Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มที่ 3 คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ

เล่มที่ 3 คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ

Published by kanya jirathumtrakul, 2021-02-02 16:31:50

Description: เล่มที่ 3 คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ

Search

Read the Text Version

- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - ความตกลงห้นุ ส่วนทางเศรษฐกจิ ระดับภมู ภิ าค (อาร์เซ็ป)

- ค�ำ แปลอย่างไม่เป็นทางการ - สารบญั อารมั ภบท บทบญั ญตั ิเบ้อื งต้นและคานยิ ามทวั่ ไป บทที่ 1 การคา้ สินค้า บทที่ 2 กฎถ่ินกาเนดิ สินค้า บทท่ี 3 ภาคผนวก 3 เอ (กฎเฉพาะรายสนิ คา้ ) บทที่ 4 ภาคผนวก 3 บี (ข้อกาหนดเรื่องข้อมูลขน้ั ต่า) บทที่ 5 พิธกี ารศลุ กากรและการอานวยความสะดวกทางการคา้ บทท่ี 6 ภาคผนวก 4 เอ (ระยะเวลาในการปฏบิ ัตติ ามพันธกรณี) บทท่ี 7 มาตรการสขุ อนามัยและสุขอนามัยพชื มาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบและรบั รอง บทที่ 8 การเยียวยาทางการคา้ ภาคผนวก 7 เอ (แนวปฏิบัติในการดาเนินการเก่ียวกับกระบวนการตอบโต้ บทที่ 9 การทมุ่ ตลาดและการอดุ หนนุ ) การค้าบรกิ าร ภาคผนวก 8 เอ (บริการด้านการเงิน) ภาคผนวก 8 บี (บริการโทรคมนาคม) ภาคผนวก 8 ซี (บริการวิชาชพี ) การเคลื่อนย้ายชั่วคราวของบุคคลธรรมดา

- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - บทที่ 10 การลงทุน บทท่ี 11 ภาคผนวก 10 เอ (กฎหมายจารตี ประเพณีระหวา่ งประเทศ) บทท่ี 12 ภาคผนวก 10 บี (การเวนคนื ) บทที่ 13 ทรพั ย์สนิ ทางปัญญา บทที่ 14 ภาคผนวก 11 เอ (ระยะเวลาปรบั ตัวเฉพาะภาคี) บทท่ี 15 ภาคผนวก 11 บี (รายการร้องขอความชว่ ยเหลอื ทางเทคนคิ ) บทท่ี 16 พาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนิกส์ การแขง่ ขนั ทางการค้า ภาคผนวก 13 เอ (การใช้บงั คบั ขอ้ 13.3 (มาตรการที่เหมาะสมต่อกิจกรรม ทจ่ี ากดั การแขง่ ขนั ) และข้อ 13.4 (ความรว่ มมอื ) กบั บรไู นดารุสซาลาม) ภาคผนวก 13 บี (การใช้บังคับข้อ 13.3 (มาตรการท่ีเหมาะสมต่อกิจกรรม ทจ่ี ากัดการแขง่ ขนั ) และขอ้ 13.4 (ความรว่ มมอื ) กับ กัมพชู า) ภาคผนวก 13 ซี (การใช้บังคับข้อ 13.3 (มาตรการท่ีเหมาะสมต่อกิจกรรม ที่จากัดการแข่งขนั ) และขอ้ 13.4 (ความร่วมมอื ) กบั สปป. ลาว) ภาคผนวก 13 ดี (การใช้บังคับข้อ 13.3 (มาตรการที่เหมาะสมต่อกิจกรรม ทีจ่ ากัดการแข่งขนั ) และขอ้ 13.4 (ความร่วมมือ) กบั เมียนมา) วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ และวิชาการ การจดั ซ้ือจัดจา้ งโดยรัฐ ภาคผนวก 16 เอ (เอกสารหรือวิธีอิเล็กทรอนิกส์ท่ีใช้โดยกลุ่มภาคีในการ เผยแพร่ข้อมูลความโปรง่ ใส)

- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - บทที่ 17 บทบัญญตั ิท่ัวไปและขอ้ ยกเวน้ บทที่ 18 บทบัญญัตเิ กยี่ วกบั สถาบนั ภาคผนวก 18 เอ (หน้าทขี่ ององคก์ รยอ่ ยของคณะกรรมการร่วมอารเ์ ซ็ป) บทท่ี 19 การระงบั ข้อพพิ าท บทที่ 20 บทบญั ญตั ิสดุ ท้าย -------------------------- ภาคผนวก 1 ตารางข้อผกู พันทางภาษี ภาคผนวก 2 ตารางข้อผูกพันเฉพาะสาหรับบริการ ภาคผนวก 3 ตารางข้อสงวนและมาตรการที่ไม่สอดคล้องกับพันธกรณีสาหรับบริการ และการลงทนุ ภาคผนวก 4 ตารางข้อผกู พนั เฉพาะในการเคลอื่ นยา้ ยชัว่ คราวของบุคคลธรรมดา *********

- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - อารัมภบท กลุม่ ภาคีแห่งความตกลงฉบับนี้ ระลึกถึง ปฏิญญาร่วมว่าด้วยการริเริ่มการเจรจาความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค ที่รับรองโดยประมุขแห่งรัฐหรือหัวหน้ารัฐบาลของประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ (ต่อไปในท่ีนี้จะเรียกว่า “อาเซียน” ในความตกลงฉบับนี้) กับออสเตรเลีย จีน อินเดีย ญ่ีปุ่น เกาหลี และนิวซีแลนด์ ณ กรุงพนมเปญ กัมพูชา เม่ือวันท่ี 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 2012 ซ่ึงรับรอง หลักการชี้แนะและวัตถุประสงค์ของการเจรจาความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ ระดับภูมิภาค ปรารถนา ท่ีจะขยายและทาให้การรวมตัวของเศรษฐกิจระดับภูมิภาคลึกซึ้งยิ่งข้ึน เสริมสร้าง การเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเป็นธรรม และพัฒนาความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจที่ให้ก้าวหน้าผ่านความตกลงฉบับนี้ ซ่ึงจะต้ังอยู่บนพ้ืนฐานความเชื่อมโยง ทางเศรษฐกิจระหว่างกลมุ่ ภาคี ปรารถนา ท่ีจะเสริมสร้างความเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจของกลุ่มภาคี เพื่อสร้างโอกาส ในการจา้ งงานใหม่ ๆ ยกระดบั มาตรฐานการครองชีพ และปรับปรงุ สวัสดิการทว่ั ไปของประชาชน แสวงหา การกาหนดกฎท่ีชัดเจนและกอ่ ใหเ้ กิดประโยชนร์ ่วมกัน เพ่ืออานวยความสะดวกทางการค้า และการลงทุน รวมถึงการมีส่วนร่วมในหว่ งโซอ่ ปุ ทานระดับโลกและระดับภมู ิภาค พัฒนาต่อ จากสิทธิและพันธกรณีภายใต้ความตกลงมาร์ราเกชซึ่งจัดต้ังองค์การการค้าโลก ทาข้ึน ณ มาร์ราเกช เม่ือวันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1994 และความตกลงการค้าเสรีที่มีอยู่ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับประเทศหุ้นส่วนการค้าเสรี ได้แก่ ออสเตรเลีย จีน อินเดีย ญ่ีปุ่น เกาหลี และนวิ ซแี ลนด์ โดยคานึงถึง ความแตกต่างของระดบั การพัฒนาระหวา่ งกล่มุ ภาคี ความจาเป็นในการมีความยืดหยุ่น ในรูปแบบท่ีเหมาะสม รวมถึงการให้การปฏิบัติท่ีพิเศษและแตกต่าง โดยเฉพาะสาหรับกัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา และเวียดนาม ตามความเหมาะสม และความยืดหยุ่นเพิ่มเติมสาหรับ ภาคีประเทศพฒั นานอ้ ยท่ีสุด พิจารณาถึง ความจาเป็นที่จะต้องอานวยความสะดวกในการมีส่วนร่วมท่ีเพิ่มข้ึนของภาคีประเทศ พัฒนาน้อยท่ีสุดในความตกลงฉบับน้ี เพ่ือให้สามารถปฏิบัติตามพันธกรณีภายใต้ความตกลงฉบับน้ี และหาประโยชน์จากผลประโยชน์ความตกลงฉบับน้ี รวมถึงการขยายโอกาสทางการค้า และการลงทุน และการมสี ่วนรว่ มในหว่ งโซอ่ ปุ ทานระดับภูมภิ าคและระดบั โลก 1

- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เปน็ ทางการ - ยอมรับ ว่าธรรมาภิบาลและสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่คาดการณ์ได้ โปร่งใส และสม่าเสมอ จะนาไปสูก่ ารปรบั ปรุงประสิทธภิ าพทางเศรษฐกิจและการพัฒนาการคา้ และการลงทนุ ยืนยันอกี คร้ัง ถงึ สิทธิของภาคีแต่ละฝ่ายในการกากับดูแลเพ่ือวัตถุประสงค์ด้านสวัสดิภาพสาธารณะ ท่ชี อบธรรม ยอมรับ ว่าสามเสาหลักแห่งการพัฒนาท่ีย่ังยืนมีความพึ่งพาและสนับสนุนซ่ึงกันและกัน และความเป็นหุ้นสว่ นทางเศรษฐกจิ สามารถมีบทบาทสาคัญในการสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยนื และ ยอมรับเพิ่มเติม ผลในเชิงบวกท่ีความตกลงและข้อตกลงการค้าระดับภูมิภาค สามารถเร่งการเปิด เสรีทางการค้าและการลงทุนทั้งระดับภูมิภาคและระดับโลก และบทบาทในการเสริมสร้างระบบ การคา้ พหุภาคที ี่เปิดกว้าง เสรี และต้ังอยู่บนกฎกติกา ไดต้ กลงกันดังต่อไปนี้ 2

- คำ�แปลอย่างไมเ่ ป็นทางการ - บทที่ 1 บทบญั ญตั ิเบอ้ื งตน้ และคานิยามท่ัวไป ข้อ 1.1: การจดั ตง้ั หุน้ ส่วนทางเศรษฐกจิ ระดับภูมิภาคเป็นเขตการคา้ เสรี กลมุ่ ภาคจี ดั ต้ัง ณ ท่ีน้ีหุน้ ส่วนทางเศรษฐกจิ ระดับภมู ิภาคเป็นเขตการค้าเสรี โดยสอดคล้องกับข้อ 24 ของแกตต์ 1994 และข้อ 5 ของแกตส์ ตามบทบัญญัติของความตกลงฉบบั น้ี ขอ้ 1.2: คานิยามทว่ั ไป เพอื่ ความมงุ่ ประสงคข์ องความตกลงฉบับน้ี เวน้ แต่จะกาหนดไว้เปน็ อย่างอืน่ ในความตกลงฉบับนี้ (เอ) ความตกลงเอ ดี หมายถึง ความตกลงว่าด้วยการปฏิบัติตามข้อ 6 ของความตกลง ท่ัวไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า 1994 ในภาคผนวก 1 เอ ของความตกลง ดบั บลวิ ที โอ (บ)ี ความตกลง หมายถึง ความตกลงหนุ้ สว่ นทางเศรษฐกิจระดับภมู ภิ าค (ซ)ี ความตกลงว่าด้วยการเกษตร หมายถึง ความตกลงว่าด้วยการเกษตร ในภาคผนวก 1 เอ ของความตกลงดับบลิว ที โอ (ดี) ความตกลงการประเมนิ ราคาศลุ กากร หมายถงึ ความตกลงว่าด้วยการปฏิบัติตามข้อ 7 ของความตกลงท่ัวไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า 1994 ในภาคผนวก 1 เอ ของความตกลงดับบลวิ ที โอ (อี) วนั หมายถึง วนั ตามปฏิทิน ซงึ่ รวมถงึ วันหยดุ สุดสัปดาห์และวันหยุดนกั ขตั ฤกษ์ (เอฟ) การมอี ยู่ หมายถงึ มผี ล ณ วนั ที่ความตกลงฉบับน้ีมีผลใช้บังคับ (จี) แกตส์ หมายถึง ความตกลงท่ัวไปว่าด้วยการค้าบริการ ในภาคผนวก 1 บี ของความตกลงดับบลวิ ที โอ (เอช) แกตต์ 1994 หมายถึง ความตกลงท่ัวไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า 1994 ในภาคผนวก 1 เอ ของความตกลงดบั บลวิ ที โอ (ไอ) จี พี เอ หมายถึง ความตกลงว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างโดยรัฐ ในภาคผนวก 4 ของความตกลงดบั บลิว ที โอ 1-1

- ค�ำ แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - (เจ) ระบบฮาร์โมไนซ์ หรือ เอช เอส หมายถึง ระบบฮาร์โมไนซ์ของคาอธิบายและ การจาแนกพิกัดอัตราศุลกากรของสินค้า รวมถึงกฎการตีความท่ัวไป หมายเหตุ หมวด หมายเหตุตอน และหมายเหตุประเภทย่อย ซ่ึงรับรองและใช้ดาเนินงาน โดยองค์การศุลกากรโลก ระบุในภาคผนวกของอนุสัญญาระหว่างประเทศ ว่าด้วยระบบฮารโ์ มไนซ์ของคาอธิบายและการจาแนกพิกัดอัตราศุลกากรของสินค้า ทาขึ้นที่กรุงบรัสเซลล์ เม่ือวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1983 และที่แก้ไขเพิ่มเติม รับรอง และอนวุ ัตกิ ารโดยกลมุ่ ภาคีในกฎหมายของตน (เค) ไอ เอ็ม เอฟ หมายถงึ กองทุนการเงินระหวา่ งประเทศ (แอล) ข้อบทของความตกลงไอ เอ็ม เอฟ หมายถึง ข้อบทของความตกลงของกองทุน การเงินระหว่างประเทศ รับรอง ณ เบรตตันวูดส์ เม่ือวันท่ี 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1944 (เอ็ม) ความตกลงการออกใบอนุญาตนาเข้า หมายถึง ความตกลงว่าด้วยวิธีดาเนินการ ออกใบอนุญาตนาเข้า ในภาคผนวก 1 เอ ของความตกลงดบั บลวิ ที โอ (เอน็ ) นิตบิ คุ คล หมายถึง องค์กรใด ๆ ทก่ี อ่ ต้ังข้ึนหรือจัดตั้งข้ึนภายใต้กฎหมายท่ีใช้บังคับ ไม่วา่ จะเพื่อผลกาไรหรอื ไม่ และไม่ว่าจะเป็นของเอกชนหรือเป็นของรัฐบาล รวมถึง บริษัทใด ๆ ทรัสต์ หุ้นส่วน หุ้นส่วนกิจการร่วมค้า กิจการเจ้าของผู้เดียว สมาคม หรอื องค์กรท่คี ลา้ ยกัน (โอ) ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด หมายถึง ประเทศท่ีได้รับการกาหนดจากสหประชาชาติ ว่าเป็นประเทศพัฒนาน้อยที่สุด และไม่ได้รับการแบ่งช้ันออกจากหมวดหมู่ประเทศ ที่พัฒนาน้อยท่สี ุด (พี) ภาคีประเทศพัฒนานอ้ ยทสี่ ดุ หมายถึง ภาคีทเี่ ปน็ ประเทศพัฒนาน้อยทีส่ ดุ (ควิ ) มาตรการ หมายถึง มาตรการใด ๆ โดยภาคีไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ กฎ กระบวนการ การตัดสินใจ การกระทาทางปกครอง หรือรูปแบบอื่นใด (อาร์) ภาคี หมายถึง รัฐหรือเขตศุลกากรอสิ ระใดทค่ี วามตกลงฉบบั นีม้ ีผลใช้บังคับ (เอส) สินค้าที่เน่าเสียได้ หมายถึง สินค้าที่เน่าเสียอย่างรวดเร็วเน่ืองจากคุณสมบัติ ตามธรรมชาติ โดยเฉพาะในกรณีทีไ่ ม่มีการเกบ็ รักษาอย่างเหมาะสม (ที) บุคคล หมายถึง บุคคลธรรมดาหรอื นติ ิบุคคล 1-2

- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - (ย)ู ข้อมูลส่วนบุคคล หมายถึง ข้อมูลใด ๆ รวมถึงข้อมูลท่ีเกี่ยวกับบุคคลท่ีระบุตัวตน หรอื สามารถระบตุ ัวตนได้ (ว)ี ความตกลงการตรวจสอบก่อนส่งออก หมายถึง ความตกลงว่าด้วยการตรวจสอบ กอ่ นส่งออก ในภาคผนวก 1 เอ ของความตกลงดับบลวิ ที โอ (ดบั บลวิ )อาร์เซ็ป หมายถงึ หุ้นส่วนทางเศรษฐกจิ ระดบั ภูมภิ าค (เอก็ ซ)์ คณะกรรมการร่วมอาร์เซ็ป หมายถึง คณะกรรมการร่วมอาร์เซ็ปท่ีจัดต้ังตาม ขอ้ 18.2 (การจัดต้งั คณะกรรมการรว่ มอาร์เซป็ ) (วาย) ความตกลงมาตรการปกป้อง หมายถึง ความตกลงว่าด้วยมาตรการปกป้อง ในภาคผนวก 1 เอ ของความตกลงดับบลิว ที โอ (แซด) ความตกลงเอส ซี เอ็ม หมายถึง ความตกลงว่าด้วยการอุดหนุนและมาตรการ ตอบโต้ ในภาคผนวก 1 เอ ของความตกลงดับบลวิ ที โอ (เอเอ) วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หมายถึง วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม รวมถึงวิสาหกิจขนาดย่อย และอาจมีการกาหนดความหมายเพ่ิมเติมในกรณีที่ ใชบ้ งั คบั ได้ตามกฎหมาย ระเบยี บขอ้ บังคับ หรือนโยบายระดบั ชาติของภาคีแตล่ ะฝ่าย (บบี )ี ความตกลงเอส พี เอส หมายถึง ความตกลงว่าด้วยการใช้บังคับมาตรการ สุขอนามยั และสุขอนามยั พชื ในภาคผนวก 1 เอ ของความตกลงดับบลวิ ที โอ (ซีซ)ี ความตกลงที บี ที หมายถึง ความตกลงว่าด้วยอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า ในภาคผนวก 1 เอ ของความตกลงดบั บลิว ที โอ (ดดี ี) เอกสารการบริหารการค้า หมายถึง แบบฟอร์มท่ีออกหรือควบคุมโดยภาคี ซึ่งจะต้องทาให้สมบูรณ์โดยหรือสาหรับผู้นาเข้าหรือผู้ส่งออกในส่วนที่เกี่ยวกับ การนาเขา้ หรือสง่ ออกสนิ คา้ (ออี ี) ความตกลงการอานวยความสะดวกทางการค้า หมายถึง ความตกลงว่าด้วย การอานวยความสะดวกทางการค้า ในภาคผนวก 1 เอ ของความตกลงดับบลิว ที โอ (เอฟเอฟ)ความตกลงทริปส์ หมายถึง ความตกลงว่าด้วยสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ทเ่ี กีย่ วกับการคา้ ในภาคผนวก 1 ซี ของความตกลงดบั บลวิ ที โอ 1-3

- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - (จจี ี) ความเข้าใจว่าด้วยบทบัญญัติเกี่ยวกับดุลการชาระเงิน หมายถึง ความเข้าใจ วา่ ด้วยบทบัญญตั เิ กยี่ วกับดุลการชาระเงินของความตกลงทว่ั ไปว่าด้วยภาษีศุลกากร และการคา้ 1994 ในภาคผนวก 1 เอ ของความตกลงดบั บลวิ ที โอ (เอชเอช)ดบั บลวิ ที โอ หมายถงึ องค์การการค้าโลก และ (ไอไอ) ความตกลงดับบลิว ที โอ หมายถงึ ความตกลงมาร์ราเกชจัดต้ังองค์การการค้าโลก ทาขึน้ ณ มารร์ าเกช เมอ่ื วนั ท่ี 15 เมษายน ค.ศ. 1994 ขอ้ 1.3: วตั ถปุ ระสงค์ ความตกลงฉบับนม้ี ีวตั ถุประสงค์เพอ่ื (เอ) จัดตั้งกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจท่ีทันสมัย ครอบคลุม มีคุณภาพสูง และเป็นประโยชน์ร่วมกัน เพ่ืออานวยความสะดวกการขยายตัวของการค้า และการลงทุนในภูมิภาค และสนับสนุนการเจริญเติบโตและ การพัฒนา ทางเศรษฐกจิ ของโลก โดยคานงึ ถึงระดบั การพัฒนาและความต้องการทางเศรษฐกิจ ของกล่มุ ภาคี โดยเฉพาะภาคปี ระเทศพัฒนาน้อยทีส่ ุด (บี) การเปิดเสรีอย่างก้าวหน้าและอานวยความสะดวกการค้าสินค้าระหว่างกลุ่มภาคี อาทิ การยกเลิกอุปสรรคทางภาษีและอุปสรรคท่ีไม่ใช่ภาษีอย่างก้าวหน้าสาหรับ การคา้ สินค้าเกอื บทงั้ หมดระหว่างกลมุ่ ภาคี (ซี) การเปิดเสรีในการค้าบริการอย่างก้าวหน้าระหว่างกลุ่มภาคีโดยครอบคลุมสาขา ส่วนใหญ่ เพ่ือให้บรรลุการยกเลิกข้อกาจัดและมาตรการที่เลือกปฏิบัติที่สาคัญ ในสว่ นท่ีเก่ยี วกับการคา้ บรกิ ารระหว่างกลุ่มภาคี และ (ดี) สร้างสภาพแวดล้อมในการลงทุนที่เสรี เอ้ืออานวย และสามารถแข่งขันได้ ในภูมิภาค ท่ีจะเสริมสร้างโอกาสการลงทุน และการส่งเสริม การคุ้มครอง การอานวยความสะดวก และการเปดิ เสรีของการลงทนุ ระหวา่ งกลุ่มภาคี 1-4

- คำ�แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - บทท่ี 2 การค้าสนิ คา้ สว่ น เอ บทบญั ญัติท่ัวไปและการเข้าส่ตู ลาดของสินค้า ขอ้ 2.1: คานิยาม เพือ่ ความม่งุ ประสงค์ของบทนี้ (เอ) ธุรกรรมด้านกงสุล หมายถึง ข้อกาหนดให้สินค้าของภาคีหนึ่งที่มุ่งหมายสาหรับ การสง่ ออกไปยังดินแดนของภาคีอีกฝ่ายหน่ึง ต้องถูกส่งไปอยู่ภายใต้การกากับดูแล ของกงสุลของภาคีผู้นาเข้าในดินแดนของภาคีผู้ส่งออกเป็นลาดับแรก เพ่ือความ มุ่งประสงค์ในการได้รับบัญชีราคาสินค้าทางกงสุลหรือการตรวจลงตราทางกงสุล สาหรับบัญชีราคาสินค้าทางการค้า หนังสือรับรองถ่ินกาเนิดสินค้า บัญชีรายการ สินค้า ใบแจ้งการส่งออกของผู้ขนส่งสินค้า หรือเอกสารศุลกากรอื่นใดท่ีกาหนด สาหรับหรือทีเ่ กีย่ วกับการนาเข้า (บ)ี อากรศลุ กากร หมายถงึ อากรศุลกากรหรืออากรนาเข้าใด ๆ และค่าภาระประเภทใด ๆ ทเ่ี รยี กเก็บโดยเกยี่ วเนอ่ื งกับการนาเขา้ สนิ คา้ แต่ไม่รวมถงึ (หนง่ึ ) ค่าภาระใด ๆ ท่ีเทียบเท่ากับภาษีภายในประเทศ ซ่ึงเรียกเก็บ โดยสอดคลอ้ งกบั วรรค 2 ของข้อ 3 ของแกตต์ 1994 (สอง) อากรตอบโต้การทุ่มตลาดหรืออากรตอบโต้การอุดหนุนใด ๆ ที่นามาใช้ โดยสอดคล้องกับข้อ 6 ของแกตต์ 1994 ความตกลงเอ ดี และ ความตกลงเอส ซี เอม็ หรือ (สาม) ค่าธรรมเนียมหรือค่าภาระอื่นใด ๆ ซ่ึงเทียบเท่ากับค่าใช้จ่ายในการ ให้บริการ (ซ)ี ราคาศุลกากรของสินค้า หมายถึง ราคาของสินค้าเพื่อความมุ่งประสงค์ ในการจัดเก็บอากรศลุ กากรแบบตามราคาสาหรับสินค้านาเข้า (ดี) ปลอดอากร หมายถงึ ไมม่ ีภาระอากรศุลกากร 2-1

- คำ�แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - (อี) กระบวนการออกใบอนุญาตนาเข้า หมายถึง ขั้นตอนทางปกครองท่ีกาหนดให้ ยื่นคาขอหรือเอกสารอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กาหนดโดยทั่วไปเพื่อความมุ่งประสงค์ ในการตรวจผ่านทางศุลกากร ต่อหน่วยงานทางปกครองที่เกี่ยวข้องของภาคีผู้นาเข้า ซง่ึ เป็นเงื่อนไขท่ตี อ้ งกระทากอ่ นการนาเข้ามาในดินแดนของภาคผี ูน้ าเข้า และ (เอฟ) สินค้าที่ได้ถิ่นกาเนิด หมายถึง สินค้าที่มีคุณสมบัติเป็นสินค้าท่ีได้ถิ่นกาเนิดโดยเป็นไป ตามบทที่ 3 (กฎถน่ิ กาเนิดสินค้า) ขอ้ 2.2: ขอบเขต ยกเวน้ จะระบุไว้เป็นอย่างอ่นื ในความตกลงฉบับนี้ บทน้ีจะใชก้ ับการค้าสินค้าระหว่างกลมุ่ ภาคี ข้อ 2.3: การประติบตั ิเยี่ยงคนชาติในการจดั เก็บภาษแี ละกาหนดระเบียบขอ้ บังคบั ภายใน ภาคีแต่ละฝ่ายจะให้การประติบัติเย่ียงคนชาติแก่สินค้าของภาคีอ่ืนตามข้อ 3 ของแกตต์ 1994 เพอื่ การนี้ ให้ข้อ 3 ของแกตต์ 1994 รวมอยูใ่ นและเป็นสว่ นหน่ึงของความตกลงฉบับนี้โดยอนโุ ลม ข้อ 2.4: การลดหรอื ยกเว้นอากรศุลกากร 1. ยกเว้นจะระบุไว้เป็นอย่างอ่ืนในความตกลงฉบับน้ี ภาคีแต่ละฝ่ายจะลดหรือยกเว้น อากรศุลกากรของตนสาหรับสินค้าที่ได้ถ่ินกาเนิดของภาคีอ่ืนโดยเป็นไปตามตารางของตนใน ภาคผนวก 1 (ตารางข้อผกู พนั ทางภาษ)ี 2. เพ่ือความชัดเจนยิ่งข้ึน โดยเป็นไปตามความตกลงดับบลิว ที โอ สินค้าท่ีได้ถิ่นกาเนิด ของภาคีอ่ืนจะมีสิทธิ์ในช่วงการนาเข้า ท่ีจะใช้อัตราอากรศุลกากรการประติบัติเย่ียงชาติ ที่ได้รับความอนุเคราะห์ยิ่งที่ใช้จริงสาหรับสินค้าดังกล่าวในภาคีหนึ่ง หากอัตราดังกล่าว ต่ากว่าอัตราอากรศุลกากรท่ีระบุไว้ในตารางของภาคีน้ันในภาคผนวก 1 (ตารางข้อผูกพัน ทางภาษี) ของภาคีแต่ละฝ่าย ภายใต้บังคับของกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของภาคีน้ัน ภาคีแต่ละฝ่ายจะระบุให้ผู้นาเข้าอาจยื่นคาขอรับอากรส่วนเกินที่ได้ชาระไปคืนสาหรับ สินค้าหนง่ึ หากผู้นาเขา้ ไมไ่ ด้ยน่ื ขอใช้อัตราอากรท่ีต่ากวา่ ในช่วงการนาเข้า 3. นอกเหนือจากอนุวรรค 1(บี) ของข้อ 4.5 (ความโปร่งใส) ภาคีแต่ละฝ่ายจะจัดให้มีไว้ แก่สาธารณะการแก้ไขใด ๆ ของอัตราอากรศุลกากรประติบัติเย่ียงชาติท่ีได้รับ ความอนุเคราะห์ย่ิงที่ใช้จริงของตนและอากรศุลกากรล่าสุดโดยเป็นไปตามวรรค 1 ต่อสาธารณะโดยเร็วทส่ี ดุ เท่าทจ่ี ะกระทาไดใ้ นทางปฏบิ ตั ิแต่ไม่ช้าไปกว่าวนั ท่ีมผี ลใชบ้ ังคับ 2-2

- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - ขอ้ 2.5: การเร่งขอ้ ผูกพันทางภาษี1 1. ไม่มีความใดในความตกลงฉบับน้ีจะห้ามมิให้ภาคีแก้ไขความตกลงฉบับนี้ตามข้อ 20.4 (การแก้ไข) เพื่อเร่งหรือปรับปรุงข้อผูกพันทางภาษีที่ระบุไว้ในตารางของตนในภาคผนวก 1 (ตารางข้อผูกพันทางภาษี) 2. ภาคีตั้งแต่สองฝ่ายข้ึนไป2 โดยตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของการยินยอมร่วมกัน อาจปรึกษาหารือ เกี่ยวกับการเร่งหรือปรับปรุงข้อผูกพันทางภาษีท่ีระบุไว้ในตารางของตนในภาคผนวก 1 (ตารางข้อผูกพันทางภาษี) ข้อตกลงท่ีจะเร่งหรือปรับปรุงข้อผูกพันทางภาษีระหว่างภาคี ดังกล่าวจะดาเนินการด้วยการแก้ไขตารางของภาคีนั้นในภาคผนวก 1 (ตารางข้อผูกพัน ทางภาษี) โดยเป็นไปตามข้อ 20.4 (การแก้ไข) การเร่งหรือการปรับปรุงข้อผูกพันทางภาษี ดังกลา่ วจะขยายใหก้ ับภาคที ง้ั หมด 3. ภาคีหน่ึงอาจเร่งหรือปรับปรุงข้อผูกพันทางภาษีท่ีระบุไว้ในตารางของตนในภาคผนวก 1 (ตารางข้อผูกพันทางภาษี) ได้ทุกเมื่อ การเร่งหรือปรับปรุงข้อผูกพันทางภาษีดังกล่าว จะขยายให้กับภาคีท้ังหมดุ ภาคีดังกล่าวจะแจ้งให้ภาคีอ่ืนทราบโดยเร็วท่ีสุดเท่าที่ จะกระทาได้ในทางปฏบิ ตั กิ อ่ นท่ีอตั ราอากรศลุ กากรการประตบิ ตั ิพิเศษจะมผี ลใช้บังคับ 4. เพ่ือความชัดเจนย่ิงข้ึน ภายหลังการเร่งหรือปรับปรุงข้อผูกพันทางภาษีฝ่ายเดียวของภาคี หน่ึงตามท่ีอ้างถึงในวรรค 3 ภาคีน้ันอาจยกระดับอากรศุลกากรการประติบัติพิเศษข้ึน ในระดับท่ีไม่เกินกว่าอัตราอากรประติบัติพิเศษของอากรศุลกากรนั้นที่ระบุไว้ในตาราง ของตนในภาคผนวก 1 (ตารางข้อผูกพันทางภาษี) สาหรับปีที่เกี่ยวข้อง ภาคีดังกล่าวจะแจ้ง ให้ภาคีอื่นทราบถึงวันท่ีอัตราใหม่ของอากรการประติบัติพิเศษจะมีผลใช้บังคับโดยเร็วท่ีสุด เท่าทจ่ี ะกระทาไดใ้ นทางปฏบิ ตั ิกอ่ นวนั ที่ดังกล่าว ข้อ 2.6: อตั ราอากรท่แี ตกต่างกัน 1. สนิ คา้ ทีไ่ ด้ถ่นิ กาเนิดทกุ รายการทมี่ ีอัตราอากรแตกต่างกัน3จะมีสิทธิได้รับการประติบัติพิเศษ ทางภาษีท่ีนามาใช้กับสินค้าท่ีได้ถ่ินกาเนิดของภาคีผู้ส่งออกตามข้อผูกพันทางภาษีของภาคี ผู้นาเข้าที่ระบุไว้ในตารางของภาคีผู้นาเข้านั้นในภาคผนวก 1 (ตารางข้อผูกพันทางภาษี) ในชว่ งการนาเขา้ กต็ ่อเมือ่ ภาคผี ู้สง่ ออกเป็นประเทศถ่นิ กาเนดิ อารเ์ ซป็ 1 เพอื่ ความชดั เจนยง่ิ ข้นึ ขอ้ น้จี ะใช้กับข้อผูกพนั ทางภาษีภายใตค้ วามตกลงฉบบั นเี้ ทา่ นน้ั 2 เพือ่ ความชดั เจนย่ิงขนึ้ “ภาคีตงั้ แต่สองฝ่ายข้นึ ไป” หมายถงึ ภาคีอาร์เซป็ เพียงบางประเทศ ไมใ่ ช่ท้งั หมด 3 ภาคีเขา้ ใจว่า “อตั ราอากรแตกต่างกัน” หมายถึง การประติบัติทางภาษีที่แตกต่างกันซึ่งภาคีผู้นาเข้านามาใช้กับ สินคา้ ทีไ่ ด้ถ่ินกาเนิดรายการเดยี วกัน 2-3

- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - 2. ประเทศถ่ินกาเนิดอาร์เซ็ปสาหรับสินค้าท่ีได้ถ่ินกาเนิดคือประเทศที่สินค้าได้รับสถานะ ถิ่นกาเนิดตามข้อ 3.2 (สินค้าที่ได้ถ่ินกาเนิด) โดยในส่วนของอนุวรรค (บี) ของข้อ 3.2 (สนิ ค้าที่ไดถ้ ิ่นกาเนดิ ) ประเทศถน่ิ กาเนิดอาร์เซป็ สาหรบั สินค้าที่ได้ถิ่นกาเนิดหนึ่งจะเป็นภาคี ผู้ส่งออกก็ต่อเม่ือมีกระบวนการผลิตนอกเหนือจากการดาเนินการเพียงเล็กน้อยท่ีระบุไว้ ในวรรค 5 สาหรับสนิ คา้ ท่ีไดถ้ ่นิ กาเนดิ น้ันเกิดขึน้ ในภาคีผู้สง่ ออกนน้ั 3. โดยไม่คานงึ ถึงวรรค 2 สาหรับสินค้าท่ีได้ถ่ินกาเนิดที่ภาคีผู้นาเข้าระบุไว้ในเอกสารแนบท้าย ของตารางของตนในภาคผนวก 1 (ตารางข้อผูกพันทางภาษี) ประเทศถ่ินกาเนิดอาร์เซ็ป จะเปน็ ภาคผี ู้สง่ ออกก็ต่อเมือ่ สินค้าน้นั บรรลเุ ง่ือนไขเพม่ิ เติมที่ระบไุ ว้ในเอกสารแนบทา้ ยนั้น 4. ในกรณที ่ภี าคผี สู้ ่งออกของสินค้าทไ่ี ดถ้ น่ิ กาเนิดหนึง่ ไมไ่ ด้ถือว่าเป็นประเทศถ่ินกาเนิดอาร์เซ็ป ตามวรรค 2 และ 3 ประเทศถ่ินกาเนิดอาร์เซ็ปสาหรับสินค้าท่ีได้ถิ่นกาเนิดน้ันจะเป็นภาคี ท่ีสนับสนุนมูลค่าสูงสุดของวัตถุดิบท่ีได้ถ่ินกาเนิดท่ีนามาใช้ในการผลิตสินค้าน้ันในภาคี ผสู้ ง่ ออก ในกรณีดังกลา่ ว สนิ คา้ ท่ไี ด้ถนิ่ กาเนิดนั้นจะมีสิทธิได้รับการประติบัติพิเศษทางภาษี ท่ีนามาใชก้ ับสนิ ค้าท่ีไดถ้ ่นิ กาเนดิ นัน้ ของประเทศถ่นิ กาเนิดอารเ์ ซ็ป 5. เพ่ือความมุ่งประสงค์ของวรรค 2 “การดาเนินการเพียงเล็กน้อย” คือการดาเนินการใด ๆ ทีร่ ะบไุ ว้ตามข้างลา่ ง ดังน้ี (เอ) กระบวนการเก็บรักษาเพื่อทาให้แน่ใจว่าสินค้าจะอยู่ในสภาพดีเพื่อวัตถุประสงค์ ในการขนส่งหรือการเกบ็ รกั ษา (บ)ี การบรรจหุ บี หอ่ หรอื การนาเสนอสนิ ค้าเพ่อื การขนสง่ หรอื การขาย (ซี) กระบวนการอย่างง่าย4 ซ่ึงรวมถึงการกรอง การคัดการแยก การแยกประเภท การลับคม การตัด การเฉอื น การบด การดดั การม้วน หรือการคลายเกลยี ว (ด)ี การติดหรือพิมพ์เคร่ืองหมาย ฉลาก ตราสัญลักษณ์ หรือท่ีคล้ายกันที่เป็น เครือ่ งหมายแยกความแตกตา่ งบนสินคา้ หรอื บรรจภุ ัณฑ์ของสนิ ค้า (อี) การเจือจางดว้ ยน้าหรือสารอ่ืน ๆ เทา่ นั้นซึง่ ไม่ทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงลักษณะเฉพาะ ของสินค้า (เอฟ) การถอดแยกสว่ นผลิตภณั ฑ์ออกเป็นช้ินส่วน (จ)ี การฆ่าสตั ว์5 4 เพ่ือความมุ่งประสงค์ของวรรคน้ี “อย่างง่าย” หมายถึง กิจกรรมที่ไม่ต้องใช้ทักษะพิเศษ หรือ เครื่องจักร เครอ่ื งมอื หรอื อุปกรณ์ที่จดั ทาขึ้นเฉพาะเพ่อื การผลติ หรอื ตดิ ตัง้ เพ่ือดาเนินกิจกรรมดังกลา่ ว 2-4

- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - (เอช) การทาสีและการขัดอย่างง่าย (ไอ) การปอก เอาเมล็ดออก หรอื การกะเทาะเปลอื กอย่างง่าย (เจ) การผสมอย่างงา่ ยโดยไม่คานึงถงึ วา่ เป็นสนิ ค้าต่างชนิดกันหรือไม่ หรอื (เค) การรวมกันของกระบวนการสอง (2) กระบวนการหรือมากกว่าท่ีอ้างถึง ในอนวุ รรค (เอ) ถงึ (เจ) 6. โดยไม่คานึงถึงวรรค 1 และ 4 ภาคีผู้นาเข้าจะอนุญาตให้ผู้นาเข้าย่ืนคาร้องขอสาหรับ การประตบิ ัตพิ ิเศษทางภาษีระหว่าง (เอ) อัตราสูงสุดของอากรศุลกากรที่ภาคีผู้นาเข้าใช้กับสินค้าที่ได้ถิ่นกาเนิดรายการ เดียวกันจากภาคีท่ีมีส่วนร่วมในวัตถุดิบท่ีได้ถ่ินกาเนิดที่นามาใช้ในการผลิตสินค้า ดังกล่าว โดยผู้นาเข้าต้องสามารถพิสูจน์การเรียกร้องดังกล่าวได้ เพ่ือความชัดเจน ยิ่งข้ึน วัตถุดิบที่ได้ถ่ินกาเนิดหมายถึงวัตถุดิบท่ีได้ถ่ินกาเนิดที่พิจารณาในคาร้องขอ สาหรับสถานะถนิ่ กาเนิดของสนิ ค้าขนั้ สดุ ทา้ ย หรือ (บี) อตั ราสงู สดุ ของอากรศลุ กากรที่ภาคีผูน้ าเข้านามาใช้กับสินค้าท่ีได้ถิ่นกาเนิดรายการ เดียวกันจากภาคใี ดภาคีหน่งึ 7. โดยไม่คานึงถึงข้อ 20.8 (การทบทวนท่ัวไป) ภาคีจะเร่ิมทบทวนข้อนี้ภายในสอง (2) ปี นับตั้งแต่วันที่ความตกลงฉบับนี้มีผลใช้บังคับ และภายหลังจากนั้น ทุก ๆ สาม (3) ปี หรือ ตามที่ภาคีตกลงร่วมกัน เพ่ือลดหรือขจัดเง่ือนไขของข้อนี้ รวมท้ังจานวนรายการสินค้า และเงื่อนไขที่ระบุในเอกสารแนบท้ายของตารางของภาคีหนึ่งในภาคผนวก 1 (ตาราง ข้อผกู พนั ทางภาษี) 8. โดยไมค่ านงึ ถึงวรรค 7 สาหรับเอกสารแนบท้ายของตารางในภาคผนวก 1 (ตารางข้อผูกพัน ทางภาษี) ภาคหี นึ่งสงวนสทิ ธใิ นการแก้ไขเอกสารแนบท้ายของตน ซ่ึงรวมถึงเง่ือนไขเพ่ิมเติม ในเอกสารแนบท้ายนี้ ในกรณีการภาคยานุวัติความตกลงฉบับนี้ของรัฐหรือเขตศุลกากร อิสระอื่น การแก้ไขดังกล่าวจะข้ึนอยู่กับข้อตกลงของภาคีทั้งหมดและจะมีผลใช้บังคับ โดย เป็นไปตามขอ้ 20.4 (การแก้ไข) และข้อ 20.9 (การภาคยานวุ ตั ิ) ข้อ 2.7: การจาแนกประเภทสนิ คา้ การจาแนกประเภทสนิ ค้าทค่ี ้าขายระหวา่ งภาคจี ะต้องสอดคล้องกับระบบฮารโ์ มไนซ์ 5 เพื่อความมุ่งประสงค์ของวรรคนี้ “การฆา่ ” หมายถึง การฆ่าสัตว์เพียงอย่างเดียว 2-5

- คำ�แปลอย่างไม่เป็นทางการ - ข้อ 2.8: การประเมนิ ราคาศลุ กากร เพ่ือความมุ่งประสงค์ในการกาหนดราคาศุลกากรของสินค้าท่ีค้าขายระหว่างภาคี ข้อ 7 ของแกตต์ 1994 รวมท้งั ตอน 1 และหมายเหตกุ ารตีความของภาคผนวก 1 ของความตกลงการประเมินราคาศุลกากร จะนามาใช้โดยอนโุ ลม ข้อ 2.9: สินคา้ ผ่านแดน ภาคีแต่ละฝ่ายจะอานวยความสะดวกในการตรวจผ่านศุลกากรของสินค้าผ่านแดนจากหรือสู่ภาคี อีกฝ่ายตามวรรค 3 ของข้อ 5 ของแกตต์ 1994 และบทบัญญัติท่ีเกี่ยวข้องของความตกลง การอานวยความสะดวกทางการคา้ ขอ้ 2.10: การอนญุ าตให้นาสนิ ค้าเขา้ มาชั่วคราว 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะอนุญาต ตามท่ีระบุไว้ในกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของตน ให้นาสินค้าเข้ามาในเขตศุลกากรของตนโดยยกเว้นการชาระอากรและภาษีนาเข้าทั้งหมด หรือบางสว่ นหากสนิ ค้าดงั กล่าว (เอ) ถูกนาเขา้ มาในเขตศุลกากรเพอ่ื ความมุง่ ประสงค์ทเี่ ฉพาะเจาะจง (บี) มีเจตนาทจ่ี ะส่งกลบั ออกไปภายในระยะเวลาทเ่ี ฉพาะเจาะจง และ (ซ)ี ไม่ได้ผ่านการดาเนินการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ยกเว้นการเส่ือมราคาและการสูญเสีย ทเ่ี กดิ จากการใชง้ านตามปกติ 2. ภาคีแต่ละฝ่ายจะขยายการจากัดระยะเวลา เม่ือบุคคลที่เก่ียวข้องร้องขอและตามเหตุผล ที่หน่วยงานศุลกากรของตนเห็นว่าสมควร สาหรับการอนุญาตให้นาสินค้าเข้ามาชั่วคราว โดยยกเวน้ อากรตามที่ระบไุ ว้ในวรรค 1 ใหเ้ กนิ กว่าระยะเวลาทกี่ าหนดไวใ้ นตอนแรก 3. ไมม่ ีภาคีใดจะตั้งเงื่อนไขการนาสินค้าเข้ามาช่ัวคราวโดยยกเว้นอากรตามที่ระบุไว้ในวรรค 1 นอกเหนอื จากการกาหนดให้สินคา้ (เอ) ถูกนามาใช้โดยหรือภายใต้การกากับดูแลของคนชาติหรือผู้พานักอาศัยของภาคี อีกฝ่าย ในการดาเนินกิจกรรมธุรกิจ การค้า การประกอบอาชีพ หรือการกีฬา ของบคุ คลนนั้ เท่านั้น (บ)ี ไมถ่ ูกนามาขายหรอื ปล่อยเชา่ ระหว่างท่อี ยู่ในดินแดนของภาคีน้นั 2-6

- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - (ซ)ี มีการวางหลักประกันหรือค้าประกันที่จะปล่อยคืนเมื่อสินค้านั้นถูกส่งออก ในสัดส่วนท่ีไม่เกินกว่าอากรศุลกากร ภาษี ค่าธรรมเนียมหรือค่าภาระ ท่ีมิฉะนั้น จะต้องชาระในการเข้ามาหรือการนาเข้าขนั้ สุดท้าย (ด)ี สามารถทาการระบุไดเ้ มอ่ื ถูกนาเข้ามาและส่งออกไป (อี) ถูกส่งออกไปเมื่อบุคคลที่อ้างถึงในอนุวรรค (เอ) เดินทางออกไป หรือภายใน ระยะเวลาอ่ืนตามความมุ่งประสงค์ของการนาสินค้าเข้ามาช่ัวคราวท่ีภาคี อาจกาหนด ยกเวน้ ได้มีการขยายระยะเวลา (เอฟ) ยอมรบั ให้นาเข้ามาในปรมิ าณท่ีไม่เกนิ กว่าความเหมาะสมตามเจตนาท่จี ะใช้ และ (จี) มิฉะนั้น สามารถยอมรับให้นาเข้ามาในดินแดนของภาคีภายใต้กฎหมาย และระเบียบข้อบงั คับของภาคีนน้ั 4. หากมีเง่ือนไขใดเง่ือนไขหนึ่งท่ีภาคีหน่ึงได้กาหนดไว้ในวรรค 3 ไม่สามารถปฏิบัติตาม จนสาเร็จ ภาคนี ัน้ อาจจัดเกบ็ อากรศุลกากรและค่าภาระอื่นใดที่ตามปกติจะจัดเก็บกับสินค้า นั้น นอกเหนือจากค่าภาระอื่นใดหรือค่าปรับที่ได้ระบุไว้ในกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ของตน 5. ภาคีแต่ละฝ่ายจะอนุญาตให้สินค้าท่ีถูกนาเข้ามาช่ัวคราวภายใต้ข้อน้ีถูกส่งกลับออกไป ผ่านทา่ ศุลกากร6 อ่นื ทไี่ มใ่ ช่ท่าศุลกากรท่สี นิ ค้านั้นได้ถูกนาเข้ามา ขอ้ 2.11: การอนุญาตให้นาคอนเทนเนอรแ์ ละพาเลทเขา้ มาชัว่ คราว 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะอนุมัติตามท่ีกาหนดไว้ในกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของตน หรือบทบัญญัติ ของความตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องท่ีภาคีน้ันเป็นสมาชิก ให้ยกเว้น อากรสาหรับการนาคอนเทนเนอร์และพาเลท ซ่ึงนามาใช้หรือจะนามาใช้ในการขนส่งสินค้า ที่ค้าขายระหว่างประเทศ เข้ามาชั่วคราว ไม่ว่าแหล่งที่มาของคอนเทนเนอร์และพาเลทนั้น จะเป็นที่ใด (เอ) เพ่ือความมุ่งประสงค์ของข้อน้ี “คอนเทนเนอร์” หมายถึง ช้ินส่วนอุปกรณ์ขนส่ง (ลังไม้ แทง๊ กท์ ่เี คลอื่ นยา้ ยได้ หรือโครงสร้างอ่นื ทค่ี ล้ายคลงึ ) (หน่ึง) ประกอบปิดรอบด้านทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อสร้างเป็นช่องสาหรับ การบรรทุกสินคา้ 6 สาหรบั สปป.ลาว “ท่าศุลกากร” หมายถงึ ท่าเรือศุลกากรระหวา่ งประเทศ 2-7

- คำ�แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - (สอง) มีความถาวร แขง็ แรง เหมาะท่ีจะใช้ไดห้ ลายครั้ง (สาม) ออกแบบเป็นพเิ ศษเพ่อื ความสะดวกในการขนส่งสินค้าโดยยานพาหนะแบบหน่ึง แบบใดหรอื หลายแบบ โดยไม่ต้องมีการร้ือบรรจุใหมร่ ะหว่างการขนสง่ (สี่) ออกแบบสาหรบั การพรอ้ มเคล่ือนย้าย โดยเฉพาะเมื่อขนถ่ายจากวิธีขนส่งหน่ึง ไปยังอีกวธิ หี นง่ึ (ห้า) ออกแบบเพอ่ื ให้งา่ ยตอ่ การบรรจุของเข้าและนาของออก และ (หก) มีพ้นื ทภ่ี ายในต้งั แตห่ น่ึงลูกบาศกเ์ มตรข้นึ ไป “คอนเทนเนอร์” จะรวมถงึ ส่วนประกอบและอปุ กรณ์ของคอนเทนเนอร์ท่ีเหมาะสม กับประเภทท่ีเกยี่ วข้องหากสว่ นประกอบและอปุ กรณ์ดงั กลา่ วติดมากับคอนเทนเนอร์ด้วย “คอนเทนเนอร์”จะไม่รวมถึงยานยนต์ ส่วนประกอบหรืออะไหล่สารองของยานยนต์ หรือบรรจุภณั ฑ์หรือพาเลท “ชนิ้ สว่ นทีถ่ อดออกได้”จะถอื ว่าเป็นคอนเทนเนอร์ (บ)ี เพื่อความมุ่งประสงค์ของวรรคนี้ “พาเลท” หมายถึง เคร่ืองมือแผ่นรองรับ ท่ีสามารถนาสินค้าจานวนหน่ึงมารวบรวมและจัดเรียงไว้บนแผ่นรองรับนั้นให้เป็น หน่วยบรรทุกเดียวเพื่อความมุ่งประสงค์ในการขนส่งสินค้าดังกล่าว หรือในการ เคลื่อนยา้ ยหรือการจดั วางสินค้าเปน็ ชนั้ โดยมเี คร่ืองมอื จักรกลชว่ ยเหลือ เครื่องมือนี้ ทาขึ้นจากแผ่นรองรับสองแผ่นที่ถูกแยกออกจากกันด้วยขายัน หรือแผ่นรองรับ แผ่นเดียวที่ค้ายันด้วยขาต้ัง ความสูงโดยรวมจะทาให้ต่าลงที่สุดเพื่อให้เหมาะกับ การเคลอื่ นยา้ ยโดยรถยกหรอื รถลากพาเลท โดยพาเลทนั้นอาจมีหรือไม่มีโครงสร้าง สว่ นบนก็ได้ 2. ภายใตบ้ ังคับของบทท่ี 8 (การคา้ บริการ) และบทท่ี 10 (การลงทุน) ในสว่ นของคอนเทนเนอร์ที่ ไดน้ าเขา้ มาชัว่ คราวตามวรรค 17 (เอ) ภาคีแต่ละฝ่ายจะอนุญาตให้คอนเทนเนอร์ที่นามาใช้ในการขนส่งระหว่างประเทศ โดยเข้ามาในดินแดนของตนจากดินแดนของภาคีอีกฝ่าย ออกจากดินแดนของตน ในเสน้ ทางใด ๆ ที่เหมาะสมในการนาคอนเทนเนอร์ดังกล่าวออกไปอย่างคุ้มค่าทาง เศรษฐกิจและโดยพลัน8 7 เพือ่ ความชดั เจนยง่ิ ข้นึ ไม่มีความใดในวรรคน้ีจะกระทบต่อสทิ ธิของภาคีหน่งึ ในการนามาใช้หรือคงไว้ซึ่งมาตรการ ตามข้อ 17.12 (ขอ้ ยกเวน้ ทว่ั ไป) หรือข้อ 17.13 (ขอ้ ยกเว้นด้านความมน่ั คง) 8 เพือ่ ความชัดเจนยง่ิ ขนึ้ ไม่มีความใดในอนุวรรคนหี้ ้ามมิให้ภาคีนามาใชห้ รอื คงไวซ้ ง่ึ มาตรการวา่ ดว้ ยความปลอดภัย ทางถนนและทางรถไฟที่ใช้โดยท่ัวไป หรือห้ามมิให้คอนเทนเนอร์เข้ามาหรือออกจากดินแดนของภาคีน้ันในพ้ืนท่ี 2-8

- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - (บ)ี ไม่มีภาคีใดจะกาหนดให้วางประกันหรือบังคับใช้บทลงโทษใดหรือค่าภาระใด ๆ เพยี งเพราะทา่ เรอื ทคี่ อนเทนเนอร์เขา้ มาแตกต่างจากทา่ เรือท่ีคอนเทนเนอร์ออกไป (ซ)ี ไม่มีภาคใี ดจะกาหนดให้ปล่อยคืนของประกนั ทภ่ี าคไี ด้กาหนดไว้ในการนาคอนเทนเนอร์ เข้ามาในดินแดนของตน ภายใต้เง่ือนไขว่า คอนเทนเนอร์จะต้องออกไปผ่านท่าเรือ ใดเปน็ การเฉพาะเจาะจง และ (ดี) ไม่มีภาคีใดจะกาหนดให้ผู้ขนส่งที่นาคอนเทนเนอร์จากดินแดนภาคีอีกฝ่ายเข้ามา ในดินแดนของตน จะต้องเป็นผู้ขนส่งคนเดียวกันที่นาคอนเทนเนอร์ออกไป สู่ดนิ แดนของภาคีอีกฝา่ ย ข้อ 2.12: การยกเว้นอากรนาเขา้ ตวั อย่างสนิ คา้ ทไ่ี ม่มีมูลคา่ ทางการค้า ภาคีแต่ละฝ่ายจะยกเว้นอากรนาเข้า ภายใต้บังคับของกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของภาคีนั้น สาหรับตัวอย่างสินค้าท่ีไม่มีมูลค่าทางการค้าท่ีนาเข้ามาจากดินแดนของภาคีอีกฝ่าย ไม่ว่าแหล่งท่ีมา ของตวั อยา่ งสินคา้ นนั้ จะเป็นทีใ่ ด ขอ้ 2.13: การอดุ หนนุ การส่งออกสนิ ค้าเกษตร 1. กล่มุ ภาคียนื ยนั ขอ้ ผูกพนั ของตนตามมติรฐั มนตรีว่าด้วยการแข่งขันด้านการส่งออกเม่ือวันที่ 19 ธันวาคม ค.ศ. 2015 (ดับบลิว ที/เอ็ม ไอ เอ็น (15)/45, (ดับบลิว ที/แอล/980) รับรอง ณ กรุงไนโรบี เม่ือวันท่ี 19 ธันวาคม ค.ศ. 2015 ซึ่งรวมถึงการขจัดสิทธิการอุดหนุน การสง่ ออกสนิ คา้ เกษตรทร่ี ะบุไว้ในตารางขอ้ ลดหย่อน 2. กลุ่มภาคีมีวัตถุประสงค์ร่วมกันในการขจัดการอุดหนุนการส่งออกสินค้าเกษตรในระดับ พหุภาคีและจะทางานร่วมกันเพ่ือป้องกันมิให้การอุดหนุนน้ันถูกนากลับมาใช้ ไม่ว่าจะ ในรูปแบบใด ข้อ 2.14: การแปลงพกิ ดั ศลุ กากรในตารางข้อผกู พันทางภาษี ภาคีแต่ละฝ่ายจะทาให้ม่ันใจว่า การแปลงพิกัดศุลกากรในตารางของตนในภาคผนวก 1 (ตาราง ข้อผูกพันทางภาษี) เพื่อท่ีจะบังคับใช้ภาคผนวก 1 (ตารางข้อผูกพันทางภาษี) ตามการจาแนกพิกัด ของระบบเอช เอส ที่ได้ทบทวนในแต่ละรอบแก้ไขระบบเอช เอส จะมีการดาเนินการโดยไม่ส่งผล กระทบเสยี หายตอ่ ขอ้ ผูกพันทางภาษที รี่ ะบุไว้ในภาคผนวก 1 (ตารางขอ้ ผกู พันทางภาษ)ี ท่ีภาคีไม่ได้มีท่าเรือศุลกากร ภาคีหนึ่งอาจจัดส่งรายการท่าเรือสาหรับการนาคอนเทนเนอร์ออกไปตามกฎหมาย และระเบียบขอ้ บงั คบั ของตน ใหแ้ ก่ภาคีอ่นื 2-9

- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ป็นทางการ - ข้อ 2.15: การแกไ้ ขข้อผูกพัน ในสถานการณ์พิเศษ กรณีภาคีหน่ึงประสบความยากลาบากที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้า ในการปฏิบัติตามข้อผูกพันทางภาษีของตน ภาคีนั้นอาจแก้ไขหรือเพิกถอนข้อลดหย่อนที่ระบุไว้ ในตารางของตนในภาคผนวก 1 (ตารางข้อผูกพันทางภาษี) โดยความเห็นชอบของภาคีอ่ืนท่ีมี สว่ นได้สว่ นเสยี และการตดั สินใจของคณะกรรมการร่วมอารเ์ ซ็ป ในการท่ีจะได้รับความตกลงดังกล่าว ภาคีที่เสนอแก้ไขหรือเพิกถอนข้อลดหย่อนของตน จะแจ้งคณะกรรมการร่วมอาร์เซ็ปและเริ่ม การเจรจากับภาคีที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการเจรจาดังกล่าว ภาคีที่เสนอแก้ไขหรือ เพิกถอน ข้อลดหย่อนของตน จะยังคงระดับข้อลดหย่อนท่ีต่างตอบแทนและเป็นประโยชน์ร่วมกันไว้ให้ เป็นการอนุเคราะห์ต่อการค้าของภาคีอ่ืนท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียทุกประเทศโดยไม่ด้อยไปกว่าที่ระบุไว้ ในความตกลงฉบับน้ีก่อนการเจรจาดังกล่าว ซึ่งอาจรวมถึงการแก้ไขเพ่ือชดเชยในส่วนของสินค้าอ่ืน ผลลัพธ์ของการเจรจาท่ีตกลงร่วมกัน รวมถึงการปรับแก้ไขเพื่อชดเชย จะสะท้อนในภาคผนวก 1 (ตารางขอ้ ผกู พันทางภาษ)ี ตามข้อ 20.4 (การแก้ไข) สว่ น บี มาตรการท่ีมิใชภ่ าษี ขอ้ 2.16: การใช้มาตรการทีม่ ใิ ช่ภาษี 1. ภาคีหน่ึงจะไม่นามาใช้หรือคงไว้ซ่ึงมาตรการที่มิใช่ภาษีเกี่ยวกับการนาเข้าสินค้าจากภาคี อีกฝ่ายหรือการส่งออกสินค้าไปยังดินแดนของภาคีอีกฝ่าย ยกเว้นท่ีเป็นไปตามสิทธิ และพนั ธกรณีของภาคนี นั้ ภายใต้ความตกลงดับบลวิ ที โอ หรอื ความตกลงฉบบั นี้ 2. ภาคีแตล่ ะฝ่ายจะทาให้ม่ันใจถึงความโปร่งใสของมาตรการท่ีมิใช่ภาษีของตนที่ได้รับอนุญาต ตามวรรค 1 ของข้อน้ี และทาให้ม่ันใจว่า มาตรการดังกล่าวไม่ได้มีการเตรียมการ นามาใช้ หรือบังคบั ใช้ เพื่อวัตถุประสงค์หรือมีผลกระทบที่จะก่อให้เกิดอุปสรรคท่ีไม่จาเป็นต่อการค้า ระหวา่ งภาคี ข้อ 2.17: การขจดั ข้อจากดั ดา้ นปริมาณโดยทวั่ ไป 1. ยกเว้นจะระบไุ ว้เป็นอยา่ งอ่ืนในความตกลงฉบบั นี้ ไมม่ ภี าคใี ดจะนามาใช้หรือคงไว้ซ่ึงข้อห้าม หรือข้อจากัด นอกเหนือจากอากร ภาษีหรือค่าภาระอ่ืน ๆ ไม่ว่าจะมีผลใช้บังคับผ่านระบบ โควตา ใบอนุญาตนาเข้าหรือส่งออกหรือมาตรการอื่น ในการนาเข้าสินค้าของภาคีอีกฝ่าย หรือการส่งออกสินค้าไปยังดินแดนของภาคีอีกฝ่าย ยกเว้นที่เป็นไปตามสิทธิและพันธกรณี ของภาคีน้ันภายใต้บทบัญญัติท่ีเกี่ยวข้องของความตกลงดับบลิว ที โอ เพ่ือการน้ี ให้ข้อ 11 ของแกตต์ 1994 รวมอยู่ในและเปน็ สว่ นหนง่ึ ของความตกลงฉบบั น้ีโดยอนุโลม 2-10

- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - 2. กรณีที่ภาคหี น่งึ นามาใช้ข้อหา้ มหรือข้อจากดั ในการส่งออกตามอนุวรรค 2(เอ) ของข้อ 11 ของแกตต์ 1994 ภาคนี ั้นจะ เมอื่ มีคาร้องขอ (เอ) แจ้งภาคีอีกฝ่ายหรือกลุ่มภาคีเก่ียวกับข้อห้ามหรือข้อจากัดดังกล่าว และเหตุผล พร้อมทั้งลักษณะและระยะเวลาที่คาดการณ์ไว้ หรือเผยแพร่ข้อห้ามหรือข้อจากัด ดังกลา่ ว และ (บ)ี ให้ภาคีอีกฝ่ายท่ีอาจได้รับผลกระทบอย่างร้ายแรง มีโอกาสท่ีสมเหตุสมผล ในการปรกึ ษาหารือเกีย่ วกบั ประเดน็ ท่เี กี่ยวเน่อื งกับข้อห้ามหรือข้อจากัดดังกลา่ ว ข้อ 2.18: การปรึกษาหารอื ทางเทคนิคเกีย่ วกับมาตรการท่ีมิใช่ภาษี 1. ภาคหี น่ึงอาจร้องขอใหม้ กี ารปรึกษาหารือทางเทคนคิ กับภาคีอีกฝ่ายเก่ียวกับมาตรการท่ีภาคี น้ันเห็นว่ามีผลกระทบเชิงลบต่อการค้าของตน คาร้องขอจะเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร และระบุมาตรการและข้อกังวลอย่างชัดเจนว่า มาตรการมีผลกระทบเชิงลบอย่างไร ต่อการค้าระหว่างภาคีท่ีร้องขอให้มีการปรึกษาหารือเชิงเทคนิค (ต่อไปในท่ีน้ีจะเรียกว่า “ภาคีผู้ร้องขอ” ในข้อนี้) และภาคีท่ีถูกร้องขอ (ต่อไปในที่น้ีจะเรียกว่า “ภาคีท่ีได้รับ การร้องขอ”ในข้อน้ี ) 2. ในกรณที ม่ี าตรการอยใู่ นขอบเขตครอบคลมุ ของบทอ่ืน กลไกการปรึกษาหารือใด ๆ ท่ีระบุไว้ ในบทน้ันจะเป็นกลไกท่ีนามาใช้ ยกเว้นจะตกลงไว้เป็นอย่างอื่นระหว่างภาคีผู้ร้องขอ และภาคที ่ไี ด้รบั การรอ้ งขอ (ตอ่ ไปในทน่ี ี้ จะเรยี กรว่ มกันว่า “ภาคผี ู้ปรกึ ษาหารอื ” ในขอ้ น้ี) 3. ยกเว้นท่ีได้ระบุไว้ในวรรค 2 ภาคีที่ได้รับการร้องขอจะตอบกลับภาคีผู้ร้องขอและเข้าสู่ การปรึกษาหารือทางเทคนิคภายใน 60 วันของวันที่ได้รับคาร้องขอเป็นลายลักษณ์อักษร ตามทอ่ี ้างถงึ ในวรรค 1 ยกเวน้ ภาคผี ู้ปรกึ ษาหารือจะกาหนดไว้เป็นอย่างอ่ืน เพื่อหาทางออก อันเป็นที่พึงพอใจร่วมกันภายใน 180 วันของคาร้องขอ การปรึกษาหารือเชิงเทคนิค อาจดาเนินการผ่านวิธีใด ๆ ทภ่ี าคีผ้ปู รกึ ษาหารือตกลงร่วมกัน 4. ยกเว้นท่ีได้ระบุไว้ในวรรค 2 คาร้องขอให้มีการปรึกษาหารือทางเทคนิคจะถูกเวียนแจ้งภาคี อ่ืนทุกภาคี ภาคีอื่นอาจร้องขอเข้าร่วมการปรึกษาหารือ ทางเทคนิคบนพื้นฐาน ของผลประโยชน์ท่ีระบุไว้ในคาร้องขอของตน การเข้าร่วมของภาคีอ่ืนขึ้นอยู่กับการยินยอม ของภาคีผู้ปรึกษาหารอื ภาคีผูป้ รกึ ษาหารือจะพิจารณาคาร้องขอดงั กล่าวอยา่ งครบถ้วน 5. หากภาคีผู้ร้องขอเห็นว่าเป็นประเด็นเร่งด่วนหรือเกี่ยวข้องกับสินค้าท่ีเน่าเสียง่าย ภาคีน้ัน อาจร้องขอให้มกี ารปรึกษาหารอื ทางเทคนิคภายในกรอบเวลาท่ีสน้ั กว่าที่ระบุไว้ในวรรค 3 2-11

- คำ�แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - 6. ยกเว้นท่ีได้ระบุไว้ในวรรค 2 ภาคีแต่ละฝ่ายจะดาเนินการแจ้งรายปีต่อคณะกรรมการ ด้านสนิ คา้ เกี่ยวกับการใช้การปรึกษาหารือทางเทคนิคภายใต้ข้อน้ี ไม่ว่าจะเป็นภาคีผู้ร้องขอ หรือภาคีท่ีได้รับการร้องขอ การดาเนินการแจ้งนี้จะประกอบด้วยบทสรุปของความคืบหน้า และผลลัพธ์ของการปรกึ ษาหารอื 7. เพื่อความชัดเจนย่ิงข้ึน การปรึกษาหารือทางเทคนิคภายใต้ข้อนี้จะไม่ส่งผลเสียหายต่อสิทธิ และพนั ธกรณีของภาคีหนงึ่ ทเ่ี กยี่ วกับกระบวนการระงับข้อพิพาทภายใต้บทท่ี 19 (การระงับ ข้อพิพาท) และความตกลงดบั บลิว ที โอ ขอ้ 2.19: กระบวนการออกใบอนญุ าตนาเขา้ 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะทาให้ม่ันใจว่า กระบวนการออกใบอนุญาตนาเข้า ท้ังแบบอัตโนมัติและ ไม่อัตโนมัติ จะมีการดาเนินการท่ีเป็นไปอย่างโปร่งใสและคาดการณ์ได้ และปฏิบัติตาม ความตกลงการออกใบอนุญาตนาเข้า ไม่มีภาคีใดท่ีจะนามาใช้หรือยังคงมาตรการ ท่ไี มส่ อดคล้องกบั ความตกลงการออกใบอนุญาตนาเข้า 2. ภาคีแต่ละฝ่ายจะแจ้งภาคีอื่นทันทีภายหลังที่ความตกลงฉบับน้ีมีผลใช้บังคับกับภาคีน้ัน เก่ียวกับกระบวนการออกใบอนุญาตนาเข้าของตนท่ียังคงอยู่ การดาเนินการแจ้งจะ ครอบคลุมข้อมูลที่ระบุไว้ในวรรค 2 ของข้อ 5 ของความตกลงการออกใบอนุญาตนาเข้า ภาคหี นึ่งจะถอื วา่ ไดป้ ฏิบัตติ ามขอ้ น้แี ล้วหาก (เอ) ภาคีน้ันได้แจ้งกระบวนการต่อคณะกรรมการว่าด้วยการออกใบอนุญาตนาเข้า ภายใต้ดับบลิว ที โอ ตามที่ระบุไว้ในข้อ 4 ของความตกลงการ ออกใบอนุญาต นาเข้า (ต่อไปในที่น้ีจะเรียกว่า “คณะกรรมการว่าด้วยการออกใบอนุญาตนาเข้า ภายใต้ดับบลิว ที โอ” ในข้อนี้) พร้อมท้ังข้อมูลท่ีระบุไว้ในวรรค 2 ของข้อ 5 ของความตกลงการออกใบอนุญาตนาเขา้ และ (บี) ในรอบการดาเนินการแจ้งรายปีต่อคณะกรรมการว่าด้วยการออกใบอนุญาตนาเข้า ล่าสุดเพื่อตอบแบบสอบถามประจาปีในเร่ืองวิธีดาเนินการออกใบอนุญาตนาเข้า ตามที่อธิบายไว้ในวรรค 3 ของข้อ 7 ของความตกลงการออกใบอนุญาตนาเข้า ภาคีน้ันได้แจ้งข้อมูลตามที่กาหนดไว้ในแบบสอบถามน้ันสาหรับกระบวนการ ออกใบอนญุ าตทีย่ งั คงอยู่ 3. ภาคีแต่ละฝ่ายจะแจ้งภาคีอื่นถึงกระบวนการออกใบอนุญาตนาเข้าใหม่และการแก้ไขใด ๆ ต่อกระบวนการออกใบอนุญาตนาเข้าที่ยังคงอยู่ เท่าท่ีจะเป็นไปได้ภายใน 30 วัน ก่อนที่กระบวนการใหม่หรือการแก้ไขจะมีผลใช้บังคับ ไม่มีกรณีใดที่ภาคีจะดาเนินการ แจง้ ช้าไปกวา่ 60 วันภายหลงั วนั ท่เี ผยแพร่มาตรการ การดาเนินการแจ้งในวรรคนี้จะรวมถึง ข้อมูลท่ีระบุไว้ในข้อ 5 ของความตกลงการออกใบอนุญาตนาเข้า ภาคีหนึ่งจะถือว่าปฏิบัติ 2-12

- คำ�แปลอย่างไมเ่ ป็นทางการ - ตา ม ว ร ร คนี้ ห า ก ภ าคี น้ั น ไ ด้ แ จ้ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร อ อก ใ บ อ นุ ญ าต น า เ ข้ าใ ห ม่ ห รื อก า ร แ ก้ ไ ข ตอ่ กระบวนการออกใบอนุญาตนาเขา้ ที่ยงั คงอยู่ ตอ่ คณะกรรมการว่าด้วยการออกใบอนุญาตนาเข้า ภายใต้ดับบลวิ ที โอ ตามวรรค 1 2 หรือ 3 ของขอ้ 5 ของความตกลงการออกใบอนุญาตนาเขา้ 4. ก่อนที่จะใช้บังคับกระบวนการออกใบอนุญาตนาเข้าใหม่หรือกระบวนการออกใบอนุญาต นาเข้าที่แก้ไข ภาคีหน่ึงจะเผยแพร่กระบวนการใหม่หรือการแก้ไขบนเว็บไซต์ทางการ ของรัฐบาล ภาคีน้ันจะดาเนินการดังกล่าวเท่าท่ีจะเป็นไปได้อย่างน้อย 21 วัน ก่อนกระบวนการใหม่หรอื การแกไ้ ขจะมีผลใชบ้ ังคบั 5. การดาเนินการแจ้งท่ีกาหนดในวรรค 2 และ 3 จะไม่ส่งผลอคติต่อการพิจารณาว่า กระบวนการออกใบอนุญาตนาเขา้ สอดคล้องกบั ความตกลงฉบบั นี้หรอื ไม่ 6. การดาเนนิ การแจง้ ในวรรค 3 จะระบุว่ามกี ารดาเนินการดังต่อไปน้ีหรือไม่ภายใต้กระบวนการทจ่ี ะแจง้ (เอ) ใบอนุญาตนาเข้าสาหรับสินค้าใด ๆ มีข้อกาหนดในการจากัดผู้ใช้สินค้าข้ันสุดท้าย ท่ไี ดร้ บั อนุญาต หรอื (บ)ี ภาคีกาหนดเงื่อนไขด้านคุณสมบัติท่ีจะได้รับเลือกให้ได้รับใบอนุญาตนาเข้าสินค้า ใด ๆ ดงั ต่อไปนี้ (หนึ่ง) สมาชิกในสมาคมอุตสาหกรรม (สอง) การอนมุ ัตคิ าขอใบอนญุ าตนาเขา้ โดยสมาคมอตุ สาหกรรม (สาม) ประวตั ิการนาเขา้ สนิ คา้ หรือสนิ คา้ ทค่ี ล้ายคลงึ กัน (ส่ี) ศักยภาพการผลติ ขัน้ ต่าของผนู้ าเขา้ หรอื ผู้ใช้สนิ ค้าข้ันสุดท้าย (หา้ ) ทุนจดทะเบียนขน้ั ต่าของผู้นาเข้าหรอื ผู้ใช้สินคา้ ขน้ั สุดทา้ ย หรอื (หก) ความสัมพันธ์ทางสัญญาหรืออื่น ๆ ระหว่างผู้นาเข้าและผู้จาหน่าย ในดินแดนของภาคี 7. ภาคีแต่ละฝ่ายจะตอบข้อซักถามอันสมเหตุสมผลจากภาคีอีกฝ่ายเท่าที่จะเป็นไปได้ภายใน 60 วัน เกี่ยวกับเงอ่ื นไขท่ีหนว่ ยงานออกใบอนุญาตนาเขา้ ของตนนามาพิจารณาในการอนุมัติ หรือปฏิเสธออกใบอนุญาตนาเข้า ภาคีผู้นาเข้าจะเผยแพร่ข้อมูลอย่างเพียงพอสาหรับภาคี อนื่ และผู้คา้ เพอื่ ให้ทราบถงึ พ้ืนฐานในการพิจารณาอนุมัติหรือจัดสรรใบอนุญาตนาเขา้ 2-13

- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - 8. ไม่มีคาขอใบอนุญาตนาเข้าใดจะถูกปฏิเสธเนื่องจากความผิดพลาดเล็กน้อยทางเอกสาร ซ่ึงไม่ได้เปล่ียนแปลงข้อมูลพ้ืนฐานที่ระบุไว้ในคาขอน้ัน ความผิดพลาดเล็กน้อยทางเอกสาร อาจรวมถึงความผิดพลาดในรูปแบบ อาทิ ความกว้างของขอบเอกสารหรือตัวอักษรที่ใช้ และความผิดพลาดในการสะกดคาซึ่งชัดเจนว่าไม่ได้มีเจตนาฉ้อโกงหรือประมาทเลินเล่อ อย่างรา้ ยแรง 9. หากภาคีหนึ่งปฏิเสธคาขอใบอนุญาตนาเข้าสาหรับสินค้าหนึ่งของภาคีอีกฝ่าย ภาคีนั้น จะอธิบายแก่ผู้ย่ืนคาขอใบอนุญาตนาเข้าให้ทราบถึงเหตุผลของการปฏิเสธน้ัน เม่ือผู้ย่ืน คาขอใบอนญุ าตนาเข้าร้องขอและภายในระยะเวลาอันเหมาะสมภายหลังที่ได้รับการร้องขอ ข้อ 2.20: คา่ ธรรมเนยี มและพธิ ีการท่ีเกย่ี วเนอื่ งกบั การนาเข้าและการส่งออก 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะทาให้ม่ันใจตามวรรค 1 ของข้อ 8 ของแกตต์ 1994 ว่า ค่าธรรมเนียม และค่าภาระท้ังหมดไม่ว่าจะมีลักษณะใด (นอกเหนือจากอากรนาเข้าหรือส่งออก ค่าภาระ ที่เทียบเท่ากับภาษีภายในหรือค่าภาระภายในอ่ืนใดท่ีนามาใช้โดยสอดคล้องกับวรรค 2 ของข้อ 3 ของแกตต์ 1994 และภาษีตอบโต้การทุ่มตลาดและภาษีตอบโต้การอุดหนุน) ที่จัดเก็บหรือเก่ียวเน่ืองกับการนาเข้าหรือการส่งออก จะถูกจากัดในสัดส่วนของค่าใช้จ่าย โดยประมาณของการให้บริการและไม่เป็นไปเพื่อการปกป้องสินค้าภายในประเทศทางอ้อม หรือการเก็บภาษีการนาเข้าหรือการส่งออกเพื่อความมุ่งประสงคท์ างการคลัง 2. ภาคีแต่ละฝ่ายจะเผยแพร่โดยพลันเกี่ยวกับรายละเอียดของค่าธรรมเนียมและค่าภาระ ท่ีจัดเก็บโดยเก่ียวเนื่องกับการนาเข้าหรือการส่งออกและทาให้ข้อมูลดังกล่าวเข้าถึงได้ ทางอินเทอร์เนต็ 3. ไม่มีภาคีใดจะกาหนดให้มีการทาธุรกรรมด้านกงสุล รวมถึงค่าธรรมเนียมและค่าภาระ ท่ีเกี่ยวข้องโดยเกี่ยวเนื่องกับการนาเข้าสินค้าของภาคีอีกฝ่ายหน่ึง ไม่มีภาคีใดจะกาหนดให้ เอกสารศุลกากรที่จัดเตรียมโดยเก่ียวเนื่องกับการนาเข้าสินค้าของภาคีอ่ืน ต้องได้รับ การอนุมัติ รับรอง หรือมิฉะนั้นผ่านการตรวจสอบหรือเห็นชอบโดยผู้แทนภาคีผู้นาเข้า ณ ต่างประเทศ หรือหน่วยงานท่ีมีอานาจในนามของภาคีผู้นาเข้า รวมท้ังจะไม่จัดเก็บ ค่าธรรมเนียมหรอื คา่ ภาระท่เี ก่ยี วข้อง ขอ้ 2.21: การริเรม่ิ รายสาขา 1. กลุ่มภาคีอาจตัดสินใจริเริ่มแผนการทางานในประเด็นรายสาขา หากกลุ่มภาคีตัดสินใจริเร่ิม แผนการทางานดังกล่าว แผนการทางานน้ันจะจัดทาและกากับดูแลโดยคณะกรรมการ ด้านสินค้า กลุ่มภาคีจะพยายามจัดทาแผนการทางานให้เสร็จสิ้นไม่ช้าไปกว่าสอง (2) ปี ภายหลังทไี่ ดร้ เิ ริ่มแผนการทางาน 2-14

- ค�ำ แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - 2. กลมุ่ ภาคีจะตกลงสาขาท่จี ะรวมไว้ในแผนการทางาน โดยคานึงถึงประโยชน์ของภาคีทั้งหมด ซึ่งรวมถึงสาขาท่กี ล่มุ ภาคีไดเ้ สนอในระหว่างการเจรจาความตกลงฉบับน้ีหรือสาขาอื่นท่ีภาคีหนึ่ง อาจระบุ 3. แผนการทางานใด ๆ ท่รี ิเริ่มภายใตข้ ้อน้คี วรจะดาเนินการเพ่อื (เอ) ยกระดบั ความเขา้ ใจของกลมุ่ ภาคใี นประเดน็ นนั้ (บี) อานวยความสะดวกขอ้ มลู จากภาคธรุ กิจและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสียทเี่ กย่ี วขอ้ งอื่น และ (ซี) สารวจการดาเนินการทเี่ ปน็ ไปไดข้ องกล่มุ ภาคที จี่ ะอานวยความสะดวกทางการคา้ 4. บนพ้ืนฐานผลลัพธ์ของแผนการทางานใด ๆ ที่ได้ริเริ่มภายใต้ข้อนี้ คณะกรรมการด้านสินค้า อาจจัดทาข้อเสนอแนะเสนอคณะกรรมการร่วมอารเ์ ซ็ป 2-15

- คำ�แปลอยา่ งไม่เปน็ ทางการ - บทท่ี 3 กฎถน่ิ กาเนดิ สนิ ค้า ส่วน เอ กฎถน่ิ กาเนดิ สนิ ค้า ขอ้ 3.1: คานิยาม เพื่อความมงุ่ ประสงคข์ องบทนี้ (เอ) การเพาะเล้ียงส่ิงมีชีวิตทางน้า หมายถึง การท้าฟาร์มสิ่งมีชีวิตทางน้า ซึ่งรวมถึง ปลา สตั ว์น้าจา้ พวกโมลลุสก์ สัตวน์ ้าจา้ พวกครสั ตาเซยี สตั ว์น้าท่ีไม่มีกระดูกสันหลัง อื่น ๆ และพืชน้า จากลูกส่ิงมีชีวิตทางน้า เช่น ไข่ ลูกปลา ปลาเล็ก และตัวอ่อน โดยการเข้าไปมีบทบาทในกระบวนการเล้ียงดูหรือทำให้เติบโตเพื่อเพ่ิมกำรผลิต เชน่ กำรขยำยพันธ์ุ กำรให้อำหำร หรอื กำรปกป้องจำกผลู้ ำ่ (บ)ี มูลค่า ซี ไอ เอฟ หมายถึง มูลค่าของสินค้าท่ีน้าเข้า รวมต้นทุนของค่าประกันภัย และคา่ ระวาง จนถงึ ทา่ เรอื หรือสถานทที่ ่ีมีการนา้ สนิ ค้าเข้าประเทศผนู้ ้าของเขา้ (ซี) หนว่ ยงานผ้มู ีอานาจ หมายถงึ หน่วยงานรฐั บาล หรือหนว่ ยงานที่ได้รับมอบอ้านาจ ใหก้ ระท้าการจากภาคีหนึ่ง และแจ้งใหก้ ลมุ่ ภาคอี ่ืน ๆ ทั้งหมดรับทราบ (ด)ี หน่วยงานศุลกากร หมายถึง หน่วยงานศุลกากรตามท่ีได้นิยามไว้ในอนุวรรค (เอ) ของขอ้ 4.1 (คา้ นยิ าม) (อ)ี มูลค่า เอฟ โอ บี หมายถึง มูลค่าของสินค้า ณ ท่าเรือหรือสถานที่ต้นทางซึ่งรวมค่า ขนส่ง (โดยไม่ค้านึงถึงรูปแบบของการขนส่ง) จนถึงท่าเรือหรือสถานที่สุดท้าย สา้ หรบั ขนสง่ สนิ คา้ ไปตา่ งประเทศ (เอฟ) สินค้าหรือวัสดุที่ใช้ทดแทนกันได้ หมายถึง สินค้าหรือวัสดุท่ีใช้แทนกันได้ เพอ่ื วัตถุประสงคใ์ นเชงิ พาณชิ ย์ ซ่ึงมีคุณสมบัติหลักเหมอื นกัน (จี) หลักการทางบัญชีอันเป็นท่ียอมรับท่ัวไป หมายถึง หลักการท่ีได้รับการยอมรับ โดยฉันทามติหรือได้รับการสนับสนุนในสาระส้าคัญจากผู้ท่ีเชื่อถือได้ในภาคี หน่ึง เก่ียวกับการบันทึกรายรับ รายจ่าย ต้นทุน สินทรัพย์และหน้ีสิน การเปิดเผยข้อมูล 3-1

- คำ�แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - และการเตรยี มงบการเงิน มาตรฐานเหล่าน้ีอาจรวมถึงแนวทางกว้าง ๆ ซึ่งใช้บังคับ เป็นการทัว่ ไป และมาตรฐาน การปฏิบตั ิและขั้นตอนที่มรี ายละเอียดปลกี ยอ่ ย (เอช) สนิ คา้ หมายถึง สง่ิ ทซี่ อ้ื ขายกัน ผลิตภัณฑ์ สิ่งของ หรือวัสดุ (ไอ) หน่วยงานออกหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้า หมายถึง หน่วยงานท่ีได้รับ มอบหมายหรือมอบอ้านาจจากภาคีหนึ่งในการออกหนังสือรับรองถิ่นก้าเนิดสินค้า และแจง้ ใหก้ ลมุ่ ภาคอี ่ืน ๆ ทง้ั หมดรบั ทราบ ตามบทนี้ (เจ) วสั ดุ หมายถงึ สนิ ค้าที่ใช้ในการผลิตสินคา้ อกี ชนิดหน่งึ (เค) สินค้าที่ไม่ได้ถิ่นกาเนิดหรือวัสดุที่ไม่ได้ถิ่นกาเนิด หมายถึง สินค้าหรือวัสดุที่ไม่มี คณุ สมบัตไิ ด้ถ่นิ ก้าเนิดตามบทน้ี (แอล) สนิ ค้าทไ่ี ด้ถิ่นกาเนิดหรือวัสดทุ ่ีได้ถิน่ กาเนิด หมายถึง สินค้าหรือวัสดุท่ีมีคุณสมบัติ ไดถ้ นิ่ ก้าเนิดตามบทนี้ (เอ็ม) ผผู้ ลติ หมายถงึ บุคคลผู้มีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตสนิ ค้า และ (เอน็ ) การผลิต หมายถึง วิธีการให้ได้มาซึ่งสินค้า รวมถึง การเพาะปลูก การท้าเหมือง การเกบ็ เกยี่ ว การท้าฟาร์ม การเล้ียง การเพาะพนั ธุ์ การสกัด การรวบรวม การเก็บ การจับ การประมง การเพาะเล้ียงส่ิงมีชีวิตทางน้า การดัก การล่า การผลิต การสร้าง การผ่านกระบวนการ หรอื การประกอบ ขอ้ 3.2: สนิ ค้าทีไ่ ด้ถ่ินกาเนิด เพอื่ ความมงุ่ ประสงคข์ องความตกลงฉบบั นี้ สนิ ค้าจะถอื ว่าเป็นสินคา้ ทไ่ี ดถ้ ิ่นกา้ เนิด หากสินค้านน้ั (เอ) ได้มาท้ังหมดหรือผลิตข้ึนท้ังหมดในภาคีหน่ึง ตามที่ก้าหนดไว้ในข้อ 3.3 (สินค้า ทไ่ี ดม้ าทง้ั หมดหรอื ผลิตขึ้นทั้งหมด) (บ)ี มกี ารผลิตในภาคจี ากวสั ดุทไ่ี ดถ้ ิน่ ก้าเนดิ ของภาคีใดภาคีหน่ึงหรอื มากกว่าน้นั หรอื (ซี) มกี ารผลติ ในภาคี จากวสั ดทุ ่ไี ม่ได้ถ่นิ ก้าเนิด โดยสนิ ค้าเปน็ ไปตามข้อก้าหนดที่ก้าหนดไว้ ในภาคผนวก 3 เอ (กฎเฉพาะรายสนิ ค้า) และเปน็ ไปตามข้อกา้ หนดอื่น ๆ ท้งั หมดที่ใชบ้ งั คบั ในบทนี้ 3-2

- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ป็นทางการ - ขอ้ 3.3: สนิ ค้าที่ไดม้ าท้ังหมดหรือผลติ ขน้ึ ท้งั หมด เพื่อความมุ่งประสงค์ของข้อ 3.2 (สินค้าที่ได้ถ่ินก้าเนิด) สินค้าดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นสินค้าที่ได้มา ทง้ั หมดหรือผลิตขึ้นท้ังหมดในภาคี (เอ) พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช รวมถึงผลไม้ ดอกไม้ พืชผัก ต้นไม้ พืชจ้าพวกสาหร่าย เหด็ รา และพืชมชี วี ติ ท่ีเพาะปลูกและเก็บเกีย่ ว เก็บหรือรวบรวมไดใ้ นประเทศนนั้ (บี) สตั ว์มชี ีวติ ท่ีเกดิ และเลี้ยงในประเทศน้ัน (ซี) สินค้าทีไ่ ดจ้ ากสตั วม์ ชี วี ติ ซ่ึงเล้ยี งในประเทศนน้ั (ดี) สินค้าท่ีได้มาจากการล่า การดัก การประมง การท้าฟาร์ม การเพาะเล้ียงส่ิงมีชีวิต ทางน้า การรวบรวม หรือการจบั ทก่ี ระท้าในประเทศนน้ั (อ)ี แร่ธาตุและสารอ่ืน ๆ ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ซ่ึงไม่รวมอยู่ในอนุวรรค (เอ) ถึง (ดี) ของข้อนี้ หรือที่สกัด หรือได้มาจากผืนดิน น้า พื้นใต้ทะเล หรือดินใต้พื้น ใต้ทะเล (เอฟ) สินค้าอันได้จากการประมงทะเล และส่ิงมีชีวิตทางทะเลอ่ืน ๆ ที่ได้มาโดยเรือ ของภาคี1 และสินค้าอ่ืน ๆ ท่ีได้มาโดยภาคีหรือบุคคลของภาคีนั้น จากน่านน้า พื้นใต้ทะเล หรือดินใต้พ้ืนใต้ทะเล นอกทะเลอาณาเขตของกลุ่มภาคีและประเทศ ที่ไม่ได้เป็นภาคีตามกฎหมายระหว่างประเทศ โดยมีเงื่อนไขว่า ในกรณีของสินค้า อันได้จากการประมงทะเล และสิ่งมีชีวิตทางทะเลอ่ืน ๆ ที่ได้มาจากเขตเศรษฐกิจ จ้าเพาะของภาคีใดหรือประเทศท่ีไม่ได้เป็นภาคี ซ่ึงภาคีน้ันหรือบุคคลของภาคีนั้น 1 เพือ่ ความมุ่งประสงค์ของข้อน้ี “เรอื โรงงานของภาคีน้นั ” หรือ “เรือของภาคนี ้นั ” หมายถึงเรอื โรงงานหรอื เรอื (เอ) ซึ่งจดทะเบยี นในภาคนี ัน้ และ (บี) ซง่ึ มสี ิทธชิ กั ธงของภาคีนน้ั โดยไม่ค้านึงถึงประโยคกอ่ นหนา้ เรอื โรงงานใดหรือเรือใดท่ีปฏิบัติงานภายในเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะของออสเตรเลีย ซึง่ เป็นไปตามนิยามของ ‘เรอื ออสเตรเลีย’ ภายใต้พระราชบญั ญตั กิ ารจัดการประมง 1991 (เครือจักรภพ) ซ่ึงมีการ ปรับปรุงแก้ไขเป็นครั้งคราว หรือกฎหมายอื่นใดท่ีมาแทนที่กฎหมายเก่า ให้ถือว่าเป็นเรือโรงงานหรือเรือ ของออสเตรเลีย และเพ่ือให้เกิดความชัดเจนยิ่งข้ึน เมื่อเรือโรงงานหรือเรือดังกล่าวมีการปฏิบัติงานนอกเขต เศรษฐกจิ จ้าเพาะของออสเตรเลยี จะต้องปฏิบัตติ ามขอ้ กา้ หนดท่รี ะบุไวใ้ นอนุวรรค (เอ) และ (บี) ของเชงิ อรรถนี้ 3-3

- ค�ำ แปลอย่างไม่เป็นทางการ - มีสิทธิในการใชป้ ระโยชน์2จากเขตเศรษฐกจิ จา้ เพาะนนั้ และในกรณีของสินค้าอ่ืน ๆ ซ่ึงภาคหี รือบคุ คลของภาคีน้ัน มีสิทธิในการใช้ประโยชน์จากพ้ืนใต้ทะเลและดินใต้พื้น ใต้ทะเลนน้ั ตามกฎหมายระหวา่ งประเทศ (จ)ี สินค้าอันได้จากการประมงทะเล และสิ่งมีชีวิตทางทะเลอื่น ๆ ที่ได้มาโดยเรือ ของภาคนี ้ัน จากทะเลหลวงตามกฎหมายระหว่างประเทศ (เอช) สินคา้ ท่ผี ่านกระบวนการผลติ หรือท้าขึ้นบนเรือโรงงานใด ๆ ของภาคี เฉพาะจากสินค้า ท่ีระบุไว้ในอนุวรรค (เอฟ) หรือ (จ)ี (ไอ) สนิ คา้ ซึง่ เป็น (หน่ึง) ของท่ีใช้ไม่ได้และเศษท่ีได้จากการผลิต หรือการบริโภคในภาคีน้ัน โดยมีเงื่อนไขว่า สินค้าดังกล่าวเหมาะส้าหรับการก้าจัด การคืนสภาพ ของวัตถุดิบ หรอื เพอ่ื วัตถุประสงคใ์ นการนา้ กลับมาใช้อีกเทา่ นั้น หรือ (สอง) สินค้าใช้แล้วซึ่งเก็บรวบรวมได้ในภาคีนั้น โดยมีเงื่อนไขว่า สินค้าดังกล่าว เหมาะสมส้าหรับการก้าจัด การคืนสภาพของวัตถุดิบ หรือเพ่ือ วัตถปุ ระสงค์ในการน้ากลับมาใช้อกี เทา่ นน้ั และ (เจ) สนิ คา้ ทไี่ ดม้ าหรือไดผ้ ลิตขน้ึ ในภาคีนน้ั จากสนิ ค้าท่ีกล่าวถึงในอนุวรรค (เอ) ถึง (ไอ) หรือจากผลิตภัณฑข์ องสินคา้ ดงั กล่าวเท่านนั้ ข้อ 3.4: การสะสมถ่นิ กาเนิด 1. นอกจากจะระบุไว้เป็นอย่างอ่ืนในความตกลงฉบับน้ี สินค้าและวัสดุท่ีได้ถิ่นก้าเนิด ตามข้อก้าหนดท่ีระบุไว้ในข้อ 3.2 (สินค้าท่ีได้ถ่ินก้าเนิด) และใช้ในภาคีอื่นเพ่ือเป็นวัสดุ ในการผลิตสินค้าหรือวัสดุอ่ืน จะได้รับการพิจารณาให้ได้ถิ่นก้าเนิดในภาคีที่มีการจัดท้า หรือการผา่ นกระบวนการผลติ ให้เป็นสนิ คา้ ส้าเร็จรปู หรอื วัสดไุ ดเ้ กดิ ขึ้น 2. กลมุ่ ภาคตี ้องเรมิ่ ทบทวนขอ้ นี้ในวันทค่ี วามตกลงมผี ลบังคบั ใช้กับรัฐผู้ลงนามทั้งหมด ซ่ึงการทบทวน จะพิจารณาขยายขอบเขตของการใช้การสะสมตามวรรค 1 ให้รวมถึงการผลิตทั้งหมด และมลู คา่ เพิ่มของสินค้าทเี่ กดิ ข้ึนภายในกล่มุ ภาคี ทั้งนี้ กลมุ่ ภาคตี ้องสรุปการทบทวนภายใน ห้า (5) ปี นบั จากวันทเ่ี ริ่มทบทวน เว้นแต่กลมุ่ ภาคจี ะตกลงเปน็ อย่างอ่นื 2 เพื่อวัตถุประสงค์ในการก้าหนดถิ่นก้าเนิดของสินค้าอันได้จากการประมงทะเลและสิ่งมีชีวิตทางทะเลอ่ืน ๆ ค้าว่า “สิทธิในการใช้ประโยชน์” ในอนุวรรคนี้ ให้รวมถึงสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากรการประมงของรัฐชายฝั่ง ทีไ่ ด้รบั จากความตกลงหรอื ข้อตกลงใดระหวา่ งภาคแี ละรัฐชายฝ่ัง 3-4

- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - ข้อ 3.5: การคานวณสดั สว่ นมลู ค่าการผลติ ในภูมภิ าค 1. สัดส่วนมูลค่าการผลิตในภูมิภาคของสินค้าที่ระบุใน ภาคผนวก 3 เอ (กฎเฉพาะรายสินค้า) ตอ้ งถกู ค้านวณโดยใชส้ ูตรใดสูตรหนึง่ ดงั ตอ่ ไปน้ี (เอ) วธิ ที างอ้อม/วธิ หี ักทอน อาร์ วี ซี = เอฟ โอ บี – วี เอ็น เอ็ม x 100 หรอื เอฟ โอ บี (บี) วิธีทางตรง/วธิ คี ้านวณ ต้นทนุ ตน้ ทนุ คำ่ คำ่ แรง ดำเนนิ กำร ต้นทนุ อาร์ วี ซี = วี โอ เอม็ + ทำงตรง + ทำงตรง + กำไร + อ่นื ๆ x 100 เอฟ โอ บี โดย อาร์ วี ซี คือ สดั ส่วนมูลคา่ การผลิตในภูมภิ าคของสนิ ค้าที่แสดงค่าเปน็ ร้อยละ เอฟ โอ บี คือ มูลค่า เอฟ โอ บขี องสนิ ค้าตามทก่ี ้าหนดไว้ในอนวุ รรค (อี) ของข้อ 3.1 (ค้านิยาม) วี โอ เอ็ม คือ มูลค่าของวัสดุ ชิ้นส่วน หรือผลิตภัณฑ์ท่ีได้มาหรือผลิตได้เองท่ีได้ถิ่นก้าเนิด และใช้ในการผลติ สินค้า วี เอ็น เอ็ม คอื มูลค่าของวสั ดทุ ไ่ี ม่ไดถ้ ิ่นกา้ เนดิ ซึ่งใช้ในการผลติ สินค้า ต้นทนุ คา่ แรงทางตรง รวมถงึ ค่าจ้างแรงงาน ค่าตอบแทน และสวัสดกิ ารแรงงานอืน่ ๆ และ ต้นทนุ ค่าดาเนินการทางตรง คอื คา่ ใชจ้ ่ายทีเ่ กย่ี วข้องกับการด้าเนินการท้งั หมด 2. มลู ค่าของสนิ ค้าภายใตบ้ ทนจ้ี ะค้านวณโดยอนุโลมตามบทบัญญัติของข้อ 7 ของแกตต์ 1994 และความตกลงการประเมินราคาศุลกากร ต้นทุนท้ังหมดจะต้องถูกบันทึกและเก็บรักษา โดย สอดคล้องกบั หลกั การทางบญั ชีอนั เป็นทย่ี อมรบั ทวั่ ไปท่ีใช้ในภาคีท่มี ีการผลิตสินคา้ น้นั 3-5

- คำ�แปลอย่างไม่เป็นทางการ - 3. มลู คา่ วสั ดุทไ่ี มไ่ ดถ้ ่นิ กา้ เนิดจะตอ้ งเป็นดงั น้ี (เอ) กรณนี า้ เขา้ วัสดุ คือ มูลคา่ ซี ไอ เอฟ ของวสั ดุ ณ ขณะน้าเขา้ และ (บ)ี กรณีวัสดุท่ีได้มาจากภายในภาคี คือ ราคาท่ีแน่นอนล่าสุดท่ีได้ช้าระหรือท่ีสามารถ ช้าระได้ 4. วสั ดทุ ่ีไม่ทราบถ่ินกา้ เนดิ ใหถ้ อื วา่ เปน็ วัสดทุ ีไ่ มไ่ ด้ถิน่ ก้าเนิด 5. ค่าใช้จ่ายต่อไปน้ีอาจถูกหักออกจากมูลค่าของวัสดุที่ไม่ได้ถิ่นก้าเนิด หรือวัสดุที่ไม่ทราบ ถิ่นก้าเนดิ (เอ) ต้นทุนค่าระวาง ค่าประกันภัย ค่าบรรจุและค่าขนส่งอ่ืน ๆ ท่ีเกิดจากการส่งสินค้า ไปยงั ผู้ผลติ (บ)ี อากร ภาษี และค่าธรรมเนียมที่เป็นค่านายหน้าทางศุลกากร นอกจากอากรที่ได้รับ การยกเวน้ ได้คนื อากร หรือไดค้ ืนอากรโดยวธิ ีอืน่ และ (ซี) ต้นทุนท่ีเกิดจากของที่ใช้ไม่ได้และที่หกหรือล้นออกมา หักออกจากมูลค่าของเศษ ท่สี ามารถนา้ กลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้ หรอื ผลพลอยทีไ่ ดจ้ ากการผลิต หากไม่ทราบค่าใช้จ่ายในอนุวรรค (เอ) ถึง (ซี) หรือไม่มีหลักฐานแน่ชัด จะไม่อนุญาต ให้นา้ คา่ ใช้จา่ ยเหลา่ นม้ี าหกั ออก ข้อ 3.6: การดาเนินการและกระบวนการเพียงเลก็ น้อย ตน้ ทุน โดยไม่ค้านึงถึงบทบัญญัติใดในบทนี้ การด้าเนินการดังต่อไปนี้กับวัสดุที่ไม่ได้ถ่ินก้าเนิดท่ีน้ามาผลิต คำ่ แรง สินคา้ จะถือวา่ เปน็ กระบวนการหรือการแปรสภาพอยา่ งไมเ่ พยี งพอที่ท้าให้สนิ คา้ นั้นได้ถ่ินกา้ เนดิ ทำงตรง (เอ) กระบวนการเกบ็ รักษาเพ่อื ให้แนใ่ จวา่ สินคา้ จะอยู่ในสภาพดีเพื่อวัตถุประสงค์ในการขนส่ง หรือการเก็บรกั ษา (บี) การบรรจหุ บี ห่อหรอื การน้าเสนอสนิ คา้ เพอ่ื การขนส่งหรือการขาย (ซ)ี กระบวนการอย่างง่าย3 ประกอบด้วยการกรอง การคัดการแยก การแยกประเภท การลับคม การตัด การเฉอื น การบด การดัด การมว้ น หรือ การคลายเกลียว 3 เพ่ือความมุ่งประสงค์ของข้อนี้ ค้าว่า “อย่างง่าย” หมายถึง กิจกรรมที่ไม่ต้องใช้ทักษะพิเศษ หรือ เครื่องจักร เครือ่ งมือ หรือ อปุ กรณท์ ี่จัดทา้ ขนึ้ เฉพาะส้าหรับการผลิตหรอื ตดิ ตั้งเพอ่ื ด้าเนินกิจกรรมดงั กลา่ ว 3-6

- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - (ด)ี การติดหรือพิมพ์เครื่องหมาย ฉลาก ตราสัญลักษณ์ หรือท่ีคล้ายกันท่ีเป็น เครอื่ งหมายแยกความแตกตา่ งบนสินค้าหรอื บรรจภุ ณั ฑ์ของสนิ คา้ (อ)ี การเจือจางด้วยน้าหรือสารอื่น ๆ เท่านั้นซึ่งไม่ท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ลกั ษณะเฉพาะของสินคา้ (เอฟ) การถอดแยกผลติ ภัณฑอ์ อกเป็นช้นิ สว่ น (จี) การฆ่าสตั ว์4 (เอช) การทาสีและการขดั อยา่ งงา่ ย (ไอ) การปอก เอาเมลด็ ออก หรือการกะเทาะเปลือกอยา่ งง่าย (เจ) การผสมอย่างง่าย โดยไมค่ ้านงึ ถงึ วา่ เปน็ สินคา้ ตา่ งชนิดกนั หรอื ไม่ หรอื (เค) การรวมกันของกระบวนการสอง (2) กระบวนการหรือมากกว่าที่อ้างถึง ในอนวุ รรค (เอ) ถึง (เจ) ขอ้ 3.7: เกณฑข์ นั้ ตา่ 1. สินค้าท่ีไม่ผ่านเกณฑ์การเปล่ียนพิกัดศุลกากร ตามภาคผนวก 3 เอ (กฎเฉพาะรายสินค้า) จะยังคงเปน็ สินคา้ ที่ได้ถ่ินก้าเนิดถ้าสินค้าน้ันเป็นไปตามข้อก้าหนดอื่น ๆ ที่เก่ียวข้องทั้งหมด ในบทนี้ และ (เอ) ส้าหรับสินคา้ ในตอนที่ 01 ถงึ 97 ของพกิ ดั ศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ มูลค่าของวัสดุ ท่ีไม่ได้ถ่ินก้าเนิดท่ีใช้ในการผลิตสินค้าและที่ไม่ผ่านเกณฑ์การเปล่ียนพิกัดศุลกากร ท่ีกา้ หนด ไม่เกนิ รอ้ ยละ 10 ของมูลค่า เอฟ โอ บี ของสินค้าน้ัน โดยมูลค่าของวัสดุ ท่ีไม่ได้ถ่ินก้าเนิดดังกล่าว จะถูกก้าหนดตามวรรค 3 ของข้อ 3.5 (การค้านวณ สัดสว่ นมูลคา่ การผลิตในภมู ภิ าค) หรือ (บี) ส้าหรับสนิ ค้าในตอนที่ 50 ถงึ 63 ของพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ น้าหนักของวัสดุ ที่ไม่ได้ถิ่นก้าเนิดทั้งหมดท่ีใช้ในการผลิตสินค้าท่ีไม่ผ่านเกณฑ์การเปล่ียนพิกัด ศลุ กากรทก่ี ้าหนด ไมเ่ กินร้อยละ 10 ของนา้ หนักรวมของสนิ ค้านั้น 2. อย่างไรก็ตาม มูลคา่ ของวัสดุทไี่ มไ่ ดถ้ ่นิ กา้ เนิดที่อ้างถึงในวรรค 1 จะต้องน้ามารวมอยู่ในมูลค่า ของวสั ดทุ ี่ไมไ่ ดถ้ ่นิ ก้าเนิดตามหลักเกณฑ์การค้านวณสัดส่วนมูลคา่ การผลิตในภูมิภาคท่ีใช้ 4 เพือ่ ความมุ่งประสงคข์ องข้อนี้ “การฆา่ สตั ว์” หมายถงึ การฆ่าสตั วอ์ ย่างงา่ ย 3-7

- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - ข้อ 3.8: การปฏิบัติต่อวสั ดทุ ีใ่ ช้บรรจุหบี ห่อและบรรจุภัณฑ์ และภาชนะบรรจสุ นิ ค้า 1. วัสดุส้าหรับการบรรจุหีบห่อและภาชนะบรรจุสินค้า เพ่ือการขนส่งจะไม่น้ามาคิดรวม ในการกา้ หนดสถานะในการได้ถิ่นกา้ เนดิ ของสนิ ค้าใด ๆ 2. วัสดุส้าหรับการบรรจุหีบห่อและภาชนะบรรจุสินค้าเพ่ือการขายปลีก ซ่ึงจ้าแนกประเภท พิกดั เดียวกันกบั สินค้านั้น มิให้นา้ มาคิดรวมในการก้าหนดสถานะการได้ถ่ินก้าเนิดของสินค้า โดยมเี งอ่ื นไขว่า (เอ) สินค้าน้ันได้มาท้ังหมดหรือผลิตข้ึนทั้งหมดในภาคี ตามที่ระบุไว้ในอนุวรรค (เอ) ของข้อ 3.2 (สนิ ค้าทีไ่ ด้ถิน่ ก้าเนิด) (บ)ี สินคา้ น้ันมีการผลิตในภาคี จากวัสดุท่ีได้ถิ่นก้าเนิดของภาคีใดภาคีหนึ่งหรือมากกว่าน้ัน ตามทรี่ ะบไุ ว้ในอนุวรรค (บี) ของข้อ 3.2 (สนิ ค้าทไี่ ด้ถนิ่ ก้าเนิด) หรือ (ซี) สินค้าน้ันอยู่ภายใต้เกณฑ์การเปล่ียนพิกัดศุลกากรหรือเกณฑ์กระบวนการผลิต ทเี่ ฉพาะเจาะจง ตามทีร่ ะบุไว้ในภาคผนวก 3 เอ (กฎเฉพาะรายสินคา้ ) 3. ถ้าสินค้าอยู่ภายใต้เกณฑ์สัดส่วนมูลค่าการผลิตในภูมิภาค ให้น้ามูลค่าของวัสดุส้าหรับ การบรรจุหบี หอ่ และภาชนะบรรจุสินค้าเพื่อการขายปลีกมาพิจารณาเป็นวัสดุท่ีได้ถิ่นก้าเนิด หรือวัสดุท่ีไม่ได้ถิ่นก้าเนิดของสินค้า แล้วแต่กรณีในการค้านวณสัดส่วนมูลค่าการผลิต ในภมู ภิ าคของสนิ ค้า ขอ้ 3.9: อปุ กรณป์ ระกอบ อะไหล่ และเคร่อื งมอื 1. เพื่อความมุ่งประสงค์ในการก้าหนดสถานะการได้ถิ่นก้าเนิดของสินค้า ให้ถือว่าอุปกรณ์ประกอบ อะไหล่ เคร่ืองมอื และค่มู ือหรอื เอกสารข้อมูลอ่ืน ๆ ท่ีมากับตัวสินค้า ต้องพิจารณาเป็นส่วนหนึ่ง ของสินค้านั้น และไม่ต้องน้ามาคิดรวมในการก้าหนดว่าวัสดุท่ีไม่ได้ถิ่นก้าเนิดทั้งหมดที่ใช้ ในการผลิตสินค้าที่ได้ถิ่นก้าเนิดได้ผ่านเกณฑ์การเปล่ียนพิกัดศุลกากรหรือกระบวนการผลิต เฉพาะตามทก่ี า้ หนดไวใ้ นภาคผนวก 3 เอ (กฎเฉพาะรายสนิ คา้ ) โดยมีเง่ือนไขวา่ (เอ) อุปกรณ์ประกอบ อะไหล่ เคร่ืองมือ และคู่มือหรือเอกสารข้อมูลอื่น ๆ ท่ีมากับ ตัวสินคา้ ไม่ไดม้ ีการแยกบญั ชรี าคาสินคา้ ตา่ งหากจากตัวสนิ คา้ นัน้ และ (บี) ปริมาณและมูลค่าของอุปกรณ์ประกอบ อะไหล่ เคร่ืองมือ และคู่มือหรือเอกสาร ข้อมลู อ่ืน ๆ ทมี่ ากบั ตวั สนิ ค้า เปน็ ไปตามปกตทิ างการคา้ ของสินคา้ น้นั 3-8

- ค�ำ แปลอย่างไม่เป็นทางการ - 2. โดยไม่ค้านึงถึงวรรค 1 ถ้าสินค้าอยู่ภายใต้เกณฑ์สัดส่วนมูลค่าการผลิตในภูมิภาค ให้น้ามูลค่าของอุปกรณ์ประกอบ อะไหล่ เครื่องมือ และคู่มือหรือเอกสารข้อมูลอื่น ๆ ที่มากบั ตวั สินคา้ มาพจิ ารณาแยกเป็นวสั ดทุ ่ีไดถ้ ิ่นก้าเนิดหรือวัสดุท่ีไม่ได้ถิ่นก้าเนิดตามแต่กรณี ในการค้านวณสดั สว่ นมลู ค่าการผลติ ในภมู ิภาคของสินคา้ โดยมีเงือ่ นไขวา่ (เอ) อุปกรณ์ประกอบ อะไหล่ เครื่องมือ และคู่มือหรือเอกสารข้อมูลอ่ืน ๆ ที่มากับ ตัวสินค้า ไม่ได้มีการแยกบญั ชีราคาสินค้าต่างหากจากตัวสินค้าน้นั และ (บ)ี ปริมาณและมูลค่าของ อุปกรณ์ประกอบ อะไหล่ เครื่องมือ และคู่มือหรือเอกสาร ขอ้ มูลอ่นื ๆ ทมี่ ากบั ตัวสนิ ค้า เปน็ ไปตามปกตทิ างการคา้ ของสินค้านัน้ ขอ้ 3.10: วสั ดทุ างอ้อม 1. ให้ถือว่าวัสดุทางอ้อมเป็นวัสดุท่ีได้ถิ่นก้าเนิดโดยไม่ค้านึงถึงสถานที่ผลิต และมูลค่าของวัสดุ ทางอ้อมนั้น ต้องคิดจากต้นทุนท่ีได้บันทึกไว้ตามหลักการทางบัญชีอันเป็นท่ียอมรับท่ัวไป ในระบบบญั ชขี องผผู้ ลติ สนิ คา้ 2. เพ่ือความมงุ่ ประสงค์ของข้อนี้ “วัสดุทางอ้อม” หมายถึง สินค้าท่ีใช้ในการผลิต การทดสอบ หรือการตรวจสอบสินค้าอื่น ๆ แต่ไม่ได้รวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสินค้านั้น หรือสินค้าที่ใช้ ในการบา้ รุงรกั ษาอาคาร หรอื การทา้ งานของอุปกรณท์ ่ีเกย่ี วข้องกบั การผลิตสินคา้ ซึ่งรวมไปถงึ (เอ) เช้อื เพลงิ และพลังงาน (บ)ี เคร่ืองมอื แมพ่ ิมพ์ และแบบหลอ่ (ซ)ี อะไหล่ และสนิ คา้ ทใี่ ชใ้ นการบา้ รุงรักษาอุปกรณ์และอาคาร (ดี) สารหล่อลนื่ จาระบี สารประกอบ และวสั ดอุ น่ื ๆ ท่ีใชใ้ นการผลิตหรือใช้กับอุปกรณ์ และอาคาร (อี) ถุงมอื แว่นตา รองเทา้ เสอ้ื ผ้า และอปุ กรณ์และวัสดุเพื่อความปลอดภยั (เอฟ) อปุ กรณ์ เครอ่ื งมือ และวสั ดทุ ่ีใชส้ ้าหรับการทดสอบหรอื การตรวจสอบสนิ ค้า (จี) ตัวเร่งปฏิกริ ิยาและตัวทา้ ละลาย และ (เอช) สินค้าอื่นใดที่ไม่รวมอยู่ในตัวสินค้า แต่ใช้ในการผลิตสินค้า โดยสามารถอธิบายได้ อยา่ งสมเหตผุ ลวา่ การใชด้ งั กล่าวเป็นสว่ นหนงึ่ ของการผลิตนัน้ 3-9

- ค�ำ แปลอย่างไม่เป็นทางการ - ข้อ 3.11: สนิ คา้ หรอื วสั ดุทใี่ ช้ทดแทนกันได้ ในการก้าหนดว่า สินค้าหรือวัสดุที่ใช้ทดแทนกันได้เป็นสินค้าหรือวัสดุที่ได้ถิ่นก้าเนิดหรือไม่ จะกระท้าโดยการแยกสินค้าหรือวัสดุที่ใช้ทดแทนกันได้ ทางกายภาพ หรือ ในกรณีของท่ีปะปนกัน โดยการจัดการสินค้าคงคลัง ตามหลักการบัญชีท่ีได้รับการยอมรับโดยท่ัวไปของภาคีผู้ส่งของออก และควรใช้วิธีการนนั้ ตลอดปีบัญชีนน้ั ขอ้ 3.12: วสั ดทุ ีใ่ ช้ในการผลิต หากวัสดุที่ไม่ได้ถ่ินก้าเนิดผ่านการผลิตเพิ่มเติม โดยเป็นไปตามข้อก้าหนดของบทน้ี วัสดุนั้นจะถือว่า เปน็ วัสดทุ ไ่ี ด้ถิ่นก้าเนิด เม่ือมีการก้าหนดสถานะการได้ถ่ินก้าเนิดของสินค้าท่ีต่อมาได้ผลิตข้ึน โดยไม่ค้านึงถึง วา่ วสั ดุนน้ั ถกู ผลิตโดยผผู้ ลิตสินค้าน้นั หรอื ไม่ ข้อ 3.13: หนว่ ยวัดคุณสมบตั ิ 1. หน่วยวัดคุณสมบัติส้าหรับบทน้ีให้ใช้กับสินค้าที่มีลักษณะเฉพาะ ซ่ึงน้าไปพิจารณาในฐาน เปน็ หน่วยวดั พ้ืนฐาน เมื่อมีการก้าหนดพกิ ดั ศลุ กากรตามระบบฮารโ์ มไนซ์ 2. เม่อื สนิ ค้าประกอบด้วยสนิ คา้ ทีเ่ หมือนกันจา้ นวนหนงึ่ และจ้าแนกอยใู่ นประเภทพิกัดศุลกากร เดียวกัน สินค้าแต่ละรายการต้องถูกน้ามาพิจารณาแยกแต่ละรายการว่าเป็นสินค้า ทไี่ ดถ้ ิ่นกา้ เนิดหรือไม่ ขอ้ 3.14: การปฏิบัติตอ่ สนิ ค้าเฉพาะรายการ กลุ่มภาคีและรัฐผู้ลงนามทั้งหมดต้องหารือการปฏิบัติส้าหรับสินค้าเฉพาะรายการภายใต้บทน้ี เมอ่ื ภาคีร้องขอและสรุปผลการหารือภายในสาม (3) ปีนับตั้งแต่วันทเี่ ริ่มหารือ ซึ่งการปฏิบัติต่อสินค้า เฉพาะรายการภายใตบ้ ทนจ้ี ะข้ึนอยกู่ บั ข้อตกลงของภาคที งั้ หมด และรฐั ผู้ลงนามทั้งหมดโดยฉนั ทามติ ขอ้ 3.15: การส่งมอบโดยตรง 1. สินค้าที่ได้ถิ่นก้าเนิดจะยังคงมีสถานะได้ถิ่นก้าเนิดตามท่ีก้าหนดไว้ในข้อ 3.2 (สินค้าที่ได้ ถิน่ ก้าเนิด) หากเปน็ ไปตามเง่ือนไขดงั ต่อไปน้ี (เอ) สินคา้ ถูกขนส่งโดยตรงจากภาคีผสู้ ่งของออกไปยังภาคผี ู้นา้ ของเข้า หรือ (บี) สนิ ค้าถูกขนส่งผ่านภาคีหนึ่งหรือมากกว่าที่ไม่ใช่ภาคีผู้ส่งของออกและภาคีผู้น้าของเข้า (ต่อไปในที่นี้จะเรียกว่า “ภาคีท่ีไม่ใช่ภาคีผู้ส่งของออกประเทศแรก” ในข้อน้ี) หรอื ขนส่งผา่ นประเทศทม่ี ิไดเ้ ปน็ ภาคี โดยมีเงื่อนไข 3-10

- ค�ำ แปลอย่างไม่เป็นทางการ - (หนงึ่ ) ไม่ได้ผ่านการด้าเนินการใด ๆ เพิ่มเติม ในภาคีที่ไม่ใช่ภาคีผู้ส่งของออก ประเทศแรก หรือประเทศท่ีไม่ได้เป็นภาคีนั้น ยกเว้นกิจกรรมทางด้าน โลจิสติกส์ เช่น การขนถ่ายสินค้าลง การขนถ่ายสินค้าขึ้น การเก็บรักษา หรือการด้าเนินการอ่ืนใดเพื่อถนอมรักษาสินค้าน้ันให้อยู่ในสภาพท่ีดีหรือ เพื่อขนสง่ สนิ คา้ นัน้ ไปยงั ภาคีผู้น้าของเข้า และ (สอง) อยู่ภายใต้การควบคุมของหน่วยงานศุลกากรในกลุ่มภาคี หรือ ประเทศ ทไี่ มไ่ ดเ้ ปน็ ภาคเี หลา่ นนั้ 2. การปฏิบัติตามอนุวรรค 1(บี) ต้องมีหลักฐานให้หน่วยงานศุลกากรของภาคีผู้น้าของเข้า ไมว่ ่าจะเป็นเอกสารทางศลุ กากรของภาคีท่ีไม่ใช่ภาคีผู้ส่งของออกประเทศแรก หรือประเทศ ที่ไม่ได้เป็นภาคี หรือเอกสารอื่นใดที่เหมาะสม หากมีการร้องขอจากหน่วยงานศุลกากร ของภาคีผ้นู า้ ของเขา้ 3. เอกสารท่ีเหมาะสมท่ีอ้างถึงในวรรค 2 อาจรวมถึงเอกสารขนส่งเชิงพาณิชย์หรือเอกสาร การขนส่ง เช่น ใบตราส่งสินค้าทางอากาศ ใบตราส่งสินค้า เอกสารการขนส่งหลายทอด หรือหลายรูปแบบ ส้าเนาของต้นฉบับบัญชีราคาสินค้าที่เช่ือมโยงกับสินค้า บันทึกทางการเงิน หนังสือรับรองการไม่เปลี่ยนแปลงสภาพสินค้า หรือ เอกสารสนับสนุนอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้อง ตามทีห่ นว่ ยงานศลุ กากรของภาคีผูน้ า้ ของเขา้ อาจรอ้ งขอ ส่วน บี ระเบียบปฏบิ ตั ิเก่ียวกับหนังสือรับรองถน่ิ กาเนดิ สินค้า ข้อ 3.16: หลกั ฐานการรับรองถิ่นกาเนิดสนิ ค้า 1. ขอ้ ใดขอ้ หนง่ึ ดงั ต่อไปน้ี ใหถ้ อื ว่าเปน็ หลักฐานการรับรองถ่นิ กา้ เนดิ สนิ คา้ (เอ) หนังสือรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้าที่ออกโดยหน่วยงานออกหนังสือรับรองถ่ินก้าเนิด สนิ คา้ ตามท่ีระบุไวใ้ นขอ้ 3.17 (หนงั สอื รับรองถิน่ ก้าเนดิ สนิ คา้ ) (บ)ี ค้ารับรองถนิ่ กา้ เนิดสนิ คา้ โดยผสู้ ่งของออกรับอนุญาตตามท่ีระบุไว้ในอนุวรรค 1(เอ) ของขอ้ 3.18 (คา้ รบั รองถน่ิ ก้าเนดิ สนิ คา้ ) หรือ (ซ)ี ค้ารับรองถ่ินก้าเนิดสินค้าโดยผู้ส่งของออกหรือผู้ผลิตตามท่ีระบุไว้ในอนุวรรค 1(บี) ของขอ้ 3.18 (ค้ารับรองถนิ่ กา้ เนิดสินคา้ ) และเปน็ ไปตามวรรค 2 และ 3 ท้ังน้ี ขนึ้ อยกู่ บั ขอ้ มลู ที่มอี ยซู่ ่งึ ทา้ ให้สินคา้ น้ันได้ถนิ่ ก้าเนดิ 3-11

- คำ�แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - 2. ออสเตรเลีย บรูไนดารุสซาลาม จีน อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น เกาหลี มาเลเซีย นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม จะต้องน้าอนุวรรค 1(ซี) ไปปฏิบัติไม่เกิน 10 ปี หลังจากวันท่ีความตกลงฉบับน้ีมีผลใช้บังคับส้าหรับแต่ละภาคี ส้าหรับกัมพูชา สปป.ลาว และเมียนมา จะตอ้ งนา้ อนวุ รรค 1(ซี) ไปปฏิบัติไม่เกิน 20 ปี หลงั จากวนั ที่ความตกลงฉบับนี้ มผี ลใช้บังคบั ส้าหรับแตล่ ะภาคี 3. โดยไม่ค้านึงถึงวรรค 2 ภาคีอาจขยายระยะเวลาได้สูงสุดจนถึง 10 ปี เพ่ือน้าอนุวรรค 1 (ซี) ไปปฏบิ ตั ิ โดยแจง้ คณะกรรมการด้านสินค้าถึงการขยายระยะเวลานี้ 4. กลุ่มภาคีต้องเริ่มทบทวนข้อน้ี นับต้ังแต่วันท่ีความตกลงฉบับน้ีมีผลใช้บังคับกับรัฐผู้ลงนาม ทั้งหมด โดยการทบทวนน้ีจะพิจารณาให้ค้ารับรองถ่ินก้าเนิดสินค้าโดยผู้น้าของเข้าเป็น หลกั ฐานการรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้า ท้ังน้ี กลุ่มภาคีจะต้องสรุปการทบทวนภายในห้า (5) ปี นับต้ังแตว่ นั ท่เี ร่ิมทบทวน เว้นแตก่ ลมุ่ ภาคจี ะตกลงเป็นอย่างอืน่ 5 5. หลักฐานการรับรองถ่นิ กา้ เนดิ สินคา้ จะตอ้ ง (เอ) จัดท้าเป็นลายลักษณ์อักษรหรือส่ือกลางอื่นใด ซ่ึงรวมถึงรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ตามทไ่ี ด้รับแจง้ จากภาคผี นู้ า้ ของเขา้ (บี) ระบุว่าสนิ คา้ ได้ถนิ่ กา้ เนิด และเปน็ ไปตามขอ้ ก้าหนดของบทนี้ และ (ซ)ี มีข้อมูลตามท่ีก้าหนดไว้ในข้อก้าหนดเรื่องข้อมูลข้ันต้่าในภาคผนวก 3 บี (ข้อก้าหนดเรอื่ งข้อมูลขน้ั ต่า้ ) 6. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องจัดเตรียมหลักฐานการรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้ามีผลใช้ได้หนึ่ง (1) ปี นบั ตัง้ แต่วนั ที่ออกหรือวันท่ีหลักฐานการรบั รองถิน่ กา้ เนิดสนิ คา้ ครบถ้วนสมบรู ณ์ ข้อ 3.17: หนงั สอื รบั รองถน่ิ กาเนิดสินคา้ 1. หนังสือรับรองถิ่นก้าเนิดสินค้าจะต้องออกโดยหน่วยงานออกหนังสือรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้า ของภาคีผ้สู ง่ ของออก ตามค้าขอของผู้สง่ ของออก ผผู้ ลติ หรอื ตัวแทนรบั มอบอ้านาจ 5 โดยไม่ค้านึงถึงวรรคนี้ นับตั้งแต่วันที่ความตกลงฉบับน้ีมีผลใช้บังคับ ญี่ปุ่นอาจพิจารณาให้ค้ารับรองถิ่นก้าเนิด สินค้าโดยผู้น้าของเข้าเป็นหลักฐานการรับรองถิ่นก้าเนิดสินค้า และปฏิบัติเฉกเช่นเดียวกับหลักฐานการรับรอง ถิ่นกา้ เนดิ สนิ คา้ ภายใต้วรรค 1 ในกรณดี งั กล่าวญี่ปุ่นจะไม่ด้าเนินกระบวนการตรวจสอบที่อ้างถึงในอนุวรรค 1 (บี) ถึง (ดี) ของข้อ 3.24 (การตรวจสอบ) ส้าหรับค้ารับรองถิ่นก้าเนิดสินค้าโดยผู้น้าของเข้า ท้ังน้ี ค้ารับรองถ่ินก้าเนิด สินค้าจะต้องกระท้าโดยผนู้ า้ ของเข้าท่มี ขี อ้ มูลเพียงพอที่จะพสิ จู นไ์ ดว้ า่ สนิ คา้ น้นั มคี ุณสมบัตเิ ป็นสนิ ค้าทไี่ ด้ถ่นิ กา้ เนดิ เท่านัน้ 3-12

- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - 2. ผู้ส่งของออก ผู้ผลิต หรือตัวแทนรับมอบอ้านาจจะต้องยื่นค้าขอหนังสือรับรองถิ่นก้าเนิด สินค้าเป็นลายลักษณ์อักษรหรือทางอิเล็กทรอนิกส์ต่อหน่วยงานออกหนังสือรับรอง ถิ่นก้าเนิดสินค้าของภาคีผู้ส่งของออกตามที่ก้าหนดในกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และวิธี ปฏิบัติภายในของภาคีผูส้ ง่ ของออก 3. หนงั สอื รบั รองถนิ่ กา้ เนดิ สนิ ค้าจะตอ้ ง (เอ) มีรูปแบบตามทก่ี า้ หนดโดยกลุ่มภาคี (บี) มีเลขท่ีของหนงั สือรบั รองถิน่ ก้าเนิดสินค้าที่ไมซ่ ้ากนั (ซ)ี เปน็ ภาษาองั กฤษ และ (ด)ี มีลายมือช่ือของผู้มีอ้านาจ และตราประทับของหน่วยงานออกหนังสือรับรอง ถ่ินก้าเนิดสินค้าของภาคีผู้ส่งของออก โดยลายมือช่ือและตราประทับจะกระท้า ด้วยตนเองหรอื ในรปู แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 4. หนังสือรับรองถน่ิ กา้ เนิดสนิ ค้าอาจจะ (เอ) ระบบุ ัญชีราคาสนิ คา้ สอง (2) ฉบบั หรือมากกว่า ซึ่งออกส้าหรับการขนส่งสินค้าหนึ่งคร้ัง หรือ (บี) มีสินค้าหลายรายการ โดยมีเง่ือนไขว่าสินค้าแต่ละรายการมีคุณสมบัติถูกต้อง ตามเกณฑ์ทกี่ ้าหนดไว้ของแต่ละสนิ ค้าน้นั 5. ในกรณีท่ีหนังสือรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้ามีข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง หน่วยงานออกหนังสือรับรอง ถน่ิ ก้าเนิดสินค้าของภาคีผ้สู ง่ ของออกอาจจะ (เอ) ออกหนังสือรับรองถิ่นก้าเนิดสินค้าฉบับใหม่และยกเลิกหนังสือรับรองถิ่นก้าเนิด สินคา้ ฉบับเดมิ หรอื (บ)ี แก้ไขหนังสือรับรองถิ่นก้าเนิดสินค้าฉบับเดิม โดยขีดฆ่าข้อความที่ไม่ถูกต้องแล้ว เพ่ิมเติมหรือแก้ไขให้ถูกต้อง ท้ังน้ี การแก้ไขใด ๆ ก็ตามจะต้องรับรองโดยมีลายมือช่ือ ของผู้มีอ้านาจและตราประทับของหน่วยงานออกหนังสือรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้า ของภาคีผู้สง่ ของออก 6. ภาคแี ต่ละฝ่ายจะตอ้ งให้ช่ือ ที่อยู่ ตัวอย่างลายมือชื่อ และตราประทับของหน่วยงานออกหนังสือ รับรองถ่ินก้าเนิดสินค้าแก่กลุ่มภาคีอ่ืน โดยข้อมูลดังกล่าวจะถูกส่งในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ 3-13

- ค�ำ แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - ไปยังส้านักงานเลขาธิการอาร์เซ็ป ที่จัดต้ังข้ึนตามอนุวรรค 1(ไอ) ของข้อ 18.3 (หน้าท่ี ของคณะกรรมการร่วมอาร์เซ็ป) (ต่อไปในที่นี้จะเรียกว่า \"ส้านักงานเลขาธิการอาร์เซ็ป\" ในบทนี้) เพ่ือการเผยแพร่ไปยังกลุ่มภาคีอื่น ๆ การเปล่ียนแปลงใด ๆ ในภายหลังจะต้องให้ ข้อมูลแก่ส้านักงานเลขาธิการอาร์เซ็ปโดยพลันในลักษณะเดียวกันกับข้างต้น เพ่ือการ เผยแพร่ไปยังกลุ่มภาคีอ่ืน ๆ ทั้งนี้ ภาคีจะต้องพยายามจัดตั้งเว็บไซต์ที่มีความปลอดภัยท่ี แสดงผลขอ้ มูลดังกลา่ วย้อนหลงั สาม (3) ปี โดยกลมุ่ ภาคีอ่ืน ๆ ตอ้ งเขา้ ถึงเว็บไซต์ดงั กลา่ วได้ 7. โดยไม่ค้านึงถึงวรรค 6 ภาคีไม่จ้าเป็นต้องให้ตัวอย่างลายมือช่ือของหน่วยงานออกหนังสือ รบั รองถนิ่ กา้ เนิดสินคา้ แก่สา้ นักงานเลขาธิการอาร์เซ็ป เพื่อการเผยแพร่ไปยังกลุ่มภาคีอื่น ๆ ถ้าภาคีน้ันได้จัดตั้งเว็บไซต์ของตนเองท่ีมีความปลอดภัย ซึ่งมีข้อมูลที่เก่ียวข้องกับหนังสือ รับรองถิ่นก้าเนิดสินค้าที่ตนเองออก รวมถึงเลขท่ีหนังสือรับรองถิ่นก้าเนิดสินค้า พิกดั ศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ รายละเอียดสินคา้ ปรมิ าณ วนั ท่ีออกหนังสือรับรองถ่ินก้าเนิด สินค้าและช่ือของผู้ส่งของออก ที่สามารถเข้าถึงได้โดยกลุ่มภาคี ท้ังน้ี กลุ่มภาคีจะต้อง ทบทวนข้อก้าหนดเก่ียวกับการให้ตัวอย่างลายมือช่ือของหน่วยงานผู้ออกหนังสือรับรอง ถ่นิ ก้าเนิดสินค้าสาม (3) ปหี ลังจากความตกลงฉบบั น้มี ีผลใช้บงั คับกบั รฐั ผู้ลงนามท้งั หมด 8. ในกรณีที่หนังสือรับรองถิ่นก้าเนิดสินค้ามิได้ออกให้ในวันท่ีรับบรรทุกสินค้า อันเน่ืองมาจาก ความผิดพลาด การหลงลืมโดยมิได้ตั้งใจ หรือเพราะสาเหตุอื่นอันรับฟังได้ หรือตาม สภาวการณ์ที่อ้างไว้ในอนุวรรค 5(เอ) ในกรณีเช่นนี้ อาจออกหนังสือรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้า ยอ้ นหลังได้ แต่ต้องไม่เกินหนึ่ง (1) ปี หลังจากวันทรี่ บั บรรทุกสินค้า ในกรณีดงั กล่าว หนังสือ รบั รองถ่ินกา้ เนดิ สินคา้ ตอ้ งระบคุ า้ ว่า “ISSUED RETROACTIVELY” 9. ในกรณีท่ีหนังสือรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้าถูกลักขโมย สูญหาย หรือถูกท้าลาย ผู้ส่งของออก ผู้ผลิต หรือตัวแทนรับมอบอ้านาจ อาจย่ืนค้าขอเป็นลายลักษณ์อักษรต่อหน่วยงาน ออกหนังสือรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้าของภาคีผู้ส่งของออก เพ่ือออกส้าเนาท่ีได้รับรอง ความถกู ต้องของต้นฉบบั หนังสือรบั รองถน่ิ ก้าเนดิ สนิ ค้า ซง่ึ ส้าเนารบั รองดงั กลา่ วจะตอ้ ง (เอ) ออกภายในระยะเวลาไม่เกินหนึ่ง (1) ปี หลังจากวันท่ีออกต้นฉบับหนังสือรับรอง ถ่ินกา้ เนิดสินค้า (บี) ออกบนพ้ืนฐานของคา้ ขอออกต้นฉบับหนังสือรบั รองถิ่นกา้ เนิดสินค้า (ซี) ระบุเลขท่แี ละวนั ทเี่ หมอื นตน้ ฉบบั หนงั สือรับรองถิน่ ก้าเนดิ สินค้า (ดี) ระบคุ า้ วา่ “CERTIFIED TRUE COPY” 3-14

- คำ�แปลอย่างไมเ่ ป็นทางการ - ขอ้ 3.18: คารับรองถิน่ กาเนิดสินค้า 1. ค้ารับรองถ่ินก้าเนิดสินค้าตามที่อ้างถึงในข้อ 3.16 (หลักฐานการรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้า) จะกระทา้ โดย (เอ) ผู้ส่งของออกรับอนุญาตตามความหมายของข้อ 3.21 (ผสู้ ง่ ของออกรับอนุญาต) หรอื (บี) ผู้ส่งของออกหรือผู้ผลิตสินค้า ตามท่ีระบุไว้ในวรรค 2 และ 3 ของข้อ 3.16 (หลกั ฐานการรบั รองถ่นิ กา้ เนิดสนิ ค้า) 2. ค้ารับรองถ่ินก้าเนิดสินค้าตอ้ ง (เอ) ครบถ้วนสมบรู ณ์ตามภาคผนวก 3 บี (ข้อก้าหนดเร่อื งขอ้ มลู ขน้ั ต้า่ ) (บ)ี เป็นภาษาอังกฤษ (ซี) ระบชุ อื่ และลายมอื ชื่อของบุคคลรบั อนญุ าต และ (ด)ี ระบวุ ันทค่ี า้ รับรองถน่ิ ก้าเนิดสนิ ค้าครบถว้ นสมบรู ณ์ ขอ้ 3.19: หลกั ฐานการรับรองถ่ินกาเนิดสนิ คา้ ภายใต้เงอ่ื นไข แบค ทู แบค 1. ตามท่ีระบุในข้อ 3.16 (หลักฐานการรับรองถิ่นก้าเนิดสินค้า) หน่วยงานออกหนังสือรับรอง ถิน่ กา้ เนดิ สนิ คา้ ผู้สง่ ของออกรับอนุญาต หรือผู้ส่งของออกของภาคีที่ไม่ใช่ภาคีผู้ส่งของออก ประเทศแรก อาจออกหลักฐานการรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้า ภายใต้เง่ือนไข แบค ทู แบค โดยมีเงอ่ื นไขว่า (เอ) มีการแสดงต้นฉบับหรือส้าเนาที่ได้รับรองความถูกต้องของหลักฐานการรับรอง ถน่ิ ก้าเนดิ สินคา้ ท่ียงั มผี ลใช้ได้ (บี) การมผี ลใช้ไดข้ องหลักฐานการรับรองถิ่นก้าเนิดสินค้า ภายใต้เงื่อนไข แบค ทู แบค จะต้องไมเ่ กนิ การมีผลใช้ไดข้ องตน้ ฉบับหลักฐานการรบั รองถ่นิ ก้าเนิดสนิ คา้ (ซ)ี หลักฐานการรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้า ภายใต้เงื่อนไข แบค ทู แบค ระบุข้อมูล ที่เกี่ยวข้องจากต้นฉบับหลักฐานการรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้า ตามข้อก้าหนด ในภาคผนวก 3 บี (ขอ้ ก้าหนดเร่อื งขอ้ มลู ขนั้ ต่า้ ) 3-15

- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - (ด)ี ของที่จะถูกส่งกลับออกไปโดยใช้หลักฐานการรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้า ภายใต้เงื่อนไข แบค ทู แบค จะต้องไม่ผ่านกระบวนการเพิ่มเติมใด ๆ ในภาคีท่ีไม่ใช่ภาคีผู้ส่งของ ออกประเทศแรก เว้นแต่เพื่อการบรรจุหีบห่อใหม่หรือกิจกรรมด้านโลจิสติกส์ เช่น การขนลง การขนขึ้น การเก็บรักษา การแบ่งแยกสินค้า หรือการติดฉลากตามท่ี กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และวิธีปฏิบัติ ค้าวินิจฉัยทางการบริหาร และนโยบาย ของภาคีผู้น้าของเข้า ได้ก้าหนดไว้เท่านั้น หรือการกระท้าอื่นใดท่ีจ้าเป็น เพอ่ื เกบ็ รกั ษาสนิ ค้าให้อยู่ในสภาพดหี รือเพื่อขนส่งสนิ คา้ ไปยังภาคีผู้น้าของเข้า (อี) ส้าหรับการส่งออกสินค้าบางส่วน ให้แสดงจ้านวนของสินค้าในส่วนที่ส่งออก บางส่วนแทนจ้านวนของสินค้าเต็มจ้านวนตามที่ระบุไว้ในต้นฉบับหลักฐาน การรับรองถิ่นก้าเนิดสินค้า และจ้านวนสินค้าทั้งหมดที่ส่งกลับออกไปภายใต้ การส่งออกสินค้าบางส่วนจะไม่เกินกว่าจ้านวนสินค้าทั้งหมดท่ีระบุไว้ในต้นฉบับ หลักฐานการรบั รองถนิ่ ก้าเนดิ สนิ คา้ และ (เอฟ) ขอ้ มลู ในหลักฐานการรับรองถิ่นก้าเนิดสนิ ค้า ภายใตเ้ ง่ือนไข แบค ทู แบค รวมวันท่ีออก และเลขที่อ้างอิงของตน้ ฉบบั หลักฐานการรับรองถนิ่ กา้ เนดิ สินค้า 2. กระบวนการตรวจสอบตามท่ีได้อ้างถึงในข้อ 3.24 (การตรวจสอบ) จะใช้บังคับกับหลักฐาน การรบั รองถ่ินกา้ เนดิ สินค้า ภายใต้เง่ือนไข แบค ทู แบค ดว้ ย ขอ้ 3.20: บญั ชีราคาสินคา้ ท่อี อกโดยประเทศท่สี าม ภาคีผู้น้าของเข้าจะไม่ปฏิเสธการขอรับสิทธิพิเศษทางอากรศุลกากร ด้วยเหตุผลว่าบัญชีราคาสินค้า ไม่ได้ออกโดยผสู้ ่งของออกหรอื ผผู้ ลติ สินค้า โดยมีเงอื่ นไขวา่ สินคา้ เปน็ ไปตามขอ้ ก้าหนดของบทน้ี ข้อ 3.21: ผ้สู ง่ ของออกรบั อนุญาต 1. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องให้สิทธิแก่ผู้ส่งของออกซึ่งส่งออกสินค้าภายใต้ความตกลงฉบับนี้เป็น ผู้ส่งของออกรับอนุญาตตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ โดยผู้ส่งของออกท่ีประสงค์จะ ขอรับสทิ ธดิ ังกล่าวจะต้องยื่นค้าขอเป็นลายลักษณ์อักษรหรือทางอิเล็กทรอนิกส์ และต้องให้ การรับประกันที่จ้าเป็นในการตรวจสอบถิ่นก้าเนิดของค้ารับรองถ่ินก้าเนิดสินค้า แกห่ น่วยงานผมู้ ีอ้านาจจนพอใจ หนว่ ยงานผมู้ อี า้ นาจของภาคีผู้ส่งของออกอาจจะให้สถานะ ผู้สง่ ของออกรับอนญุ าตภายใต้เง่อื นไขใด ๆ ท่ีหน่วยงานพจิ ารณาแล้วเหน็ สมควร รวมถึง (เอ) ผู้ส่งของออกได้จดทะเบียนอย่างถูกต้องครบถ้วนตามกฎหมายและระเบียบ ข้อบังคับของภาคีผ้สู ่งของออก (บี) ผู้ส่งของออกมีความร้แู ละมีความเข้าใจกฎถนิ่ ก้าเนดิ สินคา้ ตามท่ีกา้ หนดไว้ในบทน้ี 3-16

- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เปน็ ทางการ - (ซ)ี ผู้ส่งของออกมีประสบการณ์ด้านการส่งออกในระดับท่ีน่าพอใจตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับของภาคีผูส้ ง่ ของออก (ด)ี ผู้ส่งของออกมีประวัติดี โดยใช้หลักการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานผู้มีอ้านาจ ของภาคีผ้สู ่งของออก (อี) ผู้ส่งของออกกรณีท่ีเป็นผู้ประกอบการค้า ต้องมีค้ารับรองยืนยันสถานการณ์ได้ ถ่ินก้าเนิดของสินค้าจากผู้ผลิต เพ่ือใช้ในค้ารับรองถิ่นก้าเนิดสินค้าโดยผู้ส่งของออก รับอนุญาต และผู้ผลิตต้องมีความพร้อมท่ีจะให้ความร่วมมือในการตรวจสอบ ตามข้อ 3.24 (การตรวจสอบ) และปฏิบตั ติ ามขอ้ ก้าหนดทงั้ หมดในบทน้ี และ (เอฟ) ผู้ส่งของออกมีระบบการท้าบัญชีและการเก็บบันทึกที่ได้รับการเก็บรักษาอย่างดี โดยเปน็ ไปตามกฎหมายและระเบยี บข้อบงั คับของภาคีผ้สู ง่ ของออก 2. หนว่ ยงานผู้มอี า้ นาจของภาคีผสู้ ่งของออกต้อง (เอ) ท้าให้ข้ันตอนและเงื่อนไขการขอเป็นผู้ส่งของออกรับอนุญาตเป็นสาธารณะ และเข้าถงึ ไดง้ า่ ย (บ)ี อนุมัตใิ หส้ ทิ ธิผู้ส่งของออกรบั อนุญาตเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรหรือทางอิเล็กทรอนิกส์ (ซ)ี ให้หมายเลขผู้ส่งของออกรับอนุญาตแก่ผู้ส่งของออกรับอนุญาต ซึ่งหมายเลข ดงั กล่าวต้องระบอุ ยูใ่ นคา้ รบั รองถ่นิ ก้าเนิดสินค้า และ (ด)ี บรรจขุ ้อมลู ผสู้ ง่ ของออกรับอนุญาตท่ีได้รับการอนุมัติให้สิทธิในฐานข้อมูลผู้ส่งของออก รับอนญุ าตทอี่ า้ งถงึ ในวรรค 6 โดยพลัน 3. ผสู้ ง่ ของออกรับอนุญาตจะมีหนา้ ท่ีดงั ต่อไปนี้ (เอ) อนุญาตให้หน่วยงานผู้มีอ้านาจของภาคีผู้ส่งของออกเข้าถึงบันทึกและสถานท่ีต้ัง เพ่ือวัตถุประสงค์ในการติดตามการใช้สิทธิตามท่ีก้าหนดไว้ในข้อ 3.27 (ข้อก้าหนด ในการเก็บรักษาข้อมูล) (บี) แสดงค้ารับรองถ่ินก้าเนิดสินค้าให้ครบถ้วนเฉพาะกับสินค้าที่ผู้ส่งของออกรับ อนุญาตได้รับสิทธิจากหน่วยงานท่ีมีอ้านาจของประเทศภาคีผู้ส่งของออกเท่าน้ัน และมีเอกสารเก่ียวข้องทั้งหมดท่ีจะพิสูจน์สถานะการได้ถ่ินก้าเนิดของสินค้านั้น ณ ขณะเวลาทจ่ี ดั ท้าคา้ รบั รองน้ัน 3-17

- คำ�แปลอย่างไม่เป็นทางการ - (ซ)ี แสดงความรับผิดชอบอย่างเต็มที่ส้าหรับค้ารับรองถิ่นก้าเนิดสินค้าที่ได้จัดท้าข้ึน รวมถึงการนา้ ไปใชใ้ นทางทีผ่ ิด และ (ด)ี แจ้งให้หน่วยงานผู้มีอ้านาจของภาคีผู้ส่งของออกทราบในทันทีถึงการเปลี่ยนแปลง ใด ๆ ทีเ่ ก่ียวข้องกับขอ้ มลู ทอ่ี า้ งถงึ ในอนุวรรค (บี) โดยพลัน 4. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องบรรจุข้อมูลดังต่อไปน้ีของผู้ส่งของออกรับอนุญาตไว้ในฐานข้อมูล ผู้ส่งของออกรับอนุญาตในทนั ที (เอ) ช่ือและที่อยตู่ ามกฎหมายของบรษิ ทั ผู้สง่ ของออก (บ)ี หมายเลขผสู้ ่งของออกรบั อนุญาต (ซี) วนั ท่ีอนุมตั ิและวันท่สี นิ้ สดุ การใหส้ ิทธิแก่ผูส้ ่งของออกรบั อนญุ าต หากมี และ (ดี) รายการของสินค้าท่ีได้รับสิทธิ โดยเป็นพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์อย่างน้อย ในระดับตอน การเปลี่ยนแปลงใด ๆ ในรายการที่อ้างถึงในอนุวรรค (เอ) ถึง (ดี) หรือการเพิกถอน หรอื ระงบั สทิ ธทิ ีอ่ นุมตั ิ จะต้องบรรจขุ อ้ มูลในฐานขอ้ มลู ผู้ส่งของออกรบั อนุญาตในทันที 5. โดยไมค่ า้ นึงถึงวรรค 4 ภาคีไม่ต้องใส่ข้อมูลของผู้ส่งของออกรับอนุญาตท่ีอ้างถึงไว้ในวรรคนี้ ในฐานข้อมูลผู้ส่งของออกรับอนุญาต หากภาคีได้มีการจัดตั้งเว็บไซต์ของตนเองที่มี ความปลอดภัย และประกอบดว้ ยขอ้ มูลข้างต้นทกี่ ล่มุ ภาคีสามารถเขา้ ถึงได้ 6. คณะกรรมการร่วมอาร์เซ็ปอาจมอบหมายผู้ดูแลฐานข้อมูลผู้ส่งของออกรับอนุญาต ซ่ึงสามารถเช่ือมต่อผ่านระบบเครอื ข่ายทางคอมพิวเตอร์ได้โดยกลุ่มภาคี 7. หน่วยงานผู้มีอ้านาจของภาคีผู้ส่งของออกต้องติดตามการใช้สิทธิ รวมถึงการตรวจสอบ ค้ารับรองถ่ินก้าเนิดสินค้าโดยผู้ส่งของออกรับอนุญาต และเพิกถอนสิทธิ หากไม่ปฏิบัติตาม ขอ้ กา้ หนดในวรรค 1 8. ผู้ส่งของออกรับอนุญาตต้องเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้องท้ังหมดหากมีการร้องขอ จากหนว่ ยงานศลุ กากรของภาคีผู้น้าของเข้า เพ่ือพิสูจน์สถานะในการได้ถ่ินก้าเนิดของสินค้า รวมถึงค้าให้การของผู้จ้าหน่ายหรือผู้ผลิต โดยให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ของภาคีผู้น้าของเข้า รวมทง้ั ขอ้ ก้าหนดอื่น ๆ ของบทน้ี 3-18

- คำ�แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - ข้อ 3.22: การขอรับสทิ ธิพเิ ศษทางอากรศลุ กากร 1. ภาคผี นู้ า้ ของเขา้ จะใหส้ ิทธพิ เิ ศษทางอากรศุลกากรตามความตกลงฉบับน้ี กบั สินค้าท่ีไดถ้ ่นิ ก้าเนิด บนพืน้ ฐานของหลักฐานการรบั รองถิ่นก้าเนิดสินค้า 2. เว้นแต่มีการก้าหนดไว้เป็นอย่างอ่ืนในบทนี้ เพ่ือวัตถุประสงค์ของการขอรับสิทธิพิเศษ ทางอากรศุลกากร ภาคีผนู้ ้าของเข้าตอ้ งกา้ หนดว่าผู้นา้ ของเข้าจะต้อง (เอ) จัดท้าค้ารับรองในใบขนสินคา้ ขาเข้าของศลุ กากรวา่ สินค้าเป็นสนิ คา้ ท่ีได้ถิ่นกา้ เนิด (บี) มหี ลกั ฐานการรับรองถ่ินก้าเนิดสินคา้ ทยี่ ังมีผลใช้ได้ ณ ขณะที่จัดท้าค้ารับรองที่อ้างถึง ในอนุวรรค (เอ) และ (ซี) แสดงต้นฉบับหรือส้าเนาท่ีได้รับรองความถูกต้องของหลักฐานการรับรองถิ่นก้าเนิด สนิ คา้ แก่ภาคีผู้น้าของเข้า หากมกี ารร้องขอโดยภาคีผนู้ ้าของเขา้ 3. โดยไมค่ า้ นึงถงึ วรรค 1 และ 2 ภาคีผู้น้าของเข้าอาจไม่ต้องขอหลักฐานการรับรองถิ่นก้าเนิด สินคา้ หาก (เอ) ราคาศลุ กากรของการน้าเขา้ มมี ูลคา่ ไม่เกิน 200 ดอลลาร์สหรัฐ หรือมูลค่าเทียบเท่า ตามสกุลเงินของภาคีผู้น้าของเข้า หรือมูลค่าท่ีสูงกว่าตามที่ภาคีผู้น้าของเข้า ไดก้ ้าหนดไว้ หรอื (บี) สินค้าดังกล่าวได้รับการยกเว้นการแสดงหลักฐานการรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้า จากภาคีผูน้ า้ ของเขา้ โดยมีเงื่อนไขว่าการน้าเข้าไม่ได้มีลักษณะของการด้าเนินการหรือวางแผนเพื่อแบ่งแยก การน้าเข้าเป็นหลายคร้ัง เพื่อวัตถุประสงค์ในการหลีกเล่ียงการปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับของภาคีผู้น้าของเข้า เพ่ือขอรับสิทธิพิเศษทางอากรศุลกากรภายใต้ ความตกลงฉบับนี้ 4. หน่วยงานศุลกากรของภาคีผู้น้าของเข้าอาจให้ผู้น้าของเข้าแสดงหลักฐานประกอบการ พิจารณาวา่ สนิ คา้ มคี ุณสมบัตเิ ปน็ สนิ คา้ ทีไ่ ดถ้ ่นิ กา้ เนดิ ตามข้อกา้ หนดของบทน้ี 5. ผู้น้าของเข้าต้องแสดงให้เห็นว่าได้ปฏิบัติตามข้อก้าหนดที่อ้างถึงในข้อ 3.15 (การส่งมอบ โดยตรง) และแสดงหลักฐานเมอื่ มีการร้องขอจากหน่วยงานศุลกากรของภาคีผูน้ า้ ของเข้า 3-19

- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - 6. ในกรณีที่ย่ืนหลักฐานการรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้าต่อหน่วยงานศุลกากรของภาคีผู้น้าของเข้า ภายหลังจากการสิ้นสุดก้าหนดเวลาย่ืน หลักฐานการรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้าดังกล่าวอาจยัง สามารถน้ามาใช้ได้ ในกรณีท่ีไม่สามารถด้าเนินการตามช่วงเวลาดังกล่าวได้ อันเนื่องมาจาก เหตุสุดวิสัยหรือเหตุอ่ืนใดเกินวิสัยการควบคุมของผู้น้าของเข้าหรือผู้ส่งของออกอันรับฟังได้ โดยใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย ระเบยี บขอ้ บงั คบั หรอื แนวทางการบริหารของภาคีผ้นู ้าของเข้า ขอ้ 3.23: การขอรบั สิทธพิ เิ ศษทางอากรศลุ กากรภายหลังการนาเขา้ 1. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องให้ผู้น้าของเข้าย่ืนขอคืนเงินอากร เงินวางประกัน หรือการันตี ท่ีช้าระไว้ เกินเนื่องจากสินค้าไม่ได้รับสิทธิพิเศษทางอากรศุลกากรภายในช่วงเวลาที่ก้าหนดหรือ ภายหลังจากวันท่ีน้าเข้าสินค้า หากสินค้านั้นเป็นสินค้าท่ีได้ถิ่นก้าเนิดและน้าเข้าไปยังภาคี น้ันตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของภาคีนั้น โดยแสดงเอกสารต่อไปน้ีแก่หน่วยงาน ศุลกากรของภาคีผู้นา้ ของเข้า (เอ) หลักฐานการรบั รองถน่ิ ก้าเนิดสินคา้ และหลักฐานอื่น ๆ ที่แสดงว่าสินค้ามีคุณสมบัติ เปน็ สนิ คา้ ทไี่ ด้ถน่ิ ก้าเนดิ และ (บี) เอกสารอื่นที่เก่ียวข้องกับการน้าเข้านั้น ซึ่งหน่วยงานศุลกากรอาจขอเป็นหลักฐาน ในการขอรับสิทธพิ เิ ศษทางอากรศุลกากร 2. โดยไม่ค้านึงถึงวรรค 1 ภาคีแต่ละฝ่ายอาจขอให้ผู้น้าของเข้าแจ้งความประสงค์ขอรับสิทธิ พิเศษทางอากรศุลกากรต่อหน่วยงานศุลกากรของภาคี ณ ขณะเวลาที่น้าเข้า ตามที่ กฎหมายและระเบยี บขอ้ บังคบั ของภาคีนนั้ กา้ หนด ข้อ 3.24: การตรวจสอบ6 1. เพือ่ ความมงุ่ ประสงคใ์ นการพิจารณาวา่ สนิ คา้ ที่นา้ เข้ามายังภาคีหนึ่งจากภาคีอีกภาคีหนึ่งนั้น มีคุณสมบัติเป็นสินค้าที่ได้ถิ่นก้าเนิดภายใต้บทนี้ หน่วยงานผู้มีอ้านาจของภาคีผู้น้าของเข้า อาจด้าเนินการตรวจสอบโดยวธิ ีการ ดังนี้ (เอ) ค้าร้องเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรเพอ่ื ขอข้อมลู เพม่ิ เติมจากผู้นา้ ของเขา้ (บ)ี ค้ารอ้ งเป็นลายลกั ษณ์อักษรเพอื่ ขอข้อมูลเพมิ่ เติมจากผสู้ ่งของออกหรือผผู้ ลติ 6 เพื่อความมุ่งประสงค์ของข้อนี้ ภาคีอาจก้าหนดหน่วยประสานงานตามที่ก้าหนดไว้ในข้อ 3.33 (จุดติดต่อ) สา้ หรับการตรวจสอบสินคา้ ทีส่ ่งออก เพอื่ เป็นการอา้ นวยความสะดวกในการตรวจสอบ 3-20

- คำ�แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - (ซี) ค้าร้องเป็นลายลักษณ์อักษรเพ่ือขอข้อมูลเพิ่มเติมจากหน่วยงานผู้มีอ้านาจหรือ หนว่ ยงานออกหนังสอื รบั รองถ่ินกา้ เนิดสนิ ค้าของภาคีผู้สง่ ของออก (ดี) การเยี่ยมชมเพ่ือการตรวจสอบ ณ สถานท่ีของผู้ส่งของออกหรือผู้ผลิตในภาคี ผู้ส่งของออก เพ่ือเยี่ยมชมสถานที่และกระบวนการผลิตสินค้า และเพ่ือทบทวน ขอ้ มลู ท่เี กี่ยวกบั ถน่ิ กา้ เนดิ สนิ คา้ รวมถึงเอกสารทางบัญชี7 หรือ (อี) กระบวนการอน่ื ใดแลว้ แต่ภาคีท่เี กยี่ วขอ้ งจะตกลง 2. ภาคผี ้นู า้ ของเขา้ จะตอ้ ง (เอ) เพื่อความมุ่งประสงค์ของอนุวรรค 1(บี) ส่งค้าร้องเป็นลายลักษณ์อักษร พร้อมกับ ส้าเนาหลักฐานการรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้า และเหตุผลส้าหรับการร้องขอไปยัง ผสู้ ่งของออก หรอื ผู้ผลติ และหนว่ ยงานผู้มอี า้ นาจของภาคีผูส้ ง่ ของออก (บี) เพ่ือความมุ่งประสงค์ของอนุวรรค 1(ซี) ส่งค้าร้องเป็นลายลักษณ์อักษร พร้อมกับ ส้าเนาหลักฐานการรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้า และเหตุผลส้าหรับการร้องขอไปยัง หน่วยงานออกหนังสือรับรองถิ่นก้าเนิดสินค้าหรือหน่วยงานผู้มีอ้านา จของภาคี ผสู้ ง่ ของออก และ (ซี) เพอ่ื ความมุ่งประสงคข์ องอนุวรรค 1(ดี) ให้ร้องขอความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร จากผู้ส่งของออกหรือผู้ผลิตที่เป็นเจ้าของสถานท่ีท่ีจะไปเย่ียมชม และหน่วยงาน ผู้มีอ้านาจของภาคีผู้ส่งของออก โดยระบุวันที่และสถานท่ีท่ีคาดว่าจะไปเยี่ยมชม และวตั ถุประสงคใ์ นการเยย่ี มชม 3. ตามคา้ ร้องขอของภาคีผู้น้าของเข้า การเยี่ยมชมเพื่อการตรวจสอบสถานที่ของผู้ส่งของออก หรือผู้ผลิตอาจด้าเนินการ โดยได้รับความยินยอมและความช่วยเหลือจากภาคีผู้ส่งของออก ตามกระบวนการทไี่ ดต้ กลงกันระหวา่ งภาคีผนู้ ้าของเขา้ และภาคผี ู้สง่ ของออก 4. สา้ หรับการตรวจสอบภายใตอ้ นุวรรค 1(เอ) ถึง (ด)ี ภาคีผู้น้าของเขา้ จะตอ้ ง (เอ) อนุญาตให้ผู้น้าของเข้า ผู้ส่งของออก ผู้ผลิต หรือ หน่วยงานออกหนังสือรับรอง ถ่ินก้าเนิดสินค้า หรือ หน่วยงานผู้มีอ้านาจของภาคีผู้ส่งของออก ตอบกลับภายใน ระยะเวลาระหว่าง 30 วัน และ 90 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับค้าร้องเป็นลายลักษณ์ อักษรเพ่อื ขอข้อมลู ภายใต้อนวุ รรค 1(เอ) ถึง (ซี) 7 การเย่ียมชมเพ่ือการตรวจสอบภายใต้อนุวรรคนี้จะด้าเนินการภายหลังการตรวจสอบตามอนุวรรค (ซี) ได้ดา้ เนินการแล้วเท่าน้ัน 3-21

- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - (บี) อนญุ าตให้ผสู้ ง่ ของออก ผู้ผลิต หรือหน่วยงานผู้มีอ้านาจ แจ้งความยินยอมหรือการปฏิเสธ ค้าขอ ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันท่ีได้รับค้าร้องเป็นลายลักษณ์อักษรส้าหรับ การเยี่ยมชมเพ่อื การตรวจสอบภายใตอ้ นุวรรค 1(ด)ี และ (ซี) พยายามให้ค้าตัดสินในการตรวจสอบภายใน 90 วัน และ 180 วัน นับตั้งแต่วันท่ี ได้รับข้อมลู ท่จี ้าเปน็ ตอ่ การตัดสินใจนัน้ 5. เพื่อความมุ่งประสงค์ของวรรค 1 ภาคีผู้น้าของเข้าจะต้องแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรถึงผล การตัดสินของการตรวจสอบและเหตุผลของการตัดสินนั้น ให้กับผู้น้าของเข้า ผู้ส่งของออก หรือผู้ผลิตสินค้า หรือหน่วยงานออกหนังสือรับรองถ่ินก้าเนิดสินค้า หรือ หน่วยงาน ผู้มีอ้านาจของภาคีผ้สู ง่ ของออกท่ีไดร้ ับค้ารอ้ งขอตรวจสอบ 6. หน่วยงานศุลกากรของภาคีผู้น้าของเข้าอาจระงับการให้สิทธิพิเศษทางอากรศุลกากร ในขณะท่ีรอผลการตรวจสอบ ทั้งนี้ ภาคีผู้น้าของเข้าจะอนุญาตให้ตรวจปล่อยสินค้าน้ัน ไปกอ่ น แต่อาจกา้ หนดว่าให้การตรวจปล่อยดังกล่าวอยู่ภายใต้การวางประกันซึ่งเป็นไปตาม กฎหมายและระเบียบข้อบงั คบั ของภาคีผูน้ า้ ของเขา้ ข้อ 3.25: การปฏเิ สธการใหส้ ทิ ธพิ เิ ศษทางอากรศลุ กากร 1. หน่วยงานศุลกากรของภาคีผู้น้าของเข้าอาจปฏิเสธการให้สิทธิพิเศษทางอากรศุลกากร ในกรณีดงั ต่อไปน้ี (เอ) สินคา้ ไม่เป็นไปตามขอ้ กา้ หนดของบทนี้ หรือ (บี) ผู้น้าของเข้า ผู้ส่งของออก หรือผู้ผลิตสินค้า ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อก้าหนด ทเ่ี กย่ี วข้องใด ๆ ของบทนี้ ส้าหรับการไดส้ ทิ ธิพิเศษทางอากรศุลกากร 2. หากหน่วยงานศุลกากรของภาคีผู้น้าของเข้าปฏิเสธการขอรับสิทธิพิเศษทางอากรศุลกากร หน่วยงานศุลกากรน้ันจะต้องแจ้งผลการตัดสินเป็นลายลักษณ์อักษรให้ ผู้น้าของเข้าทราบ รวมถึงเหตุผลของการตัดสินดงั กล่าว 3. หน่วยงานศุลกากรของภาคีผู้น้าของเข้าอาจพิจารณาว่า สินค้าไม่มีคุณสมบัติเป็นสินค้าท่ีได้ ถิ่นกา้ เนิด และอาจปฏิเสธการให้สทิ ธพิ ิเศษทางอากรศุลกากร ในกรณดี งั ตอ่ ไปน้ี (เอ) หน่วยงานศุลกากรของภาคีผู้น้าของเข้าไม่ได้รับข้อมูลที่เพียงพอที่จะพิจารณาการ ไดถ้ น่ิ กา้ เนดิ ของสนิ ค้า (บี) ผู้ส่งของออก ผู้ผลิต หรือหน่วยงานผู้มีอ้านาจ ของภาคีผู้ส่งของออกไม่สามารถ ตอบสนองค้าร้องขอข้อมูลทเี่ ป็นลายลกั ษณ์อักษรตามข้อ 3.24 (การตรวจสอบ) หรือ 3-22

- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เปน็ ทางการ - (ซ)ี การรอ้ งขอส้าหรับการเย่ียมชมเพ่อื การตรวจสอบตามขอ้ 3.24 (การตรวจสอบ) ถูกปฏิเสธ ข้อ 3.26: ความแตกต่างหรอื ความผิดพลาดเลก็ น้อย หน่วยงานศุลกากรของภาคีผู้น้าของเข้าจะเพิกเฉยความแตกต่างหรือความผิดพลาดเล็กน้อย เช่น ความแตกต่างเล็กน้อยระหว่างเอกสาร การละเลยข้อมูล ความผิดพลาดในการพิมพ์ หรือการพิมพ์ ข้อมูลเกินจากช่องท่ีก้าหนด โดยมีเง่ือนไขว่าความแตกต่างหรือความผิดพลาดเล็กน้อยเหล่า นี้ ไมก่ อ่ ให้เกิดความสงสยั ในสถานะการได้ถ่นิ ก้าเนดิ ของสนิ คา้ ขอ้ 3.27: ขอ้ กาหนดในการเก็บรักษาขอ้ มลู 1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องกา้ หนดให้ (เอ) ผู้สง่ ของออก ผู้ผลิต หนว่ ยงานผู้ออกหนงั สอื รับรองถนิ่ ก้าเนดิ สนิ ค้า หรือ หน่วยงาน ผู้มีอ้านาจ ต้องเก็บรักษาข้อมูลท่ีจ้าเป็นทั้งหมดส้าหรับการพิสูจน์ว่าสินค้าท่ีแสดง ในหลกั ฐานการรับรองถน่ิ ก้าเนิดสินค้าเปน็ สนิ คา้ ทไี่ ดถ้ น่ิ กา้ เนดิ เปน็ เวลาไม่น้อยกว่า สาม (3) ปี นับจากวันท่ีออกหลักฐานการรับรองถิ่นก้าเนิดสินค้าน้ันหรือ เป็นระยะเวลาท่ีนานกว่าตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับท่ีเกี่ยวข้องของภาคี ผ้สู ่งของออก (บี) ผู้น้าของเข้าต้องเก็บรักษาข้อมูลที่จ้าเป็นท้ังหมดส้าหรับการพิสูจน์ว่าสินค้าท่ีขอรับ สิทธิพิเศษทางอากรศุลกากรเป็นสินค้าที่ได้ถ่ินก้าเนิด เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสาม (3) ปี นับจากวันท่ีน้าเข้าสินค้า หรือเป็นระยะเวลาที่นานกว่าตามกฎหมายและระเบียบ ข้อบังคับของภาคีผ้นู า้ ของเขา้ 2. ข้อมูลตามที่อ้างถึงในวรรค 1 อาจจะเก็บรักษาไว้ในสื่อกลางใด ๆ ที่อนุญาตให้เรียกดูข้อมูล ได้ในทันที ในรูปแบบดิจทิ ัล อเิ ล็กทรอนกิ ส์ แสง แถบแม่เหล็ก หรือลายลักษณ์อักษร โดยให้ เป็นไปตามกฎหมายและระเบยี บขอ้ บังคบั ของภาคีนัน้ ข้อ 3.28: การปรึกษาหารือ กลมุ่ ภาคจี ะต้องปรกึ ษาหารอื กนั เม่อื จ้าเปน็ เพ่อื ให้แน่ใจไดว้ า่ บทนี้จะถูกน้าไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ในแนวทางเดยี วกัน และสม้่าเสมอ เพื่อใหบ้ รรลุเจตนารมณ์และวตั ถุประสงค์ของความตกลงฉบับน้ี ข้อ 3.29: ระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์สาหรับการแลกเปลย่ี นขอ้ มูลถิน่ กาเนดิ 3-23

- คำ�แปลอย่างไมเ่ ป็นทางการ - กลุ่มภาคีอาจพัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกส์ส้าหรับการแลกเปล่ียนข้อมูลถ่ินก้าเนิด เพ่ือให้แน่ใจว่า การด้าเนินการตามบทนี้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในลักษณะที่ได้ก้าหนดร่วมกัน โดยภาคที ่เี กี่ยวขอ้ ง ขอ้ 3.30: บทเฉพาะกาลสาหรับสินคา้ ผ่านแดน ภาคีจะต้องให้สิทธิพิเศษทางอากรศุลกากรแก่สินค้าท่ีได้ถิ่นก้าเนิด นับตั้งแต่วันที่ความตกลงฉบับน้ี มผี ลใช้บงั คับส้าหรับภาคีนนั้ เมอื่ สินคา้ (เอ) ถกู ขนส่งไปยงั ภาคนี ้ัน โดยเปน็ ไปตามข้อ 3.15 (การส่งมอบโดยตรง) หรอื (บ)ี ไม่ไดน้ ้าเข้าไปยงั ภาคนี ั้น หากมีการขอรับสิทธิพิเศษทางอากรศุลกากรตามเง่ือนไขและระยะเวลาภายใต้ข้อ 3.22 (การขอรับ สิทธิพิเศษทางอากรศุลกากร) ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบ (180) วัน นับต้ังแต่วันท่ีความตกลงฉบับนี้ มีผลใช้บังคบั กบั ภาคนี ้นั ขอ้ 3.31: บทลงโทษ ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องน้ามาใช้หรือรักษาไว้ซึ่งบทลงโทษท่ีเหมาะสมหรือมาตรการอื่นใด ต่อการละเมิด กฎหมายและระเบียบข้อบังคบั ทีเ่ กี่ยวข้องกับบทน้ี ขอ้ 3.32: ภาษาทใ่ี ช้ในการสอ่ื สาร การสื่อสารระหว่างภาคีผู้น้าของเข้าและภาคผี สู้ ่งของออกจะต้องกระท้าเปน็ ภาษาอังกฤษ ขอ้ 3.33: จุดตดิ ต่อ ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องก้าหนดจุดติดต่อหน่ึง (1) จุดหรือมากกว่า เพ่ือประสานงานในการน้าบทนี้ ไปปฏิบัติ และแจ้งรายละเอียดการติดต่อของจุดติดต่อหรือจุดติดต่อเหล่าน้ัน แก่ภาคีอื่น ๆ ภายใน 30 วันนับต้ังแต่วันท่ีความตกลงฉบับนี้มีผลใช้บังคับ ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องแจ้งภาคีอ่ืน ๆ ถึงการ เปลีย่ นแปลงใด ๆ ของรายละเอียดการตดิ ต่อดังกล่าวโดยพลัน ขอ้ 3.34: การแปลงพิกัดศุลกากรกฎเฉพาะรายสนิ ค้า 1. ก่อนท่ีพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ฉบับแก้ไขจะมีผลใช้บังคับ กลุ่มภาคีจะต้องหารือ เพ่ือเตรียมการปรับปรุงบทนี้และภาคผนวก 3 เอ (กฎเฉพาะรายสินค้า) ที่จ้าเป็นเพ่ือการ สะทอ้ นการเปลีย่ นแปลงพิกดั ศลุ กากรระบบฮาร์โมไนซ์ 3-24


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook