Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี

วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี

Description: วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี.

Search

Read the Text Version

86 เมืองแก่ อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต พบว่า รูปแบบของเครื่องแต่งกายนัน้ ได้รับอิทธิพลมาจาก รูปแบบเคร่ืองแต่งกายชาวจีนตงั้ แต่ราชวงศ์หมิงของจีน ผสานกบั รูปแบบเคร่ืองแต่งกายถ่ายทอด มาโดยตรงจากปี นงั และมะละกามายงั ภเู ก็ต รูปแบบเคร่ืองแตง่ กายจะเหมือนกบั ท่ีปี นงั และมะละ กา ส่วนเคร่ืองประดับจะมีรูปแบบท่ีส่งต่อมาจากปี นังและมะละกาสู่ภูเก็ตเช่นเดียวกัน เคร่ืองประดับจะมีการผสมผสานหลากวัฒนธรรม รูปแบบศิลปกรรมท้องถ่ิน จีน อินเดีย และ ตะวนั ตก เนื่องด้วยการค้าขายท่ีเจริญรุ่งเรืองจึงสามารถนําเข้าและซือ้ ขายและเปลี่ยนสนิ ค้ามีคา่ ได้ อยา่ งเสรี ในบริเวณนีล้ วดลายท่ีพบนนั้ จะเป็ นลวดลายท่ีมีความเป็ นตะวนั ตก ลวดลายประณีตแบบ อินเดียผสานกับศิลปกรรมจีน โดยชาวเปอรานากันได้เลือกเคร่ืองประดบั ท่ีมีลวดลายสตั ว์ต่างๆ ลวดลายพรรณไม้และลวดลายเบ็ดเตล็ดท่ีเข้ากบั คติความเช่ือในวฒั นธรรมจีนเกี่ยวกบั ลวดลายที่ เป็ นสิริมงคลซึ่งมีวัฒนธรรมจีนเป็ นวัฒนธรรมรากฐานดัง้ เดิม โดยการส่งต่อวัฒนธรรมการใช้ เครื่องประดบั และการสร้างลวดลายมาจากปี นงั และมะละกา จากการศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ท่ี เก่ียวข้อง กบั การศกึ ษาเรื่อง วฒั นธรรมการแต่งกายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต พบว่า การอพยพเข้ามาของชาวจีนมีด้วยกนั 6 กล่มุ ด้วยกนั ได้แก่ จีนแต้จ๋ิว จีนแคะ จีนไหหลํา จีนกวางต้งุ จีนฮกเกีย้ น และพวกอ่ืนๆ ที่มาจากไต้หวนั เซ่ียงไฮ้และจากนิงโป และได้ จําแนกเส้นทางได้ 4 เส้นทางด้วยกัน ดังนี ้ (กลุ่มที่หน่ึง) มาด้วยเรือสําเภาจีนไม่มีจุดหมาย ปลายทาง (กลมุ่ ท่ีสอง)เป็ นกลมุ่ คนจีนท่ีเข้ามาตงั้ หลกั แหลง่ บริเวณแหลมมลายู บริเวณช่องแคบมะ ละกา เป็ นคนจีนที่มีความทะเยอทะยานสงู (กล่มุ ท่ีสาม)คือกล่มุ คนจีนที่เข้ามาอย่ทู างภาคกลาง ของประเทศไทยก่อน แล้วคอ่ ยอพยพมาภาคใต้ในภายหลงั และ(กลมุ่ ทีส่ี)เป็ นกลมุ่ กรรมกรท่ีเข้ามา ทําเหมืองแร่ตามข้อเสนอของพระยารัษฎานปุ ระดษิ ฐ์ กรมการเมืองภเู ก็ตที่เสนอให้รัฐบาลสนบั สนนุ การเดินทางของกรรมกรจีนท่ีเดินทางโดยตรงจากจีนมาภูเก็ต เม่ือกล่มุ คนจีนเหล่านีเ้ ข้ามาจึงได้ นําเอาวฒั นธรรมของตวั เองตดิ ตวั เข้ามาด้วยจงึ ทําให้เกิดการผสมผสานหลอมรวมหรือเกิดการหลอ่ หลอมวฒั นธรรมกับคนภูเก็ตท้องถ่ินท่ีเป็ นเจ้าของสถานท่ีดงั้ เดิมขึง้ จึงทําให้เป็ นวัฒนธรรมใหม่ ขึน้ มาที่เรียกกันว่าวัฒนธรรมแบบบ่าบ๋า จึงทําให้กลายเป็ นเอกลกั ษณ์อย่างหน่ึงของคนภูเก็ต รวมทงั้ วฒั นธรรม ประเพณี อาหารการกิน การใช้ภาษาการพดู ตกึ รามบ้านช่อง และการแต่งกาย ทงั้ หมดนีล้ ้วนแล้วแตเ่ ป็ นเอกลกั ษณ์ของคนภเู ก็ตทงั้ สนิ ้ อรพรรณ (2555) ศึกษาเรื่อง กระแสวัฒนธรรมจีนบาบ๋าในบริบทการท่องเท่ียวเชิง วฒั นธรรม : ศกึ ษาเฉพาะกรณี ถนนถลาง อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต โดยเป็ นการศกึ ษาเชิงคณุ ภาพ โดยเก็บรวบรวมข้อมลู จากเอกสาร การวิจยั ภาคสนาม โดยสงั เกตการณ์ทงั้ แบบมีสว่ นร่วมและไม่มี ส่วนร่วม การสมั ภาษณ์ผ้ใู ห้ข้อมลู สําคญั เพื่อศกึ ษาเกี่ยวกบั วิถีชีวิตความเป็ นอย่ขู องชาวไทยเชือ้

87 สายจีนบาบ๋าในบริบทของสงั คมและวฒั นธรรมจงั หวดั ภูเก็ต และเพื่อศึกษาพฒั นาการและการ เปล่ียนแปลงทางวฒั นธรรมของกระแสการท่องเที่ยวเชิงวฒั นธรรมในปัจจุบนั ผลการวิจยั พบว่า สภาพวิถีชีวิตของชาวไทยเชือ้ สายจีนบาบ๋ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึน้ ทงั้ จากภายนอกและภายใน ชมุ ชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระแสของการท่องเที่ยวที่ทําให้เกิดการแพร่กระจายทางวฒั นธรรมจาก ภายนอกเข้าสชู่ มุ ชน และการพฒั นาภายในชมุ ชนเองท่ีปรับตวั รับมือให้เข้ากบั กระแสการท่องเท่ียว ท่ีเข้ามา ในส่วนของวัฒนธรรมประเพณีของชาวไทยเชือ้ สายจีนบาบ๋ายังคงมีอยู่อย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะในเร่ืองของวฒั นธรรมการไหว้เจ้า การเคารพบรรพบรุ ุษ ประเพณีการแต่งงาน โดยพิธี การบางอย่างมีการเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับสภาพสงั คมปัจจุบันแต่ความหมายและคุณค่ายงั คง เหมือนเดิมในสว่ นของวิถีชีวิตทว่ั ไป ประชากรในชมุ ชนสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย มีทงั้ กิจการ ที่รับช่วงต่อจากบรรพบรุ ุษและกิจการเปิ ดใหม่เพื่อรองรับการท่องเท่ียวที่เข้ามาในชุมชน มีการนํา ทนุ ทางวฒั นธรรมท่ีมีอย่มู าดงึ ดดู นกั ท่องเท่ียว โดยให้นกั ท่องเท่ียวได้ศกึ ษาวฒั นธรรมชาวไทยเชือ้ สายจีนบาบ๋าผ่านวิถีชีวิตของคนในชุมชน โดยท่ีคนในชุมชนส่วนใหญ่ไม่คิดจะเปล่ียนตวั เองเพ่ือ การท่องเท่ียวท่ีเข้ามาในชุมชน แต่อยากให้การท่องเท่ียวท่ีเข้ามานนั้ เคารพสิทธิของคนในชุมชน เน้นการเผยแพร่และเรียนรู้วฒั นธรรมที่แตกตา่ งผา่ นวิถีชีวติ ของคนในชมุ ชน

บทท่ี 3 วธิ ีดาํ เนินการ วิทยานิพนธ์นี ้เป็ นการศกึ ษาเชิงคณุ ภาพ (Qualitative Research) โดยศกึ ษาวฒั นธรรม การแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี จงั หวดั ภเู ก็ต มีวธิ ีดาํ เนินการ ดงั นี ้ 3.1 การกําหนดประชากรและการเลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ ง 3.1.1 ประชากร 3.1.2 กลมุ่ ตวั อยา่ ง 3.2 เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บข้อมลู 3.2.1 ลกั ษณะของเคร่ืองมือ 3.2.2 ขนั้ ตอนการสร้างเคร่ืองมือ 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมลู 3.3.1 การเก็บรวบรวมข้อมลู ปฐมภมู ิ 3.3.2 การเก็บรวบรวมข้อมลู ทตุ ยิ ภมู ิ 3.3.3 การเก็บข้อมลู โดยการสงั เกต 3.4 การวเิ คราะห์ข้อมลู 3.1 การกาํ หนดประชากรและการเลือกกลุ่มตวั อย่าง 3.1.1 ประชากร ประชากรท่ีใช้ในการเก็บข้อมลู เชิงคณุ ภาพครัง้ นี ้คือ ผ้นู ําชมุ ชน และภมู ิปัญญา ท้องถิ่น อายุตงั้ แต่ 35 ปี ขึน้ ไป ซ่ึงเป็ นบุคคลท่ีอาศยั อยู่ใน จังหวัดภูเก็ต และเป็ นผู้ท่ีได้รับการ ยอมรับจากองค์กรภาครัฐและเอกชนในจงั หวดั ภูเก็ต โดยคลอบคลมุ บุคลากรที่เกี่ยวข้องที่อยู่ใน ปรากฏการณ์ของพืน้ ท่ีที่ศกึ ษา ได้แก่ ผ้เู ชี่ยวชาญและผ้ชู ํานาญการท่ีมีความรู้ ความสามารถ และมี ประสบการณ์ ทางด้านวัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต เหตทุ ี่ผ้ศู กึ ษากําหนดอายเุ ช่นนี ้ เพราะทางจิตวิทยาวา่ ด้วยพฒั นาการของมนษุ ย์ ว่า

89 วยั ผ้ใู หญ่ตอนกลางหรือวยั กลางคนนนั้ ย่ิงอายมุ ากขึน้ ความสามารถในการเรียนรู้จะยิ่งลดลง ความจําไมด่ ีเท่าวยั รุ่น แตม่ ีส่ิงชดเชย เช่น ประสบการณ์ การใช้เหตผุ ลดีขนึ ้ การควบคมุ อารมณ์ดี ขึน้ (อ้างถึงใน จารุภา, 2551) ทัง้ นีป้ ระชากรดงั กล่าว อาจเป็ นผู้มีส่วนร่วมทําให้เกิดการ เปล่ียนแปลง หรือได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรมของชมุ ชน เพื่อจะ สามารถให้ข้อมลู เก่ียวกบั เหตกุ ารณ์ที่เกิดขนึ ้ และนํามาสขู่ ้อสรุปของการศกึ ษาครัง้ นี ้ 3.1.2 กลุ่มตวั อย่าง ผ้ศู ึกษาใช้วิธีการคดั เลือกผู้ให้ข้อมลู หลกั (Key Informant) โดยเร่ิมจากการ สอบถามผ้ทู ี่มีความรู้ ความเช่ียวชาญทางด้านวฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของ สตรี อําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต เพ่ือสมั ภาษณ์เก็บข้อมลู และขอข้อมลู เก่ียวกบั ผ้ใู ห้ข้อมลู ท่านอ่ืนๆ ที่มีความรู้ความเช่ียวชาญและเป็ นผู้ที่ได้รับการยอมรับจากองค์กรภาครัฐและเอกชนในจงั หวัด ภเู ก็ต โดยใช้วิธีการเลือกตวั อย่างแบบบอกตอ่ (Snowball Sampling) คือ ผ้ศู กึ ษาเริ่มด้วยการ สมั ภาษณ์และให้กล่มุ ตวั อย่างแนะนํารายช่ือผ้ใู ห้ข้อมลู ท่านอ่ืนๆตอ่ ไป ซง่ึ กลมุ่ ตวั อย่างทงั้ หมด จะ ครอบคลมุ กลมุ่ อาวโุ ส กลมุ่ ผ้นู ํา ทงั้ ท่ีเป็ นทางการและไมเ่ ป็ นทางการ และตวั แทนหน่วยงานท้องถิ่น ซง่ึ เป็ นผ้ทู ่ีได้รับการยอมรับจากองค์กรภาครัฐและเอกชนในจงั หวดั ภเู ก็ต โดยผ้เู ช่ียวชาญได้แนะนํา จํานวน 8 ท่าน ดงั นี ้ 1. คณุ จู้ พงศ์ประดิษฐ์ อายุ 83 ปี เป็ นชาวบ้านที่มีความรู้เรื่องชดุ ย่าหยาและรองเท้าปัก ของสตรีอําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต 2. อาจารย์ไชยยทุ ธ ป่ิ นประดบั อายุ 75 ปี ปัจจบุ นั ดํารงตําแหน่งครูภมู ิปัญญาไทย รุ่นท่ี 3 บ้านเหมืองแร่ กรรมการสภาวฒั นธรรมจงั หวดั ภูเก็ต ศศ.บ.(กิตติมศกั ดิ์) มหาวิทยาลยั ราชภฏั ภเู ก็ต เครือขา่ ยศนู ย์มนษุ ยวิทยาสริ ินธร (องค์การมหาชน) 3. คณุ จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช อายุ 72 ปี ปัจจุบนั ดํารงตําแหน่ง ผู้พิพากษาศาลเยาวชน และครอบครัวจงั หวดั ภเู ก็ต และรองประธานมลู นิธิ ท้าวเทพกษัตรีและท้าวศรีสนุ ทร 4. อาจารย์สมหมาย ป่ิ นพทุ ธศิลป์ อายุ 67 ปี ปัจจบุ นั ดํารงตําแหน่งประธานกลมุ่ ผ้สู นใจ ประวตั ศิ าสตร์เมืองภเู ก็ต 5. อาจารย์ฤดี ภูมิภูถาวร อายุ 65 ปี ปัจจุบนั ดํารงตําแหน่งผู้บรรยายพิเศษ และเป็ น อาจารย์สอนสงั คมศกึ ษาโรงเรียนสตรีภเู ก็ต โรงเรียนขจรเกียรตศิ กึ ษา 6. อาจารย์จรินทร์ นีรนาทวโรดม อายุ 59 ปี ปัจจุบันดํารงตําแหน่งอาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ภเู ก็ต 7. คุณยินดี มโนสุณทร อายุ 53 ปี ปัจจุบันดํารงตําแหน่งประธานชุมชนเมืองเก่า

90 ประธานสภาวฒั นธรรม ตาํ บลตลาดใหญ่ สภาชมุ ชนวฒั นธรรม อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 8. คณุ สรุ เชษฐ์ เจริญผล อายุ 38 ปี ปัจจบุ นั ดํารงตําแหน่ง พนกั งานพิพิธภณั ฑ์ภเู ก็ตไทย หวั 3.2 เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการเกบ็ ข้อมูล 3.2.1 ลักษณะของเคร่ืองมือ การศกึ ษาครัง้ นีเ้ป็ นการศกึ ษาเชิงคณุ ภาพ (Qualitative Research) เคร่ืองมือที่ใช้ ในการศกึ ษามีดงั นี ้ 3.2.1.1 แบบสมั ภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured interview) ท่ีผ้ศู กึ ษาสร้าง ขึน้ จากแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตํารา และผลงานวิจัยที่เก่ียวข้อง ตามวัตถุประสงค์และกรอบ แนวคิดในการศึกษา ตลอดจนได้รับการปรับปรุงแก้ไขและตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ โดยแบบ สมั ภาษณ์แบง่ คาํ ถามออกเป็ น 4 ด้าน ดงั นี ้ ด้านที่ 1 ศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์การตงั้ ถิ่นฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต ด้านที่ 2 ศึกษาวฒั นธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของ สตรีในจงั หวดั ภเู ก็ต ด้านที่ 3 ศกึ ษารูปแบบลวดลายของชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี ในจงั หวดั ภเู ก็ต ด้านที่ 4 วิเคราะห์ความเหมาะสมของสภาพบ้านเมืองกบั การแตง่ กาย ชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรีในจงั หวดั ภเู ก็ต 3.2.1.2 เคร่ืองบนั ทกึ เสียง ผู้ศึกษาใช้ เคร่ืองบันทึกเสียง จํานวน 1 ชุด ในการบันทึกข้อมูลการ สมั ภาษณ์ เพื่อป้ องกนั ความผดิ พลาดช่วงรอยตอ่ ของแตล่ ะข้อคาํ ถาม 3.2.1.3 กล้องบนั ทกึ ภาพ ผู้ศึกษาใช้ กล้องบันทึกภาพ จํานวน 1 ชุดในการบันทึกข้ อมูลของ ประชากรกล่มุ ตวั อย่างและลําดบั ภาพถ่ายขณะทําการสมั ภาษณ์ เพ่ือป้ องกนั ความผิดพลาดช่วง รอยตอ่ ของแตล่ ะข้อคาํ ถาม 3.2.1.4 สมดุ บนั ทกึ ภาคสนาม ผ้ศู กึ ษาใช้บนั ทกึ ข้อมลู ท่ีสมั ภาษณ์เพ่ือวเิ คราะห์และแปลความหมาย

91 3.2.2 ขัน้ ตอนการสร้างเคร่ืองมือ การสร้างและตรวจสอบเครื่องมือ มีขนั้ ตอน ดงั ตอ่ ไปนี ้ ขนั้ ตอนที่ 1 ศึกษา ทฤษฎี เอกสาร ตํารา ภาพถ่าย และงานวิจยั ที่เก่ียวข้องกบั วฒั นธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองในจังหวดั ภูเก็ต เพื่อเป็ น แนวทางในการสร้างแบบสมั ภาษณ์ ขนั้ ตอนท่ี 2 กําหนดขอบเขต และโครงสร้ างของเนือ้ หา ให้ครอบคลมุ กับวตั ถุ ประสงค์ท่ีต้องการศกึ ษาแล้วนําไปสร้างเป็ นข้อคาํ ถามในแบบสมั ภาษณ์ ขนั้ ตอนท่ี 3 สร้างแบบสมั ภาษณ์โดยขอคําแนะนําจากคณะกรรมการท่ีปรึกษา วิทยานิพนธ์ จากนัน้ นําแบบสมั ภาษณ์ที่สร้ างขึน้ ส่งให้ผู้เช่ียวชาญทัง้ 5 ท่าน ตรวจสอบความ เที่ยงตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity) และตรวจสอบความถกู ต้องเหมาะสมของข้อคําถาม แล้ว นํามาปรับปรุงแก้ไข ขนั้ ตอนท่ี 4 นําแบบสมั ภาษณ์มาปรับปรุงแก้ไขตามคําแนะนําของผ้เู ช่ียวชาญ โดยมีคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมพิจารณา จากนนั้ แบบสมั ภาษณ์ท่ีได้ไปวิเคราะห์หา ค่าดชั นีความสอดคล้อง (IOC) ซึ่งค่าดชั นีความสอดคล้องที่ได้จะอย่รู ะหว่าง 0.5-1 ซึง่ ถือว่าใช้ได้ (ธานินท์, 2551) ขัน้ ตอนท่ี 5 นําแบบสัมภาษณ์ท่ีปรับปรุงแก้ไขเป็ นฉบับสมบูรณ์แล้ว ไปเก็บ รวบรวมข้อมลู กบั กลมุ่ ตวั อยา่ ง 3.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การศกึ ษาวจิ ยั เชิงคณุ ภาพในครัง้ นี ้ผ้ศู กึ ษาทําการเก็บรวบรวมข้อมลู 3 วธิ ีการ ดงั นี ้ 1. การเก็บรวบรวมข้อมลู ปฐมภมู ิ (Primary Data) ด้วยการสมั ภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured interview) กบั กล่มุ ตวั อย่างที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญทางด้านวฒั นธรรมการแต่ง กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต โดยเป็ นผ้ทู ี่ได้รับการยอมรับจาก องค์กรภาครัฐและเอกชน ในจงั หวดั ภเู ก็ต จํานวน 8 ท่าน ตงั้ แต่เดือน สิงหาคม – กนั ยายน 2556 2. การเก็บรวบรวมข้อมลู ทตุ ิยภมู ิ (Secondary) จากทฤษฎี เอกสาร ตํารา ภาพถ่าย และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับวฒั นธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมืองใน จงั หวดั ภเู ก็ต 3. การเก็บข้อมูลโดยการสังเกต ผู้ศึกษาใช้วิธีการสงั เกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non- Participant Observation) คือ ผ้ศู กึ ษาเฝ้ าสงั เกตหรือเฝ้ าดู พฤติกรรมการแต่งกายชดุ ย่าหยาและ การสวมใสร่ องเท้าปักของสตรีที่อาศยั อย่ใู นอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต อย่ภู ายนอก โดยไม่ได้เข้าไป

92 ร่วมกิจกรรมที่ทําอยู่ ในระหวา่ งเดือนสงิ หาคม – กนั ยายน 2556 ผ้ศู กึ ษาดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมลู ตามลาํ ดบั ขนั้ ตอน ดงั นี ้ 3.3.1 การเกบ็ รวบรวมข้อมูลปฐมภมู ิ การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ(Primary Data) ด้วยการสัมภาษณ์แบบมี โครงสร้าง (Structured interview) กบั กลมุ่ ตวั อยา่ งมีวธิ ีการ ดงั นี ้ 3.3.1.1 ผ้ศู ึกษาขอหนงั สือจากบณั ฑิตวิทยาลยั คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล เพ่ือขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากผู้ที่มี ความรู้ ความเชี่ยวชาญทางด้านวฒั นธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอ เมืองในจงั หวดั ภูเก็ต เพื่อสมั ภาษณ์เก็บข้อมลู และขอข้อมลู เก่ียวกับผู้ท่ีมีความรู้ความเช่ียวชาญ และเป็ นผู้ท่ีได้รับการยอมรับจากองค์กรภาครัฐและเอกชนในจงั หวดั ภูเก็ต ที่เป็ นประชากรกลุ่ม ตวั อยา่ งในการศกึ ษาครัง้ นี ้ 3.3.1.2 ขนั้ แนะนําตวั ผู้ศึกษาได้แนะนําตวั อย่างเปิ ดเผย และแจ้งให้ผ้ตู อบแบบ สมั ภาษณ์ เข้าใจถึงวตั ถปุ ระสงค์ของการสมั ภาษณ์และวตั ถุประสงค์ของการศึกษาวิจยั ในครัง้ นี ้ ก่อนดาํ เนินการสมั ภาษณ์ 3.3.1.3 ขัน้ สัมภาษณ์ ผู้ศึกษาได้ ดําเนินการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้ าง (Structured interview) กบั กล่มุ ตวั อย่างที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญทางด้านวฒั นธรรมการแต่ง กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต โดยเป็ นผ้ทู ่ีได้รับการยอมรับจาก องค์กรภาครัฐและเอกชน ในจงั หวดั ภเู ก็ต จํานวน 8 ท่าน โดยใช้แบบสมั ภาษณ์ท่ีได้จดั เตรียมไว้ ลว่ งหน้า พร้อมทงั้ มีการบนั ทกึ เสียงลงในเครื่องบนั ทกึ เสยี งระหวา่ งการสมั ภาษณ์ทกุ ครัง้ 3.3.1.4 ขัน้ เสร็จสิน้ การสัมภาษณ์ หลังจากการสัมภาษณ์ ผู้ศึกษาได้ถอดคํา สมั ภาษณ์จากเคร่ืองบนั ทึกเสียงและจดลงในสมดุ บนั ทึกภาคสนามไว้อย่างเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร จากนนั้ ตรวจสอบความครบถ้วนของเนือ้ หาท่ีได้จากการสมั ภาษณ์ และความสมบรู ณ์ของคําตอบ ในแบบสมั ภาษณ์ และจดั หมวดหมขู่ องข้อมลู ในแบบสมั ภาษณ์ เพ่ือทําการวิเคราะห์ข้อมลู ตอ่ ไป หมายเหตุ : ในการสมั ภาษณ์ผ้ศู กึ ษาจะขออนญุ าตใช้เคร่ืองบนั ทกึ เสียง 3.3.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลทุตยิ ภมู ิ การเก็บรวบรวมข้อมลู ทตุ ิยภมู ิ (Secondary) จากทฤษฎี เอกสาร ตํารา ภาพถ่าย และงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้องกบั วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองใน

93 จังหวัดภูเก็ต ผู้ศึกษาดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล จากทฤษฎี เอกสาร ตํารา ภาพถ่าย และ งานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้องกับวฒั นธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองใน จงั หวดั ภเู ก็ต แล้วนํามาวิเคราะห์ประกอบกบั ข้อมลู ท่ีได้รับจากการสมั ภาษณ์ 3.3.3 การเก็บข้อมูลโดยการสังเกต ผ้ศู กึ ษาใช้วิธีการสงั เกตแบบไมม่ ีสว่ นร่วม (Non-Participant Observation) คือ ผู้ ศกึ ษาเฝ้ าสงั เกตหรือเฝ้ าดู พฤตกิ รรมการแตง่ กายด้วยชดุ ยา่ หยาและการสวมใสร่ องเท้าปักของสตรี ท่ีอาศยั อย่ใู นอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต อย่ภู ายนอก โดยไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมกบั กิจกรรมที่ทําอยู่ เพ่ือสงั เกตพฤตกิ รรมและเหตกุ ารณ์ เพ่ือนํามาหาความสมั พนั ธ์และความหมายของปรากฎการณ์ที่ เกิดขึน้ และผู้ศึกษานําเสนอการเก็บข้อมูลจากการสังเกตแบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) โดยข้อมลู ที่ได้ศกึ ษามาจาก 3.3.3.1 จากการศึกษาค้นคว้าในทฤษฎี เอกสาร ตํารา ภาพถ่ายและงานวิจยั ที่ เกี่ยวข้องกบั วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต 3.3.3.2 จากการศึกษาภาคสนาม ซึ่งเป็ นข้อมูลที่ได้จากการสงั เกตการณ์ การ สมั ภาษณ์ โดยกลมุ่ เป้ าหมายเป็ นผ้ใู ห้ข้อมลู ในลกั ษณะบอกเลา่ (Oral History) แหลง่ ข้อมลู ท่ีผ้ศู กึ ษาได้จากการสงั เกตมีแหลง่ ท่ีมา ดงั นี ้ 1) ข้อมลู จากภาพถ่ายการแต่งกายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีใน อดตี ที่จดั แสดงในพิพธิ ภณั ฑ์บ้านชินประชา จงั หวดั ภเู ก็ต 2) ข้อมลู จากศนู ย์วฒั นธรรมจงั หวดั ภเู ก็ต 3) ข้อมลู จากห้องสมดุ และศนู ย์วฒั นธรรม ภายในมหาวิทยาลยั ราชภฏั ภเู ก็ต 4) ข้อมลู จากร้านขายชดุ พืน้ เมือง ในจงั หวดั ภเู ก็ต 5) ข้อมลู จากการสมั ภาษณ์บคุ คลร่วมสมยั ในปัจจบุ นั 3.4 การวเิ คราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาเชิงคุณภาพ ผู้ศึกษาได้ทําการเก็บรวบรวมข้อมูลความ คิดเห็น และประเด็นสําคัญ ท่ีได้จากการตอบแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้ าง (Structured interview) ของกล่มุ ตวั อย่าง จากทฤษฎี เอกสาร ตํารา ภาพถ่าย และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ตและจากการ เก็บรวบรวมข้อมลู ที่ได้จากการสงั เกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participant Observation) ของผู้

94 ศกึ ษาที่สงั เกตและเฝ้ าดู พฤตกิ รรมการแตง่ กายด้วยชดุ ย่าหยาและการสวมใสร่ องเท้าปักของสตรีท่ี อาศยั อยใู่ นอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต จากนนั้ ผ้ศู กึ ษาทําการวิเคราะห์ข้อมลู แบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) ด้วยการนําข้อมลู ทกุ ส่วนท่ีรวบรวมได้ โดยวิธีการจดบนั ทึก บนั ทึกเสียง ขณะสมั ภาษณ์ และจากทฤษฎี เอกสาร ตํารา ภาพถ่าย และงานวิจัยที่เก่ียวข้อง นํามาร่วมกัน วเิ คราะห์ผลเพ่ือตอบปัญหาตามวตั ถปุ ระสงค์ของการศกึ ษา ดงั นี ้ 3.4.1 การวิเคราะห์ข้อมูล การศึกษาประวัติศาสตร์การตัง้ ถ่ินฐานของชาวจีนใน จังหวัดภเู กต็ ทําการวิเคราะห์ข้อมูลจากทฤษฎี เอกสาร ตํารา และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับ วฒั นธรรมการแต่งกายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต แล้วนํามา วเิ คราะห์ประกอบกบั ข้อมลู ที่ได้รับจากการสมั ภาษณ์ ใช้การวิเคราะห์ข้อมลู แบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) โดยนําเสนอในรูปแบบตารางประกอบความเรียง ภายใต้กรอบข้อความ ตอ่ ไปนี ้ 1. การตงั้ ถ่ินฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 2. เหตผุ ลที่ชาวจีนมาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต 3. ชาวจีนสว่ นใหญ่ท่ีมาตงั้ ถิ่นฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต 4. การเดนิ ทางของชาวจีนเข้าสจู่ งั หวดั ภเู ก็ต 5. บริเวณสว่ นใหญ่ท่ีชาวจีนเข้ามาตงั้ ถ่ินฐาน 6. วิถีชีวิต การดาํ รงชีวติ วฒั นธรรมและประเพณี ของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 7. การสร้างครอบครัวของชาวจีนท่ีเข้ามาตงั้ ถิ่นฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต 8. ชาวจีนที่มาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภูเก็ต ส่งผลต่อด้านวัฒนธรรมและการแต่ง กาย 9. การตงั้ ถิ่นฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภูเก็ต ทําให้วิถีชีวิตของชาวภเู ก็ตมีความ เปลีย่ นแปลง 10. การเปลย่ี นแปลงจากอดตี จนถงึ ปัจจบุ นั 3.4.2 การวิเคราะห์ข้อมูล การศกึ ษาวัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้า ปักของสตรีอาํ เภอเมือง จังหวัดภเู ก็ต ทําการวเิ คราะห์ข้อมลู จากทฤษฎี เอกสาร ตํารา ภาพถ่าย และงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้อง กบั วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต แล้วนํามา

95 วิเคราะห์ประกอบกบั ข้อมลู ที่ได้รับจากการสมั ภาษณ์ และข้อมลู ที่ได้จากการสงั เกตของผ้ศู กึ ษาที่ สงั เกตและเฝ้ าดู พฤติกรรมการแต่งกายด้วยชดุ ย่าหยาและการสวมใส่รองเท้าปักของสตรีที่อาศยั อยู่ในอําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) นําเสนอในรูปแบบตารางประกอบความเรียง ภายใต้กรอบข้อความตอ่ ไปนี ้ 1. การแต่งกายในชีวิตประจําวนั และในโอกาสพิเศษของสตรีเชือ้ สายจีนในอดีต 2. การแต่งกายในชีวิตประจําวันและในโอกาสพิเศษของสตรีเชือ้ สายจีนใน ปัจจบุ นั 3. การแต่งกายในชีวิตประจําวันและในโอกาสพิเศษของสตรีเชือ้ สายจีนใน อนาคต 4. อทิ ธิพลท่ีทําให้การแตง่ กายของสตรีจงั หวดั ภเู ก็ตเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต 5. ความคิดเห็นด้านวัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 6. จุดเด่นของวฒั นธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอ เมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต 7. ความคิดเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงด้านวฒั นธรรมการแต่งกายของสตรี อําเภอ เมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 8. แนวทางการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 3.4.3 การวิเคราะห์ข้อมูล การศึกษารูปแบบและลวดลายของชุดย่าหยาและ รองเท้าปักของสตรีอาํ เภอเมือง จังหวัดภเู ก็ต ทําการวเิ คราะห์ข้อมลู จากทฤษฎี เอกสาร ตาํ รา ภาพถ่าย และงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้อง กบั วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต แล้วนํามา วิเคราะห์ประกอบกบั ข้อมลู ท่ีได้รับจากการสมั ภาษณ์ และข้อมลู ที่ได้จากการสงั เกตของผ้ศู กึ ษาท่ี สงั เกตและเฝ้ าดู พฤติกรรมการแต่งกายด้วยชดุ ย่าหยาและการสวมใส่รองเท้าปักของสตรีท่ีอาศยั อยู่ในอําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive นําเสนอในรูปแบบตารางประกอบความเรียง ภายใต้กรอบข้อความตอ่ ไปนี ้ 1. ความเป็ นมาของรูปแบบและลวดลายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 2. ววิ ฒั นาการของรูปแบบและลวดลายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอ

96 เมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 3. กรรมวิธีเฉพาะการตกแต่งลวดลายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอ เมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 3.4.4 การวิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมของสภาพบ้านเมืองกับการแต่งกาย มี รายละเอยี ด ดงั นี้ 3.4.4.1 วิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในอดีต ท่ีมีต่อ วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ทําการวิเคราะห์ข้อมลู จากทฤษฎี เอกสาร ตํารา ภาพถ่าย และงานวิจยั ที่เก่ียวข้องกบั วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต แล้วนํามาวิเคราะห์ประกอบกับข้อมูลท่ีได้รับจากการสัมภาษณ์ ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบ พรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) นําเสนอในรูปแบบตารางประกอบความเรียง ภายใต้ กรอบข้อความตอ่ ไปนี ้ 1) ในด้านภมู ปิ ระเทศ 2) ในด้านสภาพดนิ ฟ้ าอากาศ 3) ในด้านเศรษฐกิจ 4) ในด้านสงั คม 5) ในด้านการปกครองและการเมือง 6) ในด้านศลิ ปวฒั นธรรม 3.4.4.2 วิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในปัจจุบนั ท่ีมีต่อ วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ทําการวิเคราะห์ข้อมลู จากทฤษฎี เอกสาร ตํารา ภาพถ่าย และงานวิจยั ที่เก่ียวข้องกบั วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต แล้วนํามาวเิ คราะห์ประกอบกบั ข้อมลู ที่ได้รับจากการสมั ภาษณ์ และข้อมลู ท่ีได้จากการสงั เกตของผู้ ศกึ ษาท่ีสงั เกตและเฝ้ าดู พฤตกิ รรมการแตง่ กายด้วยชดุ ย่าหยาและการสวมใสร่ องเท้าปักของสตรีท่ี อาศยั อยู่ในอําเภอเมือง จังหวดั ภูเก็ต ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) นําเสนอในรูปแบบตารางประกอบความเรียง ภายใต้กรอบข้อความตอ่ ไปนี ้ 1) ในด้านภมู ิประเทศ 2) ในด้านสภาพดนิ ฟ้ าอากาศ 3) ในด้านเศรษฐกิจ

97 4) ในด้านสงั คม 5) ในด้านการปกครองและการเมือง 6) ในด้านศลิ ปวฒั นธรรม

98 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลและอภปิ รายผล วิทยานิพนธ์เร่ือง “วฒั นธรรมการแต่งกายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต” ผลการวิเคราะห์ข้อมลู เรียงตามลําดบั ดงั ตอ่ ไปนี ้ 4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู 4.1.1 การวิเคราะห์ข้อมลู การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์การตงั้ ถ่ินฐานของชาวจีนใน จงั หวดั ภเู ก็ต ทําการวิเคราะห์ข้อมลู จากทฤษฎี เอกสาร ตํารา และงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้องกบั วฒั นธรรม การแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง ในจงั หวดั ภเู ก็ต แล้วนํามาวิเคราะห์ ประกอบกบั ข้อมลู ที่ได้รับจากการสมั ภาษณ์ โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมลู แบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) นําเสนอในรูปแบบตารางประกอบความเรียง ภายใต้กรอบข้อความ ตอ่ ไปนี ้ 1. การตงั้ ถิ่นฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 2. เหตผุ ลท่ีชาวจีนมาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต 3. ชาวจีนสว่ นใหญ่ที่มาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต 4. การเดนิ ทางของชาวจีนเข้าสจู่ งั หวดั ภเู ก็ต 5. บริเวณสว่ นใหญ่ที่ชาวจีนเข้ามาตงั้ ถ่ินฐาน 6. วิถีชีวิต การดํารงชีวิต วฒั นธรรมและประเพณี ของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 7. การสร้างครอบครัวของชาวจีนท่ีเข้ามาตงั้ ถิ่นฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต 8. ชาวจีนท่ีมาตงั้ ถิ่นฐานในจงั หวดั ภูเก็ต ส่งผลต่อด้านวฒั นธรรมและ การแตง่ กาย 9. การตงั้ ถ่ินฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต ทําให้วถิ ีชีวิตของชาวภเู ก็ตมี ความเปลีย่ นแปลง 10. การเปลย่ี นแปลงจากอดตี จนถงึ ปัจจบุ นั 4.1.2 การวิเคราะห์ข้อมูล การศึกษาวัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและ รองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จังหวดั ภูเก็ต ทําการวิเคราะห์ข้อมูลจากทฤษฎี เอกสาร ตํารา ภาพถ่าย และงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับวฒั นธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี

99 อําเภอเมือง ในจงั หวดั ภเู ก็ต แล้วนํามาวิเคราะห์ประกอบกบั ข้อมลู ท่ีได้รับจากการสมั ภาษณ์ และ ข้อมลู ท่ีได้จากการสงั เกตของผ้ศู กึ ษาที่สงั เกตและเฝ้ าดู พฤตกิ รรมการแตง่ กายด้วยชดุ ย่าหยาและ การสวมใส่รองเท้าปักของสตรีที่อาศยั อย่ใู นอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมลู แบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) นําเสนอในรูปแบบตารางประกอบความเรียง ภายใต้กรอบข้อความตอ่ ไปนี ้ 1. การแต่งกายในชีวิตประจําวนั และในโอกาสพิเศษของสตรีเชือ้ สายจีน ในอดีต 2. การแตง่ กายในชีวิตประจําวนั และในโอกาสพิเศษของสตรีเชือ้ สายจีน ในปัจจบุ นั 3. การแตง่ กายในชีวิตประจําวนั และในโอกาสพิเศษของสตรีเชือ้ สายจีน ในอนาคต 4. อิทธิพลที่ทําให้การแตง่ กายของสตรีจงั หวดั ภเู ก็ตเปลี่ยนแปลงไปจาก อดีต 5. ความคิดเห็นด้านวฒั นธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปัก ของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 6. จุดเด่นของวฒั นธรรมการแต่งกายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต 7. ความคดิ เห็นตอ่ การเปล่ียนแปลงด้านวฒั นธรรมการแต่งกายของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 8. แนวทางการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปัก ของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 4.1.3 การวิเคราะห์ข้อมูล การศึกษารูปแบบและลวดลายของชุดย่าหยาและ รองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ทําการวิเคราะห์ข้อมูลจากทฤษฎี เอกสาร ตํารา ภาพถ่าย และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับวฒั นธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต แล้วนํามาวิเคราะห์ประกอบกบั ข้อมลู ท่ีได้รับจากการสมั ภาษณ์ และ ข้อมลู ท่ีได้จากการสงั เกตของผ้ศู กึ ษาที่สงั เกตและเฝ้ าดู พฤตกิ รรมการแตง่ กายด้วยชดุ ย่าหยาและ การสวมใส่รองเท้าปักของสตรีที่อาศยั อย่ใู นอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมลู แบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) ภายใต้กรอบข้อความตอ่ ไปนี ้ 1. ความเป็ นมาของรูปแบบและลวดลายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของ

100 สตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 2. วิวฒั นาการของรูปแบบและลวดลายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของ สตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 3. กรรมวิธีเฉพาะการตกแตง่ ลวดลายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 4.1.4 การวิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมของสภาพบ้านเมืองกับการแต่งกาย มี รายละเอียด ดงั นี ้ 4.1.4.1 วิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในอดีต ที่มีต่อ วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ทําการ วิเคราะห์ข้อมลู จากทฤษฎี เอกสาร ตํารา ภาพถ่าย และงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้องกบั วฒั นธรรมการแต่ง กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง ในจงั หวดั ภเู ก็ต แล้วนํามาวเิ คราะห์ประกอบกบั ข้อมูลท่ีได้รับจากการสมั ภาษณ์ โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) นําเสนอในรูปแบบตารางประกอบความเรียง ภายใต้กรอบข้อความตอ่ ไปนี ้ 1) ในด้านภมู ปิ ระเทศ 2) ในด้านสภาพดนิ ฟ้ าอากาศ 3) ในด้านเศรษฐกิจ 4) ในด้านสงั คม 5) ในด้านการปกครองและการเมือง 6) ในด้านศลิ ปวฒั นธรรม 4.1.4.2 วิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในปัจจุบนั ที่มีต่อ วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ทําการ วิเคราะห์ข้อมลู จากทฤษฎี เอกสาร ตํารา ภาพถ่าย และงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้องกบั วฒั นธรรมการแต่ง กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต แล้วนํามาวิเคราะห์ประกอบกบั ข้อมูลท่ีได้รับจากการสัมภาษณ์ และข้อมูลที่ได้จากการสังเกตของผู้ศึกษาท่ีสังเกตและเฝ้ าดู พฤติกรรมการแตง่ กายด้วยชดุ ย่าหยาและการสวมใสร่ องเท้าปักของสตรีท่ีอาศยั อย่ใู นอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมลู แบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) นําเสนอ ในรูปแบบตารางประกอบความเรียง ภายใต้กรอบข้อความตอ่ ไปนี ้ 1) ในด้านภมู ิประเทศ 2) ในด้านสภาพดนิ ฟ้ าอากาศ

101 3) ในด้านเศรษฐกิจ 4) ในด้านสงั คม 5) ในด้านการปกครองและการเมือง 6) ในด้านศลิ ปวฒั นธรรม 4.2 อภปิ รายผล 4.1 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 4.1.1 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์แบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) เก่ียวกับการศึกษาประวัติศาสตร์การตัง้ ถ่ินฐานของชาวจีนในจังหวัดภูเก็ต ภายใต้กรอบข้อคําถาม จํานวน 10 ข้อ ดงั นี ้ 1. การตงั้ ถิ่นฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 2. เหตผุ ลท่ีชาวจีนมาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต 3. ชาวจีนสว่ นใหญ่ท่ีมาตงั้ ถิ่นฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต 4. การเดนิ ทางของชาวจีนเข้าสจู่ งั หวดั ภเู ก็ต 5. บริเวณสว่ นใหญ่ท่ีชาวจีนเข้ามาตงั้ ถิ่นฐาน 6. วถิ ีชีวิต การดํารงชีวิต วฒั นธรรมและประเพณี ของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 7. การสร้างครอบครัวของชาวจีนที่เข้ามาตงั้ ถิ่นฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต 8. ชาวจีนที่มาตงั้ ถิ่นฐานในจงั หวดั ภูเก็ต ส่งผลต่อด้านวฒั นธรรมและการแต่ง กาย 9. การตงั้ ถ่ินฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภูเก็ต ทําให้วิถีชีวิตของชาวภเู ก็ตมีความ เปลีย่ นแปลง 10 การเปล่ียนแปลงจากอดีตจนถงึ ปัจจบุ นั ผลปรากฏตามตารางที่ 4.1-4.10

102 ตารางท่ี 4.1 วเิ คราะห์ข้อมูลการตงั้ ถ่นิ ฐานของชาวจนี ในจังหวัดภเู ก็ต ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “ชาวจีนส่วนใหญ่ในจังหวัดภูเก็ตเป็ นกลุ่มคน ฮกเกีย้ น มา ก า ร ตั้ง ถ่ิ น จากเมือง เซียะเหมิน มณฑล ฝ่ เู จีย้ น ทางตะวนั ออกเฉียงใต้ ภาพถ่าย และงานวจิ ัย ฐานของชาว ของจีน เข้ ามามากท่ีสุด คือในสมัยรัชกาลท่ี 3–5 ซ่ึงใน ท่เี ก่ียวข้อง จีนในจังหวัด ขณะนนั้ ประเทศจีนเกิดปัญหาทางการเมือง สง่ ผลให้คนจีน ภเู กต็ เกิดความยากจน และต้องการออกนอกประเทศ จึงได้อพยพ สุท ธิ ว ง ศ์ แ ล ะ ค ณ ะ เดินทางโดยเรือสําเภา” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 (2544) กล่าวว่า ชาวจีน สงิ หาคม 2556) อพยพเคลื่อนย้ ายเข้ าตงั ้ หลกั แหลง่ ในภาคใต้มาก “คนจีนยคุ แรกจะมาตามเส้นทางเดินเรือ ได้อพยพมาทางฝั่ง ท่ีสดุ ในช่วงสมยั รัชกาลท่ี เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ และเข้าไปทํางานตามเส้นทางเรือ 3-5 แห่งกรุงรัตน โดยเร่ิมจาก มะละกา มาเลเซีย สิงคโปร์ ปี นัง และภูเก็ต โกสินทร์ แล้วค่อยทยอย เนื่องจากภูเก็ตเป็ นเมืองท่า และเป็ นเกาะที่อยู่ติดกับทะเล เข้ ามาเร่ื อยๆ ชาวจีน อดุ มไปด้วยแร่ดีบกุ จึงทําให้ชาวจีนเข้ามาประกอบอาชีพ กลุ ี กลุ่มนีอ้ พยพเข้ามาเป็ น เหมือง”(ยินดี มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) กุลี ใ น เ ห มื อ ง แ ร่ ดี บุก เน่ืองจากสภาวะการขาด “ชาวจีนมาจากมาเลเซียและสิงค์โปร์” (จู้. พงศ์ประดิษฐ์. แรงงานซึ่งมีทัง้ พวกจีน สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) อ พ ย พ ท่ี โ ด ย ส า ร เ รื อ เ ดิ น ท า ง ม า เ อ ง อ ย่ า ง “ในสมยั รัชกาลท่ี 2-3 เป็ นช่วงที่ยโุ รปและองั กฤษต้องการแร่ อิ ส ร ะ แ ล ะ ท่ี ม า ต า ม ดีบกุ จึงชกั ชวนชาวจีนจากฮกเกีย้ นและเมืองปี นงั มาร่วมกนั ข้ อ เ ส น อ ข อ ง พ ร ะ ทําการค้า จึงมีการแต่งตงั้ ทนายเพื่อไปเจรจาติดต่อชาวจีน ย า รั ษ ฎ า นุ ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ จากเมืองฮกเกีย้ นและเมืองปี นงั มาทําธุรกรรมร่วมกัน โดยมี มหิศรภกั ดี และกรมการ เง่ือนไขอยู่ 5 ข้อ คือ 1) ทางรัฐบาลจะออกค่าไปกลบั ให้ 2) เ มื อ ง ภู เ ก็ ต ที่ เ ส น อ ใ ห้ จะให้เงินไว้กบั ลกู เมียท่ีเมืองจีนแล้วมาทํางานหกั กลบไป 3) รัฐบาลสนบั สนนุ แก่เรือที่ มีค่าแรงรายวันหรือเหมาเป็ นรายเดือน 4) จะมีท่ีอยู่และ รับกุลีเดินตรงจากเมือง อาหารให้ 5) จะต้องยดึ ถือสญั ญานีใ้ ห้ครบ 3 ปี ไม่เช่นนนั้ จะ จี น ม า เ มื อ ง ภู เ ก็ ต โ ด ย ถูกลงโทษตามอาญาไทย เมื่อชาวจีนได้รับความมัน่ ใจเป็ น ได้ รั บตั๋วสินเช่ื อ ซึ่งมี ลายลักษณ์อักษรอย่างนีก้ ็เลยเคลื่อนย้ ายมายังภูเก็ต” บริษัทจดั หาแรงงานและ (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) น า ย เ ห มื อ ง อ อ ก ค่ า โดยสารและค่าใช้จ่ายให้ ก่อนแ ล้ วต้ องทํ างา น ชดใช้คา่ ตว๋ั สนิ เชื่อจน

103 ตารางท่ี 4.1 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “ชาวจีนกลุ่มแรกท่ีเป็ นกลุ่มใหญ่ได้มาอาศัยอยู่ท่ีบ้านเก็ตโฮ่ ภาพถ่าย และ ก า ร ตั้ง ถ่ิ น ในช่วงรอยต่อของรัชกาลท่ี 1–2 ในหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ฐานของชาว ทงั้ หมดกล่าวไว้ว่า เส้นทางเดินเรือท่ีสําคญั ของชาวภูเก็ต คือ งานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง จีนในจังหวัด คลองบางใหญ่ไหลมาจากเก็ตโฮ่ จนไปถึงปากอ่าวสะพานหิน” ภเู ก็ต (สมหมาย ป่ิ นพทุ ธศลิ ป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ครบถ้ วนตามสัญญา จงึ จะเป็ นอิสระ โดยคน “แต่เดิมในสมยั ที่เรียกว่า เกาะภูเก็ต ชาวจีนได้เข้ามาอาศยั ที่ จี นสมัยแรกได้ เข้ ามา เมืองถลาง แต่มีจํานวนไม่มาก เนื่องจากถลางมีคนไทยอาศยั ตัง้ ถ่ินฐานอยู่ที่บ้ าน อย่เู ป็ นจํานวนมาก จึงทําให้ชาวจีนบางส่วน อพยพมาอย่แู ถว เก็ตโฮ่ แล้วมาท่ีอําเภอ โรงเหล้า บ้านเก็ตโฮ่ อําเภอกะทู้ จนกระทง่ั มีชาวจีนเพิ่มขึน้ เป็ น กะทู้ ทุ่งทอง ส่วนคน จํานวนมาก ทัง้ ตําบลจนเกิดการกระจายตัวไปบ้านทุ่งทอง จีนท่ีมายุคหลัง ได้เข้า เพราะบริเวณนนั้ มีการทําเหมืองแร่เป็ นจํานวนมาก” (ไชยยทุ ธ มาอยู่ตามบางเหนียว ป่ิ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) และในเมืองภูเก็ตและ ได้ ก ระ จัด กระ จา ยไ ป ทว่ั ทัง้ เกาะภูเก็ต (อ้าง ถงึ ใน ฤดี, 2553) “ไม่สามารถให้ข้อมูลในประเด็นนีไ้ ด้” (จรูญรัตน์ ตันฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) “ชาวจีนสว่ นใหญ่ที่ได้เข้ามาอยใู่ นจงั หวดั ภเู ก็ตได้อพยพเข้ามา อย่ใู นช่วงปลายรัชกาลท่ี 3 ชาวจีนที่อพยพมามี 3 มณฑลหลกั ได้แก่ มณฑลฮกเกีย้ น กวางตุ้ง ไหหลํา โดยอพยพออกนอก ประเทศมากบั เรือสาํ เภา หรือเรือขนสง่ สนิ ค้า ชาวจีนสว่ นใหญ่ที่ เข้ามาเป็นชาวจีนโพ้นทะเลหรือชาวจีนหวั เฉียวได้เข้ามาทํางาน เป็ นกุลีเหมือง” (สุรเชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 19 กันยายน 2556) จากตารางท่ี 4.1 การตงั้ ถิ่นฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต จากการศกึ ษาสรุปได้ว่า ชาว จีนท่ีเข้ามาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต มีการอพยพมาจากมณฑลทางตอนใต้ของจีน ในชว่ งระหวา่ ง รัชกาลท่ี 3-5 แหง่ กรุงรัตนโกสนิ ทร์ โดยเข้ามาเป็ นแรงงานในเหมืองแร่ดบี กุ ท่ีบ้านเก็ตโฮ่ อําเภอกะ

104 ทู้ เป็ นที่แรก แล้วคอ่ ยเริ่มขยายถ่ินฐานออกไป ตารางท่ี 4.2 วเิ คราะห์ข้อมูลเหตผุ ลท่ชี าวจีนมาตงั้ ถ่นิ ฐานในจงั หวัดภเู ก็ต ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “แรงจงู ใจท่ีเห็นได้ชดั เจนเป็ นอนั ดบั แรก คือ 1) เข้ามาลงทุนทํา เหตุผลท่ี เหมืองแร่ดีบกุ และกลุ ีเหมือง 2) เข้ามาทําธุรกิจการค้า 3) หนีภยั ภาพถ่าย และงานวจิ ัย ช า ว จี น สงครามและความอดอยากในจีน เน่ืองจากจังหวัดภูเก็ตเป็ น ท่เี ก่ียวข้อง มาตัง้ ถิ่น จงั หวดั ที่มีทรัพยากรแร่ดีบกุ เป็ นจํานวนมาก จึงเหมาะแก่การเข้า ฐานใน มาตัง้ ถิ่นฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ชาวจีนท่ีมีความรู้ว่าจังหวัด สุท ธิ ว ง ศ์ แ ล ะ ค ณ ะ จั ง ห วั ด ภเู ก็ตเคยมีชาวตา่ งชาตเิ ข้ามาขดุ แร่ดีบกุ จงึ มีแนวความคิดว่าการ (2544) กล่าวว่า ปัจจัย ภเู ก็ต ทําเหมืองแร่ อาจส่งผลให้เกิดความเจริญรุ่งเรือง ดงั นัน้ การเข้า สําคัญท่ีผลักดันให้ ชาว มาทําเหมืองแร่ดีบกุ จงึ เป็ นแรงจงู ใจที่สําคญั ” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. จี น อ พ ย พ อ อ ก จ า ก สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) ประเทศไปอยู่ต่างแดน คื อ ปั ญ ห า ร า ช ภั ย “ เพราะภูเก็ตเป็ นเมืองท่าที่ติดกบั ทะเล และอดุ มไปด้วยแร่ดีบุก เนื่องจากประเทศจีนมี จึงทําให้ ชาวจีนที่อพยพมาส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเป็ นกุลี การผลัดเปลี่ยนราชวงศ์ เหมือง” (ยนิ ดี มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) ในแต่ละครัง้ มกั เกิดการ แ ย่ ง ชิ ง อํ า น า จ ใ น ร า ช “ชาวจีนได้เข้ามาทําเหมืองแร่ดีบุก เพราะภูเก็ตเป็ นเมืองที่มีแร่ สาํ นกั จงึ ทําให้กลมุ่ ที่เสีย ดีบกุ มาก” (จ้.ู พงศ์ประดษิ ฐ์. สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) อํ า น า จ ต้ อ ง อ พ ย พ หลบหนีราชภยั ไปอยตู่ ่าง “เน่ืองจากทางการไทยได้เป็ นผ้จู ดั หาชาวจีน โดยมีสญั ญา 5 ข้อ แดน อีกทงั้ ชาวต่างชาติ จากทางการไทย จึงทําให้ชาวจีนเกิดความมนั่ ใจจึงได้เข้ามายงั เข้ ามาแทรกแซงด้ าน ภเู ก็ต เพื่อทําเหมืองแร่ดีบกุ ” (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. สมั ภาษณ์, อ ธิ ป ไ ต ย แ ย่ ง ชิ ง 31 สงิ หาคม 2556) ท รั พ ย า ก ร แ ล ะ อํ า น า จ ทางการค้า รวมทัง้ แย่ง “การอพยพโยกย้ายออกจากแผ่นดินใหญ่ของคนจีน เพราะเกิด ชิงดินแดนเพ่ือเป็ นฐาน สงครามกับองั กฤษ จีนแพ้สงครามและได้ทําสญั ญาสงบศึก จีน พลังอํานาจของตน มี จึงเสียค่าปฏิกรรมสงครามโดยเจ้เมืองก็ไปขดู รีดลงมาส่แู รงงาน การเปิ ดท่าเรือเสรี และ ด้านลา่ ง ซง่ึ ประชากรต้องทํางานอยา่ งหนกั เพ่ือหาเงินมาใช้ให้กบั ค้าขายโดยเสรีชาวจีนไม่ ค่าปฏิกรรมสงครามเพ่ือรักษาแผ่นดินไว้ จึงทําให้ชาวจีนอพยพ ยอมเพราะถูกเอารัดเอา เพ่ือหาแหลง่ ทํามาหากินและรักษาชีวติ ตวั เอง จีนฮกเกีย้ นมาทาง เปรียบเกินไป ประกอบ กับบริ ษัทอีสต์อินเดีย ขององั กฤษนําฝ่ิ นจาก

105 ตารางท่ี 4.2 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจาก คาํ ถาม การศกึ ษาเอกสาร/ มะละกา มาปี นงั ทงั้ หมดนีเ้รือที่มาต้องแวะสิงคโปร์ จีนบางส่วนลง เ ห ตุ ผ ล ที่ ปี นัง หรือสิงคโปร์ เหลือมาไม่มากก็ผ่านพ้นมาทางอ่าวภูเก็ตที่ ตาํ รา/ภาพถ่าย ช า ว จี น ม า สะพานหิน จึงลงเรือท่ีนี่เพราะภเู ก็ตเป็ นแหลง่ ท่ีทํามาหากินในเรื่อง และงานวจิ ัยท่ี ตัง้ ถิ่นฐาน ของแร่ดีบกุ แร่ดีบกุ จงึ กลายเป็ นแม่เหล็กในการดงึ ดดู พี่น้องชาวจีน ใน จังหวัด ให้มาท่ีภเู ก็ต เป็นการหนีภยั แหง่ ความยากจน และการแสวงโชคนนั้ เก่ียวข้อง ภเู ก็ต เป็ นอีกประการหน่ึง” (สมหมาย ป่ิ นพุทธศิลป์ . สัมภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ภายนอกเข้ าไปแลก กั บ ใ บ ช า จ น ทํ า ใ ห้ “เนื่องจากอดอยาก และโดนพวกฝร่ังข่มเหง คนจีนไม่ยอมเพราะ นํ า ไ ป สู่ ก า ร เ กิ ด โดนเอารัดเอาเปรียบมากเกินไป จึงทําให้คนจีนท่ีเป็ นชาวไร่ชาวนา ส ง ค ร า ม ฝ่ิ น ใ น ต้องหนี คนจีนตอนใต้แถวมณฑลฟูเจีย้ น คือ ฮกเจีย้ น หนีออกมา ประเทศจีน ทําให้ ก่อน เพราะฟูเจีย้ นอย่รู ิมทะเล” (ไชยยทุ ธ ปิ่ นประดบั . สมั ภาษณ์, ชาวจีนต้ องอพยพ 5 กนั ยายน 2556) ห ล บ ห นี อ อ ก จ า ก ประเทศเป็ นจํานวน มาก (อ้างถึงใน ฤดี, 2553) “ไม่สามารถให้ ข้ อมูลในประเด็นนีไ้ ด้ ” (จรูญรัตน์ ตันฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) “ในประเทศจี นเกิดความแห้ งแล้ งจากภัยธรรมชาติและผลจาก สงคราม ชาวจีนได้หนีออกนอกประเทศ และเหตผุ ลที่ชาวจีนได้เข้า มาในภเู ก็ตเพราะเข้ามาทําเหมืองแร่ดีบกุ ทําประมง ทําการเกษตร การปลูกยางพารา การทําสวนมะพร้ าว ทําโรงนํา้ แข็ง” (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 19 กนั ยายน 2556) จากตารางที่ 4.2 เหตผุ ลที่ชาวจีนมาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต จากการศกึ ษาสรุปได้ว่า เหตผุ ลท่ีชาวจีนมาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ตนนั้ เป็ นเพราะ ประสบกบั ภาวะความแห้งแล้งจากภยั ธรรมชาติ อีกทงั้ การทําสงครามทงั้ ภายในประเทศจากการแย่งชิงอํานาจในราชสํานกั และต้องทํา สงครามกบั ประเทศองั กฤษ ทําให้เกิดความอดอยาก จงึ เป็ นเหตทุ ี่ต้องทําให้มีการอพยพมาหาที่ตงั้

106 ถ่ินฐานที่จงั หวดั ภเู ก็ต เพราะภเู ก็ตเป็ นแหล่งทํามาหากินในเรื่องของแร่ดีบุก แร่ดีบกุ จึงกลายเป็ น แมเ่ หลก็ ในการดงึ ดดู ชาวจีนให้มาลงหลกั ปักฐานท่ีจงั หวดั ภเู ก็ต ตารางท่ี 4.3 วเิ คราะห์ข้อมูลชาวจีนส่วนใหญ่ท่มี าตงั้ ถ่นิ ฐานในจังหวัดภเู ก็ต ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย “ชาวจีนท่ีเข้ ามาท่ีสุดในภูเก็ตคือ ชาวจีนฮกเกีย้ น และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง ช า ว จี น ส่ ว น นอกจากนนั้ เป็น ชาวจีนแต้จิ๋ว ไหหลํา แตม่ ีจํานวนไม่มาก ใหญ่ที่มาตงั้ ถิ่น เทา่ กบั ชาวจีนฮกเอีย้ น” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 ฤดี (2553) กล่าวว่า ชาว ฐานในจังหวัด สงิ หาคม 2556) จีนที่อพยพมาตัง้ ถ่ินฐาน ภเู ก็ต ในจังหวัดภูเก็ตส่วนใหญ่ “ในสมยั นนั้ มีชาวจีนได้เข้ามาหลากหลาย ชาวจีนได้เข้า เป็ นชาวฮกเกีย้ น มาจาก มาเยอะท่ีสดุ คือ ชาวจีนฮกเกีย้ น และมาอาศยั อย่ทู ่ีภเู ก็ต มณ ฑล ฝูเ จี ย้ น ซึ่งเ ป็ น บางคนก็ได้เข้ามาทํางานเป็ นกุลีเหมือง ส่วนบางคนก็ ม ณ ฑ ล ที่ อ ยู่ ท า ง ภ า ค ใ ต้ อาจจะมีเงินทองมาบ้างกไ็ ด้เข้ามาทําธุรกิจในภเู ก็ต”(ยินดี และภาคตะวันออกของ มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) ประเทศจีน นอกจากนีช้ าว จีนส่วนหนึ่งมาจาก ปี นัง “เป็ นชาวจีนฮกเกีย้ นมากที่สดุ และมีแต้จิ๋ว กวางตุ้ง จีน มะละกา มาเลเซีย อินโดนิ แคะ มาเลเซีย ไหหลํา” (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, 28 เซีย ส่วนใหญ่เป็ นคนจีนที่ สงิ หาคม 2556) มีฐานะจึงอพยพเข้ ามาทํา เ ห มื อ ง แ ร่ ดี บุก แ ล ะ ธุ ร กิ จ “ส่วนใหญ่เป็ นกล่มุ ท่ีมาจากมณฑลฮกเกีย้ น และชาวจีน การค้า สามารถแบ่งชาว เมืองปี นัง เพ่ือเข้ามาทําการค้าขายแร่ดีบุกกบั ไทยและมี ฮกเกีย้ นท่ีอพยพเข้ามาใน ชาวจีนกลมุ่ อ่ืนเข้ามาแตไ่ มเ่ ดน่ ” (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. จังหวัดภูเก็ตอย่างกว้ างๆ สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) ได้ 2 พวก คือ พวกท่ีเข้ า มาอย่กู ่อนโดยมาประกอบ “ชาวจีนฮกเกีย้ นจากมณฑลฝ่ ูเจีย้ น อาจจะมีจีนอ่ืนบ้าง อาชีพท่ีตนถนดั เช่น อาชีพ แต่ไม่มากเท่ากับฝ่ ูเจีย้ น” (สมหมาย ปิ่ นพุทธศิลป์ . ประมง ซ่ึงมกั จะตงั้ ถิ่นฐาน สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) อยู่ริมทะเล ส่วนอีกพวก หน่ึง คือชาวจีนที่ต้องการ “คนจีนที่เข้ ามาอยู่ท่ีภูเก็ตมากท่ีสุด คือ จีนฮกเกีย้ น มาตงั้ ถ่ินฐานอยใู่ นแผน่ ดนิ 81.34% รองลงมาคือจีนไหหลํา 8.59% จีนกวางตุ้ง 6.19% และจีนแต้จิ๋ว 3.88%” (ไชยยุทธ ป่ิ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556)

107 ตารางท่ี 4.3 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “ไม่สามารถให้ข้อมูลในประเด็นนีไ้ ด้” (จรูญรัตน์ ตันฑวณิช. ภาพถ่าย และ ชาวจีนสว่ น สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) ใ ห ญ่ ท่ี ม า “80% ของชาวจีนท่ีได้เข้ามาอยู่ในจังหวดั ภูเก็ต คือ ชาวจีน งานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง ตัง้ ถิ่นฐาน ฮกเกีย้ น รองลงมาคือ จีนกวางตุ้ง และจีนไหหลํา” (สุรเชษฐ์ ในจังหวัด เจริญผล. สมั ภาษณ์, 19 กนั ยายน 2556) ภเู กต็ จากตารางท่ี 4.3 ชาวจีนสว่ นใหญ่ที่มาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต จากการศกึ ษาสรุปได้วา่ ชาวจีนที่อพยพเข้ามาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ตส่วนใหญ่เป็ นชาวจีนฮกเกีย้ นท่ีมาจากมณฑลฝู เจีย้ น ซงึ่ เป็ นมณฑลที่อยทู่ างภาคใต้และภาคตะวนั ออกของประเทศจีน ตารางท่ี 4.4 วิเคราะห์ข้อมูลการเดนิ ทางของชาวจีนเข้าสู่จงั หวัดภเู ก็ต ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “ชาวจีนเดินทางเข้ามายงั จังหวดั ภูเก็ต โดยเรือสําเภา เข้ามา ภาพถ่าย และ การเดินทาง ทางทะเลจีนใต้ เข้าส่ชู ่องแคบมะละกา” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. ข อ ง ช า ว จี น สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) งานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง เข้า ส่จู ังหวัด “ได้เข้ามาทางเรือ เพราะภูเก็ตเป็ นเกาะ ส่วนใหญ่ท่ีมาภูเก็ตก็ ภเู ก็ต จะมาทางเรือ”(ยินดี มโนสุณทร. สัมภาษณ์, 24 สิงหาคม สุทธิวงศ์ และ คณะ 2556) (2544) กล่าวว่าชาว “มีการเดินทางด้วยเรือสําเภา เพราะภูเก็ตเป็ นเกาะมีนํา้ ทะเล จีนท่ีได้เข้ามาส่ภู เู ก็ตมี ล้อมรอบ” (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) อยู่ 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม ท่ีมาตัง้ หลักแหล่งที่ ปี นัง มะละกา มาเล เชีย อินโดนิเซีย แล้ว ค่อยย้ ายมาทําเหมือง แ ร่ ดี บุ ก แ ล ะ ธุ ร กิ จ การค้าที่ภูเก็ต ส่วนอีก กลุ่มมาตามข้ อเสนอ ของ พระยารัษฎานุ

108 ตารางท่ี 4.4 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ คาํ ถาม ตาํ รา/ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่ี “ชาวจีนเดินทางมาทางเรือสําเภา เดินทางจาก การเดินทาง ประเทศจีนตรงเข้าส่ภู เู ก็ต เพราะภเู ก็ตเป็ นเมืองทา่ ใน เก่ียวข้อง ข อ ง ช า ว จี น ฝ่ังอนั ดามนั ” (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 เข้า ส่จู ังหวดั สงิ หาคม 2556) ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ม หิ ศ ร ภั ก ดี แ ล ะ ภเู ก็ต กรมการเมืองภเู กต็ “คนจีนได้เดินทางเข้ามาโดยเรือสําเภา โดยตรงมา ทางสิงคโปร์ มาเมืองมะละกา มายงั ปี นัง แล้วมายงั ภูเก็ต” (สมหมาย ปิ่ นพทุ ธศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) “โดยเรือสําเภา มาทางฝั่งตอนใต้ของมาลายแู ล้วอ้อม ภาพ เส้ นทางการเดินเรื อ มาทาง สงิ คโปร์ เข้าปี นงั แล้วมาภเู ก็ต” (ไชยยทุ ธ ปิ่ น สํ า เ ภ า ข อ ง ช า ว จี น ท่ี อ พ ย พ ประดบั .สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) ม า ยั ง จั ง ห วั ด ภู เ ก็ ต “ไมส่ ามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (จรูญรัตน์ ตนั ฑ ท่มี า : ฤดี, (2553) วณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) “ชาวจีนอพยพมาโดยเรือสําเภา โดยมีการเดินทาง 2 เส้นทาง คือ 1) มาจากจีนแล้วผ่านแหลมมลายตู รง มาภูเก็ต 2) มาจากจีนแล้วแวะแหลมมาลายู แล้ว เข้ามาช่องแคบมะละกา แวะเข้าปี นัง แล้วมาภูเก็ต” (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 19 กนั ยายน 2556) จากตารางท่ี 4.4 การเดินทางของชาวจีนเข้าสจู่ งั หวดั ภเู ก็ต จากการศกึ ษาสรุปได้ว่า คน จีนเดินทางอพยพโดยเรือสําเภา ซงึ่ สามารถแบ่งการเดินทางได้เป็ น 2 กล่มุ กล่มุ แรกเดินทางจาก เมืองฮกเกีย้ นเข้ามาตงั้ ถิ่นฐานท่ีภเู ก็ตโดยตรง มาตามข้อเสนอของ พระยารัษฎานปุ ระดิษฐ์มหิศร ภกั ดี และกรมการเมืองภเู ก็ต สว่ นอีกกลมุ่ เข้ามาตงั้ หลกั แหลง่ ในบริเวณมลายแู ละบริเวณสองฟาก ช่องแคบมะละกา ได้แก่ ดินแดนของชวา มลายู รวมถึงสิงคโปร์เกาะปี นัง แล้วต่อมาจึงค่อยๆ เคล่อื นย้ายมาทําเหมืองแร่ดบี กุ และธรุ กิจการค้าท่ีภเู ก็ต

109 ตารางท่ี 4.5 วเิ คราะห์ข้อมูลบริเวณส่วนใหญ่ท่ชี าวจีนเข้ามาตงั้ ถ่นิ ฐาน ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “อยู่บริเวณ ถ่องข่า(ท่งุ คา) คือบริเวณท่ีเป็ นตวั เมืองปัจจุบัน บริ เวณส่วน ถ้าเรียกเป็ นภาษาไทยว่า ทุ่งคา เพราะอ่าวภเู ก็ต สะพานหิน ภาพถ่าย และงานวจิ ัย ใ ห ญ่ ท่ี ช า ว ในอดีต เรียกว่า อ่าวทุ่งคา ภายหลังได้เปล่ียนชื่อเป็ น อ่าว ท่เี ก่ียวข้อง จีนเข้ ามาตัง้ ภเู ก็ต จึงเรียกวา่ อ่าวภเู ก็ต” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 ถิ่นฐาน สงิ หาคม 2556) นวลศรี (2543) กล่าวว่า ศูนย์กลางแห่งชีวิตของ “ได้เข้ามาอยู่ท่ี กะทู้ ในส่วนของอําเภอเมือง จะมาอยู่แถว ช า ว จี น ใ น เ มื อ ง ภู เ ก็ ต ถนนถลาง และมีอย่ทู ี่อําเภอถลางบ้าง เพราะในสมยั ก่อนแร่ โดยเฉพาะในบริ เวณ ดีบุกมีอย่ทู ว่ั ไปในเมืองท่ีเป็ นเส้นทางเศรษฐกิจ บางคนก็เข้า อํ า เ ภ อ ห รื อ ต า ม ตํ า บ ล มาเป็ นเสมียนในเหมือง”(ยินดี มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 ต่างๆ มีชาวจีนอาศยั อยู่ สงิ หาคม 2556) อย่างหนาแน่น เช่นที่ ตําบลกะทู้ ซง่ึ เมื่อรวมกนั “ชาวจีนได้เข้ามาอยทู่ ่ีบ้านบางเหนียว ถนนถลาง กะทู้ มีทกุ ท่ี แ ล้ ว มี ช า ว จี น อ ยู่ ในภเู กต็ ” (จ้.ู พงศ์ประดษิ ฐ์. สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) ประมาณ 32,408 คน (ร.ศ. 122-พ.ศ. 2546) “ชาวจีนส่วนใหญ่ได้เข้ามาอยู่ท่ีบริเวณ บ้านกะทู้ มากที่สุด โดยเฉพาะท่ีตําบลกะทู้ และเป็ นชมุ ชนแรกที่เข้ามา และมีการแต่งงานแล้วย้ายไปอยู่ (ไลทู หรือ ในทู) เมือง ท่ีต่าง ๆ จึงทําให้เกิดการกระจายตัว” (จรินทร์. นีรนาถ ภูเก็ตเก่า อําเภอถลาง วโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556)“ ตํ าบ ลเชิ งทะ เล แ ล ะ อําเภอเมือง (ทงุ่ คา) หรือ “ได้เข้ามาอยู่กะทู้ ที่บ้านเก็ตโฮ่ ชาวจีนท่ีมาจากฮกเกีย้ น ได้ เมืองภูเก็ตในปั จจุบัน เดินทางโดยเรือสําเภา ที่ผ่านสิงคโปร์ มะละกา ปี นัง เข้าสู่ ชาวจีนมีการรวมตัวกัน ภเู ก็ต” (สมหมาย ป่ิ นพทุ ธศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน อย่างหนาแน่นเพื่อทํา 2556) ธุ ร กิ จ ทํ า เ ห มื อ ง แ ร่ ดี บุก การค้ าปลีก การค้ าส่ง “สมยั แรกท่ีคนจีนได้เข้ามาอยทู่ ี่บ้านเกต็ โฮ่ แล้วมาท่ีอําเภอกะ ร้ านค้าตลอดจนโรงงาน ทู้ ทงุ่ ทอง สว่ นคนจีนที่มายคุ หลงั ได้เข้ามาอยตู่ ามบางเหนียว ซึ่งมีมากกว่าตามอําเภอ และในเมืองภเู ก็ตและได้กระจดั กระจายไปทวั่ ทงั้ เกาะภูเก็ต” และส่ตู ําบลต่างๆ ที่เต็ม (ไชยยทุ ธ ปิ่ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) ไปด้ วยชาวจีน เท่ากับ เป็ นศูนย์กลางในด้ าน เศรษฐกิจ ซ่ึงตามความ เป็นจริง ก็คือในเมือง

110 ตารางท่ี 4.5 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย และ คาํ ถาม งานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง “ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ใ ห้ ข้ อ มูล ใ น บริ เวณส่วน ประเด็นนีไ้ ด้” (จรูญรัตน์ ตนั ฑ ภูเก็ตนน่ั เอง ท่ีเป็ นจุดศูนย์กลางของชุมชนที่หนาแน่น ใ ห ญ่ ที่ ช า ว วณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน ของสังคมชาวจีน ซ่ึงสอดคล้ องกับการศึกษาของ จีนเข้ ามาตัง้ 2556) สาวติ ร (2551)ที่กลา่ ววา่ ภายในพืน้ ท่ีตวั เมืองภเู ก็ตหรือ ถ่ินฐาน ตลาดทุ่งคา มีคลองบางใหญ่ไหลผ่านใจกลางเมือง “ชาวจีนท่ีได้ เข้ ามาอยู่ที่ภูเก็ต คลองนีม้ ีต้นกําเนิด จากเทือกเขานาค ซ่ึงเกิดอยู่ใน ได้เข้ามาอย่ทู ่ีบริเวณอําเภอกะ อําเภอกะท้ไู หลผา่ นที่ราบหมบู่ ้านท่งุ ทอง หม่บู ้านเก็ตโฮ่ ทู้มากที่สุด เพราะบริ เวณ หมู่บ้านสามกอง หมู่บ้านสะปํ า ไหลออกทะเลที่อ่าว อําเภอกระท้มู ีการทําเหมืองแร่ ภูเก็ตทางทิศตะวันออก เรือสามหลังหรือเรือกําปั่น ดีบุกเป็ นจํานวนมาก และมี สามารถแล่นเข้าไปรับส่งสินค้าได้ตัง้ แต่ปากอ่าวเมือง การกระจายตัวของชาวจีนไป ภูเก็ต ตลอดไปจนถึงหม่บู ้านเก็ตโฮ่ ซ่ึงเป็ นท่ีตัง้ ชุมชน ถึงชุมชนเมืองเก่า เมืองภูเก็ต ชาวจีน (เจ๊ก) ซงึ่ เดิมเป็ นที่ตงั้ และที่ทําการของเจ้าเมือง สว่ นใหญ่ชาวจีนที่ได้เข้ามาอยู่ ภูเก็ต ก่อนย้ายไปอยู่ท่ีตลาดทุ่งคา ชาวจีนอพยพที่ ในยา่ นเมืองเก่า เมืองภเู ก็ต จะ เดินทางออกจากประเทศจีนหรือปี นัง เมื่อมาถึงด่าน ประกอบอาชีพค้าขาย และทํา ปากนํา้ อ่าวเมืองภูเก็ต ก็เดินทางไปกระทู้ โดยใช้ เหมืองแร่ดีบุก” (สุรเชษฐ์ เส้นทางคลองบางใหญ่ ฉะนัน้ หมู่บ้านเก็ตโฮ่ หมู่บ้าน เจริญผล. สมั ภาษณ์, 19 กระทู้ หม่บู ้านทุ่งทอง หม่บู ้านสามกอง หมู่บ้านสะปํ า กนั ยายน 2556) และหมู่บ้ านทุ่งคา จึงมีชาวจีนอพยพอาศัยอยู่เป็ น จํานวนมาก แต่มีชาวจีนบางส่วนอพยพออกจาก ประเทศจีน โดยผ่านทางพม่า แล้วลงเรือใบบรรทุก สนิ ค้าจากพมา่ ตรงมายงั เมืองภเู ก็ต ขึน้ จากเรือท่ีป่ าตอง แล้วเดินเท้าเข้ามาตงั้ หลกั แหลง่ ท่ีตําบลกะทู้ จากตารางท่ี 4.5 บริเวณส่วนใหญ่ท่ีชาวจีนเข้ามาตงั้ ถ่ินฐาน จากการศึกษาสรุปได้ว่า บริเวณสว่ นใหญ่ที่ชาวจีนเข้ามาตงั้ ถิ่นฐานสว่ นใหญ่ในระยะแรกได้เข้ามาอยใู่ นบริเวณ หมบู่ ้านเก็ต โฮ่ หม่บู ้านกะทู้ หม่บู ้านท่งุ ทอง หม่บู ้านสามกอง หม่บู ้านสะปํ า และหม่บู ้านทุ่งคา อําเภอกระทู้ เพราะที่กระท้มู ีการทําเหมืองแร่ดีบกุ เป็ นจํานวนมาก และมีการกระจายตวั ของชาวจีนไปถึงชมุ ชน เมืองเก่า เมืองภเู ก็ต ส่วนใหญ่ชาวจีนท่ีได้เข้ามาอย่ใู นย่านเมืองเก่า เมืองภเู ก็ต จะประกอบอาชีพ ค้าขาย และทําเหมืองแร่ดีบุก ส่วนคนจีนที่มายุคหลงั ได้เข้ามาอยู่ตามหม่บู ้านบางเหนียว ถนน ถลาง อําเภอถลางและในเมืองภเู ก็ตและได้กระจดั กระจายไปทวั่ ทงั้ เกาะภเู ก็ต

111 ตารางท่ี 4.6 วเิ คราะห์ข้อมูลวถิ ชี ีวิต การดาํ รงชีวติ วัฒนธรรม และประเพณี ของชาวจีน ในจงั หวัดภเู ก็ต ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “ชาวจีนที่เข้ามาอย่จู งั หวดั ภเู ก็ตสว่ นใหญ่เป็ นชาวจีนที่มน่ั คง วิถีชีวิต การ ต่อวฒั นธรรมเดิม ส่วนใหญ่จะแต่งงานกบั ผู้หญิงท้องถ่ินใน ภาพถ่าย และงานวจิ ัย ดํ า ร ง ชี วิ ต จังหวัดภูเก็ต ทําให้คนไทยในภูเก็ตเป็ นพวก บาบ๋า คือ พ่อ ท่เี ก่ียวข้อง วัฒ น ธ ร ร ม เป็ นจีน แม่เป็ นไทย เพราะฉะนนั้ การประกอบอาชีพของชาว และประเพณี จีนสว่ นหนง่ึ จงึ ประกอบอาชีพ ประมง ตีเหลก็ ปลกู ผกั ลากรถ ไชยยุทธ (2544) กล่าว ข อ ง ช า ว จี น หาบนํา้ ทําโรงนํา้ แข็ง และเป็ นกลุ ีแบกหาม สําหรับอาชีพกุลี ว่า ชาวจีนฮกเกีย้ นได้ ใ น จั ง ห วั ด แบกหามจะมีอยู่ 2 แบบ คือ แบบท่ี 1 ขนส่งสินค้าจากเรือ อพยพเข้ามาทํามาหากิน ภเู ก็ต เรียกว่า พวกหล่อฮาว ทําหน้าที่แบกถ่ายสนิ ค้าจากเรือใหญ่สู่ ใ น เ มื อ ง ภู เ ก็ ต เ ป็ น เรือเล็ก หรือแบกสินค้าส่ลู กู ค้า แบบที่ 2 มาทําหน้าท่ีเป็ นกุลี เวลานานหลายทศวรรษ ทํางานในเหมืองแร่หาบ เช่น แบกดิน แบกทราย นนั่ คืออาชีพ หลักของชาวจีน ส่วนใหญ่พ่อที่เป็ นชาวจีนจะปลูกฝั ง มีจํานวนมากจนกลา่ วได้ วฒั นธรรมจีนให้กับลูกและครอบครัว เพราะฉะนัน้ กล่มุ คน ว่า ในภูเก็ตมีชาวจีนมา บาบ๋า จะมี 2 วัฒนธรรมในบ้ านหลังเดียวกัน คือ 1) วัฒ น ธ ร ร ม จี น แ บ บ พ่อ 2 ) วัฒ น ธ ร ร ม ไ ท ย แ บ บ แ ม่ อ า ศั ย ม า ก ก ว่ า ช า ว เพราะฉะนัน้ ในตัวของเด็กบาบ๋านัน้ สามารถไปวดั และไป พืน้ เมือง ชาวฮกเกีย้ นที่ ศาลเจ้าก็ได้ สําหรับบางบ้านจะเห็นได้ว่าจะมีทงั้ พระพทุ ธรูป และรูปเซียนต่าง ๆ นี่คือวฒั นธรรมที่ผสมผสานได้เป็ นอย่างดี อพยพเข้ ามาตอนแรกๆ เพราะวฒั นธรรมของคนภูเก็ตมีทงั้ ไทยและจีนผสมกนั การที่ ส่วนใหญ่นัน้ เป็ นชาว วฒั นธรรมจีนมีความโด่งดงั กว่าวฒั นธรรมไทย เพราะว่าชาว ฉ ก ร ร จ์ ท่ี ม า มุ่ง ส ร้ า ง จีนเป็ นผ้ทู ่ีเคร่งครัดต่อวฒั นธรรมและมีการสนบั สนนุ จากชาว ฐานะแล้วก็กลบั ประเทศ จีนที่มีเงินก็จะให้เงินมาทํากิจกรรมต่าง ๆ ของ ศาลเจ้า” (ฤดี จีน แต่เม่ือมาอยู่แล้ ว ภมู ภิ ถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) ประสบปัญหาไม่เป็ นไป ต า ม ท่ี คิ ด แ ล ะ “การดํารงชีวิต ชาวจีนได้ถูกสอนมาให้มีความกตัญ�ูและ จํ า เ ป็ น ต้ อ ง ส ร้ า ง ความอดทน ชาวจีนจึงได้เข้ามาพยายามสร้ างฐานะ สร้ าง ครอบครัวที่เมืองภูเก็ต เศรษฐกิจให้กบั ตวั เอง บางคนก็ประสบความสําเร็จจนได้เป็ น โดยการสมรสกับผู้หญิง นายเหมือง”(ยินดี มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สิงหาคม ชาวไทยพืน้ เมือง ได้สืบ 2556) ลู ก ห ล า น เ รี ย ก ว่ า “บาบ๋า”และได้ นําเอา วั ฒ น ธ ร ร ม ท่ี ติ ด ตั ว ม า เผยแพร่ ให้ กับลูกเมีย ข อ ง ต น พ ร้ อ ม ทั้ ง ลกู หลานได้ยึดถือปฏิบตั ิ ตาม วิถีชีวิตของชาวจีน)

112 ตารางท่ี 4.6 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย “ชาวจีนได้เข้ามาตวั เปล่า เส่ือผืนหมอนใบ ได้เข้ามาเป็ นกลุ ี วิถีชีวิต การ เหมือง ปลกู ผกั หาบนํา้ ทําโรงนํา้ แข็ง ลากรถ ประมงเรือเลก็ และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง ดํ า ร ง ชี วิ ต เก็บเล็กเก็บน้อยจนกระท่ังรวย พอแร่ดีบุกใกล้จะหมดก็ วัฒ น ธ ร ร ม เปล่ียนมา ปลกู ยางพารา ทําการค้า วฒั นธรรมของชาวจีน จะเน้ นการทําเหมืองแร่ และประเพณี เป็ นวฒั นธรรมที่รักความสวยงาม เห็นอะไรมาจากท่ีไหนก็ ข อ ง ช า ว จี น จะนํามาพลิกแพลง เช่นการแต่งกาย” (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. ดีบุกเป็ นอาชีพหลักซึ่ง ใ น จั ง ห วั ด สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) ภเู กต็ สอดคล้องกบั ฤดี (2553ที่ “คนจีนที่ได้เข้ามาในจงั หวดั ภเู กต็ นนั้ ได้เข้ามาเป็ นกลุ ีเหมือง กลา่ ววา่ ชาวจีนที่ได้อพยพ เมื่อรํ่ารวยแล้วบ้างก็ไม่คิดจะกลับไปประเทศจีน จึงมา แตง่ งานกบั คนพืน้ ถ่ิน ในการแต่งงานกบั คนพืน้ ถ่ินลกู หลาน เข้ ามาที่ภูเก็ต ส่วนใหญ่ ที่ออกมา จะเรียกว่า บาบ๋า เด็กส่วนใหญ่จะเกิดในแผ่นดิน แม่ ถ้าเป็ นลูกชายจะเรียกว่า บาบ๋า ถ้าเป็ นลูกสาวจะถูก เป็ นโสดหรือเป็ นเด็กชายท่ี เรียกวา่ ยา่ หยา หรือ ยอนหยา ฉะนนั้ เสียงที่ขึน้ จมกู ของคน ใต้ไมถ่ นดั นกั ก็เลยเรียกเหมารวมว่า ลกู ที่มีพอ่ เป็ นคนจีนว่า ไมโ่ ตเตม็ วยั เดินทางมากบั บาบ๋า” (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สิงหาคม พ่ีชายหรือญาติพ่ีน้อง จึง 2556) มาสร้ างครอบครัวใหม่กับ “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (สมหมาย ปิ่ นพทุ ธ ผู้หญิงท้องถิ่น ทําให้เกิด ศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) คําวา่ ลกู ผสม ซง่ึ ชาวภเู ก็ต “วิถีชีวิตของคนจีนจะเน้นการทําเหมืองแร่ดีบุกเป็ นอาชีพ หลกั ทําการเกษตร ปลกู ยางพารา หรือสวนมะพร้าว ส่วน เรี ยกกันท่ัวไปว่า พวก คนจีนที่เข้ามาจะเป็ นหน่มุ โสด แล้วมาแต่งงานกับคนไทย และนําเอาวฒั นธรรมที่ติดตวั ผ้ชู ายมาแล้วมาเผยแพร่ให้ลกู บาบ๋า ส่วนใหญ่พ่อที่เป็ น เมียท่ีภูเก็ตพร้ อมทัง้ ลูกหลานของตน” (ไชยยุทธ ป่ิ น ประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) ช า ว จี น จ ะ ป ลู ก ฝั ง วฒั นธรรมจีนให้กบั ลกู และ ครอบครัว เพราะฉะนัน้ ก ลุ่ม ค น บ า บ๋ า จ ะ มี 2 วัฒนธรรมในบ้ านหลัง เดียวกนั คือ 1) วฒั นธรรม จีนแบบพ่อ 2) วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ท ย แ บ บ แ ม่ เพราะฉะนนั้ ในตวั ของเด็ก บาบ๋านัน้ สามารถไปวัด และไปศาลเจ้าก็ได้ (อ้าง ถงึ ใน ฤดี, 2553) “ไมส่ ามารถให้ข้อมลู ในประเดน็ นีไ้ ด้” (จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556)

113 ตารางท่ี 4.6 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจาก คาํ ถาม การศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ ภาพถ่าย และ งานวจิ ัยท่ี เก่ียวข้อง วิ ถี ชี วิ ต ก า ร “ชาวจีนโพ้นทะเล หรือชาวจีนฮกเกีย้ นอพยพเข้าส่จู ังหวดั ภเู ก็ต ดํ า ร ง ชี วิ ต แล้วมาแต่งงานสร้ างครอบครัวกนั คนพืน้ เมือง หรือคนภูเก็ต จึง วั ฒ น ธ ร ร ม ทําให้ได้รับวฒั นธรรมของชาวจีนเข้ามา จึงทําให้ลกู ที่เกิดมาได้รับ แ ล ะ ป ร ะ เ พ ณี วฒั นธรรมทงั้ 2 วฒั นธรรม โดยมีชื่อเรียกลกู ที่เกิดมาว่า บาบา๋ ถ้า ของชาวจีนใน เป็ นผู้หญิงจะเรียกว่า ย่าหยา หรือ ยอนหย้า ถ้าเป็ นผู้ชายจะ จงั หวดั ภเู กต็ เรียกวา่ บาบา๋ แตใ่ นภเู ก็ตจะเรียกว่า บาบา๋ ทงั้ ผ้หู ญิงและผ้ชู าย” (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 19 กนั ยายน 2556) จากตารางท่ี 4.6 วิถีชีวิต การดํารงชีวิต วฒั นธรรม และประเพณี ของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต จากการศกึ ษาสรุปได้ว่า สําหรับจงั หวดั ภเู ก็ตนนั้ จะมีวฒั นธรรมผสมผสานแบบไทยกบั จีน ฮกเกีย้ น เพราะสมยั ก่อนมีการทําเหมืองแร่ดีบกุ ทําให้มีคนจีนเข้ามาทํางานและค้าขายเป็ นจํานวน มากจนได้มาแต่งงานกบั คนภเู ก็ต จึงทําให้ลกู ที่เกิดมาได้รับวฒั นธรรมทงั้ 2 วฒั นธรรม โดยมีช่ือ เรียกลกู ที่เกิดมาว่า บาบ๋า ทงั้ ผ้หู ญิงและผ้ชู าย และได้นําวฒั นธรรมจากจีน ฮกเกีย้ นเข้ามา ไม่ว่า จะเป็ นเร่ืองอาหาร ประเพณี วฒั นธรรม

114 ตารางท่ี 4.7 วเิ คราะห์ข้อมูลการสร้างครอบครัวของชาวจีนท่ีเข้ามาตงั้ ถ่ินฐานในจังหวัด ภเู ก็ต ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “ชาวจีนที่เข้ามาอยู่ในยุคแรกได้มารวมตวั กันในลกั ษณะกงสี ภาพถ่าย และ ก า ร ส ร้ า ง รุ่นท่ี 1 เข้ามาหาลู่ทางและที่อยู่อาศัย จากนัน้ รุ่นที่ 2 ได้ย้าย ค ร อ บ ค รั ว ตามรุ่นท่ี 1 เข้ามาโดยมีการอพยพหลายระลอก และมีการส่ง งานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง ของชาวจีนที่ ข่าวว่าอย่ทู ี่ไหนทําให้มีชาวจีนย้ายเข้ามาอีก และจะย้ายมาอยู่ เข้ามาตัง้ ถ่ิน กบั คนท่ีมาอย่เู ดิมดงั นนั้ ท่ีกงสีจะมีคนจีนอย่กู นั อย่างหนาแน่น ช า ว จี น ฮ ก เ กี ย้ น ไ ด้ ฐานใน มาก สมยั หลงั กงสีได้กลายเป็ นท่ีพบปะของกลมุ่ คนจีนที่เป็ นแซ่ อพยพออกจากมณฑล จงั หวดั ภเู ก็ต เดียวกนั คล้ายเป็นสมาคม หลงั จากยคุ ขายแรงงานหมดไปกงสี เหลา่ นีก้ ็กลายเป็ นศาลเจ้าไป” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 ฟูเจีย้ น และเข้ามาตัง้ สงิ หาคม 2556) ห ลั ก แ ห ล่ ง บ ริ เ ว ณ จั ง ห วั ด ภู เ ก็ ต นั้น “คนจีนบางคนจะมีภรรยาหลายคน จึงทําให้มีลกู หลายคน จึง เ น่ื อ ง จ า ก ค น จี น เ ดิ น ทําให้กลายเป็ นครอบครัวใหญ่และอย่บู ้านเดียวกนั บางคนจะ ทางเข้ ามาในลักษณะ เรียกว่า กงสี (กงสี หมายถึง ครอบครัว) จะเป็ นครอบครัวใหญ่ ค น โ ส ด ห รื อ เ ป็ น ไม่ได้เป็ นครอบครัวเดี่ยวเหมือนปัจจุบัน”(ยินดี มโนสุณทร. เด็กชายท่ียังไม่โตเต็ม สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) วยั และ เดินทางมากับ “การสร้างครอบครัวได้มาแต่งงานกบั คนท้องถ่ิน คือ พอ่ เป็ นคน พ่ีชาย หรือญาติพ่ีน้อง จีนและแม่เป็ นคนไทย ลกู จึงเป็ นลกู คร่ึง” (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) เมื่อมาเติบโตเป็ นหนุ่ม ในดินแดนแถบนีจ้ ึงมา “คนจีนบางส่วนท่ีร่ํารวยแล้วจะมาแต่งงานกบั คนพืน้ ถิ่น ก็เลย ทําให้ มีลูกหลานสืบมากขึน้ จึงทําให้ มีคนบอกว่า บาบ๋า สร้ างครอบครัว ใหม่ เปรียบเสมือนความรักความเอือ้ อาทรท่ีพบกนั คร่ึงทาง แม่ที่เป็ น กับคนท้ องถ่ินหรื อคน คนพืน้ ถ่ินพยายามออกแบบอาหารที่มีรสชาติจดั จ้านให้เบาลง พืน้ เมืองทําให้เกิดคํา เพื่อพ่อท่ีเป็ นคนจีนจะทานได้ และพ่อก็พยายามสอดแทรก ว่า ลูกผสม ซ่ึงชาว วฒั นธรรม ภาษาของจีนเพื่อให้ลกู ได้ซึมซบั ” (จรินทร์. นีรนาถ ภูเก็ตมีคําที่ใช้ เรี ยกกนั วโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) ท่ัวไปว่าพวก บาบ๋า (อ้างถึงใน ฤดี , 2553) ซ่ึ ง ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ สาวิตร (2551) ที่กล่าว ว่า ชาวจีนท่ีได้อพยพ เข้ามาอยใู่ นเมืองภเู ก็ต จํ า น ว น ม า ก ไ ด้ แต่งงานกบั ผ้หู ญิงสาว ไทย เมื่อมีลกู เชือ้ สาย

115 ตารางท่ี 4.7 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจาก คาํ ถาม การศกึ ษาเอกสาร/ “ผ้ชู ายจีนที่อพยพเข้ามาและมาแต่งงานกบั ผ้หู ญิงชนพืน้ เมือง ก า ร ส ร้ า ง ลกู ที่เกิดมาจึงเป็ นลกู ครึ่ง จีนภเู ก็ต เรียกว่า บาบ๋า ทงั้ หมด จึง ตาํ รา/ภาพถ่าย ครอบครัวของ ทําให้วัฒนธรรมไทยและจีนประสมกัน” (สมหมาย ปิ่ นพุทธ และงานวจิ ัยท่ี ชาวจีนที่เข้ามา ศลิ ป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ตัง้ ถ่ินฐานใน เก่ียวข้อง จงั หวดั ภเู ก็ต “ คนจีนท่ีเข้ามาจะเพียงลําพงั แล้วมาแต่งงานกบั คนไทยเมื่อทํา มาหากิน สร้างฐานะดีขึน้ จึงสร้างบ้านเรือน บางคนไม่มีท่ีดิน ช า ว จี น ป น ไ ท ย เป็ นของตนเองก็อาศัยที่ดินของพ่อตาแม่ยายฝ่ ายผู้หญิงใน ชาวบ้ านจะเรี ยกกัน ท้องถ่ิน ” (ไชยยทุ ธ ป่ิ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) ว่า บาบ๋า สาเหตมุ า จ า ก ผ้ ู ห ญิ ง ช า ว จี น “ไม่สามารถให้ข้อมูลในประเด็นนีไ้ ด้” (จรูญรัตน์ ตันฑวณิช. ไม่ได้ เดินทางเข้ ามา สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) ด้วย จึงทําให้ผู้ชาย ชาวจีนต้ องแต่งงาน “ชาวจีนโพ้นทะเล หรือชาวจีนฮกเกีย้ นอพยพเข้าสจู่ งั หวดั ภเู ก็ต กั บ ผ้ ู ห ญิ ง ช า ว ไ ท ย แล้วมาแต่งงานสร้างครอบครัวกนั คนพืน้ เมือง หรือคนภเู ก็ต จึง เพราะค่าใช้ จ่ายใน ทําให้ได้รับวฒั นธรรมของชาวจีนเข้ามา จึงทําให้ลกู ที่เกิดมา ก า ร แ ต่ ง ง า น กั บ ได้รับวฒั นธรรมทงั้ 2 วฒั นธรรม โดยมีช่ือเรียกลกู ท่ีเกิดมาว่า ผ้ ู ห ญิ ง ช า ว ไ ท ย ถู ก บาบ๋า ถ้าเป็ นผ้หู ญิงจะเรียกว่า ย่าหยา หรือ ยอนหย้า ถ้าเป็ น ก ว่ า ที่ จ ะ เ ดิ น ท า ง ผ้ชู ายจะเรียกว่า บาบ๋า แต่ในภเู ก็ตจะเรียกว่า บาบ๋า ทงั้ ผ้หู ญิง ก ลั บ ไ ป แ ต่ ง ง า น ที่ และผ้ชู าย” (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 19 กนั ยายน เมืองจีน 2556) จากตารางท่ี 4.7 การสร้างครอบครัวของชาวจีนที่เข้ามาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต จาก การศกึ ษาสรุปได้วา่ ชาวจีนฮกเกีย้ นท่ีอพยพเข้ามาในจงั หวดั ภเู ก็ตจะเป็ นวยั รุ่นชาย ซง่ึ ตงั้ ใจอพยพ เข้ามาตงั้ หลกั แหล่งในจงั หวดั ภูเก็ต เมื่อเติบโตเป็ นหนุ่ม ก็สร้ างครอบครัวท่ีเมืองภูเก็ต โดยการ สมรสกบั ผ้หู ญิงชาวไทยพืน้ เมือง ทําให้เกิดลกู ครึ่ง มีการใช้คําวา่ “บาบา๋ ” เป็ นคําเรียกแทนลกู คร่ึง จีนภเู ก็ต ทงั้ เพศชายและหญิง

116 ตารางท่ี 4.8 วเิ คราะห์ข้อมูลชาวจนี ท่มี าตงั้ ถ่นิ ฐานในจังหวัดภเู กต็ ส่งผลต่อด้าน วัฒนธรรมและการแต่งกาย ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “มีผลเป็ นอย่างมาก เพราะวฒั นธรรมของคนภเู ก็ตคนภายนอก ภาพถ่าย และ ช า ว จี น ที่ ม า มองว่าเป็ นวฒั นธรรมของคนจีน และแตกต่างจากวฒั นธรรม ตงั้ ถ่ินฐานใน ของภาคใต้อ่ืน ๆ อย่างสิน้ เชิง จังหวัดภูเก็ตจึงมีวัฒนธรรมท่ี งานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง จังหวัดภูเก็ต แตกต่างจากจังหวัดอ่ืน ๆ เช่น วัฒนธรรมทางด้านภาษาคือ สง่ ผลต่อด้าน ภาษาภูเก็ตจะเป็ นภาษาที่มีการผสมผสานจากภาษาจีน ไชยยทุ ธ (2544) กล่าว วัฒ น ธ ร ร ม องั กฤษ มลายู ไทย ซงึ่ ได้กลา่ วมาทงั้ 4 ภาษา ภาษาท่ีมีบทบาท ว่า สําหรับบทบาทของ และการแต่ง มากท่ีสุดคือ ภาษาจีน จังหวัดภูเก็ตจึงมีภาษาไทยและ กาย ภาษาจีนผสมกันจึงเป็ นภาษาท่ีพูดกับใครไม่รู้เรื่อง ส่วน ชาวจีนท่ีมาตัง้ ถ่ินฐาน วฒั นธรรมการแตง่ กาย เน่ืองจากมีพ่อเป็ นชาวจีน จึงมีการแต่ง ในจังหวัดภูเก็ตส่วน กายคล้ายเด็กจีน เช่น การใส่เสือ้ เซียงไฮ้ต่อ (เป็ นลกั ษณะเสือ้ ใหญ่จะส่งผล ต่อด้าน คอตัง้ กระดมุ ผ้า) ผู้หญิงจะใส่ตัง้ แต่วัยรุ่นถึงวัยกลางคน ส่วน ทรงผม คนภูเก็ตนิยมเกล้ามวยเหมือนชาวจีน และมีไม้เหน็บ วฒั นธรรมการแตง่ กาย มวยหรือที่เรียกว่า ปิ่ นปักผม ส่วนที่ภูเก็ตได้รับวฒั นธรรมจาก ของคนภเู ก็ต เพราะคน ปี นัง ชาวจีนจากปี นังจะแต่งตัวแบบ ย่าหยา ที่เราเห็น ภูเก็ตส่วนใหญ่จะเป็ น วิวฒั นาการชุดย่าหยา เช่น เสือ้ ครุยสนั้ เสือ้ คอตงั้ แขนจีบ เสือ้ พวกบาบ๋า ซ่ึงมีพ่อ ย่าหยาแบบต่าง ๆ นี่คือวฒั นธรรมท่ีเรารับเขามา จึงทําให้เรา ที่มาจากเมืองจีน แล้ว แต่งตวั แบบหลากหลาย ปัจจุบนั นีไ้ ด้เริ่มเสื่อมลงมากเพราะได้ ม า แ ต่ ง ง า น กั บ แ ม่ ที่ กลายเป็ นคนไทยมากแล้ว” (ฤดี ภมู ิภูถาวร. สมั ภาษณ์, 23 เป็ นคนพืน้ เมือง จึงทํา สงิ หาคม 2556) ให้ ได้ รับอิทธิพลการ แต่งกายมาจากทางฝ่ัง “มีการย้ายถิ่นรอนแรมมาจากแถบมาลายู มะละกา มาเลเซีย มาลายู สิงคโปร์ ปี นัง ปี นงั และมายงั ภเู ก็ต พวกเหลา่ นีจ้ ะผ่านวฒั นธรรมในแต่ละถ่ิน และมะละกาเข้ ามา มาเร่ือย ๆ เพราะฉะนนั้ จึงได้ไปพบเห็นวฒั นธรรม จึงเกิดการ เนื่องจากชาวจีนท่ีเข้ า ผสมผสานวฒั นธรรมจากฝ่ ายปี นัง ฉะนนั้ การแต่งกายเราจะ มาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั เห็นได้ว่าบางคนแต่งกายคล้ายคนจีน เสือ้ คอตงั้ แขนยาวมีเสือ้ ภู เ ก็ ต มี อ ยู่ 2 ก ลุ่ ม ครุยนีเ้ป็ นลกั ษณะคล้ายคนจีน ถ้าเป็ นเสือ้ ท่ีมีลกั ษณะ เป็ นชาย ด้ วยกันจึงทําให้ การ แหลม คนภูเก็ตเรียกว่า เสือ้ ย่าหยา”(ยินดี มโนสุณทร. แต่งกายของชาวจีนทงั ้ สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) 2 ก ลุ่ ม นี ้มี ค ว า ม แตกตา่ ง โดยกลมุ่ ที่เข้า มาจะมาตัง้ ถิ่นฐานท่ี มลายู ปี นัง มะละกา ก่อน แล้วจึงอพยพมา ภเู กต็ ในภายหลงั จงึ ทํา

117 ตารางท่ี 4.8 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย “ไมส่ ามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง ช า ว จี น ท่ี ม า สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) ตงั้ ถ่ินฐานใน ชาวจีนเหล่านีไ้ ด้ไปเห็นส่ิง จังหวัดภูเก็ต “มีผลกระทบเยอะ เพราะชาวจีนท่ีเข้ามาค้าขายและมา ต่างๆ จากเมืองที่เขาได้ไป สง่ ผลต่อด้าน เป็ นกุลีเหมือง คนที่ค้าขายจะเริ่มเก็บหอมรอมริบ จนทํา อ ยู่ ม า จึ ง ทํ า ใ ห้ ไ ด้ รั บ วัฒ น ธ ร ร ม ให้ตัวเองเป็ นเจ้าของธุรกิจและเร่ิมขยับขยาย ส่วนคนที่ วฒั นธรรมตา่ งๆมายงั จงั หวดั และการแต่ง เป็ นกรรมกรก็เริ่มทํางานเก็บเงินเพื่อท่ีจะปลูกบ้านและ กาย เริ่มทําการค้าเล็กๆ พอมีฐานะ จึงเร่ิมทําเหมืองกันเอง ภเู ก็ต บวกกบั จงั หวดั ภเู ก็ตมี และได้แต่งงานกบั คนพืน้ ถ่ิน จงึ นําเอาวฒั นธรรมด้านการ การค้ าขายกับปี นังเพราะ แต่งกายที่ตัวเองมีเข้ามาผสมผสานกับคนในพืน้ ถิ่น” การเดินทางจากกเู กต็ ไปปี นงั (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) ส ะ ด ว ก ก ว่ า ที่ จ ะ ขึ ้น ล ง กรุงเทพฯ จึงทําให้เกิดการ “เมื่อเขาชอบอะไรเขาก็จะเอาสง่ิ นนั้ มาใสใ่ นตวั เขา คนจีน ผสมผสานของวฒั นธรรม จึง เขาเคารพ ผ้สู งู อายุ ถ้าผ้สู งู อายพุ ดู อะไรทําอย่างไร ผ้ทู ่ีมา ทีหลังที่ไม่เห็นด้วยก็ต้องทําตาม การแต่งกายก็เช่นกัน ทําให้คนภูเก็ตแต่งกายแบบ ชอบหรือไม่ชอบก็ตาม จะต้องแต่งตามแบบท่ีผ้เู ฒ่า ผ้แู ก่ ย่าหยา เช่น เสือ้ ครุยยาว พ่อแม่เขาชอบและอยากจะให้ทํา” (สมหมาย ป่ิ นพทุ ธ เสือ้ ครุยสัน้ เสือ้ คอตัง้ แขน ศลิ ป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) จีบ เสือ้ ย่าหยาแบบต่างๆ น่ี คือวฒั นธรรมที่เรารับเขามา “ตอนแรกท่ีเข้ ามายังแต่งกายแบบจีน ช่วงหลังมี จึงทําให้ เราแต่งตัวแบบ ชาวตะวันตก ชาวปี นัง จีน สิงคโปร์เข้ ามา จึงทําให้ หลากหลาย และชาวจีนอีก วฒั นธรรมการแต่งกายเปลี่ยน บางคนมีญาติอย่ทู ี่ปี นงั ก็ ซือ้ มาฝาก หรือสงั่ ซือ้ มาจากปี นงั บ้าง บางคนท่ีมีฐานะดีก็ กล่มุ ท่ีเข้ามายงั จงั หวดั ภเู ก็ต ไปเท่ียว บางครัง้ ก็ได้ไปเห็น จึงทําให้เกิดการถ่ายเท จะมีการเดินทางจากเมืองฝู ทางด้านวฒั นธรรมการแต่งกาย” (ไชยยทุ ธ ปิ่ นประดบั . เจีย้ นมายังจังหวัดภูเก็ต สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) โดยตรงโดยไมแ่ วะท่ีไหนเลย “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (จรูญรัตน์ ตนั ฑ ชาวจีนเหล่านีจ้ ะเข้ามากล่มุ วณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) ใหญ่มาก ในสมัยรัชกาลท่ี 3–5เพราะว่าในระยะเวลา นัน้ พระยารัษฎานุประดิษฐ์ สมุหเทศาภิ บาล มณฑล ภูเก็ต มีความคิดที่จะขยาย กิจการเหมืองแร่ดีบุก จึงนํา ชาวจีนเข้าประเทศ เพ่ือที่จะ

118 ตารางท่ี 4.8 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย “การแต่งกายส่วนใหญ่ได้ รับอิทธิพลมาจากมลายู และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง ชาวจีนท่ีมาตัง้ สงิ คโปร์ ปี นงั จะเห็นว่า ผ้หู ญิงจะน่งุ ผ้าถงุ จากอินโดนีเซีย ถิ่ น ฐ า น ใ น หรือทางมะละกา ผ้าปาเต๊ะมาจากฝั่งมลายู ส่วนเสือ้ ท่ี ขยายกิจการเหมืองแร่ดีบกุ จั ง ห วั ด ภู เ ก็ ต เรียกว่าชดุ เคบายา เสือ้ ผ้าเหล่านีไ้ ด้รับมาจากอินโดนีเซีย ในขณะนัน้ จึงทําให้ ชาว ส่งผลต่อด้ าน เพราะชาวจีนได้แวะเข้าปี นงั แล้วคอ่ ยมายงั จงั หวดั ภเู ก็ต” จีนกลุ่มนีม้ ีการแต่งกาย วฒั นธรรมและ (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 19 กนั ยายน 2556) แบบจีน คือนิยมสวมใส่ การแตง่ กาย กางเกงแพรจีน ไว้ มวย สวมกําไลหยก ผกู เท้า จากตารางที่ 4.8 ชาวจีนท่ีมาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต สง่ ผลตอ่ ด้านวฒั นธรรมและการ แต่งกาย จากการศึกษาสรุปได้ว่า ชาวจีนที่มาตงั้ ถิ่นฐานในจังหวดั ภูเก็ตส่วนใหญ่จะส่งผลต่อ วฒั นธรรมการแตง่ กายของคนภเู ก็ต เพราะคนภเู ก็ตสว่ นใหญ่จะเป็ น พวกบาบ๋า ซง่ึ มีพ่อท่ีมาจาก เมืองจีน แล้วมาแตง่ งานกบั แมท่ ่ีเป็ นคนพืน้ เมือง จงึ ทําให้ได้รับอิทธิพลการแตง่ กายมาจากทางฝั่ง มาลายู สิงคโปร์ ปี นงั และมะละกาเข้ามา เนื่องจากชาวจีนท่ีเข้ามาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ตมีอยู่ 2 กลมุ่ ด้วยกนั จึงทําให้การแต่งกายของชาวจีนทงั้ 2 กลมุ่ นีม้ ีความแตกตา่ ง โดยกลมุ่ แรกจะมาตงั้ ถ่ินฐานที่ มลายู ปี นงั มะละกาก่อน แล้วจึงอพยพมาภเู ก็ตในภายหลงั จึงทําให้ชาวจีนเหล่านีร้ ับ เอาวฒั นธรรมตา่ งๆมายงั ภเู ก็ต จนทําให้เกิดการผสมผสานของวฒั นธรรมการแตง่ กายแบบย่าหยา คือ สวมใสเ่ สอื ้ ครุยยาว เสือ้ ครุยสนั้ เสอื ้ คอตงั้ แขนจีบ กบั ผ้าปาเต๊ะแบบคนปี นงั และมะละกา ตารางท่ี 4.9 วเิ คราะห์ข้อมูลการตงั้ ถ่นิ ฐานของชาวจีนในจังหวัดภเู ก็ต ทาํ ให้วิถีชีวิตของ ชาวภเู กต็ มีความเปล่ียนแปลง ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ตาํ รา/ ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง การตัง้ ถ่ินฐานของ “ชาวจีนเป็ นพวกท่ีขยนั ขนั แข็งเป็ น ชา ว จี น ใ น จัง ห วัด พวกท่ีหนกั เอาเบาสู้ คนไทยภูเก็ต สทุ ธิวงศ์ และ คณะ (2544) กลา่ ววา่ ชาวจีน ภูเก็ต ทําให้วิถีชีวิต จึงนิยมเก็บลกู สาวสวย ๆ ไว้ให้กบั เป็ นคนท่ีมีความขยันขันแข็ง ก็สามารถ ของชาวภเู กต็ มีความ คนจีนที่ชอบคนไทย เพราะคนจีน พัฒนาตัวเองเป็ นนายเหมืองได้ ส่วนหน่ึง เปลี่ยนเแปลง เป็ นคนขยนั ” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. เป็ นชาวจีนที่มาตงั้ ตวั ที่ปี นงั มะละกา มาเล สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) เชีย อินโดนีเซีย ส่วนใหญ่เป็ นคนจีนที่มี ฐานะจงึ อพยพเข้ามาทําธรุ กิจการค้าทาง

119 ตารางท่ี 4.9 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย “คนจีนเป็ นคนขยนั อดทน เป็ นคนมีความกตญั �ู ส่วน และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง การตัง้ ถ่ินฐาน คนที่เป็ นนายเหมือง หรือคนมีฐานะก็มักจะส่งลูกส่ง ของชาวจีนใน หลานไปเรี ยนทางปี นัง จึงทําให้ ไปเห็นสิ่งต่าง ๆ ทะเลโดยเรือกลไฟ ระหว่าง จั ง ห วั ด ภู เ ก็ ต มากมาย เป็ นแบบอย่างแล้วเกิดการพฒั นาไปในทางท่ี ภเู ก็ต-ปี นงั ต่อมาเห็นล่ทู างดี ทําให้ วิถีชีวิต ดี” (ยินดี มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) จึงอพยพเข้ ามาทําเหมืองแร่ ของชาวภเู ก็ตมี ดีบุกและนําวิธีทําเหมืองแร่ ค ว า ม เ ป ลี่ ย น “มีการเปลย่ี นแปลง เช่น ตกึ รามบ้านช่องเปล่ียนไป จาก ในแหลมมลายมู าใช้ในภเู ก็ต แปลง ทีแรกหลงั คามงุ จาก กลายเป็ นชิโนโปรตเุ กส” (จ้.ู พงศ์ รวมทงั้ นําวฒั นธรรม วิถีการ ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) ดํารงชีวิต วิถีการสร้ างพลัง อํานาจทางสงั คม เศรษฐกิจ “ทําให้คนภเู ก็ตมีระบบในการทํางาน บวกกบั ความขยนั การเงินและวิถีคิด เช่น การมี ของคนจีนในยุคนัน้ ส่งผลให้เกิดความมง่ั คงั่ รํ่ารวย จึง บ้ านเรื อนแบบชิโนโปรตุกี ส ทําให้มีวิถีชีวติ เปลี่ยนไป และมีการลงทนุ ทําธรุ กิจเข้ามา การทําเหมืองแร่แบบเมือง เรื่อยๆ เช่น ธุรกิจโรงแรม เป็ นต้น” (จรินทร์. นีรนาถ สูบต าม อย่าง ที่ ใ ช้ กันใ น วโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) เหมืองมลายูมาใช้ ในเมือง ภูเก็ตเป็ นแห่งแรกทําเหมือง “มีการสร้างวฒั นธรรมเดิมโดยเอาทรัพยากรด้านนอก เรือขุดเป็ นคนแรกตามอย่าง เข้าไปใส่ เป็ นวิถีของวฒั นธรรมผสม เม่ือเกิดวฒั นธรรม ท่ีชาวออสเตรเลียนําเข้ ามา ผสมแล้วมนั จะไม่ใช่ของแท้ดงั้ เดิม เพราะเกิดการแปลง ขุดเป็ นครัง้ แรกที่อ่าวทุ่งคา ไมใ่ ชข่ องจีนโดยตรง และไม่ใช่ของไทยโดยตรง เป็ นการ เ มื อ ง ภูเ ก็ ต ร ว ม ทัง้ ก า ร ผสมตามความเหมาะสมตามส่วนของงานนัน้ ๆ” แสวงหาแหล่งทนุ ผ่านระบบ (สมหมาย ป่ิ นพทุ ธศลิ ป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ธนาคาร มาใช้ในภูเก็ตด้วย ซ่ึงสอดคล้องกบั ฤดี (2553) “ตอนแรกคนจีนได้สร้างที่อย่แู บบเรือนกวาด ต่อมาเก็บ กล่าวว่าชาวจีนท่ีเข้ ามาอยู่ เงินได้ก็ซือ้ สงั กะสีและปนู มาจากปี นงั เพ่ือมาสร้างบ้าน ในจังหวัดภูเก็ตบางกลุ่มมี พอมีเงินเยอะกไ็ ด้สร้างเป็นตกึ ปกู ระเบือ้ ง การแต่งกายก็ ความสัมพันธ์ และความ เปลี่ยน ลกู จีนบาบ๋า มีฐานะดีจากการทําเหมืองแร่ จะ ผูกพันกับเมืองปี นัง และ น่งุ ผ้าปาเต๊ะ แบบมาเลเซีย อินโดนีเซีย จะเน้นการแต่ง สิงคโปร์ มากกว่าวฒั นธรรม กายแบบนี”้ (ไชยยุทธ ปิ่ นประดับ. สัมภาษณ์, 5 ไทย ทงั้ ยงั เป็ นกลมุ่ ท่ีมีความ กนั ยายน 2556) เป็ นจีนผสมผสานกับความ เป็นตะวนั ตกมากกวา่ กลมุ่

120 ตารางท่ี 4.9 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่ี เก่ียวข้อง การตัง้ ถิ่นฐานของ “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (จรูญรัตน์ ตนั ฑ อ่ื น ๆ ทั้ง ด้ า น วิ ถี ก า ร ชาวจีนในจังหวัด วณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) ดํารงชีวิต วิถีการสร้ าง ภูเก็ต ทําให้วิถีชีวิต พ ลั ง อํ า น า จ ท า ง สั ง ค ม ข อ ง ช า ว ภู เ ก็ ต มี “ในอดีต ชาวจีนได้อพยพเข้ามาอย่ใู นจงั หวดั ภเู ก็ต จึงทํา เศรษฐกิจการเงิน และวิถี ความเปลยี่ นแปลง ให้จงั หวดั ภูเก็ตมีความเจริญต่างๆ เกิดขึน้ จงั หวดั ภเู ก็ต คิ ด เ ช่ น ก า ร ส ร้ า ง มีการทําเหมืองแร่ดีบุก จึงทําให้เกิดการค้าการขายการ บ้านเรือนแบบชิโนโปตกุ ีส ลงทนุ เ จนทําให้มีธนาคารแหง่ แรกของประเทศไทยที่เป็ น การทําเหมืองแร่แบบสูบ ธนาคารของชาวต่างชาติ คือ ธนาคารชาร์เตอร์แบงค์ ตามอย่างท่ีใช้ในเหมือง เข้ าสู่ภูเก็ต และนอกจากนัน้ ยังมีโรงพยาบาลและ มา ลา ยูม าใ ช้ ใ นเ มื อ ง โรงเรียนจีนเกิดขึน้ ” (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 19 ภูเก็ตเป็ นที่แรก รวมทัง้ กนั ยายน 2556) การแสวงแหล่งทุนผ่าน ระบบธนาคาร จากตารางที่ 4.9 การตงั้ ถ่ินฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต ทําให้วิถีชีวิตของชาวภเู ก็ตมี ความเปล่ียนแปลง จากการศกึ ษาสรุปได้ว่า การท่ีชาวจีนมาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ตเป็ นจํานวน มาก ทําให้เกิดการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตของคนภเู ก็ต คือ การท่ีชาวจีนเป็ นคนขยนั จึงทําให้เกิดการ แข่งขันกันในด้านต่างๆ เช่น การจ้างงาน เป็ นต้น อีกทัง้ การท่ีชาวจีนได้เดินทางค้าขายผ่านทัง้ แหลมมลายู ปี นงั จงึ ได้นําวิถีคดิ วิถีการดาํ รงชีวิต เช่น การสร้างบ้านเรือนแบบชิโนโปรตกุ ีส การทํา เหมืองแร่แบบสบู ทําเหมืองเรือขดุ เป็ นต้น สง่ิ เหลา่ นีย้ อ่ มทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในวิถีชีวิตของ ชาวภเู ก็ต

121 ตารางท่ี 4.10 วเิ คราะห์ข้อมูลการเปล่ียนแปลงจากอดตี จนถงึ ปัจจุบัน ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “ในสมัยจอมพล ป พิบูลสงคราม มีการณรงค์เร่ืองของ ก า ร เ ป ล่ี ย น ชาตินิยม ไม่สนับสนุนชาวต่างชาติ ชาวจีนท่ีอยู่ในภูเก็ตจึง ภาพถ่าย และงานวจิ ัย แปลงจาก จําเป็ นต้องเปลี่ยนตวั เอง เม่ือวัฒนธรรมถูกปิ ดกัน้ จึงทําให้ ท่เี ก่ียวข้อง อ ดี ต จ น ถึ ง วัฒนธรรมไทยเข้ ามาครอบงํา ทําให้วัฒนธรรมจีนท่ีเป็ น ปัจจบุ นั จดุ เดน่ ในสมยั โบราณหายไป ไม่ว่าจะเป็ นการแตง่ กาย ภาษา ฤดี (2553) กลา่ วว่า เดิม พูด วิถีชีวิต เปล่ียนไป ต่อมามีการรือ้ ฟื ้นความสําคัญของ รายได้หลกั ของคนภูเก็ต วัฒนธรรมขึน้ มาใหม่ ในช่วงที่ภูเก็ตพัฒนามาเป็ นเมือง คื อ ก า ร ทํ า เ ห มื อ ง แ ร่ ทอ่ งเท่ียวแทนการทําเหมืองแร่ดีบกุ ตงั้ แต่ปี 2520 เป็ นต้นมา ชาวบ้ านท่ัวไปจะทําแ ร่ หน่วยงานใหญ่ ๆ ของรัฐ ในท้องถ่ินก็หันมาอนุรักษ์ขึน้ มา ดีบุกโดยวิธีทําเหมืองแร่ ใหม”่ (ฤดี ภมู ิภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) แ ล ะ ร่ อ น แ ร่ ท้ า ย ร า ง เหมืองสูบ ซ่ึงมีรายได้ดี “จังหวัดภูเก็ต เป็ นจังหวดั ท่ีมีความร่ํารวยในด้านทรัพยากร พอสมควรเศรษฐกิจของ เมื่อแร่ดีบุกหมด จึงพัฒนาเป็ นการท่องเท่ียว จนทําให้การ จังหวัดภูเก็ตขึน้ อยู่กับ ท่องเท่ียวของภเู ก็ตเติบโตขึน้ ไปเร่ือย ๆ และปัจจบุ นั มีการนํา ร า ค า สิน แ ร่ ดี บุก เ ป็ น วฒั นธรรมมาเป็ นจุดขายให้กับนกั ท่องเที่ยวที่สนใจเกี่ยวกับ สําคัญ เนื่องจากราคา วิถีชีวิตต่าง ๆ จึงทําให้คนรุ่นใหม่มีการเปล่ียนแปลง”(ยินดี ดีบุกในตลาดโลกตํ่าลง มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) ตงั้ แต่ปี พ.ศ.2528 เป็ น ต้ นมาทําให้ การผลิต “การนําผ้ าในยุคปั จจุบันมาใช้ แทนผ้ าเก่าเพราะผ้ าเก่าไม่มี สินแร่ดีบุกไม่คุ้มกับการ การผลิตแล้วจึงหาผ้าอื่นมาแทน และผ้าลกู ไม้ในปัจจุบนั ไม่ ลงทุน ทําให้ผู้ประกอบ สวยเหมือนสมยั ก่อน เพราะลกู ไม้ในสมยั ก่อนต้องนําเข้าจาก การหันมาทําธุรกิจการ สวิตเซอร์แลนด์” (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, 28 สิงหาคม ท่องเ ที่ ยว กันม ากขึน้ 2556) ประกอบกับรัฐบาลได้ มี นโยบายส่งเสริ มการ “ทางด้านเศรษฐกิจการทําเหมืองแร่ ในปัจจุบนั นีไ้ ม่มีการทํา ท่องเท่ียว ตัง้ แต่ปี พ.ศ. เหมืองแร่ดีบุกแล้ว แต่เร่ิมหนั มาลงทุนทางด้านการค้าขายคู่ 2530 เป็ นต้นมา ทําให้ กบั การทอ่ งเท่ียว การทําธรุ กิจโรงแรม เพราะเมด็ เงินท่ีเข้าส)ู่ หน่วยงานราชการและ ภาคเอกชน หันมาร่วม มือกันในการดําเนินการ ธุรกิจกาท่องเท่ียวอย่าง จริงจงั และตอ่ เนื่อง ทํา

122 ตารางท่ี 4.10 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ ก า ร เ ป ลี่ ย น ภาพถ่าย และ แปลงจาก อ ดี ต จ น ถึ ง งานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง ปัจจบุ นั จงั หวดั ภเู ก็ตมาจากการท่องเที่ยวเป็ นอนั ดบั แรก” (จรินทร์. นีร ให้เศรษฐกิจของจงั หวดั นาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) ภู ใ ห้ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง จังหวัดเก็ตได้ เปล่ียน “เร่ิมต้นในการแสวงหาทรัพยากรภายนอกอาจจะไม่สมบูรณ์ รู ปแบบจากการขาย เลยทําไปตามเท่าที่มี เม่ือเขาไม่มีส่งิ เหลา่ นีเ้ขาก็ต้องอนโุ ลมจน สินแร่ดีบกุ เป็ นการขาย ในที่สดุ มนั ก็เลยเปลี่ยนแปลง เร่ิมต้นอาจมีทรัพยากรภายนอก บริการทางธุรกิจการ มาทําตามรูปแบบตามกําลงั ของการเงิน และได้เปล่ียนแปลงไป ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ภ า ว ะ ตามความสะดวก แต่รูปแบบการแต่งกายมีอยู่ตามโครงสร้าง เศรษฐกิจของจังหวัด ในจิตใจ ในวิญญาณ ในวิถี ยังคงมีอยู่ แต่ได้เปล่ียนไปตาม ภูเก็ตในปั จจุบัน จึง ทรัพยากรด้านนอก แต่ประเพณียงั ยืดหย่นุ ได้” (สมหมาย ป่ิ น ขึน้ อยู่กับรายได้ จาก พทุ ธศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ธุรกิจการท่องเที่ยวเป็ น “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (ไชยยทุ ธ ปิ่ นประดบั . สาํ คญั สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) “ภูเก็ตมีชาวจีนอาศัยอยู่เป็ นจํานวนมาก จึงทําให้ ได้ รับ วฒั นธรรมเข้ามา ในช่วงปี พ.ศ.2529-2530 ราคาแร่ดีบกุ ตกตํ่า ทําให้เหมืองต่างๆ ปิ ดตวั ลง และด้วยสภาวะของภเู ก็ตมีความ สวยงามด้านภูมิประเทศ จึงทําให้เปลี่ยนจากการทําเหมืองแร่ ดีบุก มาทําธุรกิจท่ีเกี่ยวกับการท่องเที่ยว เช่น ธุรกิจโรงแรม รี สอร์ท ธุรกิจสนามกอล์ฟ เน่ืองจากธุรกิจท่องเท่ียวได้เข้ามามี บทบาทสําคัญจึงทําให้วิถีชีวิตต่างๆ เปลี่ยนแปลงไป ทําให้มี บริษัทต่างๆเข้ามาลงทนุ มากขึน้ จึงทําให้คนต่างถ่ินตา่ งจงั หวดั อพยพมาหางานทําเยอะขึน้ สิ่งเหล่านีย้ ่ิงมีความเจริญมากขึน้ เท่าไหร่ ยิ่งทําให้วิถีชีวิตเดิมๆ ที่เคยเป็ นอยู่เปลี่ยนไปมากขึน้ เร่ือย ๆ” (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 19 กนั ยายน 2556)

123 จากตารางที่ 4.10 การเปล่ียนแปลงจากอดีตจนถึงปัจจุบนั จากการศึกษาสรุปได้ว่า จงั หวดั ภเู ก็ตมีชาวจีนอาศยั อย่เู ป็ นจํานวนมาก จึงทําให้ได้รับวฒั นธรรมเข้ามามากมาย ในช่วงปี พ.ศ. 2528 – 2530 ราคาแร่ดบี กุ ตกต่าํ ทําให้การทําเหมืองแร่ไมค่ ้มุ ทนุ เลยทําให้เหมืองตา่ งๆ ปิ ดตวั ลง อนั ด้วยสภาวะของจงั หวดั ภเู ก็ตมีความเจริญมีความสวยงามของด้านภมู ิประเทศ จงึ ทําให้นาย เหมืองหรือเจ้าของที่ดินเปลี่ยนจากการทําเหมืองแร่ดีบกุ มาทําธุรกิจตา่ งๆ ที่เกี่ยวกบั การท่องเท่ียว เช่น ธุรกิจโรงแรม รีสอร์ทต่างๆ ธุรกิจสนามกอล์ฟ เนื่องจากธุรกิจท่องเที่ยวได้เข้ามามีบทบาท สําคญั จึงทําให้วิถีชีวิตตา่ งๆ เปลี่ยนแปลงไป ประกอบกบั มีคนตา่ งถิ่นอพยพเข้ามาหางานทํา และ เข้ามาอย่อู าศยั จํานวนมาก จึงทําให้วิถีชีวิตของคนภูเก็ตเริ่มเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม ภายนอก 4.1.2 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์แบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) เก่ียวกับวัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอ เมือง ในจังหวัดภเู ก็ต ภายใต้กรอบข้อคําถาม จํานวน 8 ข้อ ดงั นี ้ 1. การแต่งกายในชีวิตประจําวนั และในโอกาสพิเศษของสตรีเชือ้ สายจีนในอดีต 2. การแต่งกายในชีวิตประจําวนั และในโอกาสพิเศษของสตรีเชือ้ สายจีนใน ปัจจบุ นั 3. การแต่งกายในชีวิตประจําวนั และในโอกาสพิเศษของสตรีเชือ้ สายจีนใน อนาคต 4. อทิ ธิพลท่ีทําให้การแตง่ กายของสตรีจงั หวดั ภเู ก็ตเปลย่ี นแปลงไปจากอดีต 5. ความคิดเห็นด้านวฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 6. จดุ เดน่ ของวฒั นธรรมการแต่งกายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอ เมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต 7. ความคดิ เห็นตอ่ การเปลี่ยนแปลงด้านวฒั นธรรมการแตง่ กายของสตรี อําเภอ เมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 8. แนวทางการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ผลปรากฏตามตารางที่ 4.11-4.18

124 ตารางท่ี 4.11 วิเคราะห์ข้อมูลการแต่งกายในชีวิตประจาํ วันและในโอกาสพิเศษของสตรี เชือ้ สายจนี ในอดตี ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ คาํ ถาม ตาํ รา/ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่ี “การแต่งกายอยู่บ้ านในแต่ละวันจะใส่ผ้ าปาเต๊ ะ การแต่งกายใน ธรรมดาใส่ผ้าเข้ ารูป ถ้ าในโอกาสพิเศษในสมัย เก่ียวข้อง ชีวิตประจําวัน โบราณ จะสวมใสช่ ดุ ครุยยาวและเกล้ามวยสงู และ และในโอกาส ชุดครุยจะเป็ นชุดท่ีสามารถใส่ในงานแต่งได้ และ ดอกแก้ ว (2557: ออนไลน์) พิเศษของสตรี สามารถเป็ นชุดต้ อนรับแขกบ้ านแขกเมือง คน กล่าววา่ การแต่งกายของผ้หู ญิง เชือ้ สายจีนใน สําคญั ต่าง ๆ แต่ชุดแต่งงานจะมีมงกุฎดอกไม้ไหว บาบ๋าในภูเก็ตนัน้ มีวิวัฒนาการ อดีต แต่ถ้าเป็ นชุดต้อนรับแขกจะเป็ นปิ่ นปักผมหรือมี ก า ร แ ต่ง ก า ย ดัง นี ้ ใ น ส มัย ดอกไม้ท่ีมวย สว่ นชดุ ที่ใช้เดินทางไปไหนมาไหนจะ เร่ิมแรก ผู้หญิงบาบ๋านิยมแต่ง สวมใส่ชุดเสือ้ คอตัง้ แขนจีบ แต่ในสมัยโบราณจะ ก า ย ด้ ว ย ชุ ด ค รุ ย เ สื ้อ ค รุ ย เรียกว่าเสือ้ มือจีบ ชุดนีส้ ําหรับใส่ออกนอกบ้านไม่ มาเลเซียเรียกว่า บาจู บันจัง จําเป็นต้องเป็ นงานใหญ่โต ซงึ่ เป็ นเสือ้ ตวั ในของเสือ้ (Bajaj panjang) เป็ นเสือ้ คลมุ ครุย แตต่ อ่ มาเสือ้ คอตงั้ แขนจีบก็วิวฒั นาการมาเป็ น ยาวคร่ึงน่อง ทําด้ วยผ้ าป่ านรู ชดุ ย่าหยา เสือ้ ย่าหยาก็แบ่งเป็ น 3 ระดบั รุ่นแรกจะ เปี ย ผ้าฝ้ าย หรือผ้าต่วนนิ่มๆมี เป็ นคัตเวิร์ก ริมเป็ นลายหยกั ๆ หรือลายหอย และ สีสันท่ีหลากหลาย สวมทับเสือ้ ต่อมาก็มีการฉลุลายมากขึน้ ปัจจุบันนีม้ ีการฉลุ สนั คอตงั้ สีขาว แขนยาว ตวั เสือ้ เกือบทัง้ ตัว นัน้ คือลักษณะของเสือ้ ย่าหยา ซึ่งใน มีกระดุม 5 เม็ด และกระดุม ภาษามาลายเู รียกว่า เคมายา” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. ปลายแขน 2 เม็ด ทําด้วยทอง สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) เรียกว่า กระดุมกิมตู้น นุ่งโสร่ง ปาเต๊ะ เคร่ืองแต่งกายชดุ นีน้ ิยม “เม่ือในอดีตประมาณ 100 ปี การแต่งกายจะเป็ น แต่งในโอกาสพิเศษต่างๆทรงผม ลกั ษณะเสือ้ คอตงั้ แขนจีบ 3–4 ส่วน รัดรูปและใส่ นิยมทําผมแบบเกล้ ามวยสูง กบั ผ้าปาเต๊ะ ถ้ามีการเดินทางออกนอกบ้านอาจจะ หรือเรียกว่า เกล้ามวยชักอีโบย ใส่ผ้าลกู ไม้หรืออาจจะใส่เสือ้ ย่าหยาแล้วใส่กับผ้า คือ ดึงผมด้ านหน้ าตึงเรี ยบ ปาเต๊ะหรืออาจจะมีเคร่ืองประดับ ส่วนใหญ่จะ ด้านข้างโป่ งออก 2 ข้าง เรียกว่า ขึน้ อยู่กับโอกาสและเวลาสถานท่ี ที่จะไป”(ยินดี อีเปง ประดบั ด้วยดอกไม้ไหว ปัก มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม2556) ด้วยปิ่ นปักผม ทองคําหรือนาค ปน ซ่ึงสอดคล้องกับ ปิ ยะนันท์ (2553) ได้กล่าวว่า การแต่งกาย ในชีวติ ประจําวนั ของสตรีเชือ้

125 ตารางท่ี 4.11 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ตาํ รา/ คาํ ถาม ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง “ในยคุ แรกจะใสเ่ สือ้ ในเต็มตวั ใสผ่ ้าปาเต๊ะ การแต่งกาย ถ้ าออกนอกบ้ านไม่ไกลมากจะใส่ผ้ า สายจีนในอดีตมีการแต่งกายด้วย เสือ้ คอตงั้ ใ น ชี วิ ต ป ร ะ ปาเต๊ะเสือ้ คอตัง้ แขนจีบ ถ้าออกไปไกล แขนจีบ การสวมเสือ้ คอตัง้ แขนจีบจะสวม จําวันและใน หรือไปงานท่ีสําคญั ๆ จะต้องใสผ่ ้าปาเต๊ะ เป็ นเสือ้ ตวั ใน จีบจะสวมเป็ นเสือ้ ตวั ใน ก่อน โอกาสพิเศษ ใสเ่ สือ้ คอตงั้ แขนจีบแล้วใสช่ ดุ ครุยทบั อีกที สวมเสือ้ ครุยทับ ถ้ าอยู่กับบ้านนิยมสวม ข อ ง ส ต รี เ ชื อ้ เช่นออกไปไหว้พระไหว้เจ้า งานแต่ง จะ เฉพาะเสือ้ คอตัง้ แขนจีบเพียงอย่างเดียว ส า ย จี น ใ น แต่งชดุ ครุยยาวให้ถกู ลกั ษณะ” (จ้.ู พงศ์ หรืออาจจะสวมคู่กับเสือ้ ครุยสนั้ หรือเสือ้ อดีต ประดษิ ฐ์. สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) คร่ึงท่อน ส่วนการแต่งกายในโอกาสพิเศษ ของสตรีเชือ้ สาย จีน ในอดีตนัน้ มีการแต่ง “ถ้าเป็ นผู้ใหญ่จะสวมครุยยาว ถ้าสวมใส่ กายด้วยเสือ้ คอตงั้ แขนจีบ สวมทบั ด้วยเสือ้ อยู่กับบ้านจะใส่เสือ้ คอตัง้ แขนจีบ แต่ถ้า ครุยยาว การสวมเสือ้ ครุยยาวนิยมสวมใน จะไปงานสงั สรรค์หรืองานสโมสรจะสวม โอกาสที่เป็ นพิธีการงานพิธีสําคญั หรือแต่ง ครุยยาวแล้วติดชุดกอสงั จบั มวยผมแล้ว เป็ นชุดเจ้าสาวในโอกาสแต่งงาน อีกส่วน ปักปิ่ นไม่ให้ผมหลดุ ถ้าเป็ นคนมีอายุหรือ หนึ่งท่ีสําคัญในการแต่งกายชุดย่าหยาคือ คนแก่จะสวมครุยสัน้ (จรินทร์. นีรนาถ ผ้าปาเต๊ะ วโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) “ไม่สามารถให้ ข้ อมูลในประเด็นนีไ้ ด้ ” (สมหมาย ป่ิ นพุทธศิลป์ . สัมภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) “ไมส่ ามารถให้ข้อมลู ในประเดน็ นีไ้ ด้” (ไชย ภาพ เสือ้ คอตัง้ แขนจีบใส่กับผ้าปาเต๊ะ ยทุ ธ ปิ่ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน ท่มี า : ฤดี (2553) 2556) “ไม่สามารถให้ ข้ อมูลในประเด็นนีไ้ ด้ ” (จรูญรัตน์ ตันฑวณิช. สัมภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) “ไม่สามารถให้ ข้ อมูลในประเด็นนีไ้ ด้ ” ภาพ เสือ้ ครุยยาว (สุรเชษฐ์ เจริญผล. สัมภาษณ์, 19 ท่ีมา : บ้านชินประชา จังหวัดภูเก็ต (15 กนั ยายน 2556) กนั ยายน 2556)

126 จากตารางท่ี 4.11 การแตง่ กายในชีวิตประจําวนั และในโอกาสพิเศษของสตรีเชือ้ สายจีน ในอดีต จากการศกึ ษาสรุปได้วา่ การแตง่ กายในชีวิตประจําวนั ของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในอดีตนนั้ มีการแต่งกายด้วย เสือ้ คอตงั้ แขนจีบ การสวมเสือ้ คอตงั้ แขนจีบจะสวมเป็ นเสือ้ ตวั ใน ก่อนสวมเสือ้ ครุยทบั ถ้าอย่กู บั บ้านนิยมสวมเฉพาะเสือ้ คอตงั้ แขนจีบ แขนยาว ตวั เสือ้ มีกระดมุ 5 เม็ด และกระดมุ ปลายแขน 2 เม็ด ทําด้วยทอง เรียกวา่ กระดมุ กิมต้นู น่งุ โสร่งปาเต๊ะ สว่ นการแตง่ กายในโอกาสพิเศษของสตรีเชือ้ สายจีน ในอดีตนนั้ มีการแต่งกายด้วยเสือ้ คอตงั้ แขนจีบ สวมทบั ด้วยเสือ้ ครุยยาว การสวมเสือ้ ครุยยาวนิยมสวมในโอกาสท่ีเป็ นพิธีการงานพิธีสําคญั หรือแต่งเป็ น ชดุ เจ้าสาวในโอกาสแต่งงาน ทรงผม นิยมทําผมแบบเกล้ามวยสงู หรือเรียกวา่ เกล้ามวยชกั อีโบย คือ ดงึ ผมด้านหน้าตงึ เรียบ ด้านข้างโป่ งออก 2 ข้าง เรียกว่า อีเปง ประดบั ด้วยดอกไม้ไหว ปักด้วย ป่ิ นปักผมทองคาํ หรือนากปน ตารางท่ี 4.12 วิเคราะห์ข้อมูลการแต่งกายในชีวิตประจาํ วันและในโอกาสพิเศษของสตรี เชือ้ สายจีนในปัจจุบัน ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “ถ้าเป็ นชาวพืน้ เมืองยังคงสวมผ้าปาเต๊ะเหมือนเดิม ส่วนเสือ้ ภาพถ่าย และ การแต่งกาย ยา่ หยา จะไมค่ อ่ ยนิยมมากนกั สว่ นใหญ่จะเป็ นผ้าลกู ไม้ ซง่ึ เหน็ ใ น ชี วิ ต ป ร ะ ได้ว่าเป็ นผ้าที่ดดู ีที่สดุ แล้ว เพราะเสือ้ ย่าหยาในปัจจบุ นั จะต้อง งานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง จําวันและใน ส่ังซือ้ จากทางปี นัง ราคาค่อนข้างสูง แต่ถ้าในปัจจุบันจะใส่ โอกาสพิเศษ ผ้าลกู ไม้เป็นสว่ นใหญ่เพราะราคาถกู กว่า และสะดวกไม่ต้องหา ปิ ยะนันท์ (2553) ได้ ข อ ง ส ต รี เ ชื อ้ เข็มกลดั มาติด” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 สิงหาคม กล่าวว่า การแต่งกาย ส า ย จี น ใ น 2556) ในชีวิตประจําวันของ ปัจจบุ นั สตรี เชือ้ สายจีน ใน “ชาวภเู ก็ตชอบน่งุ ผ้าปาเต๊ะ ผ้าปาเต๊ะที่ใสอ่ ย่บู ้านราคาจะไมส่ งู ปั จจุบันได้ พัฒนาการ มาก ซึ่งเรียกว่าผ้ากลางบ้าน ถ้าไปนอกบ้านจะใส่ผ้าเนือ้ ดี ถ้า สวมใส่ชุดย่าหยาจาก ออกไปร่วมงานต่างๆ เช่น งานแต่ง งานบวช ที่มีลักษณะ เสือ้ ครุยยาวมาเป็ นเสือ้ พิเศษๆ คือ ลักษณะท่ีเป็ นเจ้าภาพจะต้องแต่งตัวให้หรู เพื่อ ครุยสนั้ เพ่ือให้ใช้สอย ไม่ให้คนนินทาได้ เพราะฉะนัน้ จะเลือกผ้าที่มีเกรดดีสวมใส่ สะดวกขึน้ โดยเปล่ียน เสือ้ ผ้าพืน้ เมืองไปในงานที่เป็ นพิธีการ เช่น งานแต่งงาน งาน จากการสวมเสือ้ สอง บวช สว่ นคนท่ีแตง่ งานจะใสช่ ดุ ที่สดใส ใสเ่ สือ้ ครุยยาวทบั สว่ น ชัน้ เป็ นเสือ้ ชัน้ เดียว หรือท่ีเรียกว่าเสือ้ เคบา ย า ห รื อ ชุด ย่ า ห ย า นอกจากนีเ้ สือ้ เคบายา สามารถแบง่ ออกได้

127 ตารางท่ี 4.12 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ คาํ ถาม ตาํ รา/ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่ี เ สื อ้ ตัว ใ น จ ะ เ ป็ น เ สื อ้ ค อ ตัง้ แ ข น จี บ แ ล ะ ใ ส่ การแต่งกาย เคร่ืองประดับเต็มยศ สําหรับเจ้าสาว บนหัวจะใส่ เก่ียวข้อง ใ น ชี วิ ต มงกฎุ ดอกไม้ไหว ที่คอจะสวมสร้อยทองหลายๆ เส้น ประจํา วนั ใสเ่ ข็มกลดั ใสก่ ระดมุ ทอง ใสก่ ําไรข้อมือทอง ใสแ่ หวน เป็ น 3 แบบคือ เสือ้ เคบายาลิน และใน ทัง้ 8 นิว้ ใส่กําไรข้ อเท้ า และจะสวมรองเท้ าปั ก ดา เสือ้ เคบายาบีกู และเสือ้ เค โอกาสพิเศษ ลวดลายรองเท้าปักอาจจะปักด้วยดิน้ เงิน ดิน้ ทอง บายาซูแลม ต่อมาสตรีชาวภเู ก็ต ข อ ง ส ต รี เ ชื อ้ หรืออาจจะปักด้วยลกู ปัด เป็ นลกั ษณะรองเท้าสวมดู ได้มีการประยกุ ต์เสือ้ เคบายา ทงั้ ส า ย จี น ใ น แล้วสวยงามเข้าชุดกัน แต่เมื่อก่อนชุดจะไม่สดใส สามชนิดนีเ้ป็นเสอื ้ ลกู ไม้ ปัจจบุ นั เหมือนกบั สมยั นี”้ (ยินดี มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) “ในปัจจุบันนีไ้ ด้มีการฉลุลายผ้ามากขึน้ ถ้าเป็ นชุด ภาพ เสือ้ ครุยครึ่งท่อนหรือ เจ้าสาวต้องมีกฎขึน้ มาว่าจะต้องเป็ นสีชมพหู รือสีส้ม เสือ้ ครึ่งทอ่ น เท่านัน้ จะมีเคร่ืองประดับมากมายมีทองทัง้ ตัว ถ้า ท่ีมา : บ้านชินประชา จังหวัด ไม่ใช่เจ้าสาวจะใส่ทองได้เส้นเดียว ลกั ษณะทองของ ภเู กต็ (15 กนั ยายน 2556) ชุดเต็ม มีมงกุฎดอกไม้ ไหว มีต่างหู มีสร้ อยทอง ประมาณ 8 เส้นตา่ งระดบั ใสแ่ หวน 10 นิว้ ใสช่ ดุ กอสงั ในชุดกอสังมีเข็มกลัด 8 ชิน้ มีไหมมือ และไหมเท้า สวมรองเท้าปัก ชุดยคุ แรกจะเป็ นชดุ ครุยยาว แล้วจึง มากลายเป็ นชุดครุยสัน้ ชุดคอตัง้ แขนจีบ และชุด ย่าหยา สว่ นชดุ ย่าหยามี 3 แบบ แบบชดุ เกลีย้ ง แบบ ฉลุ แบบลกู ไม้” (จู้. พงศ์ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) “การแต่งกายในปัจจบุ นั จะปรับให้สะดวกมากขึน้ กว่า ภาพ เสือ้ ผ้ าลูกไม้ ต่อดอก ในสมยั ก่อน เด๋ียวนีม้ ีเสือ้ ลกู ไม้ต่อดอกเข้ามา สวมกบั ท่ีมา : ฤดี ภูมิภูถาวร จังหวัด ผ้าปาเต๊ะหรือสวมเสือ้ แค่ชนั้ เดียวไม่ต้องสวมครุยยาว ภเู ก็ต (23 สงิ หาคม 2556) จะมีเสือ้ คอตัง้ แขนจีบ เสือ้ เคมายาลายฉลุเพียงชุด เดียวที่ได้รับอิทธิพลมาจากมาลาย”ู (จรินทร์. นีรนาถ วโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556)

128 ตารางท่ี 4.12 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ตาํ รา/ คาํ ถาม ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง “ไม่สามารถให้ ข้ อมูลในประเด็นนีไ้ ด้ ” การแต่งกาย (สมหมาย ปิ่ นพุทธศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 ในชีวิตประจํา กนั ยายน 2556) วั น แ ล ะ ใ น โอกาสพิเศษ “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเดน็ นีไ้ ด้” (ไชย ของสตรี เชือ้ ยทุ ธ ปิ่ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน ส า ย จี น ใ น 2556) ปัจจบุ นั “ตอนนีม้ ีการฟื น้ ฟไู ด้มีผ้สู วมใส่จํานวนมาก ภาพ เสอื ้ เคบายาซแู ลม และเด็กรุ่นใหม่มาสวมใส่กันมากเป็ นสิ่งที่ ท่ีมา : บ้านชินประชา จังหวัดภูเก็ต (15 กนั ยายน 2556) หน้าช่ืนใจ เมื่อก่อนในสมยั เด็กใส่แล้วกลวั แก่ แต่ในสมัยนีห้ นั มาแต่งกันมากขึน้ เมื่อ ภาพ เสือ้ เคบายาบีกู ท่มี า : ฤดี (2553) เห็นแบบนีป้ ่ ยู า่ ตายายก็ชื่นใจ เพราะในช่วง ชีวิตตงั้ แต่ยงั เด็กจนตอนนีม้ ีอายุเยอะแล้ว ประมาณ 70-80 ปี ท่ีขาดหายไป พอได้เหน็ ก็เกิดความดีใจและปลืม้ อกปลืม้ ใจ แต่ยงั มี ลกั ษณะการแตง่ กายรูปแบบเดิม วิธีการตดั จะตัดแบบเดียวกันกับที่สมัยโบราณตัด เพราะเรารักษาวิธีการตงั้ ทงั้ หมดไว้” (จรูญ รัตน์ ตันฑวณิช. สัมภาษณ์, 16 กันยายน 2556) “ไม่สามารถให้ ข้ อมูลในประเด็นนีไ้ ด้ ” (สุรเชษฐ์ เจริ ญผล. สัมภาษณ์ , 19 กนั ยายน 2556) ภาพ เสอื ้ เคบายาลนิ ดา ท่ีมา : http://www.phuketneophoto. com/

129 จากตารางท่ี 4.12 การแตง่ กายในชีวิตประจําวนั และในโอกาสพิเศษของสตรีเชือ้ สายจีน ในปัจจบุ นั จากการศึกษาสรุปได้ว่า ลกั ษณะการแต่งกายของสตรีเชือ้ สายจีนในปัจจบุ นั ของสตรี ชาวภเู ก็ตนนั้ สวมผ้าลกู ไม้น่งุ ผ้าปาเต๊ะ ซง่ึ มีราคาไม่แพงมาก สว่ นในโอกาสพิเศษของสตรีเชือ้ สาย จีนในปัจจบุ นั มีการแต่งกายโดยสวมเสือ้ ผ้าท่ีมีเนือ้ ดี มีราคา และสวมใส่เคร่ืองประดบั เต็มยศ ถ้า เป็ นชดุ เจ้าสาวต้องเป็ นเสือ้ สีชมพหู รือสีส้มเป็ นสว่ นใหญ่ ส่วนเครื่องประดบั มีมงกฎุ ดอกไม้ไหว มี ตา่ งหู มีสร้อยทองประมาณ 8 เส้นตา่ งระดบั ใสแ่ หวน 10 นิว้ ใสช่ ดุ กอสงั ในชดุ กอสงั มีเข็มกลดั 8 ชิน้ มีกําไลข้อมือ กําไลข้อเท้า และสวมรองเท้าฝัก จากการสงั เกตของผ้ศู กึ ษาที่ได้พบเห็นลกั ษณะ การแตง่ กายในชีวิตประจําวนั ในปัจจบุ นั นนั้ เป็ นการแตง่ กายตามแบบสากลธรรมดา โดยสว่ นมาก จะแต่งกายตามสบายเหมือนกบั สงั คมทวั่ ไปในปัจจบุ นั สว่ นลกั ษณะการแตง่ กายในโอกาสพิเศษ ยงั มีการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักอยู่ ในส่วนของสตรีวยั รุ่นจะแต่งกายเสือ้ คอตงั้ แขนจีบ สวมเสือ้ ครุยทบั และสวมใส่เสือ้ เคบายาแบบตา่ งๆท่ีมีสีสนั สดใส สว่ นผ้สู งู อายจุ ะแตง่ กายด้วยเสือ้ คอตงั้ แขนจีบสวมเสอื ้ ครุยสนั้ ทบั และสวมใสเ่ สอื ้ ลกู ไม้แบบตา่ งๆ แตย่ งั มีการสวมคกู่ บั ผ้าปาเต๊ะอยู่ เหมือนเดมิ สว่ นรองเท้าปักในปัจจบุ นั ยงั มีการสวมใส่อยู่ บางคนหนั มาใสร่ องเท้าคดั ชหู รือรองเท้า แฟชน่ั แทน ตารางท่ี 4.13 วิเคราะห์ข้อมูลการแต่งกายในชีวิตประจาํ วันและในโอกาสพิเศษของสตรี เชือ้ สายจนี ในอนาคต ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจาก คาํ ถาม การศกึ ษาเอกสาร/ “ไม่มีการเปล่ียนแปลงเพราะเป็ นชดุ ประจําถ่ิน จะมีการแต่งกาย การแต่งกาย ในชว่ งเทศกาลต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง เพราะเป็ นชดุ พืน้ เมืองที่ ตาํ รา/ภาพถ่าย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ เป็ นเอกลกั ษณ์เท่านนั้ ” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 สิงหาคม และงานวจิ ัยท่ี จําวันและใน 2556) โอกาสพิเศษ “เน่ืองจากว่าในปัจจุบนั ถึงจะรณรงค์ให้การแต่งกายกลบั มาอีก เก่ียวข้อง ข อ ง ส ต รี เ ชื อ้ ครัง้ เพราะชุดเหล่านีจ้ ะใช้ ในบางโอกาสไม่ได้ สวมใส่ใน ส า ย จี น ใ น ชีวิตประจําวนั จึงกลายเป็ นชดุ เฉพาะกิจไป แต่ยงั มีผ้ทู ่ีสวมใสช่ ดุ สาวติ ร (2551) กลา่ ว อนาคต พืน้ เมืองอยู่ แต่ในอนาคตยงั คงเป็ นหว่ งเดก็ รุ่นใหม่ เพราะไมใ่ สใ่ จ ว่ า ใ น ปั จ จุบัน ทัง้ วฒั นธรรม”(ยนิ ดี มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) ภ า ค รั ฐ แ ล ะ เ อ ก ช น ต่างให้การสนับสนุน ในเรื่องของการแต่ง กายไทยผสมผสาน วฒั นธรรมของจีนไว้ เพื่อนําเสนอต่อการ ท่ อ ง เ ที่ ย ว แ ล ะ ที่ สาํ คญั ท่ีสดุ คือ

130 ตารางท่ี 4.13 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “ต่อไปต้องมีการเปลี่ยนแปลงเพราะไม่รู้การแต่งกายที่ถกู วิธี การแต่งกาย และจะมีการกลบั มาส่ยู คุ เก่ามากขึน้ ” (จู้. พงศ์ประดิษฐ์. ภาพถ่าย และงานวจิ ัย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) ท่เี ก่ียวข้อง จําวันและใน โอกาสพิเศษ “ลักษณะการแต่งกายแบบบาบ๋าต่อไปในอนาคตจะมีการ เ พื่ อ ใ ห้ เ ย า ว ช น ไ ด้ ข อ ง ส ต รี เ ชื อ้ หวนกลบั มาจากอดีตมากขึน้ เพราะต่อไปจะมีกลุ่มประเทศ ตระหนกั ถึง ความสําคญั ส า ย จี น ใ น อาเซียนเข้ามาทงั้ 10 ประเทศ ต่างก็มีอตั ลกั ษณ์ชัดเจน เรา ของภูมิปัญญาไทย ซึ่ง อนาคต ควรจะเป็ นตวั เองให้มากกว่านี”้ (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. บรรพบุรุษได้สร้ างสรรค์ สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) ไว้ให้ลกู หลานได้สืบทอด วัฒนธรรมที่ดีเหล่านีไ้ ว้ “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (สมหมาย ปิ่ นพุทธ เช่น การจัดงานถนนคน ศลิ ป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) เดิน ซ่ึงทางเทศบาลนคร ภูเก็ตเป็ นผู้กําหนดและ “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (ไชยยทุ ธ ปิ่ นประดบั . เปิ ดโอกาสให้ลูกหลาน สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) ช า ว ภู เ ก็ ต ไ ด้ ส ว ม ใ ส่ เ ค ร่ื อ ง แ ต่ ง ก า ย แ บ บ โบราณให้ยงั คงอยตู่ อ่ ไป “ถ้าให้ตอบอนาคตนนั้ เป็ นเร่ืองยากแต่ท่ีได้เห็นเด็กรุ่นใหม่ ๆ ก็มีการอนรุ ักษ์กบั เด็กรุ่นใหม่ ๆ เขาช่วยกนั คิดว่าจะยงั คงอยู่ ตอ่ ไปได้เพราะวา่ มนั เป็นสง่ิ ท่ีดีเพราะเราได้เหน็ รากเหง้าความ เป็ นอยู่ของต้ นตระกูลของเรา” (จรูญรัตน์ ตันฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 19 กนั ยายน 2556) จากตารางท่ี 4.13 การแตง่ กายในชีวิตประจําวนั และในโอกาสพิเศษของสตรีเชือ้ สายจีน ในอนาคต จากการศกึ ษาสรุปได้ว่า การแตง่ กายของสตรีอําเภอเมืองจงั หวดั ภเู ก็ตในอนาคตจะยงั มีอยู่ ถ้าหากมีการอนรุ ักษ์ และรณรงค์ โดยการปลกู ฝังให้เดก็ มีจิตสํานกึ รักบ้านเกิด และวฒั นธรรม ท้องถ่ินท่ีมีคา่ การแตง่ กายเหลา่ นีจ้ ะยงั คงมีอยู่ และจะหวนกลบั สอู่ ดตี มากขนึ ้ เร่ือยๆ

131 ตารางท่ี 4.14 วิเคราะห์ข้อมูลอิทธิพลท่ีทําให้การแต่งกายของสตรีจังหวัดภูเก็ตเปล่ียน แปลงไปจากอดตี ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “ในปั จจุบันมีการประยุกต์เพ่ือให้ เกิดความสะดวกสบายใน อิทธิพลที่ทํา การใช้งาน เน่ืองจากวิถีชีวิตของคนในปัจจบุ นั รีบเร่งไม่ทนั กบั ภาพถ่าย และงานวจิ ัย ใ ห้ ก า ร แ ต่ง เวลา เพราะในสมยั ก่อนต้องมีการประดบั ตกแต่งตวั เองให้ดู ท่เี ก่ียวข้อง กายของสตรี สวยงาม แต่ในยุคปัจจุบันมีการแข่งขันกันสูงมาก คนภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต ต้ องประยุกต์การแต่งกายให้ คล่องตัว ถึงแม้ จะเป็ นชุด NGUYEN THI (2549) เ ป ลี่ ย น พืน้ เมืองก็ตาม” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 สิงหาคม ก ล่ า ว ว่ า ปั จ จุ บั น นี ้ แปลงไปจาก 2556) วัฒนธรรมการแต่งกาย อดีต ข อ ง ค น เ ร า กํ า ลั ง “ลกั ษณะการแต่งกายเสือ้ ผ้าหรือการตดั เย็บท่ีเปล่ียนไปตาม เปลี่ยนแปลงเป็ นแบบ ช่างตดั เย็บเสือ้ ผ้า เพราะช่างไมส่ ามารถตดั เย็บแบบเก่าได้แต่ สมัยนิยมมากขึน้ ทัง้ นี ้ ยงั คงมีเค้าโครงเดิมอยู่ แต่อาจจะมีการประยกุ ต์บ้างแต่ยงั มี ขึน้ อยู่กับเพศ อายุ และ เค้ าโครงเดิมอยู่ อาจมีการเปลี่ยนแปลงไปตามแฟชั่น การประกอบอาชีพ มี เปล่ียนไปตามนักท่องเที่ยวและยุคสมยั ”(ยินดี มโนสณุ ทร. ปั จจัยหลายอย่างทัง้ สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) ทางด้านการเมือง (แนว ทางการเปล่ียนใหม่ของ “เพราะความคิดของเด็กสมยั นีท้ นั สมยั ขึน้ จึงดดั แปลงนําส่ิง ประเทศในทุกด้ าน ทัง้ โน้นส่ิงนีม้ าสลับท่ีกัน เพราะเด็กยุคใหม่ชอบประยุกต์ให้ ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม สะดวกและคลอ่ งตวั ขึน้ ” (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, 28 และวัฒนธรรม รวมทัง้ สงิ หาคม 2556) การประกาศใช้ นโยบาย แ ล ะ โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า “วิถีชีวิตความเป็ นอย่เู กิดจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป หรือ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ต่ า ง ๆ ) คนท่ีสวมใสผ่ ้าปาเต๊ะอาจจะไม่สะดวกต่อการทํางานในแตล่ ะ เศรษฐกิจ (การยกระดับ วันเลยเปล่ียนเป็ นกางเกง คนจะเปล่ียนแปลงไปตาม ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ข อ ง สภาพแวดล้อมที่เป็ นอย”ู่ (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. สมั ภาษณ์, ประชาชนให้ ดีขึน้ การ 31 สงิ หาคม 2556) ประกอบอาชี พอย่าง หลากหลาย ตลอดจน “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (สมหมาย ปิ่ นพุทธ ก า ร พัฒ น า ท า ง ด้ า น ศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ผลิตภัณฑ์ อตุ สาหกรรม เสือ้ ผ้ า) สังคม (การ พั ฒ น า ท า ง ด้ า น สาธารณปู โภคตา่ งๆ การ

132 ตารางท่ี 4.14 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย อิ ท ธิ พ ล ที่ ทํ า ใ ห้ “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (ไชยยทุ ธ ปิ่ น และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง การแต่งกายของ ประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) สตรีจงั หวดั ภูเก็ต พฒั นาทางด้านการศึกษา เปลี่ยนแปลงไป “ลกั ษณะเสือ้ ผ้ายงั คงมีรูปแบบเหมือนเดิมบางคนอาจมี การพัฒนาระบบสื่อสาร จากอดีต การเปล่ียนแปลงบ้างนิดหน่อย แต่ก็คงลกั ษณะเดิมเป็ น มวลชน การประกอบ แบบของภูเก็ตเรา ตอนนีไ้ ด้นําผ้าปาเต๊ะไปให้กลุ่ม อาชีพ) ตลอดจนทางด้าน แมบ่ ้าน ปักเล่อื มเพื่อความสวยงาม และเป็ นอาชีพ บาง วฒั นธรรม (การรับอิทธิพล คนนําผ้าปาเต๊ะไปลงสีเป็ นสีทองก็มี แล้วแต่คนชอบ” จากวัฒนธรรมจากสังคม (จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) ภายนอกเข้ามาในพืน้ ที่ ได้ สง่ ผลทางตรงและทางอ้อม “ไม่สามารถให้ข้อมูลในประเด็นนีไ้ ด้” (สรุ เชษฐ์ ต่อการเปลี่ยนแปลงของ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 19 กนั ยายน 2556) ลักษณะการแต่งกายของ เรา จากตารางที่ 4.14 อิทธิพลที่ทําให้การแตง่ กายของสตรีจงั หวดั ภเู ก็ตเปล่ียนแปลงไปจาก อดีต จากการศกึ ษาสรุปได้ว่า การรับอิทธิพลจากวฒั นธรรมจากสงั คมภายนอกเข้ามาในพืน้ ที่ ได้ ส่งผลทางตรงและทางอ้อม ต่อการเปล่ียนแปลงของลกั ษณะการแต่งกาย ปัจจบุ นั มีการประยกุ ต์ เพ่ือให้เกิดความสะดวกสบายในการใช้งาน เพราะความคิดของเด็กยคุ ใหมใ่ นสมยั นีช้ อบประยกุ ต์ ให้สะดวกและคล่องตวั ขนึ ้ เนื่องจากวิถีชีวิตของคนในปัจจบุ นั รีบเร่งไม่ทนั กบั เวลามีการแขง่ ขนั กนั สงู จึงเปล่ียนแปลงตามสภาพแวดล้อมที่เป็ นอยู่ เพื่อให้คล่องตวั ถึงแม้จะเป็ นชุดพืน้ เมืองก็ตาม ลกั ษณะเสือ้ ผ้ายงั คงมีรูปแบบเหมือนเดิม บางคนอาจมีการเปล่ียนแปลงบ้างนิดหน่อยตามแฟชนั่ ตามนกั ท่องเที่ยวและยคุ สมยั

133 ตารางท่ี 4.15 วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นด้านวัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและ รองเท้าปักของสตรี อาํ เภอเมือง จงั หวัดภเู ก็ต ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ คาํ ถาม ตาํ รา/ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่ี “ถ้าในด้านลกั ษณะความสวยงามมีความสวยงาม ค ว า ม คิ ด เ ห็ น มากใส่แล้วดภู าคภูมิ แต่ถ้าใส่ในวิถีชีวิตในปัจจบุ นั เก่ียวข้อง ด้านวฒั นธรรม ถือว่าไม่เหมาะสมเพราะเสือ้ ย่าหยาเป็ นเสือ้ ท่ี ก า ร แ ต่ ง ก า ย ค่อนข้างบางทํางานหนกั ไม่ได้ เพราะชุดอาจจะฉีก การแต่งกายของคนภเู ก็ตจะเป็ น ชุดย่าหยาและ ขาดได้ง่าย จึงไม่เหมาะกับการทํางานท่ีเร่งรีบใน การผสมผสานของหลายชนชาติ รองเท้าปักของ ปัจจบุ นั ถ้าเป็ นเสือ้ ย่าหย่าชนั้ ดีต้องนําเข้าจากปี นงั ออกมาอยา่ งสวยงาม ซงึ่ ปัจจบุ นั ส ต รี อํ า เ ภ อ ราคาท่ีถูกท่ีสุด คือ 3,000-5,000 บาท ราคา ชาวภูเก็ตยงั คงรักษาวฒั นธรรม เมือง จังหวัด ค่อนข้างแพง จึงต้องประยุกต์ให้เข้ากับวฒั นธรรม การแต่งกายแบบเดิมไว้ โดย ภเู ก็ต ท้องถ่ินและวัสดุที่มีอยู่ในท้องถ่ิน ส่วนรองเท้าปัก ป รั บ เ ป ล่ี ย น ร า ย ล ะ เ อี ย ด ใ ห้ จะปักด้วยลกู ปัดเป็ นงานที่พิถีพิถันมากจึงต้องปัก เหมาะสมกับยุคสมัย โดยชุด อย่างประณีต ในยคุ ปัจจบุ นั ท่ีก้าวไปข้างหน้าอย่าง แต่งกายที่นําเสนอจะเป็ นการ รวดเร็วทัง้ ชุด ย่าหยาและรองเท้าปักจะใส่ได้ใน แต่งกายของคนภูเก็ต เมื่อสมัย โอกาสสําคญั ๆ ถ้าจะนํามาใส่ในชีวิตประจําวนั นนั้ ร้ อยกว่าปี มาแล้ ว ซึ่งเป็ นการ ไม่เหมาะ” (ฤดี ภูมิภูถาวร. สัมภาษณ์, 23 ผ ส ม ผ ส า น ข อ ง ห ล า ย ช น ช า ติ สงิ หาคม 2556) ออกมาอย่างสวยงาม ซ่ึงชุด ย่าหยาถือว่าเป็ นการแต่งกายท่ี “รองเท้ าปั กมี ลักษณะสวยงามตามรู ปแบบของ สวยงามท่ีผสมผสานรูปแบบของ รองเท้า แต่ก็มีราคาสงู เพราะวา่ รองเท้าปักเป็ นงาน จีนและมลายเู ข้าไว้ด้วยกนั อย่าง ฝี มือถ้าได้สวมใส่กับผ้าปาเต๊ะจะมีความสวยงาม งดงาม โดยผ้หู ญิงใส่เสือ้ ฉลลุ าย กลมกลืนกัน แต่มีราคาแพงบางคู่มีราคา 5,000- ดอกไม้ รอบคอ เอว และปลาย 10,000 บาท ส่วนเรื่องเสือ้ ผ้าก็มีการเปลี่ยนแปลง แขน อย่างงดงาม น่งุ ซ่ิน ปาเต๊ะ บ้างแต่ไมม่ ีคนสนใจถึงเราจะรณรงค์ให้กลบั มาแต่ก็ (อ้างถึงใน วรัญญา, 2555) ซึ่ง ยังเป็ นกลุ่มย่อย ยังไม่แพร่หลายทัง้ จังหวัด ส่วน ปั จจุบันชาวภูเก็ตยังคงรักษา ราคาผ้าปาเต๊ะอย่างตํ่าราคาไม่ถึง 100 บาท จนมี วฒั นธรรมการแต่งกายแบบเดิม ราคาสงู กวา่ 10,000 บาท อยา่ งผ้าลกู ไม้ธรรมดาตวั ไว้ โดยปรับเปล่ียนรายละเอียด หนึ่งราคา 4-5 ร้อยบาท จนราคาสงู กว่า 10,000 ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ยุ ค ส มั ย บาท เช่นกัน”(ยินดี มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 ลวดลายที่ปรากฏบนชดุ การแต่ง สงิ หาคม 2556) กายของสตรีชาวบาบ๋า อําเภอ เมือง จังหวัดภูเก็ต นัน้ ได้ รับ อิทธิพลมาจากรูปแบบการแต่ง กายของชาวจีนผสมผสานกบั

134 ตารางท่ี 4.15 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย “สวยงามดูดี เป็ นระเบียบปกปิ ดร่างกาย ดูเรียบร้อย และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เหมาะสมกบั ฐานะ” (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, ด้านวฒั นธรรม 28 สงิ หาคม 2556) รู ป แ บ บ ก า ร แ ต่ ง รู ป แ บ บ ก า ร ก า ร แ ต่ ง ก า ย แต่งกายท้ องถ่ินของมาเลเซีย ชุดย่าหยาและ “ถ้าคนภูเก็ตสามารถปักรองเท้าได้เองจะเป็ นการ รองเท้าปักของ ส่งเสริมอาชีพ เน่ืองจากปัจจุบนั ยงั ต้องไปซือ้ มาจาก โ ด ย พัฒ น า รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร ส ต รี อํ า เ ภ อ มะละกาและเมืองปี นงั ค่ลู ะประมาณ 6-7 พนั บาทต่อ แ ต่ ง ก า ย ใ ห้ เ ข้ า กับ ส ภ า พ เมือง จังหวัด คู่ คิดว่าควรจะมีการเปิ ดหาผู้เช่ียวชาญมาสอนใน อากาศ วัสดุและเทคนิคที่ ภเู ก็ต เร่ืองของการปักรองเท้า จะเป็นการสบื ทอดเจตนาของ ตนเองมีความถนัด ดังนัน้ บรรพชน และเป็ นอาชีพให้ กับคนในชุมชนและ รู ปแบบการแต่งกายจึงได้ รั บ สามารถลดดุลการค้า” (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. การถ่ายทอดมาโดยตรง จาก สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) ปี นงั และมะละกา มายงั ภเู ก็ต “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเดน็ นีไ้ ด้” (สมหมาย ป่ิ น ดงั ท่ี ปิ ยะนนั ท์(2553) ได้กลา่ ว พทุ ธศลิ ป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ว่า ลวดลายท่ีปรากฏในการ “รู้สกึ ดีใจที่มีการอนรุ ักษ์เอาไว้ ถ้าเป็ นคนมีฐานะดีจะ แตง่ กายและเคร่ืองประดบั ของ อนุรักษ์ ได้ ดีกว่าชาวบ้ านธรรมดาเพราะราคาแพง” ช า ว บ า บ๋ า ใ น เ ข ต เ มื อ ง เ ก่ า (ไชยยทุ ธ ปิ่ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต พบว่า รูปแบบของการแต่ง “รู้สกึ ดีใจมากเพราะว่าทกุ ๆ คนตอนนีไ้ ด้ช่วยกนั และ กายนัน้ ได้รับอิทธิพลมาจาก ได้อนุรักษ์ ถ้ามีการแต่งกันเยอะๆ จะสวยมาก และ รู ป แ บ บ ก า ร แ ต่ ง ก า ย ช า ว จี น เป็ นเอกลกั ษณะของคนภเู ก็ต” (จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช. ตัง้ แต่ราชวงศ์หมิงของจีน สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) ผสานกับรูปแบบการแต่งกาย ท้ องถิ่นของมาเลเซีย โดย “ส่วนใหญ่การแต่งกายต่างๆ ที่ไม่เหมือนชุดดัง้ เดิม พัฒ น า รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร แ ต่ ง เพราะเกิดจากการเปล่ียนแปลง เพราะสังคม ชีวิต กายให้ เข้ ากับสภาพอากาศ ความเป็ นอยู่ที่เปล่ียนไป ควรท่ีจะอนุรักษ์ ไว้ ” วัสดุ และเทคนิคท่ีตนเองมี (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 19 กนั ยายน 2556) ความถนดั สามารถนําเข้าวสั ดุ และผลิตได้ ภายในท้ องถ่ิน ดังนัน้ รูปแบบการแต่งกายจึง ได้ รับการถ่ายทอดมาโดยตรง จากปี นังและมะละกามายัง ภเู กต็

135 จากตารางท่ี 4.15 ความคดิ เห็นด้านวฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของ สตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต จากการศกึ ษาสรุปได้วา่ การแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักเป็ น การแต่งกายที่สวยงาม มีคุณค่าทางวัฒนธรรมที่น่าหวงแหน ควรค่าท่ีจะรักษาไว้ ถ้าในด้าน ลกั ษณะความสวยงามมีความสวยงามมากสวมใสแ่ ล้วดภู าคภมู ิ แต่ถ้าใช้ในวิถีชีวิตในปัจจบุ นั ถือ ว่าไม่เหมาะสมเพราะเสือ้ ย่าหยาเป็ นเสือ้ ที่คอ่ นข้างบางทํางานหนกั ไม่ได้ชดุ อาจจะฉีกขาดได้ง่าย จึงไม่เหมาะกับการทํางานที่เร่งรีบในปัจจุบนั ถ้าเป็ นเสือ้ ย่าหยาชัน้ ดีต้องนําเข้าจากปี นังราคา คอ่ นข้างแพงจึงต้องประยกุ ต์ให้เข้ากบั วฒั นธรรมท้องถ่ินและวสั ดทุ ่ีมีอยใู่ นท้องถิ่น สว่ นรองเท้าปัก มีลกั ษณะสวยงามตามรูปแบบของรองเท้าแต่มีราคาสงู เพราะรองเท้าปักเป็ นงานฝี มือ แต้ถ้าแต่ง ในโอกาสพิเศษต่างๆจะเหมาะสมท่ีสดุ เพราะจะเป็ นการแสดงความเป็ นเอกลกั ษณ์ของการแต่ง กายได้เป็ นอยา่ งดี ตารางท่ี 4.16 วิเคราะห์ข้อมูลจุดเด่นของวัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้า ปักของสตรี อาํ เภอเมืองในจังหวัดภเู ก็ต ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “จดุ เด่นของชดุ คือ สีสนั ที่สดใสสวยงาม เป็ นผ้าป่ าน ลวดลาย ภาพถ่าย และ จุ ด เ ด่ น ข อ ง ของการปักจะเน้นถงึ ความหมายของลวดลายให้ไปในทางโชคดี วัฒ น ธ ร ร ม ความเป็ นมงคล เช่น ลายนกยูง ผีเสือ้ ปลา ดอกเบญจมาศ งานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง การแต่งกาย ดอกไม้ สิ่งเหล่านี ้ คือ เครื่องหมายของความโชคดี แม้แต่ ชุ ด ย่ า ห ย า รองเท้าปักท่ีได้พิจารณาหรือที่ได้พบเจอมา เจ้าของรองเท้าเกิด สาวิตร (2551) กล่าว และรองเท้ า ปี อะไร ก็จะปักรองเท้าเป็ นลายปี นัน้ เช่น เกิดปี กระต่าย ก็ปัก ว่า ภูมิปัญญาไทยใน ปั กของสตรี ลายกระตา่ ย” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) ด้านการเยบ็ ปักถกั ร้อย อําเภอเมือง นนั้ บรรพบุรุษชาวไทย ใ น จั ง ห วั ด “วฒั นธรรมการแต่งกายของคนภเู ก็ตเม่ือไปท่ีไหนก็จะมีคนมอง ได้ประสานสมั พนั ธ์กนั ภเู กต็ เพราะเห็นว่าชุดสวยเป็ นเอกลกั ษณ์อย่างหนึ่ง ส่วนการตดั เย็บ มายาวนาน เทคนิค เสือ้ จะตัดเย็บเข้ารูปพอดีตัว สวมกับผ้าปาเต๊ะ มองแล้วรู้ได้ วิธีการที่สําคัญท่ีนิยม ทันทีเพราะจังหวัดอ่ืนมักจะไม่เหมือนเรา ส่วนจุดเด่นของ นํามาถงึ ในปัจจบุ นั คือ รองเท้าจะปักด้วยลกู ปัด ดิน้ เงิน ดิน้ ทอง มองแล้วสวยงามเป็ น การเย็บ ปัก ถัก ร้ อย งานฝี มือ”(ยนิ ดี มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) ซึ่ ง ส ต รี ช า ว ไ ท ย ใ น ภาคใต้ โดยเฉพาะ ภูเก็ตได้ มีการนําเสือ้ ย่าหยามาปักลกู ปัดลง บนเนือ้ ผ้ า ทําให้ ชุด เรียบๆตวั เดมิ กลาย