัติและคงไว้ซึ่งกฎหมายและระเบียบ ข้อบังคับเพื่อปูองกันการกระทาอันเป็นการผูกขาด ลด หรือจากัดแข่งขันทางการค้า รวมถึง ผ่านความร่วมมือในภูมิภาคเพื่อการพัฒนาและบังคับใช้กฎหมายและระเบียบข้อบังคับด้านการแข่งขัน ทางการค้าระหว่างภาคี การดาเนินการตามวัตถุประสงค์เหล่าน้ีจะช่วยสร้างประโยชน์ให้แก่ภาคี ตามความตกลงฉบับนี้ รวมถงึ อานวยความสะดวกการค้าและการลงทนุ ระหวา่ งภาคี ข้อ 13.2: หลกั การพื้นฐาน 1. ภาคแี ตล่ ะฝาุ ยตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามบทนโ้ี ดยสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงคแ์ หง่ บทนี้ 2. ดว้ ยรบั ทราบถึงสทิ ธิและพนั ธกรณขี องภาคีแตล่ ะฝุายภายใตบ้ ทนี้ กลุ่มภาคตี ระหนักถงึ (เอ) สทิ ธิอธปิ ไตยของภาคีแต่ละฝุายในการพัฒนา กาหนด บริหารจัดการ และบังคับใช้ กฎหมาย ระเบยี บขอ้ บงั คบั และนโยบายด้านการแข่งขันทางการคา้ ของตนและ (บี) ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญระหว่างกลุ่มภาคีในด้านขีดความสามารถ และระดบั การพัฒนาในด้านกฎหมายและนโยบายการแข่งขันทางการค้า 13-1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook