Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือระงับอุบัติภัยเบื้องต้นจากวัตถุอันตราย

คู่มือระงับอุบัติภัยเบื้องต้นจากวัตถุอันตราย

Published by pischa.pc, 2021-07-06 07:03:37

Description: คู่มือระงับอุบัติภัยเบื้องต้นจากวัตถุอันตราย

Search

Read the Text Version

Right-of-way พ้นื ท่ที ก่ี ำ�หนดไว้ส�ำ หรบั วางท่อสง่ ก๊าซธรรมชาติ แนววางทอ่ กา๊ ซ ความดนั สูงอาจมีจ�ำ นวน 1 ท่อหรือมากกวา่ Shelter in-place ประชาชนทว่ั ไปควรหาทห่ี ลบภยั ภายในอาคารและ การหลบภยั สารเคมีในสถานที่ อยดู่ ้านในจนกว่าอันตรายจะผ่านไป หลกั การ การหลบภัยสารเคมีในสถานท่ีท่ีตัวเองอยู่ ในขณะเกิดภัยนั้น ได้ถูกนำ�มาใช้เมื่อพบว่า การอพยพประชาชนออกนอกพื้นที่ก่อให้เกิด ความเสี่ยงมากกว่า หรือเมื่ออยู่ในสถานการณ์ ที่ไม่สามารถทำ�การอพยพได้ โดยการสงั่ ให้ บุคคลท่ีอยู่ภายในอาคารปิดประตูและหน้าต่าง ทงั้ หมด รวมท้งั ปดิ ระบบระบายอากาศ ระบบ ทำ�ความร้อนและระบบทำ�ความเย็นท้ังหมด ทั้งน้ีการหลบภยั ภายในสถานทอ่ี าจไมใ่ ชต่ วั เลอื ก ที่ดีที่สุดถ้าหาก (1) เป็นสารเคมีท่ีมไี อระเหย ไวไฟ (2) ใชเ้ วลานานส�ำ หรับการจดั การกา๊ ซ ออกจากพื้นที่ หรือ (3) อาคารไม่สามารถ ปดิ ไดอ้ ยา่ งแนน่ หนา สว่ นการหลบภยั ในรถยนต์ สามารถปอ้ งกนั ไดใ้ นระยะเวลาส้ัน ๆ หากปิด หนา้ ตา่ งและระบบระบายอากาศ โดยการหลบภยั ในรถยนตไ์ มป่ ลอดภยั เทา่ กบั การหลบภยั ในอาคาร Skin corrosion อาการทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ผวิ หนงั ซง่ึ ผวิ หนงั ไมส่ ามารถ การกดั กร่อนผิวหนงั กลบั คนื สภาพเดิมได้ (irreversible damage) หลงั ใช้สารทดสอบนาน 4 ชว่ั โมง 400

Skin irritation อาการทเ่ี กดิ ขน้ึ ไดก้ บั ผวิ หนงั ซง่ึ ผวิ หนงั สามารถ การระเคยเคอื งผวิ หนงั กลับคืนสภาพเดิมได้ (reversible damage) หลงั การใช้สารทดสอบนาน 4 ชัว่ โมง Skin sensitizer สารทจ่ี ะท�ำ ใหเ้ กดิ อาการแพเ้ มอ่ื สัมผสั กับผวิ หนงั สารที่ก่อให้เกิดอาการ แพท้ างผวิ หนงั การหกร่ัวไหลทีม่ ปี รมิ าณนอ้ ยกวา่ 208 ลิตร (55 แกลลอน) กรณีของเหลว และ 300 ลิตร Smal Spil (660 แกลลอน) กรณีของแขง็ การหกร่ัวไหลเลก็ น้อย นำ้� หนกั ของสารเทยี บตอ่ นำ�้ หนกั ของนำ�้ ทป่ี รมิ าตร เทา่ กนั ภายใตอ้ ณุ หภมู ทิ กี่ �ำหนด ความถว่ งจ�ำเพาะ Specific gravity นอ้ ยกวา่ 1 แสดงวา่ สารนนั้ เบากวา่ นำ�้ ความถว่ ง คา่ ความถว่ งเฉพาะ จ�ำเพาะมากกวา่ 1 แสดงว่าสารนัน้ หนกั กว่าน�้ำ เปน็ วิธีทีใ่ ชใ้ นการฉดี น้ำ� จากปลายสายท่อ การฉดี นำ�้ เปน็ ล�ำดว้ ยความดนั ทะลทุ ะลวงสงู Straight (Solid) Stream ในการฉดี นำ�้ เป็นล�ำที่มีประสทิ ธภิ าพ นำ้� ประมาณรอ้ ยละ 90 จะสง่ ผ่านล�ำนำ�้ ท่มี ี เสน้ ผ่าศูนย์กลางประมาณ 38 เซนตเิ มตร (15 นวิ้ ) ณ จดุ breaking point นำ้� ทีฉ่ ดี เป็นล�ำจากท่อดับเพลงิ มกั จะใช้เพอ่ื หล่อเยน็ แทง็ ก์และอปุ กรณ์อน่ื ๆ ท่สี ัมผสั กับไฟ ที่เกดิ จากของเหลวไวไฟ หรอื ฉีดไลเ่ พลงิ ไหม้ 401

จากสารที่หกร่วั ไหลอยู่ (Burning spil) ออก จากจุดอันตราย อย่างไรกต็ าม น้ำ� ท่ฉี ดี เป็นล�ำ อาจเปน็ สาเหตใุ หไ้ ฟจากสารหกรวั่ ไหล (Spil fires) แพรก่ ระจายไดห้ ากใชอ้ ยา่ งไมถ่ กู วธิ ี หรอื เมอื่ ฉดี ไปยงั ภาชนะบรรจุของเหลวไวไฟหรอื ของเหลว ติดไฟไดท้ ีเ่ ปิด (แตก) อยู่ TIH ใช้แสดงวา่ กา๊ ซและของเหลวทรี่ ะเหยไดง้ ่าย (Toxic Inhalation Hazard) (Volatile liquid) มีความเป็นพษิ เมื่อหายใจ เข้าไป (เหมอื น PIH) V ความเขม้ ขน้ ของไอระเหยสารเคมใี นบรรยากาศ ณ จดุ สมดลุ ท่อี ุณหภูมิ 20 oc และบรรยากาศ ปกติ มีหนว่ ยเปน็ mL/m3 (ความสามารถใน การระเหยกลายเปน็ ไอ) Vapor Density นำ้� หนกั ของไอระเหยสารเคมี หรอื (ไมม่ อี ากาศ) ความหนาแนน่ ไอ เปรยี บเทียบกบั น�้ำหนกั ของอากาศแหง้ ที่ ปรมิ าตรเทา่ กนั ณ อณุ หภมู แิ ละความดนั เดยี วกนั ความหนาแนน่ ไอทม่ี ีคา่ ต่�ำกว่า 1 หมายความว่า ไอระเหยสารเคมีดังกลา่ ว เบากวา่ อากาศและจะลอยขนึ้ สงู ความหนาแนน่ ไอท่มี ีค่าสงู กวา่ 1 หมายความวา่ ไอระเหย สารเคมีดังกลา่ วหนกั กว่าอากาศ และ อาจแพรไ่ ปในระดบั เหนอื พ้ืน 402

Vapor Pressure ความดนั ทีข่ องเหลวและไอระเหยของ ความดันไอ ของเหลวนัน้ อยใู่ นภาวะสมดลุ ณ อณุ หภมู ิ ทก่ี �ำหนด โดยของเหลวที่มคี วามดันไอสงู จะระเหยอย่างรวดเรว็ Viscosity การวดั ความต้านทานภายในของของเหลว ความหนืด ต่อการไหล คุณสมบัติน้มี คี วามส�ำคญั เพราะจะแสดงใหท้ ราบวา่ วัสดดุ ังกล่าว จะรวั่ ออกจากรูรัว่ ของภาชนะหรอื แทง็ ก์ ไดเ้ ร็วเพียงใด Warm Zone เปน็ พนื้ ทร่ี ะหวา่ งเขตอนั ตรายและเขต สนบั สนนุ เขตลดการปนเปอื้ น (พนื้ ทป่ี ฏบิ ตั งิ านส�ำหรบั ทมี ตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ ) ซึง่ มกี ารชะล้างสง่ิ ปนเปื้อน ใหก้ บั บุคคลและ อปุ กรณ์และมีแนวเส้นทางควบคมุ การเขา้ ออก ซึง่ ชว่ ยลดการแพรก่ ระจายของสารปนเป้อื น ในเอกสารอ่ืนอาจใชค้ �ำว่า เสน้ ทางลดการ ปนเป้อื น(Contamination Reduction Corridor CRC) หรอื เขตลดการปนเป้อื น (Contamination Reduction Zone CRZ) หรอื เขตสเี หลือง (Yelow Zone) หรือ เขตจ�ำกดั การเข้าออก (Limited Access Zone) (EPA Standard Operating Safety Guidelines, OSHA 29 CFR 1910.120,NFPA 472) 403

Water Reactive Material สารที่ก่อให้เกดิ แก๊สพษิ เมื่อสมั ผสั กบั น้�ำ สารท่ีท�ำปฏิกริ ิยากบั นำ้� สารทเ่ี มอ่ื สมั ผสั กับน้ำ� อาจท�ำให้เกดิ Water-Sensitive ผลิตภัณฑท์ ไ่ี วไฟ และ/หรือเป็นพิษได้ สารที่ไวตอ่ นำ้� วิธีการหรอื แนวทางในการฉีดน�ำ้ Water spray นำ้� จะถกู ท�ำใหเ้ ปน็ ละออง เพอ่ื ดดู ซบั ความรอ้ นสงู (Fog) การฉดี นำ้� เป็นละอองฝอยอาจท�ำมุมได้ สเปรย์น�ำ้ ตัง้ แตร่ ะดับ 10 องศา ถึง 90 องศา น้ำ� ท่ฉี ีด (ละอองฝอย) เปน็ ละอองฝอยสามารถใช้เพอ่ื ดับไฟ หรือ ควบคุมไฟที่ก�ำลงั ลกุ ลามหรอื เพอ่ื ปกป้องผ้คู น อุปกรณ์ หรืออาคาร ฯลฯ (วิธีการน้ีสามารถ น�ำไปใช้ในการดูดซับ ลดไอ หรอื กระจายไอ เปน็ วงกว้าง การฉีดนำ้� เปน็ ละอองฝอยเข้าไป ยงั กลุม่ ควันเพ่อื วตั ถปุ ระสงคด์ ังกล่าวจะไดผ้ ล ดีกวา่ การฉีดน�้ำเป็นล�ำ) การฉดี น้ำ� เปน็ ละออง ฝอยจะได้ผลดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งกบั ของเหลว ไวไฟ และของแขง็ ท่รี ะเหยง่ายที่มีจุดวาบไฟสูง กวา่ 37.8 องศาเซลเซยี ส (100 องศาฟาเรนไฮท)์ นอกเหนอื จากท่กี ลา่ วข้างต้นการฉีดน�ำ้ เป็นละอองฝอยสามารถใช้ไดด้ ีกับ ของเหลวไวไฟท่มี ีจดุ วาบไฟต่ำ� โดยประสิทธิผล จะข้ึนอยูก่ บั วธิ กี ารที่น�ำมาใช้ หากใช้หัวฉีด ทีเ่ หมาะสมจะสามารถใช้ดบั เพลิงทเี่ กดิ จาก นำ�้ มันเบนซินบางชนดิ ได้ (gasoline spil fires) 404

เม่อื ใชส้ ายนำ�้ ดับเพลงิ รว่ มกนั หลายสายเพอ่ื ดบั เปลวไฟทีอ่ ยพู่ ืน้ ผิวของของเหลวน้ี นอกจากนี้ การฉดี นำ�้ เปน็ ละอองฝอยอยา่ งระมดั ระวงั มกั จะใช้ ได้ดีกับการดับไฟท่ีเกิดจากของเหลวไวไฟที่มี จุดวาบไฟสงู (หรอื ของเหลวหนดื ) โดยท�ำใหเ้ กดิ ฟองบนพนื้ ผวิ ของของเหลว ซง่ึ ฟองนจี้ ะท�ำหนา้ ที่ ปกคลมุ พน้ื ผวิ ลดการสมั ผสั กบั อากาศและดบั ไฟได้ 405

คณะผจู้ ัดทำ� ที่ปรกึ ษา อธิบดีกรมควบคมุ มลพษิ รองอธบิ ดกี รมควบคุมมลพษิ นางสุณี ปยิ ะพนั ธ์พุ งศ ์ ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นกั จดั การกากของเสียและสารอันตราย นางสุวรรณา เตยี รถ์สุวรรณ ผู้อ�ำ นวยการส่วนปฏิบัตกิ ารฉกุ เฉนิ และฟนื้ ฟู นายสุเมธา วเิ ชยี รเพชร นางสาวพรพมิ ล เจรญิ สง่ ผแู้ ปลและเรียบเรยี ง Emergency Response Guidebook 2016 นางสาวธนั ย์ชนก อนิ ทรา นกั วิชาการสงิ่ แวดลอ้ มปฏบิ ัตกิ าร นางสาวศศิวิมล แนวทอง นกั วชิ าการสงิ่ แวดลอ้ มชำ�นาญการ ผนาู้แยปสุนลทแรลอะุปเมราียนบ เ รยี ง Emeนกัrgวชิeาnกาcรyสิ่งแRวeดsลp้อมoชnำ�sนeาญGกาuรidebook 2012 นายเชดิ ชยั วรแก่นทราย นักวิชาการสง่ิ แวดล้อมชำ�นาญการ ผู้แปลและเรยี บเรียง Emergency Response Guidebook 2008 นางอาภาภรณ์ ศริ พิ รประสาร นกั วชิ าการสิ่งแวดล้อมชำ�นาญการ ผแู้ ปลและเรียบเรยี ง Emergency Response Guidebook 2004 นางสาวศศิวมิ ล แนวทอง นักวชิ าการสิ่งแวดล้อม 6 ว นายเชดิ ชยั วรแกน่ ทราย นักวชิ าการสิ่งแวดล้อม 6 ว นางสาวลกั ษมี พรหมกสิกร นักวชิ าการส่ิงแวดล้อม 6 ว นางศิรินาท ผอ่ งญาต ิ นักวิชาการส่งิ แวดลอ้ ม 5 ผู้แปลและเรยี บเรยี ง Emergency Response Guidebook 2000 นางอาภาภรณ์ ศริ ิพรประสาร นกั วชิ าการสงิ่ แวดล้อม 5 พมิ พ์ท่ี หา้ งหนุ้ สว่ นสามัญนิติบุคคล เจี้ยฮ้ัว พมิ พ์ครั้งที่ 1 จ�ำ นวน 3,000 เล่ม พฤศจกิ ายน 2560 406

เบอร์โทรศพั ทฉ์ กุ เฉิน รีบโทรเขา้ หน่วยงานรับผิดชอบทีเ่ กีย่ วขอ้ งในท้องท่เี กดิ เหตุให้ดำ�เนนิ การระงบั เหตุทันที • เกดิ เหตุในกรุงเทพมหานคร โทร. 199 หรือสายด่วน กทม. โทร. 1555 หรอื กรมควบคมุ มลพิษ โทร. 1650 หรอื 02 298 2386 – 7 • เกดิ เหตใุ นต่างจงั หวดั โทร. 199 หรอื กรมควบคุมมลพษิ โทร. 1650 หรอื 02 298 2386 - 7 • เกดิ เหตบุ นทางหลวง โทร. 1193 • เกดิ เหตุบนทางดว่ น โทร. 1543 • เกิดเหตุบนทอ้ งถนน แจง้ ศนู ยป์ ลอดภยั คมนาคม โทร. 1356 • เกิดเหตุเกีย่ วกับสารกมั มันตรังสี แจ้งสำ�นกั งานปรมาณเู พือ่ สนั ติ ในเวลาราชการ โทร. 0 2579 5230-4 ต่อ 552 553 139 นอกเวลาราชการ โทร. 0 2579 5230-4 หรือ 0 2562 0123 • หรอื สายด่วน ปภ. (กรมปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัย) 1784 407

คมู อื สำหรบั เจา หนาทตี่ อบโตเ หตุฉกุ เฉินเบ้อื งตน จากอบุ ัติภัยจากการขนสง สินคา /วัตถุอนั ตราย กรมควบคุมมลพษิ 92 ซอยพหลโยธิน 7 ถนนพหลโยธนิ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพ 10400 โทรศพั ท 0 2298 2000 โทรสาร 0 2298 5392 เว็บไซต www.pcd.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook