Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี

วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี

Description: วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี.

Search

Read the Text Version

36 สายไหม ระหว่างจีนกับยโุ รป ทําให้ผ้าของจีนได้รับความนิยมเป็ นอย่างมากในสงั คมตะวนั ตกใน สมยั โบราณ 2.3.5.4 การผลิตและการจดั หาส่ิงทอผ้า การผลิตผ้าเป็ นเรื่องสําคญั อย่างยิ่งใน การแตง่ กาย การจดั หาส่งิ ทอและผ้าใหม่ๆ จากต่างประเทศ ก็ทําให้การแตง่ กายเปลี่ยนแปลงไปได้ เพื่อความเหมาะสมกบั เนือ้ ผ้า กบั ประเพณี เป็ นต้น 2.3.5.5 เทคโนโลยีทําให้ เพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของการผลิตผ้ า นอกจากนนั้ ยงั สง่ ผลกระทบทางด้านตา่ งๆ เช่น การขนสง่ การส่อื สาร และการผลติ สนิ ค้าบริโภค ซงึ่ ไปกระทบการแต่งกายอีกทอดหน่ึง ตวั อย่าง เช่น ระบบการส่ือสาร ทําให้ชาวเขาสามารถเลือกซือ้ เสอื ้ ผ้าตามลกั ษณะท่ีทนั สมยั มาใส่ แทนที่จะใสเ่ คร่ืองแตง่ กายแบบดงั้ เดมิ 2.3.5.6 วฒั นธรรม ประเด็นต่างๆท่ีกล่าวมาข้างต้นนนั้ ตา่ งก็สง่ ผลกระทบตอ่ การ แต่งกาย และวฒั นธรรมก็เป็ นประเด็นหนงึ่ ท่ีส่งผลโดยตรงตอ่ การแตง่ กายของกล่มุ ชนกล่มุ ใดกล่มุ หนึ่ง อาทิ กระแสวฒั นธรรมตะวนั ตกมีอิทธิพลต่อประเทศต่างๆ แทบทุกประเทศทว่ั โลก การแต่ง กายของคนทว่ั โลก เพราะฉะนนั้ การแตง่ กายก็มีความคล้ายคลงึ กนั สรุป ปัจจยั ที่สง่ ผลต่อการเปล่ียนแปลงของการแต่งกายมีอย่หู ลายประเด็น ทงั้ ใน เรื่องของการเมือง การออกกฎหมายห้ามไม่ให้สวมใสเ่ ครื่องแตง่ กายบางอย่าง หรือบญั ญตั ิควบคมุ อตุ สาหกรรม ที่เก่ียวข้องกบั เคร่ืองน่งุ ห่ม นอกจากนนั้ ความขดั แย้งทางการเมืองอาจเป็ นประเด็นที่ ส่งผลต่อการแต่งกายได้เช่นกนั หรือเหตกุ ารณ์ทางเศรษฐกิจก็สามารถเปลี่ยนแปลงลกั ษณะการ แต่งกายได้ นอกจากนีก้ ารผลิตและการจัดหาสิ่งทอผ้าเป็ นเรื่องสําคญั อย่างย่ิงในการแต่งกาย เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกบั สภาพความเป็ นอยู่ สว่ นเทคโนโลยีที่ใช้ก็เป็ นเร่ืองท่ีสําคญั เพราะช่วย เพ่ิมประสทิ ธิภาพและคณุ ภาพของการผลิตได้อีกประเดน็ หนึ่งท่ีสําคญั คือ วฒั นธรรม เป็ นประเด็น หนง่ึ ที่สง่ ผลโดยตรงตอ่ การแตง่ กายของกลมุ่ ชนแทบจะทกุ ประเทศทวั่ โลก เพราะฉะนนั้ การแตง่ กาย ก็จะมีความคล้ายคลงึ กนั 2.3.6 การแต่งกายของชาวไทยเชือ้ สายจนี ในจงั หวัดภเู ก็ต คณะกรรมการฝ่ ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ (2544) กล่าวว่า ลกั ษณะ การแต่งกายของชาวภูเก็ต ตามที่ได้พบเห็นเป็ นการแต่งกายที่ได้รับอิทธิพลจากส่วนกลาง โดยเฉพาะในสมัยจอมพล ป พิบูลสงคราม ซึ่งเป็ นสมัยที่พัฒนาเข้าสู่ระบบใหม่ คือผู้ชายสวม เสือ้ เชิต้ ผูกผ้าผูกคอ สวมกางเกงแบบฝรั่ง ส่วนผู้หญิงใส่กระโปรงและสวมเสือ้ ที่เหมาะสมกับ กระโปรง แต่ในอดีตนนั้ ชาวภูเก็ตมีวฒั นธรรมการแต่งกายหลายแบบด้วยกนั ได้แก่ ชาวภูเก็ตที่มี เชือ้ สายมลายกู ็จะแต่งกายตามแบบมลายู ชาวจีนจะแต่งกายแบบจีน ชาวฝรั่งต่างชาติก็จะแต่ง

37 กายตามวฒั นธรรมของเขา สําหรับชาวไทยก็จะแต่งกายแบบไทย สําหรับชดุ ประจําจงั หวดั ภูเก็ต ผู้หญิงนัน้ จะใช้เสือ้ ลกู ไม้ท่ีเรียกว่าชุด ย่าหยา นุ่งผ้าปาเต๊ะ เราจะได้เห็นน้อยมาก เนื่องจากชาว ภเู ก็ตได้รับวฒั นธรรมต่างชาติมากขึน้ จะเห็นชุดนีไ้ ด้จากชนพืน้ เมืองเดิมของจงั หวดั ภูเก็ต ซ่ึงจะ สวมใส่ชุดนีต้ อนท่ีมีประเพณีหรือวัฒนธรรมต่างๆ เช่น ประเพณีกินผัก ตรุษจีน เดือนสิบ ไหว้ พระจนั ทร์ การแตง่ งาน การบวชนาค เป็ นต้น ไชยยทุ ธ์ (2545) ได้กล่าวว่า จงั หวดั ภูเก็ตเป็ นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สําคญั จึงเป็ นส่ิงจูงใจให้คนในภมู ิภาคต่างๆ อพยพเข้ามาตงั้ ถ่ินฐานในดินแดนนีเ้ ป็ นจํานวนมาก แต่ละ พวกแต่ละกลุ่มต่างมีขนบธรรมเนียมประเพณีของตนเอง ดังนัน้ จึงกลายเป็ นพหุสังคม ที่มี วฒั นธรรมผสมผสานในหลายรูปแบบ ทําให้วฒั นธรรมและการดําเนินชีวติ ของคนในสงั คม สามารถ อยรู่ ่วมกนั อยา่ งสงบสขุ ไมม่ ีปัญหา จงึ ทําให้เกิดวฒั นธรรมที่แตกตา่ งกนั ออกไปตามลกั ษณะพนื ้ ฐาน ดงั้ เดิมของชนกล่มุ นนั้ เช่น กล่มุ ชาวจีนที่อาศยั อย่ใู นจงั หวดั ภเู ก็ตจะมีวิถีชีวิตแบบคนจีน มีภาษา พดู ประเพณีและวฒั นธรรมที่เป็ นเอกลกั ษณ์ตามแบบฉบบั ของตน สาวิตร (2551) กลา่ ววา่ กลมุ่ ชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ตกลมุ่ แรกนนั้ เป็ นจีนโพ้นทะเล ซงึ่ อพยพมาจากประเทศที่มีภยั ธรรมชาตแิ ละสงครามกลางเมืองในจีน (ราวปลายศตวรรษที่ 18 ต้น ศตวรรษที่ 19) ชาวจีนที่เข้ามาทางภาคใต้ฝ่ังตะวนั ตก เป็ นกลมุ่ ชาวจีนฮกเกีย้ นจากเมืองเอ้หมงึ มา เป็ นกลุ เี หมือง บ้างก็ประกอบอาชีพประมง และเน่ืองจากชาวจีนเหลา่ นีส้ ว่ นใหญ่ไม่ได้นําครอบครัว มาด้วย เม่ือมีที่อยทู่ ี่มนั่ คงขนึ ้ สว่ นหน่งึ รับครอบครัวมาจากเมืองจีนตงั้ ถิ่นฐานอยา่ งถาวรในจงั หวดั ภเู ก็ต ผ้หู ญิงในระยะนีจ้ ะแตง่ กายเหมือนเดิม คือ ป้ ายข้าง กระดมุ ขดั ทําด้วยผ้า (กระดมุ ป้ อหลิว) สวมกําไลหยก มีบางคนท่ีเคร่งครัดตอ่ ประเพณีจีนมากก็จะผกู เท้าให้เลก็ ชาวภเู ก็ตเรียกวา่ “ตนี ตกุ ” เจ้าสาวยงั คลมุ หน้าแบบจีนโบราณ แตถ่ ้าเป็ นหญิงสาวชาวภเู ก็ตท่ีแตง่ งานกบั ชาวจีนไมน่ ิยมผกู เท้า แตจ่ ะนิยมสวมรองเท้าแตะปักด้วยดนิ ้ หรือลกู ปัด ขณะท่ี ฤดี (2553) กลา่ วว่า การเข้ามาของชาวจีนจํานวนมากตงั้ แตส่ มยั รัชกาลที่ 3 จนถึงรัชกาลที่ 5 ทําให้เกิดการผสมผสานระหว่างวฒั นธรรมไทยจากฝ่ ายแม่และวฒั นธรรมจีน จากฝ่ ายพอ่ ทําให้เกิดเป็ นประเพณีและวฒั นธรรมใหม่ขนึ ้ มา แตกตา่ งไปจากชาวบาบา๋ ในปี นงั และ สงิ คโปร์ จนกลายเป็ นเอกลกั ษณ์ประจําถ่ินของจงั หวดั ภเู ก็ต เช่น อาคารบ้านเรือน อาหาร การแตง่ กายของภเู ก็ต ซ่ึงวฒั นธรรมการแต่งกายของสตรีจงั หวดั ภเู ก็ต คือ การแต่งกายชดุ ย่าหยา และท่ี ขาดไมไ่ ด้ในการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาก็คือ รองเท้าปัก ซงึ่ เป็ นรองเท้าสวยงามของกลมุ่ ที่เรียกตวั เองว่า พวกบาบา๋ ผ้หู ญิงเมื่อเข้าสวู่ ยั รุ่นจะได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการเย็บปัก เช่น รองเท้า การฉลผุ ้า คตั เวิร์ค การปักลูกปัด ฯลฯ จากยาย แม่ พ่ี ป้ า น้า อา ซึ่งเป็ นสมาชิกในบ้านเพ่ือเตรียมตวั เป็ น

38 เจ้าสาวในอนาคต ปิ ยะนนั ท์ (2553) ได้กล่าวเอาไว้ว่า วิวฒั นาการของเครื่องแต่งกายของสตรีชาว บาบา๋ เร่ิมจากชดุ ครุย ภาษามลายเู รียกว่า บาจู บนั จงั (Baju Panjang) เป็ นเสือ้ ครุยยาวคร่ึงน่อง แขนยาว ทําด้วยผ้าป่ านรูเปี ย ผ้าฝ้ ายหรือผ้าตว่ นสีสนั สวยงาม สวมทบั เสือ้ คอตงั้ แขนจีบสีขาว ติด กระดมุ ทอง (กิมต้นู ) 5 เม็ด น่งุ โสร่งปาเต๊ะ ซง่ึ เป็ นเครื่องแตง่ กายในโอกาสพิเศษ ตอ่ มาเปลี่ยนเป็ น เสือ้ ผ้าลูกไม้สนั้ ประมานสะโพก ไม่มีเสือ้ ตวั ในเรียกว่า (ปั่วตึงเต้) มลายูเรียกว่า (เคมายา) แล้ว เปล่ียนมาเป็ นผ้าลายฉลทุ รงรัดรูปแทนผ้าลกู ไม้ นอกจากนนั้ ดอกแก้ว (2557: ออนไลน์) กลา่ วว่า การแตง่ กายของผ้หู ญิงบาบา๋ ใน ภเู ก็ตนนั้ มีวิวฒั นาการการแตง่ กายดงั นี ้ในสมยั เร่ิมแรก ผ้หู ญิงบาบา๋ นิยมแตง่ กายด้วยชดุ ครุย เสือ้ ครุย มาเลเซียเรียกวา่ บาจู บนั จงั (Baju panjang) เป็ นเสือ้ คลมุ มยาวคร่ึงน่อง ทําด้วยผ้าป่ านรูเปี ย ผ้าฝ้ าย หรือผ้าตว่ นน่ิมๆมีสสี นั ที่หลากหลาย สวมทบั เสือ้ สนั คอตงั้ สขี าว แขนยาว ตวั เสือ้ มีกระดมุ 5 เม็ด และกระดมุ ปลายแขน 2 เม็ด ทําด้วยทองเรียกว่ากระดมุ กิมต้นู น่งุ โสร่งปาเต๊ะ เคร่ืองแตง่ กาย ชดุ นีน้ ิยมแต่งในโอกาสพิเศษตา่ งๆ ทรงผมนิยมทําผมแบบเกล้ามวยสงู หรือเรียกว่า เกล้ามวยชกั อี โบย คือ ดงึ ผมด้านหน้าตงึ เรียบ ด้านข้างโป่ งออก 2 ข้าง เรียกวา่ อีเปง ประดบั ด้วยดอกไม้ไหว ปัก ด้วยปิ่ นปักผมทองคาํ หรือนากปน ในสมยั ต่อมา ผ้หู ญิงบาบา๋ เปล่ียนแปลงเสือ้ เป็ นเสือ้ แบบ ยอย่า มาเลเซียเรียกว่า เคบายา (Kabaya) หรือที่นิยมเรียกกนั อีกช่ือหน่ึงวา่ ปั่นตงึ่ เต้ เป็ นเสือ้ สนั้ ยาวประมาณ สะโพก ไม่ เข้ารูปจนเกินไป สวมชนั้ เดียว ไม่มีเสือ้ ตวั ในเหมือนชดุ ครุย เสือ้ แบบนีใ้ นระยะแรกนิยมใช้ผ้าลกู ไม้ ตอ่ ชายเสือ้ และปลายแขน (Kabaya Ranya) ระยะต่อมาใช้ลายฉลชุ ายเสือ้ และปลายแขนแทน ผ้าลกู ไม้ (Kabaya Buki) และนิยมฉลมุ ากขนึ ้ ไมเ่ ฉพาะท่ีชายเสือ้ และริมปลายแขน เสือ้ จะตดั เข้ารูป มากขนึ ้ เครื่องประดบั ในระยะแรกยงั คงนิยมใช้เข็มกลดั ชุดท่ีเรียกว่า กอสงั ต่อมาจึงมี วิวฒั นาการเป็ นเข็มกลดั ชุดแบบต่างๆ ที่มีขนาดเล็กว่าชุดกอสงั เป็ นรูปดอกไม้ใบไม้และรูปสตั ว์ ตา่ งๆ สวมกําไลข้อเท้า สวมรองเท้าแตะลกู ปัด สรุป ชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ตกลมุ่ แรกนนั้ เป็ นจีนโพ้นทะเล คือ กลมุ่ ชาวจีนฮกเกีย้ น จากเมืองเอ้หมึง เข้ามาประกอบอาชีพกุลีเหมือง บ้างก็ประกอบอาชีพประมง ชาวจีนเหล่านีส้ ่วน ใหญ่ไม่ได้นําครอบครัวมาด้วย เม่ือมีที่อย่ทู ่ีมนั่ คงขึน้ ส่วนหน่ึงไปรับครอบครัวมาจากเมืองจีนเพ่ือ มาตงั้ ถิ่นฐานอย่างถาวรในจังหวัดภูเก็ต บ้างก็มาแต่งงานกับชาวพืน้ เมืองภูเก็ต ทําให้เกิดการ ผสมผสานระหว่างวฒั นธรรมไทยจากฝ่ ายแม่และวฒั นธรรมจีนจากฝ่ ายพ่อ เกิดเป็ นประเพณีและ

39 วฒั นธรรมใหมข่ นึ ้ มาที่แตกตา่ งไปจากชาวจีนในปี นงั และสงิ คโปร์ จงึ กลายเป็ นเอกลกั ษณ์ประจําถ่ิน ของจงั หวดั ภูเก็ต ซ่ึงวฒั นธรรมการแต่งกายของสตรีจงั หวดั ภเู ก็ต คือ การแต่งกายชุดย่าหยาเป็ น เสือ้ ครุยยาวคร่ึงน่อง แขนยาว สวมทบั กบั เสือ้ คอตงั้ แขนจีบสขี าว ตดิ กระดมุ ทอง (กิมต้นู ) 5 เม็ด น่งุ กบั โสร่งปาเต๊ะ ซ่ึงเป็ นเคร่ืองแต่งกายในโอกาสพิเศษ ต่อมาเปล่ียนเป็ นเสือ้ ผ้าลกู ไม้สนั้ ประมาน สะโพก ไม่มีเสือ้ ตวั ในเรียกว่า (ป่ัวตงึ เต้) มลายเู รียกว่า (เคมายา) ส่วนรองเท้าของชาวภเู ก็ตนนั้ จะ นิยมสวมรองเท้าแตะปักลายด้วยดนิ ้ หรือลกู ปัดสวยงาม 2.4 รูปแบบลวดลายของชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีจงั หวัดภเู ก็ต 2.4.1 รูปแบบการแต่งกายชุดย่าหยา การแต่งกายของคนภูเก็ตจะเป็ นการผสมผสานของหลายชนชาติออกมาอย่าง สวยงาม ซ่ึงปัจจุบันชาวภูเก็ตยังคงรักษาวัฒนธรรมการแต่งกายแบบเดิมไว้โดยปรับเปล่ียน รายละเอียดให้เหมาะสมกบั ยคุ สมยั โดยชดุ แตง่ กายท่ีนําเสนอจะเป็ นการแตง่ กายของคนภเู ก็ต เมื่อ สมยั ร้อยกว่าปี มาแล้ว ซง่ึ เป็ นการผสมผสานของหลายชนชาติออกมาอย่างสวยงาม ซง่ึ ชดุ ย่าหยา ถือว่าเป็ นการแต่งกายท่ีสวยงามที่ผสมผสานรูปแบบของจีนและมลายเู ข้าไว้ด้วยกนั อย่างงดงาม โดยผ้หู ญิงใสเ่ สอื ้ ฉลลุ ายดอกไม้ รอบคอ เอว และปลายแขน อย่างงดงาม น่งุ ซิ่น ปาเต๊ะ (อ้างถึงใน วรัญญา, 2555)ซง่ึ ชดุ ยา่ หยาหญิงประกอบด้วยเคร่ืองแตง่ กาย ดงั นี ้ 2.4.1.1 รูปแบบการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาในชีวิตประจําวนั การแตง่ กายชดุ ยา่ หย่าในชีวิตประจําวนั นนั้ สามารถแบง่ ออกเป็ น 2 สว่ น ได้แก่ เสือ้ และผ้าปาเต๊ะ โดย ปิ ยะนนั ท์ (2553) ได้กล่าวถึง รูปแบบของเสือ้ ท่ีใช้ในการแต่งกายชุด ยา่ หยาซงึ่ สามารถแบง่ ลกั ษณะของเสอื ้ ได้ ดงั นี ้ 1) เสือ้ คอตัง้ แขนจีบ มีลักษณะเป็ นเสือ้ คอตัง้ แขนยาวปลายแขนจีบ ส่วนใหญ่คนนิยมใส่เป็ นสีขาวแต่ก็มีสีอื่นๆ ด้วย และมีกระดมุ ด้านหน้า 5 เม็ด ท่ีคอเสือ้ 2 เม็ดท่ี ปลายแขนซ้ายและปลายแขนขวาอีกข้างละเม็ด ตวั เสือ้ จะมีเฉพาะรังดมุ เท่านนั้ เมื่อจะสวมจึงค่อย นํากระดมุ มาติด ส่วนใหญ่จะเป็ นกระดมุ ทองที่เรียกว่า กิมต้นู รูปแบบของเสือ้ ได้รับการพฒั นามา จากรูปแบบของก่ีเพ้า โดยผสานกับการรับรูปแบบเสือ้ และการตดั เย็บเสือ้ แบบตะวนั ตก ท่ีมาใน ลกั ษณะเสือ้ ผ้าสําเร็จรูป ซ่ึงพวกบาบ๋าได้นํารูปแบบทัง้ สองมาประยกุ ต์และเลือกใช้วสั ดุนําเข้าที่ ตวั เองชื่นชอบและเหมาะกบั สภาพอากาศ การสวมเสือ้ คอตงั้ แขนจีบ จะสวมเป็ นเสือ้ ตวั ในก่อนสวม เสอื ้ ครุยยาว ถ้าอยกู่ บั บ้านนิยมสวมเฉพาะเสือ้ ตวั ในกบั โสร่ง

40 ภาพท่ี 2.2 เสอื ้ คอตงั้ แขนจีบ ท่มี า: ฤดี (2553) ภาพท่ี 2.3 เสอื ้ คอตงั้ แขนจีบสีขาวลายดอกไม้ ท่มี า : บ้านชินประชา จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556) 2) เสือ้ ครุยคร่ึงท่อนหรือเสือ้ ครึ่งท่อน ในภาษาจีนฮกเกีย้ น เรียกว่า เสือ้ ปั่วตึ่งเต้ มีลกั ษณะคล้ายเสือ้ ครุยยาว แต่ขนาดความยาวของเสือ้ สนั้ ประมาณสะโพกบน เปลี่ยน

41 เฉพาะขนาดความยาวของเสือ้ เท่านนั้ ตอ่ มาได้พฒั นาเสือ้ ให้ใช้สอยสะดวกขนึ ้ โดยเปลี่ยนจากการ สวมเสือ้ สองชนั้ มาเป็ นเสือ้ ชนั้ เดียว ไม่มีเสือ้ ครุย ตวั เสือ้ ค่อนข้างหลวม มีทงั้ ชนิดท่ีเป็ นผ้าป่ านบาง และผ้าพิมพ์ดอกหนา ไม่เข้ารูปมากนกั มีหลายแบบ หรือที่เรียกกนั ว่า เสือ้ เคบายาหรือชุดย่าหยา ภาพท่ี 2.4 เสอื ้ ครุยครึ่งท่อนหรือเสอื ้ คร่ึงทอ่ น ท่มี า : ฤดี (2553) ภาพท่ี 2.5 เสอื ้ ครุยคร่ึงท่อนหรือเสอื ้ คร่ึงท่อน ท่มี า : บ้านชินประชา จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556)

42 3) เสอื ้ เคบายาลนิ ดา เป็ นเสือ้ ท่ีใช้ผ้าป่ านสตี า่ งๆ หรือผ้าหนาชนิดที่มีลาย ดอกไม้ ประดบั สาบเสือ้ ริมสะโพกและปลายแขนด้วยลกู ไม้จากยโุ รป ไม่มีกระดมุ ไมเ่ ข้ารูปมากนกั ใช้ชดุ เคร่ืองประดบั กอสงั หรือเครื่องประดบั ท่ีมีลกั ษณะเป็ นเข็มกลดั 3 ชิน้ เป็ นชดุ ต่างๆ เช่น ชุด ดอกไม้ ชดุ ใบไม้ชดุ แมลง ตดิ แทนกระดมุ ภาพท่ี 2.6 เสอื ้ เคบายาลนิ ดา ท่มี า : http://www.phuketneophoto.com/ 4) เสือ้ เคบายาบีกู เป็ นเสือ้ ที่ได้รับการพฒั นาทางด้านรูปแบบ มาจากเค บายาลินดา โดยยงั คงเป็ นเสือ้ ผ้าหนา ไม่มีกระดมุ ไม่เข้ารูปมากนกั ใช้ชดุ เคร่ืองประดบั กอสงั หรือ เครื่องประดบั ที่มีลกั ษณะเป็ นเขม็ กลดั 3 ชิน้ กลดั ตดิ เสือ้ แทนกระดมุ การประดบั ตกแตง่ ตวั เสือ้ โดย ใช้เทคโนโลยีท่ีมีความทนั สมยั ขึน้ ฉลลุ ายเล็กๆ ริมของสาบเสือ้ ด้านหน้าและรอบสะโพก คล้ายคตั เวิร์ค และการเยบ็ ริมชายผ้าด้วยจกั ร ซงึ่ ลายท่ีได้รับความนิยม คือ ลายหอยแครง ทําให้รูปแบบการ ตกแตง่ เสือ้ เปล่ียนไป

43 ภาพท่ี 2.7 เสือ้ เคบายาบกี ู ท่มี า : ฤดี (2553) 5) เสือ้ เคบายาซูแลม เป็ นเสือ้ ที่มีลกั ษณะคล้ายกบั เคบายาลินดาและเค บายาบีกู แตม่ ีลายฉลทุ ี่ประณีตงดงามกว่า โดยเน้นการฉลลุ ายด้วยสีสนั สวยงาม ทงั้ ด้านหน้าและ ด้านหลงั เสือ้ เสือ้ ยา่ หยาชนิดเคมายาบีกแู ละเคมายาซูแลมจะคอ่ นข้างเน้นทรวดทรงมากกว่าเคบา ยาลนิ ดา ภาพท่ี 2.8 เสือ้ เคบายาซแู ลม ท่มี า : บ้านชินประชา จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556)

44 ภาพท่ี 2.9 เสอื ้ เคบายาซแู ลม ท่มี า : http://www.phuketemagazine.com/ 6) เสือ้ ผ้าลูกไม้และเสือ้ ลูกไม้ต่อดอก เป็ นเสือ้ เข้ารูป เน้นทรวดทรง ลกั ษณะคอเสือ้ ที่นิยม คือ คอกลม คอสามเหล่ียม คอสี่เหลี่ยมไม่มีปก เป็ นเสือ้ เข้ารูปติดซิปหลงั หากสตรีสูงอายุไม่สะดวกท่ีใช้ซิปหลัง อาจติดกระดุมหน้า สําหรับแขนเสือ้ นิยมแขนสัน้ เหนือ ข้อศอกประมาณ 1 นิว้ หรือเลยข้อศอกลงไปประมาณครึ่งแขน เสือ้ ผ้าลกู ไม้กบั เสือ้ ลกู ไม้ตอ่ ดอกนนั้ ลกั ษณะรูปทรงทวั่ ไปคล้ายกนั ตา่ งกนั เฉพาะชนิดของผ้า เป็ นผ้าลกู ไม้ล้วนๆ ลายดอกไม้ ลายใบไม้ ลายเถา วิธีการเย็บค่อนข้างจะละเอียดกว่าผ้าลกู ไม้ทว่ั ไปๆ ตรงท่ีผ้ตู ดั พยายามนําลายดอกไม้มา ซ้อนกนั แล้วเย็บให้เป็ นเนือ้ เดียวกนั จนไมม่ ีตะเข็บ ความสวยงามท่ีเรียกวา่ ตอ่ ดอก คือ เสือ้ แตล่ ะตวั จะไม่มีรอยเย็บหรือลอยต่อเลย เสือ้ ทัง้ สองชนิดนีเ้ ป็ นเสือ้ ท่ีสตรีชาวภูเก็ตประยุกต์มาจากเสือ้ ย่าหยาทงั้ สามชนิด สําหรับชาวภูเก็ตแล้วเสือ้ ผ้าลกู ไม้ได้รับความนิยมมากกว่าเสือ้ ย่าหยา ทัง้ นี ้ เพราะเป็ นเสือ้ ท่ีหาได้ง่าย ราคาไม่แพง หาร้านตดั เย็บสะดวก จนกลายเป็ นเอกลกั ษณ์ที่เด่นชดั ใน การแตง่ กายที่บง่ บอกถงึ ความเป็ นชาวภเู ก็ตมากกวา่ เสือ้ ยา่ หยา

45 ภาพท่ี 2.10 เสอื ้ ผ้าลกู ไม้ตอ่ ดอก ท่มี า : ฤดี ภมู ิภถู าวร จงั หวดั ภเู ก็ต (23 สงิ หาคม 2556) สรุป ลกั ษณะการแต่งกายชุดย่าหย่าในชีวิตประจําวนั ของคนภูเก็ตใน สมยั ก่อนนนั้ จะมีลกั ษณะเสือ้ ดงั นี ้เสือ้ คอตงั้ แขนจีบเสือ้ ครุยคร่ึงท่อน เสือ้ เคบายาลินดา เสือ้ เคบา ยาบกี ู เสือ้ เคบายาซแู ลม และเสอื ้ ผ้าลกู ไม้หรือเสอื ้ ลกู ไม้ตอ่ ดอก ซง่ึ รูปแบบของเสือ้ ได้รับการพฒั นา มาจากรูปแบบของกี่เพ้า โดยผสานกบั การรับรูปแบบเสือ้ และการตดั เย็บเสือ้ แบบตะวนั ตกท่ีมาใน ลกั ษณะเสือ้ ผ้าสําเร็จรูป ซ่ึงพวกบาบ๋าได้นํารูปแบบทงั้ สองมาประยุกต์ และเลือกใช้วสั ดนุ ําเข้าท่ี ตวั เองชื่นชอบและเหมาะกบั สภาพอากาศ สําหรับชาวภเู ก็ตเสือ้ ผ้าลกู ไม้ได้รับความนิยมมากกว่า เสอื ้ ยา่ หยา เพราะเป็ นเสือ้ ท่ีหาได้ง่าย ราคาไมแ่ พง หาร้านตดั เยบ็ สะดวก จนกลายเป็ นเอกลกั ษณ์ท่ี เดน่ ชดั ในการแตง่ กายท่ีบง่ บอกถึงความเป็ นชาวภเู ก็ตมากกวา่ เสือ้ ยา่ หยา อีกส่วนหนึ่งที่สําคญั และเป็ นเอกลกั ษณ์ในการแต่งกายชุดย่าหยานนั่ คือ ผ้าปาเต๊ะ เป็ นคําท่ีใช้เรียกผ้าชนิดหนงึ่ ที่มีวิธีการทํา โดยใช้เทียนปิ ดสว่ นท่ีไม่ต้องการให้ติดสีและใช้ วิธีการแต้ม ระบายหรือย้อมในสว่ นท่ีต้องการให้ตดิ สี ผ้าปาเต๊ะบางชิน้ อาจผา่ นขนั้ ตอนการปิ ดเทียน แต้มสี ระบายสีและย้อมสีนบั เป็ นสิบๆ ครัง้ สว่ นผ้าปาเต๊ะอย่างง่าย อาจทําโดยการเขียนเทียนหรือ พิมพ์เทียน แล้วจึงนําไปย้อมสีที่ต้องการ (อ้างถึงใน ฤดี, 2553) ได้กล่าวถึงการแต่งกายของสตรี ภเู ก็ตในสมยั ก่อน นิยมซือ้ ผ้าปาเต๊ะจากเมืองไทรบรุ ี รัฐเกดาห์ ในประเทศมาเลเซียด้วยเหตผุ ลว่า

46 เป็ นผ้าปาเต๊ะชนิดดีสีสนั สวยงามและสีไม่ตก น่งุ ได้ทงั้ สองด้าน ราคาคอ่ นข้างแพง ผ้าปาเต๊ะชนิดดี ต้องน่ิมมือ มีกลน่ิ หอม ริมขอบผ้าเล็ก เนือ้ ดี ใช้สอยได้เป็ นเวลานานไม่ตํ่ากว่าผืนละ 50 ปี ปัจจบุ นั ราคาผ้าปาเต๊ะลดลง เน่ืองจากสามารถผลิตได้ในเมืองไทย ปัจจุบนั ชาวภูเก็ตโบราณยงั นิยมผ้า ปาเต๊ะเมืองไทรบรุ ีอยู่ แต่คนรุ่นหลงั นนั้ มกั ให้ความสําคญั กบั ราคาที่ย่อมเยามากกว่าความคงทน ภาพท่ี 2.11 ผ้าปาเต๊ะ ท่มี า : บ้านชินประชา จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556) ฤดี (2553) ยงั กลา่ วตอ่ ว่า ลวดลายผ้าปาเต๊ะที่ได้รับความนิยมอยา่ งมาก คือ ลายดอกไม้ ใบไม้ รูปนกและสตั ว์ตา่ งๆ ซงึ่ การเย็บผ้าปาเต๊ะให้สวยนนั้ จะไมเ่ ยบ็ ด้วยจกั รเย็บผ้า แตจ่ ะใช้วธิ ีการสอยด้วนมืออยา่ งละเอียด จนมองไม่เห็นรอยตอ่ การน่งุ ผ้าปาเต๊ะให้สวยงามถกู ต้อง นัน้ จะต้องรู้จักส่วนประกอบของผ้าถุง ซึ่งประกอบด้วยส่วนท้ายและส่วนพืน้ ส่วนท้ายของผ้า ปาเต๊ะแตล่ ะผืนจะเป็ นกรอบสี่เหลี่ยม มีลวดลายและสีแตกตา่ งจากสว่ นที่เป็ นพืน้ การน่งุ ผ้าปาเต๊ะ จะต้องน่งุ ให้ส่วนท่ีเป็ นท้ายอย่ทู ่ีสะโพกด้านซ้าย และเลือกเสือ้ ท่ีสวมให้เข้ากบั สีของผ้าปาเต๊ะ เช่น หากผ้าปาเต๊ะมีลวดลายหรือพืน้ เป็ นสีส้ม เสือ้ ต้องอยใู่ นโทนสีส้มด้วย เป็ นต้น การสวมผ้าปาเต๊ะใน ชีวิตประจําวนั นัน้ จะสวมเหมือนกับไปงานโอกาสพิเศษ ผ้าปาเต๊ะที่สวมอยู่กับบ้านนนั้ อาจจะมี ราคาท่ีไมส่ งู มาก หรืออาจจะเป็ นผ้าที่ใสม่ านานแล้ว สรุป การแต่งกายของสตรีภเู ก็ตในสมยั ก่อน นิยมซือ้ ผ้าปาเต๊ะจากเมือง ไทรบรุ ี รัฐเกดาห์ ในประเทศมาเลเซีย ด้วยเหตผุ ลว่าเป็ นผ้าปาเต๊ะชนิดดี สีสนั สวยงามและสีไม่ตก

47 น่งุ ได้ทงั้ สองด้าน และสามารถใช้สอยได้เป็ นเวลานาน ชาวภเู ก็ตโบราณยงั นิยมผ้าปาเต๊ะเมืองไทร บรุ ีอยู่ แตค่ นรุ่นหลงั นนั้ มกั ให้ความสําคญั กบั ราคาที่ยอ่ มเยา มากกว่าความคงทน สว่ นลวดลายผ้า ปาเต๊ะที่ได้รับความนิยมอยา่ งมาก คือ ลายดอกไม้ ใบไม้ รูปนก และสตั ว์ตา่ งๆ เป็ นต้น การสวมผ้า ปาเต๊ะในชีวิตประจําวนั นนั้ จะสวมเหมือนกับไปงานโอกาสพิเศษ ผ้าปาเต๊ะที่สวมอยู่กับบ้านนัน้ อาจจะมีราคาที่ไมส่ งู มาก หรืออาจจะเป็ นผ้าที่ใสม่ านานแล้ว 2.4.1.2 รูปแบบการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาในโอกาสพเิ ศษ การแต่งกายชุดย่าหย่าในโอกาสพิเศษนนั้ สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน ได้แก่ เสือ้ และผ้าปาเต๊ะ โดย ปิ ยะนนั ท์ (2553) ได้กล่าวถึง รูปแบบของเสือ้ ที่ใช้ในการแต่งกายชุด ยา่ หยา ซง่ึ สามารถแบง่ ลกั ษณะของเสอื ้ ได้ ดงั นี ้ 1) เสือ้ คอตัง้ แขนจีบ มีลกั ษณะเป็ นเสือ้ คอตัง้ แขนยาวปลายแขนจีบ ส่วนใหญ่คนนิยมใส่เป็ นสีขาวแต่ก็มีสีอื่นๆด้วย และมีกระดุมด้านหน้า 5 เม็ด ที่คอเสือ้ 2 เม็ด ที่ ปลายแขนซ้ายและปลายแขนขวาอีกข้างละเม็ด ตวั เสือ้ จะมีเฉพาะรังดมุ เท่านนั้ เมื่อจะสวมจึงคอ่ ย นํากระดมุ มาตดิ ส่วนใหญ่จะเป็ นกระดมุ ทอง ที่เรียกว่า กิมต้นู รูปแบบของเสือ้ ได้รับการพฒั นามา จากรูปแบบของก่ีเพ้า โดยผสานกบั การรับรูปแบบเสือ้ และการตดั เย็บเสือ้ แบบตะวนั ตก ท่ีมาใน ลกั ษณะเสือ้ ผ้าสําเร็จรูป ซ่ึงพวกบาบ๋าได้นํารูปแบบทงั้ สองมาประยุกต์และเลือกใช้วสั ดุนําเข้าท่ี ตวั เองชื่นชอบและเหมาะกบั สภาพอากาศ การสวมเสอื ้ คอตงั้ แขนจีบ จะสวมเป็ นเสือ้ ตวั ในก่อนสวม เสอื ้ ครุยยาว ถ้าอยกู่ บั บ้านนิยมสวมเฉพาะเสือ้ ตวั ในกบั ผ้าปาเต๊ะ ภาพท่ี 2.12 เสอื ้ คอตงั้ แขนจีบ ท่มี า : บ้านชินประชา จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556)

48 2) เสือ้ ครุยยาว มีลกั ษณะคล้ายชดุ ทนู ิคตดั หลวมๆ ตวั เสือ้ ยาวประมาณ น่องขา แขนยาว ตรงปลายแขนเรียวสอบ คอเป็ นรูปตวั วี ผ้าหนา ไมม่ ีกระดมุ ผ้าน่งุ จะเป็ นผ้าโสร่ง ปาเต๊ะ ตวั เสือ้ นิยมตดั ด้วยผ้าฝ้ าย หรือผ้ามสั ลินจากเยอรมนั ผ้าฝ้ ายพิมพ์ดอกหรือเขียนลายจาก อินโดนีเซีย ในสมยั เริ่มแรกนิยมผ้าหนา เขียนลายดอก สีท่ีนิยม ได้แก่ สีนํา้ ตาล สีอิฐ ตอ่ มาเร่ิมนิยม ผ้าป่ านบาง ปักเป็ นลวดลายดอกไม้เล็กๆ ใช้ชดุ เคร่ืองประดบั ชดุ กอสงั การสวมเสือ้ ครุยยาว นิยม สวมในโอกาสท่ีเป็ นพิธีการ งานพิธีสําคญั หรือแต่งเป็ นชุดเจ้าสาวในโอกาสแต่งงาน เมื่อสวมชุด ครุยจะต้องเกล้ามวยชกั อีโบย หรือท่ีเรียกว่า การเกล้ามวยสงู ประดบั ด้วยป่ิ นปักผม ล้อมรอบด้วย มาลยั ดอกมะลิหรือดอกพดุ ถ้าเป็ นเจ้าสาวจะประดบั มวยผมด้วย ฮว่ั ก๋วน หรือดอกไม้ไหว สีทอง หรือจําปาทอง และสวมเคร่ืองประดบั ครบชดุ ได้แก่ ชดุ กอสงั แหวน สร้อยทอง ปิ่ นตงั้ เป็ นต้น ภาพท่ี 2.13 เสือ้ ครุยยาว ท่มี า : บ้านชินประชา จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556) สรุป ลักษณะการแต่งกายชุดย่าหย่าในโอกาสพิเศษของคนภูเก็ตใน สมยั ก่อนนนั้ จะมีลกั ษณะการแตง่ กายดงั นี ้เสือ้ คอตงั้ แขนยาว ปลายแขนจีบ สว่ นใหญ่นิยมใสเ่ ป็ น สีขาวมีกระดมุ ด้านหน้า 5 เม็ด ที่คอเสือ้ 2 เม็ด ท่ีปลายแขนซ้ายและปลายแขนขวาอีกข้างละเม็ด ตวั เสือ้ จะมีเฉพาะรังดมุ เท่านนั้ เมื่อจะสวมจึงค่อยนํากระดมุ มาติด การสวมเสือ้ คอตงั้ แขนจีบจะ

49 สวมเป็ นเสือ้ ตวั ในก่อนสวมเสือ้ ครุยยาว ถ้าอย่กู บั บ้านนิยมสวมเฉพาะเสือ้ ตวั ในกบั ผ้าปาเต๊ะ เสือ้ ครุยยาวมีลกั ษณะตวั เสอื ้ ยาวประมาณน่องขา แขนยาว ตรงปลายแขนเรียวสอบ คอเป็ นรูปตวั วี ผ้า หนา ไม่มีกระดมุ การสวมเสือ้ ครุยยาว นิยมสวมในโอกาสที่เป็ นพิธีการ งานพิธีสําคญั หรือแตง่ เป็ น ชดุ เจ้าสาวในโอกาสแตง่ งาน อีกส่วนหน่ึงท่ีสําคญั และเป็ นเอกลกั ษณ์ในการแต่งกายชุดย่าหยานนั่ คือ ผ้าปาเต๊ะ ฤดี (2553) กล่าวว่า การน่งุ ผ้าปาเต๊ะให้สวยงามถกู ต้องนนั้ จะต้องรู้จกั สว่ นประกอบของ ผ้าถงุ ซง่ึ ประกอบด้วยส่วนท้ายและส่วนพืน้ สว่ นท้ายของผ้าปาเต๊ะแต่ละผืนจะเป็ นกรอบส่ีเหล่ียม มีลวดลายและสีแตกต่างจากส่วนที่เป็ นพืน้ การนุ่งผ้าปาเต๊ะ จะต้องนุ่งให้ส่วนที่เป็ นท้ายอยู่ท่ี สะโพกด้านซ้าย และเลือกเสือ้ ท่ีสวมให้เข้ากบั สีของผ้าปาเต๊ะ เช่น หากผ้าปาเต๊ะมีลวดลายหรือพืน้ เป็ นสีส้ม เสือ้ ต้องอยู่ในโทนสีส้มด้วย เป็ นต้น การสวมผ้าปาเต๊ะในโอกาสพิเศษนัน้ จะสวม เหมือนกนั กบั ในชีวติ ประจําวนั ผ้าปาเต๊ะที่สวมไปงานโอกาสพิเศษนนั้ จะเป็ นผ้าปาเต๊ะที่มีลกั ษณะ ท่ีใหมก่ วา่ หรือเป็ นผ้าปาเต๊ะชนั้ ดี ท่ีมีราคาแพงกวา่ การสวมอยกู่ บั บ้าน ภาพท่ี 2.14 ผ้าปาเต๊ะ ท่มี า : วนั ลาภ ปัญญาไวย จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556)

50 สรุป การสวมผ้ าปาเต๊ ะในโอกาสพิเศษนัน้ จะสวมเหมือนกับใน ชีวิตประจําวนั ผ้าปาเต๊ะที่สวมไปงานโอกาสพิเศษนนั้ จะเป็ นผ้าปาเต๊ะท่ีมีลกั ษณะท่ีใหม่กวา่ หรือ เป็ นผ้าปาเต๊ะชนั้ ดี ท่ีมีราคาแพงกวา่ การสวมอยกู่ บั บ้าน 2.4.2 รองเท้าปัก รองเท้าสวยงามของสาวชาวบาบา๋ นนั้ นิยมรองเท้าแตะที่ปักลวดลายด้วยดิน้ หรือ ลกู ปัด รองเท้าชนิดนีม้ ีทงั้ ชนิดห้มุ ด้านหน้า หรือเรียกว่า ปิ ดด้านหน้า และชนิดเปิ ดด้านหน้า ทงั้ สอง แบบเป็ นท่ีนิยม การผลติ รองเท้าลกู ปัดนีน้ ่าจะได้รับอิทธิพลมาจากยโุ รป ดงั ที่ ฤดี (2553) กลา่ ววา่ รองเท้าสวยงามของกล่มุ ที่เรียกตวั เองว่า พวกบาบ๋านนั้ ผู้สวมใส่ต้องตดั เย็บเองโดยการสืบทอด วฒั นธรรมจากรุ่นส่รู ุ่น ผ้หู ญิงบาบ๋าเมื่อย่างเข้าส่วู ยั รุ่นจะได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการเย็บปัก เคร่ืองใช้ เช่น รองเท้า การฉลผุ ้า คตั เวิร์ค การปักลกู ปัด การเย็บหมอน ปลอกหมอน ม่านหน้าตา่ ง จากยาย แม่ พ่ี ป้ า น้า อา ซ่ึงเป็ นสมาชิกในบ้านเพื่อเตรียมตวั ท่ีจะเป็ นเจ้าสาวในอนาคต ความรู้ เหลา่ นีเ้ป็ นสงิ่ จําเป็ นอยา่ งย่ิงสําหรับสาวๆ เพราะเป็ นคณุ สมบตั ทิ ่ีจะต้องมีติดตวั ก่อนที่จะออกเรือน รวมทัง้ สืบทอดสิ่งเหล่านีส้ ู่ลูกสาวของตนต่อไปในอนาคต น่าเสียดายเป็ นอย่างย่ิงท่ีวฒั นธรรม เหลา่ นีห้ มดไปจากสงั คมบาบา๋ ในภเู ก็ต ตงั้ แตป่ ระมาณ 50 ปี ลว่ งมาแล้ว รองเท้าในระยะแรกท่ีกลมุ่ ผู้หญิงจีนอพยพเข้ามาในภูเก็ตนนั้ เป็ นรองเท้าคู่เล็กๆ เพราะผู้หญิงเหล่านัน้ มดั เท้าให้เล็ก ด้วย คา่ นิยมทางวฒั นธรรมท่ีถือวา่ ผ้หู ญิงเท้าเลก็ เป็ นผ้หู ญิงสวย รองเท้าแบบนีน้ ิยมเย็บด้วยผ้าสีดาํ หรือ นํา้ เงินเข้ม ปักลายดอกไม้ ลายสตั ว์ ด้วยสีแดง มีสนที่ทําด้วยไม้ นอกจากนนั้ จรูญรัตน์ (2551)อ้าง ถงึ ใน สาวิตร (2551) ได้กลา่ วถึง ลกั ษณะรองเท้าที่ได้รับความนิยมหลงั จากประเพณีการมดั เท้าได้ หมดไปว่า หลงั จากประเพณีมดั เท้าหมดไป รองเท้าท่ีเป็ นท่ีนิยม คือ รองเท้าแตะ ลกั ษณะเป็ น รองเท้าส้นเตีย้ ลกั ษณะหวั รองเท้าคล้ายรองเท้าบลั เลต่ ์ของยโุ รป คือ ส่วนหวั มีลกั ษณะเป็ นรูปตวั ยู พืน้ ที่บริเวณสว่ นหวั ใช้ผ้าแพรปักลวดลายด้วยเส้นไหมสีตา่ งๆ ลวดลายท่ีปักมีทงั้ ดอกไม้ สตั ว์มงคล ปลา ค้างคาว ผีเสือ้ เป็ ด กวาง รองเท้าเหล่านีน้ ิยมสวมกบั ชดุ ครุย ในภาษามลายู เรียกว่า Kasut Kodok (รองเท้าคางคก) และววิ ฒั นาการมาเป็ นรองเท้าแตะ ชนิดท่ีส้นเตีย้ ๆ ปักด้วยเส้นโลหะสีเงิน สีทอง ในภาษามลายู เรียกว่า Kasut Seret (รองเท้าลาก) รองเท้าที่นิยมของสาวชาวบาบา๋ ใน ปัจจุบนั คือ รองเท้าแตะท่ีปักลวดลายด้วยลกู ปัด นิยมสวมกบั เสือ้ ปั่วตึ่งเต้ (เสือ้ เคมายาหรือชุด ยา่ หยา) รองเท้าชนิดนีใ้ ช้ลกู ปัดหลากสีปักลวดลายท่ีต้องการ รูปร่างของรองเท้าเหมือนกบั รองเท้า ท่ีปักด้วยเส้นไหม เพียงแตใ่ ช้ลกู ปัดปักแทนการปักด้วยเส้นด้ายเท้านนั้ ในภาษามลายเู รียกรองเท้า ชนิดนีว้ ่า Kasut Manik (Manik หมายถึง ลกู ปัด) รองเท้าชนิดนีม้ ีทงั้ ชนิดห้มุ ด้านหน้า หรือเรียกว่า

51 ปิ ดด้านหน้า และชนิดเปิ ดด้านหน้า ทัง้ สองแบบเป็ นท่ีนิยม การผลิตรองเท้าลกู ปัดนีน้ ่าจะได้รับ อิทธิพลมาจากยโุ รป สว่ นการปักรองเท้าด้วยเส้นไหมได้รับอิทธิพลมาจากจีน ภาพท่ี 2.15 รองเท้ากลีบบวั หรือรองเท้าคเู่ ลก็ รองเท้าของผ้หู ญิงที่โดนมดั เท้า ท่ีมา: ฤดี (2553) ภาพท่ี 2.16 รองเท้าปักดนิ้ ท่มี า : บ้านชินประชา จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556)

52 ภาพท่ี 2.17 รองเท้าปักดนิ ้ ท่มี า : บ้านชินประชา จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556) ภาพท่ี 2.18 รองเท้าปักดนิ ้ ท่มี า : บ้านชินประชา จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556)

53 ภาพท่ี 2.19 รองเท้าปักลกู ปัด ท่มี า : บ้านชินประชา จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556) ภาพท่ี 2.20 รองเท้าปักลกู ปัด ท่มี า : บ้านชินประชา จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556)

54 ภาพท่ี 2.21 รองเท้าปักลกู ปัด ท่มี า : บ้านชินประชา จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556) สรุป รองเท้าสวยงามของสาวชาวบาบ๋านนั้ ผู้สวมใส่ต้องตดั เย็บเอง โดยการสืบ ทอดวฒั นธรรมจากรุ่นส่รู ุ่น เม่ือย่างเข้าส่วู ยั รุ่นจะได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการเย็บปักเคร่ืองใช้ จากยาย แม่ พ่ี ป้ า น้า อา ซึ่งเป็ นสมาชิกในบ้าน เพื่อเตรียมตวั ที่จะเป็ นเจ้าสาวในอนาคต ส่วน รองเท้าท่ีได้รับความนิยมในหมหู่ ญิงสาวชาวบาบา๋ คือ รองเท้าแตะเป็ นรองเท้าส้นเตีย้ ลกั ษณะหวั รองเท้าคล้ายรองเท้าบลั เลต์ของยโุ รป คือ สว่ นหวั มีลกั ษณะเป็ นรูปตวั ยู พืน้ ที่บริเวณสว่ นหวั ใช้ผ้า แพรปักลวดลายด้วยเส้นไหมสีตา่ งๆ ลวดลายท่ีปักมีทงั้ ดอกไม้ สตั ว์มงคล ปลา ค้างคาว ผีเสือ้ เป็ ด กวาง รองเท้าเหล่านีน้ ิยมสวมกับชุดครุย รองเท้าชนิดนีม้ ีทัง้ ชนิดหุ้มด้านหน้า หรือเรียกว่าปิ ด ด้านหน้า และชนิดเปิ ดด้านหน้า ทัง้ สองแบบเป็ นที่นิยม การผลิตรองเท้าลูกปัดนี ้ น่าจะได้รับ อิทธิพลมาจากยโุ รป สว่ นการปักรองเท้าด้วยเส้นไหมได้รับอิทธิพลมาจากจีน 2.5 ลักษณะลวดลายของชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีจังหวดั ภเู กต็ ลวดลายที่ปรากฏบนชดุ การแตง่ กายของสตรีชาวบาบา๋ อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต นนั้ ได้รับ อิทธิ พลมาจากรู ปแบบการแต่งกายของชาวจีนผสมผสานกับรู ปแบบการแต่งกายท้ องถ่ินของ มาเลเซีย โดยพฒั นารูปแบบของการแต่งกายให้เข้ากับสภาพอากาศ วสั ดแุ ละเทคนิคท่ีตนเองมี

55 ความถนดั ดงั นนั้ รูปแบบการแตง่ กายจงึ ได้รับการถ่ายทอดมาโดยตรง จากปี นงั และมะละกา มายงั ภเู ก็ต ดงั ที่ ปิ ยะนนั ท์(2553) ได้กล่าวว่า ลวดลายที่ปรากฏในการแต่งกายและเคร่ืองประดบั ของ ชาวบาบ๋าในเขตเมืองเก่า อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต พบว่า รูปแบบของการแต่งกายนัน้ ได้รับ อิทธิพลมาจากรูปแบบการแตง่ กายชาวจีนตงั้ แตร่ าชวงศ์หมิงของจีน ผสานกบั รูปแบบการแตง่ กาย ท้องถ่ินของมาเลเซยี โดยพฒั นารูปแบบของการแตง่ กายให้เข้ากบั สภาพอากาศ วสั ดุ และเทคนิคท่ี ตนเองมีความถนดั สามารถนําเข้าวสั ดแุ ละผลติ ได้ภายในท้องถิ่น ซงึ่ ในพืน้ ที่ของภเู ก็ตนนั้ เป็ นพืน้ ที่ ของการค้า ดงั นนั้ รูปแบบการแต่งกายจึงได้รับการถ่ายทอดมาโดยตรงจากปี นงั และมะละกามายงั ภเู ก็ต ซงึ่ มีผ้ใู ห้ความหมายของลวดลายไว้ ดงั นี ้ 2.5.1 ลวดลายจากพนั ธ์ุพฤกษา ลวดลายจากพันธ์ุพฤกษาในชุดย่าหยา คือ ลวดลายต้นไม้หรือดอกไม้มงคลมี ความหมายท่ีแตกตา่ งกนั ดงั นี ้ 2.5.1.1 ไผ่ เป็ นลวดลายท่ีให้ความหมายถึง ความเข้มแข็งและยงั เป็ นการอวยพร พร้อมกนั ไปด้วย นอกจากนีไ้ ผ่ยงั เป็ นสญั ลกั ษณ์ท่ีหมายถึง คณุ ธรรมอนั เป็ นลกั ษณะของวิญ�ชู น เพราะว่าต้นไผ่นนั้ จะตงั้ ตรงไม่โค้งงอ ในคติทางวฒั นธรรมจีน จึงให้ความชื่นชมและยกย่องไผ่เป็ น อย่างสงู (อ้างถึงใน ปิ ยะนนั ท์, 2553) นอกจากนนั้ ศนู ย์บริการข้อมลู นกั ท่องเที่ยว จงั หวดั ภเู ก็ต ได้ กล่าวว่า ไผ่ หมายถึง ความทนทาน ความมน่ั คง ต้นไผ่เป็ นสุดยอดไม้มงคลของการอวยพร ซ่ึง หมายถงึ ความก้าวหน้า รุ่งเรืองอยา่ งมนั่ คงตลอดกาล ภาพท่ี 2.22 ภาพลายเส้นต้นไผ่ ท่มี า : http://www.bloggang.com/

56 ภาพท่ี 2.23 ภาพลายเส้นต้นไผ่ ท่มี า : http://www.bloggang.com/ 2.5.1.2 เหมย เป็ นลวดลายที่ให้ความหมายถึง ความงามสดใส บริสทุ ธิ์และยงั หมายถึงชีวิตใหม่ของวยั สาว ในวฒั นธรรมจีนมีความช่ืนชมมากเป็ นพิเศษ ดอกเหมยจึงถกู จดั เป็ น ดอกไม้อนั เป็ นสิริมงคล ความหมายที่ดีของดอกเหมย จึงทําให้เหมยกลายเป็ นสญั ลกั ษณ์ของฤดู ใบไม้ผลิและเป็ นสญั ลกั ษณ์ของความสขุ (อ้างถึงใน ปิ ยะนนั ท์, 2553) นอกจากนนั้ ศนู ย์บริการ ข้อมลู นกั ทอ่ งเท่ียว จงั หวดั ภเู ก็ต ได้กลา่ ววา่ ดอกเหมย หมายถึง ความช่ืนบาน มีโชคลาภ ภาพท่ี 2.24 ภาพลายเส้นดอกเหมย ท่มี า : http://www.ocanihao.com/

57 2.5.1.3 สน เป็ นลวดลายท่ีให้ความหมายถึง อายวุ ฒั นะ และการมีชีวิตที่เข้มแข็ง ยืนยาวเป็ นพืชสริ ิมงคล ที่เป็ นสญั ลกั ษณ์แห่งการมีอายยุ ืนยาว นอกจากนี ้สนยงั ได้รับฉายานามว่า “ราชาแห่งร้อยพฤกษา”อนั หมายความว่า สนนัน้ มีความสง่าเปรียบเหมือนหวั หน้าหรือราชาของ เหลา่ พืชพรรณ สน หมายถึง ความสง่างาม ความกล้าหาญ ทงั้ ยงั เป็ นสญั ลกั ษณ์ของความเข้มแข็ง ทางจิตใจ และได้ชยั ชนะในการตอ่ สู้ รวมถึงความมีอายมุ นั่ ขวญั ยืน (อ้างถึงใน ปิ ยะนนั ท์, 2553) 2.5.1.4 โบตนั๋ ความงามของดอกโบตนั๋ ได้รับสมญานามว่า“ราชนั ย์แห่งบปุ ผา” หรือ“ดอกไม้อนั ดบั หนึ่งแห่งแผ่นดิน”ด้วยสีสนั ที่สวยและความสง่าของดอกโบตนั๋ จึงกลายมาเป็ น สัญลักษณ์ของความสวยสง่า ดั่งกุลสตรีท่ีมากทัง้ ภูมิปัญญาและความสามารถ อีกทัง้ ยังเป็ น สญั ลกั ษณ์ของสงู ส่งความร่ํารวย และความโชคดี (อ้างถึงใน ปิ ยะนนั ท์, 2553) นอกจากนัน้ ศนู ย์บริการข้อมลู นกั ท่องเที่ยว จงั หวดั ภเู ก็ต ได้กล่าวว่า ดอกโบตนั๋ หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สงา่ งาม ความมงั่ คงั่ มีเกียรติ ความสงา่ งาม ภาพท่ี 2.25 ภาพลายเส้นดอกโบตนั๋ ท่มี า: http://lessisboy.blogspot.com/

58 2.5.1.5 ฝหู รง หรือดอกพดุ ตาน เป็ นลวดลายท่ีให้ความหมายถึง ความรํ่ารวย มง่ั คง่ั ในทรัพย์สิน และความรุ่งเรืองในหน้าท่ีการงาน จดุ เดน่ ของดอกฝหู รง คือ กล่ินหอมจรุงใจที่ตรา ตงึ ตอ่ ผ้ทู ่ีได้พบเห็นเป็ นครัง้ แรก (อ้างถงึ ใน ปิ ยะนนั ท์, 2553) ภาพท่ี 2.26 ฝหู รงหรือดอกพดุ ตาน ท่มี า : http://www.bloggang.com/ 2.5.1.6 ทับทิม เป็ นผลไม้ที่มีเมล็ดมาก จึงใช้เป็ นสญั ลกั ษณ์ในการอวยพรให้คู่ สมรสมีบุตรมาก ทับทิมเป็ นต้นไม้ที่ขจัดสิ่งช่ัวร้ ายได้ จึงนิยมปลูกไว้หน้ าบ้าน นอกจากนัน้ ศูนย์บริการข้อมูลนักท่องเท่ียว จังหวัดภูเก็ต ได้กล่าวว่าทับทิม หมายถึง ความมากมายอุดม สมบรู ณ์ ป้ องกนั สง่ิ ชวั่ ร้าย 2.5.2 ลวดลายจากสัตว์ คือ การนําสัตว์ศักดิ์สิทธ์ิ หรือสัตว์สิริมงคลมาเป็ นลายในชุดย่าหยา โดยมี ความหมาย ดงั นี ้ 2.5.2.1 หงส์ เป็ นหนึ่งในสตั ว์เทพนิยายเป็ นท่ีรู้จกั มากท่ีสดุ ของจีน หงส์เป็ นสตั ว์ที่ มีคณุ ลกั ษณะพิเศษเหนือธรรมชาติ ซงึ่ ตามตํานานหงส์จะปรากฏเมื่อแผ่นดินมีความสงบสขุ ด้วย เอกลกั ษณ์ของหงส์ที่มีทงั้ ความงามและความสง่า หงส์จึงถกู เปรียบเปรยให้เป็ นเสมือนผ้หู ญิงที่มี ความงดงาม นิยมนําหงส์อย่คู ่กู บั มงั กรเสมอ ดงั นนั้ หงส์จึงถกู นํามาใช้คล้ายสญั ลกั ษณ์สําคญั ใน

59 พิธีแตง่ งาน เปรียบหงส์เป็ นเจ้าสาวและมงั กรเป็ นเจ้าบา่ ว (อ้างถึงใน ปิ ยะนนั ท์, 2553) นอกจากนนั้ ศนู ย์บริการข้อมลู นกั ท่องเที่ยว จงั หวดั ภเู ก็ต ได้กลา่ ววา่ หงส์ หรือ นกฟี นิกซ์ หมายถึง ความงดงาม มีคณุ ธรรม หงส์ เป็ นสญั ลกั ษณ์ของจกั รพรรดนิ ีเปรียบได้กบั ความงามของสตรี และการเริ่มต้น หรือ การมีชีวติ ใหมท่ ี่ดี ภาพท่ี 2.27 ภาพลายเส้นหงส์ ท่มี า : ปิ ยะนนั ท์ (2553) ภาพท่ี 2.28 ลายหงส์ที่ปักบนเสอื ้ ครุยยาว ท่มี า : บ้านชินประชา จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556)

60 2.5.2.2 กิเลน เป็ นชื่อที่คนไทยมีความคุ้นเคย โดยมักเรียกตามลักษณะว่าม้า มงั กร ตามคตคิ วามเชื่อในวฒั นธรรมจีนจะให้การเคารพ กิเลนเสมือนหนง่ึ ในสตั ว์วิเศษอนั ศกั ดิ์สิทธ์ิ ความสําคญั ของกิเลน มาจากความเชื่อคล้ายกับหงส์ท่ีว่าเมื่อใดกิเลนปรากฏกาย เม่ือนัน้ จอม ปราชญ์ผ้ทู รงธรรมมาบงั เกิด ดงั นนั้ กิเลนจึงเป็ นสญั ลกั ษณ์ของคณุ ธรรม ความสภุ าพ ความดีงาม ความสมบูรณ์ของครอบครัว และลาภยศ ช่ือเสียงนานัปการ (อ้างถึงใน ปิ ยะนันท์, 2553) นอกจากนนั้ ศนู ย์บริการข้อมลู นกั ท่องเที่ยว จงั หวดั ภเู ก็ต ได้กลา่ ววา่ กิเลน หมายถงึ วาสนา ความ จงรักภกั ดี กิเลนเป็ นสญั ลกั ษณ์ของความมีวาสนา ความมนั่ คง และป้ องกนั สิ่งอปั มงคล กิเลน เป็ น สตั ว์มงคลตามตาํ นาน บางครัง้ ชาวจีนเรียกวา่ \"ม้ามงั กร\" เหมือนเรื่องพระอภยั มณีของคนไทย และ กิเลนปรากฏขนึ ้ ที่ไหน หมายถึง กําลงั จะมีเร่ืองมงคลเกิดขนึ ้ หรือจะมีแตโ่ ชคดี ไมม่ ีเร่ืองร้าย และยงั เชื่อกนั ว่า การจดั ตงั้ กิเลนไว้จะช่วยกรองและขจดั ส่ิงอปั มงคลตา่ งๆให้พ้นไป แตจ่ ะนําเอาความโชค ดี ขา่ วดมี าให้ ภาพท่ี 2.29 ภาพลวดลายเส้นกิเลน ท่มี า : ปิ ยะนนั ท์ (2553) 2.5.2.3 เต่า เป็ นสญั ลกั ษณ์สตั ว์มงคลในฐานะที่เป็ นสตั ว์ท่ีมีอายยุ ืนยาวมากกว่า สตั ว์ใดๆ ทําให้ภาพของเตา่ เป็ นตวั แทนของความท่ีมีอายยุ ืนยาว แข็งแรงและเข้มแขง็ อดทน (อ้างถึง ใน ปิ ยะนนั ท์, 2553) เต่า เป็ นสญั ลกั ษณ์ของความแข็งแกร่ง อายุยืน สขุ ภาพดี ตงั้ ใจ มมุ านะ นําไปส่คู วามก้าวหน้าความสําเร็จ อย่างมนั่ คง ยืนยาว และรวมถึงความเพ่ิมพนู ด้านทรัพย์สินเงิน ทอง และป้ องกนั ค้มุ ภยั จากสง่ิ ชว่ั ร้าย

61 2.5.2.4 สงิ ห์หรือสงิ โต เป็ นสตั ว์สญั ลกั ษณ์มงคลชาวจีน นิยมใช้สิงห์หรือสงิ โตเป็ น สญั ลกั ษณ์แหง่ อํานาจบารมี และใช้ในความหมายของการค้มุ ครองปกป้ อง ตลอดจนขวางกนั้ สิ่งชว่ั ร้ายไมใ่ ห้เข้ามากลํา้ กราย (อ้างถงึ ใน ปิ ยะนนั ท์, 2553) นอกจากนนั้ ศนู ย์บริการข้อมลู นกั ท่องเที่ยว จงั หวดั ภูเก็ต ได้กล่าวว่าสิงห์ หรือ สิงโต หมายถึง อํานาจบารมีการขจดั สิ่งชวั่ ร้าย สิงห์ เป็ นสตั ว์ มงคลที่มีอํานาจในภาคพืน้ ดนิ ให้คณุ ทางด้านแคล้วคลาดจากภยนั ตรายทงั้ ปวง บางตํานานเลา่ วา่ สงิ ห์ไมใ่ ชส่ ตั ว์พืน้ บ้านของจีน แตม่ ีในถ่ินแอฟริกา มีนกั เดนิ ทางชาวจีนไปเห็น แตไ่ มส่ ามารถนํากลบั ประเทศได้ จึงจดจํากลบั มาสร้างภาพตามจินตนาการ มีความสง่างามกํายําล่ําสนั เสียงร้องก้อง กงั วาน ถือเป็ นเจ้าแห่งสตั ว์ป่ าทงั้ ปวง ชาวจีนเชื่อว่า สิงห์แสดงถึงอํานาจ น่าเกรงขาม เพราะสิงห์ เป็ นสตั ว์เทพมงคล โดยเฉพาะสิงห์สีเขียวเป็ นสตั ว์เทพพาหนะของ มญั ชศุ รีมหา-โพธิสตั ว์ (บ่งุ ช้ผู ่อ สกั ) ในพุทธมหายาน ดงั นนั้ สิงห์จึงเป็ นสญั ลกั ษณ์แห่งการปกป้ องค้มุ ภยั และมีอํานาจขจดั ภูตผี ปี ศาจ ให้กบั สถานที่นนั้ ๆอยา่ งยอดเย่ียม ภาพท่ี 2.30 ภาพลายเส้นสงิ ห์หรือสงิ โต ท่มี า : http://www.trueplookpanya.com/

62 ภาพท่ี 2.31 ภาพลวดลายลายสงิ ห์หรือสงิ โต ท่มี า : ปิ ยะนนั ท์ (2553) 2.5.2.5 นกกระเรียน ชาวจีนเชื่อว่านกกระเรียนเป็ นนกที่มีอายุยืน ดงั นัน้ ในคติ วฒั นธรรมจีน จงึ ให้นกกระเรียน หมายถึง การมีอายยุ ืนยาว ความสามคั คีและความสขุ อีกทงั้ คําว่า นกกระเรียน ในภาษาจีนออกเสยี งวา่ “เห้อ”พ้องเสียงกบั คําวา่ “เห้อ”ที่แปลวา่ อวยพร ด้วยเหตนุ ีเ้ม่ือ มีภาพนกกระเรียนกับลูกท้อ หรือนกกระเรียนกับเทพดา จะมีความหมายว่า“อวยพรให้ท่านมี อายวุ ฒั นะ” (อ้างถึงใน ปิ ยะนนั ท์, 2553) นกกระเรียนจดั วา่ เป็ นสตั ว์มงคลชนิดหนงึ่ ชาวจีนเชื่อว่า นกกระเรียนจะช่วยส่งเสริมให้อายยุ ืน สขุ ภาพร่างกายแข็งแรง หน้าท่ีการงานราบรื่น และส่งเสริม การเรียนให้ดีราบร่ืนไมม่ ีอปุ สรรค 2.5.2.6 ผีเสือ้ มีความหมายว่า โชคลาภ ความสขุ ชาวจีนจึงถือว่าผีเสือ้ เป็ นสตั ว์ มงคล ด้วยมีกวีมาจากนิยายเรื่องม่านประเพณี เป็ นเร่ืองความรักของชายหญิงท่ีไม่สมหวัง เน่ืองจากถูกคลมุ ถุงชน จนในท่ีสดุ ทัง้ ค่ตู ้องพลีชีพเพราะความรัก เม่ือทงั้ คู่ตายกลายเป็ นผีเสือ้ คู่ ด้วยเหตนุ ี ้จงึ ถือวา่ ผีเสอื ้ เป็ นตวั แทนแห่งความรัก ความเป็ นอมตะ เสรีภาพ และความคดิ สร้างสรรค์ (อ้างถงึ ใน ปิ ยะนนั ท์, 2553) 2.5.2.7 แมลงปอ เป็ นสญั ลกั ษณ์ ของความว่องไว และความเปล่ียนแปลงอย่าง รวดเร็ว ทงั้ ยงั หมายถึง การเกิดใหม่และความเป็ นอมตะด้วย แมลงปอขณะผสมพนั ธ์ุจบั คกู่ นั ลําตวั

63 ของทงั้ สองจะงอเป็ นรูปหวั ใจ จึงได้ช่ือว่าเป็ นสญั ลกั ษณ์ของความรักด้วย (อ้างถึงใน ปิ ยะนันท์, 2553) ภาพท่ี 2.32 ภาพลวดลายผีเสือ้ และแมลงปอ ท่มี า : ปิ ยะนนั ท์ (2553) 2.5.2.8 กุ้ง มีความหมาย คือ แม้จะทําสิ่งใดก็ให้ปลอดโปร่งปราศจากอุปสรรคท่ีจะมา ขวางกนั้ (อ้างถึงใน ปิ ยะนนั ท์, 2553) ก้งุ เป็ นสญั ลกั ษณ์แห่งความโชคดี ผ่านพ้นอปุ สรรค เช่ือกนั ว่าลักษณะตัวงอของกุ้ง ทําให้ตัวเองมีแรงกระโดดได้ไกล ไม่มีอุปสรรคทัง้ ทางโค้งทางลัด จึง หมายถึง การทําสง่ิ ใด ได้ผลตามที่ปรารถนา สามารถผ่านพ้นอปุ สรรคทงั้ หลายได้ และโชคดีในทกุ เร่ือง ภาพท่ี 2.33 ภาพลวดลายก้งุ ท่มี า : ปิ ยะนนั ท์ (2553)

64 2.5.2.9 กวาง เป็ นสตั ว์สิริมงคลของจีน ภาพของกวาง จึงมีความหมายในเชิงสญั ลกั ษณ์ เป็ นตวั แทนหมายถึง เทพ “ลก” ซงึ่ เป็ นเทพเจ้าแหง่ โชคลาภ และชื่อเสยี งเกียรตยิ ศ คตคิ วามเชื่อของ ชาวจีนมองว่า กวางเป็ นสญั ลกั ษณ์มงคลที่มีอายยุ ืนยาว (อ้างถึงใน ปิ ยะนนั ท์, 2553) กวาง เป็ น สญั ลกั ษณ์แทนเทพเจ้าลก ใน ฮก ลก ซ่วิ ซงึ่ หมายถึง ยศถาบรรดาศกั ดิ์ ความร่ํารวย รุ่งเรือง มง่ั คง่ั อายยุ ืนยาว และนอกจากนี ้พิเชษฐ์ (2557) ได้กล่าวว่า กวาง เป็ นสญั ลกั ษณ์แทนเทพเจ้า ลก ฮก ลก ซว่ิ ซงึ่ หมายถงึ ยศถาบรรดาศกั ด์ิ ความรํ่ารวย รุ่งเรือง มง่ั คง่ั อายยุ ืนยาว ดงั นนั้ ชาวจีนจงึ เชื่อวา่ ภาพหรือรูปปัน้ กวาง นําสงิ่ มงคลถึงความยืนยาว ทงั้ ด้านยศศกั ดิ์ ความก้าวหน้า ความร่ํารวย และ สขุ ภาพดี มาให้อยา่ งไมม่ ีท่ีสนิ ้ สดุ ภาพท่ี 2.34 ภาพลวดลายกวาง ท่มี า : ปิ ยะนนั ท์ (2553) 2.5.3 ลวดลายจากธรรมชาติ คอื ลวดลายที่นําเอาสง่ิ ที่มีอยใู่ นธรรมชาตมิ าเป็ นลวดลายในชดุ ยา่ หยา ดงั นี ้ 2.5.3.1 หิน หมายถงึ ความแขง็ แกร่ง คงทนถาวร 2.5.3.2 เมฆ หมายถงึ ความก้าวหน้า โชคดี และสนั ตภิ าพ 2.5.3.3 นํา้ หมายถงึ ความนิ่มนวล ความสมบรู ณ์พนู สขุ 2.5.3.4 ภเู ขา หมายถงึ ความมีอายยุ ืนยาว

65 2.5.3.5 คล่ืนเป็ นลวดลายสิริมงคลนิยมปักบนเสือ้ ผ้าของขนุ นางฝ่ ายบ๋นุ (อ้างถงึ ใน ปิ ยะนนั ท์, 2553) ภาพท่ี 2.35 ภาพลวดลายคล่ืน ท่มี า : ปิ ยะนนั ท์ (2553) 2.5.3.5 กลม ลวดลายกลม อาจหมายถึง รูปเหรียญเงินตราโบราณเป็ นลวดลาย สริ ิมงคล มีความหมายคือ เงินตราแห่งความเจริญรุ่งเรือง (อ้างถึงใน ปิ ยะนนั ท์, 2553) สรุป จากการวิเคราะห์ข้อมลู จากลวดลายของชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต พบว่า ความเชื่อท่ีบง่ บอกถึงความเช่ือจีน สงั่ สมและถ่ายทอดสืบสานมา นานนบั ปี มกั จะมีสญั ลกั ษณ์ของความเป็ นมงคลเข้ามาเกี่ยวข้องในวิถีชีวิตเสมอ โดยเฉพาะการ ตกแตง่ ท่ีบอกถึงความเป็ นเอกลกั ษณ์ของความเป็ น บาบา๋ ซงึ่ เกิดจากการผสมผสานของวฒั นธรรม ท่ีได้รับอิทธิพลมาจาก จีน ปี นงั มะละกา มลายู มาเลเซีย สิงคโปร์ และภเู ก็ต จึงเกิดการหลอมรวม วฒั นธรรมให้เป็ นรูปแบบของความเช่ือในลาดลายท่ีนํามาใช้บนเสอื ้ ผ้าและรองเท้าปัก ซง่ึ ลวดลายท่ี ใช้ จะเน้นถงึ ความโชคดีและความเป็ นมงคล

66 2.6 การวเิ คราะห์ความเหมาะสมของสภาพบ้านเมืองกบั การแต่งกาย 2.6.1 สถานท่ตี งั้ รูปร่างและขนาด จงั หวดั ภูเก็ต ตงั้ อยู่ท่ีชายฝั่งตะวนั ตกของภาคใต้ ในทะเลอนั ดามนั ซ่ึงเป็ นส่วน หนงึ่ ของมหาสมทุ รอนิ เดีย ระหวา่ งละตจิ ดู 7 องศา 45 ลปิ ดาถึง 8 องศา 15 ฟิ ลปิ ดาเหนือ ลองตจิ ดู 98 องศา 15 ลิปดา 98 องศา 30 ฟิ ลิปดาตะวนั ออก อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ตามระยะทาง ถนนเพชรเกษม 867 กิโลเมตร จงั หวดั ภเู ก็ตเป็ นเกาะใหญ่ท่ีสดุ ของประเทศไทย โดยมีเกาะบริวาร 37 เกาะ เช่น เกาะนาคาน้อย เกาะนาคาใหญ่ เกาะรังน้อย เกาะรังใหญ่ เกาะมะพร้าวใหญ่ เกาะ ปลิง เกาะไม้ท่อน เป็ นต้น จงั หวดั ภเู ก็ตมีพืน้ ท่ีประมาณ 570.03 ตารางกิโลเมตร พืน้ ที่เฉพาะของ เกาะภเู ก็ต 543.034 เท่ากบั ตารางกิโลเมตร ท่ีเหลือเป็ นพืน้ ที่ของเกาะบริวารมีประมาณ 27 ตาราง กิโลเมตร เกาะภเู ก็ตมีความกว้างจากตะวนั ออกจดตะวนั ตก 21.3 กิโลเมตร ความยาวจากเหนือจด ใต้ 48.7 กิโลเมตร โดยมีอาณาเขตตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั ใกล้เคยี ง ดงั นี ้ ทิศเหนือ จดช่องปากพระ ซง่ึ กว้างประมาณ 490 เมตร โดยมีสะพานสารสินและ สะพานท้าวเทพกระษัตรี เช่ือมตดิ ตอ่ กบั ตาํ บลโคกกลอย อําเภอตะกวั่ ท่งุ จงั หวดั พงั งา ทิศใต้จดทะเลอนั ดามนั มหาสมทุ รอนิ เดีย ทิศตะวนั ออก จดทะเลภเู ก็ต อา่ วพงั งาและจงั หวดั กระบี่ ทิศตะวันตก จดทะเลอนั ดามนั มหาสมุทรอินเดีย (อ้างถึงใน สํานักงานจงั หวดั ภเู ก็ต, 2535) 2.6.2 ลักษณะภมู ิประเทศ ภมู ิประเทศของจงั หวดั ภเู ก็ตเป็ นเทือกเขาทอดในแนวเหนือใต้ ภเู ขาส่วนใหญ่อยู่ ทางทิศตะวนั ตก มีพืน้ ที่ประมาณร้ อยละ 70 ของเกาะ ซ่ึงเป็ นแนวกําบงั ลมและฝน ทําให้ภูเก็ต ปลอดภยั จากเขตมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต้ที่รุนแรง เขาที่สงู ท่ีสดุ ในจงั หวดั ภเู ก็ต คือ เขาไม้เท้าสบิ สอง มีความสงู 529 เมตร อย่ใู นเขตป่ าตอง อําเภอกระทู้ เป็ นท่ีราบประมาณร้อยละ 30 ของเกาะ ท่ีราบ ส่วนใหญ่อยู่บริเวณตอนกลางฝั่งตะวันออกและบริเวณชายฝ่ังตะวันตกของเกาะ ชายฝ่ังด้าน ตะวนั ออกมีสภาพเป็ นหาดโคลนและป่ าชายเลน เช่น หาดสะปํ า หาดป่ าคลอก หาดอ่าวปอ เป็ นต้น ส่วนทางทิศตะวนั ตกเป็ นหาดทรายสวยงาม เช่น หาดในยาง หาดป่ าตอง หาดกะตะ หาดกะรน หาดทรายแก้ว หาดไม้ขาว หาดในทอน หาดเลพงั หาดบางเทา หาดสรุ ินทร์ หาดกมลา หาดในหาน เป็ นต้น

67 นอกจากนี ้ฤดี(2550) กล่าวว่า ภเู ก็ตไม่มีแม่นํา้ สายสําคญั มีแต่คลองสายเล็กๆ เช่น คลองท่าจีน คลองบางชีห้ ล้า คลองหม่าหลง คลองท่าพร้าว คลองบางโรง คลองกมลา คลอง บางใหญ่ คลองโคกโตนด ฯลฯ ลําคลองเหลา่ นีใ้ นอดีตเคยมีสภาพลกึ และกว้าง จนเรือสําเภาขนาด ใหญ่สามารถใช้เป็ นเส้นทางลําเลียงสินค้าเข้า-ออก เช่น คลองบางใหญ่ นบั เป็ นลําคลองสายหลกั ของภเู ก็ต มีเรือใบสามหลกั บรรทุกสินค้าเข้ามาส่งในเมือง บริเวณแถวนํา้ ได้อย่างสะดวก แต่ใน ปัจจบุ นั ได้ตนื ้ เขนิ และแคบลง ทงั้ นีเ้นื่องจากตะกอนดนิ จากเหมืองแร่ที่ไหลมาทบั ถม เวลาฝนตกทํา ให้นํา้ ทว่ มพืน้ ที่ตา่ งๆ เพราะลําคลองสว่ นใหญ่ตืน้ เขิน ใช้ระบายนํา้ ไมด่ ีเท่าท่ีควร เน่ืองจากขาดการ พฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่อง จงึ ทําให้คลองบางแห่งไมเ่ หลือสภาพเดิมเอาไว้ และบางแห่งมีแตช่ ื่อเรียกขาน เท่านนั ้ 2.6.3 สภาพทางภมู ศิ าสตร์ สํานกั งานจังหวดั ภูเก็ต (2535) สภาพภูมิศาสตร์ของเกาะภูเก็ตเก่ียวข้องกับ ลกั ษณะทางธรณีวิทยา และการกระทําของคล่ืนลม ซงึ่ มีส่วนทําให้สภาพภมู ิประเทศเปล่ียนแปลง ไปจากเดมิ และสามารถแบง่ ตามลกั ษณะพืน้ ผิวของเกาะได้ 3 สว่ น คือ 2.6.3.1 บริเวณที่เป็ นภเู ขาสงู ชนั ส่วนใหญ่อยู่ทางทิศตะวันตกของเกาะ ภูเขาส่วนใหญ่มีระดับความสูง มากกวา่ 100 เมตร เหนือระดบั ทะเลปานกลาง มีหินรองรับ คือ หินแกรนิต อนั เกิดจากแมกมา่ ท่ีดนั ตวั ขึน้ มา เป็ นมวลขนาดใหญ่จากภายในโลก ไม่มีแนวตดั มากจึงทนต่อการผกุ ร่อนทําลาย บริเวณ ภเู ขาสงู เหล่านีจ้ ะกินพืน้ ที่มากกว่าบริเวณอ่ืนๆ พืชพรรณธรรมชาติเป็ นป่ าไม้เขตร้อน เช่น บริเวณ ภเู ขาในเขตตําบลกมลา ป่ าตอง ตะกะ กะรน และ เขาพระแทว เป็ นต้น 2.6.3.2 บริเวณท่ีเป็ นลอนลกู คลื่น เป็ นบริเวณอย่ตู ดิ ตอ่ กบั บริเวณภเู ขาสงู ชนั สว่ นใหญ่เป็ นที่ราบตํ่าระหว่าง หบุ เขาตา่ งๆบางสว่ นจะเหินแกรนิต รวมไปถึงหินชนั้ และหินแปรด้วย บริเวณนีจ้ ะมีทางนํา้ ไหลผา่ น สามารถใช้ทําการเพาะปลกู ได้ดี เช่น บริเวณบ้านบางทอง อําเภอกะทู้ บ้านตะเคียน บ้านลิพอน บ้านดอน อําเภอถลาง และบ้านฉลอง อําเภอเมือง 2.6.3.3 บริเวณท่ีเป็ นชายฝั่ง พืน้ ที่สว่ นใหญ่อยใู่ กล้ชายฝั่งเกิดจากสาเหตตุ า่ งๆกนั ไป คอื 1) เกิดจากการกัดเซาะของนํา้ พืน้ ท่ีเหล่านีม้ ักอยู่บริเวณปากนํา้ หรือ บริเวณที่หุบเขากว้าง อนั เกิดจากการทบั ถมของตะกอนท่ีแม่นํา้ พดั พามา ซึ่งปรากฏอย่บู ริเวณฝั่ง ตะวนั ออกของเกาะ เชน่ บริเวณคลองทา่ จีน คลองบางโรง เป็ นต้น

68 2) เกิดจากการกดั เซาะ และจากการทบั ถมของตะกอน โดยการกระทํา ของคลื่นลม ส่วนใหญ่อยู่ทางตะวันออกของเกาะ ทัง้ นีเ้ พราะลมประจําถ่ินทางทิศตะวันตก มี อิทธิพลในในการช่วยกดั เซาะ ทําให้ชายฝั่งตะวนั ตกของเกาะเป็ นหาดทรายสะอาด ซงึ่ เกิดจากการ ทบั ถมของทรายท่ีเป็ นแร่ครอทซ์ (Quartz) บางแห่งมีซากแตกหกั ของเปลือกหอยและปะการัง เช่น บริเวณหาดป่ าตอง กะรน กะตะ เป็ นต้น 3 ) เกิดจากอทิ ธิพลนํา้ ขนึ ้ นํา้ ลง จนเป็ นบริเวณนํา้ ท่วมถึงและที่ราบต่ํานํา้ กร่อย จะพบในบริเวณชายฝ่ังทางทิศตะวนั ออกของเกาะ ซ่ึงได้รับอิทธิพลทงั้ นํา้ จืดและนํา้ เค็ม จดั อย่ใู นระบบนิเวศวิทยาแบบนํา้ กร่อย (Estuarine Ecology) บางแห่งเป็ นที่ล่มุ นํา้ ขงั (Swamp) ดิน ตะกอนท่ีถกู พดั พา จะมีลกั ษณะเป็ นเลนโคลน เน่ืองจากบริเวณทิศตะวนั ออกของเกาะภเู ก็ตมีลม สงบ พืชพรรณธรรมชาตเิ ป็ นป่ าชายเลน พนั ธ์ไุ ม้ที่พบเห็น เช่น จาก แสม โกงกาง เป็ นต้น 2.6.4 สภาพภมู ิอากาศ สํานกั งานจงั หวดั ภเู ก็ต (2535) ลกั ษณะภมู ิอากาศ จงั หวดั ภเู ก็ต ตงั้ อย่ใู กล้เส้น ศูนย์สูตร ทําให้อุณหภูมิสูงเกือบตลอดปี แต่เน่ืองจากมีทะเลล้อมรอบ จึงทําให้อุณหภูมิไม่สูง จนเกินไป ประกอบกบั ตงั้ อย่ดู ้านหน้าเทือกเขาภูเก็ต ซ่ึงเป็ นด้านรับลมฝนของลมมรสมุ ตะวนั ตก เฉียงใต้ ท่ีพดั จากมหาสมทุ รอินเดีย ทําให้ฝนชุก ในฤดมู รสมุ ดงั กล่าว จงั หวดั ภเู ก็ตจึงมี 2 ฤดู คือ ฤดฝู นและฤดรู ้อน ฤดฝู น เริ่มตงั่ แตป่ ลายเดือนเมษายนถึงปลายเดือนพฤศจิกายน ฝนตกชกุ ช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม โดยเฉลี่ยฝนตกปริมาณ 170 วันต่อปี เดือนที่มีประมาณ นํา้ ฝนสงู สดุ คอื เดือนพฤษภาคม ฤดูร้ อน เริ่มตง่ั แต่เดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคม เป็ นช่วงที่ฝนตกน้อย ที่สดุ NGUYEN THI (2549) กลา่ วว่า สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ สภาพดนิ ฟ้ า อากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ สภาพที่ตงั้ ของสงั คม ส่งิ เหลา่ นีม้ ีการเปล่ียนแปลงก็จะทําให้วฒั นธรรม เปลี่ยนแปลงไปด้วย หรือพดู ในอีกแง่หน่ึงก็คือ การเปลี่ยนแปลงทางวฒั นธรรมของสงั คมนนั้ ๆ เป็ น การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของมนุษย์ โดยเฉพาะในสมัยยังไม่มีผลผลิตต่างๆจาก อตุ สาหกรรม นอกจากนัน้ หทัยรัตน์(2547) ได้กล่าวไว้ว่า สภาพดินฟ้ าอากาศ คนท่ีอยู่เมือง หนาวจําเป็ นต้องใส่เสือ้ ผ้าที่ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย คนท่ีอยู่เมืองร้ อนจําเป็ นต้องสวมเสือ้ ผ้า เพ่ือให้ความอบอนุ่ แก่ร่างกาย บางเวลาและบางท้องท่ีเท่านนั้

69 นอกจากนี ้ เจษฎ์ศิริ (2553) ได้กล่าวว่า วฒั นธรรมเป็ นการจัดการด้านต่างๆท่ี เกิดขึน้ แก่สังคมนัน้ ๆ ทัง้ ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ธรรมชาติ สิ่งท่ีมนุษย์สร้ างและการ ดํารงชีวิตของผ้คู นในลกั ษณะนิเวศนนั้ ๆ วฒั นธรรมเป็ นภาพท่ีปรากฏตามวิถีชีวิตท่ีดํารงอยู่อย่าง ต่อเนื่องยาวนาน อีกทงั้ ได้สร้างคติ ความเช่ือ ศิลปะ ความงามตามรสนิยมของงานและของกล่มุ ชาตพิ นั ธ์ุนนั้ ๆ สรุป ลักษณะการแต่งกายของแต่ละเมือง ย่อมเปล่ียนแปลงตามสภาพดินฟ้ า อากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ สภาพที่ตงั้ ของสงั คม สิ่งเหล่านีม้ ีการเปลี่ยนแปลงต่อชีวิตมนุษย์สิ่งท่ี มนุษย์สร้ างและการดํารงชีวิตของผู้คน ในลักษณะนิเวศนัน้ ๆ วิถีชีวิตท่ีดํารงอยู่อย่างต่อเนื่อง ยาวนานอีกทงั้ ได้สร้างคติ ความเช่ือ ศลิ ปะ ความงามตามรสนิยมของงานและของกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ 2.6.5 เศรษฐกิจและสังคม 2.6.5.1 โครงสร้างทางเศรษฐกิจ ฤดี (2553) กลา่ วว่า โครงสร้างทางเศรษฐกิจท่ีสําคญั คือ การบริการ การ คมนาคมขนสง่ การค้าปลีก การเกษตร อตุ สาหกรรม การธนาคาร และการประกนั ภยั เดิมรายได้ หลกั ของคนภเู ก็ต คือ การทําเหมืองแร่ ชาวบ้านทวั่ ไปจะทําแร่ดีบกุ โดยวิธีทําเหมืองแร่ และร่อนแร่ ท้ายราง เหมืองสบู ซงึ่ มีรายได้ดีพอสมควร จากจดหมายเหตขุ องพ่อค้าชาวฝรั่งเศส บนั ทึกไว้ในปี พ.ศ.2229 บางตอนกลา่ วว่า ชาวเกาะนี ้ซงึ่ เป็ นคนอาศยั อย่ตู ามป่ า ตามดง ไม่ทําการงานที่แปลก อย่างใดเลย ทงั้ วิชาความรู้ก็ไม่ต้องเสาะแสวงหา การที่ทําอย่ทู กุ วนั นีก้ ็เพียงแต่ตดั ไม้ทําฝื น ทํานา และขดุ ดนิ เพ่ือร่อนหาแร่ดีบกุ เทา่ นนั้ แร่ดีบกุ นีเ้ป็ นสิ่งสําคญั ของเมืองนี ้และได้เกิดการค้าขายโดยที่ ชาวเมืองขดุ แร่ดีบกุ ได้ ก็เอาแร่นนั้ ไปแลกเปล่ียนกบั พ่อค้า ซง่ึ นําสินค้ามาจากภายนอก เพ่ือเอามา แลกเปลยี่ นกบั แร่ดีบกุ นนั้ เอง เพราะในเมืองนีไ้ มไ่ ด้ทําอะไรกนั เลย นอกจากขดุ ดนิ หาดีบกุ ซงึ่ เขาขดุ ได้เป็ นจํานวนมากๆ และข้าพเจ้าเชื่อวา่ คงจะมีบอ่ ดีบกุ ท่ีดีกวา่ นีอ้ ีก แตต่ ้องหาคนท่ีชํานาญจงึ จะค้น บอ่ ดีบกุ ดีๆได้ ปัจจบุ นั อาชีพที่เป็ นรายได้หลกั ของชาวภเู ก็ต คือการท่องเที่ยว ฉะนนั้ การเกิดปัญหา ที่เก่ียวกับธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม หรือการก่อความไม่สงบ ย่อมมีผลต่อเศรษฐกิจของภูเก็ตทงั้ สิน้ ภาวะเศรษฐกิจของจังหวดั ในอดีตนัน้ เศรษฐกิจของจงั หวดั ภูเก็ตขึน้ อยู่กับราคาสินแร่ดีบุกเป็ น สําคญั เนื่องจากราคาดีบุกในตลาดโลกตํ่าลง ตงั้ แต่ปี พ.ศ.2528 เป็ นต้นมา ทําให้การผลิตสินแร่ ดีบกุ ไม่ค้มุ กบั การลงทนุ ทําให้ผ้ปู ระกอบการหนั มาทําธุรกิจการท่องเที่ยวกนั มากขึน้ ประกอบกบั รัฐบาลได้มีนโยบายส่งเสริมการท่องเท่ียว ตงั้ แต่ปี พ.ศ.2530 เป็ นต้นมา ทําให้หน่วยงานราชการ และภาคเอกชน หนั มาร่วมมือกนั ในการดําเนินการธุรกิจการท่องเที่ยวอยา่ งจริงจงั และตอ่ เนื่อง ทํา ให้เศรษฐกิจของจงั หวดั ภเู ก็ตได้เปล่ยี นรูปแบบจากการขายสนิ แร่ดีบกุ เป็ นการขายบริการทางธุรกิจ

70 การท่องเท่ียว ภาวะเศรษฐกิจของจังหวัดภูเก็ตในปัจจุบัน จึงขึน้ อยู่กับรายได้จากธุรกิจการ ทอ่ งเท่ียวเป็ นสําคญั 2.6.5.2 สภาพสงั คม ประชากรในจงั หวดั ภเู ก็ต สํานกั งานจงั หวดั ภเู ก็ต (2535) จงั หวดั ภเู ก็ตประกอบด้วยคนหลายชน ชาติ หลายภาษา การยึดถือและปฏิบตั ิทางการศาสนา จึงมีความแตกต่างกนั ตามความคิด ความ เชื่อ และความเลอ่ื มใสศรัทธา ตามแตศ่ าสนาที่ตนนบั ถือ ประชากรในจงั หวดั ภเู ก็ตร้อยละ 80.4 นบั ถือศาสนาพทุ ธและร้อยละ 18.6 นบั ถือศาสนาอิสลาม ที่เหลือเล็กน้อยนบั ถือศาสนาคริสต์และ ศาสนาอื่นๆ ศาสนาพุทธ สําหรับชาวภเู ก็ตก่อนท่ีพระพุทธศาสนาจะเจริญรุ่งเรืองใน ภูเก็ตนัน้ ชาวภูเก็ตรุ่นแรกๆ คงจะนับถือผี วิญญาณศกั ดิ์สิทธิ์ เวทมนต์คาถามาก่อน เพราะชน พืน้ เมืองดงั้ เดิมของภเู ก็ต คือ เงาะซาไก และโอรังลาโอด ซงึ่ เป็ นชนเผ่าเร่รอนไม่ได้ตงั้ ถิ่นฐานถาวร ชนกล่มุ ตอ่ มา คือ พวกแมงหรือมอญ อินเดีย และนกั แสวงโชคชาวจีน ได้เข้ามาตงั้ ถ่ินฐานในภเู ก็ต และได้ขบั ไล่ชนกลมุ่ แรกๆออกไป (ปัจจบุ นั ยงั คงเหลือแต่กล่มุ ชาวเลเท่านนั้ ) ตอ่ มากล่มุ คนไทยได้ อพยพเข้ามาตงั้ ถิ่นฐานในภูเก็ตเป็ นจํานวนมากกว่าพวกเดิม ประกอบกับกลุ่มคนไทยมีภาษา วฒั นธรรม ท่ีมน่ั คงกวา่ ชนกลมุ่ เดมิ จงึ สามารถยดึ ครองดนิ แดนนีไ้ ว้ได้ และกลมุ่ คนไทยนีเ้ป็ นกลมุ่ ที่ ยอมรับนับถือศาสนาพุทธ ทัง้ นีเ้ พราะภูเก็ตเป็ นเมืองเล็กๆ ในฐานะเมืองบริวารของเมือง นครศรีธรรมราช อิทธิพลศาสนาพทุ ธจงตกแผ่มาถึงบริเวณนีแ้ น่นอน แต่เน่ืองจากคนไทยยอมรับ วฒั นธรรมคนอื่นได้ง่าย จึงได้รับเอาอิทธิพลของศาสนาและความเช่ือต่างๆ ของคนดงั้ เดิมเอามา ผสมผสานกับความเช่ือของตน ฉะนนั้ ชาวพุทธในภเู ก็ตจึงมีความเชื่อในเรื่อง พระนารายณ์ พระ พรหม พระอิศวร ในขณะเดียวกันก็เคารพบูชาเซียนองค์ต่างๆ ทีมีอิทธิฤทธ์ิปาฏิหาริย์ และใน ขณะเดยี วกนั ก็เป็ นชาวพทุ ธที่ดี เมื่อถงึ เทศกาลสาํ คญั ๆ ทางพระพทุ ธศาสนาชาวพทุ ธในภเู ก็ตจะนํา อาหารคาวหวานไปวดั ร่วมประกอบพิธีกรรมทางพระพทุ ธศาสนา หิง้ พระในบ้านของชาวภเู ก็ต จึง ประกอบด้วยพระพทุ ธรูป ปนุ เถ้ากง เซยี นองค์สาํ คญั ๆ ตลอดจนเจ้าแม่กวนอิม (ปดุ จ้อ) และจะเป็ น เชน่ นีเ้กือบทกุ บ้าน ยกเว้นเฉพาะบ้านท่ีเป็ นคนไทยแท้จะมีพระพทุ ธรูปเพียงอยา่ งเดยี ว ศาสนาอิสลาม ศาสนาอิสลามเข้ามาภูเก็ตเม่ือใด ไม่ปรากฏหลักฐาน ชดั เจน หลกั ฐานที่พอจะอ้างถึงการเข้ามาของศาสนาอิสลามในภเู ก็ต คือ มีชาวมสุ ลมิ เข้ามาตงั้ ถ่ิน ฐานในภูเก็ตอยู่แล้ว และเนื่องจากภูเก็ตเป็ นจงั หวดั ท่ีใกล้ชิดกับมาเลเซีย และสิงคโปร์มาก การ เดินทางไปมาหาส่กู นั เพ่ือติดต่อค้าขายย่อมจะเกิดขึน้ เป็ นธรรมดา ศาสนาอิสลามจึงเข้ามาพร้อม กบั ชาวมาลายู ท่ีเข้ามาตงั้ ถ่ินฐานในภเู ก็ตก็ได้ หรือจากหลกั ฐานความเจริญรุ่งเรืองของเมืองถลาง

71 ในระยะ พ.ศ. 2302-2310 ในพงศาวดารเมืองถลาง บนั ทึกเร่ืองราวไว้ว่า เมืองถลางแต่ก่อน จอม ร้าง บ้านตะเคียนเป็ นเจ้าเมือง เมียจอมร้างเป็ นแขกเมืองไทร ชื่อหมา่ เสีย้ ลกู มห่มุ เฒา่ จากเร่ืองราว ในประวตั ศิ าสตร์ สนั นิษฐานไว้ว่าชาวมสุ ลิมเข้ามาตงั้ ถ่ินฐานในภเู ก็ตตงั้ แตส่ มยั อยธุ ยา ในจงั หวดั ภเู ก็ตมีครอบครัวชาวไทยมสุ ลมิ เป็ นจํานานมาก ในเขตอําเภอเมือง ได้แก่ ที่บ้านบอ่ แร่ บ้านอ่าวนํา้ บ่อ บ้านแหลมพนั วา บ้านอ่าวมะขาม บ้านไสยวน บ้านเกาะแก้ว บ้านเกาะมะพร้ าว เกาะโหลน และบ้านบางคณฑี ในเขตอําเภอถลาง ได้แก่ บ้านบางเทา บ้านบางโจ บ้านบางลา บ้านผกั ฉีด บ้าน ยามู อา่ วปอ อา่ วก้งุ เกาะนาคา แหลมทราย บ้านบางโรง บ้านบางแป อา่ วโต๊ะขนุ บ้านคอเอน บ้าน พารา บ้านพรุสมภาร และบ้านบางม่าเหลา ในเขตอําเภอกะทู้ ได้แก่ บ้านกมลา บ้านป่ าตอง และ บ้านกะหลิม ทกุ หม่บู ้านจะมีมสั ยิดเพื่อประกอบพิธีกรรมทางศาสนาตามท่ีบญั ญตั ไิ ว้ในพระคมั ภีย์ อลั กรุ อาน ศาสนาคริสต์ สําหรับผ้ทู ่ีนบั ถือศาสนาคริสต์ในภเู ก็ต มีผ้นู บั ถือทงั้ นิกาย โรมนั คาทอลกิ และนิกายโปเเตสแตนท์ สาํ หรับศาสนาคริสต์นิกายโปรเเตสแตนท์นนั้ เร่ิมมีมิชชนั่ นา รีจากมาเลเซียเข้ามาในภเู ก็ตราว ค.ศ. 1871 และใช้ภาษาจีนฮกเกีย้ นในการสอนศาสนา หลงั จาก นนั้ ประมาน 4 ปี มิชชนั นารี ช่ือ William Mae Donald และ Philip J. Hocquard ได้เดินทางจาก ปี นงั เข้าส่ภู เู ก็ต ขณะนนั้ มีผ้นู บั ถือศาสนาคริสต์ในภเู ก็ตประมาณ 8 คน และทงั้ สองได้ประกอบพิธี ศีลมหาสนิทให้แก่ชาวภเู ก็ตเหลา่ นนั้ อ๋องหิน้ (Ong Him) เป็ นผ้ทู ี่ศรัทธาในพระผ้เู ป็ นเจ้าเป็ นอยา่ ง ย่ิง เขาได้รวบรวมเงินจากการขายขนมซือ้ บ้าน 1 หลัง บริเวณถนนถลาง ใน ค.ศ. 1889 คือ บ้านเลขที่ 24 เพื่อเป็ นสถานที่พบปะของคริสต์ศาสนิกชนและเผยแผป่ ระกาศข่าวประเสริฐของพระ เจ้า สถานท่ีนีย้ งั เป็ นสถานท่ีสําหรับสวดมนต์และประกอบพิธีกรรมทางศาสนาจนถึงปัจจุบนั นี ้ สาํ หรับศาสนาคริสต์นิกายโรมนั คาทอลกิ ได้เข้ามาเผยแผ่ศาสนาในจงั หวดั ภเู ก็ต ตงั้ แตส่ มยั อยธุ ยา โดยเฉพาะในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระองค์ให้อิสระในการนับถือศาสนา จึงมี มิชชนั นารีหมนุ เวียนกนั เข้ามาเผยแผศ่ าสนาเป็ นจํานานมากในจงั หวดั ภเู ก็ต แตห่ ลกั ฐานการเผยแผ่ ศาสนาในระยะนีไ้ มป่ รากฏ แตม่ ีหลกั ฐานท่ีอ้างองิ ประมาณ ค.ศ. 1935-1945 ศาสนาฮินดู สําหรับศาสนาฮินดไู ด้เข้ามายงั ดินแดนสวุ รรณภมู ิประมาณ 2,000 ปี มาแล้ว ชาวอินเดียกลมุ่ แรกท่ีเข้ามาเป็ นพอ่ ค้ามงุ จะเข้ามาค้าขายโดยตรง นอกจากนีก้ าร อพยพครัง้ ใหญ่ของอินเดียในสมยั พระเจ้าอโศกมหาราช และสมยั พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช เข้ามายดึ ครองอินเดีย ชาวอินเดียเหล่านีจ้ ึงเข้ามาตงั้ ถิ่นฐานในดินแดนตา่ งๆ แถบสวุ รรณภมู ิมาก ขนึ ้ สําหรับชาวอนิ เดยี ที่เข้ามาตงั้ ถิ่นฐานในภเู ก็ตนนั้ สว่ นหนงึ่ หนีความแห้งแล้งยากจนในอนิ เดยี มา แสวงโชคในดินแดนใหม่เป็ นชนผิวดํา (ดราวิเดียน) จากรัฐทางตอนใต้ เช่น รัฐทมิฬนาดู รัฐมทั ราช

72 และบริเวณอ่าวเบงกอล (บงั คลาเทศ ในปัจจบุ นั ) ชาวอินเดียในภเู ก็ตนบั ถือพระพิฆเนศ พระขณั ฑ กมุ าร พระลกั ษมี การประกอบพิธีทางศาสนาท่ีสําคญั คือ วนั ประสตู ิของพระที่บชู า ในวดั 3 องค์ และพิธีทําบุญให้กับผู้ตาย ซึ่งชาวฮินดู เรียกว่า วนั เดือนสิบ อินเดียปัจจุบันมีผู้นับถือศาสนานี ้ น้อยลง เน่ืองจากชาวฮินดใู นภเู ก็ตสว่ นใหญ่เป็ นลกู ผสมท่ีเกิดในภเู ก็ตเป็ นคนท้องถิ่นภเู ก็ต ไม่คอ่ ย ให้ความสาํ คญั กบั ศาสนาฮินดมู ากนกั สว่ นใหญ่จะหนั มานบั ถือศาสนาพทุ ธมากขนึ ้ ศาสนาฮินดจู ึง ขาดผ้สู บื ทอดและไมส่ ามารถอา่ นคมั ภีร์ทางศาสนาได้ จงึ ทําให้ความซาบซงึ ้ ในศาสนาน้อยลง ศาสนาซกิ ข์ เกิดขนึ ้ ในแคว้นปัญจาบ ซงึ่ เป็ นแคว้นท่ีอย่ทู างตอนเหนือของ ประเทศอินเดีย ติดกับประเทศปากีสถาน มีภาษาและตวั อักษรเป็ นของตนเอง เรียกว่า ภาษา ปัญจาบี ผู้ก่อตงั้ ศาสนา คือ ครุ ุนานกั เทพ สําหรับชาวซิกข์ในภูเก็ตนนั้ เข้ามาประมาณ 70-80 ปี มาแล้ว โดยครัง้ แรกนนั้ เข้ามาตงั้ ถ่ินฐานอย่ทู ่ีปี นงั แล้วค่อยอพยพเข้ามาอย่ทู ่ีภเู ก็ต ในระยะแรกมี กลุ่มชาวซิกข์เพียง 10 คน เข้ามาประกอบอาชีพขายผ้าอยู่บริเวณถนนถลาง ซ่ึงเป็ นย่านธุรกิจ ดงั้ เดิมของภเู ก็ต แต่อย่ใู นลกั ษณะคนตา่ งด้าวต้องเดินทางไปมาระหว่างภเู ก็ตกบั ปี นงั ตอ่ มาเม่ือมี ชาวซิกข์เข้ามาอย่ใู นภเู ก็ตมากขึน้ จึงได้จดั ตงั้ วดั ซิกข์ (ครุ ุทวารา) ขึน้ บริเวณถนนสทุ ศั น์ ตรงข้าม เรือนจําภูเก็ต ใน พ.ศ. 2477 วัดคือ ส่วนรวมของชาวซิกข์ทุกคนในภูเก็ต ชาวซิกข์ส่วนมากตัง้ บ้านเรือนอยู่บริเวณหาดป่ าตอง กะรน และในตลาดภูเก็ต ชาวซิกข์จะยึดมั่นในคําสอนอย่าง เคร่งครัด และอยใู่ นสงั คมของชาวภเู ก็ตอยา่ งสงบ ชาวซิกข์จึงเป็ นสว่ นหนงึ่ ของชาวภเู ก็ตในปัจจบุ นั เพราะสามารถพดู ภาษาไทยและภาษาท้องถ่ินได้เป็ นอยา่ งดี สรุป โครงสร้างทางเศรษฐกิจท่ีสําคญั คือ การบริการ การคมนาคมขนส่ง การค้าปลีก การเกษตร อตุ สาหกรรม การธนาคาร และการประกนั ภยั เดิมรายได้หลกั ของคนภเู ก็ต คือ การทําเหมืองแร่ดีบุก เศรษฐกิจของจงั หวดั ภเู ก็ตขึน้ อย่กู บั ราคาสินแร่ดีบุก ต่อมาได้หนั มาทํา ธุรกิจการท่องเท่ียวกันมากขึน้ ประกอบกับรัฐบาลได้มีนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวจึงทําให้ หน่วยงานราชการและภาคเอกชน หนั มาร่วมมือกนั ดําเนินการธุรกิจการท่องเท่ียวอย่างจริงจงั และ ต่อเนื่อง จึงทําให้จงั หวดั ภเู ก็ตในปัจจุบนั ขึน้ อยู่กบั รายได้จากธุรกิจการท่องเท่ียวเป็ นสําคญั ส่วน ประชากรในจงั หวดั ภเู ก็ตร้อยละ 80.4 นบั ถือศาสนาพทุ ธ และร้อยละ 18.6 นบั ถือศาสนาอิสลาม ท่ี เหลือเลก็ น้อยนบั ถือศาสนาคริสต์และศาสนาอ่ืนๆ 2.6.6 การปกครองและการเมือง 2.6.6.1 พฒั นาการทางด้านการปกครองของภเู ก็ต คณะกรรมการฝ่ ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ (2544) กล่าวว่า พฒั นาการทางด้านการปกครองของภเู ก็ตตงั้ แตอ่ ดีตจนถึงปัจจบุ นั ในบางช่วงยงั คงไมม่ ีหลกั ฐานท่ี

73 ชดั เจน นบั ตงั้ แตป่ รากฏช่ือ จงั ซีลอน ในหนงั สือภมู ิศาสตร์ของปโตเลมี ในสมยั อาณาจกั รศรีวิชยั มี อํานาจควบคมุ ดินแดนต่างๆ แถบเกาะสมุ าตรา รวมถึงแหลมมลายแู ละได้รวมอาณาจกั รตามพร ลิงค์ (นครศรีธรรมราช) เข้าไว้ด้วย ภูเก็ต (เมืองถลางในขณะนัน้ ) ในฐานะเมืองบริวารของ นครศรีธรรมราช จงึ อยใู่ นอํานาจการปกครองของอาณาจกั รศรีวชิ ยั นานถึง 600 ปี ใน พ.ศ. 1772 อาณาจกั รศรีวิชยั เส่ือมอํานาจและตกอย่ภู ายใต้อํานาจ การปกครองของอาณาจกั รศริ ิธรรมนคร เมืองภเู ก็ต (ซงึ่ มีช่ือเรียกว่า ตะกวั่ ถลาง) ถกู ผนวกเข้าเป็ น หวั เมือง ของอาณาจกั รศริ ิธรรมนคร ราว พ.ศ. 1800 อาณาจักรสุโขทัย มีอํานาจแผ่ขยายจนสามารถ ครอบครองพืน้ ที่ต่างๆ จนถึงแหลมมลายูบรรดาเมืองต่างๆ อันรวมถึงเมืองถลาง จึงขึน้ กับ อาณาจกั รสโุ ขทยั ตงั้ แตบ่ ดั นนั้ เป็ นต้นมา ต่อมาประมาณ พ.ศ. 1893 กรุงศรีอยธุ ยามีอํานาจเหนือสโุ ขทยั บรรดา เมืองขึน้ ต่างๆ ของสโุ ขทยั จึงอย่ใู นการปกครองของกรุงศรีอยธุ ยา รวมถึงหวั เมืองปักษ์ใต้ทงั้ หมด ในสมยั พระเอกาทศรถ (พ.ศ. 2148-2163) ปรากฏชื่อเมืองถลาง เป็ นเมืองขนึ ้ กบั ฝ่ ายกลาโหม การจดั การปกครองในสมยั อยธุ ยาในระยะแรก ได้จดั ให้นครศรีธรรมราชมี ฐานะ เป็ นหวั เมืองชนั้ นอกในขณะที่ภูเก็ตอยู่ภายใต้การดแู ลของนครศรีธรรมราช ในช่วงอยุธยา ตอนปลาย ภูเก็ตมีเจ้าเมืองปกครองอยู่ท่ีบ้านลิพอนและบ้านดอน (ภูเก็ตในขณะนัน้ ใช้ชื่อเมือง ถลาง) หลงั จากเสียกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 2310 มีผู้ตงั้ ตนขึน้ เป็ นหัวหน้าก๊ก ต่างๆ ทางใต้ มีก๊กนครศรีธรรมราช และภเู ก็ตก็รวมอยู่ในก๊กนครศรีธรรมราช เมื่อสมเด็จพระเจ้า ตากสินมหาราชทรงรวบรวมก๊กต่างๆ กลบั เข้าเป็ นปึ กแผ่นอาณาจกั รเดียวกนั ภายหลงั ภเู ก็ตก็เป็ น หนงึ่ ในกรุงธนบรุ ี สมยั กรุงรัตนโกสนิ ทร์ ยงั คงยดึ รูปแบบสมยั กรุงศรีอยธุ ยาตอนปลาย คือ มี การปกครองในสว่ นกลางและสว่ นภมู ิภาค ในส่วนภูมิภาคได้กําหนดให้หัวเมืองชัน้ นอก แบ่งออกเป็ นหัว เมืองใหญ่ ซง่ึ ถือเป็ นเมืองท่ีอยใู่ กล้กนั มีเจ้าเมืองเป็ นผ้ดู แู ลบงั คบั บญั ชา ในส่วนของภูเก็ต ซึ่งถือเป็ นเมืองชนั้ รอง โดยมีนครศรีธรรมราช เป็ นหวั เมืองใหญ่ ดงั นนั้ ภเู ก็ตจงึ อยภู่ ายใต้การดแู ลของนครศรีธรรมราช 2.6.6.2 การจดั ตงั้ มณฑลภเู ก็ต คณะกรรมการฝ่ ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ (2544) มณฑล

74 ภเู ก็ตตงั้ ขึน้ ใน พ.ศ. 2437 โดยการรวมหวั เมืองภาคใต้ชายฝั่งตะวนั ตกทงั้ หมด 7 เมือง คือ ภเู ก็ต พงั งา กระบี่ ตะก่ัวป่ า ระนอง ตรัง สตลู ซ่ึงขณะนนั้ มณฑลภูเก็ตมีพืน้ ท่ีประมาณ 28,000 ตาราง กิโลเมตร มีประชากรประมาณ 100,000 คน โดยมีที่ว่าการของมณฑลอยทู่ ี่ภเู ก็ต มีข้าหลวงมณฑล คนแรก คือพระยาทิพโกษา (โต โชตกิ เสถียร) ซงึ่ เป็ นข้าหลวงที่มีบทบาทสําคญั ในการปฏิรูปมณฑล ภเู ก็ต ให้มีความเจริญก้าวหน้า จน พ.ศ. 2437 ได้มีการจดั การปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลขึน้ โดยมีพระยาทิพโกษา เป็ นข้าหลวงเทศาภบิ าลคนแรกระหวา่ ง พ.ศ. 2437–2441 พระยาทิพโกษา ถือวา่ เป็ นรากฐานการปฏิรูปมณฑลภเู ก็ตในหลายๆด้าน กล่าวคือ เป็ นผ้ดู ําเนินการแบ่งเขตการปกครองออกเป็ น เมือง อําเภอ ตําบล หม่บู ้าน และจดั ตงั้ คณะผ้ปู กครองมณฑล หรือ กองมณฑล คือ มีข้าหลวงใหญ่เป็ นประธาน มีข้าหลวงฝ่ ายมหาดไทย อยั การ สรรพากร และตํารวจภธู ร เป็ นผ้ชู ่วยเหลือในเมืองตา่ งๆ มีผ้วู ่าราชการเมืองเป็ นผ้รู ับผิดชอบ มีกรรมการเมือง 2 คณะ เป็ นผ้ชู ่วยเหลือ คือ กรรมการในทําเนียบ และกรรมการนอกทําเนียบ ใน อําเภอ มีกรรมการอําเภอเป็ นผู้รับผิดชอบ กรรมการอําเภอ ประกอบด้วย นายอําเภอเป็ นหวั หน้า ปลดั อําเภอ สมหุ ์บญั ชี และเสมียนพนกั งานอีกจํานวนหนึ่งเป็ นผ้ชู ่วยเหลือ ตําบลและหมบู่ ้านอย่ใู น ความรับผิดชอบของกํานนั และผ้ใู หญ่บ้าน ซงึ่ มาจากการเลือกตงั้ ของสมาชิกในตําบลและหม่บู ้าน การปฏิรูปการปกครองในมณฑลภเู ก็ต ซ่งึ วางรากฐานโดยเฉพาะพระยา ทิพโกษา (โต โชติกเสถียร) ได้ประสบความสําเร็จตามเป้ าหมาย ในสมยั พระยารัษฎานปุ ระดิษฐ์ฯ (คอซมิ บี ้ณ ระนอง พ.ศ. 2444 – 2456) 2.6.6.3 สภาพทางการปกครองและการบริการ ฤดี (2553) การแบ่งเขตการปกครองจงั หวดั ภเู ก็ตในปัจจบุ นั แบง่ เขตการ ปกครองตามลกั ษณะพืน้ ที่ออกเป็ น 3 อําเภอ 17 ตาํ บล 107 หมบู่ ้าน ดงั นี ้ 1) อําเภอเมืองภเู ก็ต 8 ตําบล 44 หมบู่ ้าน 2 เทศบาล 6 อบต . 2) อําเภอถลาง 6 ตําบล 45 หมบู่ ้าน 2 เทศบาล 6 อบต . 3) อําเภอกระทู้ 3 ตาํ บล 18 หมบู่ ้าน 2 เทศบาล 1 อบต . การบริหารราชการสว่ นท้องถิ่น คือ 1) องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั ภเู ก็ต (อบต.ภเู ก็ต) 2) เทศบาล จํานวน 6 เทศบาล (2.1) เทศบาลนครภเู ก็ต (2.2) เทศบาลตาํ บลกระรน (2.3) เทศบาลป่ าตอง

75 (2.4) เทศบาลตําบลกระทู้ (2.5) เทศบาลตาํ บลเทพกระษัตรี (2.6) เทศบาลตําบลชิงทะเล 3) องค์การบริหารสว่ นตาํ บล (อบต.) จํานวน 13 อบต. (3.1) อบต.รัษฏา (3.2) อบต.วชิ ิต (3.3) อบต.ฉลอง (3.4) อบต.ราไวย์ (3.5) อบต.เกาะแก้ว (3.6) อบต.กระรน (3.7) อบต.กมลา (3.8) อบต.เชิงทะเล (3.9) อบต.ศรีสนุ ทร (3.10)อบต.เทพกระษัตร (3.11)อบต.สาคู (3.12)อบต.ป่ าคลอก (3.13)อบต.ไม้ขาว 2.6.6.4 สภาพทางการเมือง สาํ นกั งานจงั หวดั ภเู ก็ต (2535) ได้แบง่ สภาพทางการเมืองออกเป็ น 2 ลกั ษณะ คอื 1) การเมืองระดบั ประเทศ ประชาชนชาวจงั หวดั ภเู ก็ต มีความสนใจและ ตื่นตวั ทางการเมืองพอสมควร จงั หวดั ภเู ก็ตแบง่ เขตการเลือกตงั้ ได้ 1 เขต และมีสมาชิกสภาผ้แู ทน ราษฎรได้ 1 คน (โดยยดึ ถือจํานวนประชากร 150,000 คนตอ่ ส.ส. 1 คน) 2) การเมืองระดบั ท้องถ่ิน มีการเลือกตงั้ สมาชิกสภาจงั หวดั สมาชิกสภา เทศบาล และคณะ กรรมการสขุ าภบิ าล 2.6.6.5 ลกั ษณะการบริหาร คณะกรรมการฝ่ ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ (2544) แบ่ง ลกั ษณะการบริหารออกเป็ น 3 ลกั ษณะ คอื 1) การบริหารราชการสว่ นกลาง มีสว่ นราชการสงั กดั สว่ นกลางของ กระ

76 ทรวง ทบวงกรม ตา่ งๆ อยใู่ นพืน้ ที่จงั หวดั ภเู ก็ต จํานวน 68 หนว่ ยงาน ทงั้ สว่ นที่เป็นสว่ นราชการและ รัฐวสิ าหกิจ 2) การบริหารราชการส่วนภูมิภาค มีสวนราชการสังกัดภูมิภาคของ กระทรวง ทบวงกรมตา่ งๆ มาตงั้ สาํ นกั งานอยใู่ นพืน้ ที่จงั หวดั ภเู ก็ต คอื (2.1) ระดบั จงั หวดั ประกอบด้วยสว่ นราชการจงั หวดั จํานวน 35 หน่วย มีหวั หน้าสว่ นราชการประจําจงั หวดั ทําหน้าท่ีเป็ นที่ปรึกษาผ้วู า่ ราชการจงั หวดั ในการบริหาร ราชการแผน่ ดนิ (2.2) ระดับอําเภอ ประกอบด้วย ส่วนราชการระดบั อําเภอ 3 อําเภอ 17 ตําบล และ 107 หมบู่ ้าน 3) การบริหารส่วนท้องถ่ิน จังหวดั ภูเก็ตมีการปกครองและการบริหาร ราชการสว่ นท้องถ่ิน แบง่ ออกเป็ นสว่ นตา่ งๆ คอื (3.1) องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั ภเู ก็ต 1 แห่ง เทศบาล มี 6 แห่ง คอื เทศบาลเมืองภเู ก็ต เทศบาลตําบลกระรน อําเภอเมืองภเู ก็ต เทศบาลตาํ บลป่ าตอง อําเภอกระทู้ เทศบาลตําบลกระทู้ อําเภอกระทู้ เทศบาลตําบลกระษัตรี อําเภอถลาง เทศบาลตําบลเชิงทะเล อําเภอถลาง (3.2) องค์การบริหารสว่ นตาํ บล เป็ นองค์การปกครองท้องถ่ินที่มี บทบาทมากตอ่ การพฒั นาจงั หวดั ภเู ก็ตในยคุ ปัจจบุ นั ในเขตอําเภอถลาง ในยคุ ปัจจบุ นั นี ้มีเขตการ ปกครองแบบองค์การบริหารสว่ นตาํ บลมากที่สดุ 2.6.6.6 การแบง่ เขตการเลอื กตงั้ ของจงั หวดั ภเู ก็ต จังหวัดภูเก็ตท่ีผ่านมาแบ่งเขตการเลือกตัง้ เขตเดียว มีสมาชิก ผ้แู ทนราษฎร 1 คน ในการเลือกตงั้ ตามรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2540 จงั หวดั ภเู ก็ต แบง่ เขต การเลอื กตงั้ ออกเป็ น 2 เขต มีสมาชิกผ้แู ทนราษฎร 2 คน โดยแบง่ เขตพืน้ ท่ีออกเป็ น เขต 1 ประชากรเขตอําเภอเมือง (ยกเว้นตําบลเกาะแก้วและ ตําบลรัษฎา) เขต 2 ประชากรเขตอําเภอกระตู้ อําเภอถลาง ตําบลแก้วและ ตําบลรัษฎา(อ้างถึงใน คณะกรรมการฝ่ ายประมวลเอกสารและจดหมายเหต,ุ 2544) สรุป มณฑลภูเก็ตตัง้ ขึน้ โดยการรวมหัวเมืองภาคใต้ชายฝั่งตะวันตก ทงั้ หมด 7 เมือง คือ ภเู ก็ต พงั งา กระบ่ี ตะกว่ั ป่ า ระนอง ตรัง สตลู มณฑลภเู ก็ตมีข้าหลวงคนแรก คือพระยาทิพโกษา (โต โชติกเสถียร) ซง่ึ เป็ นข้าหลวงท่ีมีบทบาทสําคญั ในการปฏิรูปมณฑลภเู ก็ต

77 ให้มีความเจริญก้าวหน้าพระยาทิพโกษา ถือว่าเป็ นรากฐานการปฏิรูปมณฑลภเู ก็ตในหลายๆด้าน กลา่ วคอื เป็ นผ้ดู ําเนินการแบง่ เขตการปกครองออกเป็ น เมือง อําเภอ ตําบล หมบู่ ้าน การปฏิรูปการ ปกครองในมณฑลภเู ก็ตซ่ึงวางรากฐาน โดยเฉพาะพระยาทิพโกษา (โต โชติกเสถียร) ได้ประสบ ความสาํ เร็จตามเป้ าหมายในสมยั พระยารัษฎานปุ ระดษิ ฐ์ (คอซมิ บี ้ณ ระนอง) 2.6.7 ศลิ ปวัฒนธรรมของชาวภเู ก็ต สมหมาย (2540) ได้สรุป วฒั นธรรมของชาวภเู ก็ตนนั้ จําแนกเป็ นประเภทใหญ่ๆ โดยสรุปออกเป็ น 2 ประเภท คอื 1 ประเภทวตั ถธุ รรม ได้แก่ วฒั นธรรมท่ีแสดงด้วยรูปแบบ วตั ถุ หรือ สิ่งท่ี สามารถจบั ถือได้ เช่น สงิ่ ปลกู สร้าง เครื่องแตง่ กาย เคร่ืองใช้และศลิ ปกรรม เป็ นต้น 2 ประเภทนามธรรม ได้แก่ วฒั นธรรมที่แสดงในลกั ษณะท่ีไม่เป็ นวตั ถุ เช่น ความคิด ศีลธรรม กฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณี ความศรัทธาในศาสนา มารยาทใน สงั คม แต่ใน ณ ท่ีนีจ้ ะกล่าวถึงเรื่อง วฒั นธรรมการแต่งกาย ชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองจงั หวดั ภเู ก็ต เทา่ นนั้ 2.6.7.1 วฒั นธรรมการแตง่ กาย สมหมาย (2540) กล่าวว่า ชาวภเู ก็ตท่ีสืบเชือ้ สายจากมาเลย์ หรืออย่ใู น สงั คมของมาเลย์ ก็ย่อมจะแต่งกายโน้มเอียงไปทางมาเลย์ คือ ผ้ชู ายน่งุ โสร่ง และเหน็บกริช ส่วน หญิงก็น่งุ โสร่งปาเต๊ะ สวมเสือ้ ทรงกระบอก ปลอ่ ยชายแหลมลงมาด้านหน้า ท่ีเรียกว่า ทรงย่าหยา สว่ นผ้ทู ี่สืบเชือ้ สายชาวจีน ก็จะแตง่ ตวั ไปตามประเพณีจีน คือ ผ้ชู ายน่งุ กางเกง ไม่มีสาบและรังดมุ สวมเสือ้ แขนยาวปล่อยชาย มีกระเป๋ าสองข้างที่เรียกว่า เสือ้ กยุ เฮง ผ้ทู ่ีใกล้ชิดฝรั่ง จะน่งุ กางเกงขา ยาว มีสาบและรังดมุ ด้านหน้า สวมเสือ้ เชิต้ มีผ้าผกู คอ มีรองเท้าและถงุ เท้าพร้อมเหมือนฝร่ัง นอกจากนี ้ สํานักพิมพ์สารคดี (2535 )กล่าวว่า ความเป็ นภูเก็ตท่ีเรา สมั ผสั ได้ในทกุ วนั นี ้ไม่ว่าจะเป็ นตึกรามบ้านช่อง อาหารการกิน หรือแม้แต่วฒั นธรรมจีนที่เข้ามา ผสมผสานอย่มู ากทีเดียว ทงั้ ที่แต่เดิมนนั้ ชาวถลาง (ภเู ก็ต) ในอดีตเป็ นคนไทยแท้ๆ กบั ชาวมสุ ลิม เชือ้ สายมาลายู ซง่ึ ตงั้ หลกั แหลง่ อยบู่ นเกาะแห่งนีเ้ป็ นเวลาหลายร้อยปี มาแล้ว คณะกรรมการฝ่ ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ (2544) ได้กลา่ วว่า แหลง่ ท่ีมาของชายมสุ ลิมในภเู ก็ตว่ามาจากมาเลเซียและอาหลบั มสุ ลมิ ชายที่มาจากมาเลเซีย มกั สวมหมวกหนีบสีดํา มสุ ลมิ ชายที่มาจากอาหรับ มกั สวมหมวกสีขาว ในปัจจบุ นั ไมค่ อ่ ยนิยมหมวกสี ดํา เพราะชาวไทยมสุ ลิมส่วนใหญ่เดินทางไปประกอบพีธีฮจั ญ์ท่ีประเทศซาอดุ ิอารเบีย และได้รับ วฒั นธรรมการแตง่ กายตลอดจนการสวมหมวกสขี าวและนําการโพกศรี ษะเข้ามาด้วยผ้หู ญิงอิสลาม

78 ส่วนใหญ่ใช้ผ้าคลมุ ผม แต่งกายมิดชิด ปัจจบุ นั ชาวไทยมสุ ลิมเป็ นชาวภเู ก็ตมากขึน้ และแต่งกาย เหมือนชาวภเู ก็ตทวั่ ไป และ นอกจากนี ้ ฤดี (2553) กล่าวว่า เน่ืองจากจังหวดั ภูเก็ตเป็ นแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ จึงเป็ นส่ิงจูงใจให้คนในภูมิภาคต่างๆ อพยพเข้ามาตัง้ ถิ่นฐานใน ดนิ แดนนีเ้ป็ นจํานวนมาก ซงึ่ แตล่ ะกลมุ่ ตา่ งมีขนบธรรมเนียมประเพณีเป็ นของตนเอง ฉะนนั้ จงั หวดั ภเู ก็ตจึงจดั เป็ นพหสุ งั คม มีวฒั นธรรมผสมผสานในหลายรูปแบบ แตส่ ามารถอย่รู ่วมกนั อย่างสงบ สขุ ไมม่ ีปัญหาระหวา่ งกลมุ่ ชน ทกุ คนตา่ งก็ร่วมแรงร่วมใจในการพฒั นาภเู ก็ตให้เจริญก้าวหน้า และ พฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่องจนถงึ ปัจจบุ นั ฉะนนั้ การศกึ ษาถึงลกั ษณะการแตง่ กายของชาวภเู ก็ตจะเป็ นไป ในรูปแบบใด ที่เป็ นเอกลกั ษณ์เฉพาะตนเพียงอย่างเดียวนนั้ คงจะเป็ นการยากท่ีจะเจาะจงลงไป หากกําหนดการแตง่ กายของชาวภเู ก็ต จะต้องนําเอาการแตง่ กายของกลมุ่ คนชาวภเู ก็ตมาประยกุ ต์ เป็ นแบบใหมท่ ี่ยอมรับโดยทวั่ กนั 2.6.7.2 ความสาํ คญั ของการรักษาวฒั นธรรม วัฒนธรรมบาบ๋าภูเก็ต เป็ นวัฒนธรรมท้องถ่ินกว่า 100 ปี ของจังหวัด ภูเก็ต ชาวบาบ๋ากําเนิดจากบรรพบุรุษชาวจีนโพ้นทะเล ท่ีมาอาศยั และสมรสกับชาวไทยท้องถิ่น ภเู ก็ตเกิดเป็ นประเพณีวฒั นธรรมที่งดงามมีเอกลกั ษณ์โดดเด่นเป็ นของตนเอง เช่น สถาปัตยกรรม ย่านเมืองเก่าภเู ก็ต ภาษาอาหาร การแต่งกายชดุ ย่าหยา และวฒั นธรรมตา่ ง ๆปัจจบุ นั ยงั คงรักษา วฒั นธรรมการแตง่ กายเอาไว้ เพ่ือให้อยคู่ กู่ บั ชาวภเู ก็ตตอ่ ไป ภูเก็ตเป็ นแหล่งท่องเท่ียวอันงดงาม และยังมากไปด้วยเร่ืองราวของ ประวตั ศิ าสตร์ ประเพณี และวฒั นธรรมอนั เก่าแก่ท่ีเป็ นเอกลกั ษณ์สาํ หรับประเพณีท่ีเป็ นเอกลกั ษณ์ ก็ คือ ประเพณีการแตง่ งานของบาบา๋ หรือวิวาห์บาบา๋ ภเู ก็ต ซง่ึ เป็ นประเพณีการออกเรือนของบา่ ว สาวแบบโบราณ ท่ีชาวบาบ๋าภูเก็ตยงั คงรักษาขนบธรรมเนียมนีไ้ ว้ และร่วมกนั สืบทอดอนุรักษ์ไว้ ไม่ให้หายไปจากรุ่นส่รู ุ่น ทางสมาคมเพอรานากันภูเก็ต ได้ร่วมกับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เทศบาลนครภูเก็ต และโรงเรียนสอนทําอาหารและภตั ตาคารบลูเอเลเฟ่ นท์ ภูเก็ต จัดงานวิวาห์ หวานบาบา๋ สดุ ปลายฟ้ าอนั ดาขนึ ้ เพ่ือเป็ นการจดั งานแตง่ งานตามแบบฉบบั ของชาวบาบา๋ เพ่ือสืบ ทอดประเพณีนี ้ให้เป็ นท่ีรู้จกั ของคนทว่ั โลก และยงั ถือว่าเป็ นจดุ ขายพร้อมกบั สง่ เสริมการท่องเท่ียว ให้กบั จงั หวดั ภเู ก็ตอีกทางหน่ึง โดยทางสมาคมเพอรานากนั และชาวบาบ๋าภเู ก็ต ได้ร่วมกนั จดั งาน ประเพณีแตง่ งานอนั เป็ นวฒั นธรรมประเพณีโบราณ หลงั จากท่ีการแตง่ งานแบบบาบา๋ หายไปจาก จงั หวดั ภเู ก็ตถงึ 50 ปี แตก่ ็ได้ร่วมกนั อนรุ ักษ์ไว้เป็ นอยา่ งดี เพื่อให้ประเพณีที่ดีงามนีย้ งั คงอย่กู บั ชาว ภเู ก็ตตอ่ ไป

79 สรุป จงั หวดั ภเู ก็ตเป็ นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สําคญั จึงเป็ นส่ิงจงู ใจ ให้คนในภูมิภาคต่างๆ อพยพเข้ามาตัง้ ถิ่นฐานในดินแดนนีเ้ ป็ นจํานวนมาก จึงทําให้มีความ หลากหลายของกลมุ่ ชนท่ีเข้ามาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต ทําให้วฒั นธรรม และการดําเนินชีวติ ของ คนในสงั คม มีลกั ษณะที่แตกต่างกันออกไป เช่น ชาวไทยมุสลิม อาศยั อยู่ริมทะเล บริเวณอ่าว มะขาม บ้านกมลา บ้านบางเทา บ้านคอเอน ฯลฯ นอกจากนีย้ งั มีกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุชาวเล บริเวณบ้าน ราไวย์ เกาะสเิ หร่ สว่ นชาวไทยพทุ ธ อาศยั กระจดั กระจายออกไปนอกตวั เมืองเป็ นกลมุ่ เป็ นพวก เช่น คนไทยที่บ้านตะเคยี น บ้านดอน บ้านพอน บ้านสาคู บ้านเหรียง และกลมุ่ ชนชาวจีนท่ีอาศยั บริเวณ ถนนถลาง บางเหนียว และท่ีอําเภอกะทู้ จึงทําให้เกิดการผสมผสานและหลอมรวมกันระหว่าง วฒั นธรรม จงึ ทําให้เกิดเป็ นเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ไม่วา่ จะเป็ น ตกึ รามบ้านช่อง อาหารการกิน ภาษา พดู ประเพณี และ วฒั นธรรมที่เข้ามาผสมผสานเป็ นเอกลกั ษณ์ของชาวภเู ก็ต 2.7 ผลงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวข้อง พรรณี (2536) ศกึ ษาเร่ืองการแต่งกายของชาวผ้ไู ทยบ้านกดุ หว้า ตําบลกดุ หว้า อําเภอกฉุ ิ นารายณ์ จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อศกึ ษา 1) เพ่ือศกึ ษาลกั ษณะเครื่องแตง่ กาย และ การแตง่ กายของชาวผ้ไู ทย บ้านกดุ หว้า ตาํ บลกดุ หว้า อําเภอกฉุ ินารายณ์ จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ 2) เพ่ือ ศกึ ษาคติความเช่ือเกี่ยวกบั เครื่องแต่งกายและการแต่งกายของชาวผู้ไทย บ้านกุดหว้า ตําบลกุด หว้า อําเภอกฉุ ินารายณ์ จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ การศกึ ษาครัง้ นี ้ผ้วู ิจยั ได้ใช้วิธีการศกึ ษาเชิงคณุ ภาพเป็ น หลกั โดยอาศยั ข้อมลู ทงั้ ข้อมลู จากเอกสาร และข้อมลู ภาคสนาม ในการวิจยั ภาคสนาม ผ้วู ิจยั ใช้ วิธีการสมั ภาษณ์และการสงั เกต ซง่ึ ผลของการศกึ ษาพอสรุปได้ดงั ตอ่ ไปนี ้ 1. ลกั ษณะและรูปแบบเครื่องแต่งกาย พบว่า เคร่ืองแต่งกายผู้ไทย บ้านกดุ หว้า แบง่ เป็ น 6 ประเภท คอื 1.1) ผ้าแพร ได้แก่ ผ้าอ้อม ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดมือ ผ้าแพรฟ้ อย ผ้าแพรวา และผ้าขาวม้า 1.2) เสือ้ ได้แก่ เสือ้ คอบ้าง เสือ้ คอกลม เสือ้ กยุ เฮง เสือ้ มอบ เสือ้ ฮาวาย เสือ้ เชิต้ เสือ้ โปโล และเสือ้ ดํา 1.3) กางเกง ได้แก่ กางเกงกบ กางเกงขาก๊ยุ กางเกงหวั ฮดู กางเกงฟอร์ม และกางเกงหร่ัง (กางเกงขายาว) 1.4) ผ้าโสร่ง 1.5) ผ้าซ่ิน ได้แก่ ซ่ินหม่ี ซ่ินทิวและซ่ินตลาด และ 1.6) เครื่องประดบั 2. ลกั ษณะการแต่งกาย พบว่า การแต่งกายจะขึน้ อยู่กับวยั และโอกาส ซ่ึงแบ่ง ออกเป็ นวยั ทารก วยั เดก็ วยั หน่มุ สาว วยั ผ้ใู หญ่ และวยั ชรา สว่ นโอกาสนนั้ ได้แก่ โอกาสอยกู่ บั บ้าน โอกาสไปทํางาน โอกาสไปทําบุญ วยั เด็ก วยั หน่มุ สาว วยั ผ้ใู หญ่ และวยั ชรา ทงั้ ชายและหญิงมกั แตง่ ตวั ตามแบบสมยั นิยมของตะวนั ตก เพียงแตผ่ ้หู ญิงยงั นิยมใสซ่ น่ิ หมี่หรือซนิ่ ตลาด สว่ นผ้หู ญิงวยั

80 ชรานิยมแตง่ กายแบบดงั้ เดมิ คือ น่งุ ซน่ิ หม่ีใสเ่ สอื ้ แขนสนั้ หรือแขนยาว มีผ้าเบ่ียงและเกล้าผม ซงึ่ จะ พบเห็นในงานบญุ ตา่ งๆ เช่น บญุ พระเวส และบญุ บงั้ ไฟ เป็ นต้น 3. คติความเชื่อเก่ียวกับการแต่งกาย แบ่งเป็ น 4 ลักษณะ คือ คติความเชื่อ เก่ียวกับการทําเครื่องแต่งกาย คติความเช่ือเก่ียวกับเครื่องประดับ คติความเช่ือเกี่ยวกับ เคร่ืองนงุ่ หม่ และคตคิ วามเชื่อเกี่ยวกบั การแตง่ กาย ชาวผ้ไู ทยเชื่อวา่ เคร่ืองนงุ่ ห่มตา่ งๆ ล้วนเป็ นของ มีวญิ ญาณ เมื่อใช้จนขาดแล้ว จะไมน่ ําไปฝังหรือเผาไฟ แตจ่ ะนําไปทิง้ ไว้ท่ีโคนต้นไม้ให้ผพุ งั ไปตาม ธรรมชาติ การแต่งกายไปวดั ต้องแต่งให้เรียบร้อย มิเช่นนนั้ อาจจะเป็ นบาปและไมไ่ ด้ขนึ ้ สวรรค์เม่ือ ตายไปแล้ว เรวตั ิ (2545) ศกึ ษาเรื่อง ทศั นคตขิ องสตรีมสุ ลมิ ตอ่ การแตง่ กายตามบทบญั ญตั ขิ องศาสนา อิสลาม กรณีกรุงเทพมหานคร 1) เพื่อศึกษาถึงทัศนคติของสตรีมุสลิมที่อาศัยอยู่ใน กรุงเทพมหานคร ตอ่ การแต่งกายสตรีมสุ ลิมตามบทบญั ญตั ิของศาสนาอิสลาม 2) ปัจจยั ท่ีมีผล ต่อทัศนคติของสตรีมุสลิมท่ีอาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ต่อการแต่งกายของสตรีมุสลิมตาม บทบญั ญตั ขิ องศาสนาอิสลาม โดยทําการศกึ ษาจากสตรีชาวมสุ ลมิ จํานวน 140 คน จากเขตมีนบรุ ี ประเวศน์ ธนบุรี และราษฎร์บูรณะ ผลการศึกษา พบว่า ปัจจุบนั สตรีมุสลิมส่วนใหญ่มีความรู้ เกี่ยวกับศาสนาอิสลามเป็ นอย่างดี การปฏิบตั ิงานหรือการเข้าร่วมกิจกรรมหรือศาสนาพิธีในงาน ต่าง ๆ จะมีอยู่เป็ นประจําสม่ําเสมอ และมีทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการแต่งกายตามบทบญั ญัติของ ศาสนาอิสลาม ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ตวั แปรสถานภาพในการนบั ถือศาสนาอิสลาม การศกึ ษาศาสนาอิสลามอย่างเป็ นทางการ ระยะเวลาในการศึกษาศาสนาอิสลาม การเคยนบั ถือ ศาสนาอื่นมาก่อนของบิดา การเคยนบั ถือศาสนาอื่นมาก่อนของสามี การอาศยั อยู่ในชุมชนท่ีมี มุสลิมมากกว่าศาสนาอื่น ระยะทางระหว่างบ้านถึงมัสยิด มีผลต่อทัศนคติในการแต่งกายตาม บทบญั ญตั ิทางศาสนา ซง่ึ ปัจจยั ดงั กล่าวนีน้ ่าจะมาจากพืน้ ฐานของการศกึ ษาทางด้านภาคบงั คบั ของศาสนาท่ีกําหนดไว้ในพระมหาคมั ภีร์อลั กุรอาน และแบบฉบบั ท่ีดีของท่านศาสดามูฮมั หมัด (ซ.ล.) ส่วนทางด้านทศั นคติท่ีเป็ นเชิงลบนนั้ ถ้าวิเคราะห์ในรายละเอียดแล้วจะเห็นว่าจะมาจาก กล่มุ ตวั อย่างท่ีมีระดบั การศกึ ษาภาคบงั คบั ทางศาสนาไม่มากนกั หรือไม่ได้รับการศึกษาทางด้าน ศาสนาเลย ข้อเสนอแนะ คือ สง่ เสริมให้การศกึ ษาทางด้านศาสนา และการให้ความสําคญั ในการ ปฏิบตั ิศาสนกิจมากขึน้ รวมทงั้ การเริ่มต้นให้การศกึ ษาทางศาสนาอิสลามควรตงั้ แต่อายนุ ้อย เพ่ือ เพ่ิมระยะเวลาในการศึกษาศาสนาอิสลาม อีกทงั้ น่าจะมีการเปิ ดการอบรมให้สตรีมสุ ลิมท่ีเข้ามา ยอมรับนบั ถือศาสนาอิสลามในภายหลงั ได้มีโอกาสทําความเข้าใจในความสําคญั ของการแตง่ กาย ตามบทบญั ญตั ขิ องศาสนาอิสลามเพราะจะสง่ ผลตอ่ การเพมิ่ ทศั นคติในทางท่ีดีในการแตง่ กายตาม

81 บทบญั ญตั ศิ าสนา NGUYEN THI (2549) การวิจยั ครัง้ นี ้มีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือศกึ ษาบริบทของชมุ ชนหม่บู ้าน เป็ นทางด้านกายภาพเศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรม ศกึ ษาลกั ษณะการแต่งกายของคนไทดําใน หม่บู ้านป๊ าน ศกึ ษามลู เหตทุ ี่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของวฒั นธรรมการแต่งกายของคนไทดําใน หม่บู ้านป๊ าน และศึกษาแนวทางการอนุรักษ์การแต่งกายของคนไทดําในหม่บู ้านป๊ าน งานวิจยั นี ้ เป็ นการวิจยั เชิงคณุ ภาพ ซ่ึงศึกษาข้อมลู จากวรรณกรรมที่เก่ียวข้องและการวิจัยภาคสนาม การ ศึกษาวิจัยในครัง้ นี ้ ได้ศึกษาจากกล่มุ คนไทดําในหม่บู ้านป๊ าน ซึ่งได้แบ่งเป็ น 3 กล่มุ ได้แก่ กล่มุ บคุ คลที่ประกอบอาชีพเป็ นราชการ กล่มุ ผ้บู ริหารหม่บู ้าน และกล่มุ ชาวบ้านท่ีอาศยั อย่ใู นหม่บู ้าน ป๊ าน ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ภาคสนาม ผ้วู ิจยั ใช้วิธีการสมั ภาษณ์พดู คยุ อย่างไม่เป็ นทางการกบั ชาวบ้าน สังเกตลักษณะการแต่งกายของคนไทดําสัมภาษณ์แบบเจาะลึกโดยใช้แนวคําถาม ปลายเปิ ด และมีการสมั ภาษณ์กล่มุ บคุ คล (Interview group) ข้อมลู ท่ีเก็บรวบรวมมาได้นํามา จําแนกและจัดหมวดหมู่และสรุปข้อมูลเก่ียวกับลักษณะการแต่งกายของคนไทดําทัง้ ในอดีต ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคต ผลการวิจยั พบว่า หม่บู ้านป๊ านเป็ นชุมชนคนไทดําท่ีมีอายุหลาย ร้อยปี ลกั ษณะทางกายภาพขึน้ อย่กู บั สภาพอากาศและภมู ิประเทศของพืน้ ท่ีในเขตตะวนั ตกเฉียง เหนือของเวียดนาม ซงึ่ เป็ นเขตภเู ขาสงู และมีอากาศร้อนชืน้ ถึงแม้ลกั ษณะทางด้านสาธารณปู โภค เศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรมของหม่บู ้านได้เปล่ียนแปลงไปจากเดิมก็ตาม แต่คนไทดําหม่บู ้าน ป๊ าน ยงั คงรักษาระบบเครือญาติขนบธรรมเนียมประเพณี และวฒั นธรรมไทดําได้มากกวา่ หม่บู ้าน อื่นๆ ท่ีอย่บู ริเวณใกล้เคียง การแต่งกายของคนไทดําในหม่บู ้านป๊ าน เป็ นการสืบทอดมาจากอดีต และได้ พัฒนานาจนกลายเป็ นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนไทดําตัง้ แต่เสือ้ ผ้ า เครื่องประดบั ตลอดจนทรงผมของผู้หญิงไทดํา ผู้หญิงไทดําเป็ นกําลงั สําคญั ในการผลิตผ้า ปัก ลวดลาย และตดั เย็บเสือ้ ผ้า แตป่ ัจจบุ นั นีว้ ฒั นธรรมการแตง่ กายของคนไทดํากําลงั เปลี่ยนแปลงไป ลกั ษณะการแตง่ กายของคนไทดาํ มีทงั้ แบบไทดาํ ดงั้ เดมิ แบบผสมระหวา่ งเครื่องแตง่ กายแบบไทดํา กบั แบบสมยั นิยม และแบบสมยั นิยมเหมือนคนเวียดนามทว่ั ไป ทัง้ นีข้ ึน้ อยู่กับเพศ อายุ และการ ประกอบอาชีพ มีปัจจยั หลายอยา่ งทงั้ ทางด้านการเมือง (แนวทางการเปลีย่ นใหมข่ องประเทศในทกุ ด้าน ทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม รวมทัง้ การประกาศใช้นโยบายและโครงการ พฒั นาเศรษฐกิจต่างๆ) เศรษฐกิจ (การยกระดบั ความเป็ นอย่ขู องประชาชนให้ดีขึน้ การประกอบ อาชีพอย่างหลากหลาย ตลอดจนการพฒั นาทางด้านผลิตภณั ฑ์ อตุ สาหกรรมเสือ้ ผ้า) สงั คม (การ พฒั นาทางด้านสาธารณปู โภคตา่ งๆ การพฒั นาทางด้านการศกึ ษา การพฒั นาระบบสื่อสารมวลชน การประกอบอาชีพ) ตลอดจนทางด้านวัฒนธรรม (การรับอิทธิพลจากวัฒนธรรมจากสังคม

82 ภายนอกเข้ามาในหม่บู ้าน ซงึ่ ได้แก่ วฒั นธรรมของคนเวียดนามและวฒั นธรรมตะวนั ตก ได้ส่งผล ทางตรงและทางอ้อม ต่อการเปล่ียนแปลงของลกั ษณะการแต่งกายของคนไทดําในหม่บู ้านป๊ าน แนวทางกานอนุรักษ์วฒั นธรรมแต่งกายแบบไทดําในหม่บู ้านป๊ าน ควรเน้นการปลกู ฝังให้กลมุ่ เด็ก และเยาวชนมีความรักและความภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเอง ทัง้ นีเ้ พราะคนกลุ่มนีม้ ีการ เปลี่ยนแปลงด้านการแตง่ กายมากที่สดุ และมีแนวโน้มจะรับการแต่งกายตามแบบสมยั นิยมทงั้ ใน ชีวิตประจําวนั และในโอกาสต่างๆ นอกจากนี ้ คณะผู้บริหารหมู่บ้านถือเป็ นกําลังสําคญั ในการ อนุรักษ์วัฒนธรรมแบบไทดํา โดยจัดกิจกรรมต่างๆ ท่ีสอดคล้องกับโครงการอนุรักษ์วัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างย่ิงกิจกรรมตามวฒั นธรรมไทดําภายในหม่บู ้าน เพ่ือให้ประชาชนมีโอกาสเข้าร่วม ชมและสามารถพฒั นาเป็ นจดุ ดงึ ดดู ประชาชนในหมบู่ ้านอื่นๆ และนกั ทอ่ งเท่ียวเข้ามาร่วมชม และมี การกําหนดการแต่งกายไทดําอย่างชดั เจน เม่ือมีกิจกรรมต่างๆของหม่บู ้าน ส่วนสําหรับกล่มุ และ องค์กรตา่ งๆประจําหม่บู ้าน ควรมีกําหนดการแต่งกายแบบไทดํา สําหรับสมาชิกทกุ คนเมื่อเข้าร่วม กิจกรรมตา่ งๆ ภายในกลมุ่ นอกจากนนั้ ควรมีกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้เทคนิคการทอผ้าและ การทําผ้าเปี ยว หรือจัดกล่มุ ทอผ้าและผลิตส่ิงของต่างๆจากผ้าพืน้ เมือง เพื่อเป็ นแนวทางในการ แก้ปัญหาการทํางาน สร้างรายได้ให้กบั สมาชิกของกลมุ่ เยาวชนและกลมุ่ สตรี ซง่ึ เป็ นกลมุ่ เป้ าหมาย ในการอนุรักษ์วฒั นธรรมการแต่งกายแบบไทดํา นอกจากนนั้ การอนุรักษ์วฒั นธรรมการแต่งกาย ของคนไทดาํ ควรทําควบคกู่ บั การอนรุ ักษ์วฒั นธรรมทางด้านภาษา สาวิตร (2551) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสืบเน่ืองและการเปลี่ยนแปลงของ วฒั นธรรมการแต่งกายเจ้าสาวชาวไทยเชือ้ สายจีน ที่ส่งผลส่งู านสร้างสรรค์ “กรณีศึกษา พิธีวิวา บาบา๋ เพอรานากนั จงั หวดั ภเู ก็ต” มีวตั ถปุ ระสงค์ 1) เพ่ือศกึ ษาความสมั พนั ธ์ระหว่างการสืบเน่ือง และการเปลี่ยนแปลงของวฒั นธรรมการแต่งกายเจ้าสาวชาวไทยเชือ้ สายจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 2) เพื่อสร้างสรรค์งานนาฎยศิลป์ จากขนั้ ตอน วิธีการ และรูปแบบวฒั นธรรมการแตง่ กายของเจ้าสาว จีนท่ีเป็ นคนไทยเชือ้ สายจีน ในจงั หวดั ภเู ก็ต 1 ชดุ การแสดง 3) เพื่อเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ให้ ผ้สู นใจได้มีโอกาสศกึ ษาค้นคว้าในโอกาสตอ่ ไป ใช้วิธีการศกึ ษาจากเอกสาร การสมั ภาษณ์ทางลกึ จากผ้ชู ํานาญการภาคสนาม และจากประสบการณ์ของผ้ศู กึ ษา ตลอดระยะเวลา 20 ปี ในการเป็ น ผู้ร่วมกิจกรรมวัฒนธรรมบาบ๋าภูเก็ต โดยเข้าไปมีส่วนร่วมกับครอบครัวคนไทยเชือ้ สายจีน ใน จงั หวดั ภเู ก็ต โดยเฉพาะครอบครัว คณุ จรูญรัตน์ ตณั ฑวนิช ผ้ชู ํานาญการทางด้านประเพณีบาบา๋ และรวบรวมรักษาชดุ แต่งกายของเจ้าสาวชาวไทยเชือ้ สายจีนแบบโบราณ มีอายเุ ก่าแก่กว่าร้อยปี ตลอดจนเข้าร่วมประเพณีที่สําคญั เช่น ประเพณีการแต่งงานบาบ๋าเพอรานากนั ในช่วงเวลา 1 ปี เต็ม ตลอดจนเข้าร่วมปฏิบตั ิการ ทักษะด้านการทําผม การแต่งกาย การใช้เครื่องประดับแบบ

83 โบราณ ซ่ึงมีเอกลักษณ์เฉพาะในการแต่งกายตามรูปแบบโบราณอย่างต่อเนื่อง ที่สําคญั มีการ สมั ภาษณ์อย่างไม่เป็ นทางการและเป็ นทางการจนเป็ นผลสําเร็จ โดยวิเคราะห์ข้อมลู จากเอกสาร ตําราและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องอย่างบูรณาการตามขนั้ ตอนเป็ นระบบ ผลการศึกษา พบว่า วิถีชีวิต ของประชาชนชาวจีน ซงึ่ อพยพมาจากจีนแผน่ ดนิ ใหญ่ มีความสมั พนั ธ์ผสมผสานวฒั นธรรมกบั ชาว ไทยดงั้ เดิมอย่างลงตวั โดยมีการสืบเน่ืองและเปล่ียนแปลง ในวฒั นธรรมร่วมกันของการแต่งกาย เจ้าสาวชาวไทยเชือ้ สายจีน ในการแต่งงานท่ีมีรูปแบบการแต่งกายสอดคล้องสมั พนั ธ์ระหว่างจีน- ไทย กบั ความเช่ือ ตลอดจนประเพณีท่ีสืบทอดมากับชายชาวจีน ในการใช้ชีวิตค่กู ับสตรีพืน้ เมือง ของภเู ก็ตอย่างลงตวั ซง่ึ เรียกบตุ รไทยเชือ้ สายจีนว่า บาบ๋า ประเด็นดงั กลา่ วข้างต้นจึงเป็ นแนวคิด ในการศกึ ษาครัง้ นี ้ซง่ึ เป็ นประเดน็ ปัจจยั ท่ีส่งผลให้เกิดเป็ นผลงานสร้างสรรค์ ระบํานาฎศิลป์ 1 ชดุ ภายใต้ช่ือชดุ “ระบําบาบ๋าเพอรานากนั ” ผลการศกึ ษาครัง้ นีส้ ามารถนําไปใช้เป็ นแนวทางในการ ออกแบบชุดแต่งกาย ในรูปแบบของเจ้าสาวชาวไทยเชือ้ สายจีน แบบบาบ๋าเพอรานากนั ต่อไปได้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ สวุ ิมล (2552) ศกึ ษาเร่ือง ส่ือสารอตั ลกั ษณ์กบั การแต่งกายของชาวไทยโซ่ง อําเภอพนุ พิน จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อศกึ ษา 1) เพ่ือศกึ ษาสถานภาพของการแต่งกายของ ชาวไทยโซง่ จากอดีตถึงปัจจบุ นั 2) เพื่อศกึ ษาปัจจยั สืบทอด/เปลี่ยนแปลงที่สง่ ผลต่อสถานภาพ การแต่งกายของชาวไทยโซง่ จากอดีตถึงปัจจบุ นั 3) เพื่อศกึ ษากลยทุ ธ์การสื่อสารอตั ลกั ษณ์ผ่าน การแต่งกายของชาวไทยโซ่งจากอดีตถึงปัจจุบนั ในขณะเดียวกันผู้วิจัยได้อาศยั วิธีการวิจัยเชิง คณุ ภาพ โดยการเก็บและวิเคราะห์ข้อมลู ทงั้ จากการสงั เกตการณ์ การสมั ภาษณ์ผ้ใู ห้ข้อมลู สําคญั และการทดลองภาคสนาม ผลจากการศกึ ษาสถานภาพของการแต่งกายด้วยการมองผ่านด้านมิติ พืน้ ที่และเวลาออกเป็ น 3 ยคุ คือ ยคุ อดีตสว่ นใหญ่อาศยั อย่บู ริเวณภาคกลางของประเทศไทย เช่น จงั หวดั เพชรบุรี นครปฐม ราชบุรี และสพุ รรณบุรี ต่อมาได้อพยพมาอีกระลอกเข้ามาอาศยั อยู่ใน อําเภอพุนพิน จังหวดั สุราษฎร์ธานี หรือเรียกปรากฎการณ์นีว้ ่ายุคพลดั ถิ่น (พ.ศ. 2500-2548) จนถงึ ยคุ 2549-ปัจจบุ นั โดยการแตง่ กายในชีวิตประจําวนั ในยคุ อดีตมีการใช้กนั ทกุ เพศ ทกุ วยั และ ทกุ กล่มุ ทําให้มีสถานภาพเฟ่ื องฟู ต่อมาในยคุ พลดั ถ่ิน พ.ศ. 2500-2548 ด้วยสภาพในชุมชนเกิด การเปลย่ี นแปลงทําให้สอื่ พืน้ บ้านอยใู่ นอาการเร่ิมบกพกและมีริว้ รอยของวฒั นธรรมภายนอกเข้ามา เป็ นสว่ นหนงึ่ ในการประกอบสร้างอตั ลกั ษณ์ จนกระทง่ั เข้าสยู่ คุ พ.ศ. 2549-ปัจจบุ นั การแตง่ กายมี การหดตวั ลงด้วยการแสดงตวั ตนไว้ในบางวาระและโอกาส ส่วนกรณีการแต่งกายในโอกาสพิเศษ หรือเสือ้ ฮีท่ีใช้ในพิธีศพนัน้ กลับแสดงให้เห็นถึงความเข้มข้นของการดํารงอยู่ของสื่อพืน้ บ้าน จนกระท่ังถึงปัจจุบัน ได้เริ่มเข้าสู่ยุคข้างนอกอยู่แต่ข้างในกลวง เนื่องจากในส่วนคุณค่าและ

84 ความหมายอาจมีความคลายตวั ลงไปบ้างแล้ว ด้านสถานภาพของการดํารงอย่แู ละเปล่ียนแปลงใน ด้านตา่ งๆ นีเ้กิดจากปัจจยั สบื ทอด ได้แก่ ความเช่ือและความศรัทธาในเรื่อง “ผี” ท่ีช่วยหลอ่ เลีย้ งให้ สื่อสามารถดํารงอยู่ในกรอบวัฒนธรรม สํานึกทางชาติพันธ์ุ สายสัมพันธ์ของระบบเครือญาติ สถาบนั การศกึ ษา และการเข้ามาของหน่วยงานภายนอก สว่ นปัจจยั ที่ทําให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ได้แก่ เศรษฐกิจ สภาพพืน้ ฐานทางภูมิศาสตร์ของชุมชน และระบบการศึกษาที่ส่งผลต่อการ สนั่ คลอนความเช่ือ สําหรับในแง่กลยุทธ์การสื่อสารอตั ลกั ษณ์ผ่านการแต่งกายของชาวไทยโซ่ง พบว่า ยุคอดีตชุมชนไทยโซ่งพลดั ถิ่น มีลกั ษณะโครงสร้ างสงั คมปิ ดตวั ต่อโลกภายนอก และอยู่ ภายใต้เง่ือนไขปัจจยั การผลิตที่เอือ้ อํานวย ทําให้สามารถใช้สื่อมาสร้างพรมแดนทางชาติพนั ธ์ุด้วย การอาศยั กลยุทธ์การต่อต้านหรือใช้การสื่อสารแสดงความไม่พอใจและกีดกันไม่ให้วัฒนธรรม ภายนอกเข้ามาเป็ นสว่ นหนง่ึ ในการแสดงอตั ลกั ษณ์ของกลมุ่ คนพลดั ถ่ิน แตท่ ว่าเมื่อต้องพลดั ถ่ินมา อีกระลอกในยุค พ.ศ. 2500-2548 มีลกั ษณะรอยต่อของสงั คมปิ ด จึงเป็ นเหตผุ ลให้ชาวไทยโซ่ง พฒั นากลยทุ ธ์การสือ่ สารแบบแยกพืน้ ที่ ด้วยการสื่อสารตวั ตนที่สานทอไว้ในชมุ ชน จนกระทงั่ ถึงยคุ พ.ศ. 2549-ปัจจุบนั เม่ือสงั คมเริ่มมีแนวโน้มเปิ ดตวั ต่อสงั คมภายนอกมากขึน้ ทําให้ชาวไทยโซ่งได้ พฒั นากลยทุ ธ์การขยายช่องทางในการสื่อสารตามวาระโอกาส ได้แก่ พืน้ ท่ีเฉพาะชมุ ชน/ครัวเรือน วดั พิธีกรรม รวมทงั้ การขยายพืน้ ท่ีสสู่ ถาบนั การศกึ ษา และขยบั ขยายพืน้ ท่ีการส่ือสารตวั ตนออกสู่ สงั คมภายนอก ซ่ึงจะไหลไปตามกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ประเพณีลอยกระทง งานวนั เด็ก ทอดกฐิน เป็ นต้น ในขณะเดียวกนั ชาวไทยโซง่ ก็เรียนรู้ท่ีจะนํากลยทุ ธ์ผสมผสาน (Hybridization) มาใช้ เช่น การผสมผสานกบั วฒั นธรรมหลกั การผสมผสานสื่อใหม่และเก่า และการผสมผสานบางส่วนของ เครื่องแต่งกายกบั เคร่ืองมืออื่น ๆ ทําเป็ นสินค้าทางวฒั นธรรมในรูปแบบของพวงกุญแจ กระเป๋ า สะพาย ซองใส่มือถือ เป็ นต้น สําหรับกรณีของการแต่งกายในโอกาสพิเศษ (พิธีศพ) ได้พยายาม รักษากลยทุ ธ์การสืบทอดความเชื่อเอาไว้ใช้ในการรักษาฐานทางวฒั นธรรม และสามารถสืบทอด ตวั ตนผา่ นพืน้ ที่พธิ ีกรรมเอาไว้ได้อยา่ งเข้มข้นจวบจนถงึ ยคุ ปัจจบุ นั ปิ ยะนนั ท์ (2553) ศกึ ษาเร่ือง เคร่ืองแตง่ กายและเครื่องประดบั ของชาวเปอรานากนั ในเขต เมืองเก่า อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อศกึ ษา 1) เพื่อศกึ ษาประวตั ิการตงั้ ถิ่น ฐานของชาวจีนในภาคใต้ของประเทศไทย 2) เพื่อศึกษารูปแบบวัฒธรรมการแต่งกายและ เคร่ืองประดบั ของชาวไทยเชือ้ สายจีนหรือบาบา๋ ในเขตเมืองเก่าอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 3) เพ่ือ เป็ นการบนั ทึกและรวบรวมข้อมูลเครื่องแต่งกายและเคร่ืองประดบั ของชาวไทยเชือ้ สายจีนหรือ บาบา๋ ในเขตเมืองเก่าอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต เพ่ือนํามาวิเคราะห์และตีความหมายของลวดลาย ท่ีพบ ผลการวิจยั พบวา่ ชาวจีนได้เข้าไปอาศยั อยใู่ นประเทศตา่ งๆในภมู ิภาคเอเชียอาคเนย์แทบจะ

85 ทุกประเทศ ประเทศไทยเป็ นอีกประเทศหน่ึงที่ชาวจีนเข้ามาตงั้ ถิ่นฐานจํานวนมาก ตัง้ แต่สมัย โบราณ เพราะประเทศไทยเป็ นประเทศท่ีมีความอดุ มสมบูรณ์ ประกอบกบั คนไทยมีนิสยั โอบอ้อม อารี คนตา่ งชาติตา่ งภาษาไมเ่ บียดเบียนและจํากดั สทิ ธิการนบั ถือศาสนาอื่นๆ ทําให้ชาวจีนจํานวน มากเข้ามาตงั้ ถ่ินฐานในประเทศไทย ซง่ึ ชาวจีนท่ีอพยพเข้ามาอย่ใู นประเทศไทย ส่วนใหญ่มาจาก มณฑลทางภาคใต้ โดยเฉพาะในเขตมณฑลฮกเกีย้ นและกวางต้งุ มณฑลทงั้ สองนนั้ มีเขตตดิ ตอ่ กบั ทะเล ชาวจีนในบริเวณนนั้ จงึ มีความถนดั ในการใช้ทะเลตดิ ตอ่ กบั ภาคอ่ืนๆของจีนและตดิ ตอ่ ค้าขาย กบั ต่างประเทศ เมื่อชาวจีนเดินทางเข้ามาในประเทศไทย มกั จะมีการรวมตวั ที่ใดที่หน่ึงก่อน เช่น กรุงเทพฯหรือภเู ก็ต โดยอพยพหนีความอดอยากวนุ่ วายเข้าสเู่ มืองภเู ก็ต ซงึ่ เชื่อวา่ เป็ นแหลง่ ท่ีดีอดุ ม สมบูรณ์ในการทํามาหากิน ประชากรพืน้ เมืองไม่หนาแน่น โดยกลุ่มชาวจีนที่อพยพเข้ามาใน ระยะแรกเป็ นชายฉกรรจ์ มีการศึกษาไม่สงู และมีฐานะยากจน จึงได้อพยพเข้ามาเป็ นแรงงานใน เมืองภเู ก็ต นอกจากอพยพมาจากประเทศจีนแล้ว ยงั มีบางสว่ นอพยพมาจากปี นงั สงิ คโปร์และมะ ละกา วิธีชีวิตของชาวจีนในภเู ก็ตคล้ายคลงึ กบั คนจีนในปี นงั เพราะสว่ นใหญ่อพยพมาจากปี นงั ซงึ่ ย่านเมืองเก่า เป็ นย่านประวตั ิศาสตร์ทางวฒั นธรรมของชาวภเู ก็ต ไม่ว่าจะเป็ นด้านสถาปัตยกรรม ประเพณีท้องถ่ินและวฒั นธรรมทางภาษา อาหาร การกินผกั ความเช่ือเร่ืองม้าทรง วิถีความเป็ นอยู่ การแต่งกายและการแต่งงาน ประเพณีการแต่งงานที่เป็ นซงึ่ การแต่งงานแบบโบราณเป็ นประเพณี การแต่งงานท่ีนิยมของชาวภูเก็ตเชือ้ สายจีนฮกเกีย้ นในอดีตย้อนหลงั ไม่ตํ่ากว่า 70-80 ปี นบั เป็ น สมยั ที่ชาวจีนมีอิทธิพลมากในเมืองภเู ก็ตและได้รับการถ่ายทอดวฒั นธรรมมาจากปี นงั ซง่ึ เป็ นการ ผสานวฒั นธรรมไทยของฝ่ ายแม่และวฒั นธรรมจีนของฝ่ ายพ่อ โดยเรียกเหลา่ ลกู ผสมที่เกิดจากพ่อ ที่เป็ นชายชาวจีนและแม่หญิงชาวท้องถิ่นภเู ก็ต บา๋ บาหรือในภาษาสากลเรียกว่า พวกเปอรานากนั ในการศึกษาครัง้ นี ้ เป็ นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ทําการศึกษาเก่ียวกับเครื่องแต่งกายและ เครื่องประดบั ของชาวเปอรานากนั ในเขตเมืองเก่าอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ตโดยใช้แบบสอบภาม เป็ นเครื่องมื่อในการเก็บข้อมลู โดยเก็บข้อมลู ทงั้ ภาคเอกสารและภาคสนาม ซง่ึ การลงเก็บข้อมลู พบ เครื่องแตง่ กายจํานวน 61 ชิน้ และเคร่ืองประดบั 37 ชิน้ รูปแบบของเคร่ืองแตง่ กายนนั้ ได้รับอิทธิพล มาจากรูปแบบเครื่องแตง่ กายชาวจีนตงั้ แตร่ าชวงศ์หมิงของจีน ประสานกบั รูปแบบเครื่องแต่งกาย ท้องถิ่นของมาเลเซีย ส่วนเคร่ืองประดบั จะมีการผสมผสานหลายวฒั นธรรม รูปแบบศิลปกรรม ท้องถ่ิน จีน อินเดียและตะวนั ตก ลวดลายของเคร่ืองแตง่ กายและเคร่ืองประดบั จะใช้กลมุ่ ลวดลาย ใบไม้ และดอกไม้เป็ นกลุ่มลวดลายหลัก และพบการใช้กลุ่มลวดลายสัตว์สิริมงคลร่วมด้วย นอกจากนีย้ ังพบว่า ใช้กลุ่มลายเรขาคณิตด้วย จากการศึกษาวิเคราะห์เครื่องแต่งกายและ เคร่ืองประดบั และลวดลายท่ีปรากฏในเคร่ืองแตง่ กายและเครื่องประดบั ของชาวเปอรานากนั ในเขต