Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือระงับอุบัติภัยเบื้องต้นจากวัตถุอันตราย

คู่มือระงับอุบัติภัยเบื้องต้นจากวัตถุอันตราย

Published by pischa.pc, 2021-07-06 07:03:37

Description: คู่มือระงับอุบัติภัยเบื้องต้นจากวัตถุอันตราย

Search

Read the Text Version

Guide กา๊ ซ – อดั ความดัน หรอื กา๊ ซเหลว (รวมท้ังก๊าซเหลวเย็นจัด) 126 [Gases-Compressed or Liquefied (including Refrigerant Gases] อันตรายทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ อัคคีภยั หรอื การระเบิด - สารบางชนดิ อาจลกุ ไหม้ แตไ่ มม่ ชี นดิ ใดลกุ ไหมไ้ ดท้ นั ท ี - ภาชนะบรรจอุ าจระเบดิ เมอื่ ไดร้ บั ความรอ้ น - ถังบรรจุก๊าซทรงกระบอกท่ีฉกี ขาดอาจพุง่ ไปในทศิ ทางต่าง ๆ สขุ ภาพ - ไอสารอาจเกิดอาการมึนศรี ษะหรอื หายใจไมอ่ อกโดยไมร่ ูต้ ัว - ไอระเหยอาจทำ� ใหร้ ะคายเคืองและกดั กรอ่ นอย่างรุนแรง - การสัมผสั ก๊าซหรือก๊าซเหลวอาจเกิดแผลไหม้ บาดเจบ็ สาหสั และ/หรือแผลจากความเย็นจดั - หากสารเกิดลกุ ไหม้ อาจเกิดก๊าซที่มีฤทธิร์ ะคายเคอื ง กดั กรอ่ น และ/หรอื เปน็ พิษ ความปลอดภัยตอ่ สาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉกุ เฉนิ ท่ีระบุในเอกสารก�ำกับขนส่ง หากไม่พบเอกสารฯ หรอื ไม่มผี ู้รับสาย ให้โทรแจง้ หมายเลขที่เหมาะสมท่ีระบุอย่ดู า้ นในปกหลงั คูม่ ือ - กน้ั แยกพน้ื ท่ีทส่ี ารร่ัวไหลทนั ทอี ยา่ งน้อย 100 เมตร (330 ฟตุ ) ทุกทศิ ทาง - กนั บคุ คลท่ีไม่เกี่ยวขอ้ งออกห่างจากพื้นท ่ี - อยู่เหนอื ลม ขึน้ ทสี่ งู และ/หรอื บริเวณเหนือน้�ำ - กา๊ ซหลายชนดิ จะหนกั กว่าอากาศและจะแพร่กระจายไปตามพน้ื สะสมตวั ในทตี่ ำ�่ หรอื ที่อับอากาศ (ท่อระบายน�้ำ ห้องใตด้ นิ ถงั เกบ็ ) - ระบายอากาศในพ้ืนที่ปดิ ก่อนเข้าระงับเหตุ ชดุ ป้องกัน - สวมใสช่ ดุ เครื่องช่วยหายใจสว่ นบคุ คลแบบมถี ังอากาศ (SCBA) - สวมชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมตี ามขอ้ แนะน�ำของบรษิ ทั ผูผ้ ลติ ท้ังน้ีชุดป้องกันอันตราย จากสารเคมีไมส่ ามารถป้องกันอันตรายจากความร้อนสูง - ชุดดับเพลงิ สามารถป้องกนั อันตรายได้อย่างจ�ำกัดเม่ือเกดิ กรณีเพลงิ ไหม้สารแตอ่ าจไม่สามารถ ปอ้ งกันอันตรายอย่างมีประสิทธภิ าพกรณที ี่เกิดเฉพาะการหกร่วั ไหล การอพยพ กรณีรว่ั ไหลปรมิ าณมาก - พจิ ารณาอพยพประชาชนทอ่ี าศยั อย่ใู ตล้ มเบ้ืองตน้ อยา่ งน้อย 500 เมตร (1/3 ไมล)์ กรณีเพลิงไหม้ - หากถงั บรรจขุ นาดใหญ ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทกุ สาร เกยี่ วขอ้ งกบั เพลงิ ไหม้ ใหก้ น้ั แยกพน้ื ทเ่ี กดิ เหต ุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบอ้ื งตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง 200

กา๊ ซ – อัดความดนั หรือ กา๊ ซเหลว (รวมท้ังก๊าซเหลวเยน็ จดั ) Guide [Gases-Compressed or Liquefied (including Refrigerant Gases] 126 เพลิงไหม้ การด�ำเนินการเม่ือเกิดเหตุฉุกเฉนิ - ใชส้ ารดับเพลิงท่ีเหมาะสมกับชนดิ ของเพลงิ ไหม้โดยรอบ เพลงิ ไหมข้ นาดเลก็ - ผงเคมีแห้ง หรือ CO2 เพลิงไหมข้ นาดใหญ่ - ฉดี นำ้� เป็นลำ� ฝอย หมอก หรอื โฟมดบั เพลงิ - เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจอุ อกจากบริเวณเพลงิ ไหม้ หากทำ� ได้โดยไมเ่ สย่ี งอนั ตราย - ท่อบรรจกุ ๊าซทรงกระบอกที่ช�ำรุดต้องไดร้ บั การจัดการโดยผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะ เพลิงไหม/้ เกดิ อยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุ - ฉดี นำ�้ ดับเพลงิ จากระยะไกลทส่ี ดุ หรือใช้หัวฉดี น้�ำชนิดทีไ่ มต่ อ้ งใช้คนควบคมุ หรือใชแ้ ท่นฉีดน้�ำแทน - ฉีดนำ�้ ปรมิ าณมากเพอ่ื หลอ่ เย็นภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลิงจะสงบ - หา้ มฉดี น้�ำไปยังรอยรั่วหรืออุปกรณ์ระบายความดันโดยตรง อาจมีน้�ำแขง็ เกาะบรเิ วณดังกล่าว - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทที่ นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลยี่ นส ี - อยหู่ ่างจากภาชนะบรรจทุ ่ีไฟลกุ ท่วมตลอดเวลา - สารเหล่าน้ีบางชนิด หากรวั่ ไหล อาจมไี อระเหยทล่ี กุ ติดไฟได้ตกค้างในบรเิ วณ การหกรัว่ ไหล - หา้ มสัมผสั หรอื เดนิ ย่�ำผา่ นบริเวณท่ีสารหกร่ัวไหล - ระงับการรัว่ ไหลของท�ำไดโ้ ดยไมเ่ สีย่ งอันตราย - หา้ มฉีดน้�ำใส่สารท่นี องพืน้ ที่หรอื จุดรว่ั ไหลโดยตรง - ใชน้ ำ�้ ฉดี เปน็ ฝอยดกั จับกลุ่มไอระเหยสารเพอื่ ลดความเข้มข้นหรอื เปลีย่ นทิศทางไอระเหย แตพ่ ยายามอยา่ ใหน้ ำ�้ ทฉี่ ดี ไหลไปสมั ผสั กบั ตัวสารท่หี กรว่ั ไหลโดยตรง - หากเปน็ ไปไดใ้ หห้ มนุ ภาชนะบรรจจุ นอยใู่ นตำ� แหนง่ ทจี่ ะมกี า๊ ซรวั่ ออกมาเทา่ นนั้ แทนทจ่ี ะเปน็ ของเหลว - ปอ้ งกนั มใิ ห้สารไหลลงนำ้� ทอ่ ระบายน�้ำ ชนั้ ใตด้ ิน หรือบริเวณอับอากาศ - ปล่อยให้สารระเหยจนหมด - ระบายอากาศบริเวณท่ีเกดิ เหตุ การปฐมพยาบาล - ต้องมั่นใจวา่ บุคลากรทางการแพทยท์ ราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทั้งมกี ารป้องกันตนเอง อย่างเหมาะสม - น�ำผู้บาดเจ็บไปยังพ้นื ท่อี ากาศบรสิ ุทธ์ิ - โทรแจง้ 191 หรือหนว่ ยแพทยเ์ คลื่อนท่ีฉุกเฉิน (1669) - ใชเ้ ครอื่ งช่วยหายใจหากผู้บาดเจ็บหยดุ หายใจ - ให้ออกซเิ จนถ้าผูบ้ าดเจ็บหายใจลำ� บาก - ถอดและแยกเก็บเสอ้ื ผ้าและรองเทา้ ที่ปนเป้ือน - กรณที ี่สัมผัสกบั ก๊าซเหลว ใชน้ ้ำ� อนุ่ ลา้ งเพอ่ื ท�ำใหก้ ลา้ มเนอ้ื บริเวณดังกลา่ วคลายตวั - ใหผ้ บู้ าดเจบ็ อยใู่ นอาการสงบ และใหค้ วามอบอนุ่ รา่ งกาย 201

Guide ของเหลวไวไฟ (ละลายน�้ำ) 127 [ Flammable Liquids (Water Miscible)] อันตรายที่อาจเกิดข้ึน อคั คภี ยั หรือการระเบดิ - ไวไฟสูงมาก : จุดติดไฟได้ง่ายดว้ ยความร้อน ประกายไฟ หรอื เปลวไฟ - เมื่อผสมกบั อากาศอาจเกิดสว่ นผสมทร่ี ะเบิดได้ - ไอระเหยของสารอาจลอยไปหาแหลง่ ความรอ้ นหรอื ประกายไฟ ตดิ ไฟและเปลวไฟยอ้ นกลบั ไปยงั ตน้ กำ� เนดิ - กา๊ ซหลายชนิดจะหนักกวา่ อากาศและจะแพรก่ ระจายไปตามพื้น สะสมตัวในทีต่ �ำ่ หรือท่อี บั อากาศ (ท่อระบายน�้ำ หอ้ งใตด้ ิน ถงั เกบ็ ) - มีความเสี่ยงจากการระเบดิ ของไอระเหยสารทง้ั ภายใน และภายนอกอาคาร หรอื ในท่อระบายน�ำ้ - สารที่ช่อื มีสัญลักษณต์ ัว P อาจเกดิ ระเบดิ เน่ืองจากปฏกิ ิริยาโพลเิ มอไรซ์เมอื่ ไดร้ บั ความรอ้ น หรืออยู่ใกล้เพลงิ ไหม้ - น้�ำเสยี หรอื สารท่ีไหลออกจากทีเ่ กิดเหตอุ าจกอ่ ใหเ้ กิดเพลงิ ไหม้หรือเกิดการระเบิดได้ - ภาชนะบรรจอุ าจระเบิดเมือ่ ไดร้ บั ความรอ้ น - ของเหลวสว่ นใหญเ่ บากวา่ นำ้� สุขภาพ - การสูดดมหรอื สมั ผัสกบั สารอาจทำ� ให้ผิวหนังและดวงตาระคายเคอื งหรอื เปน็ แผลไหม้ - หากสารเกดิ ลุกไหม้ อาจเกิดก๊าซท่ีมีฤทธร์ิ ะคายเคอื ง กดั กร่อน และ/หรอื เป็นพษิ - ไอระเหยสาร อาจท�ำใหม้ ึนงง หรือหายใจล�ำบาก - นำ้� เสียจากการดบั เพลงิ อาจกอ่ มลพษิ ความปลอดภัยตอ่ สาธารณชน - โทรแจง้ หมายเลขฉุกเฉนิ ทีร่ ะบใุ นเอกสารกำ� กับขนสง่ หากไม่พบเอกสารฯ หรือไมม่ ีผู้รบั สาย ใหโ้ ทรแจ้งหมายเลขท่ีเหมาะสมท่รี ะบอุ ยู่ด้านในปกหลงั ค่มู อื - ก้นั แยกพ้นื ท่ที สี่ ารรว่ั ไหลทันทีอยา่ งน้อย 50 เมตร (150 ฟุต) ทกุ ทศิ ทาง - กันบคุ คลที่ไม่เกีย่ วข้องออกหา่ งจากพน้ื ท ่ี - อยเู่ หนอื ลม ข้นึ ทสี่ งู และ/หรือ บริเวณเหนอื น�ำ้ - ระบายอากาศในพื้นทป่ี ดิ กอ่ นเขา้ ระงบั เหตุ ชดุ ปอ้ งกัน - สวมใส่ชุดเครอ่ื งชว่ ยหายใจสว่ นบุคคลแบบมีถงั อากาศ (SCBA) - ชดุ ดบั เพลิงสามารถป้องกนั อนั ตรายได้อยา่ งจ�ำกดั เมือ่ เกิดกรณเี พลิงไหม้สารแต่ อาจไมส่ ามารถ ปอ้ งกันอนั ตรายอย่างมีประสทิ ธิภาพกรณที เี่ กดิ เฉพาะการหกรั่วไหล การอพยพ กรณรี ัว่ ไหล - พจิ ารณาอพยพประชาชนท่ีอาศัยอยู่ใตล้ มเบ้อื งตน้ อย่างนอ้ ย 300 เมตร (1,000 ฟุต) กรณเี พลงิ ไหม้ - หากถงั บรรจขุ นาดใหญ ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทกุ สาร เกยี่ วขอ้ งกบั เพลงิ ไหม้ ใหก้ น้ั แยกพน้ื ทเี่ กดิ เหต ุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบอื้ งตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง 202

ของเหลวไวไฟ (ละลายน�ำ้ ) Guide [ Flammable Liquids (Water Miscible)] 127 การดำ� เนนิ การเมอ่ื เกดิ เหตฉุ ุกเฉิน เพลงิ ไหม้ ค�ำเตอื น : สารเหลา่ นี้มจี ดุ วาบไฟต�ำ่ มาก การดับเพลิงดว้ ยการฉีดน�ำ้ เปน็ ฝอยอาจไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพเพยี งพอ ค�ำเตือน : เพลงิ ไหม้ทเ่ี กี่ยวข้อง UN 1170 UN1987 หรือ UN 3475 ควรใชโ้ ฟมดับเพลิง ชนดิ มีขัว้ เเพพลลงิิงไไหหมม้้ขขนนาาดดใเลหก็ญ ่ - - ผฉงดีเคนมำ�้ แีเปหน็ ้งฝCอOย2หนม�้ำอฉกดี เหปรน็ อื ฝโอฟยมดหับรเือพโลฟิงมชดนบั ิดเมพีขล้ัวิงชนดิ มขี ้วั - หา้ มฉดี นำ�้ เปน็ ลำ� ตรง - เคลอ่ื นยา้ ยภาชนะบรรจอุ อกจากบรเิ วณเพลงิ ไหม้ หากทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ สยี่ งอนั ตราย เพลิงไหม้/เกิดอย่ใู กล้ ภาชนะบรรจุ - ฉดี นำ�้ ดับเพลิงจากระยะไกลทสี่ ดุ หรือใชห้ วั ฉีดน้�ำชนดิ ทไี่ มต่ ้องใช้คนควบคุมหรอื ใช้แท่นฉีดน้�ำแทน - ฉดี นำ�้ ปรมิ าณมากเพ่อื หล่อเยน็ ภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลิงจะสงบ - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทที่ นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลยี่ นส ี - อยหู่ า่ งจากภาชนะบรรจทุ ไี่ ฟลกุ ท่วมตลอดเวลา - ส�ำหรบั เพลิงไหม้รนุ แรงและใหญ่มาก ให้ใช้หัวฉีดน้�ำชนดิ ที่ไมต่ อ้ งใช้มอื จบั หรอื ใช้แท่นฉีดน�้ำแทน หากไม่มใี หถ้ อนกำ� ลงั ออกจากพืน้ ทแี่ ละปลอ่ ยให้ไฟลกุ ไหมจ้ นดบั ไปเอง การหกร่วั ไหล - กำ� จดั แหลง่ ทอ่ี าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทง้ั หมด (หา้ มสบู บหุ ร่ี จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - อปุ กรณ์ที่ใช้ในการถา่ ยเทหรือขนยา้ ยสารต้องต่อสายดนิ - ห้ามสัมผสั หรอื เดินย�ำ่ ผา่ นบรเิ วณท่สี ารหกรว่ั ไหล - ระงับการรว่ั ไหลของทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ ส่ยี งอนั ตราย - อาจใช้โฟมฉดี ดักจบั เพอื่ ลดความไอระเหยสาร - ป้องกนั มิใหส้ ารไหลลงนำ�้ ท่อระบายนำ้� ช้นั ใตด้ ิน หรือบรเิ วณอับอากาศ - ดดู ซบั หรอื ปิดทบั สารด้วยดิน ทรายแหง้ หรอื วัสดุอนื่ ท่ไี ม่ติดไฟ แลว้ เกบ็ ใส่ในภาชนะบรรจุ - ใช้อปุ กรณ์ท่สี ะอาดและไม่กอ่ ให้เกดิ ประกายไฟเกบ็ รวบรวมสารที่ถกู ดูดซับ หกรวั่ ไหลปริมาณมาก - สร้างคนั กนั้ หรือขุดร่องกกั ของเหลวทีแ่ พรก่ ระจายเพอ่ื ส่งกำ� จดั ต่อไป - การฉีดน้ำ� เปน็ ฝอยอาจลดไอระเหยสารได้ แต่อาจไมส่ ามารถป้องกนั การจดุ ตดิ ไฟในพ้นื ทีป่ ดิ ได้ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมน่ั ใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทง้ั มกี ารปอ้ งกนั ตนเองอยา่ งเหมาะสม - นำ� ผบู้ าดเจบ็ ไปยังพนื้ ท่ีอากาศบรสิ ุทธิ ์ - โทรแจง้ 191 หรือหน่วยแพทยเ์ คลือ่ นที่ฉุกเฉิน (1669) - ใช้เคร่อื งช่วยหายใจหากผบู้ าดเจบ็ หยุดหายใจ - ใหอ้ อกซเิ จนถา้ ผู้บาดเจ็บหายใจล�ำบาก - ถอดและแยกเก็บเสือ้ ผา้ และรองเทา้ ทป่ี นเป้อื น - ถ้าสมั ผัสกบั สาร ใหล้ า้ งผวิ หนงั และดวงตาโดยวิธีให้น�้ำไหลผ่านทนั ที อยา่ งนอ้ ย 20 นาที - ล้างผิวหนังด้วยสบแู่ ละน้�ำ - กรณเี กดิ แผลไหม้ ทำ� ใหผ้ ิวหนงั เย็นลงทนั ที ดว้ ยการแช่ในนำ�้ เยน็ นานเท่าท่ีจะท�ำได้ หา้ มถอดเสือ้ ผา้ ท่ตี ิดกับผวิ หนัง - ใหผ้ บู้ าดเจบ็ อยใู่ นอาการสงบ และใหค้ วามอบอนุ่ รา่ งกาย 203

Guide ของเหลวไวไฟ (ไม่ละลายน�้ำ) 128 [Flammable Liquids (Water Immiscible)] อนั ตรายทอี่ าจเกิดข้นึ อัคคภี ยั หรอื การระเบิด - ไวไฟสูงมาก : จุดตดิ ไฟไดง้ ่ายดว้ ยความร้อน ประกายไฟ หรือเปลวไฟ - เม่อื ผสมกับอากาศอาจเกิดสว่ นผสมท่ีระเบดิ ได้ - ไอระเหยของสารอาจลอยไปหาแหลง่ ความรอ้ น/ประกายไฟตดิ ไฟและเปลวไฟยอ้ นกลบั ไปยงั ตน้ กำ� เนดิ อยา่ งรวดเรว็ - ก๊าซหลายชนิดจะหนกั กวา่ อากาศและจะแพร่กระจายไปตามพ้นื สะสมตัวในทต่ี �่ำหรือท่อี บั อากาศ (ท่อระบายนำ้� ห้องใต้ดิน ถงั เกบ็ ) - ภาชนะบรรจอุ าจระเบิดเมื่อได้รับความรอ้ น - ของเหลวสว่ นใหญ่เบากว่านำ�้ - มีความเสย่ี งจากการระเบิดของไอระเหยสารทง้ั ภายใน และภายนอกอาคาร หรือในท่อระบายนำ�้ - สารทช่ี อื่ มสี ญั ลกั ษณต์ วั P อาจเกดิ ระเบดิ เนอื่ งจากปฏกิ ริ ยิ าโพลเิ มอไรซเ์ มอื่ ไดร้ บั ความรอ้ นหรอื อยใู่ กลเ้ พลงิ ไหม้ - น�้ำเสียหรอื สารทีไ่ หลออกจากทเ่ี กิดเหตอุ าจกอ่ ให้เกิดเพลิงไหมห้ รือเกิดการระเบดิ ได้ - สารอาจถกู ขนสง่ ไปในสภาวะรอ้ นจดั - หากมสี ารจำ� พวกอลมู เิ นยี มเหลวใหป้ ฏบิ ตั ติ าม Guide 169 - รถเครอ่ื งยนตไ์ ฮบรดิ ใหด้ ู Guide 147 (สำ� หรับแบตเตอรปี่ ระเภท lithium ion) หรือ Guide 138 (ส�ำหรบั แบตเตอรปี่ ระเภท Sodium) ประกอบ สุขภาพ - การสดู ดมหรือสมั ผสั กับสารอาจทำ� ใหผ้ ิวหนังและดวงตาระคายเคอื งหรอื เปน็ แผลไหม้ - หากสารเกิดลกุ ไหม้ อาจเกดิ กา๊ ซทมี่ ีฤทธ์ริ ะคายเคือง กดั กรอ่ น และ/หรอื เป็นพษิ - ไอระเหยสารอาจท�ำใหม้ ึนงง หรือหายใจล�ำบาก - น้�ำเสียจากการดับเพลงิ อาจกอ่ มลพษิ ความปลอดภยั ตอ่ สาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉนิ ทร่ี ะบุในเอกสารก�ำกับขนสง่ หากไม่พบเอกสารฯ หรือไมม่ ผี ้รู ับสาย ใหโ้ ทรแจง้ หมายเลขทเ่ี หมาะสมทร่ี ะบอุ ยดู่ า้ นในปกหลงั คมู่ อื - อยเู่ หนอื ลม ขน้ึ ทส่ี งู และ/หรอื บรเิ วณเหนอื นำ�้ - กัน้ แยกพืน้ ทที่ ส่ี ารรัว่ ไหลทันทอี ยา่ งนอ้ ย 50 เมตร (150 ฟุต) ทกุ ทิศทาง - กันบุคคลทไี่ ม่เก่ียวข้องออกหา่ งจากพืน้ ท ี่ - ระบายอากาศในพื้นที่ปดิ กอ่ นเขา้ ระงบั เหตุ ชดุ ป้องกัน - สวมใสช่ ุดเครือ่ งช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมถี งั อากาศ (SCBA) - ชุดดับเพลงิ สามารถป้องกันอันตรายอยา่ งจ�ำกดั เมอ่ื เกดิ กรณเี พลงิ ไหมส้ ารแตอ่ าจไมส่ ามารถ ป้องกันอนั ตราย อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ กรณที ่เี กดิ เฉพาะการหกร่วั ไหล การอพยพ กรณรี ัว่ ไหล - พจิ ารณาอพยพประชาชนท่ีอาศัยอยู่ใตล้ มเบือ้ งตน้ อยา่ งนอ้ ย 300 เมตร (1,000 ฟตุ ) กรณเี พลงิ ไหม้ - หากถงั บรรจขุ นาดใหญ ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทกุ สาร เกย่ี วขอ้ งกบั เพลงิ ไหม้ ใหก้ นั้ แยกพน้ื ที่ เกดิ เหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบอ้ื งตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง 204

ของเหลวไวไฟ (ไมล่ ะลายนำ้� ) Guide [Flammable Liquids (Water Immiscible)] 128 การดำ� เนนิ การเม่ือเกดิ เหตุฉกุ เฉนิ เพลิงไหม้ ค�ำเตอื น : สารเหล่าน้ีมจี ดุ วาบไฟต�่ำมาก การดบั เพลงิ ดว้ ยการฉีดน�้ำเป็นฝอยอาจไม่มีประสทิ ธิภาพเพยี งพอ คำ� เตอื น : สำ� หรบั สารทชี่ อื่ มสี ว่ นประกอบของแอลกอฮอลห์ รอื ตวั ทำ� ละลายชนดิ มขี วั้ การใชโ้ ฟมดบั เพลงิ ชนดิ มขี ว้ั อาจมปี ระสทิ ธภิ าพมากกวา่ เเพพลลิิงงไไหหมมข้้ขนนาาดดเใลหก็ญ ่ -- ผฉงีดเคนมำ�้ แีเปห็น้งฝCอOย2หนมำ้� อฉกีดเหปร็นือฝโอฟยมดหบั รเือพโลฟงิมดบั เพลิง - ห้ามฉีดนำ้� เปน็ ลำ� ตรง - เคล่ือนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบรเิ วณเพลิงไหม้ หากทำ� ได้โดยไม่เสย่ี งอันตราย เพลงิ ไหม/้ เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุ - ฉีดนำ้� ดับเพลงิ จากระยะไกลท่สี ดุ หรอื ใช้หวั ฉีดนำ้� ชนิดทีไ่ มต่ ้องใช้คนควบคุมหรอื ใช้แท่นฉีดน�้ำแทน - ฉีดนำ�้ ปรมิ าณมากเพอื่ หลอ่ เยน็ ภาชนะบรรจุ จนกวา่ เพลงิ จะสงบ - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทที่ นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลย่ี นสี - อยหู่ า่ งจากภาชนะบรรจุท่ไี ฟลกุ ท่วมตลอดเวลา - ส�ำหรับเพลงิ ไหมร้ ุนแรงและใหญ่มาก ให้ใช้หวั ฉีดน้�ำชนิดทไ่ี ม่ตอ้ งใช้มือจับหรือใชแ้ ท่นฉดี น�้ำแทน หากไม่มใี หถ้ อนกำ� ลงั ออกจากพ้นื ที่และปล่อยใหไ้ ฟลุกไหมจ้ นดบั ไปเอง การหกร่วั ไหล - กำ� จดั แหลง่ ทอี่ าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทง้ั หมด (หา้ มสบู บหุ ร่ี จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - อปุ กรณท์ ใี่ ช้ในการถา่ ยเทหรอื ขนย้ายสารต้องต่อสายดนิ - หา้ มสมั ผสั หรอื เดนิ ยำ่� ผา่ นบรเิ วณทสี่ ารหกรว่ั ไหล - ระงบั การรวั่ ไหลของทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ สยี่ งอนั ตราย - ป้องกนั มใิ ห้สารไหลลงน�ำ้ ทอ่ ระบายน้�ำ ช้ันใต้ดิน หรอื บรเิ วณอับอากาศ - อาจใชโ้ ฟมฉดี ดักจบั เพือ่ ลดความไอระเหยสาร - ดดู ซบั หรอื ปิดทับสารด้วยดนิ ทรายแหง้ หรือวสั ดุอืน่ ทีไ่ มต่ ิดไฟ แลว้ เก็บใส่ในภาชนะบรรจุ - ใชอ้ ปุ กรณท์ ่ีสะอาดและไมก่ ่อใหเ้ กดิ ประกายไฟเกบ็ รวบรวมสารทถี่ กู ดูดซบั หกรั่วไหลปรมิ าณมาก - สรา้ งคันกั้นหรอื ขุดร่องกกั ของเหลวทีแ่ พร่กระจายเพอ่ื กำ� จดั ตอ่ ไป - การฉีดน�้ำเป็นฝอยอาจลดไอระเหยสารได้ แตอ่ าจไมส่ ามารถปอ้ งกันการจดุ ตดิ ไฟในพน้ื ท่ีปิดได้ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมนั่ ใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทง้ั มกี ารปอ้ งกนั ตนเองอยา่ งเหมาะสม - น�ำผ้บู าดเจบ็ ไปยังพืน้ ที่อากาศบรสิ ุทธ ิ์ - โทรแจ้ง 191 หรอื หน่วยแพทย์เคลอื่ นที่ฉุกเฉนิ (1669) - ใชเ้ คร่ืองช่วยหายใจหากผบู้ าดเจบ็ หยุดหายใจ - ใหอ้ อกซเิ จนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจล�ำบาก - ถอดและแยกเกบ็ เส้ือผา้ และรองเท้าทป่ี นเปื้อน - ถ้าสมั ผสั กับสาร ให้ลา้ งผิวหนังและดวงตาโดยวิธใี หน้ �้ำไหลผ่านทันที อย่างน้อย 20 นาที - ล้างผิวหนังดว้ ยสบู่และน้�ำ - กรณเี กดิ แผลไหม้ ท�ำใหผ้ วิ หนงั เยน็ ลงทันที ด้วยการแชใ่ นน้ำ� เย็นนานเทา่ ทีจ่ ะทำ� ได้ หา้ มถอดเสือ้ ผ้าทต่ี ิดกบั ผวิ หนงั - ใหผ้ บู้ าดเจบ็ อยใู่ นอาการสงบ และใหค้ วามอบอนุ่ รา่ งกาย 205

Guide ของเหลวไวไฟ (ละลายน้�ำ/อันตรายรา้ ยแรง) 129 [Flammable Liquids (Water-Miscible / Noxious)] อันตรายท่อี าจเกดิ ขึน้ อคั คีภัยหรือการระเบดิ - ไวไฟสงู มาก : จดุ ติดไฟได้ง่ายด้วยความร้อน ประกายไฟ หรือเปลวไฟ - เมื่อผสมกับอากาศอาจเกิดสว่ นผสมท่ีระเบดิ ได้ - ไอระเหยของสารอาจลอยไปหาแหลง่ ความรอ้ นหรอื ประกายไฟ ตดิ ไฟและเปลวไฟยอ้ นกลบั ไปยงั ตน้ กำ� เนดิ อยา่ งรวดเรว็ - ภาชนะบรรจอุ าจระเบิดเมือ่ ได้รบั ความร้อน - กา๊ ซหลายชนดิ จะหนกั กวา่ อากาศและจะแพรก่ ระจายไปตามพน้ื สะสมตวั ในทตี่ ำ่� หรอื ทอ่ี บั อากาศ (ทอ่ ระบายน้ำ� หอ้ งใตด้ ิน ถังเกบ็ ) - มคี วามเสย่ี งจากการระเบดิ ของไอระเหยสารทง้ั ภายใน และภายนอกอาคาร หรอื ในทอ่ ระบายนำ�้ - สารทีช่ ่ือมีสัญลกั ษณต์ วั P อาจเกดิ ระเบิดเนื่องจากปฏิกริ ยิ าโพลเิ มอไรซ์เมื่อได้รบั ความรอ้ น หรอื อยู่ใกลเ้ พลิงไหม ้ - ของเหลวสว่ นใหญเ่ บากว่านำ้� - น้�ำเสียหรอื สารทไี่ หลออกจากท่ีเกิดเหตุอาจกอ่ ให้เกิดเพลงิ ไหมห้ รอื เกิดการระเบดิ ได้ สุขภาพ - การสูดดมหรือสัมผัสกับสารอาจทำ� ให้ผิวหนังและดวงตาระคายเคืองหรอื เปน็ แผลไหม้ - หากสารเกดิ ลุกไหม้ อาจเกิดกา๊ ซท่ีมีฤทธริ์ ะคายเคือง กดั กรอ่ น และ/หรอื เป็นพษิ - ไอระเหยสารอาจท�ำใหม้ นึ งง หรอื หายใจล�ำบาก - นำ�้ เสียจากการดับเพลงิ อาจก่อมลพิษ ความปลอดภยั ต่อสาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉกุ เฉนิ ทีร่ ะบใุ นเอกสารกำ� กบั ขนสง่ หากไมพ่ บเอกสารฯ หรือไมม่ ีผูร้ บั สาย ใหโ้ ทรแจง้ หมายเลขท่ีเหมาะสมท่ีระบอุ ยู่ด้านในปกหลงั ค่มู อื - กน้ั แยกพน้ื ทที่ ่สี ารรัว่ ไหลทันทีอย่างนอ้ ย 50 เมตร (150 ฟตุ ) ทุกทิศทาง - กนั บุคคลท่ไี มเ่ กย่ี วข้องออกหา่ งจากพน้ื ท ่ี - อยเู่ หนอื ลม ขนึ้ ทส่ี งู และ/หรอื บรเิ วณเหนอื นำ�้ - ระบายอากาศในพื้นท่ีปิดก่อนเขา้ ระงบั เหตุ ชุดป้องกนั - สวมใสช่ ดุ เคร่อื งช่วยหายใจส่วนบคุ คลแบบมีถังอากาศ (SCBA) - ชดุ ดบั เพลงิ สามารถปอ้ งกนั อนั ตรายได้อยา่ งจ�ำกดั เม่อื เกดิ กรณเี พลงิ ไหม้สารแต่อาจไมส่ ามารถ ปอ้ งกันอนั ตรายอยา่ งมปี ระสิทธิภาพกรณที เี่ กดิ เฉพาะการหกร่วั ไหล การอพยพ กรณรี วั่ ไหล - พจิ ารณาอพยพประชาชนที่อาศยั อยู่ใตล้ มเบือ้ งต้น อยา่ งนอ้ ย 300 เมตร (1,000 ฟุต) กรณเี พลงิ ไหม ้ - หากถงั บรรจขุ นาดใหญ ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทกุ สาร เกยี่ วขอ้ งกบั เพลงิ ไหม้ ใหก้ นั้ แยกพน้ื ที่ เกดิ เหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบอื้ งตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง 206

ของเหลวไวไฟ (ละลายน้�ำ/อันตรายร้ายแรง) Guide [Flammable Liquids (Water-Miscible / Noxious)] 129 การดำ� เนนิ การเมื่อเกดิ เหตฉุ ุกเฉนิ เพลิงไหม้ คำ� เตือน : สารเหล่าน้ีมีจุดวาบไฟต�่ำมาก การดับเพลิงดว้ ยการฉีดน�ำ้ เป็นฝอยอาจไม่มีประสิทธภิ าพเพียงพอ -เพ ลหิงไ้าหมมใช้ข้นผางดเเคลม็กแี ห -ง้ ดผับงเเพคมลิงแี ทหีเ่ง้ กยี่CวOข2้องนกำ�้ ับฉสดี าเปรน็ ไฝนอโยตรหมรีเทือโนฟ(มUดNับ1เ2พ6ล1)ิงชหนริดอื มไีขนว้ั โตรอเี ทน (UN 2842) เพลงิ ไหม้ขนาดใหญ่ - ฉีดน้ำ� เป็นฝอย หมอก หรอื โฟมดับเพลิงชนดิ มีขั้ว - ห้ามฉีดนำ้� เปน็ ลำ� ตรง - เคล่ือนย้ายภาชนะบรรจอุ อกจากบรเิ วณเพลงิ ไหม้ หากทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ ส่ียงอนั ตราย เพลงิ ไหม้/เกดิ อย่ใู กล้ ภาชนะบรรจุ - ฉดี นำ้� ดบั เพลงิ จากระยะไกลทส่ี ดุ หรอื ใชห้ วั ฉดี นำ�้ ชนดิ ทไี่ มต่ อ้ งใชค้ นควบคมุ หรอื ใชแ้ ทน่ ฉดี นำ้� แทน - ฉดี น้ำ� ปริมาณมากเพือ่ หลอ่ เย็นภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลงิ จะสงบ - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทท่ี นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลยี่ นสี - อยูห่ า่ งจากภาชนะบรรจุทไ่ี ฟลุกท่วมตลอดเวลา - ส�ำหรบั เพลงิ ไหมร้ นุ แรงและใหญ่มาก ให้ใชห้ ัวฉีดน้�ำชนิดท่ีไมต่ อ้ งใช้มอื จบั หรอื ใชแ้ ท่นฉีดน�้ำแทน หากไม่มีให้ถอนกำ� ลงั ออกจากพน้ื ทีแ่ ละปล่อยใหไ้ ฟลกุ ไหม้จนดบั ไปเอง การหกรัว่ ไหล - กำ� จดั แหลง่ ทอี่ าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทงั้ หมด (หา้ มสบู บหุ รี่ จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการถา่ ยเทหรอื ขนยา้ ยสารตอ้ งต่อสายดนิ - ห้ามสมั ผัสหรอื เดินย�่ำผ่านบริเวณท่ีสารหกรั่วไหล - อาจฉดี โฟมดกั จบั เพอื่ ลดไอระเหยสาร - ระงบั การรัว่ ไหลของสาร หากท�ำได้โดยไม่เส่ยี งอนั ตราย - ป้องกันมใิ ห้สารไหลลงน�ำ้ ทอ่ ระบายน�้ำ ช้ันใตด้ ิน หรือบริเวณอบั อากาศ - ดูดซบั หรอื ปิดทบั สารดว้ ยดนิ ทรายแห้ง หรอื วัสดุอน่ื ทไ่ี มต่ ดิ ไฟ แล้วเกบ็ ใสใ่ นภาชนะบรรจุ - ใชอ้ ุปกรณท์ ี่สะอาดและไม่ก่อใหเ้ กิดประกายไฟเกบ็ รวบรวมสารทีถ่ กู ดูดซับ หกรว่ั ไหลปริมาณมาก - สร้างคนั กน้ั หรือขุดร่องกกั ของเหลวท่แี พรก่ ระจายเพอ่ื ส่งกำ� จดั ตอ่ ไป - การฉีดน้�ำเปน็ ฝอยอาจลดไอระเหยสารได้ แต่อาจไม่สามารถป้องกันการจุดตดิ ไฟในพ้นื ท่ีปิดได้ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมน่ั ใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทงั้ มกี ารปอ้ งกนั ตนเองอยา่ งเหมาะสม - น�ำผู้บาดเจ็บไปยังพ้นื ที่อากาศบรสิ ทุ ธ ์ิ - โทรแจ้ง 191 หรอื หน่วยแพทย์เคล่ือนทฉ่ี ุกเฉนิ (1669) - ใช้เครอ่ื งชว่ ยหายใจหากผูบ้ าดเจบ็ หยดุ หายใจ - ใหอ้ อกซิเจนถ้าผบู้ าดเจบ็ หายใจล�ำบาก - ถอดและแยกเกบ็ เส้อื ผา้ และรองเทา้ ที่ปนเปื้อน - ล้างผิวหนังดว้ ยสบ่แู ละนำ้� - ถ้าสัมผสั กบั สาร ใหล้ า้ งผวิ หนังและดวงตาโดยวธิ ใี หน้ �้ำไหลผ่านทันที อย่างนอ้ ย 20 นาที - กรณเี กดิ แผลไหม้ ทำ� ใหผ้ วิ หนงั เยน็ ลงทนั ที ดว้ ยการแชใ่ นนำ้� เยน็ นานเทา่ ทจ่ี ะทำ� ได้ หา้ มถอดเสอื้ ผา้ ทตี่ ดิ กบั ผวิ หนงั - ใหผ้ บู้ าดเจบ็ อยใู่ นอาการสงบ และใหค้ วามอบอนุ่ รา่ งกาย - อาการบาดเจบ็ จากการสัมผัสหรือการสูดดมอาจเกดิ ขึน้ ช้า 207

Guide ของเหลวไวไฟ (ไม่ละลายน้�ำ/อนั ตรายร้ายแรง) 130 [ Flammable Liquids (Water-Immiscible/Noxious)] อนั ตรายท่ีอาจเกิดข้ึน อัคคีภยั หรือการระเบดิ - ไวไฟสูงมาก : จุดตดิ ไฟไดง้ ่ายดว้ ยความร้อน ประกายไฟ หรือเปลวไฟ - เมอื่ ผสมกับอากาศอาจเกิดส่วนผสมที่ระเบดิ ได้ - ไอระเหยของสารอาจลอยไปหาแหลง่ ความรอ้ นหรอื ประกายไฟตดิ ไฟและเปลวไฟยอ้ นกลบั ไปยงั ตน้ กำ� เนดิ อยา่ งรวดเรว็ - กา๊ ซหลายชนดิ จะหนกั กว่าอากาศและจะแพร่กระจายไปตามพนื้ สะสมตวั ในท่ีต�่ำหรือท่ีอับอากาศ (ทอ่ ระบายน้�ำ ห้องใต้ดิน ถังเก็บ) - มีความเสี่ยงจากการระเบิดของไอระเหยสารทงั้ ภายในและภายนอกอาคาร หรอื ในทอ่ ระบายนำ้� - สารทช่ี อื่ มสี ญั ลกั ษณต์ วั P อาจเกดิ ระเบดิ เนอื่ งจากปฏกิ ริ ยิ าโพลเิ มอไรซเ์ มอ่ื ไดร้ บั ความรอ้ นหรอื อยใู่ กลเ้ พลงิ ไหม้ - น�้ำเสียหรือสารทไ่ี หลออกจากทเี่ กดิ เหตุอาจก่อให้เกดิ เพลิงไหมห้ รือเกิดการระเบิดได้ - ภาชนะบรรจอุ าจระเบดิ เมอ่ื ไดร้ บั ความรอ้ น - ของเหลวส่วนใหญ่เบากว่านำ้� สขุ ภาพ - อาจเป็นพิษหากสดู ดมหรือซึมผ่านผิวหนงั - การสดู ดมหรือสัมผสั กบั สารอาจทำ� ใหผ้ วิ หนังและดวงตาระคายเคอื งหรือเป็นแผลไหม้ - หากสารเกิดลุกไหม้ อาจเกิดก๊าซที่มฤี ทธ์ริ ะคายเคือง กัดกร่อน และ/หรอื เปน็ พษิ - ไอระเหยสารอาจท�ำให้มนึ งง หรือหายใจล�ำบาก - นำ้� เสยี จากการดบั เพลงิ อาจก่อมลพษิ ความปลอดภยั ต่อสาธารณชน - โทรแจง้ หมายเลขฉุกเฉนิ ที่ระบใุ นเอกสารก�ำกับขนส่ง หากไม่พบเอกสารฯ หรือไม่มีผ้รู ับสาย ใหโ้ ทรแจง้ หมายเลขทเี่ หมาะสมทรี่ ะบอุ ยดู่ า้ นในปกหลงั คมู่ อื - อยเู่หนอื ลม ขนึ้ ทสี่ งู และ/หรอื บรเิ วณเหนอื นำ�้ - กนั้ แยกพ้นื ที่ท่สี ารรวั่ ไหลทันทอี ยา่ งน้อย 50 เมตร (150 ฟุต) ทกุ ทศิ ทาง - กันบคุ คลทีไ่ มเ่ กยี่ วข้องออกห่างจากพนื้ ท ี่ - ระบายอากาศในพ้นื ทป่ี ดิ ก่อนเขา้ ระงบั เหตุ ชุดปอ้ งกนั - สวมใส่ชุดเคร่ืองชว่ ยหายใจส่วนบคุ คลแบบมีถังอากาศ (SCBA) - ชดุ ดบั เพลิงสามารถปอ้ งกนั อนั ตรายได้อย่างจ�ำกัดเม่ือเกิดกรณีเพลิงไหมส้ ารแตอ่ าจไม่สามารถ ป้องกันอันตรายอย่างมีประสทิ ธภิ าพกรณที เี่ กดิ เฉพาะการหกรว่ั ไหล การอพยพ กรณรี ่ัวไหล - พิจารณาอพยพประชาชนทีอ่ าศัยอยูใ่ ต้ลมเบ้ืองต้น อย่างน้อย 300 เมตร (1,000 ฟุต) กรณเี พลงิ ไหม้ - หากถงั บรรจขุ นาดใหญ ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทกุ สาร เกย่ี วขอ้ งกบั เพลงิ ไหม้ ใหก้ น้ั แยกพนื้ ท่ี เกดิ เหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบอื้ งตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง 208

ของเหลวไวไฟ (ไมล่ ะลายน้�ำ/อนั ตรายรา้ ยแรง) Guide [ Flammable Liquids (Water-Immiscible/Noxious)] 130 การดำ� เนินการเม่ือเกิดเหตฉุ กุ เฉนิ เพลิงไหม้ ค�ำเตอื น : สารเหล่านมี้ ีจดุ วาบไฟต่ำ� มาก การดับเพลิงดว้ ยการฉดี น�้ำเป็นฝอยอาจไม่มีประสิทธภิ าพเพยี งพอ เเพพลลงิงิ ไไหหมมข้ข้ นนาาดดใเลหก็ญ ่ -- ฉผดีงเนคำ้� มเปีแห็น้งฝอCยOห2 มนอำ้� กฉดี หเปรือ็นโฝฟอมยดบัหเรพอื ลโฟงิ มดับเพลิง - หา้ มฉดี นำ้� เปน็ ลำ� ตรง - เคลอ่ื นยา้ ยภาชนะบรรจอุ อกจากบรเิ วณเพลงิ ไหม้ หากทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ สยี่ งอนั ตราย เพลงิ ไหม/้ เกิดอยใู่ กล้ ภาชนะบรรจุ - ฉดี นำ�้ ดบั เพลิงจากระยะไกลทส่ี ุด หรือใช้หวั ฉีดนำ้� ชนดิ ทีไ่ ม่ตอ้ งใชค้ นควบคมุ หรอื ใชแ้ ทน่ ฉดี น้�ำแทน - ฉีดนำ้� ปริมาณมากเพือ่ หลอ่ เย็นภาชนะบรรจุ จนกวา่ เพลงิ จะสงบ - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทท่ี นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลย่ี นสี - อยหู่ า่ งจากภาชนะบรรจทุ ไี่ ฟลกุ ท่วมตลอดเวลา - ส�ำหรับเพลงิ ไหมร้ ุนแรงและใหญ่มาก ใหใ้ ชห้ วั ฉดี น้�ำชนดิ ที่ไม่ตอ้ งใชม้ อื จบั หรือใชแ้ ท่นฉดี น�้ำแทน หากไม่มีให้ถอนก�ำลงั ออกจากพนื้ ทีแ่ ละปลอ่ ยใหไ้ ฟลุกไหมจ้ นดบั ไปเอง การหกร่ัวไหล - กำ� จดั แหลง่ ทอี่ าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทง้ั หมด (หา้ มสบู บหุ รี่ จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - อาจฉีดโฟมดักจบั เพอื่ ลดไอระเหยสาร - อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการถา่ ยเทหรอื ขนยา้ ยสารตอ้ งตอ่ สายดนิ - หา้ มสมั ผสั หรอื เดนิ ยำ่� ผา่ นบรเิ วณทส่ี ารหกรวั่ ไหล - ระงับการร่วั ไหลของสาร หากทำ� ได้โดยไมเ่ ส่ยี งอนั ตราย - ป้องกนั มิใหส้ ารไหลลงนำ้� ทอ่ ระบายน�้ำ ชน้ั ใตด้ ิน หรอื บรเิ วณอับอากาศ - ดูดซับหรือปดิ ทับสารดว้ ยดิน ทรายแห้ง หรอื วัสดอุ นื่ ทีไ่ มต่ ิดไฟ แล้วเกบ็ ใส่ในภาชนะบรรจุ - ใชอ้ ปุ กรณท์ ่ีสะอาดและไมก่ ่อให้เกดิ ประกายไฟเกบ็ รวบรวมสารท่ีถกู ดูดซบั หกร่ัวไหลปริมาณมาก - สรา้ งคนั กนั้ หรอื ขดุ ร่องกักของเหลวทีแ่ พร่กระจายเพื่อกำ� จัดต่อไป - การฉีดน�้ำเป็นฝอยอาจลดไอระเหยสารได้ แตอ่ าจไมส่ ามารถปอ้ งกนั การจดุ ตดิ ไฟในท่พี ื้นทป่ี ิดได้ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมั่นใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนดิ และอันตรายของสารตา่ งๆ รวมทัง้ มกี ารปอ้ งกนั ตนเอง อย่างเหมาะสม - น�ำผู้บาดเจ็บไปยงั พืน้ ทีอ่ ากาศบรสิ ทุ ธิ์ - โทรแจ้ง 191 หรอื หนว่ ยแพทย์เคล่ือนทฉี่ กุ เฉนิ (1669) - ใชเ้ ครือ่ งช่วยหายใจหากผู้บาดเจบ็ หยุดหายใจ - ให้ออกซเิ จนถ้าผู้บาดเจบ็ หายใจลำ� บาก - ถอดและแยกเก็บเส้อื ผา้ และรองเทา้ ทปี่ นเป้อื น - ล้างผวิ หนงั ด้วยสบู่และน้�ำ - ถา้ สมั ผัสกบั สาร ใหล้ า้ งผิวหนังและดวงตาโดยวิธใี หน้ ำ�้ ไหลผ่านทันที อย่างนอ้ ย 20 นาที - กรณเี กดิ แผลไหม้ ทำ� ใหผ้ วิ หนงั เยน็ ลงทนั ที ดว้ ยการแชใ่ นนำ้� เยน็ นานเทา่ ทจี่ ะทำ� ได้ หา้ มถอดเสอ้ื ผา้ ทตี่ ดิ กบั ผวิ หนงั - ใหผ้ บู้ าดเจบ็ อยใู่ นอาการสงบ และใหค้ วามอบอนุ่ รา่ งกาย - อาการบาดเจบ็ จากการสมั ผัสหรอื การสูดดมอาจเกดิ ข้นึ ช้า 209

Guide ของเหลวไวไฟ – เป็นพษิ 131 [ Flammable Liquid-Toxic] อนั ตรายทอี่ าจเกิดขึ้น สุขภาพ - เปน็ พิษ : การสดู ดมหรอื การดดู ซมึ ทางผิวหนงั อาจทำ� ให้เสยี ชีวิต - การสูดดมหรอื สมั ผสั กับสารอาจท�ำใหผ้ ิวหนงั และดวงตาระคายเคอื งหรือเป็นแผลไหม้ - หากสารเกิดลุกไหม้ อาจเกดิ ก๊าซที่มฤี ทธ์ริ ะคายเคอื ง กดั กร่อน และ/หรอื เป็นพิษ - ไอระเหยสารอาจทำ� ใหม้ นึ งง หรอื หายใจลำ� บาก - นำ้� เสียจากการดบั เพลิงอาจก่อมลพษิ อัคคีภยั หรอื การระเบิด - ไวไฟสูงมาก : จุดตดิ ไฟไดง้ า่ ยด้วยความร้อน ประกายไฟ หรือเปลวไฟ - ไอระเหยของสารอาจลอยไปหาแหลง่ ความรอ้ นหรอื ประกายไฟ ตดิ ไฟและเปลวไฟยอ้ นกลบั ไปยงั ตน้ กำ� เนดิ อยา่ งรวดเรว็ - เม่ือผสมกับอากาศอาจเกดิ สว่ นผสมท่ีระเบิดได้ - กา๊ ซหลายชนดิ จะหนกั กว่าอากาศและจะแพรก่ ระจายไปตามพื้น สะสมตัวในทีต่ ำ�่ หรือทอ่ี บั อากาศ (ทอ่ ระบายน�ำ้ ห้องใต้ดิน ถังเก็บ) - มีความเสีย่ งจากการระเบดิ ของไอระเหยสารทง้ั ภายใน และภายนอกอาคาร หรอื ในท่อระบายนำ�้ - สารทช่ี อ่ื มสี ญั ลกั ษณต์ วั P อาจเกดิ ระเบดิ เนอ่ื งจากปฏกิ ริ ยิ าโพลเิ มอไรซเ์ มอ่ื ไดร้ บั ความรอ้ นหรอื อยใู่ กลเ้ พลงิ ไหม้ - น�้ำเสยี หรอื สารที่ไหลออกจากที่เกดิ เหตุอาจกอ่ ใหเ้ กดิ เพลงิ ไหมห้ รือเกิดการระเบิดได้ - ภาชนะบรรจุอาจระเบดิ เม่ือไดร้ ับความร้อน - ของเหลวส่วนใหญ่เบากว่าน้�ำ ความปลอดภยั ต่อสาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉินทีร่ ะบุในเอกสารก�ำกบั ขนส่ง หากไม่พบเอกสารฯ หรอื ไมม่ ีผู้รับสาย ให้โทรแจ้งหมายเลขทีเ่ หมาะสมท่ีระบุอย่ดู ้านในปกหลงั คมู่ ือ - กั้นแยกพนื้ ท่ที ีส่ ารรว่ั ไหลทันทีอยา่ งนอ้ ย 50 เมตร (150 ฟุต) ทุกทศิ ทาง - กันบคุ คลท่ีไมเ่ กี่ยวข้องออกหา่ งจากพืน้ ท ่ี - อยู่เหนอื ลม ขึน้ ทีส่ งู และ/หรอื บรเิ วณเหนอื น�้ำ - ระบายอากาศในพนื้ ท่ปี ิดก่อนเข้าระงับเหตุ ชดุ ป้องกนั - สวมใสช่ ดุ เครื่องชว่ ยหายใจสว่ นบุคคลแบบมถี ังอากาศ (SCBA) - สวมชดุ ปอ้ งกันอันตรายจากสารเคมีตามขอ้ แนะน�ำของบริษทั ผผู้ ลติ ท้งั นีช้ ุดป้องกันอนั ตรายจากสารเคมี ไมส่ ามารถป้องกันอันตรายจากความรอ้ นสูง - ชุดดบั เพลงิ สามารถปอ้ งกันอนั ตรายได้อยา่ งจำ� กัดเมอ่ื เกิดกรณเี พลงิ ไหม้สารแต่อาจไมส่ ามารถปอ้ งกนั อันตรายอย่างมีประสิทธภิ าพกรณีทเี่ กดิ เฉพาะการหกร่ัวไหล การอพยพ กรณีรัว่ ไหล สำ� หรบั สารท่ีช่ือมีแรเงา ดูข้อมูลในตารางกำ� หนดระยะก้นั เขตเบื้องตน้ และระยะปกป้องสาธารณชน ส�ำหรบั สารทช่ี ือ่ ไมม่ แี รเงา ใหเ้ พิ่มระยะทางในการพจิ ารณาอพยพประชาชนเทา่ ที่จำ� เปน็ จากระยะทกี่ �ำหนด ในหวั ข้อ ความปลอดภยั ต่อสาธารณชน กรณีเพลิงไหม้ หากถังบรรจขุ นาดใหญ ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทุกสาร เกยี่ วข้องกบั เพลงิ ไหม้ ใหก้ ั้นแยกพ้ืนท่ีเกิดเหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล์) ทกุ ทศิ ทาง และพิจารณาอพยพประชาชนเบ้ืองต้น 800 เมตร (1/2 ไมล์) ทุกทศิ ทาง 210

ของเหลวไวไฟ – เป็นพษิ Guide [ Flammable Liquid-Toxic] 131 เพลงิ ไหม้ การด�ำเนินการเม่ือเกดิ เหตฉุ ุกเฉิน ค�ำเตือน : สารเหลา่ นม้ี จี ุดวาบไฟต่�ำมาก การดับเพลิงด้วยการฉดี นำ�้ เป็นฝอยอาจไม่มปี ระสทิ ธิภาพเพียงพอ เเพพลลงิงิ ไไหหมมข้้ขนนาาดดเใลห็กญ ่ - - ผ งฉเคีดมนีแำ�้ เหป้งน็ CฝOอย2 น้�ำฉดี เป็นฝอย หรือโฟมดับเพลิงชนดิ มขี ว้ั หมอก หรือโฟมดับเพลงิ ชนดิ มขี ัว้ - เคล่อื นย้ายภาชนะบรรจอุ อกจากบริเวณเพลิงไหม้ หากท�ำไดโ้ ดยไม่เสี่ยงอนั ตราย - สร้างคนั ก้นั หรอื ร่องกักนำ�้ เสียจากการดบั เพลงิ เพื่อนำ� ไปก�ำจดั ภายหลงั หา้ มท�ำใหส้ ารกระจาย - ฉดี นำ�้ เป็นฝอยหรอื หมอก ห้ามฉดี น�้ำเปน็ ลำ� ตรง เพลงิ ไหม้/เกิดอยูใ่ กล้ ภาชนะบรรจุ - ฉีดนำ�้ ดบั เพลงิ จากระยะไกลท่ีสดุ หรือใช้หัวฉดี น้�ำชนิดท่ไี ม่ตอ้ งใช้คนควบคมุ หรอื ใช้แท่นฉดี น้�ำแทน - ฉดี นำ�้ ปรมิ าณมากเพอื่ หลอ่ เยน็ ภาชนะบรรจจุ นกวา่ เพลงิ จะสงบ - อยหู่ า่ งจากภาชนะบรรจทุ ไี่ ฟลกุ ทว่ มตลอดเวลา - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทที่ นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลย่ี นสี - ส�ำหรบั เพลงิ ไหม้รุนแรงและใหญม่ าก ใหใ้ ช้หวั ฉีดน้�ำชนิดทีไ่ ม่ตอ้ งใชม้ ือจบั หรอื ใชแ้ ทน่ ฉีดน้�ำแทน หากไมม่ ใี ห้ถอนกำ� ลงั ออกจากพืน้ ทแ่ี ละปล่อยใหไ้ ฟลกุ ไหมจ้ นดับไปเอง การหกรวั่ ไหล - สวมชุดป้องกันไอระเหยสารแบบคลุมท้งั ตัว หากตอ้ งปฏบิ ตั หิ น้าทีใ่ นบริเวณทมี่ ีการร่ัวไหล แตไ่ ม่มีเพลิงไหม้ - กำ� จดั แหลง่ ทอ่ี าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทง้ั หมด (หา้ มสบู บหุ รี่ จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการถา่ ยเทหรอื ขนยา้ ยสารตอ้ งตอ่ สายดนิ - หา้ มสมั ผสั หรอื เดนิ ยำ่� ผา่ นบรเิ วณทส่ี ารหกรวั่ ไหล - ระงับการรั่วไหลของทำ� ได้โดยไม่เส่ียงอนั ตราย - อาจใช้โฟมฉดี ดกั จบั เพ่อื ลดความไอระเหยสาร - ปอ้ งกันมใิ ห้สารไหลลงนำ้� ท่อระบายนำ้� ชน้ั ใตด้ นิ หรอื บรเิ วณอบั อากาศ หกรั่วไหลปริมาณเล็กนอ้ ย - ดดู ซบั สารดว้ ยดนิ ทรายแหง้ หรอื วสั ดอุ น่ื ทไ่ี มต่ ดิ ไฟ แลว้ เกบ็ ใสใ่ นภาชนะบรรจุ เพอ่ื นำ� ไปกำ� จดั ภายหลงั - ใช้อปุ กรณท์ ่สี ะอาดและไมก่ ่อให้เกิดประกายไฟเกบ็ รวบรวมสารทีถ่ กู ดดู ซบั หกรว่ั ไหลปรมิ าณมาก - สร้างคนั กัน้ หรอื รอ่ งกักของเหลวท่แี พรก่ ระจาย เพื่อก�ำจดั ตอ่ ไป - การฉดี นำ้� เป็นฝอยอาจลดไอระเหยสารได้ แต่อาจไม่สามารถปอ้ งกันการจุดติดไฟในพนื้ ท่ปี ิดได้ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมน่ั ใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทง้ั มกี ารปอ้ งกนั ตนเองอยา่ งเหมาะสม - นำ� ผบู้ าดเจ็บไปยงั พ้ืนทอี่ ากาศบริสทุ ธ ิ์ - โทรแจง้ 191 หรือหนว่ ยแพทย์เคลื่อนทฉ่ี กุ เฉนิ (1669) - ใช้เครือ่ งช่วยหายใจหากผบู้ าดเจ็บหยดุ หายใจ - ห้ามผายปอดด้วยวิธกี ารเป่าปาก หากผูบ้ าดเจบ็ กลนื หรอื หายใจรบั สารเคมเี ขา้ สรู่ า่ งกาย ใหใ้ ช้ เคร่อื งช่วยหายใจชนิดมีท่ีครอบให้อากาศแบบวาล์วทางเดยี ว หรืออปุ กรณ์ช่วยหายใจอน่ื ท่ีเหมาะสม - ให้ออกซเิ จนถ้าผบู้ าดเจบ็ หายใจลำ� บาก - ถอดและแยกเก็บเสอ้ื ผา้ และรองเทา้ ทีป่ นเป้ือน - ถ้าสัมผสั กบั สาร ให้ลา้ งผิวหนังและดวงตาโดยวธิ ใี ห้น้�ำไหลผา่ นทนั ที อยา่ งนอ้ ย 20 นาที - ลา้ งผิวหนังดว้ ยสบู่และนำ�้ - ใหผ้ ้บู าดเจ็บอยใู่ นอาการสงบ และใหค้ วามอบอุ่นร่างกาย - กรณเี กดิ แผลไหม้ ทำ� ใหผ้ วิ หนงั เยน็ ลงทนั ที ดว้ ยการแชใ่ นนำ�้ เยน็ นานเทา่ ทจี่ ะทำ� ได้ หา้ มถอดเสอ้ื ผา้ ทตี่ ดิ กบั ผวิ หนงั - อาการบาดเจบ็ จากการสมั ผัสกบั สาร (สูดดม กนิ สมั ผัส) อาจเกดิ ขึ้นชา้ 211

Guide ของเหลวไวไฟ – กัดกร่อน 132 [Flammable Liquids – Corrosives] อนั ตรายท่ีอาจเกิดขึ้น อคั คีภยั หรอื การระเบิด - สารไวไฟ/ลกุ ติดไฟได้ - อาจจดุ ติดไฟดว้ ยความร้อน ประกายไฟ หรอื เปลวไฟ - เม่ือผสมกบั อากาศอาจเกดิ ส่วนผสมทร่ี ะเบดิ ได้ - ไอระเหยของสารอาจลอยไปหาแหลง่ ความรอ้ นหรอื ประกายไฟ ตดิ ไฟและเปลวไฟยอ้ นกลบั ไปยงั ตน้ กำ� เนดิ อยา่ งรวดเรว็ - ภาชนะบรรจุอาจระเบิดเมื่อได้รบั ความร้อน - กา๊ ซหลายชนดิ จะหนักกว่าอากาศและจะแพรก่ ระจายไปตามพ้นื สะสมตัวในทต่ี ำ�่ หรอื ทอี่ บั อากาศ (ท่อระบายน�้ำ หอ้ งใตด้ นิ ถงั เกบ็ ) - ของเหลวสว่ นใหญเ่ บากวา่ นำ�้ - มีความเสีย่ งจากการระเบดิ ของไอระเหยสารท้ังภายใน และภายนอกอาคาร หรอื ในทอ่ ระบายน้�ำ - สารทช่ี อ่ื มสี ญั ลกั ษณต์ วั P อาจเกดิ ระเบดิ เนอื่ งจากปฏกิ ริ ยิ าโพลเิ มอไรซเ์ มอื่ ไดร้ บั ความรอ้ นหรอื อยใู่ กลเ้ พลงิ ไหม้ - น้�ำเสยี หรือสารทไ่ี หลออกจากที่เกิดเหตอุ าจกอ่ ใหเ้ กดิ เพลิงไหม้หรือเกดิ การระเบิดได้ สุขภาพ - อาจเปน็ พษิ หากสดู ดมหรอื กลนื กนิ - การสมั ผสั กบั สารอาจทำ� ใหผ้ วิ หนงั และดวงตาเกดิ แผลไหมร้ นุ แรง - หากสารเกดิ ลกุ ไหม้ อาจเกิดก๊าซท่มี ฤี ทธริ์ ะคายเคอื ง กัดกรอ่ น และ/หรือเปน็ พิษ - ไอระเหยสารอาจท�ำใหม้ ึนงง หรือหายใจล�ำบาก - น้ำ� เสยี จากการดับเพลิงอาจกอ่ มลพษิ ความปลอดภัยตอ่ สาธารณชน - โทรแจง้ หมายเลขฉกุ เฉินทรี่ ะบุในเอกสารก�ำกบั ขนสง่ หากไมพ่ บเอกสารฯ หรือไมม่ ีผู้รบั สาย ใหโ้ ทรแจ้งหมายเลขทเ่ี หมาะสมทีร่ ะบอุ ยู่ด้านในปกหลงั คูม่ ือ - อยเู่หนอื ลม ขน้ึ ทสี่ งู และ/หรอื บรเิ วณเหนอื นำ้� - กั้นแยกพื้นท่ีทส่ี ารร่ัวไหลทนั ทอี ย่างนอ้ ย 50 เมตร (150 ฟุต) ทกุ ทิศทาง - กนั บคุ คลทไ่ี มเ่ กย่ี วขอ้ งออกหา่ งจากพืน้ ท ่ี - ระบายอากาศในพนื้ ทป่ี ดิ กอ่ นเขา้ ระงับเหตุ ชดุ ปอ้ งกนั - สวมใส่ชดุ เครื่องช่วยหายใจส่วนบคุ คลแบบมถี งั อากาศ (SCBA) - สวมชดุ ปอ้ งกันอันตรายจากสารเคมตี ามข้อแนะน�ำของบรษิ ัทผ้ผู ลติ ทัง้ นี้ชุดป้องกนั อันตราย จากสารเคมไี ม่สามารถป้องกันอันตรายจากความรอ้ นสูง - ชุดดบั เพลงิ สามารถปอ้ งกนั อนั ตรายได้อยา่ งจ�ำกดั เมื่อเกิดกรณเี พลงิ ไหมส้ ารแต่อาจไมส่ ามารถ ปอ้ งกนั อนั ตรายอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพกรณีทเ่ี กิดเฉพาะการหกรั่วไหล การอพยพ กรณรี วั่ ไหล สำ� หรบั สารทช่ี อื่ มแี รเงา ดขู อ้ มลู ในตารางกำ� หนดระยะกน้ั เขตเบอื้ งตน้ และระยะปกปอ้ งสาธารณชน ส�ำหรับสารท่ีชอื่ ไมม่ ีแรเงา ใหเ้ พม่ิ ระยะทางในการพจิ ารณาอพยพประชาชนเท่าทจี่ ำ� เป็น จากระยะ ทกี่ �ำหนดไว้ในหัวขอ้ ความปลอดภัยต่อสาธารณชน กรณีเพลงิ ไหม้ - หากถงั บรรจขุ นาดใหญ ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทกุ สาร เกยี่ วขอ้ งกบั เพลงิ ไหม้ ใหก้ น้ั แยกพน้ื ที่ เกดิ เหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบอ้ื งตน้ 800 เมตร 21 2 (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง

ของเหลวไวไฟ – กัดกร่อน Guide [Flammable Liquids – Corrosives] 132 การดำ� เนนิ การเมอ่ื เกิดเหตุฉุกเฉิน เพลงิ ไหม้ ค�ำเตอื น : สารบางชนดิ ทำ� ปฏกิ ิรยิ าอยา่ งรุนแรงกบั นำ้� เเพพลลงิิงไไหหมมข้ข้ นนาาดดใเหลญ็ก ่ -- ผฉดีงเนคำ้� มเปีแน็หฝ้งอCยOห2มนอำ�้ กฉดีหเรปอื น็ โฟฝมอยดบั หเพรือลโงิ ฟชมนดดิ มบั ขเี พวั้ ล ิง ช- น ิดหมา้ ขีม้ัวฉดี นำ้� เขา้ ไปในภาชนะบรรจุ - เคลื่อนยา้ ยภาชนะบรรจอุ อกจากบรเิ วณเพลิงไหม้ หากทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ สี่ยงอันตราย - สร้างคนั กน้ั หรือขดุ รอ่ งกักนำ้� เสียจากการดบั เพลิงเพือ่ นำ� ไปกำ� จัดภายหลงั หา้ มทำ� ให้สารกระจาย เพลงิ ไหม/้ เกดิ อยูใ่ กล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนสง่ - ฉีดน�ำ้ ดับเพลิงจากระยะไกลทสี่ ดุ หรอื ใช้หวั ฉดี น�ำ้ ชนดิ ที่ไมต่ อ้ งใช้คนควบคุมหรอื ใช้แทน่ ฉีดน้�ำแทน - ฉดี นำ�้ ปรมิ าณมากเพอื่ หลอ่ เยน็ ภาชนะบรรจุ จนกวา่ เพลงิ จะสงบ - อยหู่ า่ งจากภาชนะบรรจทุ ไ่ี ฟลกุ ทว่ มตลอดเวลา - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทที่ นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลย่ี นสี - สำ� หรบั เพลงิ ไหมร้ ุนแรงและใหญ่มาก ให้ใช้หวั ฉดี น้ำ� ชนิดทีไ่ ม่ต้องใช้มือจับหรอื ใช้แทน่ ฉดี น�้ำแทน หากไม่มใี ห้ถอนกำ� ลังออกจากพนื้ ที่และปล่อยใหไ้ ฟลกุ ไหม้จนดบั ไปเอง การหกรว่ั ไหล - สวมชดุ ปอ้ งกนั ไอระเหยสารแบบคลมุ ทง้ั ตวั หากตอ้ งปฏบิ ตั หิ นา้ ทใ่ี นบรเิ วณทม่ี กี ารรวั่ ไหล แตไ่ มม่ เี พลงิ ไหม้ - กำ� จดั แหลง่ ทอี่ าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทง้ั หมด (หา้ มสบู บหุ รี่ จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการถา่ ยเทหรอื ขนยา้ ยสารตอ้ งตอ่ สายดนิ - ระงบั การรว่ั ไหลของทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ สยี่ งอนั ตราย - หา้ มสมั ผสั หรอื เดนิ ยำ่� ผา่ นบรเิ วณทส่ี ารหกรว่ั ไหล - อาจใชโ้ ฟมฉดี ดกั จบั เพอื่ ลดความไอระเหยสาร - ปอ้ งกนั มใิ หส้ ารไหลลงน้ำ� ทอ่ ระบายน้�ำ ช้นั ใตด้ ิน หรือบริเวณอับอากาศ - ดดู ซับสารด้วยดิน ทราย หรอื วัสดอุ ืน่ ทไี่ มต่ ิดไฟ แล้วเก็บใส่ในภาชนะบรรจุ (ยกเว้น Hydrazine) - ใช้อุปกรณ์ทส่ี ะอาดและไมก่ ่อใหเ้ กดิ ประกายไฟเก็บรวบรวมสารทถี่ กู ดดู ซบั หกรวั่ ไหลปริมาณมาก - สร้างคนั กน้ั หรือขุดรอ่ งกักของเหลวทแ่ี พรก่ ระจายเพ่อื กำ� จดั ต่อไป - การฉดี น�้ำเป็นฝอยอาจลดไอระเหยสารได้ แต่อาจไม่สามารถปอ้ งกนั การจดุ ติดไฟในพนื้ ท่ปี ิดได้ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมนั่ ใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทงั้ มกี ารปอ้ งกนั ตนเองอยา่ งเหมาะสม - น�ำผูบ้ าดเจบ็ ไปยงั พ้นื ท่ีอากาศบริสุทธ ิ์ - โทรแจง้ 191 หรือหนว่ ยแพทย์เคลื่อนที่ฉุกเฉิน (1669) - ใชเ้ คร่ืองชว่ ยหายใจหากผบู้ าดเจบ็ หยดุ หายใจ - ใหอ้ อกซิเจนถา้ ผู้บาดเจ็บหายใจล�ำบาก - ห้ามผายปอดด้วยวธิ ีการเปา่ ปาก หากผ้บู าดเจ็บกลนื หรอื หายใจรบั สารเคมีเขา้ ส่รู ่างกาย ใหใ้ ช้ เครื่องชว่ ยหายใจชนิดมที คี่ รอบใหอ้ ากาศแบบวาลว์ ทางเดียว หรอื อุปกรณ์ชว่ ยหายใจอ่ืนท่ีเหมาะสม - ถอดและแยกเก็บเสื้อผา้ และรองเท้าทป่ี นเปื้อน - ถา้ สมั ผสั กบั สาร ใหล้ ้างผิวหนงั และดวงตาโดยวิธีใหน้ �้ำไหลผา่ นทันที อยา่ งนอ้ ย 20 นาที - ให้ผู้บาดเจ็บอย่ใู นอาการสงบ และให้ความอบอุ่นร่างกาย - กรณีเกดิ แผลไหม้ ท�ำใหผ้ วิ หนังเยน็ ลงทันที ด้วยการแช่ในน้�ำเยน็ นานเทา่ ท่จี ะท�ำได้ หา้ มถอดเสอื้ ผา้ ทต่ี ดิ กบั ผวิ หนัง - อาการบาดเจ็บจากการสัมผสั กบั สาร (การสดู ดม กนิ สมั ผสั ) อาจเกิดขึ้นชา้ 213

Guide ของแขง็ ไวไฟ 133 [Flammable Solids] อันตรายที่อาจเกิดข้ึน อคั คีภยั หรอื การระเบิด - สารไวไฟ/ติดไฟได้ - อาจจดุ ติดไฟ เนอ่ื งจากการเสยี ดสี ความร้อน ประกายไฟ หรือเปลวไฟ - สารบางชนดิ ลกุ ไหม้อยา่ งรวดเร็วและเกดิ เปน็ เปลวไฟขนาดใหญ่ - ผง ฝ่นุ หรอื เศษจากการตดั แต่ง เจาะ กลงึ หรือตดั อาจระเบดิ หรอื ลุกไหมพ้ รอ้ มการระเบดิ - สารอาจถูกขนสง่ ในสภาวะหลอมเหลวทมี่ ีอณุ หภมู ิสูงกว่าจดุ วาบไฟของสารนั้น - อาจลุกติดไฟซ�้ำอกี หลังจากดับไฟไดแ้ ล้ว สุขภาพ - หากสารเกิดลุกไหม้ อาจเกดิ กา๊ ซท่มี ีฤทธร์ิ ะคายเคือง และ/หรอื เปน็ พิษ - การสมั ผัสกับสารอาจทำ� ให้ผวิ หนงั และดวงตาเปน็ แผลไหม้ - การสัมผัสกบั สารในสภาวะหลอมเหลวอาจทำ� ใหผ้ วิ หนงั และดวงตาเป็นแผลไหมร้ ุนแรง - น้�ำเสยี จากการดบั เพลิงอาจกอ่ มลพษิ ความปลอดภัยต่อสาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉกุ เฉนิ ที่ระบุในเอกสารกำ� กบั ขนส่ง หากไมพ่ บเอกสารฯ หรอื ไมม่ ีผู้รบั สาย ใหโ้ ทรแจง้ หมายเลขท่เี หมาะสมทรี่ ะบอุ ย่ดู ้านในปกหลงั คมู่ ือ - เพอื่ เปน็ มาตรการปอ้ งกนั เหตฉุ กุ เฉนิ เบอ้ื งตน้ กนั้ แยกพนื้ ทท่ี ส่ี ารรว่ั ไหลทนั ทอี ยา่ งนอ้ ย 25 เมตร (75 ฟตุ ) ทกุ ทศิ ทาง - กันบคุ คลท่ีไมเ่ ก่ยี วข้องออกหา่ งจากพนื้ ท ่ี - อยเู่ หนอื ลม ขน้ึ ทีส่ ูง และ/หรอื บรเิ วณเหนือน้�ำ ชุดป้องกัน - สวมใสช่ ดุ เครือ่ งช่วยหายใจสว่ นบคุ คลแบบมถี งั อากาศ (SCBA) - ชดุ ดับเพลงิ สามารถป้องกนั อนั ตรายได้อยา่ งจ�ำกัดเม่ือเกดิ กรณเี พลงิ ไหม้สารแต่อาจไม่สามารถ ป้องกนั อันตรายอย่างมีประสทิ ธภิ าพกรณีทเี่ กดิ เฉพาะการหกรัว่ ไหล การอพยพ กรณรี วั่ ไหล - พิจารณาอพยพประชาชนทอ่ี าศยั อยู่ใต้ลมเบื้องต้น อย่างน้อย 100 เมตร (300 ฟตุ ) กรณเี พลงิ ไหม้ - หากถงั บรรจขุ นาดใหญ ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทกุ สาร เกยี่ วขอ้ งกบั เพลงิ ไหม้ ใหก้ นั้ แยกพน้ื ทเ่ี กดิ เหต ุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบอื้ งตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง 214

ของแขง็ ไวไฟ Guide [Flammable Solids] 133 การด�ำเนนิ การเมื่อเกดิ เหตุฉกุ เฉิน เพลิงไหม้ เเพพลลิงงิ ไไหหมมขข้้ นนาาดดใเลห็กญ ่ -- ฉผดีงเนคำ้� มเปีแห็น้งฝอCยOห2 มทอรกายหดรอืินโฟนม้�ำดฉดีับเเปพน็ลฝงิ อย หรอื โฟมดบั เพลงิ - เคลอ่ื นยา้ ยภาชนะบรรจุออกจากบริเวณเพลงิ ไหม้ หากทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ สี่ยงอันตราย เพลิงไหม/้ เกดิ อยู่ใกล้ผงโลหะหรอื โลหะในสภาวะหลอมเหลว (เช่น อลูมเิ นียมเหลว) - เพลงิ ไหมอ้ ลมู เิ นยี มเหลวควรดำ� เนนิ การตามวธิ กี ารระงบั เหตเุ พลงิ ไหมโ้ ลหะทลี่ กุ ตดิ ไฟได้ ใชท้ รายแหง้ ผงกราไฟต์ สารดบั เพลงิ ทผ่ี สมเกลอื แหง้ เชน่ ผง G-1 หรอื Met L-X รวมทงั้ ใหด้ ู Guide 170 เพลงิ ไหม/้ เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุ หรอื รถขนสง่ - ฉดี น�้ำปรมิ าณมากเพ่อื หล่อเย็นภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลงิ จะสงบ - ส�ำหรบั เพลิงไหม้รุนแรงและใหญ่มาก ให้ใช้หวั ฉดี น�้ำชนดิ ท่ไี มต่ ้องใชม้ อื จับหรอื ใชแ้ ท่นฉีดน้�ำแทน หากไม่มีให้ถอนก�ำลงั ออกจากพ้นื ท่ีและปล่อยใหไ้ ฟลกุ ไหม้จนดบั ไปเอง - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทที่ นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลย่ี นส ี - อยูห่ า่ งจากภาชนะบรรจทุ ีไ่ ฟลกุ ทว่ มตลอดเวลา การหกร่วั ไหล - กำ� จดั แหลง่ ทอ่ี าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทง้ั หมด (หา้ มสบู บหุ ร่ี จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - ห้ามสัมผัสหรอื เดนิ ย�่ำผ่านบรเิ วณที่สารหกรั่วไหล หกร่ัวไหลปรมิ าณเล็กนอ้ ย (สารแหง้ ) - ตักสารที่หกหล่นด้วยพลวั่ สะอาดใส่ในภาชนะบรรจุท่สี ะอาดและแหง้ และปดิ ฝาอยา่ งหลวมๆ ขนย้ายภาชนะบรรจุนัน้ ออกจากจุดเกดิ เหตุ หกรัว่ ไหลปริมาณมาก - ทำ� ใหส้ ารเปยี กดว้ ยนำ้� และสรา้ งคันก้ันหรอื ขุดร่องกกั สารเพ่ือกำ� จัดต่อไป - ปอ้ งกนั มิให้สารไหลลงนำ�้ ทอ่ ระบายน�้ำ ชั้นใตด้ นิ หรอื บริเวณอับอากาศ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมนั่ ใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทง้ั มกี ารปอ้ งกนั ตนเองอยา่ งเหมาะสม - น�ำผ้บู าดเจ็บไปยังพืน้ ที่อากาศบริสทุ ธ์ิ - โทรแจง้ 191 หรอื หนว่ ยแพทย์เคลอ่ื นที่ฉุกเฉิน (1669) - ใชเ้ ครื่องช่วยหายใจหากผู้บาดเจ็บหยดุ หายใจ - ให้ออกซเิ จนถา้ ผู้บาดเจบ็ หายใจลำ� บาก - ถอดและแยกเกบ็ เสอื้ ผา้ และรองเทา้ ทปี่ นเปอ้ื น - ถ้าสัมผัสกับสาร ให้ล้างผิวหนงั และดวงตาโดยวิธีใหน้ ำ้� ไหลผ่านทนั ที อย่างนอ้ ย 20 นาที - การก�ำจดั สารท่ีเปน็ ของแข็งหลอมเหลวออกจากผิวหนงั ต้องไดร้ บั การช่วยเหลือทางการแพทย์ - ให้ผูบ้ าดเจ็บอยู่ในอาการสงบ และใหค้ วามอบอุน่ รา่ งกาย 215

Guide ของแขง็ ไวไฟ – เป็นพษิ และ/หรอื กดั กร่อน 134 [Flammable Solids-Toxics and/or Corrosives] อันตรายท่ีอาจเกดิ ขึน้ อัคคภี ยั หรือการระเบิด - สารไวไฟ/ติดไฟได้ - อาจจดุ ตดิ ไฟ เน่อื งจากความรอ้ น ประกายไฟ หรือเปลวไฟ - เมอ่ื ได้รับความรอ้ น ไอระเหยสารอาจผสมกบั อากาศอาจเกิดสว่ นผสมท่รี ะเบดิ ไดท้ ัง้ ภายในและ ภายนอกอาคาร และท่อนำ�้ เสีย - ภาชนะบรรจุอาจระเบดิ ได้เม่อื ได้รับความร้อน - เมอ่ื สัมผัสกบั โลหะอาจคอ่ ย ๆ ปลอ่ ยกา๊ ซไฮโดรเจนซ่ึงไวไฟ สุขภาพ - เปน็ พษิ การสดู ดม กนิ หรือสมั ผัสผิวหนังอาจเกิดการบาดเจบ็ รุนแรงหรือเสียชีวิต - หากสารเกิดลกุ ไหม้ อาจเกิดกา๊ ซที่มีฤทธร์ิ ะคายเคือง กดั กรอ่ น และ/หรือเป็นพิษ - น้�ำเสยี จากการดับเพลิงหรอื นำ้� ทใ่ี ชเ้ พอ่ื การเจือจางสาร อาจมีฤทธิเ์ ป็นกรด และ/หรอื เป็นพษิ และอาจกอ่ มลพิษ ความปลอดภยั ต่อสาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉกุ เฉินทร่ี ะบใุ นเอกสารกำ� กบั ขนส่ง หากไม่พบเอกสารฯ หรอื ไมม่ ีผู้รับสาย ให้โทรแจ้งหมายเลขทเี่ หมาะสมที่ระบุอย่ดู า้ นในปกหลงั คูม่ ือ - เพอ่ื เปน็ มาตรการปอ้ งกนั เหตฉุ กุ เฉนิ เบอื้ งตน้ กนั้ แยกพน้ื ทท่ี สี่ ารรว่ั ไหลทนั ทอี ยา่ งนอ้ ย 25 เมตร (75 ฟตุ ) ทกุ ทศิ ทาง - กันบคุ คลท่ีไม่เกย่ี วข้องออกห่างจากพนื้ ท่ี - อยูเ่ หนอื ลม ขน้ึ ทส่ี งู และ/หรือ บรเิ วณเหนอื นำ้� - ระบายอากาศพ้นื ท่อี บั อากาศ ชดุ ปอ้ งกัน - สวมใสช่ ดุ เครอื่ งช่วยหายใจสว่ นบุคคลแบบมีถังอากาศ (SCBA) - สวมชดุ ป้องกันอนั ตรายจากสารเคมีตามข้อแนะน�ำของบริษัทผผู้ ลิต ท้ังนช้ี ดุ ปอ้ งกันอนั ตราย จากสารเคมไี มส่ ามารถปอ้ งกนั อนั ตรายจากความรอ้ นสูง - ชุดดบั เพลงิ สามารถป้องกนั อันตรายได้อยา่ งจ�ำกดั เมื่อเกดิ กรณเี พลงิ ไหม้สารแตอ่ าจไมส่ ามารถ ป้องกนั อนั ตรายอยา่ งมปี ระสิทธิภาพกรณที เ่ี กิดเฉพาะการหกร่ัวไหล การอพยพ กรณรี วั่ ไหล - พจิ ารณาอพยพประชาชนท่ีอาศยั อยูใ่ ต้ลมเบอ้ื งต้น อยา่ งนอ้ ย 100 เมตร (300 ฟุต) กรณีเพลงิ ไหม้ - หากถงั บรรจขุ นาดใหญ่ ตู้รถไฟหรอื รถบรรทุกสาร เก่ยี วขอ้ งกบั เพลงิ ไหม้ ใหก้ ั้นแยกพ้นื ท่ีเกิดเหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบ้อื งตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล์) ทกุ ทิศทาง 216

ของแข็งไวไฟ – เปน็ พษิ และ/หรือ กัดกร่อน Guide [Flammable Solids-Toxics and/or Corrosives] 134 เพลิงไหม้ การดำ� เนินการเมอื่ เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ เพลงิ ไหม้ขนาดเล็ก - ผงเคมแี ห้ง CO2 ทราย ดิน น�้ำฉีดเป็นฝอย หรอื โฟมดบั เพลงิ ชนดิ มขี ัว้ เพลงิ ไหม้ขนาดใหญ่ - ฉดี นำ�้ เป็นฝอย หมอก หรอื โฟมดับเพลิงชนิดมีข้วั - เคลือ่ นย้ายภาชนะบรรจอุ อกจากบรเิ วณเพลิงไหม้ หากทำ� ได้โดยไม่เสยี่ งอันตราย - ฉดี นำ้� เป็นฝอย หมอก ห้ามฉีดน้�ำเป็นลำ� ตรง - ห้ามฉีดน้ำ� เข้าไปในภาชนะบรรจุ - สรา้ งคนั กนั้ หรอื ขดุ รอ่ งกกั นำ�้ เสยี จากการดบั เพลงิ เพอ่ื นำ� ไปกำ� จดั ภายหลงั หา้ มทำ� ใหส้ ารกระจายตวั เพลิงไหม้/เกิดอยใู่ กล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนสง่ - ฉดี นำ้� ดับเพลงิ จากระยะไกลทส่ี ดุ หรอื ใชห้ ัวฉีดน้ำ� ชนดิ ทีไ่ มต่ ้องใชค้ นควบคมุ หรือใช้แทน่ ฉีดน�้ำแทน - ฉีดนำ�้ ปรมิ าณมากเพอื่ หลอ่ เยน็ ภาชนะบรรจุ จนกวา่ เพลิงจะสงบ - ถอนก�ำลังเจ้าหนา้ ที่ทนั ที หากอุปกรณร์ ะบายความดันนริ ภยั ของภาชนะบรรจุเกดิ เสียงดัง หรอื ภาชนะบรรจเุ ปล่ียนสี - อย่หู ่างจากภาชนะบรรจทุ ี่ไฟลกุ ท่วมตลอดเวลา การหกร่วั ไหล - สวมชดุ ปอ้ งกนั ไอระเหยสารแบบคลมุ ทง้ั ตวั หากตอ้ งปฏบิ ตั หิ นา้ ทใ่ี นบรเิ วณทม่ี กี ารรวั่ ไหล แตไ่ มม่ เี พลงิ ไหม้ - กำ� จดั แหลง่ ทอี่ าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทง้ั หมด (หา้ มสบู บหุ รี่ จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - ระงบั การรว่ั ไหลหากทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ สยี่ งอนั ตราย - หา้ มสมั ผสั หรอื เดนิ ยำ่� ผา่ นบรเิ วณทส่ี ารหกรว่ั ไหล - ป้องกนั มใิ ห้สารไหลลงนำ�้ ทอ่ ระบายน�้ำ ชน้ั ใต้ดิน หรือบริเวณอบั อากาศ - เกบ็ รวบรวมสารท่ีหกหลน่ ด้วยอปุ กรณท์ ่ีสะอาดและไมก่ ่อให้เกิดประกายไฟ ใส่ในภาชนะบรรจุ ดว้ ยพลาสติกปดิ ฝาอย่างหลวม ๆ เพอื่ รอการกำ� จดั การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมน่ั ใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทงั้ มกี ารปอ้ งกนั ตนเองอยา่ งเหมาะสม - น�ำผูบ้ าดเจบ็ ไปยังพนื้ ทอ่ี ากาศบรสิ ุทธิ์ - โทรแจง้ 191 หรือหน่วยแพทยเ์ คล่อื นทีฉ่ ุกเฉนิ (1669) - ใชเ้ คร่อื งช่วยหายใจหากผูบ้ าดเจ็บหยดุ หายใจ - หา้ มผายปอดดว้ ยวธิ กี ารเปา่ ปาก หากผบู้ าดเจบ็ กลนื หรอื หายใจรบั สารเคมเี ขา้ สรู่ า่ งกายใหใ้ ช้ เครอ่ื งชว่ ยหายใจชนดิ มที คี่ รอบใหอ้ ากาศแบบวาลว์ ทางเดยี ว หรอื อปุ กรณช์ ว่ ยหายใจอนื่ ทเี่ หมาะสม - ให้ออกซเิ จนถา้ ผู้บาดเจบ็ หายใจลำ� บาก - ถอดและแยกเกบ็ เสอ้ื ผา้ และรองเทา้ ที่ปนเปื้อน - ถ้าสัมผสั กับสาร ให้ล้างผวิ หนงั และดวงตาโดยวิธีใหน้ ำ�้ ไหลผา่ นทนั ที อยา่ งนอ้ ย 20 นาที - หากผิวหนังสมั ผัสกับสารเล็กน้อย ต้องหลีกเล่ยี งมใิ หส้ ารแพร่กระจายสัมผสั ผวิ หนังบริเวณอื่น ๆ - ใหผ้ ูบ้ าดเจ็บอยใู่ นอาการสงบ และใหค้ วามอบอุ่นร่างกาย - อาการบาดเจ็บจากการสมั ผัสกับสาร (การสดู ดม กนิ สัมผสั ) อาจเกิดขน้ึ ช้า 217

Guide สารลุกตดิ ไฟได้เอง 135 [Substances – Spontaneously Combustible] อนั ตรายที่อาจเกดิ ข้ึน อัคคภี ยั หรอื การระเบิด - สารไวไฟ/ตดิ ไฟได้ - อาจจุดติดไฟ เม่อื สมั ผัสกบั ความชนื้ หรืออากาศทมี่ คี วามชื้นสงู - อาจลกุ ไหม้อยา่ งรวดเรว็ และเกดิ เปน็ เปลวไฟขนาดใหญ่ - สารบางชนดิ อาจทำ� ปฏกิ ิรยิ าอยา่ งรนุ แรงหรือเกิดการระเบิดเม่อื สมั ผัสกับน้�ำ - สารบางชนิดสลายตวั และเกิดการระเบดิ เม่ือได้รบั ความร้อนหรอื เกีย่ วขอ้ งกับเพลิงไหม้ - อาจลกุ ติดไฟซ�้ำอีก หลงั จากดบั ไฟไดแ้ ลว้ - ภาชนะบรรจุอาจระเบิดเมื่อไดร้ บั ความรอ้ น - น�้ำเสยี จากจดุ เกิดเหตุอาจมีความเสี่ยงทำ� ใหเ้ กดิ เพลงิ ไหมห้ รือการระเบิด สุขภาพ - หากสารเกดิ ลกุ ไหม้ อาจเกดิ กา๊ ซท่มี ฤี ทธ์ิระคายเคือง กดั กร่อน และ/หรือเป็นพิษ - การสูดดมก๊าซทเี่ กดิ จากการสลายตัวของสารอาจเกิดการบาดเจ็บรุนแรงหรอื เสียชีวิตได้ - การสมั ผัสกับสารอาจท�ำให้ผวิ หนังและดวงตาเปน็ แผลไหม้รนุ แรง - น�้ำเสียจากการดบั เพลิงอาจก่อมลพิษ ความปลอดภัยตอ่ สาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉินที่ระบใุ นเอกสารก�ำกับขนส่ง หากไมพ่ บเอกสารฯ หรอื ไมม่ ีผู้รบั สาย ใหโ้ ทรแจ้งหมายเลขทเ่ี หมาะสมท่รี ะบุอยู่ด้านในปกหลงั คมู่ ือ - เพอื่ เปน็ มาตรการป้องกันเหตฉุ ุกเฉนิ เบื้องตน้ กั้นแยกพืน้ ที่ท่สี ารรว่ั ไหลทันทีทกุ ทิศทางอย่างนอ้ ย 50 เมตร (150 ฟตุ ) ถา้ เปน็ ของเหลว และอยา่ งน้อย 25 เมตร (75ฟตุ ) ถ้าเปน็ ของแข็ง - กันบคุ คลทีไ่ มเ่ ก่ียวข้องออกหา่ งจากพนื้ ท ี่ - อย่เู หนอื ลม ขึ้นทส่ี ูง และ/หรอื บริเวณเหนือน้�ำ ชุดปอ้ งกนั - สวมใสช่ ดุ เคร่ืองชว่ ยหายใจส่วนบคุ คลแบบมถี ังอากาศ (SCBA) - สวมชุดปอ้ งกันอนั ตรายจากสารเคมีตามข้อแนะน�ำของบรษิ ทั ผู้ผลิต ทง้ั นชี้ ุดป้องกันอันตราย จากสารเคมไี ม่สามารถปอ้ งกนั อันตรายจากความรอ้ นสูง - ชุดดบั เพลิงสามารถปอ้ งกันอันตรายไดอ้ ย่างจ�ำกดั เมื่อเกดิ กรณีเพลงิ ไหม้สารแตอ่ าจไม่สามารถ ป้องกนั อนั ตรายอย่างมีประสทิ ธิภาพกรณที ี่เกิดเฉพาะการหกร่วั ไหล การอพยพ กรณรี วั่ ไหล สำ� หรบั สารทช่ี อื่ มแี รเงา ดขู อ้ มลู ในตารางกำ� หนดระยะกนั้ เขตเบอ้ื งตน้ และระยะปกปอ้ งสาธารณชน ส�ำหรบั สารทชี่ ือ่ ไม่มแี รเงาให้เพิม่ ระยะทางในการพิจารณาอพยพประชาชนเทา่ ทจี่ ำ� เป็น จากระยะ ทก่ี �ำหนดในหัวข้อ ความปลอดภยั ตอ่ สาธารณชน กรณีเพลิงไหม ้ - หากถงั บรรจุขนาดใหญ ่ ต้รู ถไฟหรือรถบรรทุกสาร เก่ียวขอ้ งกบั เพลิงไหม้ ให้ก้ันแยกพื้นท่ี เกดิ เหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล์) ทุกทศิ ทาง และพิจารณาอพยพประชาชนเบอ้ื งต้น 800 เมตร (1/2 ไมล์) ทกุ ทศิ ทาง 218

สารลกุ ติดไฟได้เอง Guide [Substances – Spontaneously Combustible] 135 เพลิงไหม้ การดำ� เนนิ การเมื่อเกดิ เหตฉุ ุกเฉิน - หสา้ารมบฉาดี งใชชนน้ ดิ �้ำทCำ� ปOฏ2 กิ หิรริยอื าอโฟย่ามงดรบัุนเแพรลงกงิ เับขนา้ ใำ�้ ส ส่ าร - ขอ้ ยกเวน้ : ส�ำหรบั สาร Xanthates (UN3342) และสาร Dithionite (Hydrogensulfite/Hydrosulphite) UN1384 UN1923 และ UN1929 ให้ใชน้ ำ�้ ปริมาณมากฉีดดับเพลงิ ทงั้ เพลิงไหมข้ นาดเล็กและขนาดใหญเ่ พ่อื หยดุ ยง้ั ปฏกิ ิรยิ า การใชว้ สั ดปุ ดิ คลมุ เพอ่ื ตดั อากาศไมส่ ามารถระงบั เพลงิ ไหมไ้ ดเ้ พราะสารเหลา่ นไี้ มจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งใชอ้ ากาศในการเผาไหม้ เพลงิ ไหม้ขนาดเล็ก - ผงเคมแี ห้ง โซดาแอช ปนู ขาว หรอื ทรายแห้ง ยกเวน้ UN1384 UN1923 UN1929 และUN3342 เพลงิ ไหม้ขนาดใหญ่ - ทรายแห้ง ผงเคมีแหง้ ปนู ขาว โซดาแอช หรอื ปูนขาว ยกเว้น UN1384 UN1923 UN1929และ UN3342 หรือถอนกำ� ลังออกจากพ้นื ทแ่ี ละปลอ่ ยให้ลกุ ไหม้จนดบั - ค�ำเตือน สาร UN3342 เม่ือถกู ฉดี คลมุ ดว้ ยน�้ำปริมาณมากจะคอ่ ย ๆ ปล่อยก๊าซไวไฟ (Carbon disulfide/ Carbon disulphide) - เคลือ่ นยา้ ยภาชนะบรรจอุ อกจากบริเวณเพลงิ ไหม้ หากทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ ส่ียงอันตราย เพลิงไหม้/เกิดอย่ใู กล้ ภาชนะบรรจุ หรอื รถขนสง่ - ฉีดน้ำ� ดับเพลงิ จากระยะไกลทีส่ ุด หรือใชห้ ัวฉีดน้ำ� ชนิดทีไ่ มต่ ้องใช้คนควบคุมหรือใชแ้ ทน่ ฉีดน้�ำแทน - ห้ามฉดี นำ้� เขา้ ไปในภาชนะบรรจุหรอื สัมผัสกบั สารโดยตรง - ฉดี นำ้� ปรมิ าณมากเพอื่ หลอ่ เยน็ ภาชนะบรรจุ จนกวา่ เพลงิ จะสงบ - อยหู่ า่ งจากภาชนะบรรจทุ ไ่ี ฟลกุ ทว่ มตลอดเวลา - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทท่ี นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลย่ี นสี การหกรัว่ ไหล - สวมชดุ ป้องกนั ไอระเหยสารแบบคลมุ ท้ังตัว หากต้องปฏิบัติหน้าทใี่ นบริเวณท่มี กี ารรว่ั ไหล แตไ่ มม่ เี พลงิ ไหม้ - กำ� จดั แหลง่ ทอี่ าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทงั้ หมด(หา้ มสบู บหุ รี่ จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - ห้ามสมั ผัสหรอื เดนิ ยำ่� ผา่ นบริเวณท่สี ารหกรวั่ ไหล - ระงบั การรัว่ ไหลของหากทำ� ได้โดยไมเ่ ส่ยี งอนั ตราย หกรั่วไหลปริมาณเลก็ นอ้ ย ข้อยกเว้น : ส�ำหรับสาร Xanthates (UN3342) และสาร Dithionite (Hydrogensulfite/Hydrosulphite) UN1384 UN1923 และ UN1929 ให้เจือจางด้วยน�ำ้ 5 เทา่ และเกบ็ รวบรวมส�ำหรับก�ำจดั ต่อไป - คำ� เตอื น: UN3342 เมอื่ ถกู ฉดี คลมุ ดว้ ยนำ้� ปรมิ าณมากจะคอ่ ย ๆ ปลอ่ ยกา๊ ซไวไฟ Carbon disulfide/Carbon disulphide - ปดิ ทบั ดว้ ยดินแห้ง ทรายแหง้ หรือวัสดอุ ่ืนที่ไม่ตดิ ไฟ แล้วปิดคลมุ ดว้ ยแผ่นพลาสติกอีกชน้ั หนึง่ เพ่ือลดการแพรก่ ระจายหรือการสัมผัสกบั นำ้� ฝน - เกบ็ รวบรวมสารทีห่ กหลน่ ดว้ ยอปุ กรณท์ ่ีสะอาดและไม่กอ่ ใหเ้ กิดประกายไฟ ใสใ่ นภาชนะบรรจุดว้ ยพลาสตกิ ปิดฝาอย่างหลวม ๆ เพอ่ื รอการกำ� จดั - ป้องกนั มใิ หส้ ารไหลลงนำ้� ทอ่ ระบายน้�ำ ชน้ั ใต้ดิน หรอื บรเิ วณอบั อากาศ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมน่ั ใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทงั้ มกี ารปอ้ งกนั ตนเองอยา่ งเหมาะสม - น�ำผบู้ าดเจ็บไปยังพืน้ ที่อากาศบรสิ ทุ ธ ิ์ - โทรแจ้ง 191 หรอื หน่วยแพทย์เคล่ือนที่ฉกุ เฉิน (1669) - ใช้เครอ่ื งชว่ ยหายใจหากผบู้ าดเจบ็ หยุดหายใจ - ใหอ้ อกซิเจนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจล�ำบาก - ถอดและแยกเกบ็ เส้ือผา้ และรองเทา้ ท่ปี นเป้ือน - ให้ผบู้ าดเจ็บอย่ใู นอาการสงบ และใหค้ วามอบอนุ่ รา่ งกาย - ถา้ สมั ผัสกับสาร ใหล้ ้างผิวหนงั และดวงตาโดยวธิ ใี ห้น้�ำไหลผ่านทันที อยา่ งนอ้ ย 20 นาที 219

Guide สารลุกติดไฟได้เอง – เปน็ พษิ และ/หรือ กัดกรอ่ น (ทำ�ปฏิกริ ิยากบั อากาศ) 136 [Substances – Spontaneously Combustible –Toxic and/or Corrosives (Air-Reactive)] อันตรายที่อาจเกิดข้ึน อคั คภี ยั หรือการระเบดิ - ไวไฟสูงมาก: ลกุ ติดไฟได้เองเม่ือสัมผัสกับอากาศ - ลุกไหมอ้ ยา่ งรวดเรว็ เกดิ ควันหนาทบึ สขี าวทม่ี ีฤทธริ์ ะคายเคอื ง - สารอาจถูกขนส่งในสภาวะหลอมเหลว - อาจลุกตดิ ไฟซำ�้ อีก หลงั จากดับไฟได้แล้ว - สารกดั กรอ่ นเมอ่ื สมั ผสั กบั โลหะอาจเกดิ กา๊ ซไฮโดรเจนซง่ึ ไวไฟ - ภาชนะบรรจอุ าจระเบดิ เมอ่ื ไดร้ บั ความรอ้ น สุขภาพ - หากสารเกดิ ลุกไหม้ อาจเกิดก๊าซทีม่ ฤี ทธริ์ ะคายเคือง กดั กรอ่ น และ/หรือเป็นพษิ - เป็นพษิ : การสดู ดมก๊าซทเ่ี กดิ จากการสลายตวั ของสารอาจเกดิ การบาดเจบ็ รนุ แรงหรือเสยี ชวี ติ - การสมั ผัสกบั สารอาจท�ำให้ผวิ หนงั และดวงตาเปน็ แผลไหมร้ นุ แรง - อาการผิดปกติบางอยา่ งอาจเกิดข้ึนหากสารซมึ ผา่ นผิวหนงั - น้�ำเสียจากการดบั เพลิงอาจมฤี ทธก์ิ ดั กร่อน และ/หรอื เป็นพษิ และกอ่ มลพษิ ความปลอดภัยตอ่ สาธารณชน - โทรแจง้ หมายเลขฉุกเฉินท่ีระบุในเอกสารก�ำกับขนสง่ หากไม่พบเอกสารฯ หรือไม่มีผู้รับสาย ใหโ้ ทรแจง้ หมายเลขท่ีเหมาะสมทรี่ ะบอุ ยู่ดา้ นในปกหลงั คมู่ ือ - เพอื่ เปน็ มาตรการป้องกนั เหตุฉุกเฉินเบ้ืองตน้ กน้ั แยกพืน้ ทีท่ ีส่ ารรว่ั ไหลทนั ทที กุ ทศิ ทางอยา่ งนอ้ ย 50 เมตร (150 ฟตุ ) ถา้ เปน็ ของเหลว และอย่างนอ้ ย 25 เมตร (75ฟุต) ถ้าเปน็ ของแขง็ - กนั บคุ คลที่ไม่เกี่ยวขอ้ งออกห่างจากพื้นท ่ี - อยูเ่ หนอื ลม ขึ้นทส่ี งู และ/หรือ บริเวณเหนอื น�้ำ ชดุ ป้องกนั - สวมใส่ชดุ เครอ่ื งชว่ ยหายใจสว่ นบคุ คลแบบมีถังอากาศ (SCBA) - สวมชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมตี ามข้อแนะน�ำของบริษทั ผผู้ ลติ ท้ังน้ีชุดป้องกนั อันตราย จากสารเคมีไมส่ ามารถป้องกันอนั ตรายจากความร้อนสูง - ชดุ ดับเพลงิ สามารถปอ้ งกนั อนั ตรายได้อย่างจ�ำกัดเมือ่ เกิดกรณเี พลงิ ไหมส้ ารแต่อาจไม่สามารถ ป้องกันอันตรายอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพกรณที ี่เกิดเฉพาะการหกร่วั ไหล - สำ� หรบั สาร Phosphorus (UN1381) : ควรสวมชดุ ปอ้ งกนั ทเี่ คลอื บดว้ ยอลมู เิ นยี ม หากมโี อกาสสมั ผสั กบั สาร การอพยพ กรณีรัว่ ไหล - พิจารณาอพยพประชาชนท่อี าศยั อย่ใู ต้ลมเบอ้ื งต้น อยา่ งนอ้ ย 300 เมตร (1,000 ฟตุ ) กรณเี พลงิ ไหม้ - หากถังบรรจุขนาดใหญ่ ตรู้ ถไฟหรือรถบรรทกุ สาร เกย่ี วข้องกบั เพลิงไหม้ ให้กั้นแยกพ้ืนท่ี เกิดเหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบ้อื งตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทิศทาง 220

สารลกุ ติดไฟได้เอง – เปน็ พิษ และ/หรอื กัดกร่อน (ทำ�ปฏิกริ ิยากบั อากาศ) Guide [Substances – Spontaneously Combustible –Toxic and/or Corrosives (Air-Reactive)] 136 การด�ำเนนิ การเมือ่ เกิดเหตฉุ กุ เฉนิ เพลิงไหม้ เพลงิ ไหม้ขนาดเล็ก - นำ�้ ฉดี เป็นฝอย ทรายเปยี กหรือดนิ เปยี ก เพลิงไหมข้ นาดใหญ่ - ฉีดน�ำ้ เปน็ ฝอยหรอื หมอก - หา้ มฉดี น�้ำดว้ ยแรงดนั สูงเพราะจะทำ� ใหส้ ารกระจายตวั - เคลอ่ื นย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณเพลงิ ไหม้ หากท�ำไดโ้ ดยไมเ่ สี่ยงอันตราย เพลงิ ไหม้/เกดิ อยูใ่ กล้ ภาชนะบรรจุ หรือรถขนสง่ - ฉีดน้ำ� ดับเพลงิ จากระยะไกลทส่ี ุด หรือใช้หวั ฉีดน�้ำชนิดที่ไมต่ อ้ งใช้คนควบคุมหรอื ใช้แท่นฉีดน�ำ้ แทน - ฉีดน�้ำปรมิ าณมากเพื่อหลอ่ เยน็ ภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลงิ จะสงบ - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทท่ี นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลย่ี นส ี - อย่หู า่ งจากภาชนะบรรจุทไ่ี ฟลกุ ท่วมตลอดเวลา การหกรวั่ ไหล - สวมชดุ ปอ้ งกนั ไอระเหยสารแบบคลมุ ทง้ั ตวั หากตอ้ งปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นบรเิ วณทมี่ กี ารรวั่ ไหล แตไ่ มม่ เี พลงิ ไหม้ - กำ� จดั แหลง่ ทอ่ี าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทงั้ หมด (หา้ มสบู บหุ ร่ี จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - หา้ มสมั ผสั หรอื เดนิ ยำ่� ผา่ นบรเิ วณทส่ี ารหกรว่ั ไหล - ระงบั การรว่ั ไหลหากทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ สย่ี งอนั ตราย - หา้ มสมั ผสั ภาชนะบรรจทุ เี่ สยี หายหรอื สารทห่ี กรวั่ ไหล หากไมส่ วมใสช่ ดุ ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คลทเ่ี หมาะสม หกร่วั ไหลปรมิ าณเลก็ น้อย - ปดิ ทบั ดว้ ยนำ้� ทราย หรือดนิ ตักใส่ภาชนะบรรจุทำ� ด้วยโลหะและเก็บไวใ้ ตน้ ำ้� หกรัว่ ไหลปรมิ าณมาก - สรา้ งคันกน้ั หรอื ขุดรอ่ งกักสาร แล้วปิดทับดว้ ยทรายเปียกหรอื ดนิ เพอื่ กำ� จดั ต่อไป - ป้องกนั มิใหส้ ารไหลลงนำ�้ ทอ่ ระบายน้�ำ ช้ันใตด้ ิน หรอื บริเวณอับอากาศ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมน่ั ใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทงั้ มกี ารปอ้ งกนั ตนเองอยา่ งเหมาะสม - นำ� ผู้บาดเจ็บไปยังพน้ื ทีอ่ ากาศบริสทุ ธิ์ - โทรแจ้ง 191 หรอื หนว่ ยแพทยเ์ คล่อื นท่ฉี ุกเฉนิ (1669) - ใชเ้ ครือ่ งช่วยหายใจหากผู้บาดเจบ็ หยดุ หายใจ - ให้ออกซิเจนถ้าผ้บู าดเจ็บหายใจลำ� บาก - ถา้ สัมผัสกบั สาร ให้แช่สว่ นทสี่ ัมผสั กับสารในน้�ำหรอื พันด้วยผา้ พนั แผลเปยี กจนกวา่ ผบู้ าดเจ็บ จะไดร้ ับการดแู ลทางการแพทย์ - การกำ� จดั สารท่ีเป็นของแข็งหลอมเหลวออกจากผวิ หนังต้องไดร้ ับการช่วยเหลือทางการแพทย์ - ถอดเสื้อผา้ และรองเทา้ ทปี่ นเปอื้ นและแยกเก็บใส่ในภาชนะบรรจุทำ� ดว้ ยโลหะทีเ่ ตมิ น�ำ้ จนเตม็ หากปล่อยใหแ้ หง้ อาจเกดิ การลกุ ไหม้ - อาการบาดเจบ็ จากการสัมผสั กบั สาร (การสดู ดม กิน สัมผสั ) อาจเกิดขน้ึ ช้า - ให้ผบู้ าดเจบ็ อยู่ในอาการสงบ และใหค้ วามอบอนุ่ รา่ งกาย 221

Guide สารท�ำปฏกิ ริ ยิ ากบั น�ำ้ – กดั กร่อน 137 [Substances – Water Reactive – Corrosive] อนั ตรายทีอ่ าจเกดิ ข้นึ สุขภาพ - กัดกร่อน และ/หรอื เป็นพิษ : การสดู ดม กนิ หรอื สัมผสั (ผวิ หนัง ดวงตา) กับไอระเหย ฝ่นุ หรือสารอาจเกิดการบาดเจบ็ และแผลไหมร้ ุนแรง หรอื เสียชวี ิต - หากสารเกิดลกุ ไหม้ อาจเกดิ กา๊ ซทีม่ ีฤทธิร์ ะคายเคือง กดั กรอ่ น และ/หรือเป็นพิษ - เมือ่ สารทำ� ปฏิกิรยิ ากบั น�้ำจะเกิดความรอ้ นสูง ท�ำให้ความเขม้ ขน้ ของไอสารในอากาศสงู ข้นึ - การสัมผัสกบั สารในสภาวะหลอมเหลวอาจทำ� ใหผ้ ิวหนังและดวงตาเปน็ แผลไหมร้ นุ แรง - น้�ำเสยี จากการดบั เพลงิ หรอื นำ้� ท่ีใช้เพือ่ การเจือจางสารอาจกอ่ มลพษิ อคั คภี ัยหรอื การระเบดิ - ยกเว้น สาร Acetic Anhydride (UN1715) ซึ่งไวไฟ สารเหลา่ นอี้ าจลุกไหม้ได้แตไ่ ม่มสี ารใด ท่ีลกุ ตดิ ไฟทันที - เมอ่ื สัมผัสกบั โลหะอาจคอ่ ย ๆ ปล่อยก๊าซไฮโดรเจนซึ่งไวไฟ - อาจท�ำใหเ้ กิดการลุกตดิ ไฟวัสดุ/สารทต่ี ิดไฟได้ เชน่ ไม้ กระดาษ น้ำ� มัน ผ้า ฯลฯ - สารจะท�ำปฏกิ ริ ยิ ากับน้ำ� (บางชนิดเกดิ ปฏกิ ิริยาอยา่ งรนุ แรง) เกดิ กา๊ ซและนำ�้ เสยี ทมี่ ีฤทธ์ิกัดกร่อน และ/หรือเปน็ พิษ - กา๊ ซไวไฟ/เปน็ พิษ อาจสะสมอยู่ในท่ีอับอากาศ เชน่ ชน้ั ใตด้ นิ ถงั เกบ็ รถขนถา่ ย/รถขนส่ง ฯลฯ - ภาชนะบรรจุอาจระเบดิ ไดเ้ มื่อไดร้ บั ความร้อน - สารอาจถกู ขนสง่ ในสภาวะหลอมเหลว ความปลอดภัยต่อสาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉกุ เฉินท่รี ะบใุ นเอกสารกำ� กับขนส่ง หากไม่พบเอกสารฯ หรอื ไมม่ ีผรู้ ับสาย ใหโ้ ทรแจ้งหมายเลขทีเ่ หมาะสมที่ระบุอยดู่ ้านในปกหลงั ค่มู อื - เพอ่ื เป็นมาตรการปอ้ งกันเหตฉุ ุกเฉินเบ้อื งตน้ ก้ันแยกพนื้ ทท่ี ่สี ารรัว่ ไหลทนั ทที กุ ทศิ ทางอย่างน้อย 50 เมตร (150 ฟตุ ) ถา้ เป็นของเหลว และอยา่ งนอ้ ย 25 เมตร (75ฟุต) ถ้าเปน็ ของแข็ง - กนั บคุ คลท่ีไม่เกี่ยวข้องออกห่างจากพนื้ ท ี่ - อยเู่ หนอื ลม ข้ึนทีส่ งู และ/หรอื บรเิ วณเหนือน้�ำ - ระบายอากาศในพนื้ ท่ปี ิดกอ่ นเข้าระงับเหตุ ชุดปอ้ งกัน - สวมใสช่ ดุ เครอ่ื งช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมีถังอากาศ (SCBA) - สวมชดุ ปอ้ งกันอนั ตรายจากสารเคมีตามข้อแนะน�ำของบริษทั ผูผ้ ลติ ท้งั นีช้ ดุ ปอ้ งกันอนั ตรายจากสารเคมี ไมส่ ามารถป้องกันอันตรายจากความรอ้ นสูง - ชุดดับเพลงิ สามารถปอ้ งกนั อันตรายไดอ้ ย่างจำ� กัดเมอื่ เกิดกรณีเพลิงไหม้สารแตอ่ าจไมส่ ามารถป้องกนั อันตรายอยา่ งมีประสิทธภิ าพกรณที เี่ กิดเฉพาะการหกร่วั ไหล การอพยพ กรณรี ว่ั ไหล สำ� หรบั สารทีช่ อ่ื มแี รเงา ดขู ้อมูลในตารางกำ� หนดระยะกนั้ เขตเบ้อื งตน้ และระยะปกป้องสาธารณชน ส�ำหรับสารที่ช่อื ไม่มแี รเงาให้เพ่มิ ระยะทางในการพิจารณาอพยพประชาชนเทา่ ท่จี ำ� เปน็ จากระยะที่ก�ำหนด ในหวั ข้อ ความปลอดภยั ต่อสาธารณชน กรณเี พลิงไหม้ - หากถังบรรจขุ นาดใหญ ่ ตูร้ ถไฟหรือรถบรรทุกสาร เกยี่ วข้องกับเพลิงไหม้ ให้ก้ันแยกพื้นทเี่ กิดเหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทิศทาง และพิจารณาอพยพประชาชนเบือ้ งตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทุกทิศทาง 222

สารทำ� ปฏกิ ริ ยิ ากับนำ้� – กดั กร่อน Guide [Substances – Water Reactive – Corrosive] 137 การด�ำเนนิ การเม่ือเกิดเหตฉุ กุ เฉิน เพลิงไหม้ - หากสารไมเ่ กิดลุกไหม้ หา้ มฉดี น้ำ� ลงบนตวั สาร -เพ ลเงิคไลหือ่ มน้ขยน้าายดภเาลช็กน ะ บ- ร รผจงุอเอคกมจแี าหก้งบCรเิ Oวณ2 เทพรลางิยไหดมนิ ้ น้�ำฉีดเป็นฝอย หรือโฟมดบั เพลงิ ชนดิ มีขว้ั หากทำ� ได้โดยไมเ่ สย่ี งอันตราย เพลิงไหมข้ นาดใหญ่ - ฉดี นำ�้ ปริมาณมากควบคุมเพลงิ พรอ้ มกับฉีดนำ้� เปน็ หมอกดกั จบั ไอระเหยสาร แตห่ ากนำ้� ไม่เพยี งพอ ใหฉ้ ีดน้�ำเปน็ หมอกดกั จับไอระเหยสารเทา่ นั้น เพลิงไหม/้ เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุหรอื รถขนสง่ - ฉีดนำ้� ปรมิ าณมากเพือ่ หล่อเยน็ ภาชนะบรรจุ จนกวา่ เพลิงจะสงบ - ห้ามฉดี น้ำ� เข้าไปในภาชนะบรรจุ - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทที่ นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลยี่ นสี - อยู่หา่ งจากภาชนะบรรจทุ ไี่ ฟลุกท่วมตลอดเวลา หรอื โฟมดบั เพลงิ ชนิดมขี ัว้ การหกรวั่ ไหล - สวมชดุ ปอ้ งกนั ไอระเหยสารแบบคลมุ ทง้ั ตวั หากตอ้ งปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นบรเิ วณทมี่ กี ารรว่ั ไหล แตไ่ มม่ เี พลงิ ไหม้ - หา้ มสมั ผสั ภาชนะบรรจทุ เ่ี สยี หายหรอื สารทห่ี กรว่ั ไหล หากไมส่ วมใสช่ ดุ ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คลทเี่ หมาะสม - ระงับการร่วั ไหลหากท�ำได้โดยไมเ่ ส่ยี งอันตราย - ฉดี นำ�้ เปน็ ฝอยดกั จบั ไอระเหยสาร แตห่ า้ มฉดี นำ้� ใสจ่ ดุ ทร่ี วั่ บรเิ วณทสี่ ารแพรก่ ระจาย หรอื ภายในภาชนะบรรจุ - แยกวสั ด/ุ สารทีต่ ิดไฟได้ (ไม้ กระดาษ นำ�้ มัน ฯลฯ) ออกจากบริเวณทีส่ ารร่วั ไหล หกรว่ั ไหลปริมาณเล็กนอ้ ย - ปิดทับดว้ ยดินแหง้ ทรายแหง้ หรือวัสดอุ ่ืนที่ไม่ตดิ ไฟ แล้วปิดคลมุ ด้วยแผน่ พลาสติกอกี ช้ันหนึ่ง เพอื่ ลดการแพรก่ ระจายหรือการสมั ผัสกบั นำ้� ฝน - เก็บรวบรวมสารที่หกหล่นด้วยอุปกรณ์ทส่ี ะอาดและไม่ก่อใหเ้ กดิ ประกายไฟ ใส่ในภาชนะ บรรจดุ ้วยพลาสติกปดิ ฝาอยา่ งหลวม ๆ เพอ่ื ส่งกำ� จดั ต่อไป - ป้องกนั มิให้สารไหลลงนำ้� ท่อระบายน้�ำ ชน้ั ใต้ดนิ หรือบรเิ วณอับอากาศ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมน่ั ใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทง้ั มกี ารปอ้ งกนั ตนเองอยา่ งเหมาะสม - น�ำผบู้ าดเจบ็ ไปยงั พนื้ ทอี่ ากาศบรสิ ทุ ธ ิ์ - โทรแจ้ง 191 หรอื หนว่ ยแพทย์เคล่อื นท่ฉี กุ เฉนิ (1669) - ใช้เครอื่ งช่วยหายใจหากผู้บาดเจบ็ หยุดหายใจ - ให้ออกซเิ จนถา้ ผบู้ าดเจ็บหายใจล�ำบาก - หา้ มผายปอดด้วยวธิ กี ารเปา่ ปาก หากผู้บาดเจ็บกลนื หรอื หายใจรับสารเคมเี ขา้ สู่ร่างกาย ให้ใช้เคร่อื งช่วยหายใจ ชนดิ มที ่คี รอบใหอ้ ากาศแบบวาล์วทางเดียว หรอื อุปกรณช์ ่วยหายใจอน่ื ที่เหมาะสม - ถอดและแยกเกบ็ เสอื้ ผา้ และรองเทา้ ทปี่ นเปอ้ื น - ใหผ้ บู้ าดเจบ็ อยใู่ นอาการสงบ และใหค้ วามอบอนุ่ รา่ งกาย - ถ้าสัมผัสกบั สาร ใหล้ ้างผวิ หนังและดวงตาโดยวธิ ใี ห้น้�ำไหลผา่ นทันที อย่างนอ้ ย 20 นาที - หากผวิ หนังสัมผสั กบั สารเลก็ นอ้ ย ตอ้ งหลีกเล่ียงมิใหส้ ารแพร่กระจายสมั ผสั ผวิ หนงั บรเิ วณอื่น ๆ - การกำ� จดั สารทีเ่ ป็นของแข็งหลอมเหลวออกจากผวิ หนังต้องได้รบั การช่วยเหลอื ทางการแพทย์ - อาการบาดเจ็บจากการสัมผัสกับสาร (การสดู ดม กิน สัมผสั ) อาจเกิดขนึ้ ชา้ 223

Guide สารท�ำปฏกิ ริ ยิ ากับน้ำ� –เกดิ ก๊าซไวไฟ 138 [Substances–Water-Reactive (Emitting Flammable Gases)] อันตรายท่อี าจเกิดขน้ึ อัคคภี ยั หรือการระเบดิ - เกิดก๊าซไวไฟเมื่อสมั ผัสกับน้�ำ - อาจลุกตดิ ไฟเมอ่ื สัมผัสกับน�้ำหรอื อากาศท่ีมคี วามชน้ื สงู - สารบางชนดิ อาจท�ำปฏิกริ ยิ ารุนแรงหรอื ระเบดิ ได้ หากสัมผสั นำ้� - อาจจุดติดไฟด้วยความรอ้ น ประกายไฟ หรือเปลวไฟ - อาจลุกตดิ ไฟซ้�ำอกี หลังจากดบั ไฟไดแ้ ลว้ - สารบางชนดิ ถูกขนสง่ ในสภาวะของเหลวไวไฟสงู - น้�ำเสยี จากจุดเกดิ เหตอุ าจเกดิ เพลงิ ไหมห้ รอื ระเบดิ สุขภาพ - การสูดดมหรอื สมั ผัส (ผิวหนัง ดวงตา) กบั ไอระเหย ตัวสาร หรือกา๊ ซท่เี กิดจากการสลายตวั ของสาร อาจเกิดการบาดเจ็บรนุ แรงหรือเสยี ชวี ิต - หากสารสัมผสั กบั น�้ำ อาจเกิดเป็นสารละลายทีม่ ีฤทธก์ิ ดั กรอ่ น - หากสารเกดิ ลุกไหม้ อาจเกดิ กา๊ ซทม่ี ฤี ทธิร์ ะคายเคือง และ/หรือเป็นพิษ - น�้ำเสยี จากการดบั เพลิงอาจกอ่ มลพษิ ความปลอดภยั ตอ่ สาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉกุ เฉนิ ทีร่ ะบใุ นเอกสารกำ� กับขนสง่ หากไม่พบเอกสารฯ หรอื ไม่มีผรู้ ับสาย ใหโ้ ทรแจ้งหมายเลขท่ีเหมาะสมทร่ี ะบุอยูด่ ้านในปกหลังคมู่ อื - เพอ่ื เป็นมาตรการป้องกันเหตุฉุกเฉนิ เบื้องตน้ กนั้ แยกพนื้ ที่ทส่ี ารร่ัวไหลทนั ทที กุ ทิศทางอย่างนอ้ ย 50 เมตร (150 ฟตุ ) ถา้ เป็นของเหลว และอย่างนอ้ ย 25 เมตร (75 ฟุต) ถา้ เป็นของแขง็ - กนั บคุ คลทไ่ี ม่เกยี่ วข้องออกห่างจากพน้ื ท ่ี - อยู่เหนอื ลม ขึ้นทีส่ ูง และ/หรือ บริเวณเหนอื น�้ำ - ระบายอากาศในพื้นทปี่ ดิ กอ่ นเขา้ ระงบั เหตุ ชดุ ปอ้ งกนั - สวมใส่ชดุ เครือ่ งช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมถี งั อากาศ (SCBA) - สวมชุดปอ้ งกนั อันตรายจากสารเคมตี ามข้อแนะน�ำของบริษัทผู้ผลติ ท้ังนี้ชุดป้องกนั อนั ตรายจากสารเคมี ไมส่ ามารถป้องกนั อันตรายจากความรอ้ นสูง - ชุดดบั เพลิงสามารถปอ้ งกันอนั ตรายไดอ้ ย่างจำ� กัดเมื่อเกิดกรณเี พลงิ ไหม้สารแตอ่ าจไม่สามารถป้องกนั อันตรายอย่างมีประสทิ ธภิ าพกรณีท่ีเกดิ เฉพาะการหกรั่วไหล การอพยพ กรณรี ่วั ไหล ส�ำหรบั สารท่ชี อื่ มีแรเงา ดูขอ้ มลู ในตารางกำ� หนดระยะกนั้ เขตเบ้อื งตน้ และระยะปกปอ้ งสาธารณชน ส�ำหรบั สาร ท่ีช่ือไม่มีแรเงา ใหเ้ พมิ่ ระยะทางในการพจิ ารณาอพยพประชาชนเทา่ ที่จำ� เปน็ จากระยะทีก่ ำ� หนด ในหวั ข้อ ความปลอดภัยต่อสาธารณชน กรณีเพลงิ ไหม้ - หากถงั บรรจุขนาดใหญ ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทกุ สาร เกยี่ วข้องกบั เพลิงไหม้ ใหก้ ้ันแยกพ้ืนทเ่ี กดิ เหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทุกทศิ ทาง และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบ้อื งตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทุกทิศทาง 224

สารทำ� ปฏกิ ริ ิยากับนำ�้ –เกิดก๊าซไวไฟ Guide [Substances–Water-Reactive (Emitting Flammable Gases)] 138 การดำ� เนินการเมือ่ เกดิ เหตฉุ กุ เฉิน เพลงิ ไหม้ - หา้ มใชน้ ำ�้ หรือโฟมดบั เพลิง เพลงิ ไหม้ขนาดเล็ก - ผงเคมีแหง้ โซดาแอช ปนู ขาว หรือทราย เพลิงไหมข้ นาดใหญ่ - ทรายแห้ง ผงเคมีแห้ง โซดาแอช หรอื ปนู ขาว หรือถอนกำ� ลังออกจากพ้นื ที่แลว้ ปลอ่ ยให้สารลกุ ไหมจ้ นหมด - เคลอื่ นย้ายภาชนะบรรจอุ อกจากบรเิ วณเพลิงไหม้ หากทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ สย่ี งอันตราย เพลงิ ไหม/้ เกดิ อยู่ใกลก้ บั โลหะหรือผงโลหะ (เช่น Aluminium Lithium Magnesium ฯลฯ) - ใช้ผงเคมีแห้ง ทรายแหง้ ผงเกลือ ผงกราไฟต์ หรอื ผง Met L-X นอกจากน้ีกรณีสาร Lithium อาจใชผ้ ง Lith-X หรือผงทองแดง รวมท้ังใหด้ ู Guide 170 ประกอบ เพลงิ ไหม้/เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุ หรือรถขนส่ง - ฉดี น�้ำปริมาณมากเพือ่ หลอ่ เย็นภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลงิ จะสงบ - ห้ามฉดี น�ำ้ เข้าไปในภาชนะบรรจุ - สำ� หรับเพลิงไหมร้ นุ แรงและใหญม่ าก ให้ใชห้ วั ฉดี น้ำ� ชนดิ ท่ไี มต่ ้องใช้มอื จับหรอื ใชแ้ ทน่ ฉีดน�้ำแทน หากไม่มใี หถ้ อนกำ� ลังออกจากพน้ื ท่ีและปล่อยให้ไฟลกุ ไหมจ้ นดบั ไปเอง - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทที่ นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลยี่ นสี - อยู่ห่างจากภาชนะบรรจุท่ไี ฟลุกทว่ มตลอดเวลา การหกรั่วไหล - กำ� จดั แหลง่ ทอี่ าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทงั้ หมด(หา้ มสบู บหุ ร่ี จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - ห้ามสัมผัสหรือเดนิ ย�่ำผา่ นบรเิ วณที่สารหกรว่ั ไหล - ระงับการรัว่ ไหลหากท�ำได้โดยไมเ่ สีย่ งอนั ตราย - ฉดี นำ้� เปน็ ฝอยดกั จบั ไอระเหยสาร แตห่ า้ มฉดี นำ�้ ใสจ่ ดุ ทร่ี ว่ั บรเิ วณทสี่ ารแพรก่ ระจาย หรอื ภายในภาชนะบรรจุ - ห้ามฉีดน�ำ้ ลงบนสารท่ีรวั่ ไหลหรือฉดี เขา้ ไปในภาชนะบรรจุ หกร่ัวไหลปริมาณเล็กน้อย - ปิดทับด้วยดนิ แหง้ ทรายแหง้ หรือวสั ดอุ ่นื ท่ีไม่ตดิ ไฟ แลว้ ปิดคลุม ด้วยแผ่นพลาสตกิ อกี ชั้นหน่ึงเพ่ือลดการแพร่กระจายหรือการสมั ผัสกับนำ้� ฝน - สร้างคันก้ันหรือรอ่ งกกั สารเพอื่ รอการสง่ กำ� จัดต่อไป หา้ มใชน้ ำ้� ยกเวน้ มคี �ำสัง่ ใหด้ �ำเนินการ สารท่ีเปน็ ผงหกร่วั ไหล - ปดิ ทบั ผงท่หี กรัว่ ไหลดดว้ ยแผ่นพลาสตกิ หรือผ้าใบเพือ่ ลดการแพรก่ ระจาย และรักษาสภาพสารใหแ้ หง้ - ห้ามทำ� ความสะอาดพื้นท่ีเกดิ เหตุหรือก�ำจดั สาร เวน้ แต่ดำ� เนินการภายใต้คำ� แนะนำ� ของผู้เช่ยี วชาญ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมน่ั ใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทง้ั มกี ารปอ้ งกนั ตนเองอยา่ งเหมาะสม - น�ำผู้บาดเจบ็ ไปยังพ้ืนท่อี ากาศบรสิ ุทธ ์ิ - โทรแจ้ง 191 หรอื หนว่ ยแพทย์เคลอ่ื นท่ีฉกุ เฉนิ (1669) - ใชเ้ คร่อื งชว่ ยหายใจหากผูบ้ าดเจ็บหยุดหายใจ - ให้ออกซเิ จนถา้ ผ้บู าดเจบ็ หายใจล�ำบาก - ถอดและแยกเกบ็ เสื้อผา้ และรองเท้าทปี่ นเป้อื น - ถา้ สัมผัสกบั สาร ใหล้ า้ งผิวหนงั และดวงตาโดยวิธีให้น�้ำไหลผ่านทนั ที อยา่ งนอ้ ย 20 นาที - ใหผ้ ้บู าดเจ็บอยู่ในอาการสงบ และใหค้ วามอบอุน่ ร่างกาย 225

Guide สารทำ� ปฏิกริ ยิ ากบั น้ำ� – เกิดก๊าซไวไฟและเปน็ พิษ 139 [Substances-Water Reactive (Emitting Flammable and Toxic Gases)] อันตรายทอี่ าจเกดิ ข้นึ อคั คีภัยหรอื การระเบดิ - เกิดกา๊ ซไวไฟและเปน็ พษิ เม่อื สมั ผัสกับน้�ำ - อาจลกุ ติดไฟเม่ือสมั ผสั กบั น้�ำหรืออากาศท่ีมีความชน้ื สูง - สารบางชนิดท�ำปฏกิ ริ ยิ าอยา่ งรนุ แรงหรอื เกดิ ระเบิดเมอ่ื สัมผสั กับน้ำ� - อาจจดุ ติดไฟด้วยความรอ้ น ประกายไฟ หรือเปลวไฟ - อาจลุกติดไฟซำ�้ อกี หลังจากดบั ไฟได้แลว้ - สารบางชนิดถกู ขนส่งในสภาวะของเหลวไวไฟสูง - ภาชนะบรรจุอาจระเบิดเม่อื ได้รบั ความรอ้ น - น�้ำเสยี จากจดุ เกิดเหตุอาจเกดิ เพลงิ ไหมห้ รอื ระเบิด สุขภาพ - เป็นพิษสงู : เมอ่ื สารสมั ผัสกบั น�้ำจะเกิดกา๊ ซ อาจเสียชวี ติ หากสดู ดม - การสูดดมหรอื สมั ผัสกับไอระเหย ตวั สาร หรอื กา๊ ซทเี่ กดิ จากการสลายตัวของสารอาจเกิดอาการ บาดเจ็บรนุ แรงหรือเสยี ชวี ิต - หากสารเกิดลุกไหม้ อาจเกิดก๊าซที่มฤี ทธ์ิระคายเคอื ง กัดกรอ่ น และ/หรือเป็นพษิ - หากสารสมั ผัสกบั น�้ำ อาจเกดิ สารละลายทม่ี ฤี ทธิก์ ัดกรอ่ น - น้�ำเสียจากการดับเพลิงอาจก่อมลพษิ ความปลอดภยั ต่อสาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉกุ เฉนิ ทีร่ ะบุในเอกสารก�ำกบั ขนส่ง หากไม่พบเอกสารฯ หรือไม่มีผู้รบั สาย ให้โทรแจ้งหมายเลขท่ีเหมาะสมที่ระบุอย่ดู ้านในปกหลังคู่มอื - เพื่อเปน็ มาตรการปอ้ งกันเหตฉุ ุกเฉนิ เบอื้ งต้น กัน้ แยกพื้นทท่ี ่สี ารร่วั ไหลทนั ทีทุกทศิ ทางอย่างนอ้ ย 50 เมตร (150 ฟตุ ) ถ้าเปน็ ของเหลว และอยา่ งนอ้ ย 25 เมตร (75ฟตุ ) ถ้าเปน็ ของแข็ง - อยูเ่ หนอื ลม ขึ้นท่ีสงู และ/หรอื บรเิ วณเหนอื น้�ำ - กันบุคคลทไี่ มเ่ ก่ยี วข้องออกห่างจากพ้ืนที่ - ระบายอากาศในพื้นท่ีปิดกอ่ นเข้าระงบั เหตุ ชุดป้องกัน - สวมใสช่ ุดเครือ่ งช่วยหายใจส่วนบคุ คลแบบมีถงั อากาศ (SCBA) - สวมชดุ ปอ้ งกันอันตรายจากสารเคมตี ามขอ้ แนะนำ� ของบรษิ ทั ผผู้ ลิต ท้งั นชี้ ดุ ปอ้ งกนั อนั ตรายจากสารเคมี ไมส่ ามารถป้องกันอนั ตรายจากความรอ้ นสงู - ชุดดับเพลงิ สามารถปอ้ งกันอันตรายไดอ้ ย่างจ�ำกัดเมอ่ื เกดิ กรณีเพลิงไหมส้ ารแตอ่ าจไมส่ ามารถป้องกนั อันตรายอยา่ งมีประสิทธภิ าพกรณีที่เกิดเฉพาะการหกร่ัวไหล การอพยพ กรณีรั่วไหล สำ� หรบั สารทช่ี ่ือมแี รเงา ดูข้อมูลในตารางกำ� หนดระยะกั้นเขตเบ้ืองต้นและระยะปกปอ้ งสาธารณชน ส�ำหรับสารท่ีชอื่ ไม่มีแรเงา ใหเ้ พมิ่ ระยะทางในการพิจารณาอพยพประชาชนเท่าทจี่ ำ� เปน็ จากระยะที่ก�ำหนด ในหัวขอ้ ความปลอดภัยตอ่ สาธารณชน กรณีเพลิงไหม ้ - หากถงั บรรจขุ นาดใหญ ่ ตู้รถไฟหรอื รถบรรทกุ สาร เก่ยี วข้องกบั เพลงิ ไหม้ ให้กัน้ แยกพ้นื ท่เี กิดเหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล์) ทกุ ทศิ ทาง และพิจารณาอพยพประชาชนเบอื้ งต้น 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทุกทิศทาง 226

สารท�ำปฏิกริ ยิ ากับน�้ำ – เกดิ ก๊าซไวไฟและเปน็ พิษ Guide [Substances-Water Reactive (Emitting Flammable and Toxic Gases)] 139 การดำ� เนนิ การเมอื่ เกดิ เหตุฉกุ เฉิน เพลงิ ไหม้ - ห้ามใชน้ �ำ้ หรอื โฟมดับเพลิง (อาจใช้โฟมดบั เพลงิ ส�ำหรับสาร Chlorosilanes) เพลงิ ไหม้ขนาดเล็ก - ผงเคมแี หง้ โซดาแอช ปนู ขาว หรอื ทราย เพลงิ ไหม้ขนาดใหญ ่ - ทรายแห้ง ผงเคมแี ห้ง โซดาแอช หรอื ปูนขาว หรือถอนกำ� ลงั ออกจากพืน้ ท่ีแล้วปล่อย ให้สารลุกไหม้จนหมด - สำ� หรับสาร Chlorosilanes หา้ มใช้น�้ำ แตใ่ ห้ใช้โฟมดับเพลิงชนดิ มีขว้ั แบบอัตราขยายตวั ปานกลาง (AFF-AR medium expansion foam) ห้ามใชผ้ งเคมีแห้ง โซดาแอชหรอื ปูนขาวดบั เพลงิ ไหมท้ ั้งขนาดเลก็ และขนาดใหญ่ เพราะอาจเกดิ ก๊าซไฮโดรเจนปริมาณมากจนระเบิดได้ - เคล่อื นยา้ ยภาชนะบรรจุออกจากบรเิ วณเพลงิ ไหม้ หากท�ำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย เพลงิ ไหม/้ เกดิ อยใู่ กล้ ภาชนะบรรจุ หรอื รถขนสง่ - ฉดี นำ�้ ปรมิ าณมากเพอื่ หลอ่ เยน็ ภาชนะบรรจุ จนกวา่ เพลงิ จะสงบ - หา้ มฉดี นำ้� เข้าไปในภาชนะบรรจุ - อยหู่ า่ งจากภาชนะบรรจทุ ีไ่ ฟลกุ ท่วมตลอดเวลา - สำ� หรบั เพลิงไหม้รนุ แรงและใหญม่ าก ใหใ้ ช้หัวฉดี น้�ำชนิดทไี่ ม่ตอ้ งใช้มอื จับหรอื ใช้แทน่ ฉดี น้�ำแทน หากไม่มีใหถ้ อนกำ� ลังออกจากพน้ื ทีแ่ ละปล่อยให้ไฟลุกไหมจ้ นดับไปเอง - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทที่ นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลยี่ นสี การหกร่ัวไหล - สวมชดุ ป้องกันไอระเหยสารแบบคลมุ ทง้ั ตวั หากต้องปฏิบัตหิ น้าทใ่ี นบรเิ วณทีม่ กี ารรวั่ ไหล แตไ่ มม่ เี พลิงไหม้ - กำ� จดั แหลง่ ทอ่ี าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทงั้ หมด(หา้ มสบู บหุ ร่ี จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - ห้ามสมั ผัสหรือเดนิ ยำ�่ ผ่านบริเวณทีส่ ารหกรว่ั ไหล - ระงบั การรั่วไหลหากทำ� ได้โดยไมเ่ สี่ยงอนั ตราย - ห้ามฉดี นำ�้ ลงบนสารท่รี วั่ ไหลหรือฉดี เขา้ ไปในภาชนะบรรจุ - ฉดี นำ้� เปน็ ฝอยดกั จบั ไอระเหยสาร แตห่ า้ มฉดี นำ�้ ใสจ่ ดุ ทร่ี ว่ั บรเิ วณทสี่ ารแพรก่ ระจาย หรอื ภายในภาชนะบรรจุ - ส�ำหรับสาร Chlorosilanes ใหฉ้ ดี โฟมดับเพลิงชนิดมีข้ัวแบบอัตราขยายตัวปานกลางเพ่ือลดไอระเหยสาร หกรั่วไหลปริมาณเลก็ นอ้ ย - ปิดทับดว้ ยดินแหง้ ทรายแห้ง หรอื วัสดุอ่ืนท่ไี มต่ ดิ ไฟ แล้วปดิ คลมุ ด้วยแผ่นพลาสติก อกี ชน้ั หนึ่งเพ่ือลดการแพร่กระจายหรอื การสัมผสั กบั นำ�้ ฝน - สรา้ งคันกนั้ หรือรอ่ งกกั สารเพื่อรอการส่งกำ� จดั ตอ่ ไป ห้ามใชน้ ำ�้ ยกเว้นมีค�ำสง่ั ใหด้ ำ� เนนิ การ สารทเ่ี ปน็ ผงหกรวั่ ไหล - ปิดทบั ดว้ ยแผ่นพลาสตกิ หรือผ้าใบเพอ่ื ลดการแพรก่ ระจายและรกั ษาสภาพสารใหแ้ หง้ - ห้ามท�ำความสะอาดพน้ื ที่เกิดเหตหุ รอื กำ� จัดสาร เว้นแต่ด�ำเนนิ การภายใตค้ �ำแนะน�ำของผู้เชีย่ วชาญ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมนั่ ใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทงั้ มกี ารปอ้ งกนั ตนเองอยา่ งเหมาะสม - นำ� ผูบ้ าดเจ็บไปยงั พื้นท่ีอากาศบรสิ ุทธ์ิ - โทรแจ้ง 191 หรอื หนว่ ยแพทย์เคลือ่ นที่ฉกุ เฉิน (1669) - ห้ามผายปอดดว้ ยวธิ กี ารเปา่ ปาก หากผบู้ าดเจบ็ กลืนหรือหายใจรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย ใหใ้ ช้ เครอื่ งชว่ ยหายใจชนิดมีท่ีครอบใหอ้ ากาศแบบวาลว์ ทางเดยี ว หรอื อปุ กรณช์ ว่ ยหายใจอื่นทีเ่ หมาะสม - ใช้เคร่อื งชว่ ยหายใจหากผบู้ าดเจบ็ หยดุ หายใจ - ใหอ้ อกซเิ จนถา้ ผบู้ าดเจบ็ หายใจล�ำบาก - ถา้ สัมผสั กับสาร ใหล้ า้ งผวิ หนังและดวงตาโดยวธิ ีใหน้ ้�ำไหลผา่ นทันที อยา่ งน้อย 20 นาที - ถอดและแยกเก็บเสื้อผา้ และรองเทา้ ทีป่ นเปอื้ น - ใหผ้ บู้ าดเจบ็ อยใู่ นอาการสงบ และใหค้ วามอบอนุ่ รา่ งกาย 227

Guide สารออกซิไดซ์ 140 [OXIDIZERS] อนั ตรายที่อาจเกดิ ขึน้ อคั คภี ยั หรือการระเบดิ - สารเหลา่ น้ีจะเร่งการเผาไหม้เมือ่ อยูใ่ นกองเพลิง - สารบางชนดิ อาจสลายตวั และเกิดระเบดิ เม่อื ได้รับความร้อนหรอื อยใู่ นกองเพลิง - อาจระเบิดเนื่องจากความรอ้ นหรอื การปนเป้อื น - สารบางชนิดท�ำปฏิกิรยิ าอย่างรนุ แรงกับสารกลมุ่ ไฮโดรคาร์บอน (น้�ำมนั เช้อื เพลิง) - อาจท�ำให้เกดิ การลกุ ติดไฟวสั ด/ุ สาร ทีต่ ิดไฟได้ เช่น ไม้ กระดาษ น้�ำมนั ผ้า ฯลฯ - ไอระเหยจากกา๊ ซเหลว ในข้ันต้นจะหนักกว่าอากาศ และแพรก่ ระจายไปตามพน้ื - น�้ำเสียจากพื้นท่ีเกิดเหตอุ าจท�ำให้เกิดเพลิงไหมห้ รอื การระเบิด สุขภาพ - การสูดดม กิน หรือสัมผสั (ผิวหนัง ดวงตา) กับไอระเหย หรอื ตวั สาร อาจเกดิ อาการ บาดเจ็บรุนแรงแผลไหม้ หรือเสยี ชีวติ - หากสารเกดิ ลุกไหม้ อาจเกดิ กา๊ ซท่ีมีฤทธริ์ ะคายเคอื ง กดั กร่อน และ/หรอื เปน็ พษิ - น้�ำเสียจากการดับเพลิงหรอื นำ้� ทใี่ ชเ้ จือจางสารอาจกอ่ มลพษิ ความปลอดภยั ตอ่ สาธารณชน - โทรแจง้ หมายเลขฉกุ เฉินทีร่ ะบุในเอกสารกำ� กบั ขนส่ง หากไม่พบเอกสารฯ หรือไม่มผี รู้ ับสาย ให้โทรแจ้งหมายเลขท่ีเหมาะสมทร่ี ะบุอยู่ดา้ นในปกหลงั คู่มอื - เพื่อเปน็ มาตรการปอ้ งกนั เหตุฉกุ เฉินเบอื้ งตน้ ก้นั แยกพ้นื ที่ทสี่ ารร่วั ไหลทนั ทที กุ ทิศทางอย่างนอ้ ย 50 เมตร (150 ฟตุ ) ถ้าเปน็ ของเหลว และอย่างน้อย 25 เมตร (75ฟุต) ถ้าเปน็ ของแข็ง - กันบุคคลท่ไี ม่เก่ยี วข้องออกห่างจากพนื้ ท ่ี - อยู่เหนอื ลม ขน้ึ ที่สูง และ/หรอื บริเวณเหนอื น�้ำ - ระบายอากาศในพ้นื ที่ปิดกอ่ นเข้าระงบั เหตุ ชดุ ปอ้ งกนั - สวมใสช่ ดุ เคร่อื งชว่ ยหายใจส่วนบคุ คลแบบมีถังอากาศ (SCBA) - สวมชดุ ป้องกนั อนั ตรายจากสารเคมตี ามขอ้ แนะน�ำของบริษัทผผู้ ลิต ทั้งน้ชี ุดป้องกนั อันตรายจากสารเคมี ไม่สามารถปอ้ งกนั อนั ตรายจากความร้อนสูง - ชุดดับเพลิงสามารถป้องกันอันตรายได้อย่างจ�ำกัดเมื่อเกิดกรณีเพลิงไหม้สารแต่อาจไม่สามารถป้องกัน อนั ตรายอยา่ งมีประสทิ ธิภาพกรณีที่เกดิ เฉพาะการหกรวั่ ไหล การอพยพ กรณีรว่ั ไหลปริมาณมาก พจิ ารณาอพยพประชาชนท่ีอาศัยอยใู่ ตล้ มเบอื้ งตน้ อยา่ งนอ้ ย 100 เมตร (330 ฟตุ ) กรณเี พลงิ ไหม้ หากถงั บรรจขุ นาดใหญ่ ตู้รถไฟหรือรถบรรทุกสาร เก่ียวข้องกบั เพลงิ ไหม้ ใหก้ ้ันแยกพน้ื ท่ี เกดิ เหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทุกทศิ ทาง และพิจารณาอพยพประชาชนเบอื้ งต้น 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทิศทาง 228

สารออกซิไดซ ์ Guide [OXIDIZERS] 140 เพลิงไหม้ การด�ำเนินการเม่ือเกดิ เหตุฉกุ เฉิน เพลงิ ไหม้ขนาดเล็ก - ใชน้ �้ำ หา้ มใช้ผงเคมีแหง้ หรือโฟมดบั เพลิง การใช้ CO2 หรือฮาลอน (Halon) อาจมปี ระสทิ ธิภาพจ�ำกดั เพลิงไหมข้ นาดใหญ่ - ฉดี นำ�้ ดบั เพลิงปริมาณมากจากระยะไกล - ห้ามเคล่อื นยา้ ยตูส้ ินค้าหรือรถขนสง่ หากตู้สนิ คา้ ได้รับความร้อนเป็นเวลานาน - เคลื่อนยา้ ยภาชนะบรรจอุ อกจากบริเวณเพลงิ ไหม้ หากทำ� ได้โดยไมเ่ สี่ยงอนั ตราย เพลงิ ไหม้/เกิดอยใู่ กล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนสง่ - ฉีดนำ้� ดบั เพลงิ จากระยะไกลท่ีสุด หรอื ใช้หัวฉดี น�ำ้ ชนดิ ทไ่ี ม่ตอ้ งใชค้ นควบคมุ หรอื ใช้แทน่ ฉดี น�้ำแทน - ฉีดนำ้� ปริมาณมากเพื่อหลอ่ เยน็ ภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลงิ จะสงบ - อยูห่ า่ งจากภาชนะบรรจุทไี่ ฟลกุ ท่วมตลอดเวลา - ส�ำหรบั เพลงิ ไหมร้ นุ แรงและใหญม่ าก ใหใ้ ช้หวั ฉีดน�้ำชนดิ ทไ่ี ม่ต้องใช้มือจบั หรือใชแ้ ท่นฉดี น้�ำแทน หากไมม่ ใี หถ้ อนก�ำลงั ออกจากพนื้ ที่และปล่อยให้ไฟลุกไหม้จนดบั ไปเอง การหกร่วั ไหล - แยกวัสด/ุ สารที่ตดิ ไฟได้ (ไม้ กระดาษ นำ�้ มัน ฯลฯ) ออกจากบรเิ วณท่มี กี ารรั่วไหล - หา้ มสมั ผสั ภาชนะบรรจทุ เี่ สยี หายหรอื สารทห่ี กรว่ั ไหล หากไมส่ วมใสช่ ดุ ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คลทเ่ี หมาะสม - ระงบั การรว่ั ไหลของทำ� ไดโ้ ดยไม่เสย่ี งอันตราย - หา้ มฉีดน�้ำเขา้ ไปในภาชนะบรรจุ สารเคมี(แห้ง)ร่วั ไหลเล็กนอ้ ย - ใชพ้ ลั่วทีส่ ะอาดตกั สารใสใ่ นภาชนะบรรจทุ ่สี ะอาดและแห้ง ปดิ ฝาอย่างหลวม ๆ และขนย้ายออกจากทีเ่ กดิ เหตุ สารเคมี(ของเหลว)ร่วั ไหลเล็กน้อย - ใชว้ สั ดุทไ่ี ม่ติดไฟ เชน่ เวอมิคูไลท์ (vermiculite) หรือทราย ดูดซบั สารทหี่ กรว่ั ไหล และเกบ็ รวบรวมใส่ในภาชนะบรรจุ เพอ่ื สง่ ก�ำจัด หกรั่วไหลปรมิ าณมาก - สร้างคันกน้ั หรอื ขุดร่องกักสาร แล้วปดิ ทบั ด้วยทรายเปยี กหรือดนิ เพอ่ื ก�ำจดั ต่อไป - หลังจากเก็บรวบรวมและเคลอื่ นยา้ ยสารท่หี กแล้ว ใหล้ า้ งพื้นทีด่ ว้ ยนำ้� ปรมิ าณมาก การปฐมพยาบาล - ต้องมนั่ ใจว่าบคุ ลากรทางการแพทย์ทราบชนดิ และอันตรายของสารต่างๆ รวมท้งั มีการป้องกันตนเอง อย่างเหมาะสม - น�ำผู้บาดเจ็บไปยังพน้ื ทอี่ ากาศบริสุทธ์ิ - โทรแจง้ 191 หรอื หนว่ ยแพทยเ์ คลอ่ื นท่ฉี กุ เฉิน (1669) - ใช้เคร่อื งชว่ ยหายใจหากผู้บาดเจบ็ หยุดหายใจ - ใหอ้ อกซเิ จนถา้ ผู้บาดเจ็บหายใจลำ� บาก - ถอดและแยกเก็บเสือ้ ผา้ และรองเทา้ ที่ปนเปื้อน - หากเส้อื ผา้ ท่ปี นเปือ้ นน้นั แห้งอาจลกุ ตดิ ไฟ - ถา้ สมั ผัสกับสาร ใหล้ ้างผวิ หนงั และดวงตาโดยวิธีให้นำ้� ไหลผา่ นทันที อยา่ งน้อย 20 นาที - ใหผ้ ูบ้ าดเจ็บอยู่ในอาการสงบ และให้ความอบอุน่ ร่างกาย 229

Guide สารออกซไิ ดซ์ – เปน็ พษิ 141 [OXIDIZERS – TOXIC] อันตรายทอ่ี าจเกิดขน้ึ อัคคภี ัยหรือการระเบิด - สารเหล่านีจ้ ะเร่งการเผาไหมเ้ มอื่ อยูใ่ นกองเพลงิ - อาจระเบดิ เนอ่ื งจากความรอ้ นหรือการปนเปอื้ น - สารบางชนิดอาจลกุ ไหม้อย่างรวดเรว็ - สารบางชนดิ ท�ำปฏกิ ริ ิยาอย่างรนุ แรงกบั สารกลมุ่ ไฮโดรคาร์บอน (น�้ำมนั เชอ้ื เพลงิ ) - อาจท�ำใหเ้ กดิ การลุกติดไฟวสั ด/ุ สาร ทีต่ ิดไฟได้ เชน่ ไม้ กระดาษ น้�ำมัน ผ้า ฯลฯ - ภาชนะบรรจอุ าจระเบิดเมื่อไดร้ ับความรอ้ น - น้�ำเสียจากพืน้ ที่เกดิ เหตอุ าจท�ำให้เกดิ เพลงิ ไหมห้ รือการระเบิด สุขภาพ - เปน็ พษิ จากการกิน - การสูดดมฝุน่ สารเปน็ พิษ - หากสารเกดิ ลกุ ไหม้ อาจเกดิ กา๊ ซท่มี ีฤทธ์ิระคายเคอื ง กัดกรอ่ น และ/หรือเป็นพิษ - การสมั ผัสกบั สารอาจทำ� ให้ผิวหนังและดวงตาเป็นแผลไหม้รุนแรง - น�้ำเสียจากการดับเพลิงหรือนำ�้ ทใี่ ชเ้ จอื จางสารอาจกอ่ มลพิษ ความปลอดภัยต่อสาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉินท่ีระบุในเอกสารก�ำกบั ขนส่ง หากไมพ่ บเอกสารฯ หรือไมม่ ผี ูร้ บั สาย ใหโ้ ทรแจ้งหมายเลขท่เี หมาะสมทรี่ ะบุอย่ดู า้ นในปกหลงั คู่มอื - เพื่อเปน็ มาตรการป้องกนั เหตุฉกุ เฉินเบอื้ งต้น กน้ั แยกพื้นทท่ี ส่ี ารรั่วไหลทันทที กุ ทิศทางอย่างนอ้ ย 50 เมตร (150 ฟตุ ) ถา้ เป็นของเหลว และอยา่ งนอ้ ย 25 เมตร (75ฟตุ ) ถ้าเปน็ ของแข็ง - กนั บุคคลทไี่ ม่เกยี่ วข้องออกห่างจากพ้นื ที่ - อยู่เหนือลม ขนึ้ ท่ีสงู และ/หรอื บรเิ วณเหนือน้�ำ - ระบายอากาศในพืน้ ทปี่ ดิ กอ่ นเขา้ ระงบั เหตุ ชุดปอ้ งกัน - สวมใส่ชุดเคร่อื งชว่ ยหายใจสว่ นบุคคลแบบมถี งั อากาศ (SCBA) - สวมชุดป้องกันอนั ตรายจากสารเคมตี ามขอ้ แนะน�ำของบริษทั ผู้ผลิต ทงั้ น้ชี ุดปอ้ งกนั อนั ตราย จากสารเคมไี ม่สามารถป้องกนั อันตรายจากความรอ้ นสูง - ชุดดบั เพลงิ สามารถป้องกันอนั ตรายได้อย่างจ�ำกดั เม่อื เกดิ กรณีเพลิงไหม้สารแตอ่ าจไมส่ ามารถ ปอ้ งกนั อนั ตรายอย่างมีประสทิ ธภิ าพกรณีทเ่ี กดิ เฉพาะการหกรัว่ ไหล การอพยพ กรณีรวั่ ไหลปริมาณมาก พิจารณาอพยพประชาชนทีอ่ าศัยอยูใ่ ต้ลมเบอ้ื งตน้ อย่างนอ้ ย 100 เมตร (330 ฟตุ ) กรณีเพลงิ ไหม ้ หากถงั บรรจขุ นาดใหญ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทกุ สาร เกีย่ วขอ้ งกบั เพลิงไหม้ ให้ก้นั แยกพืน้ ที่ เกิดเหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล์) ทกุ ทิศทาง และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบอ้ื งต้น 800 เมตร (1/2 ไมล์) ทกุ ทศิ ทาง 230

สารออกซิไดซ์ – เป็นพษิ Guide [OXIDIZERS – TOXIC] 141 เพลิงไหม้ การดำ� เนนิ การเม่อื เกดิ เหตุฉุกเฉนิ เพลงิ ไหม้ขนาดเลก็ - ใช้นำ้� หา้ มใช้ผงเคมีแหง้ หรือโฟมดับเพลิง การใช้ CO2 หรอื ฮาลอน (Halon) อาจมปี ระสิทธิภาพจ�ำกดั เพลิงไหมข้ นาดใหญ่ - ฉีดนำ�้ ดับเพลิงปรมิ าณมากจากระยะไกล - หา้ มเคล่อื นย้ายตสู้ ินคา้ หรอื รถขนส่งหากตสู้ นิ ค้าไดร้ บั ความรอ้ นเปน็ เวลานาน - เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบรเิ วณเพลิงไหม้ หากทำ� ได้โดยไมเ่ สี่ยงอนั ตราย เพลงิ ไหม้/เกิดอยูใ่ กล้ ภาชนะบรรจหุ รอื รถขนส่ง - ฉดี นำ้� ดบั เพลงิ จากระยะไกลทส่ี ดุ หรอื ใชห้ วั ฉดี นำ�้ ชนดิ ทไ่ี มต่ อ้ งใชค้ นควบคมุ หรอื ใชแ้ ทน่ ฉดี นำ�้ แทน - ฉดี นำ้� ปรมิ าณมากเพอ่ื หลอ่ เยน็ ภาชนะบรรจุ จนกวา่ เพลงิ จะสงบ - อยหู่ า่ งจากภาชนะบรรจทุ ไ่ี ฟลกุ ทว่ มตลอดเวลา - ส�ำหรับเพลงิ ไหมร้ นุ แรงและใหญ่มาก ให้ใชห้ วั ฉีดน�้ำชนิดท่ีไมต่ อ้ งใช้มอื จบั หรอื ใชแ้ ทน่ ฉดี น�้ำแทน หากไมม่ ีให้ถอนก�ำลังออกจากพื้นที่และปลอ่ ยใหไ้ ฟลกุ ไหมจ้ นดับไปเอง การหกรวั่ ไหล - แยกวสั ดุ/สารท่ตี ิดไฟได้ (ไม้ กระดาษ นำ้� มนั ฯลฯ) ออกจากบรเิ วณที่มกี ารรั่วไหล - หา้ มสมั ผสั ภาชนะบรรจทุ เี่ สยี หายหรอื สารทห่ี กรวั่ ไหล หากไมส่ วมใสช่ ดุ ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คลทเี่ หมาะสม - ระงบั การรว่ั ไหลของทำ� ไดโ้ ดยไม่เสีย่ งอันตราย หกรัว่ ไหลปรมิ าณเล็กน้อย - ใชพ้ ลว่ั ทสี่ ะอาดตกั สารใสใ่ นภาชนะบรรจทุ สี่ ะอาดและแหง้ ปดิ ฝาอยา่ งหลวม ๆ และขนยา้ ยออกจากทเี่ กดิ เหตุ หกรั่วไหลปริมาณมาก - สรา้ งคนั กนั้ หรอื ขดุ ร่องกักสาร แล้วปิดทบั ดว้ ยทรายเปยี กหรือดนิ เพ่อื ก�ำจดั ต่อไป การปฐมพยาบาล - ต้องมัน่ ใจว่าบุคลากรทางการแพทย์ทราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทง้ั มกี ารปอ้ งกนั ตนเอง อย่างเหมาะสม - น�ำผูบ้ าดเจบ็ ไปยังพืน้ ที่อากาศบริสุทธิ์ - โทรแจ้ง 191 หรือหน่วยแพทย์เคลือ่ นทฉี่ กุ เฉิน (1669) - ใชเ้ คร่ืองช่วยหายใจหากผู้บาดเจบ็ หยุดหายใจ - ให้ออกซเิ จนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจลำ� บาก - ถอดและแยกเก็บเสอ้ื ผ้าและรองเทา้ ทีป่ นเปื้อน - หากเสอื้ ผ้าทีป่ นเป้อื นนน้ั แหง้ อาจลกุ ตดิ ไฟ - ถ้าสัมผสั กบั สาร ใหล้ า้ งผวิ หนังและดวงตาโดยวิธใี ห้นำ้� ไหลผ่านทนั ที อย่างนอ้ ย 20 นาที - ใหผ้ ู้บาดเจ็บอยใู่ นอาการสงบ และใหค้ วามอบอุ่นร่างกาย 231

Guide สารออกซิไดซ์ – เปน็ พิษ (ของเหลว) 142 [OXIDIZERS – TOXIC (liquids)] อันตรายทอี่ าจเกดิ ขน้ึ อัคคภี ยั หรอื การระเบิด - สารเหลา่ น้ีจะเร่งการเผาไหม้เม่ืออย่ใู นกองเพลิง - อาจระเบดิ เนื่องจากความรอ้ นหรอื การปนเป้อื น - สารบางชนดิ ท�ำปฏิกิริยาอย่างรนุ แรงกับสารกลุ่มไฮโดรคารบ์ อน (นำ้� มนั เชื้อเพลงิ ) - อาจท�ำให้เกดิ การลุกตดิ ไฟวัสดุ/สาร ท่ีตดิ ไฟได้ เช่น ไม้ กระดาษ น้�ำมนั ผา้ ฯลฯ - ภาชนะบรรจอุ าจระเบิดเมื่อได้รบั ความร้อน - น้�ำเสียจากพ้นื ท่เี กดิ เหตุอาจท�ำใหเ้ กิดเพลงิ ไหม้หรือการระเบิด สุขภาพ - เป็นพษิ : การสดู ดม กิน หรือสมั ผัส (ผิวหนงั ดวงตา) กับไอระเหย หรอื ตวั สาร อาจเกดิ อาการ บาดเจ็บรุนแรง แผลไหม้ หรอื เสียชีวติ - หากสารเกิดลุกไหม้ อาจเกดิ กา๊ ซท่มี ีฤทธริ์ ะคายเคือง กัดกร่อน และ/หรือเปน็ พิษจากการกิน - ไอสารทไ่ี วไฟ/เป็นพษิ อาจสะสมตวั ในที่อบั อากาศ (เช่น ชนั้ ใต้ดนิ ถงั บรรจุ รถขนส่ง ฯลฯ) - น�้ำเสียจากการดบั เพลิงหรือนำ้� ทใ่ี ช้เจอื จางสารอาจกอ่ มลพิษ ความปลอดภัยตอ่ สาธารณชน - โทรแจง้ หมายเลขฉุกเฉินทรี่ ะบุในเอกสารกำ� กับขนสง่ หากไม่พบเอกสารฯ หรือไม่มีผูร้ บั สาย ให้โทรแจ้งหมายเลขท่เี หมาะสมทีร่ ะบุอยดู่ า้ นในปกหลงั คมู่ ือ - ก้นั แยกพืน้ ที่ทสี่ ารรั่วไหลทันทีอย่างนอ้ ย 50 เมตร (150 ฟตุ ) ทุกทศิ ทาง - กนั บคุ คลที่ไมเ่ กีย่ วขอ้ งออกหา่ งจากพน้ื ที่ - อยเู่ หนอื ลม ข้นึ ท่สี ูง และ/หรือ บริเวณเหนอื น�้ำ - ระบายอากาศในพนื้ ที่ปิดกอ่ นเข้าระงับเหตุ ชดุ ปอ้ งกัน - สวมใสช่ ุดเครื่องช่วยหายใจส่วนบคุ คลแบบมถี ังอากาศ (SCBA) - สวมชดุ ปอ้ งกนั อนั ตรายจากสารเคมตี ามข้อแนะน�ำของบรษิ ัทผู้ผลิต ท้ังนช้ี ดุ ปอ้ งกนั อันตราย จากสารเคมีไม่สามารถปอ้ งกนั อันตรายจากความรอ้ นสงู - ชดุ ดบั เพลิงสามารถปอ้ งกนั อนั ตรายไดอ้ ยา่ งจ�ำกัดเมอื่ เกิดกรณีเพลิงไหมส้ ารแต่อาจไม่สามารถ ปอ้ งกันอันตรายอย่างมปี ระสทิ ธิภาพกรณที เี่ กดิ เฉพาะการหกรัว่ ไหล การอพยพ กรณหี กรว่ั ไหล สำ� หรบั สารทช่ี อ่ื มแี รเงาดขู อ้ มลู ในตารางกำ� หนดระยะกนั้ เขตเบอื้ งตน้ และระยะปกปอ้ งสาธารณชน ส�ำหรับสารทช่ี ือ่ ไมม่ แี รเงา ใหเ้ พิม่ ระยะทางในการพจิ ารณาอพยพประชาชนเทา่ ทีจ่ ำ� เป็น จากระยะ ท่กี �ำหนดในหวั ข้อ ความปลอดภยั ตอ่ สาธารณชน กรณเี พลิงไหม้ หากถังบรรจขุ นาดใหญ่ ต้รู ถไฟหรือรถบรรทุกสาร เกยี่ วขอ้ งกบั เพลิงไหม้ ให้กน้ั แยกพ้ืนที่ เกดิ เหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล์) ทุกทิศทาง และพิจารณาอพยพประชาชนเบื้องตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล์) ทกุ ทิศทาง 232

สารออกซิไดซ์ – เป็นพิษ (ของเหลว) Guide [OXIDIZERS – TOXIC (liquids)] 142 เพลิงไหม้ การดำ� เนนิ การเม่อื เกิดเหตุฉกุ เฉนิ เพลงิ ไหมข้ นาดเล็ก - ใช้น้�ำ ห้ามใชผ้ งเคมแี หง้ หรอื โฟมดบั เพลิง การใช้ CO2 หรือฮาลอน(Halon) อาจมปี ระสทิ ธภิ าพจ�ำกัด เพลงิ ไหม้ขนาดใหญ่ - ฉดี นำ�้ ดบั เพลิงปริมาณมากจากระยะไกล - ห้ามเคลอื่ นย้ายตูส้ นิ ค้าหรอื รถขนสง่ หากตู้สนิ ค้าได้รบั ความรอ้ นเปน็ เวลานาน - เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจอุ อกจากบริเวณเพลิงไหม้ หากทำ� ได้โดยไม่เส่ียงอันตราย เพลิงไหม/้ เกดิ อยใู่ กล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนส่ง - ฉดี นำ้� ดบั เพลิงจากระยะไกลที่สดุ หรือใช้หวั ฉีดน้ำ� ชนิดท่ไี มต่ อ้ งใช้คนควบคุมหรือใช้แท่นฉีดน�้ำแทน - ฉดี นำ�้ ปรมิ าณมากเพอ่ื หล่อเยน็ ภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลงิ จะสงบ - อยหู่ ่างจากภาชนะบรรจุทไ่ี ฟลุกท่วมตลอดเวลา - ส�ำหรับเพลิงไหม้รุนแรงและใหญ่มาก ใหใ้ ช้หัวฉดี น�้ำชนดิ ที่ไม่ต้องใช้มือจบั หรอื ใชแ้ ทน่ ฉดี น้�ำแทน หากไม่มีให้ถอนก�ำลังออกจากพ้ืนท่แี ละปล่อยให้ไฟลกุ ไหมจ้ นดบั ไปเอง การหกรวั่ ไหล - แยกวสั ด/ุ สารที่ตดิ ไฟได้ (ไม้ กระดาษ นำ�้ มัน ฯลฯ) ออกจากบรเิ วณท่มี กี ารรว่ั ไหล - สวมชดุ ปอ้ งกนั ไอระเหยสารแบบคลมุ ทงั้ ตวั หากตอ้ งปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นบรเิ วณทมี่ กี ารรว่ั ไหล แตไ่ มม่ เี พลงิ ไหม้ - หา้ มสมั ผสั ภาชนะบรรจทุ เี่ สยี หายหรอื สารทห่ี กรวั่ ไหล หากไมส่ วมใสช่ ดุ ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คลทเี่ หมาะสม - ระงบั การร่ัวไหลของทำ� ได้โดยไมเ่ ส่ียงอนั ตราย - ห้ามฉดี น้�ำเขา้ ไปในภาชนะบรรจุ - ฉีดนำ�้ เปน็ ฝอยดักจบั เพอื่ ลดไอระเหยสารหรือเปล่ียนทศิ ทางกลุ่มไอระเหยสาร หกรั่วไหลปริมาณเลก็ นอ้ ย - ใชว้ ัสดทุ ี่ไมต่ ดิ ไฟ เชน่ เวอมคิ ูไลท์ (vermiculite) หรือทราย ดูดซบั สารทหี่ กร่ัวไหล และเก็บรวบรวมใส่ในภาชนะบรรจุ เพือ่ ส่งกำ� จัด หกรวั่ ไหลปรมิ าณมาก - สรา้ งคนั กน้ั หรอื ขดุ รอ่ งกกั สาร แลว้ ปดิ ทบั ดว้ ยทรายเปยี กหรอื ดนิ เพอ่ื สง่ กำ� จดั ตอ่ ไป การปฐมพยาบาล - ต้องมนั่ ใจวา่ บุคลากรทางการแพทยท์ ราบชนิดและอนั ตรายของสารต่างๆ รวมท้ังมกี ารปอ้ งกนั ตนเอง อยา่ งเหมาะสม - น�ำผ้บู าดเจ็บไปยงั พื้นทีอ่ ากาศบรสิ ทุ ธิ์ - โทรแจ้ง 191 หรอื หนว่ ยแพทย์เคลอ่ื นท่ฉี ุกเฉนิ (1669) - ใชเ้ ครื่องช่วยหายใจหากผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ - หา้ มผายปอดดว้ ยวธิ กี ารเปา่ ปาก หากผบู้ าดเจบ็ กลนื หรอื หายใจรบั สารเคมเี ขา้ สรู่ า่ งกาย ใหใ้ ช้ เครอื่ งชว่ ยหายใจชนดิ มที ค่ี รอบใหอ้ ากาศแบบวาลว์ ทางเดยี ว หรอื อปุ กรณช์ ว่ ยหายใจอน่ื ทเ่ี หมาะสม - ใหอ้ อกซิเจนถ้าผบู้ าดเจบ็ หายใจล�ำบาก - ถอดและแยกเก็บเส้อื ผา้ และรองเท้าทีป่ นเป้ือน - หากเสอื้ ผา้ ทปี่ นเปอ้ื นนน้ั แหง้ อาจลกุ ตดิ ไฟ - ใหผ้ บู้ าดเจบ็ อยใู่ นอาการสงบ และใหค้ วามอบอนุ่ รา่ งกาย - ถา้ สมั ผัสกบั สาร ใหล้ า้ งผิวหนงั และดวงตาโดยวิธีใหน้ ำ้� ไหลผา่ นทันที อยา่ งน้อย 20 นาที 233

Guide สารออกซไิ ดซ์ (ไมเ่ สถียร) 143 [ OXIDIZERS (Unstable)] อันตรายทอี่ าจเกดิ ขน้ึ อัคคภี ัยหรือการระเบดิ - อาจระเบิดเน่ืองจากการเสยี ดสี ความรอ้ น หรือการปนเปือ้ น - สารเหล่าน้ีจะเร่งการเผาไหมเ้ ม่ืออยใู่ นกองเพลิง - อาจท�ำให้เกิดการลุกตดิ ไฟวัสดุ/สาร ทต่ี ดิ ไฟได้ เชน่ ไม้ กระดาษ น�้ำมัน ผ้า ฯลฯ - สารบางชนดิ ท�ำปฏกิ ิริยาอย่างรนุ แรงกับสารกลุม่ ไฮโดรคารบ์ อน (น�ำ้ มันเชอ้ื เพลิง) - ภาชนะบรรจุอาจระเบดิ เมอ่ื ไดร้ บั ความรอ้ น - น�้ำเสยี จากพ้นื ทีเ่ กิดเหตอุ าจท�ำให้เกดิ เพลิงไหมห้ รอื การระเบดิ สุขภาพ - เป็นพษิ : การสดู ดม กิน หรือสมั ผัส (ผวิ หนงั ดวงตา) กบั ไอระเหย ฝนุ่ หรอื ตัวสาร อาจเกิดอาการบาดเจบ็ รุนแรง แผลไหม้ หรอื เสียชีวติ - หากสารเกดิ ลกุ ไหม้ อาจเกิดกา๊ ซท่มี ีฤทธริ์ ะคายเคือง กดั กรอ่ น และ/หรือเปน็ พิษ - ไอสารที่ไวไฟ/เป็นพษิ อาจสะสมตัวในทีอ่ ับอากาศ (เช่น ชั้นใต้ดิน ถงั บรรจรุ ถขนส่ง ฯลฯ) - น้�ำเสยี จากการดับเพลงิ หรอื นำ�้ ท่ใี ชเ้ จอื จางสารอาจกอ่ มลพษิ ความปลอดภยั ต่อสาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉกุ เฉินท่ีระบุในเอกสารก�ำกับขนส่ง หากไม่พบเอกสารฯ หรือไม่มผี รู้ บั สาย ใหโ้ ทรแจ้งหมายเลขทีเ่ หมาะสมที่ระบุอย่ดู ้านในปกหลังคมู่ อื - เพือ่ เปน็ มาตรการปอ้ งกันเหตุฉุกเฉนิ เบอ้ื งตน้ กัน้ แยกพืน้ ทที่ สี่ ารรวั่ ไหลทันทีทุกทศิ ทางอยา่ งน้อย 50 เมตร (150 ฟตุ ) ถ้าเป็นของเหลว และอยา่ งนอ้ ย 25 เมตร (75ฟตุ ) ถ้าเปน็ ของแข็ง - กนั บคุ คลทไี่ มเ่ กีย่ วขอ้ งออกห่างจากพน้ื ที่ - อยู่เหนอื ลม ขนึ้ ท่สี งู และ/หรอื บริเวณเหนอื น�ำ้ - ระบายอากาศในพนื้ ท่ปี ิดก่อนเข้าระงับเหตุ ชุดป้องกนั - สวมใสช่ ุดเคร่ืองชว่ ยหายใจสว่ นบคุ คลแบบมถี งั อากาศ (SCBA) - สวมชดุ ปอ้ งกันอนั ตรายจากสารเคมีตามข้อแนะน�ำของบรษิ ทั ผผู้ ลติ ทัง้ นชี้ ดุ ป้องกันอนั ตรายจากสารเคมี ไมส่ ามารถปอ้ งกนั อนั ตรายจากความร้อนสูง - ชดุ ดบั เพลงิ สามารถป้องกันอันตรายได้อยา่ งจ�ำกดั เมือ่ เกิดกรณเี พลิงไหมส้ ารแต่อาจไมส่ ามารถปอ้ งกัน อนั ตรายอย่างมปี ระสิทธิภาพกรณที เ่ี กดิ เฉพาะการหกร่วั ไหล การอพยพ รวั่ ไหลปรมิ าณมาก ส ำ� หรบั สารทช่ี อ่ื มแี รเงาดขู อ้ มลู ในตารางกำ� หนดระยะกนั้ เขตเบอื้ งตน้ และระยะปกปอ้ งสาธารณชน ส�ำหรบั สารท่ีช่ือไมม่ ีแรเงาใหเ้ พิม่ ระยะทางในการพิจารณาอพยพประชาชนเทา่ ท่ีจำ� เปน็ จากระยะท่ีก�ำหนด ในหัวขอ้ ความปลอดภัยต่อสาธารณชน กรณีเพลงิ ไหม ้ - หากถังบรรจุขนาดใหญ่ ตู้รถไฟหรือรถบรรทุกสาร เกี่ยวขอ้ งกบั เพลงิ ไหม้ ให้กน้ั แยก พน้ื ท่เี กดิ เหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทุกทศิ ทาง และพิจารณาอพยพประชาชนเบ้อื งตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทิศทาง 234

สารออกซิไดซ์ (ไมเ่ สถยี ร) Guide [ OXIDIZERS (Unstable)] 143 เพลิงไหม้ การด�ำเนินการเม่อื เกดิ เหตุฉุกเฉนิ เพลิงไหม้ขนาดเล็ก - ใช้นำ้� ห้ามใช้ผงเคมีแห้งหรอื โฟมดบั เพลิง การใช้ CO2 หรือฮาลอน (Halon) อาจมีประสทิ ธภิ าพจ�ำกดั เพลิงไหมข้ นาดใหญ่ - ฉดี นำ�้ ดับเพลงิ ปรมิ าณมากจากระยะไกล - ห้ามเคลอ่ื นยา้ ยต้สู ินคา้ หรือรถขนส่งหากต้สู นิ ค้าได้รบั ความรอ้ นเปน็ เวลานาน - เคลอื่ นย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณเพลิงไหม้ หากทำ� ได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย - หา้ มฉดี น้ำ� เข้าไปในภาชนะบรรจุ : อาจเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าอยา่ งรนุ แรง เพลงิ ไหม/้ เกดิ อยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนส่ง - ฉีดนำ้� ปริมาณมากเพอ่ื หล่อเยน็ ภาชนะบรรจุ จนกวา่ เพลิงจะสงบ - สร้างคันก้ันหรอื ร่องกกั นำ�้ เสยี จากการดับเพลงิ เพอื่ สง่ กำ� จดั ตอ่ ไป - อย่หู ่างจากภาชนะบรรจุท่ีไฟลกุ ท่วมตลอดเวลา - ส�ำหรบั เพลิงไหมร้ นุ แรงและใหญม่ าก ใหใ้ ช้หวั ฉีดน้�ำชนิดท่ีไมต่ อ้ งใชม้ อื จบั หรือใชแ้ ท่นฉดี น�้ำแทน หากไม่มีใหถ้ อนก�ำลังออกจากพน้ื ท่แี ละปลอ่ ยให้ไฟลกุ ไหมจ้ นดับไปเอง การหกรั่วไหล - แยกวสั ด/ุ สารท่ีตดิ ไฟได้ (ไม้ กระดาษ นำ้� มนั ฯลฯ) ออกจากบรเิ วณท่มี ีการรว่ั ไหล - หา้ มสมั ผสั ภาชนะบรรจทุ เี่ สยี หายหรอื สารทห่ี กรวั่ ไหล หากไมส่ วมใสช่ ดุ ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คลทเ่ี หมาะสม - ฉีดนำ้� เปน็ ฝอยดกั จับเพอ่ื ลดไอระเหยสารหรือเปลี่ยนทิศทางกลมุ่ ไอระเหยสาร - ป้องกันมิใหส้ ารไหลลงนำ�้ ทอ่ ระบายน�้ำ ชน้ั ใตด้ ิน หรือบรเิ วณอบั อากาศ หกรั่วไหลปริมาณเลก็ น้อย - ลา้ งบริเวณเกิดเหตดุ ้วยนำ�้ ปรมิ าณมาก หกรัว่ ไหลปริมาณมาก - หา้ มท�ำความสะอาดพน้ื ทีห่ รอื กำ� จัดสาร ยกเวน้ ด�ำเนนิ การภายใต้การดูแล ของผเู้ ช่ียวชาญ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมัน่ ใจวา่ บุคลากรทางการแพทย์ทราบชนดิ และอนั ตรายของสารต่างๆ รวมทัง้ มีการปอ้ งกนั ตนเอง อยา่ งเหมาะสม - น�ำผ้บู าดเจบ็ ไปยังพนื้ ท่ีอากาศบริสทุ ธ์ิ - โทรแจง้ 191 หรือหน่วยแพทยเ์ คล่ือนทฉ่ี กุ เฉิน (1669) - ใชเ้ คร่ืองช่วยหายใจหากผู้บาดเจบ็ หยดุ หายใจ - ใหอ้ อกซิเจนถ้าผ้บู าดเจบ็ หายใจลำ� บาก - ถอดและแยกเก็บเส้อื ผ้าและรองเท้าที่ปนเปอื้ น - หากเสือ้ ผ้าทีป่ นเปอ้ื นนน้ั แหง้ อาจลุกติดไฟ - ถ้าสมั ผสั กบั สาร ใหล้ า้ งผวิ หนังและดวงตาโดยวธิ ใี ห้นำ้� ไหลผ่านทันที อย่างน้อย 20 นาที - ใหผ้ ู้บาดเจ็บอยใู่ นอาการสงบ และให้ความอบอ่นุ ร่างกาย 235

Guide สารออกซิไดซ์ (ท�ำปฏกิ ิรยิ ากับน�้ำ) 144 [OXIDIZERS (Water Reactive)] อัคคีภยั หรือการระเบิด อนั ตรายทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ - อาจท�ำให้เกิดการลกุ ติดไฟวัสดุ/สารท่ีติดไฟได้ เชน่ ไม้ กระดาษ นำ้� มนั ผ้า ฯลฯ - ท�ำปฏกิ ริ ยิ าอย่างรุนแรงหรอื เกดิ การระเบดิ เม่อื สมั ผัสกบั น้�ำ - ท�ำให้เกดิ สารท่ีเป็นพิษ และ/หรือ กัดกรอ่ น เมอ่ื สัมผสั กบั น�ำ้ - กา๊ ซที่ไวไฟ/เป็นพษิ อาจสะสมอยู่ในทีอ่ ับอากาศ เช่น ช้ันใตด้ ิน ถังเก็บรถขนถา่ ย/รถขนสง่ ฯลฯ - สารบางชนิดท�ำให้เกิดก๊าซไฮโดรเจนซงึ่ ไวไฟ เม่อื สัมผสั กับโลหะ - ภาชนะบรรจอุ าจระเบิดไดเ้ มื่อได้รบั ความร้อน - น�้ำเสยี จากพ้ืนทเี่ กดิ เหตุอาจท�ำใหเ้ กิดเพลงิ ไหมห้ รอื การระเบิด สขุ ภาพ - เปน็ พษิ : การสูดดม หรอื สมั ผัส (ผิวหนงั ดวงตา) กบั ไอระเหย ตวั สาร หรือก๊าซที่เกิดจากการ สลายตวั ของสาร อาจเกิดอาการบาดเจ็บรนุ แรงหรือเสยี ชวี ติ - หากสารเกดิ ลกุ ไหม้ อาจเกดิ ก๊าซท่มี ฤี ทธ์ริ ะคายเคือง กัดกร่อน และ/หรือเป็นพษิ - น้�ำเสยี จากการดบั เพลงิ หรอื นำ�้ ท่ีใชเ้ จือจางสารอาจก่อมลพษิ ความปลอดภัยต่อสาธารณชน - โทรแจง้ หมายเลขฉกุ เฉินทีร่ ะบุในเอกสารกำ� กบั ขนสง่ หากไมพ่ บเอกสารฯ หรอื ไม่มผี รู้ บั สาย ใหโ้ ทรแจ้งหมายเลขทเ่ี หมาะสมทรี่ ะบุอยูด่ า้ นในปกหลังคมู่ อื - เพ่ือเป็นมาตรการป้องกันเหตฉุ ุกเฉินเบ้ืองต้น กัน้ แยกพ้นื ที่ท่สี ารรว่ั ไหลทันทที ุกทศิ ทางอยา่ งน้อย 50 เมตร (150 ฟตุ ) ถ้าเป็นของเหลว และอย่างนอ้ ย 25 เมตร (75 ฟุต) ถา้ เปน็ ของแขง็ - กนั บุคคลท่ีไมเ่ กยี่ วข้องออกห่างจากพน้ื ท่ี - อยู่เหนือลม ขน้ึ ทีส่ ูง และ/หรือ บริเวณเหนอื น้�ำ - ระบายอากาศในพื้นทปี่ ดิ ก่อนเขา้ ระงับเหตุ ชุดป้องกนั - สวมใส่ชุดเครือ่ งชว่ ยหายใจสว่ นบุคคลแบบมถี งั อากาศ (SCBA) - สวมชดุ ป้องกนั อนั ตรายจากสารเคมีตามขอ้ แนะน�ำของบริษทั ผู้ผลิต ทงั้ นีช้ ุดป้องกันอันตราย จากสารเคมีไม่สามารถปอ้ งกันอันตรายจากความรอ้ นสงู - ชดุ ดบั เพลิงสามารถปอ้ งกนั อันตรายได้อย่างจ�ำกัดเมอ่ื เกิดกรณเี พลิงไหมส้ ารแตอ่ าจไมส่ ามารถ ป้องกนั อันตรายอย่างมปี ระสิทธิภาพกรณีทเี่ กิดเฉพาะการหกรั่วไหล การอพยพ รั่วไหลปรมิ าณมาก สำ� หรบั สารท่ีชอ่ื มแี รเงาดูขอ้ มูลในตารางกำ� หนดระยะกัน้ เขตเบือ้ งตน้ และระยะปกป้อง สาธารณชน สำ� หรบั สารท่ชี อ่ื ไม่มแี รเงา ให้เพ่ิมระยะทางในการพิจารณาอพยพประชาชนเท่าที่จำ� เป็น จากระยะที่กำ� หนดในหัวข้อ ความปลอดภัยตอ่ สาธารณชน กรณเี พลงิ ไหม้ หากถงั บรรจขุ นาดใหญ ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทกุ สาร เกยี่ วขอ้ งกบั เพลงิ ไหม้ ใหก้ น้ั แยกพนื้ ที่ เกดิ เหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบอ้ื งตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง 236

สารออกซิไดซ์ (ท�ำปฏิกริ ิยากบั น้�ำ) Guide [OXIDIZERS (Water Reactive)] 144 การด�ำเนนิ การเม่อื เกดิ เหตฉุ ุกเฉนิ เพลิงไหม้ หา้ มใชน้ �ำ้ หรอื โฟมดับเพลงิ เพลิงไหมข้ นาดเล็ก - ผงเคมีแหง้ โซดาแอช หรอื ปนู ขาว เพลิงไหม้ขนาดใหญ่ - ทรายแห้ง ผงเคมแี หง้ โซดาแอช หรอื ปนู ขาว หรอื ถอนกำ� ลงั ออกจากพื้นทแี่ ละปลอ่ ยใหส้ าร ลุกไหม้จนหมด - ห้ามเคลอ่ื นยา้ ยตู้สนิ ค้าหรอื รถขนส่งหากตสู้ ินค้าไดร้ บั ความรอ้ นเป็นเวลานาน - เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจอุ อกจากบริเวณเพลงิ ไหม้ หากทำ� ได้โดยไมเ่ ส่ียงอนั ตราย เพลงิ ไหม้/เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจหุ รือรถขนสง่ - ฉดี นำ้� ดบั เพลงิ จากระยะไกลทสี่ ดุ หรอื ใชห้ วั ฉดี นำ้� ชนดิ ทไี่ มต่ อ้ งใชค้ นควบคมุ หรอื ใชแ้ ทน่ ฉดี นำ�้ แทน - ฉดี นำ้� ปรมิ าณมากเพื่อหลอ่ เย็นภาชนะบรรจุ จนกวา่ เพลงิ จะสงบ - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทที่ นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลย่ี นส ี - อยู่ห่างจากภาชนะบรรจุที่ไฟลกุ ทว่ มตลอดเวลา การหกรั่วไหล - กำ� จดั แหลง่ ทอี่ าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทง้ั หมด(หา้ มสบู บหุ รี่ จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟบรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - ระงบั การรั่วไหลหากท�ำไดโ้ ดยไมเ่ สี่ยงอันตราย - หา้ มสมั ผสั ภาชนะบรรจทุ เี่ สยี หายหรอื สารทห่ี กรวั่ ไหล หากไมส่ วมใสช่ ดุ ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คลทเ่ี หมาะสม - ฉีดนำ�้ เป็นฝอยดักจับเพือ่ ลดไอระเหยสารหรอื เปลี่ยนทิศทางกลุ่มไอระเหยสารหลีกเลย่ี ง ไม่ให้น�้ำทฉี่ ดี ไหลไปสมั ผัสกับสารทีห่ กร่วั ไหล - ห้ามฉดี น�ำ้ ลงบนสารทรี่ ่ัวไหลหรอื ฉดี เขา้ ไปในภาชนะบรรจุ หกร่ัวไหลปริมาณเลก็ นอ้ ย - ปิดทบั ดว้ ยดนิ แหง้ ทรายแห้ง หรอื วัสดอุ ่ืนทีไ่ มต่ ิดไฟ แล้วปิดคลมุ ด้วยแผ่นพลาสตกิ อีกช้นั หนง่ึ เพือ่ ลดการแพร่กระจายหรอื การสัมผสั กับนำ้� ฝน หกรวั่ ไหลปรมิ าณมาก - ห้ามทำ� ความสะอาดพ้ืนที่หรอื ก�ำจัดสาร ยกเว้นด�ำเนินการภายใตก้ ารดูแลของผเู้ ช่ยี วชาญ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมน่ั ใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทง้ั มกี ารปอ้ งกนั ตนเองอยา่ งเหมาะสม - นำ� ผบู้ าดเจบ็ ไปยงั พน้ื ทอ่ี ากาศบรสิ ทุ ธ ิ์ - โทรแจง้ 191 หรอื หนว่ ยแพทยเ์ คลอื่ นทฉี่ กุ เฉนิ (1669) - ใช้เครอื่ งชว่ ยหายใจหากผูบ้ าดเจ็บหยดุ หายใจ - ห้ามผายปอดดว้ ยวธิ กี ารเป่าปาก หากผู้บาดเจบ็ กลืนหรอื หายใจรบั สารเคมีเข้าสู่ร่างกาย ใหใ้ ช้ เครื่องชว่ ยหายใจชนิดมีที่ครอบให้อากาศแบบวาล์วทางเดยี ว หรืออุปกรณช์ ่วยหายใจอนื่ ทเ่ี หมาะสม - ให้ออกซิเจนถ้าผ้บู าดเจบ็ หายใจล�ำบาก - ถอดและแยกเก็บเส้อื ผา้ และรองเท้าท่ีปนเปื้อน - หากเส้ือผ้าที่ปนเป้อื นนัน้ แหง้ อาจลกุ ตดิ ไฟ - ถ้าสัมผสั กับสาร ให้ลา้ งผวิ หนังและดวงตาโดยวธิ ใี ห้นำ�้ ไหลผ่านทันที อยา่ งนอ้ ย 20 นาที - ใหผ้ บู้ าดเจบ็ อย่ใู นอาการสงบ และใหค้ วามอบอ่นุ รา่ งกาย - เฝา้ ระวังอาการผูบ้ าดเจบ็ - อาการบาดเจ็บจากการสมั ผสั กบั สาร (การสูดดม กนิ สมั ผสั ) อาจเกิดขนึ้ ช้า 237

Guide สารอนิ ทรียเ์ ปอร์ออกไซด์ (ไวตอ่ ความร้อนและการปนเปือ้ น) 145 [ORGANIC PEROXIDES (Heat and Contamination Sensitive) ] อนั ตรายที่อาจเกิดขึน้ อคั คภี ัยหรือการระเบิด - อาจระเบิดเนือ่ งจากความร้อนหรือการปนเปือ้ น - อาจท�ำให้เกดิ การลกุ ติดไฟวสั ดุ/สาร ทตี่ ิดไฟได้ เชน่ ไม้ กระดาษ น้�ำมนั ผา้ ฯลฯ - อาจจดุ ตดิ ไฟด้วยความรอ้ น ประกายไฟ หรอื เปลวไฟ - อาจลกุ ไหมอ้ ย่างรวดเร็วและเกดิ เปน็ เปลวไฟขนาดใหญ่ - ภาชนะบรรจอุ าจระเบดิ ไดเ้ มือ่ ไดร้ บั ความรอ้ น - น้�ำเสียจากพนื้ ท่เี กิดเหตอุ าจท�ำใหเ้ กิดเพลงิ ไหมห้ รือการระเบิด สขุ ภาพ - หากสารเกิดลกุ ไหม้ อาจเกิดก๊าซท่มี ีฤทธิร์ ะคายเคือง กดั กรอ่ น และ/หรอื เปน็ พษิ - การกินหรือสมั ผัส (ผวิ หนัง ดวงตา) กับตัวสาร อาจเกิดอาการบาดเจ็บรุนแรงหรือแผลไหม้ - น�้ำเสยี จากการดบั เพลิงหรอื นำ้� ที่ใชเ้ จอื จางสารอาจกอ่ มลพษิ ความปลอดภยั ตอ่ สาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉนิ ทรี่ ะบใุ นเอกสารกำ� กบั ขนสง่ หากไม่พบเอกสารฯ หรอื ไม่มีผูร้ ับสาย ใหโ้ ทรแจ้งหมายเลขทเ่ี หมาะสมทรี่ ะบอุ ยดู่ า้ นในปกหลังคู่มือ - เพือ่ เปน็ มาตรการปอ้ งกนั เหตุฉุกเฉนิ เบ้ืองต้น กน้ั แยกพนื้ ทท่ี ี่สารรั่วไหลทนั ทีทกุ ทศิ ทางอยา่ งน้อย 50 เมตร (150 ฟตุ ) ถา้ เปน็ ของเหลว และอย่างนอ้ ย 25 เมตร (75 ฟตุ ) ถา้ เป็นของแขง็ - กันบคุ คลที่ไมเ่ กี่ยวข้องออกห่างจากพืน้ ท ี่ - อยู่เหนือลม ขึน้ ที่สงู และ/หรอื บรเิ วณเหนือน�้ำ ชุดปอ้ งกนั - สวมใสช่ ดุ เครือ่ งช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมถี ังอากาศ (SCBA) - สวมชดุ ปอ้ งกนั อนั ตรายจากสารเคมตี ามข้อแนะน�ำของบริษทั ผู้ผลิต ท้งั นชี้ ดุ ปอ้ งกนั อนั ตราย จากสารเคมีไม่สามารถปอ้ งกันอนั ตรายจากความรอ้ นสูง - ชดุ ดับเพลงิ สามารถป้องกันอันตรายได้อยา่ งจ�ำกัดเม่อื เกดิ กรณีเพลงิ ไหมส้ ารแตอ่ าจไม่สามารถ ปอ้ งกันอันตรายอย่างมีประสทิ ธิภาพกรณที ่ีเกิดเฉพาะการหกรัว่ ไหล การอพยพ กรณีรั่วไหลปรมิ าณมาก - พิจารณาอพยพประชาชนทีอ่ าศัยอยู่ใตล้ มเบอื้ งต้นอย่างน้อย 250 เมตร (800 ฟุต) ทุกทศิ ทาง กรณเี พลงิ ไหม้ หากถงั บรรจขุ นาดใหญ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทุกสาร เก่ียวข้องกบั เพลิงไหม้ ใหก้ ้นั แยกพน้ื ที่ เกิดเหต 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทุกทศิ ทาง และพิจารณาอพยพประชาชนเบื้องต้น 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทุกทิศทาง 238

สารอินทรยี ์เปอร์ออกไซด์ (ไวตอ่ ความรอ้ นและการปนเปื้อน) Guide [ORGANIC PEROXIDES (Heat and Contamination Sensitive) ] 145 การดำ� เนนิ การเมอ่ื เกิดเหตุฉุกเฉนิ เพลงิ ไหม้ เพลงิ ไหม้ขนาดเลก็ - ควรใชน้ ำ้� ฉีดเปน็ ฝอยหรอื หมอก หากไม่สามารถจัดหานำ้� ได้ ใหใ้ ชผ้ งเคมแี ห้ง เพลCิงไOห2มหข้ รนอื าโดฟใมหดญับ่ เ พ -ล ิง ฉดี นำ้� ดับเพลงิ ปริมาณมากจากระยะไกล - ฉดี น�้ำเป็นฝอยหรือหมอก หา้ มฉดี นำ้� เปน็ ล�ำตรง - หา้ มเคลือ่ นย้ายตู้สินคา้ หรอื รถขนส่งหากตูส้ ินค้าได้รับความร้อนเป็นเวลานาน - เคลอื่ นยา้ ยภาชนะบรรจุออกจากบรเิ วณเพลงิ ไหม้ หากทำ� ได้โดยไมเ่ ส่ยี งอันตราย เพลิงไหม้/เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจหุ รอื รถขนส่ง - ฉดี นำ�้ ดับเพลงิ จากระยะไกลทสี่ ุด หรอื ใชห้ วั ฉีดน้�ำชนดิ ทไ่ี มต่ ้องใชค้ นควบคมุ หรอื ใชแ้ ทน่ ฉีดน้�ำแทน - ฉดี นำ้� ปรมิ าณมากเพอ่ื หลอ่ เยน็ ภาชนะบรรจุ จนกวา่ เพลงิ จะสงบ - อยหู่ า่ งจากภาชนะบรรจทุ ไี่ ฟลกุ ทว่ มตลอดเวลา - ส�ำหรับเพลงิ ไหมร้ ุนแรงและใหญม่ าก ใหใ้ ช้หัวฉดี น้�ำชนิดทไ่ี มต่ ้องใช้มือจับหรือใช้แทน่ ฉีดน�้ำแทน หากไม่มใี หถ้ อนก�ำลังออกจากพื้นทแี่ ละปล่อยให้ไฟลกุ ไหม้จนดับไปเอง การหกรัว่ ไหล - กำ� จดั แหลง่ ทอ่ี าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทงั้ หมด(หา้ มสบู บหุ ร่ี จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - แยกวัสด/ุ สารท่ตี ิดไฟได้ (ไม้ กระดาษ นำ�้ มัน ฯลฯ) ออกจากบรเิ วณท่ีมีการรวั่ ไหล - หา้ มสมั ผสั ภาชนะบรรจทุ เ่ี สยี หายหรอื สารทห่ี กรว่ั ไหล หากไมส่ วมใสช่ ดุ ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คลทเ่ี หมาะสม - ฉดี นำ้� เป็นฝอยรกั ษาสภาพสารให้เปยี ก - ระงบั การรั่วไหลหากทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ ส่ยี งอันตราย หกร่ัวไหลปริมาณเล็กนอ้ ย - ดูดซบั ด้วยสารที่เฉอื่ ยตอ่ การเกิดปฏกิ ิริยา เปียก และไม่ติดไฟ แล้วใชอ้ ปุ กรณท์ ่สี ะอาดและ ไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ประกายไฟ ตกั สารใสภ่ าชนะบรรจพุ ลาสตกิ ทส่ี ะอาด ปดิ ฝาหลวมๆ เพอื่ สง่ กำ� จดั ตอ่ ไป หกรวั่ ไหลปริมาณมาก - ท�ำใหส้ ารเปยี กด้วยนำ้� และสรา้ งคันก้นั หรือร่องกักสาร เพื่อส่งกำ� จดั ต่อไป - ป้องกันมใิ ห้สารไหลลงนำ�้ ท่อระบายน้�ำ ชัน้ ใต้ดิน หรือบริเวณอับอากาศ - ห้ามท�ำความสะอาดพนื้ ที่หรอื กำ� จดั สาร ยกเวน้ ด�ำเนนิ การภายใต้การดแู ลของผู้เช่ยี วชาญ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมน่ั ใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทย์ทราบชนิดและอันตรายของสารตา่ งๆ รวมท้ังมกี ารปอ้ งกันตนเอง อย่างเหมาะสม - น�ำผู้บาดเจ็บไปยังพ้นื ทอี่ ากาศบรสิ ุทธ์ิ - โทรแจ้ง 191 หรอื หนว่ ยแพทย์เคลือ่ นทฉ่ี กุ เฉนิ (1669) - ใชเ้ คร่ืองชว่ ยหายใจหากผูบ้ าดเจ็บหยุดหายใจ - ให้ออกซิเจนถา้ ผูบ้ าดเจ็บหายใจล�ำบาก - ถอดและแยกเกบ็ เสื้อผ้าและรองเท้าทป่ี นเปอื้ น - หากเส้ือผา้ ทีป่ นเปือ้ นนั้นแหง้ อาจลกุ ติดไฟ - กำ� จดั สารออกจากผวิ หนงั ทนั ท ี - ใหผ้ ูบ้ าดเจบ็ อย่ใู นอาการสงบ และใหค้ วามอบอุน่ รา่ งกาย - ถ้าสัมผสั กับสาร ให้ล้างผิวหนังและดวงตาโดยวธิ ใี หน้ ำ�้ ไหลผา่ นทันที อยา่ งนอ้ ย 20 นาที 239

Guide สารอนิ ทรยี เ์ ปอร์ออกไซด์ (ไวต่อความรอ้ น การปนเป้ือน และการเสยี ดสี) 146 [ORGANIC PEROXIDES (Heat, Contamination and Friction Sensitive)] อันตรายทีอ่ าจเกิดขน้ึ อัคคภี ยั หรอื การระเบดิ - อาจระเบดิ เน่ืองจากความร้อน การกระแทก เสยี ดสี หรือการปนเปื้อน - อาจท�ำให้เกดิ การลุกตดิ ไฟวสั ดุ/สาร ที่ตดิ ไฟได้ เชน่ ไม้ กระดาษ น�ำ้ มัน ผ้า ฯลฯ - อาจจุดตดิ ไฟด้วยความร้อน ประกายไฟ หรอื เปลวไฟ - อาจลุกไหมอ้ ย่างรวดเร็วและเกิดเปน็ เปลวไฟขนาดใหญ่ - ภาชนะบรรจุอาจระเบดิ ได้เม่อื ได้รับความรอ้ น - น้�ำเสียจากพ้ืนท่ีเกดิ เหตุอาจท�ำให้เกิดเพลงิ ไหม้หรอื การระเบดิ สขุ ภาพ - หากสารเกดิ ลุกไหม้ อาจเกดิ กา๊ ซทีม่ ฤี ทธร์ิ ะคายเคอื ง กดั กร่อน และ/หรอื เปน็ พษิ - การกินหรอื สัมผสั (ผิวหนัง ดวงตา) กบั ตัวสาร อาจเกดิ อาการบาดเจบ็ รนุ แรงหรอื แผลไหม้ - น้�ำเสยี จากการดับเพลงิ หรือน้�ำที่ใช้เจือจางสารอาจกอ่ มลพิษ ความปลอดภัยต่อสาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉกุ เฉินท่รี ะบใุ นเอกสารก�ำกบั ขนสง่ หากไม่พบเอกสารฯ หรือไม่มีผรู้ บั สาย ใหโ้ ทรแจ้งหมายเลขท่เี หมาะสมทรี่ ะบุอยู่ด้านในปกหลังค่มู อื - เพื่อเปน็ มาตรการปอ้ งกันเหตุฉกุ เฉินเบอื้ งตน้ กั้นแยกพืน้ ทท่ี ส่ี ารร่วั ไหลทันทีทุกทศิ ทางอย่างนอ้ ย 50 เมตร (150 ฟตุ ) ถ้าเป็นของเหลว และอย่างนอ้ ย 25 เมตร (75 ฟุต) ถา้ เป็นของแข็ง - กันบุคคลที่ไม่เกย่ี วข้องออกหา่ งจากพ้นื ท ่ี - อยู่เหนอื ลม ขนึ้ ทีส่ ูง และ/หรือ บรเิ วณเหนอื นำ�้ ชุดป้องกัน - สวมใส่ชดุ เคร่อื งชว่ ยหายใจส่วนบุคคลแบบมีถงั อากาศ (SCBA) - สวมชดุ ป้องกนั อนั ตรายจากสารเคมีตามข้อแนะน�ำของบริษัทผผู้ ลิต ทั้งนช้ี ดุ ปอ้ งกันอันตรายจาก สารเคมีไม่สามารถป้องกันอันตรายจากความร้อนสงู - ชดุ ดับเพลงิ สามารถป้องกนั อันตรายได้อยา่ งจ�ำกัดเมอื่ เกดิ กรณีเพลงิ ไหม้สารแตอ่ าจไมส่ ามารถ ปอ้ งกันอนั ตรายอย่างมีประสทิ ธภิ าพกรณีทีเ่ กดิ เฉพาะการหกรัว่ ไหล การอพยพ กรณีร่ัวไหลปริมาณมาก - พิจารณาอพยพประชาชนท่ีอาศยั อยใู่ ตล้ มเบื้องต้นอย่างน้อย 250 เมตร (800 ฟตุ ) ทุกทิศทาง กรณเี พลงิ ไหม้ - หากถงั บรรจขุ นาดใหญ ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทกุ สาร เกยี่ วขอ้ งกบั เพลงิ ไหม้ ใหก้ นั้ แยกพนื้ ท่ี เกดิ เหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบอื้ งตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง 240

สารอินทรียเ์ ปอรอ์ อกไซด์ (ไวต่อความร้อน การปนเป้อื น และการเสยี ดสี) Guide [ORGANIC PEROXIDES (Heat, Contamination and Friction Sensitive)] 146 การด�ำเนินการเม่ือเกิดเหตฉุ กุ เฉิน เพลงิ ไหม้ เพลิงไหมข้ นาดเลก็ - ควรใชน้ ำ�้ ฉดี เปน็ ฝอยหรือหมอก หากไม่สามารถจัดหาน�้ำได้ ให้ใช้ผงเคมีแหง้ เพลCงิ ไOห2มห้ขรนือาโฟดใมหดญบั ่เพ-ลงิฉีดนำ�้ ดบั เพลงิ ปริมาณมากจากระยะไกล - ฉีดนำ้� เป็นฝอยหรือหมอก - ห้ามฉดี น�้ำเปน็ ล�ำตรง - หา้ มเคลอ่ื นย้ายตู้สินค้าหรือรถขนสง่ หากต้สู นิ คา้ ไดร้ ับความรอ้ นเป็นเวลานาน - เคล่ือนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบรเิ วณเพลิงไหม้ หากทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ สยี่ งอนั ตราย เพลงิ ไหม/้ เกดิ อยใู่ กล้ ภาชนะบรรจหุ รือรถขนส่ง - ฉดี นำ�้ ดับเพลงิ จากระยะไกลทีส่ ดุ หรือใช้หวั ฉีดน�ำ้ ชนดิ ทีไ่ ม่ต้องใช้คนควบคุมหรือใชแ้ ท่นฉีดนำ้� แทน - ฉีดนำ้� ปริมาณมากเพอ่ื หลอ่ เย็นภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลิงจะสงบ - อย่หู ่างจากภาชนะบรรจทุ ่ีไฟลกุ ทว่ มตลอดเวลา - ส�ำหรับเพลิงไหมร้ ุนแรงและใหญม่ าก ใหใ้ ชห้ วั ฉดี น�้ำชนิดทไี่ ม่ต้องใช้มือจบั หรอื ใชแ้ ทน่ ฉีดน้�ำแทน หากไมม่ ใี ห้ถอนก�ำลังออกจากพื้นที่และปลอ่ ยใหไ้ ฟลกุ ไหม้จนดับไปเอง การหกรั่วไหล - กำ� จดั แหลง่ ทอ่ี าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทง้ั หมด(หา้ มสบู บหุ รี่ จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - แยกวสั ด/ุ สารท่ีติดไฟได้ (ไม้ กระดาษ นำ�้ มนั ฯลฯ) ออกจากบริเวณที่มีการร่วั ไหล - หา้ มสมั ผสั ภาชนะบรรจทุ เี่ สยี หายหรอื สารทห่ี กรว่ั ไหล หากไมส่ วมใสช่ ดุ ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คลทเี่ หมาะสม - ฉดี นำ้� เป็นฝอยรกั ษาสภาพสารให้เปียก - ระงบั การร่วั ไหลหากทำ� ได้โดยไมเ่ สย่ี งอนั ตราย หกร่วั ไหลปริมาณเลก็ น้อย - ดูดซับดว้ ยสารที่เฉ่อื ยตอ่ การเกิดปฏกิ ิริยา เปียก และไม่ตดิ ไฟ แล้วใชอ้ ปุ กรณท์ ี่สะอาดและ ไมก่ ่อให้เกดิ ประกายไฟตกั สารใสภ่ าชนะบรรจพุ ลาสตกิ ท่สี ะอาด ปดิ ฝาหลวมๆ เพือ่ สง่ กำ� จดั ต่อไป หกรั่วไหลปริมาณมาก - ท�ำใหส้ ารเปียกด้วยน้ำ� และสร้างคันกน้ั หรอื ร่องกักสาร เพ่ือส่งก�ำจัดต่อไป - ปอ้ งกันมิใหส้ ารไหลลงนำ�้ ท่อระบายน้�ำ ชน้ั ใต้ดิน หรือบริเวณอบั อากาศ - หา้ มทำ� ความสะอาดพน้ื ทห่ี รือก�ำจัดสาร ยกเว้นด�ำเนนิ การภายใตก้ ารดแู ลของผูเ้ ช่ยี วชาญ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งมนั่ ใจว่าบุคลากรทางการแพทยท์ ราบชนิดและอันตรายของสารต่างๆ รวมทั้งมกี ารปอ้ งกันตนเอง อย่างเหมาะสม - น�ำผบู้ าดเจ็บไปยงั พ้นื ที่อากาศบรสิ ุทธ์ิ - โทรแจ้ง 191 หรือหน่วยแพทย์เคลื่อนท่ฉี กุ เฉิน (1669) - ใช้เครื่องชว่ ยหายใจหากผูบ้ าดเจบ็ หยดุ หายใจ - ให้ออกซิเจนถา้ ผู้บาดเจ็บหายใจลำ� บาก - ถอดและแยกเกบ็ เส้ือผา้ และรองเท้าที่ปนเป้อื น - หากเสอ้ื ผา้ ท่ปี นเป้อื นนน้ั แหง้ อาจลกุ ติดไฟ - ก�ำจัดสารออกจากผิวหนงั ทันท ี - ใหผ้ ูบ้ าดเจบ็ อยใู่ นอาการสงบ และให้ความอบอุน่ รา่ งกาย - ถ้าสมั ผสั กบั สาร ให้ลา้ งผวิ หนงั และดวงตาโดยวธิ ใี หน้ ้ำ� ไหลผ่านทันที อยา่ งน้อย 20 นาที 241

Guide แบตเตอร่ี ลิเทียม ไอออน 147 [LITHIUM ION BATTERIES] อัคคภี ยั หรือการระเบิด อนั ตรายท่อี าจเกิดขน้ึ - แแบละตทเต�ำอใหรลี่้เกเิ ทิดยีปมรไะอกอาอยนไฟบรเรมจื่อสุ สาัมรอผเิ สัลคก็ วโทารมไรลอ้ ตนท์ สเี่ ูงปน็(>ข1อ5ง0เห.ลCวไ(3ว0ไฟ2ซ.ง่ึFอ))าจหราว่ักไถหกูลทจำ�ดุ ลตาดิ ยไหฟรอื ใช้งานไม่ถกู ต้อง (เช่น ตัวแบตเตอร่ีเสอื่ ม/เสียหาย หรอื อดั ประจุไฟมากเกนิ ไป) - อาจลุกไหมอ้ ย่างรวดเร็วและเกิดเป็นเปลวไฟขนาดใหญ่ - อาจเปน็ ตัวจุดไฟใหแ้ บตเตอรี่ลูกอื่นทอ่ี ยูใ่ กลล้ กุ ตดิ ไฟ สุขภาพ - การสมั ผสั สารอิเลก็ โทรไลต์ในแบตเตอร่ีอาจระคายเคอื งผวิ หนัง ดวงตา และเย่ือบุผิวในชอ่ งจมกู และปาก - เพลิงไหม้ อาจท�ำให้เกิดก๊าซที่มฤี ทธริ์ ะคายเคอื ง กัดกร่อน และ/หรอื เปน็ พิษ - แบตเตอรท่ี ล่ี กุ ไหม้ อาจเกดิ กา๊ ซไฮโดรเจนฟลอู อไรด์ (Hydrogen fluoride) ทเี่ ปน็ พษิ (ดู Guide 125) - ไอสารอาจท�ำให้เวียนศรี ษะและหายใจไม่ออก ความปลอดภยั ต่อสาธารณชน - โทรแจง้ หมายเลขฉุกเฉนิ ท่รี ะบุในเอกสารกำ� กบั ขนส่ง หากไมพ่ บเอกสารฯ หรอื ไมม่ ีผู้รบั สาย ให้โทรแจง้ หมายเลขทเ่ี หมาะสมทรี่ ะบุอยู่ดา้ นในปกหลงั ค่มู อื - ก้นั แยกพ้นื ท่ที ่ีสารรั่วไหลทันทอี ยา่ งนอ้ ย 25 เมตร (75 ฟุต) ทุกทิศทาง - กันบคุ คลทไ่ี ม่เก่ียวข้องออกหา่ งจากพ้ืนท่ี - อยเู่ หนอื ลม ข้นึ ท่สี งู และ/หรอื บรเิ วณเหนอื น้�ำ - ระบายอากาศในพื้นทป่ี ิดกอ่ นเขา้ ระงบั เหตุ ชุดป้องกนั - สวมใสช่ ดุ เคร่อื งช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมถี ังอากาศ (SCBA) - ชุดดับเพลงิ สามารถป้องกันอนั ตรายได้อย่างจ�ำกดั เมื่อเกดิ กรณเี พลงิ ไหม้สารแต่อาจไม่สามารถ ปอ้ งกนั อันตรายอย่างมีประสทิ ธภิ าพกรณีทเ่ี กดิ เฉพาะการหกรว่ั ไหล การอพยพ กรณรี ว่ั ไหลปรมิ าณมาก - พิจารณาอพยพประชาชนท่อี าศยั อยูใ่ ตล้ มเบอื้ งต้นอย่างนอ้ ย 100 เมตร (330 ฟตุ ) ทกุ ทศิ ทาง กรณีเพลงิ ไหม้ - หากถังบรรจขุ นาดใหญ ่ ตู้รถไฟหรือรถบรรทุกสาร เกี่ยวข้องกับเพลงิ ไหม้ ใหก้ ้นั แยกพนื้ ท่ี เกดิ เหตุ 500 เมตร (1/3 ไมล์) ทกุ ทิศทาง และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบ้ืองต้น 500 เมตร (1/3 ไมล)์ ทุกทิศทาง 242

แบตเตอร่ี ลิเทยี ม ไอออน Guide [LITHIUM ION BATTERIES] 147 เพลิงไหม้ การด�ำเนินการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉนิ เพลงิ ไหมข้ นาดเล็ก - ผงเคมีแห้ง CO2 ฉดี น้�ำเปน็ ฝอย หรือโฟมดับเพลงิ เพลิงไหม้ขนาดใหญ่ - ฉดี นำ�้ เปน็ ฝอย หมอก หรอื โฟมดบั เพลงิ - เคลอ่ื นยา้ ยภาชนะบรรจอุ อกจากบรเิ วณเพลิงไหม้ หากทำ� ได้โดยไมเ่ สย่ี งอันตราย การหกรวั่ ไหล - กำ� จัดแหล่งท่ีอาจท�ำใหเ้ กิดการจุดไฟทัง้ หมด (ห้ามสบู บุหร่ี จุดพลุ ท�ำใหเ้ กิดประกายไฟ หรอื เปลวไฟบรเิ วณจุดเกิดเหต)ุ - หา้ มสัมผัสหรอื เดินย่�ำผ่านบรเิ วณทส่ี ารหกร่วั ไหล - ดูดซับด้วยดนิ ทราย หรอื วัสดอุ ื่นทไี่ ม่ติดไฟ - แบตเตอรท่ี ่รี ั่วและของเสียจากการดดู ซับสาร ควรเกบ็ ไวใ้ นภาชนะบรรจุโลหะ การปฐมพยาบาล - ต้องมั่นใจว่าบุคลากรทางการแพทยท์ ราบชนิดและอันตรายของสารต่างๆ รวมท้งั มกี ารป้องกนั ตนเอง อยา่ งเหมาะสม - น�ำผบู้ าดเจ็บไปยังพน้ื ทีอ่ ากาศบริสทุ ธ์ิ - โทรแจ้ง 191 หรือหนว่ ยแพทย์เคล่ือนทฉ่ี กุ เฉนิ (1669) - ใชเ้ คร่อื งช่วยหายใจหากผูบ้ าดเจบ็ หยุดหายใจ - ใหอ้ อกซิเจนถ้าผ้บู าดเจบ็ หายใจลำ� บาก - ถอดและแยกเก็บเสอ้ื ผ้าและรองเท้าที่ปนเปือ้ น - ถา้ สัมผสั กับสาร ให้ล้างผวิ หนงั และดวงตาโดยวิธใี ห้นำ�้ ไหลผา่ นทันที อย่างนอ้ ย 20 นาที 243

Guide สารอินทรยี เ์ ปอรอ์ อกไซด์ (ไวตอ่ ความร้อนและการปนเปอ้ื น/ถกู ควบคุมอุณหภูมิ) 148 [ ORGANIC PEROXIDES (Heat and Contamination Sensitive/Temperature Controled)] อนั ตรายท่อี าจเกดิ ขึ้น อคั คภี ยั หรอื การระเบดิ - อาจระเบดิ เนอื่ งจากความรอ้ น การปนเปือ้ น หรอื ควบคุมอุณหภูมไิ ม่ได้ - สารเหลา่ นีเ้ กดิ ปฏิกิรยิ าอยา่ งรวดเรว็ เมื่ออณุ หภูมสิ งู ข้ึน หากสงู เกิน “อุณหภมู คิ วบคุม” สารจะสลายตวั อย่างรนุ แรงและลกุ ติดไฟ - อาจท�ำใหเ้ กิดการลุกตดิ ไฟวสั ดุ/สาร ท่ีตดิ ไฟได้ เช่น ไม้ กระดาษ น้�ำมัน ผ้า ฯลฯ - อาจจดุ ตดิ ไฟไดเ้ องเมื่อสมั ผสั อากาศ - ภาชนะบรรจอุ าจระเบดิ ไดเ้ มื่อไดร้ ับความรอ้ น - อาจจุดติดไฟดว้ ยความร้อน ประกายไฟ หรอื เปลวไฟ - อาจลกุ ไหมอ้ ย่างรวดเร็วและเกิดเป็นเปลวไฟขนาดใหญ่ - น�้ำเสยี จากพ้ืนทเี่ กิดเหตอุ าจท�ำใหเ้ กิดเพลงิ ไหมห้ รอื การระเบิด สขุ ภาพ - เพลิงไหมอ้ าจทำ� ให้เกดิ ก๊าซทมี่ ีฤทธร์ิ ะคายเคือง กัดกรอ่ น และ/หรอื เป็นพษิ - การกนิ หรือสมั ผสั (ผวิ หนงั ดวงตา) กบั ตวั สาร อาจเกดิ อาการบาดเจ็บรนุ แรงหรือแผลไหม้ - น�้ำเสยี จากการดับเพลงิ หรือนำ�้ ทใี่ ช้เจอื จางสารอาจก่อมลพิษ ความปลอดภัยต่อสาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉนิ ท่รี ะบใุ นเอกสารกำ� กบั ขนส่ง หากไมพ่ บเอกสารฯ หรือไม่มีผ้รู บั สาย ใหโ้ ทรแจ้งหมายเลขท่ีเหมาะสมทรี่ ะบอุ ยู่ดา้ นในปกหลงั ค่มู ือ - กั้นแยกพน้ื ที่ทสี่ ารรั่วไหลทนั ทีทุกทศิ ทางอยา่ งน้อย 50 เมตร (150 ฟตุ ) ถา้ เป็นของเหลว และอยา่ งนอ้ ย 25 เมตร (75 ฟตุ ) ถา้ เปน็ ของแข็ง - กันบคุ คลทีไ่ มเ่ กยี่ วขอ้ งออกหา่ งจากพนื้ ท ่ี - อย่เู หนือลม ข้ึนทสี่ งู และ/หรือ บริเวณเหนอื น้�ำ - ห้ามปล่อยใหส้ ารรอ้ นขึน้ ใช้ไนโตรเจนเหลว (สวมชดุ ปอ้ งกันอันตรายจากอุณหภูมิ ดู Guide 120) นำ้� แขง็ แหง้ (Dry ice) หรอื นำ�้ แขง็ หลอ่ เยน็ สารหากจดั หาไมไ่ ดห้ รอื ดำ� เนนิ การไมไ่ ด้ ใหอ้ พยพออก จากพนื้ ทเ่ี กดิ เหตทุ นั ที ชดุ ป้องกนั - สวมใสช่ ุดเครอื่ งช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมถี ังอากาศ (SCBA) - สวมชุดป้องกันอนั ตรายจากสารเคมีตามข้อแนะน�ำของบรษิ ัทผู้ผลติ ท้งั นช้ี ุดป้องกนั อนั ตราย จากสารเคมไี มส่ ามารถป้องกันอันตรายจากความรอ้ นสูง - ชดุ ดบั เพลิงสามารถป้องกันอนั ตรายได้อย่างจ�ำกดั เม่ือเกิดกรณเี พลงิ ไหม้สารแต่อาจไม่สามารถ ปอ้ งกันอนั ตรายอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพกรณีท่ีเกดิ เฉพาะการหกรวั่ ไหล การอพยพ กรณรี วั่ ไหลปริมาณมาก - พจิ ารณาอพยพประชาชนทอ่ี าศยั อยู่ใต้ลมเบอ้ื งตน้ อยา่ งน้อย 250 เมตร (800 ฟุต) ทุกทิศทาง กรณเี พลงิ ไหม ้ - หากถงั บรรจขุ นาดใหญ ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทกุ สาร เกยี่ วขอ้ งกบั เพลงิ ไหม้ ใหก้ นั้ แยกพน้ื ท่ี เกดิ เหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบอื้ งตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง 244

สารอินทรยี เ์ ปอรอ์ อกไซด์ (ไวต่อความร้อนและการปนเปือ้ น/ถูกควบคมุ อุณหภูมิ) Guide [ ORGANIC PEROXIDES (Heat and Contamination Sensitive/Temperature Controled)] 148 การด�ำเนนิ การเมือ่ เกดิ เหตุฉุกเฉิน เพลิงไหม ้ - ตอ้ งรกั ษาอณุ หภูมขิ องสารให้ต่�ำกวา่ “อณุ หภมู คิ วบคุม” ตลอดเวลา เพลิงไหม้ขนาดเลก็ - ควรใช้น�ำ้ ฉดี เป็นฝอยหรอื หมอก หากไม่สามารถจัดหานำ�้ ได้ ให้ใช้ผงเคมีแหง้ เพลCงิ ไOห2มหข้ รนือาโดฟใมหดญับ่ เ-พ ล ฉงิ ีดน้�ำดบั เพลิงปริมาณมากจากระยะไกล - ฉีดนำ้� เป็นฝอยหรอื หมอก - หา้ มฉีดน�้ำเป็นล�ำตรง - ห้ามเคลอื่ นยา้ ยตสู้ ินคา้ หรือรถขนสง่ หากตู้สนิ ค้าไดร้ บั ความร้อนเปน็ เวลานาน - เคลือ่ นยา้ ยภาชนะบรรจอุ อกจากบรเิ วณเพลงิ ไหม้ หากทำ� ไดโ้ ดยไม่เสี่ยงอนั ตราย เพลงิ ไหม/้ เกิดอยใู่ กล้ ภาชนะบรรจหุ รือรถขนสง่ - ฉีดนำ�้ ดับเพลิงจากระยะไกลทีส่ ุด หรอื ใชห้ วั ฉีดนำ้� ชนิดทไ่ี มต่ อ้ งใช้คนควบคมุ หรือใชแ้ ทน่ ฉีดน�้ำแทน - ฉดี นำ้� ปริมาณมากเพอ่ื หลอ่ เยน็ ภาชนะบรรจุ จนกวา่ เพลิงจะสงบ - พงึ ระวังการระเบดิ ของภาชนะบรรจุ - อยู่ห่างจากภาชนะบรรจุทไ่ี ฟลกุ ท่วมตลอดเวลา - ส�ำหรับเพลิงไหมร้ นุ แรงและใหญ่มาก ให้ใช้หวั ฉีดน�้ำชนดิ ท่ีไม่ตอ้ งใช้มือจบั หรือใช้แทน่ ฉดี น�้ำแทน หากไม่มีให้ถอนก�ำลงั ออกจากพ้นื ท่ีและปล่อยให้ไฟลกุ ไหม้จนดับไปเอง การหกรวั่ ไหล - กำ� จดั แหลง่ ทอี่ าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทง้ั หมด(หา้ มสบู บหุ รี่ จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - แยกวัสดุ/สารที่ติดไฟได้ (ไม้ กระดาษ นำ้� มัน ฯลฯ) ออกจากบรเิ วณที่มกี ารรั่วไหล - หา้ มสมั ผสั หรอื เดนิ ยำ่� ผา่ นบรเิ วณทสี่ ารหกรวั่ ไหล - ระงบั การรว่ั ไหลหากทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ สย่ี งอนั ตราย หกรวั่ ไหลปรมิ าณเล็กนอ้ ย - ดูดซบั ดว้ ยสารทีเ่ ฉื่อยตอ่ การเกดิ ปฏกิ ริ ยิ า เปียก และไม่ตดิ ไฟ แลว้ ใช้อุปกรณ์ท่ีสะอาดและ ไมก่ อ่ ใหเ้ กิดประกายไฟตกั สารใสภ่ าชนะบรรจุพลาสตกิ ทีส่ ะอาด ปิดฝาหลวมๆ เพอ่ื ส่งกำ� จัดตอ่ ไป หกรวั่ ไหลปริมาณมาก - ทำ� ให้สารเปียกดว้ ยน�้ำ และสรา้ งคนั กนั้ หรือร่องกักสาร เพือ่ สง่ ก�ำจัดต่อไป - ป้องกันมิให้สารไหลลงนำ้� ทอ่ ระบายน้�ำ ชัน้ ใต้ดิน หรือบริเวณอบั อากาศ - ห้ามท�ำความสะอาดพืน้ ทีห่ รอื ก�ำจดั สาร ยกเว้นดำ� เนินการภายใต้การดูแลของผูเ้ ช่ียวชาญ การปฐมพยาบาล - ต้องมัน่ ใจว่าบุคลากรทางการแพทย์ทราบชนดิ และอนั ตรายของสารตา่ งๆ รวมทั้งมกี ารป้องกันตนเอง อยา่ งเหมาะสม - น�ำผ้บู าดเจ็บไปยงั พน้ื ทีอ่ ากาศบริสุทธิ์ - โทรแจ้ง 191 หรอื หน่วยแพทย์เคลือ่ นทฉ่ี กุ เฉนิ (1669) - ใช้เครือ่ งช่วยหายใจหากผ้บู าดเจบ็ หยุดหายใจ - ใหอ้ อกซิเจนถา้ ผู้บาดเจ็บหายใจล�ำบาก - ถอดและแยกเก็บเสอ้ื ผ้าและรองเทา้ ทีป่ นเป้อื น - หากเสอื้ ผ้าทป่ี นเปอ้ื นนัน้ แหง้ อาจลุกติดไฟ - กำ� จัดสารออกจากผวิ หนังทนั ท ี - ให้ผูบ้ าดเจบ็ อย่ใู นอาการสงบ และใหค้ วามอบอุน่ ร่างกาย - ถา้ สมั ผัสกบั สาร ให้ลา้ งผิวหนงั และดวงตาโดยวธิ ใี หน้ ำ�้ ไหลผ่านทนั ที อย่างนอ้ ย 20 นาที 245

Guide สารเกิดปฏิกิรยิ าได้เอง 149 [ Substances (Self-Reactive)] อนั ตรายที่อาจเกิดขึ้น อคั คีภัยหรือการระเบดิ - การสลายตวั ไดเ้ องการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าโพลเิ มอร์ไรซ์ไดเ้ องหรอื ลกุ ตดิ ไฟไดเ้ องอาจเกดิ ขนึ้ เนอื่ งจากความรอ้ น ปฏกิ ริ ยิ าเคมี การเสียดสีหรอื กระแทก - อาจจุดติดไฟด้วยความรอ้ น ประกายไฟ หรอื เปลวไฟ - สารบางชนดิ อาจสลายตัวและเกิดระเบดิ เมอื่ ได้รับความรอ้ นหรอื อย่ใู นกองเพลิง - สารที่ช่อื มสี ญั ลกั ษณ์ตวั P อาจเกิดระเบดิ เนอ่ื งจากปฏกิ ิรยิ าโพลิเมอรไ์ รซ์เมือ่ ได้รับความรอ้ น - อาจลกุ ไหมอ้ ยา่ งรวดเรว็ การสลายตวั หรอื ปฏกิ ริ ยิ าโพลเิ มอรไ์ รซอ์ าจเรง่ เรว็ ขนึ้ ไดเ้ อง เกดิ กา๊ ซตา่ ง ๆ ปรมิ าณมาก - ไอระเหยหรือฝ่นุ สารเมือ่ ผสมกบั อากาศอาจเกดิ สว่ นผสมทร่ี ะเบดิ ได้ สุขภาพ - การสดู ดมหรอื สมั ผัสกบั ไอระเหย ตัวสาร หรือกา๊ ซทเ่ี กดิ จากการสลายตวั ของสารอาจเกดิ อาการ บาดเจบ็ รุนแรงหรอื เสยี ชวี ิต - อาจท�ำใหเ้ กดิ ก๊าซทีม่ ีฤทธิ์ระคายเคือง กดั กรอ่ น และ/หรอื เป็นพษิ - น้�ำเสียจากการดับเพลิงหรอื นำ้� ที่ใช้เจอื จางสารอาจก่อมลพิษ ความปลอดภยั ต่อสาธารณชน - โทรแจ้งหมายเลขฉกุ เฉินที่ระบุในเอกสารก�ำกบั ขนส่ง หากไมพ่ บเอกสารฯ หรือไมม่ ผี ู้รบั สาย ให้โทรแจ้งหมายเลขทเ่ี หมาะสมท่ีระบุอยดู่ า้ นในปกหลังคู่มือ - กน้ั แยกพืน้ ทีท่ ี่สารร่วั ไหลทันทที กุ ทิศทางอยา่ งนอ้ ย 50 เมตร (150 ฟตุ )ถา้ เป็นของเหลว และอย่างน้อย 25 เมตร (75 ฟุต) ถ้าเป็นของแข็ง - กนั บคุ คลทีไ่ ม่เกยี่ วขอ้ งออกหา่ งจากพน้ื ท ่ี - อย่เู หนือลม ขน้ึ ที่สูง และ/หรือ บริเวณเหนอื น�ำ้ ชุดป้องกนั - สวมใส่ชดุ เคร่ืองชว่ ยหายใจส่วนบคุ คลแบบมีถงั อากาศ (SCBA) - สวมชดุ ปอ้ งกนั อันตรายจากสารเคมีตามข้อแนะน�ำของบรษิ ัทผู้ผลิต ทงั้ นี้ชดุ ปอ้ งกนั อนั ตราย จากสารเคมีไมส่ ามารถป้องกนั อันตรายจากความร้อนสูง - ชดุ ดับเพลงิ สามารถป้องกนั อันตรายได้อยา่ งจ�ำกัดเม่ือเกดิ กรณเี พลงิ ไหม้สารแตอ่ าจไม่สามารถ ปอ้ งกนั อนั ตรายอยา่ งมีประสทิ ธิภาพกรณที ่เี กดิ เฉพาะการหกรัว่ ไหล การอพยพ กรณีรวั่ ไหลปริมาณมาก - พจิ ารณาการประเมนิ สถานการณ์เบ้ืองตน้ เพือ่ อพยพประชาชนท่อี าศัยอยใู่ ต้ลม เบอ้ื งตน้ อย่างนอ้ ย 250 เมตร (800 ฟุต) ทุกทิศทาง กรณีเพลิงไหม้ - หากถังบรรจุขนาดใหญ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทกุ สาร เกย่ี วขอ้ งกบั เพลิงไหม้ ใหก้ น้ั แยกพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ 800 เมตร(1/2 ไมล์) ทุกทศิ ทาง และพจิ ารณาอพยพประชาชนเบื้องต้น 800 เมตร (1/2 ไมล์) ทุกทศิ ทาง 246

สารเกิดปฏิกิริยาได้เอง Guide [ Substances (Self-Reactive)] 149 เพลงิ ไหม้ การด�ำเนนิ การเม่ือเกิดเหตฉุ ุกเฉนิ เพลงิ ไหม้ขนาดเลก็ -เพ ลผงิ งไเหคมมข้ ีแนหา้งดCใหOญ2 ่ นำ�้ ฉดี เป็นฝอย หรือโฟมดบั เพลงิ - ฉดี นำ้� ดบั เพลงิ ปริมาณมากจากระยะไกล - เคลื่อนยา้ ยภาชนะบรรจอุ อกจากบรเิ วณเพลงิ ไหม้ หากทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ ส่ยี งอนั ตราย เพลงิ ไหม้/เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนส่ง - พงึ ระวังการระเบิดของภาชนะบรรจุ - ฉดี นำ�้ ดบั เพลิงจากระยะไกลที่สุด หรือใชห้ วั ฉดี นำ�้ ชนิดท่ไี มต่ ้องใช้คนควบคมุ หรอื ใช้แทน่ ฉดี น�้ำแทน - ฉีดนำ้� ปริมาณมากเพือ่ หลอ่ เย็นภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลิงจะสงบ - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทท่ี นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลย่ี นสี - อยู่ห่างจากภาชนะบรรจุทีไ่ ฟลุกท่วมตลอดเวลา การหกร่วั ไหล - กำ� จดั แหลง่ ทอ่ี าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทงั้ หมด (หา้ มสบู บหุ รี่ จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟบรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - หา้ มสมั ผสั หรือเดินยำ่� ผ่านบรเิ วณที่สารหกรวั่ ไหล - ระงบั การรัว่ ไหลหากทำ� ไดโ้ ดยไมเ่ สี่ยงอันตราย หกรว่ั ไหลปรมิ าณเล็กนอ้ ย - ดูดซับดว้ ยสารทเี่ ฉอื่ ยตอ่ การเกิดปฏกิ ริ ยิ า เปยี ก และไมต่ ิดไฟ แลว้ ใชอ้ ุปกรณท์ สี่ ะอาดและ ไมก่ ่อใหเ้ กดิ ประกายไฟ ตักสารใส่ภาชนะบรรจุพลาสตกิ ที่สะอาดปดิ ฝาหลวมๆ เพอ่ื สง่ กำ� จัดต่อไป - ปอ้ งกนั มใิ หส้ ารไหลลงนำ้� ท่อระบายน�้ำ ชน้ั ใตด้ นิ หรอื บรเิ วณอับอากาศ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งม่นั ใจวา่ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนิดและอันตรายของสารตา่ งๆ รวมทงั้ มกี ารป้องกนั ตนเอง อยา่ งเหมาะสม - น�ำผูบ้ าดเจบ็ ไปยงั พ้ืนทีอ่ ากาศบรสิ ทุ ธิ์ - โทรแจง้ 191 หรือหน่วยแพทยเ์ คลอ่ื นท่ีฉุกเฉนิ (1669) - ใชเ้ ครอื่ งชว่ ยหายใจหากผบู้ าดเจบ็ หยดุ หายใจ - ให้ออกซิเจนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจล�ำบาก - ถอดและแยกเก็บเส้อื ผา้ และรองเท้าท่ีปนเป้อื น - ถา้ สัมผสั กับสาร ใหล้ า้ งผวิ หนงั และดวงตาโดยวิธใี หน้ ำ�้ ไหลผา่ นทนั ที อยา่ งนอ้ ย 20 นาที - ให้ผูบ้ าดเจ็บอยู่ในอาการสงบ และให้ความอบอุ่นร่างกาย 247

Guide สารเกิดปฏกิ ริ ยิ าได้เอง/ถูกควบคมุ อุณหภมู ิ 150 [Substances (Self-Reactive)/Temperature Controled] อนั ตรายทอี่ าจเกิดขนึ้ อคั คีภยั หรือการระเบิด - การสลายตวั ไดเ้ อง การเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าโพลเิ มอรไ์ รซไ์ ดเ้ อง หรอื ลกุ ตดิ ไฟไดเ้ อง อาจเกดิ ขนึ้ เนอ่ื งจากความรอ้ นปฏกิ ริ ยิ าเคมี การเสียดสีหรือกระแทก - การสลายตวั ได้เองเร่งเรว็ ขน้ึ อาจเกิดขึน้ หากไม่สามารถรักษาอณุ หภูมิของสารท่ีถูกควบคุม - สารเหล่าน้ีเกดิ ปฏกิ ิริยาอยา่ งรวดเร็วเม่อื อณุ หภูมิสงู ขนึ้ หากสงู เกิน“อุณหภมู ิควบคมุ ” สารจะสลายตวั หรือเกิดปฏิกริ ยิ าโพลิเมอรไ์ รซ์อยา่ งรุนแรงและอาจลกุ ติดไฟ - อาจจุดตดิ ไฟด้วยความรอ้ น ประกายไฟ หรือเปลวไฟ - สารท่ีช่ือมสี ญั ลกั ษณ์ตัว P อาจเกิดระเบิด เนอ่ื งจากปฏิกิริยาโพลเิ มอร์ไรซ์เมอ่ื ไดร้ บั ความร้อน - สารบางชนดิ อาจสลายตัวและเกิดระเบิดเมื่อไดร้ บั ความร้อนหรอื อยู่ในกองเพลิง - อาจลกุ ไหมอ้ ยา่ งรวดเรว็ การสลายตวั หรอื ปฏกิ ริ ยิ าโพลเิ มอรไ์ รซอ์ าจเรง่ เรว็ ขน้ึ ไดเ้ อง เกดิ กา๊ ซตา่ ง ๆ ปรมิ าณมาก - ไอระเหยหรือฝุ่นสารเมือ่ ผสมกบั อากาศอาจเกดิ สว่ นผสมที่ระเบิดได้ สขุ ภาพ - การสูดดมหรอื สัมผสั กับไอระเหย ตัวสาร หรอื กา๊ ซทเ่ี กิดจากการสลายตัวของสารอาจเกิดอาการ บาดเจบ็ รุนแรงหรือเสยี ชวี ิต - อาจท�ำใหเ้ กิดก๊าซท่มี ีฤทธ์ิระคายเคอื ง กัดกร่อน และ/หรือเปน็ พิษ - น�้ำเสียจากการดับเพลิงหรือนำ้� ทใี่ ชเ้ จือจางสารอาจก่อมลพิษ ความปลอดภัยต่อสาธารณชน - โทรแจง้ หมายเลขฉกุ เฉนิ ท่รี ะบใุ นเอกสารกำ� กับขนสง่ หากไมพ่ บเอกสารฯ หรือไมม่ ีผู้รบั สาย ให้โทรแจง้ หมายเลขทเี่ หมาะสมทร่ี ะบอุ ยูด่ ้านในปกหลังคมู่ อื - กน้ั แยกพ้ืนท่ีที่สารรั่วไหลทันทีทุกทศิ ทางอยา่ งนอ้ ย 50 เมตร (150 ฟตุ ) ถา้ เป็นของเหลว และอย่างนอ้ ย 25 เมตร (75 ฟตุ ) ถ้าเปน็ ของแข็ง - กันบุคคลทไี่ มเ่ กี่ยวขอ้ งออกห่างจากพืน้ ท ี่ - อยเู่ หนือลม ขน้ึ ทีส่ ูง และ/หรือ บริเวณเหนือนำ�้ - หา้ มปล่อยให้สารร้อนขึน้ ใชไ้ นโตรเจนเหลว (สวมชดุ ป้องกนั อันตรายจากอุณหภูมิ, ดู Guide 120) น�้ำแข็งแห้ง (dry ice) หรือนำ�้ แขง็ หลอ่ เย็นสาร หากจัดหาไมไ่ ด้หรอื ดำ� เนินการไมไ่ ด้ อพยพออกจากพืน้ ท่เี กดิ เหตุทันที ชดุ ปอ้ งกนั - สวมใส่ชดุ เครื่องช่วยหายใจสว่ นบุคคลแบบมีถงั อากาศ (SCBA) - สวมชดุ ปอ้ งกนั อนั ตรายจากสารเคมตี ามขอ้ แนะน�ำของบรษิ ัทผผู้ ลิตทงั้ น้ีชดุ ป้องกนั อันตรายจากสารเคมี ไม่สามารถปอ้ งกนั อนั ตรายจากความรอ้ นสงู - ชดุ ดบั เพลงิ สามารถปอ้ งกันอนั ตรายไดอ้ ย่างจ�ำกดั เมอ่ื เกิดกรณีเพลิงไหม้สารแตอ่ าจไม่สามารถปอ้ งกัน อันตรายอย่างมปี ระสิทธิภาพกรณีที่เกดิ เฉพาะการหกร่วั ไหล การอพยพ กรณีรว่ั ไหลปริมาณมาก - พจิ ารณาอพยพประชาชนทอี่ าศยั อยใู่ ตล้ มเบอื้ งตน้ อยา่ งนอ้ ย 250 เมตร (800 ฟตุ ) ทกุ ทศิ ทาง กรณีเพลิงไหม ้ - หากถงั บรรจขุ นาดใหญ ่ ตรู้ ถไฟหรอื รถบรรทกุ สาร เก่ียวขอ้ งกับเพลิงไหม้ ใหก้ ั้นแยกพน้ื ท่ี เกิดเหตุ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทุกทิศทาง และพิจารณาอพยพประชาชนเบอ้ื งตน้ 800 เมตร (1/2 ไมล)์ ทกุ ทศิ ทาง 248

สารเกิดปฏิกิริยาไดเ้ อง/ถูกควบคมุ อุณหภูม ิ Guide [Substances (Self-Reactive)/Temperature Controled] 150 เพลิงไหม้ การดำ� เนนิ การเม่อื เกิดเหตฉุ ุกเฉนิ - ตอ้ งรกั ษาอุณหภูมขิ องสารใหต้ ่ำ� กว่า “อุณหภูมิควบคุม” ตลอดเวลา เเพพลลงิงิ ไไหหมมข้ข้ นนาาดดเใลหก็ญ ่ -- ฉผดีงเนคำ้� มดแี ับหเพ้ง ลCงิ Oป2รมินาำ�้ ณฉดีมเาปก็นจฝาอกยระหยระอืไกโฟลมดับเพลงิ - เคลือ่ นยา้ ยภาชนะบรรจุออกจากบริเวณเพลงิ ไหม้ หากทำ� ไดโ้ ดยไม่เสี่ยงอนั ตราย เพลิงไหม้/เกดิ อยใู่ กล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนส่ง - พึงระวังการระเบิดของภาชนะบรรจุ - ฉดี นำ�้ ดับเพลิงจากระยะไกลทส่ี ดุ หรือใช้หวั ฉดี น้ำ� ชนิดที่ไม่ตอ้ งใชค้ นควบคมุ หรอื ใช้แท่นฉีดน�้ำแทน - ฉีดนำ�้ ปริมาณมากเพอื่ หล่อเย็นภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลิงจะสงบ - ถอนกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทที่ นั ที หากอปุ กรณร์ ะบายความดนั นริ ภยั ของภาชนะบรรจเุ กดิ เสยี งดงั หรอื ภาชนะบรรจเุ ปลยี่ นสี - อยูห่ า่ งจากภาชนะบรรจทุ ีไ่ ฟลกุ ทว่ มตลอดเวลา การหกรั่วไหล - กำ� จดั แหลง่ ทอี่ าจทำ� ใหเ้ กดิ การจดุ ไฟทง้ั หมด (หา้ มสบู บหุ รี่ จดุ พลุ ทำ� ใหเ้ กดิ ประกายไฟหรอื เปลวไฟ บรเิ วณจดุ เกดิ เหต)ุ - ห้ามสัมผสั หรือเดินยำ่� ผา่ นบรเิ วณที่สารหกรว่ั ไหล - ระงบั การรัว่ ไหลหากทำ� ได้โดยไมเ่ สี่ยงอันตราย หกรวั่ ไหลปรมิ าณเลก็ นอ้ ย - ดูดซบั ด้วยสารทเี่ ฉ่อื ยต่อการเกิดปฏกิ ิรยิ า เปียก และไมต่ ิดไฟ แลว้ ใชอ้ ุปกรณท์ ี่สะอาดและ ไมก่ ่อให้เกดิ ประกายไฟ ตกั สารใส่ภาชนะบรรจุพลาสติกทีส่ ะอาดปดิ ฝาหลวมๆ เพ่อื สง่ ก�ำจัดตอ่ ไป - ป้องกันมิให้สารไหลลงนำ้� ทอ่ ระบายน้�ำ ชนั้ ใต้ดนิ หรือบริเวณอับอากาศ - ห้ามท�ำความสะอาดพนื้ ทีห่ รอื กำ� จดั สาร ยกเวน้ ดำ� เนินการภายใตก้ ารดูแลของผเู้ ช่ียวชาญ การปฐมพยาบาล - ตอ้ งม่ันใจว่าบคุ ลากรทางการแพทยท์ ราบชนิดและอนั ตรายของสารต่างๆ รวมทั้งมีการป้องกันตนเอง อยา่ งเหมาะสม - น�ำผ้บู าดเจ็บไปยงั พน้ื ทอ่ี ากาศบริสทุ ธ์ิ - โทรแจง้ 191 หรือหนว่ ยแพทย์เคลอื่ นท่ฉี ุกเฉิน (1669) - ใชเ้ ครื่องชว่ ยหายใจหากผ้บู าดเจ็บหยุดหายใจ - ให้ออกซเิ จนถ้าผบู้ าดเจบ็ หายใจลำ� บาก - ถอดและแยกเกบ็ เสอื้ ผา้ และรองเท้าที่ปนเปื้อน - ถ้าสมั ผสั กบั สาร ใหล้ า้ งผวิ หนังและดวงตาโดยวธิ ีใหน้ ำ�้ ไหลผา่ นทันที อย่างน้อย 20 นาที - ให้ผบู้ าดเจบ็ อยู่ในอาการสงบ และให้ความอบอ่นุ ร่างกาย 249


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook