Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี

วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี

Description: วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี.

Search

Read the Text Version

136 ตารางท่ี 4.16 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ คาํ ถาม ตาํ รา/ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่ี “จุดเด่นอยู่ที่ผ้าปาเต๊ะ เคร่ืองทอง และสีสันของ จุ ด เ ด่ น ข อ ง เสือ้ ผ้าลวดลายของชุด ส่วนรองเท้าปักก็สวยงามสี เก่ียวข้อง วัฒ น ธ ร ร ม ของลกู ปัด เข้ากบั ชดุ ท่ีสวมใส”่ (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. การแต่งกาย สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) เป็ นเสือ้ ย่าหยาตัวใหม่ที่ทันสมัย ชุ ด ย่ า ห ย า ในสว่ นของกระโปรง กม็ ีการนําเอา และรองเท้ า “จากภูเก็ตท่ีเป็ นเมืองท่าและเมืองท่องเที่ยวอาจมี ผ้ า ป า เ ต๊ ะ ที่ มี ล ว ด ล า ย เ ป็ น ปั กของสตรี การหลงั่ ไหลเข้ามาของเครือญาติชาติพนั ธ์ุ ฉะนัน้ เอกลกั ษณ์ของชาวใต้มาปักลกู ปัด อําเภอเมือง การแต่งกายจะถกู พฒั นาไปตามยคุ ตามสมยั เมื่อมี หลากสี ทําให้เป็ นศิลปะบนผืนผ้า ใ น จั ง ห วั ด การติดตอ่ ค้าขายกนั มากขนึ ้ ก็เร่ิมท่ีจะนําเอาผ้าแพร ที่สวยงามตามลวดลายที่ปรากฏ ภเู ก็ต พนั ธ์ุต่าง ๆ และเทคนิคลวดลายในการปักฉลเุ ข้ามา บนผ้าปาเต๊ะ ส่วนใหญ่เป็ นลาย จึงมีการศึกษามีการเรียนรู้ มีการสอนปักก็เลยอย่คู ู่ ดอกไม้ ผ้าปาเต๊ะท่ีปักลกู ปัดเสร็จ ภูเก็ตมาถึงทุกวันนี”้ (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. เรี ยบร้ อยแล้ ว สามารถนํามา สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) ประยุกต์ตัดเป็ นเสือ้ ผ้ าได้ อีก หลากหลาย ทัง้ กางเกง กระโปรง “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (สมหมาย ในรู ปแบบที่ทันสมัย เป็ นการ ป่ิ นพทุ ธศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ผสมผสานระหว่างความเป็ น ท้ องถิ่นกับความทันสมัยได้ อย่าง ”จดุ เดน่ จะอย่ทู ี่ลวดลายตา่ งๆ อยทู่ ี่เนือ้ ผ้า และอย่ทู ี่ ลงตัวทีเดียว มาตัดเป็ นแบบ เครื่องประดบั จงึ ทําให้สวยงามขนึ ้ และเดน่ ขึน้ ” (ไชย สําเร็ จรู ปแล้ วปั กลูกปั ดลงไปเพื่อ ยทุ ธ ป่ิ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) ขบั เน้นลวดลายให้โดดเดน่ “เหน็ แล้วสวยงามแตะตามากเป็นเอกลกั ษณ์ของเรา ผ้าปาเต๊ะสวมค่กู บั เสือ้ คอตงั้ แขนจีบใส่ครุยทบั สวม แล้วรับกนั ทงั้ หมดมีความโดนเดน่ เหมาะเจาะลงตวั ” (จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (สุรเชษฐ์ ภาพ รองเท้าปักลกู ปัด เจริญผล. สมั ภาษณ์, 19 กนั ยายน 2556) ท่ีมา : บ้ านชินประชา จังหวัด ภเู กต็ (15 กนั ยายน 2556)

137 จากตารางท่ี 4.16 จดุ เดน่ ของวฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต จากการศึกษาสรุปได้ว่า จดุ เด่นของชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักอย่ทู ่ี ลวดลายการปักและสีสันท่ีสดใส เป็ นผ้าป่ าน ลวดลายของการปักจะเน้นถึงความหมายของ ลวดลายให้ไปในทางโชคดี ความเป็ นมงคล เช่น ลายนกยงู ผีเสือ้ ปลา ดอกเบญจมาศ ดอกไม้ สิ่ง เหลา่ นี ้คือ เครื่องหมายของความโชคดี แม้แตร่ องเท้าปักที่ได้พิจารณาหรือท่ีได้พบเจอมา เจ้าของ รองเท้าเกิดปี อะไร ก็จะปักรองเท้าเป็ นลายปี นนั้ เช่น เกิดปี กระตา่ ย ก็ปักลายกระตา่ ย สว่ นจดุ เดน่ ของรองเท้าจะปักด้วยลูกปัด ดิน้ เงิน ดิน้ ทอง มองแล้วสวยงามเป็ นงานฝี มือ ความหมายของ ลวดลายการปักจะเน้นถึงความโชคดีและความเป็ นมงคล ส่ิงเหล่านีจ้ ะบ่งบอกโดยการแสดง ออกมาจากทางเสอื ้ ผ้าและรองเท้าปักของสตรีชาวบาบา๋ จงั หวดั ภเู ก็ต ตารางท่ี 4.17 วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นต่อการเปล่ียนแปลงด้านวัฒนธรรมการแต่ง กายของสตรี อาํ เภอเมือง จังหวัดภเู กต็ ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “ในการเปลี่ยนแปลงการแต่งกายเราได้ลดความสําคญั ลง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ไป เพราะในบางครัง้ เราไม่สามารถแต่งกายแบบดงั้ เดิมได้ ภาพถ่าย และงานวจิ ัย ต่อการเปล่ียน ในทกุ ๆ โอกาส ฉะนนั้ เราต้องเปลี่ยนเพราะความสะดวกใน ท่เี ก่ียวข้อง แ ป ล ง ด้ า น การทํางานในการประกอบอาชีพ ในขณะเดียวกนั เราควรจะ วัฒนธรรมการ แสดงออกในงานโอกาสสําคญั ๆ ให้คนตา่ งถิ่นได้รับรู้วา่ เรา ย่าหยา แต่เดิมนัน้ เป็ น แ ต่ ง ก า ย ข อ ง มีวฒั นธรรมอย่างไร เราควรจะแสดงเอกลกั ษณ์แสดงพลงั ชุ ด แ ต่ ง ก า ย ข อ ง ผ้ ูห ญิ ง ส ต รี อํ า เ ภ อ ของคนท้องถิ่นเอาไว้” (ฤดี ภมู ิภูถาวร. สมั ภาษณ์, 23 ชาวภูเก็ต ซ่ึงปรับปรุง เมือง จังหวัด สงิ หาคม 2556) พฒั นามาจากชดุ ครุย ซึง่ ภเู ก็ต เ ป็ น ชุด แ ต่ ง ก า ย ข อ ง “ต้ องมีการเปล่ียนแปลงไปตามยุคสมัยถ้ าเราไม่ช่วยกัน เ จ้ า ส า ว ใ น ป ร ะ เ พ ณี วัฒนธรรมการแต่งกายก็จะค่อยๆหมดไป”(ยินดี มโน ดงั้ เดิมของคนจีนที่มาตงั้ สณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) รกรากถิ่นฐานอย่ใู นเกาะ ภูเก็ต ชุดครุยนัน้ เป็ นชุด “ย่อมมีการเปล่ียนแปลงแต่ก็อย่าให้มนั มากจนเกินไป แต่ ท่ีต้ องสวมใส่หลายชัน้ ต้องไปตามยคุ สมยั ส่วนผ้าปาเต๊ะห้ามเยบ็ เป็ นชดุ เพราะไม่ ห ล า ย ชิ ้น อ า จ ไ ม่ สวยให้น่งุ เองแล้วรัดด้วยเข็มขดั จะสวยงามกว่าและถกู หลกั คล่องตัวและไม่เหมาะ วิธี” (จ้.ู พงศ์ประดษิ ฐ์. สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) กับอากาศในบ้ านเมือง แ ถ บ นี ้ จึ ง มี ก า ร ปรับเปลี่ยนรูปแบบการ แตง่ กายให้

138 ตารางท่ี 4.17 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ “เหมาะสมกบั สภาพอากาศและส่ิงแวดล้อม เพราะเราอย่ใู น ภาพถ่าย และ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เขตร้ อนชืน้ การแต่งกายและการสวมใส่ผ้าปาเต๊ะ ควรสวม ต่อการเปล่ียน รอง เท้าเปิ ดส้น จะไม่อบั เหมาะกบั สภาพอากาศที่เป็ นเมือง งานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง แ ป ล ง ด้ า น ร้อน” (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) วัฒนธรรมการ “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (สมหมาย ปิ่ นพุทธ ก ร ะ ฉั บ ก ร ะ เ ฉ ง แ ล ะ แ ต่ ง ก า ย ข อ ง ศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) โ ป ร่ ง สบ า ยขึน้ ต า ม ส ต รี อํ า เ ภ อ ”การเปลี่ยนแปลงเป็ นเร่ืองปกติ ขึน้ อยู่กับด้านฐานะ ด้าน ความเหมาะสม เมือง จังหวัด บคุ คล ด้านจิตใจ” (ไชยยทุ ธ ป่ิ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 ห า ก แ ต่ ยัง ค ง ส ว ย ภเู กต็ กนั ยายน 2556) ความงามและสร้ าง เสน่ห์ให้ ผู้สวมใสไม่ เปลี่ยนแปลง (อ้างถึง ใน จตุพร และ คณะ, 2557: ออนไลน์) “ดีใจและปลืม้ ใจมากที่วัฒนธรรมของเราได้ ฟื ้นฟูขึน้ มา วฒั นธรรมการแต่งกายมีอย่แู ล้ว แต่ไม่ค่อยได้แต่ง แต่ตอนนี ้ ไปไหนก็ได้เห็น ก็ปลืม้ ใจและช่ืนใจมาก” (จรูญรัตน์ ตนั ฑ วณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) “บางครัง้ การแต่งกายต่าง ๆ ไม่ใช่ชุดดัง้ เดิม แต่เป็ นการ ประยกุ ต์เปลี่ยนแปลง เพื่อความสวยงามเสียส่วนใหญ่ทําให้ วัฒนธรรมการแต่งกายเดิม ๆ เปลี่ยนไป เราไม่ควร เปลี่ยนแปลงควรจะอนรุ ักษ์ของเดิมเอาไว้” (สรุ เชษฐ์ เจริญ ผล. สมั ภาษณ์, 1 กนั ยายน 2556) จากตารางที่ 4.17 ความคดิ เห็นตอ่ การเปลี่ยนแปลงด้านวฒั นธรรมการแตง่ กายของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต จากการศกึ ษาสรุปได้วา่ การเปลีย่ นแปลงเกิดจาก ความเป็ นอย่ใู นสงั คม การใช้ ชีวิตแบบเร่งรีบเพื่อให้ ทันกับเวลา และคล่องตัวต่อการทํางานในยุคปั จจุบัน การ เปลีย่ นแปลงเกิดจากอิทธิพลตา่ งๆที่ไมเ่ หมือนกนั จงึ ทําให้เกิดการเปล่ียนแปลงไปในหลายรูปแบบ โดยขึน้ อย่กู บั สงั คมนนั้ ๆ ในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการแต่งกาย ขึน้ อย่กู บั ด้านฐานะ ด้านบคุ คล

139 ด้านจิตใจ บางครัง้ การแตง่ กายตา่ งๆ ไมใ่ ชช่ ดุ ดงั้ เดิม แตเ่ ป็ นการประยกุ ต์เพ่ือความสวยงาม ทําให้ วฒั นธรรมการแต่งกายเดิมๆเปล่ียนไป ซ่ึงบางครัง้ ได้ลดความสําคญั ลงไป เพราะในบางครัง้ ไม่ สามารถแตง่ กายแบบดงั้ เดิมได้ในทกุ ๆโอกาส ฉะนนั้ จึงต้องเปลี่ยนเพื่อความสะดวกในการทํางาน ในการประกอบอาชีพ ตารางท่ี 4.18 วิเคราะห์ข้อมูลแนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและ รองเท้าปักของสตรี อาํ เภอเมือง จังหวัดภเู ก็ต ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย “ในปัจจบุ นั นีม้ ีการรณรงค์อนรุ ักษ์ให้นําเอาหลกั สตู รท้องถ่ิน และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง แนวทางการ บรรจไุ ว้ในหลกั สตู รการเรียนการสอนของโรงเรียนในจงั หวดั อ นุ รั ก ษ์ ภเู ก็ตซงึ่ เนือ้ หาจะเก่ียวกบั ประเพณี วฒั นธรรมการแตง่ กาย “ เ ร า อ ย า ก จ ะ ป ลุ ก วัฒ น ธ ร ร ม อาหาร ซ่ึงจะเป็ นการปลูกฝังให้เด็กเรียนรู้วัฒนธรรมของ เศรษฐกิจในเมืองเก่า ให้ การแต่งกาย ตนเอง” (ฤดี ภมู ภิ ถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) คนที่อยากมาเที่ยวภูเก็ตรู้ ชุ ด ย่ า ห ย า ว่า เ ร า มี เ ส น่ ห์ ใ น เ ร่ื อ ง ข อ ง และรองเท้ า “เราพยายามทกุ อยา่ งท่ีจะอนรุ ักษ์รณรงค์ประชาสมั พนั ธ์ทกุ ความเป็นอตั ลกั ษณ์ ทกุ วนั ปั กของสตรี อย่าง รวมทงั้ การทํางานทางด้านชมุ ชนการรับนกั ท่องเท่ียว พฤหัสเจ้ าหน้ าที่เทศบาล อําเภอเมือง ต่าง ๆ พยายามจะโชว์ความสวยงามของวัฒนธรรม การ จะแต่งกายแบบพืน้ เมือง จงั หวดั ภเู กต็ แต่งกายแต่คนที่ใช้ไม่ใช่เรา เราจะไปบังคับไม่ได้”(ยินดี ผ้หู ญิงใส่ชุดย่าหยา ผ้ชู าย มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) ใส่บาติก ดิฉันอยากให้ทุก คนเห็นว่า น่ีคือรากแก้ ว “อยากให้ ทางจังหวัดช่วยเข้ ามาจัดการดูแลและช่วย ของเรา น่ีคือวฒั นธรรมที่ดี สนบั สนนุ ” (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, 28 สิงหาคม งาม ถ้าไม่อนุรักษ์ในเรื่อง 2556) การแต่งกาย ในเร่ืองของ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม อ า ห า ร “การอนุรักษ์ จะต้ องให้ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้ องเข้ ามา พื น้ เ มื อ ง ที่ มี เ ส น่ ห์ สิ่ ง ช่วยเหลือ และจะต้ องให้ ความสําคัญ ต้ องหยิบเอา เหล่านีจ้ ะหายไป เด็กรุ่น วฒั นธรรมเหลา่ นีอ้ อกมานําเสนอเพราะถือว่าสิง่ เหลา่ นีเ้ป็ น หลังก็จะรู้แต่ส่ิงท่ีทันสมัย สินค้าทางการท่องเที่ยวท่ีดีท่ีสุด วัฒนธรรมเป็ นต้นทุนที่มี เ พ ร า ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ก้ า ว อยู่แล้ว เพียงแต่หยิบแล้วเอามานําเสนอให้เป็ นรูปแบบ กระโดด คนที่เข้ามาจาก เพื่อให้คนรุ่นหลงั เห็นว่าไม่ได้ยากอย่างที่คิด” (จรินทร์. นีร ต่างถ่ินจะไม่รู้ว่าคนภูเก็ต นาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) มาจากไหน มีดีอะไร มัน จะมีประโยชน์อะไร ถ้ า วนั นีค้ วามเจริญของบ้าน

140 ตารางท่ี 4.18 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ตาํ รา/ คาํ ถาม ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง “ไ ม่ ส า ม า ร ถ ใ ห้ ข้ อ มูล ใ น ป ร ะ เ ด็ น นี ไ้ ด้ ” แนวทางการ (สมหมาย ป่ิ นพุทธศิลป์ . สัมภาษณ์, 4 เมือง เอาแต่เศรษฐกิจเป็ นตวั นํา แล้ว อ นุ รั ก ษ์ กนั ยายน 2556) ละเลยทางสงั คม ละเลยความเป็ นอตั วัฒ น ธ ร ร ม ลักษณ์ดิฉันคิดว่าตรงนีเ้ ป็ นเรื่องท่ี การแต่งกาย ”ขึน้ อย่กู บั ความสํานึกของแต่ละคนมากกว่าถ้า อันตรายทุกวัฒนธรรมประเพณี ล้ วน ชุ ด ย่ า ห ย า ใครอนุรักษ์อะไรได้ก็ควรจะอนรุ ักษ์ไป” (ไชย แล้วแต่มีเรื่องราว แม้แต่ในเรื่องของ และรองเท้ า ยทุ ธ ป่ิ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) การก่อสร้ างอาคารยังเรียงร้ อยเรื่อง ปั กของสตรี ของการอย่รู ่วมกนั ” (อ้างถึงใน กรม อําเภอเมือง “แนวคิดที่จะอนรุ ักษ์อยากได้เด็กรุ่นใหม่ ๆ เข้า ส่งเสริมคณุ ภาพส่ิงแวดล้อม, 2552) จงั หวดั ภเู กต็ มาเยอะ ๆ เพราะการแต่งกายเป็ นเอกลักษณ์ ซึ่งสอดคล้องกบั สาวิตร (2551) ที่ ของเรา” (จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กล่าวว่า ในปั จจุบันทัง้ ภาครัฐและ กนั ยายน 2556) เอกชนต่างให้การสนับสนุน ในเร่ือง ข อ ง ก า ร แ ต่ ง ก า ย ไ ท ย ผ ส ม ผ ส า น “คําว่า ย่าหยาของคนภูเก็ต จริง ๆ แล้วเป็ น วัฒนธรรมของจีนไว้ เพื่อนําเสนอต่อ วฒั นธรรมของทางมาลายู แต่เราได้รับอิทธิพล การท่องเที่ยว และที่สําคัญท่ีสุด คือ มา อย่างพิธีท่ีสําคญั เช่นการจดั วิวาห์บาบ๋า เรา เ พื่ อ ใ ห้ เ ย า ว ช น ไ ด้ ต ร ะ ห นั ก ถึ ง จัดเพื่อสืบทอดการแต่งกาย ชุดพืน้ เมืองภูเก็ต ความสําคัญของภูมิปัญญาไทย ซ่ึง ขึน้ มาแล้วเป็ นการฟื น้ ฟูวฒั นธรรมขึน้ มาเพ่ือให้ บรรพบรุ ุษได้สร้างสรรค์ไว้ให้ลกู หลาน คนรุ่ นหลังหรื อนักท่องเที่ยวได้ เห็นบรรยากาศ ได้สืบทอดวฒั นธรรมที่ดีเหลา่ นีไ้ ว้ เช่น แตง่ กายชดุ เก่าๆ ที่เป็ นเอกลกั ษณ์ของคนภเู ก็ต” กา รจัดง า นถ นน คน เ ดิน ซึ่งท า ง (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 1 กันยายน เทศบาลนครภูเก็ตเป็ นผู้กําหนดและ 2556) เปิ ดโอกาสให้ลูกหลานชาวภูเก็ตได้ สวมใส่เครื่องแต่งกายแบบโบราณให้ ยงั คงอยตู่ อ่ ไป จากตารางท่ี 4.18 แนวทางการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมการแต่งกายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปัก ของสตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต จากการศึกษาสรุปได้ว่า ในปัจจุบนั นีม้ ีการรณรงค์อนุรักษ์ให้ นําเอาหลกั สตู รท้องถิ่นบรรจไุ ว้ในหลกั สตู รการเรียนการสอนของโรงเรียนในจงั หวดั ภเู ก็ต ซงึ่ เนือ้ หา จะเกี่ยวกบั ประเพณี วฒั นธรรมการแตง่ กาย อาหาร ซง่ึ จะเป็ นการปลกู ฝังให้เด็กเรียนรู้วฒั นธรรม ของตนเอง ในปัจจุบนั ทัง้ ภาครัฐและเอกชนต่างให้การสนับสนุน ในเร่ืองของการแต่งกายไทย

141 ผสมผสานวฒั นธรรมของจีนไว้ เพื่อนําเสนอตอ่ การท่องเที่ยว และที่สําคญั ที่สดุ คือ เพื่อให้เยาวชน ได้ตระหนกั ถึง ความสาํ คญั ของภมู ปิ ัญญาไทย ซง่ึ บรรพบรุ ุษได้สร้างสรรค์ไว้ให้ลกู หลานได้สืบทอด วฒั นธรรมท่ีดีเหล่านีไ้ ว้ เช่น การจดั งานถนนคนเดิน ซึ่งทางเทศบาลนครภเู ก็ตเป็ นผู้กําหนดและ เปิ ดโอกาสให้ลกู หลานชาวภเู ก็ตได้สวมใสเ่ ครื่องแตง่ กายแบบโบราณให้ยงั คงอยตู่ อ่ ไป และทกุ ๆวนั พฤหสั เจ้าหน้าที่เทศบาลจะแตง่ กายแบบพืน้ เมือง ผ้หู ญิงใสช่ ดุ ย่าหยา ผ้ชู ายใสบ่ าตกิ เพื่อเป็ นการ อนรุ ักษ์ในเรื่องการแต่งกาย เป็ นการฟื น้ ฟูวฒั นธรรมขึน้ มา เพ่ือให้คนรุ่นหลงั หรือนกั ท่องเที่ยวได้ เห็นบรรยากาศแตง่ กายชดุ เก่าๆ ท่ีเป็ นเอกลกั ษณ์ของคนภเู ก็ต 4.1.3 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์แบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) เก่ียวกับรูปแบบลวดลายของชุดย่าหยา และรองเท้าปักของสตรีอาํ เภอเมือง จังหวัดภเู กต็ ภายใต้กรอบข้อคําถาม จํานวน 3 ข้อ ดงั นี ้ 1. ความเป็ นมาของรูปแบบและลวดลายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 2. ววิ ฒั นาการของรูปแบบและลวดลายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอ เมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 3. กรรมวิธีเฉพาะการตกแต่งลวดลายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอ เมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ผลปรากฏตามตารางที่ 4.19-4.21 ตารางท่ี 4.19 วิเคราะห์ข้อมูลความเป็ นมาของรูปแบบและลวดลายชุดย่าหยาและรอง เท้าปักของสตรี อาํ เภอเมือง จงั หวัดภเู ก็ต ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ ความเป็ นมาของ “ลกั ษณะชุดและรองเท้าปักของสตรีชาวบาบ๋า คนที่ตัด รู ป แ บ บ แ ล ะ เย็บจะคิดลวดลายเอง ส่วนตวั พืน้ รองเท้าจะไปจ้างช่าง ภาพถ่าย และงานวจิ ัย ล ว ด ล า ย ชุ ด รองเท้าทํา ไม่ว่าจะเป็ นรองเท้าหรือเสือ้ ผ้า คนจีนมักจะ ท่เี ก่ียวข้อง ย่ า ห ย า แ ล ะ ต้องเย็บเอง ยกเว้นเสือ้ ท่ีมีการฉลลุ าย จะสงั่ นําเข้า ส่วน รองเท้ าปั กของ เสือ้ ฉลแุ บบย่าหยาจะมีใสส่ ําหรับพวกท่ีรํ่ารวย” (ฤดี ภมู ิ รูปแบบลวดลายของชุด สตรี อําเภอเมือง ภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) ย่าหยาของสตรี อําเภอ จงั หวดั ภเู ก็ต เมือง จังหวัดภูเก็ตนัน้ จะสวมเสือ้ คอตงั้ แขนจีบ สวมเสือ้ ครุยยาวทับบน เสือ้ ครุยจะมีลวดลาย สตั ว์มงคล ตอ่ มาเสอื ้

  142 ตารางท่ี 4.19 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ตาํ รา/ คาํ ถาม “การแต่งกายของคนภูเก็ตมีลักษณะคล้ ายกับ ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง ชาวมุสลิม สตรีสมัยก่อนจะเป็ นคนท่ีเก่งเร่ือง ความเป็ นมา แม่บ้านแม่เรือน การท่ีนําเอารองเท้ามาปักด้วย ครุยยาวได้ปรับเปล่ียนกลายเป็ นเสือ้ ข อ ง รู ป แ บ บ ดิน้ หรือลูกปัดมาปักบนรองเท้า ส่ิงเหล่านีเ้ ป็ น ครุยสัน้ หรือเสือ้ ครึ่งท่อน ต่อมาได้มี และลวดลาย ลกั ษณะรูปแบบของชาวจีน มีลวดลายเป็ นรูป การประยกุ ต์กลายมาเป็ นเสือ้ เคบายา ชุ ด ย่ า ห ย า นก รูปปลา ฯลฯ ส่วนเสือ้ ในยคุ แรกสีสนั อาจจะ ส่วนลวดลายมีทัง้ การฉลุลายริมเสือ้ และรองเท้ า ไม่สดใส ชายเสือ้ ปักสาบเสือ้ แต่ปัจจุบันเน้น สาบเสือ้ รอบสะโพก ต่อมาสตรีชาว ปั กของสตรี ลวดลายสีสนั สดใส รองเท้าเมื่อก่อนเป็ นรองเท้า ภูเก็ตได้นําเสือ้ เคบายามาพัฒนาต่อ อําเภอเมือง ส้นเตีย้ ๆ แต่ในยุคปัจจุบันนีม้ ีรองเท้าส้นสงู สิ่ง กลายเป็ นเสือ้ ผ้าลูกไม้หรือเสือ้ ลูกไม้ จงั หวดั ภเู กต็ เหล่านีจ้ ะเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย”(ยินดี ต่อดอกจนกลายเป็ นเอกลักษณ์การ มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) แต่งกายของชาวภูเก็ต ชุดแต่งกาย เหล่านีจ้ ะต้องสวมคู่กับผ้าปาเต๊ะมี “รูปแบบจะมีการฉลลุ ายในตาฉลเุ ป็ นลายต่างๆ ลวดลายและสีแตกต่างจากส่วนที่เป็ น รองเท้าในสมยั ก่อนเป็ นรองเท้าส้นเตีย้ ลกั ษณะ พืน้ นอกจากนีย้ งั สอดคล้องกับ จรูญ รองเท้าหวั รองเท้ากลมปักลายดอกไม้และลาย รัตน์ (2557)ท่ีกลา่ วว่าลกั ษณะรองเท้า ต่างๆ รูปแบบลวดลายจะปักเป็ นลายผีเสือ้ นก เป็ นรองเท้าส้นเตีย้ หัวรองเท้าคล้าย ดอกไม้ และสตั ว์มงคล” (จู้. พงศ์ประดิษฐ์. รองเท้าบลั เลต์ของยโุ รป คือส่วนหวั มี สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) ลกั ษณ์เป็ นรูปตวั ยู ส่วนลวดลายท่ีปัก มีทงั้ ดอกไม้ สตั ว์มงคล ปลา ค้างคาว ผีเสอื ้ “รูปแบบลวดลายไมจ่ ํากดั ขนึ ้ อย่กู บั ความคิดของ คนที่สร้าง ส่วนใหญ่ไม่พ้นลายสตั ว์มงคล ผีเสือ้ นก หงส์ และดอกไม้ จะสวมใสผ่ ้าลวดลายที่มีสี ตดั กนั ” (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) “ไมส่ ามารถให้ข้อมลู ในประเดน็ นีไ้ ด้” (สมหมาย ปิ่ นพทุ ธศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ”ไมส่ ามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (ไชยยทุ ธ ภาพ เสือ้ ย่าหยาชนิดฉลุลายดอก ท่มี า : http://www. ปิ่ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) phuketemagazine.com/

143 ตารางท่ี 4.19 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ตาํ รา/ คาํ ถาม ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง ความเป็ นมา “ลวดลายต่างๆได้เรียนแบบมาจากธรรมชาติ ของรู ปแ บบ เช่น ลายนก ลายดอกไม้ ลายใบไม้ ลายผีเสือ้ และลวดลาย ลายค้างคาว ลายสตั ว์มงคล เป็ นต้น ส่ิงเหลา่ นี ้ ชุ ด ย่ า ห ย า มีความหมายท่ีดีและเป็ นมงคล” (จรูญรัตน์ และรองเท้ า ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) ปั ก ข อ ง ส ต รี อําเภอเมือง “ไมส่ ามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (สรุ เชษฐ์ จงั หวดั ภเู กต็ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 1 กนั ยายน 2556) ภาพ รองเท้าปักลกู ปัด ท่ีมา : บ้านชินประชา จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556) จากตารางท่ี 4.19 ความเป็ นมาของรูปแบบและลวดลายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของ สตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต จากการศกึ ษาสรุปได้ว่า รูปแบบลวดลายของชดุ ย่าหยาของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ตนนั้ เสือ้ คอตงั้ แขนจีบ จะมีลวดลายสตั ว์มงคล เสือ้ เคบายา ลวดลายมีทงั้ การฉลุลายริมเสือ้ สาบเสือ้ รอบสะโพก ต่อมาสตรีชาวภูเก็ตได้นําเสือ้ เคบายามาพัฒนาต่อ กลายเป็ นเสอื ้ ผ้าลกู ไม้หรือเสอื ้ ลกู ไม้ตอ่ ดอกจนกลายเป็ นเอกลกั ษณ์การแตง่ กายของชาวภเู ก็ต ชดุ แตง่ กายเหล่านีจ้ ะต้องสวมค่กู บั ผ้าปาเต๊ะมีลวดลายและสีแตกต่างจากส่วนที่เป็ นพืน้ รองเท้าเป็ น รองเท้าส้นเตีย้ หัวรองเท้าคล้ายรองเท้าบัลเล่ต์ของยุโรป คือส่วนหัวมีลักษณ์เป็ นรูปตัวยู ส่วน ลวดลายที่ปักมีทงั้ ดอกไม้ สตั ว์มงคล ปลา ค้างคาว ผีเสือ้ ลกั ษณะชดุ และรองเท้าปักของสตรีชาว บาบ๋า คนท่ีตดั เย็บจะคิดลวดลายเอง ส่วนตวั พืน้ รองเท้าจะไปจ้างช่างรองเท้าทํา ไม่ว่าจะเป็ น รองเท้าหรือเสือ้ ผ้า คนจีนมกั จะต้องเย็บเอง ยกเว้นเสือ้ ท่ีมีการฉลลุ าย จะสง่ั นําเข้า “รูปแบบจะมี การฉลุลายในตาฉลุเป็ นลายต่างๆ รองเท้าในสมัยก่อนเป็ นรองเท้าส้นเตีย้ ลกั ษณะรองเท้าหัว รองเท้ากลมปักลายดอกไม้และลายต่างๆ รูปแบบลวดลายจะปักเป็ นลายผีเสือ้ นก ดอกไม้ และ สตั ว์มงคล “รูปแบบลวดลายไม่จํากดั ขึน้ อย่กู บั ความคิดของคนที่สร้าง ส่วนใหญ่ไม่พ้นลายสตั ว์ มงคล ผีเสือ้ นก หงส์ และดอกไม้ สงิ่ เหลา่ นีม้ ีความหมายท่ีดแี ละเป็ นมงคล

144 ตารางท่ี 4.20 วิเคราะห์ข้อมูลวิวัฒนาการของรูปแบบและลวดลายชุดย่าหยาและรองเท้า ปักของสตรี อาํ เภอเมือง จงั หวัดภเู ก็ต ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย คาํ ถาม และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง “รองเท้ ารุ่นแรกจะมีโลหะปนเช่น วิวัฒนาการ เส้ นโลหะเงินเส้ นโลหะทอง เป็ น ดอกแก้ว (2557: ออนไลน์) กลา่ วว่า การแต่งกาย ข อ ง รู ป แ บ บ เส้ นด้ ายคล้ ายเส้ นลวดสีเงินและสี ของผ้หู ญิงบาบา๋ ในภเู กต็ นนั้ มีววิ ฒั นาการการแต่ง และลวดลาย ทอง จากเส้ นลวดเปลี่ยนมาเป็ น กาย ดงั นี ้ ในสมยั เริ่มแรก ผู้หญิงบาบ๋านิยมแต่ง ชุ ด ย่ า ห ย า ลกู ปัด และมีการปักเส้นลวดผสมกบั กายด้วยชุดครุย เสือ้ ครุย มาเลเซียเรียกว่า บาจู และรองเท้ า ลกู ปัด และต่อมามีแต่การปักลกู ปัด บนั จงั (Bajaj panjang) เป็ นเสือ้ คลมุ ยาวครึ่งน่อง ปั กของสตรี เพียงอย่างเดียว ส่วนลวดลายท่ีเก่า ทําด้วยผ้าป่ านรูเบีย ผ้าฝ้ าย หรือผ้าต่วนน่ิมๆมี อําเภอเมือง ท่ีสดุ เป็ นลวดลายนามปี รูปดอกไม้ สีสันท่ีหลากหลาย สวมทับเสือ้ สันคอตัง้ สีขาว จังหวัดภูเก็ต มงคล ส่วนในปั จจุบัน จะ เป็ น แขนยาว ตัวเสือ้ มีกระดุม 5 เม็ด และกระดุม รู ปแบบลวดลายแ ล้ วแต่จะ คิด ปลายแขน 2 เม็ด ทําด้วยทองเรียกว่า กระดุมกิ ขนึ ้ มา” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. สมั ภาษณ์, มต้นู น่งุ โสร่งปาเต๊ะ ซ่ึงต่อมาได้ประยกุ ต์เป็ นเสือ้ 23 สงิ หาคม 2556) ครุยสนั้ สวมค่กู บั เสือ้ คอตงั้ แขนจีบยงั เป็ นการสวม เสือ้ สองชัน้ อยู่ หลังจากนัน้ มามีการดัดแปลงให้ “ชุดพืน้ เมืองของคนภูเก็ตอาจมีการ เป็นเสือ้ ชนั้ เดียว และภายหลงั ได้มีการประยกุ ต์มา เปลี่ยนแปลงบ้ างเล็กน้ อย แต่ไม่ เป็ นเสือ้ เคบายา ซงึ่ มี 3 แบบ ได้แก่ เคบายาลิน ถงึ กบั ต้องใช้คําวา่ วิวฒั นาการ คําว่า ดา เคบายาบีกู เคบายาซูแลม และต่อสตรีชาว พืน้ เมืองมองแล้วโครงสร้ างต้องใช่ ภูเก็ตได้มาประยุกต์และเลือกใช้ วัสดุนําเข้ าที่ อาจจะมีสีสนั มากไป ลายปักอาจจะ ตวั เองชื่นชอบและเหมาะกบั สภาพอากาศสําหรับ มากไปนีค้ ือ ส่ิงธรรมดา”(ยินดี มโน ชาวภูเก็ต เสือ้ ผ้าลูกไม้ได้รับความนิยมมากกว่า สณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สิงหาคม เสือ้ ย่าหยาเพราะเป็ นเสือ้ ที่หาได้ง่ายราคาไม่แพง 2556) หาร้านตดั เย็บสะดวก จนกลายเป็ นเอกลกั ษณ์ท่ี เด่นชดั ในการแต่งกายที่บ่งบอกถึงความเป็ นชาว “ในสมัยก่อนถ้ านุ่งผ้ าปาเต๊ ะจะไม่ ภเู ก็ตมากกว่าเสือ้ ย่าหยาต่อมาเปล่ียนเป็ นเสือ้ ผ้า สวมรองเท้ าชนิดอื่นจะสวมรองเท้ า ลูกไม้สัน้ ประมานสะโพก ไม่มีเสือ้ ตัวในเรียกว่า ปักเท่านัน้ แต่ในสมยั นีจ้ ะมีการสวม (ป่ัวตงึ เต้) มลายเู รียกวา่ (เคมายา) แล้วเปล่ียนมา ใส่กับรองเท้ าคัตชู รองเท้ าส้ นสูง เป็ นผ้ าลายฉลุทรงรัดรู ปแทนผ้ าลูกไม้ ซึ่ง หวั แหลมไม่เหมือนเม่ือก่อนจะสวม สอดคล้ องกับ ปิ ยะนันท์ (2553) ได้ กล่าวว่า ใส่กบั รองเท้าแตะอย่างเดียว” (จู้. วิวัฒนาการของการแต่งกายชุดย่าหยาของสตรี พงศ์ประดิษฐ์. สัมภาษณ์, 28 อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต เร่ิมจากชดุ ครุยยาวเป็ น สงิ หาคม 2556) เสือ้ ครุยคร่ึงน่องแขนยาว สวมทบั เสอื ้ คอตงั้ แขน

145 ตารางท่ี 4.20 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ตาํ รา/ คาํ ถาม ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง วิ วั ฒ น า ก า ร “ส่วนใหญ่มีความคิดมาจากความสวย จีบติดกระดมุ ทอง 5 เมด็ น่งุ โสร่งปาเต๊ะ ซึง่ ข อ ง รู ป แ บ บ และลวดลาย ของดอกไม้และแมลง เพราะส่ิงเหล่านี ้ เป็ นการแต่งกายในโอกาสพิเศษ ต่อมาเสือ้ ชุดย่าหยาและ เป็ นของคู่กันกับผู้หญิงท่ีบ่งบอกถึง ครุยยาวเปล่ียนเป็ นเสือ้ ครุยสัน้ และได้ รองเท้าปักของ ส ต รี อํ า เ ภ อ ค ว า ม อ่ อ น ห ว า น ทุ ก อ ย่ า ง จ ะ มี ประยกุ ต์มาเป็ นเสือ้ เคบายา ต่อมาสตรีชาว เมือง จังหวัด ภเู ก็ต ความหมายในตัวหมด” (จรินทร์. นีร ภเู ก็ตได้นํามาพฒั นาประยกุ ต์เป็ นเสือ้ ลกู ไม้ นาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สิงหาคม สนั้ ประมาณสะโพก ชาวภูเก็ตเรียกว่า (ปัว 2556) ตงึ เต้) ซึ่งแปลวา่ ครึ่งสนั้ ครึ่งยาว นอกจากนี ้ “ไม่สามารถให้ข้อมูลในประเด็นนีไ้ ด้” ยังสอดคล้ องกับ ฤดี (2553)ท่ีกล่าวว่า (สมหมาย ป่ิ นพทุ ธศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 ววิ ฒั นาการของรูปแบบลวดลายของรองเท้า กนั ยายน 2556) ปัก ในระยะแรกท่ีกล่มุ ผู้หญิงจีนอพยพเข้า มาในภูเก็ตนัน้ เป็ นรองเท้ าคู่เล็ก เพราะ ”ไม่สามารถให้ข้อมูลในประเด็นนีไ้ ด้” คา่ นิยมท่ีถือวา่ ผ้หู ญิงเท้าเลก็ เป็นผ้หู ญิงสวย (ไชยยทุ ธ ป่ิ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 ต่อมาค่านิยมการมดั เท้าได้หมดไป รองเท้า กนั ยายน 2556) ที่เป็ นนิยมคือรองเท้าแตะ เป็ นรองเท้าส้น เตีย้ หัวรองเท้าคล้ายรองเท้ าบัลเล่ต์ของ ยโุ รป คือสว่ นหวั มีลกั ษณะเป็ นรูปตวั ยู พืน้ ที่ “เสือ้ คอตัง้ แขนจีบสวมทับกับเสือ้ ครุย ยาวในตอนแรก หรืออาจจะทํางานไม่ บริ เวณส่วนหัวใช้ ผ้ าแพรปั กลวดลายด้ วย สะดวกเท่าท่ีควรก็เลยดัดแปลงมาเป็ น เส้นไหมสีต่างๆ ลวดลายที่ปักมีทัง้ ดอกไม้ ครุยสัน้ ยังเป็ น 2 ชิน้ อยู่ ต่อมา สตั ว์มงคล ภูมิอากาศร้ อนไม่เหมาะก็เลยลดเหลือ ชัน้ เดียว ก็เลยมาเป็ นเสือ้ ย่าหยา เขา เรียกวา่ ปัวตงึ่ เต้ คือ คร่ึงสนั้ ครึ่งยาวจะมี ลกู ไม้ติดกับตัวเสือ้ แล้วในยุคหลังจะมี หลากหลายสีนีค้ ือหลงั สดุ ” (จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) “ไม่สามารถให้ข้อมูลในประเด็นนีไ้ ด้” ภาพ เสือ้ คอตงั้ แขนจีบสวมทบั ด้วยเสือ้ ครุย (สุรเชษฐ์ เจริญผล. สัมภาษณ์, 1 กนั ยายน 2556) ยาวในระระแรก ท่ีมา : บ้านชินประชา จังหวัดภูเก็ต (15 กนั ยายน 2556)

ตารางท่ี 4.20 (ตอ่ ) 146 ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ตาํ รา/ ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง วิ วั ฒ น า ก า ร ข อ ง รูปแบบและลวดลาย ชุ ด ย่ า ห ย า แ ล ะ รองเท้ าปั กขอ งสตรี อําเภอเมือง จังหวัด ภเู กต็ ภาพ เสือ้ คอตงั้ แขนจีบสีขาวลายดอกไม้ สวมชนั้ เดียว ท่ีมา : บ้านชินประชา จังหวดั ภูเก็ต (15 กนั ยายน 2556) ภาพ เสือ้ เคบายาลนิ ดา ท่ี ม า : http://www.phuketneophoto. com ภาพ เสือ้ ผ้าลกู ไม้ตอ่ ดอก ท่ีมา : ฤดี ภูมิภูถาวร จังหวัดภูเก็ต (23 สงิ หาคม 2556)

147 ตารางท่ี 4.20 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย ข้อมูล และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง วิ วั ฒ น า ก า ร ข อ ง รูปแบบและลวดลาย ชุ ด ย่ า ห ย า แ ล ะ รองเท้ าปั กขอ งสตรี อําเภอเมือง จังหวัด ภเู ก็ต ภาพ รองเท้ากลีบบวั หรือรองเท้าค่เู ล็ก รองเท้า ของผ้หู ญิงท่ีโดนมดั เท้า ท่ีมา : บ้านชินประชาจงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556) ภาพ รองเท้าปักลกู ปัด ท่ีมา : ฤดี (2553) จงั หวดั ภเู ก็ต (15 กนั ยายน 2556) จากตารางที่ 4.20 วิวฒั นาการของรูปแบบและลวดลายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต จงั หวดั ภเู ก็ต จากการศกึ ษาสรุปได้ว่า การแตง่ กายของผ้หู ญิงบาบ๋าใน ภเู ก็ตนนั้ มีวิวฒั นาการการแต่งกาย ดงั นี ้ในสมยั เร่ิมแรก ผ้หู ญิงบาบ๋านิยมแต่งกายด้วยชุดครุย

148 ภาษามลายู เรียกวา่ บาจู บนั จงั (Bajaj panjang) เป็ นเสือ้ คลมุ ยาวครึ่งน่อง ทําด้วยผ้าป่ านรูเปี ย ผ้าฝ้ าย หรือผ้าตว่ นน่ิมๆมีสีสนั ท่ีหลากหลาย สวมทบั เสือ้ สนั คอตงั้ สีขาว แขนยาว ตวั เสือ้ มีกระดมุ 5 เม็ด และกระดมุ ปลายแขน 2 เม็ด ทําด้วยทองเรียกว่า กระดมุ กิมต้นู น่งุ โสร่งปาเต๊ะ ซง่ึ ตอ่ มาได้ ประยกุ ต์เป็ นเสือ้ ครุยสนั้ สวมคกู่ บั เสือ้ คอตงั้ แขนจีบ ยงั เป็ นการสวมเสือ้ สองชนั้ อยู่ หลงั จากนนั้ มามี การดดั แปลงให้เป็ นเสือ้ ชนั้ เดียว และภายหลงั ได้มีการประยกุ ต์มาเป็ นเสือ้ เคบายา ซง่ึ มี 3 แบบ ได้แก่ เคบายาลินดา เคบายาบีกู เคบายาซูแลม และต่อมาสตรีชาวภูเก็ตได้มาประยุกต์และ เลอื กใช้วสั ดนุ ําเข้าท่ีตวั เองช่ืนชอบและเหมาะกบั สภาพอากาศสําหรับชาวภเู ก็ต เสือ้ ผ้าลกู ไม้ได้รับ ความนิยมมากกว่าเสือ้ ย่าหยาเพราะเป็ นเสือ้ ท่ีหาได้ง่ายราคาไม่แพง หาร้ านตดั เย็บสะดวก จน กลายเป็ นเอกลกั ษณ์ท่ีเด่นชดั ในการแต่งกายท่ีบ่งบอกถึงความเป็ นชาวภเู ก็ตมากกว่าเสือ้ ย่าหยา ตอ่ มาเปล่ียนเป็ นเสือ้ ผ้าลกู ไม้สนั้ ประมานสะโพก ไม่มีเสือ้ ตวั ใน เรียกว่า (ปั่วตงึ เต้) มลายู เรียกว่า (เคมายา) แล้วเปล่ียนมาเป็ นผ้าลายฉลุทรงรัดรูปแทนผ้าลูกไม้ ส่วนวิวัฒนาการของรูปแบบ ลวดลายของรองเท้าปัก ในระยะแรกท่ีกล่มุ ผู้หญิงจีนอพยพเข้ามาในภูเก็ตนนั้ เป็ นรองเท้าค่เู ล็ก เพราะค่านิยมท่ีถือว่าผ้หู ญิงเท้าเล็กเป็ นผ้หู ญิงสวย ต่อมาคา่ นิยมการมดั เท้าได้หมดไป รองเท้าที่ เป็ นนิยมคือรองเท้าแตะ เป็ นรองเท้าส้นเตีย้ หวั รองเท้าคล้ายรองเท้าบลั เล่ต์ของยโุ รป คือ สว่ นหวั มี ลกั ษณะเป็ นรูปตวั ยู พืน้ ท่ีบริเวณสว่ นหวั ใช้ผ้าแพรปักลวดลายด้วยเส้นไหมสีตา่ งๆ ลวดลายท่ีปักมี ทงั้ ดอกไม้ สตั ว์มงคล“รองเท้ารุ่นแรกจะมีโลหะปน เช่น เส้นโลหะเงินเส้นโลหะทอง เป็ นเส้นด้าย คล้ายเส้นลวดสีเงินและสีทอง หลงั จากนนั้ จากเส้นลวดเปล่ียนมาเป็ นลกู ปัด และมีการปักเส้นลวด ผสมกบั ลกู ปัด และต่อมามีแตก่ ารปักลกู ปัดเพียงอย่างเดียว สว่ นลวดลายที่เก่าท่ีสดุ เป็ นลวดลาย นามปี รูปดอกไม้มงคล สว่ นในปัจจบุ นั จะเป็ นรูปแบบลวดลายแล้วแตจ่ ะคดิ ขนึ ้ มา ตารางท่ี 4.21 วิเคราะห์ข้อมูลกรรมวิธีเฉพาะการตกแต่งลวดลายชุดย่าหยาและรองเท้า ปักของสตรี อาํ เภอเมือง จังหวัดภเู ก็ต ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ตาํ รา/ ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง ก ร ร ม วิ ธี เ ฉ พ า ะ “สมัยก่อนการปั กรองเท้ าจะปั กด้ วยมือขึน้ ก า ร ต ก แ ต่ ง ด้วยสะดึงวาดเป็ นรูปโครงให้เป็ นหวั รองเท้า ฤดี (2553) กล่าวว่า การตกแต่งชุด ล ว ด ล า ย ชุ ด แล้ วออกแบบเขี ยนลายปั กด้ วยวัสดุที่ เรา ย่าหยามีกรรมวิธีเฉพาะ คือ ตวั เสือ้ ไม่ ย่ า ห ย า แ ล ะ ต้องการเมื่อปักเสร็จแล้วจึงนํามาขึน้ รูปเป็ น มีกระดุม ใช้ชุดเคร่ืองประดับกอสัง รองเท้ าปั กของ รองเท้า ส่วนเสือ้ ฉลุย่าหยาจะมีการเขียน หรือเคร่ืองประดบั ท่ีมีลกั ษณะเป็ นเข็ม สตรีอําเภอเมือง ลายใสส่ ะดงึ และนําไปปักกบั จกั ร” (ฤดี ภมู ิ กลัด 3 ชิน้ กลัดติดแ ทนกระ ดุม จงั หวดั ภเู ก็ต ภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) ประดบั ตกแตง่ ตวั เสอื ้ โดยใช้เทคโนโลยี ท่ีมีความทนั สมยั ฉลลุ ายที่ริมสาบเสอื ้

149 ตารางท่ี 4.21 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย คาํ ถาม และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง “การปักรองเท้าจะปักหน้าเดียวเม่ือ กรรมวิธีเฉพาะ ปักเสอื ้ จะนําไปขนึ ้ รูปรองเท้า ถ้าเป็ น ด้านหน้ าและรอบสะโพก คล้ายคัตเวิร์ก หรือ ก า ร ต ก แ ต่ ง การปักเสือ้ จะปักด้วยจักรหรือปัก ประกันตกแต่งด้ วยลูกไม้ จากยุโรปรองเท้ า ล ว ด ล า ย ชุ ด ด้วยมือ ถ้าเป็ นการปักมือจะมีราคา สวยงามของกลมุ่ ท่ีเรียกตวั เองวา่ พวกบาบา๋ นนั้ ผู้ ย่ า ห ย า แ ล ะ แพง”(ยินดี มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, สวมใส่ต้องตดั เย็บเองโดยการสืบทอดวฒั นธรรม รองเท้าปักของ 24 สงิ หาคม 2556) จากรุ่นสู่รุ่น ผู้หญิงบาบ๋าเมื่อย่างเข้าสู่วัยรุ่นจะ ส ต รี อํ า เ ภ อ ได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการเย็บปักเคร่ืองใช้ เมือง จังหวัด “การปักรองเท้าจะใช้ผ้ามาปักเป็ น เช่น รองเท้า การฉลุผ้า คัตเวิร์ก การปักลูกปัด ภเู กต็ พืน้ รองเท้า ปักเสร็จได้ลวดลายตาม การเย็บหมอน ปลอกหมอน ม่านหน้าต่าง จาก ต้องการจะพาไปให้ชงั่ ขึน้ รูปรองเท้า ยาย แม่ พ่ี ป้ า น้า อา ซึ่งเป็ นสมาชิกในบ้านเพ่ือ การปักรองเท้าจะไม่มีการขึน้ สะดึง เตรียมตัวที่จะเป็ นเจ้ าสาวในอนาคต ความรู้ จะปักด้วยมือ” (จู้. พงศ์ประดิษฐ์. เหล่านีเ้ป็ นส่ิงจําเป็ นอย่างยิ่งสําหรับสาวๆ เพราะ สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) เป็นคณุ สมบตั ทิ ่ีจะต้องมีติดตวั ก่อนท่ีจะออกเรือน รวมทงั้ สืบทอดสิ่งเหลา่ นีส้ ลู่ กู สาวของตนต่อไปใน “ไม่สามารถให้ข้อมูลในประเด็นนี ้ รองเท้าในระยะแรกท่ีกลมุ่ ผ้หู ญิงจีนอพยพเข้ามา ได้” (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. ในภูเก็ตนัน้ เป็ นรองเท้าคู่เล็กๆ เพราะผู้หญิง สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) เหลา่ นนั้ มดั เท้าให้เลก็ ด้วยค่านิยมทางวฒั นธรรม ท่ีถือว่าผู้หญิงเท้าเล็ก เป็ นผู้หญิงสวย รองเท้า “ไม่สามารถให้ข้อมูลในประเด็นนี ้ แบบนีน้ ิยมเย็บด้วยผ้าสีดําหรือนํา้ เงินเข้ม ปัก ได้” (สมหมาย ป่ิ นพุทธศิลป์ . ลายดอกไม้ ลายสตั ว์ ด้วยสีแดง มีสนท่ีทําด้วยไม้ สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) นอกจากนัน้ จรูญรัตน์ 2551)อ้างถึงใน สาวิตร (2551) ได้กลา่ วถึง หลงั จากประเพณีมดั เท้าหมด ”ไม่สามารถให้ข้อมูลในประเด็นนี ้ ไป รองเท้าที่เป็ นที่นิยม คือ รองเท้าแตะ ลกั ษณะ ได้” (ไชยยุทธ ปิ่ นประดับ. เป็ นรองเท้าส้นเตีย้ ลักษณะหัวรองเท้าคล้าย สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) รองเท้าบัลเลต์ของยุโรป คือ ส่วนหัวมีลักษณะ เป็ นรูปตัวยู พืน้ ท่ีบริเวณส่วนหัว ใช้ผ้าแพรปัก “การปักรองเท้าใช้การปักเหมือนปัก ลวดลายด้วยเส้นไหมสีต่างๆ ลวดลายที่ปักมีทงั้ ผ้า ปักเสร็จจะมีผ้ าอีกชิน้ หนึ่งทา ดอกไม้ สตั ว์มงคล ปลา ค้างคาว ผีเสือ้ เป็ ด กวาง ด้วยแป้ งเปี ยกมาทบั ติดเพ่ือป้ องกนั รองเท้าเหลา่ นีน้ ิยมสวมกบั ชดุ ครุย ในภาษามลายู ด้วย” (จรูญรัตน์ ตันฑวณิช. เรียกว่า Kasut Kodok (รองเท้าคางคก) และ สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) ววิ ฒั นาการมาเป็นรองเท้าแตะ ชนิดทีส้นเตีย้ ๆ

150 ตารางท่ี 4.21 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย และ คาํ ถาม ข้อมูล งานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง กรรมวิธีเฉพาะ “ไ ม่ ส า ม า ร ถ ใ ห้ ข้ อ มูล ใ น ปักด้วยเส้นโลหะสีเงิน ทอง ในภาษามลายู เรียกวา่ Kasut ก า ร ต ก แ ต่ ง ประเด็นนีไ้ ด้” (สุรเชษฐ์ Seret (รองเท้าลาก) รองเท้าที่นิยมของสาวชาวบาบ๋าใน ล ว ด ล า ย ชุ ด เจริญผล. สัมภาษณ์, 1 ปัจจบุ นั คือ รองเท้าแตะที่ปักลวดลายด้วยลกู ปัด นิยมสวม ย่ า ห ย า แ ล ะ กนั ยายน 2556) กบั เสือ้ ป่ัวตงึ่ เต้ (เสือ้ เคมายาหรือชดุ ย่าหยา) รองเท้าชนิด รองเท้ าปั กของ นีใ้ ช้ ลูกปัดหลากสีปักลวดลายที่ต้ องการ รูปร่างของ สตรีอําเภอเมือง รองเท้าเหมือนกับรองเท้าที่ปักด้วยเส้นไหม เพียงแต่ใช้ ลกู ปัดปักแทนการปักด้วยเส้นด้ายเท่านนั้ ในภาษามลายู จงั หวดั ภเู กต็ เรียกรองเท้าชนิดนีว้ ่า Kasut Manik (Manik หมายถึง ลกู ปัด) รองเท้าชนิดนีม้ ีทงั้ ชนิดหุ้มด้านหน้า หรือเรียกว่า ปิ ดด้านหน้า และชนิดเปิ ดด้านหน้า ทัง้ สองแบบเป็ นท่ี นิยม การผลิตรองเท้าลกู ปัดนีน้ ่าจะได้รับอิทธิพลมาจาก ยุโรป ส่วนการปักรองเท้าด้วยเส้นไหมได้รับอิทธิพลมา จากจีน จากตารางท่ี 4.21 กรรมวิธีเฉพาะการตกแตง่ ลวดลายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต จากการศกึ ษาสรุปได้ การตกแตง่ ชดุ ย่าหยามีกรรมวิธีเฉพาะ คือ ตวั เสือ้ ไม่มีกระดมุ ใช้ชุดเคร่ืองประดบั กอสงั หรือเคร่ืองประดบั ที่มีลกั ษณะเป็ นเข็มกลดั 3 ชิน้ กลดั ติด แทนกระดมุ ประดบั ตกแตง่ ตวั เสือ้ โดยใช้เทคโนโลยีที่มีความทนั สมยั ฉลลุ ายที่ริมสาบเสือ้ ด้านหน้า และรอบสะโพก คล้ายคตั เวิร์ก หรือประกนั ตกแตง่ ด้วยลกู ไม้จากยโุ รป สว่ นเสือ้ ฉลยุ า่ หยาจะมีการ เขียนลายใส่สะดึงและนําไปปักกับจักร หรือปักด้วยมือ ถ้าเป็ นการปักมือจะมีราคาแพง ส่วน รองเท้า ในสมยั ก่อนการปักรองเท้าจะปักด้วยมือขึน้ ด้วยสะดึงวาดเป็ นรูปโครงให้เป็ นหวั รองเท้า แล้วออกแบบเขียนลายปักด้วยวสั ดทุ ่ีเราต้องการ การปักรองเท้าจะปักหน้าเดียวใช้ผ้ามาปักเป็ น พืน้ รองเท้า เมื่อปักเสร็จแล้วจึงนํามาขึน้ รูปเป็ นรองเท้า การปักรองเท้าใช้การปักเหมือนปักผ้า ปัก เสร็จจะมีผ้าอีกชิน้ หน่ึงทาด้วยแป้ งเปี ยกมาทับติดเพื่อป้ องกันด้วย รองเท้าในระยะแรกท่ีกลุ่ม ผ้หู ญิงจีนอพยพเข้ามาในภูเก็ตนนั้ เป็ นรองเท้าค่เู ล็กๆ เพราะผู้หญิงเหล่านนั้ มดั เท้าให้เล็ก ด้วย ค่านิยมทางวฒั นธรรมท่ีถือว่าผ้หู ญิงเท้าเล็ก เป็ นผ้หู ญิงสวย รองเท้าแบบนีน้ ิยมเย็บด้วยผ้าสีดํา หรือนํา้ เงินเข้ม ปักลายดอกไม้ ลายสตั ว์ ด้วยสีแดง มีสนที่ทําด้วยไม้ หลงั จากประเพณีมดั เท้าหมด ไป รองเท้าที่เป็ นท่ีนิยม คือ รองเท้าแตะ ลกั ษณะเป็ นรองเท้าส้นเตีย้ ลกั ษณะหัวรองเท้าคล้าย

151 รองเท้าบัลเลต์ของยุโรป คือ ส่วนหัวมีลักษณะเป็ นรูปตัวยู พืน้ ที่บริเวณส่วนหัว ใช้ผ้าแพรปัก ลวดลายด้วยเส้นไหมสีต่างๆ ลวดลายท่ีปักมีทงั้ ดอกไม้ สตั ว์มงคล ปลา ค้างคาว ผีเสือ้ เป็ ด กวาง รองเท้าเหลา่ นีน้ ิยมสวมกบั ชดุ ครุย ในภาษามลายู เรียกว่า Kasut Kodok (รองเท้าคางคก) และ ววิ ฒั นาการมาเป็ นรองเท้าแตะ ชนิดที่ส้นเตีย้ ๆ ปักด้วยเส้นโลหะสีเงิน ทอง ในภาษามลายู เรียกว่า Kasut Seret (รองเท้าลาก) รองเท้าท่ีนิยมของสาวชาวบาบ๋าในปัจจุบนั คือ รองเท้าแตะท่ีปัก ลวดลายด้วยลกู ปัด นิยมสวมกบั เสือ้ ป่ัวตง่ึ เต้ (เสือ้ เคมายาหรือชดุ ย่าหยา) รองเท้าชนิดนีใ้ ช้ลกู ปัด หลากสีปักลวดลายที่ต้องการ รูปร่างของรองเท้าเหมือนกบั รองเท้าท่ีปักด้วยเส้นไหม เพียงแต่ใช้ ลกู ปัดปักแทนการปักด้วยเส้นด้ายเท่านนั้ ในภาษามลายเู รียกรองเท้าชนิดนีว้ ่า Kasut Manik (Manik หมายถึง ลกู ปัด) รองเท้าชนิดนีม้ ีทงั้ ชนิดห้มุ ด้านหน้า หรือเรียกว่าปิ ดด้านหน้า และชนิด เปิ ดด้านหน้า 4.1.4 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์แบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) เก่ียวกับความเหมาะสมของสภาพบ้านเมืองกับการแต่งกาย มีรายละเอียด ดงั นี ้ 4.1.4.1 การวิเคราะห์ข้ อมูลโดยใช้ การวิเคราะห์แบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) เก่ียวกบั ความเหมาะสมกบั สภาพบ้านเมืองในอดีต ที่มีตอ่ วฒั นธรรม การแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ภายใต้กรอบข้อคําถาม จํานวน 6 ข้อ ดงั นี ้ 1) ในด้านภมู ิประเทศ 2) ในด้านสภาพดนิ ฟ้ าอากาศ 3) ในด้านเศรษฐกิจ 4) ในด้านสงั คม 5) ในด้านการปกครองและการเมือง 6) ในด้านศลิ ปวฒั นธรรม ผลปรากฏตามตารางที่ 4.22-4.27

  152 ตารางท่ี 4.22 วเิ คราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในอดตี ท่มี ีต่อ วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวัดภเู กต็ ในด้านภมู ปิ ระเทศ ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจาก ความเหมาะสมกบั “จงั หวดั ภเู ก็ตมีสภาพเป็ นเกาะ จะมีเกาะเล็กๆ ล้อมรอบอยู่ การศกึ ษาเอกสาร/ สภาพบ้านเมืองใน ในทะเลที่กันลม การท่ีมีภูเขาล้อมรอบจึงทําให้เป็ นเกาะ อ ดี ต ที่ มี ต่ อ ป้ องกันพายุต่างๆ ที่จะมาถึงภูเก็ต ทําให้ความแรงท่ีจะ ตาํ รา/ภาพถ่าย วฒั นธรรมการแต่ง มาถึงอ่อนแรงลง จึงทําให้จงั หวัดภูเก็ตมีผลกระทบต่อภัย กายชดุ ย่าหยาและ ธรรมชาติน้ อยมาก และสภาพของภูเขาของภูเก็ตเป็ น และงานวจิ ัยท่ี รองเท้าปักของสตรี หินแกรนิต จึงทําให้มีดีบุกมาก และเป็ นทรัพยากรของคน อํ า เ ภ อ เ มื อ ง ภเู ก็ต จงึ ทําให้ภเู ก็ตเป็ นแหลง่ ดีบกุ สําคญั ของประเทศไทย” เก่ียวข้อง จังหวัดภูเก็ต ใน (ฤดี ภมู ภิ ถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) ด้านภมู ปิ ระเทศ ลกั ษณะภูมิประเทศ “การแตง่ กายในสมยั กอ่ นจะนงุ่ ผ้ากระโจมอกอยกู่ บั บ้าน ถ้า ของจงั หวดั ภเู ก็ตเป็ น มีงานจะนุ่งผ้าสวยๆ แล้วแต่งาน ถ้าอยู่กับบ้านจะนุ่งผ้า เทือกเขาทอดในแนว กระโจมอก ใสเ่ สอื ้ ลเู ปี ยบางๆ หรือผ้าป่ านบางๆ ถ้ามีงานจึง เหนือใต้ ภูเขาส่วน จะแต่งชดุ เต็ม”(ยินดี มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สิงหาคม ใ ห ญ่ อ ยู่ ท า ง ทิ ศ 2556) ต ะ วั น ต ก มี พื ้น ท่ี ประมาณร้ อยละ 70 “มีสภาพเป็ นเกาะมีภูเขาเยอะ” (จู้. พงศ์ประดิษฐ์. ของเกาะ ซึ่งเป็ นแนว สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) กําบังลมและฝน ทํา ให้ ภูเก็ตปลอดภัย “จงั หวัดภูเก็ตในอดีตมีทะเลล้อมรอบจะมีเกาะแก่ง จะอยู่ จ า ก เ ข ต ม ร สุ ม ในเขตมรสมุ แบบร้อนชืน้ เพราะฉะนนั้ การแต่งปาเต๊ะกบั ผู้ ตะวันตกเฉียงใต้ ที่ ลูกไม้ จะสามารถระบายอากาศได้ แสดงว่าเสือ้ ผ้ า รุนแรง เขาที่สูงที่สุด สถาปัตยกรรมการก่อสร้างกบั ภมู ิอากาศเข้ากนั และลงตวั ” ในจังหวัดภูเก็ต คือ (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) เขาไม้เท้าสิบสอง มี ความสูง 529 เมตร “ภูเก็ตมีสภาพเป็ นเกาะ มีภูเขาล้อมรอบเพ่ือกันลม แต่ใน อ ยู่ใ น เ ข ต ป่ า ต อ ง อดีตจะมีนํา้ ทว่ มบ้าง จะมีอยทู่ ่ีหนงึ่ ที่จะเรียกวา่ แถวนํา้ อําเภอกระทู้ เป็ นท่ี ราบประมาณร้ อยละ 30 ของเกาะ ที่ราบ ส่วนใหญ่อยู่บริเวณ ต อ น ก ล า ง ฝั่ ง ต ะ วั น อ อ ก แ ล ะ บ ริ เ ว ณ ช า ย ฝั่ ง ตะวนั ตกของเกาะ

  153 ตารางท่ี 4.22 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา ความเหมาะสมกบั ส่วนการขึน้ ลงรถสามล้อหรือรถม้า เพราะฉะนัน้ การ เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย สภาพบ้านเมืองใน แต่งกายของผ้ ูหญิงท่ีใส่ผ้ าปาเต๊ ะสามารถก้ าวขาขึน้ อ ดี ต ที่ มี ต่ อ รถได้อย่างสะดวก ในเมืองภเู ก็ตในอดีตจะมีถนนบาง และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง วฒั นธรรมการแต่ง เหนียวจนถึงตลาด และมีถนนถลาง ถนนดีบุก ถนน กายชดุ ย่าหยาและ พงั งา และต่อมามีถนนรัชดา และถนนระนองตดั กับ ชายฝั่ งด้ านตะวันออกมี รองเท้าปักของสตรี หน้าบ้านส้านกันอีกทีหนึ่ง เพราะฉะนัน้ คนที่อยู่ใน สภาพเป็ นหาดโคลนและ อํ า เ ภ อ เ มื อ ง เมืองกบั การแต่งกายชดุ ย่าหยาของผ้หู ญิงจะกลืนกนั ป่ าชายเลน เช่น หาดสะปํ า จังหวัดภูเก็ต ใน หมดกับสภาพในการทํางานอยู่แล้ ว แม้ สภาพ หาดป่ าคลอก หาดอ่าวปอ ด้านภมู ปิ ระเทศ ภูมิศาสตร์ จึงไม่มีปั ญหาแต่อย่างไร ส่วนสภาพ เ ป็ น ต้ น ส่ ว น ท า ง ทิ ศ รองเท้าปักที่สวมใสเ่ หมาะกบั สภาพภมู ิศาสตร์ เพราะ ตะวันตกเป็ นหาดทราย เป็ นรองเท้าส้นเตีย้ จึงไม่มีปัญหาในการสวมใส่แต่ สวยงาม เช่น หาดในยาง อย่างใด รองเท้าปักจึงเหมาะกบั ทุกสถานการณ์ แต่ หาดป่ าตอง หาดกะตะ ความนิยมท่ีจะให้เจ้าสาวสวมใส่จึงทําให้ดูอลงั การ หาดกะรน หาดทรายแก้ว ถึงแม้ จะสวมชุดย่าหยาและสวมรองเท้ าปั กจึง หาดไม้ ขาว หาดในทอน เหมาะสมไม่เป็ นอปุ สรรค” (สมหมาย ป่ิ นพทุ ธศิลป์ . หาดเลพัง หาดบางเทา สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) หาดสุริ นทร์ หาดกมลา หาดในหาน เป็ นต้น(อ้าง ”ลกั ษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็ นภูเขาสลบั กับแนว ถึงใน สํานักงานจังหวัด เขาท่ีราบบางส่วนถูกแนวล้อมด้วยภูเขา เทือกเขามี ภเู ก็ต,2535)นอกจากนี ้ฤดี ความลาดชนั อดุ มไปด้วยทรัพยากรอดุ มไปด้วยแหลง่ (2550) กลา่ ววา่ ภเู ก็ตไม่มี นํา้ และทรัพยากรธรรมชาติ เมื่อก่อนมีต้นไม้และภเู ขา แม่นํา้ สายสําคัญ มีแต่ เยอะ ไม่มีผลต่อการแต่งกายแต่งอย่กู บั บ้านทุกวนั ” คลองสายเล็กๆ เช่น คลอง (ไชยยทุ ธ ปิ่ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) ท่าจีน คลองบางชีห้ ล้ า คลองหม่าหลง คลองท่า พร้าว คลองบางโรง คลอง กมลา ค ล อ ง บ า ง ใ ห ญ่ คลองโคกโตนด ฯลฯ ลํา “จังหวัดภูเก็ตในอดีต มีต้ นไม้ เยอะ มีแนวภูเขา ล้อมรอบ เพื่อกนั ลมพายุเป็ นเขตมรสุมแบบร้อนชืน้ ส่วนการแต่งกายชุดย่าหยา ไม่มีอปุ สรรคในการสวม ใส่เพราะเรานุ่งผ้าถงุ ปาเต๊ะ และสวมเสือ้ คอตัง้ แบบ จีบ เพราะผ้าถุงสามารถระบายลมได้ ส่วนเสือ้ ก็ไม่มี ปัญหาอะไร สว่ นรองเท้าเป็นรองเท้าส้นเตีย้ เวลาเดิน

154 ตารางท่ี 4.22 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย ความเหมาะสมกบั ก็สะดวกสบายดี” (จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์ และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง สภาพบ้ าน เมือง ,16 กนั ยายน 2556) ใ น อ ดี ต ท่ี มี ต่ อ คลองเหล่านีใ้ นอดีตเคยมี วฒั นธรรมการแต่ง “จงั หวดั ภเู ก็ตเป็ นท่ีราบสงู เป็ นภเู ขาล้อมรอบเป็ นท่ี สภาพลึกและกว้าง จนเรือ กายชดุ ย่าหยาและ ลุ่มบางจุด มีผลกระทบมากจากการทําเหมืองแร่ สําเภาขนาดใหญ่สามารถใช้ รองเท้าปักของสตรี ลักษณะของหินเป็ นหินแกรนิต และสภาพของ เ ป็ น เ ส้ น ท า ง ลํ า เ ลี ย ง อํ า เ ภ อ เ มื อ ง จังหวัดภูเก็ตเป็ นเกาะ มีทะเลล้อมรอบ อากาศจะ สินค้าเข้า-ออก เช่น คลอง จังหวัดภูเก็ต ใน ได้รับลมบกลมทะเล การแต่งกายเป็ นการแต่งกาย บางใหญ่ นับเป็ นลําคลอง ด้านภมู ิประเทศ แบบสบายๆ สว่ นใหญ่จงั หวดั ภเู ก็ตมีหลายเชือ้ ชาติ สายหลักของภูเก็ต มีเรือใบ มีทงั้ ชาวเล ชาวจีน ชาวมสุ ลิม แต่สว่ นใหญ่ในเมือง สามหลัก บรรทุกสินค้าเข้า ภูเก็ตจะเป็ นชาวจีนโพ้นทะเลหรือชาวจีนบาบ๋า มาสง่ ในเมือง บริเวณแถวนํา้ ลกั ษณะการแต่งกายจะอิงตามลกั ษณะภมู ิอากาศ ไ ด้ อ ย่ า ง ส ะ ด ว ก แ ต่ ใ น และภมู ิประเทศ เพราะจงั หวดั ภเู ก็ตเป็ นเมืองร้อนมี ปัจจุบันได้ตืน้ เขินและแคบ ฝนตกตามฤดกู าล การแต่งกายภเู ก็ตถ้าเป็ นพิธีการ ลง ทงั้ นีเ้ นื่องจากตะกอนดิน จะแตง่ กายแบบจีนบาบา๋ ถ้าเป็ นผ้ชู ายจะใสช่ ดุ นาย จากเหมืองแร่ท่ีไหลมาทบั ถม เหมือง ถ้าเป็ นหญิงจะแต่งชุดย่าหยา น่งุ ผ้าปาเต๊ะ เวลาฝนตกทําให้ นํา้ ท่วม สวมเสือ้ เคมายา ตามเพอรานากัน มีลายฉลตุ ่างๆ พืน้ ที่ต่างๆ เพราะลําคลอง เป็ นเชิงพิธีการ ถ้าเป็ นชุดแบบสบายอยู่กับบ้าน ส่วนใหญ่ตืน้ เขินใช้ระบาย ผู้ชายจะสวมเสือ้ กล้าม นุ่งผ้าขาวม้า ผู้หญิงจะนุ่ง นํา้ ไม่ดีเท่าที่ควรเนื่องจาก ผ้าถุงกระโจมอก ถ้ าอยู่บ้ านจะแต่งกายสบาย” ข า ด ก า ร พั ฒ น า อ ย่ า ง (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 1 กนั ยายน 2556) ต่อเน่ือง จึงทําให้คลองบาง แห่งไมเ่ หลือสภาพเดิมเอาไว้ แ ล ะ บ า ง แ ห่ ง มี แ ต่ ชื่ อ เ รี ย ก ขานเทา่ นนั้ จากตารางที่ 4.22 ความเหมาะสมกบั สภาพบ้าน เมืองในอดีต ที่มีตอ่ วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านภมู ิประเทศ จากการศกึ ษา สรุปได้ว่า จงั หวดั ภเู ก็ตในอดีตมีทะเลล้อมรอบจะมีเกาะแก่ง มีต้นไม้เยอะ เป็ นท่ีราบสงู เป็ นภเู ขา ล้อมรอบ เพื่อกนั ลมพายเุ ป็ นเขตมรสมุ แบบร้อนชืน้ อากาศจะได้รับลมบก ลมทะเล เป็ นท่ีลมุ่ บาง จุด มีผลกระทบมากจากการทําเหมืองแร่ ลกั ษณะของหินเป็ นหินแกรนิต เพราะฉะนนั้ การแต่ง

155 ปาเต๊ะกับผู้ลูกไม้จะสามารถระบายอากาศได้ แสดงว่าเสือ้ ผ้า สถาปัตยกรรมการก่อสร้ างกับ ภูมิอากาศเข้ากันและลงตวั ส่วนการแต่งกายชุดย่าหยา ไม่มีอปุ สรรคในการสวมใส่เพราะเรานุ่ง ผ้าถงุ ปาเต๊ะ และสวมเสือ้ คอตงั้ แบบจีบ เพราะผ้าถุงสามารถระบายลมได้ ส่วนเสือ้ ก็ไม่มีปัญหา อะไร สว่ นรองเท้าเป็ นรองเท้าส้นเตีย้ เวลาเดนิ ก็สะดวกสบายดี การแตง่ กายเป็ นการแตง่ กายแบบ สบายๆ สว่ นใหญ่จงั หวดั ภเู ก็ตมีหลายเชือ้ ชาติ มีทงั้ ชาวเล ชาวจีน ชาวมสุ ลมิ แตส่ ว่ นใหญ่ในเมือง ภเู ก็ตจะเป็ นชาวจีนโพ้นทะเลหรือชาวจีนบาบา๋ ลกั ษณะการแตง่ กายจะอิงตามลกั ษณะภมู ิอากาศ และภมู ปิ ระเทศ เพราะจงั หวดั ภเู ก็ตเป็ นเมืองร้อนมีฝนตกตามฤดกู าล การแตง่ กายภเู ก็ตถ้าเป็ นพิธี การจะแตง่ กายแบบจีนบาบ๋า ถ้าเป็ นผ้ชู ายจะใส่ชดุ นายเหมือง ถ้าเป็ นหญิงจะแต่งชดุ ย่าหยา น่งุ ผ้าปาเต๊ะ สวมเสือ้ เคมายา มีลายฉลตุ ่างๆ เป็ นเชิงพิธีการ ถ้าเป็ นชดุ แบบสบายอย่กู บั บ้าน ผ้ชู าย จะสวมเสือ้ กล้าม นุ่งผ้าขาวม้า ผ้หู ญิงจะนุ่งผ้าถงุ กระโจมอก ถ้าอยู่บ้านจะแต่งกายสบาย ส่วน สภาพรองเท้าปักที่สวมใส่เหมาะกบั สภาพภมู ิศาสตร์ เพราะเป็ นรองเท้าส้นเตีย้ จึงไม่มีปัญหาใน การสวมใสแ่ ตอ่ ยา่ งใด ตารางท่ี 4.23 วิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในอดตี ท่มี ีต่อ วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวัดภเู ก็ต ในด้านสภาพดนิ ฟ้ าอากาศ ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย ความเหมาะสมกบั “สภาพอากาศของจงั หวดั ภเู กต็ เป็นอากาศร้อนชืน้ ฝน และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง สภาพบ้านเมืองใน ตกชุก มีฝนและแดดตลอดเวลา และชุดย่าหยามี อ ดี ต ท่ี มี ต่ อ ลกั ษณะบาง เหมาะสมกบั ประเทศที่มีภมู ิภาคอากาศ สํ า นั ก ง า น จั ง ห วั ด ภู เ ก็ ต วฒั นธรรมการแต่ง ร้อน การท่ีใส่เสือ้ ผ้าบาง ๆ จะทําให้คลายความร้อน (2535) ลกั ษณะภมู ิอากาศ กายชดุ ย่าหยาและ ได้” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) จังหวัดภูเก็ต ตัง้ อยู่ใกล้ รองเท้าปักของสตรี เ ส้ น ศู น ย์ สู ต ร ทํ า ใ ห้ อํ า เ ภ อ เ มื อ ง “สภาพอากาศในอดีต จะมีฝนตกชุกและตกยาวนาน อุณหภูมิสูงเกือบตลอดปี จังหวัดภูเก็ต ใน แต่ไม่มีผลต่อการแต่งกาย เพราะเป็ นชุดพืน้ เมืองท่ี แ ต่ เ นื่ อ ง จ า ก มี ท ะ เ ล ด้ านสภาพดินฟ้ า เป็ นเอกลกั ษณ์ วัฒนธรรมการแต่งกายจะขึน้ อยู่กับ ล้อมรอบ จึงทําให้อณุ หภมู ิ อากาศ ความชอบ อาจจะมีผลตอ่ การสวมใสบ่ ้าง”(ยินดี มโน ไม่สูงจนเกินไปประกอบ สณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) กบั ตงั้ อยดู่ ้านหน้าเทือกเขา ภเู ก็ต ซงึ่ เป็ นด้านรับลมฝน “ฝนตกตามฤดกู าล แตไ่ มม่ ีผลกระทบตอ่ การแตง่ กาย ข อ ง ล ม ม ร สุ ม ต ะ วั น ต ก เ ฉี ย ง ใ ต้ ที่ พั ด จ า ก มหาสมทุ รอนิ เดีย ทําให้ฝน

156 ตารางท่ี 4.23 (ตอ่ ) ประเดน็ ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา คาํ ถาม เอกสาร/ตาํ รา/ ภาพถ่าย และ ค ว า ม เพราะรู้วา่ แตล่ ะฤดกู าลมาช่วงไหน จงึ ทําให้เราปรับตวั ได้ สว่ น งานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง เหมาะสมกับ ผ้าที่ใช้ไมม่ ีความหนาจงึ ทําให้ไมร่ ้อน สภาพอากาศของภเู ก็ตมี ชุ ก ใ น ฤ ดู ม ร สุ ม ส ภ า พ บ้ า น 2 ฤดู มีฤดรู ้อนและฤดฝู นอากาศจะสบายๆ เสือ้ ผ้าของคน ดงั กล่าว จังหวัดภูเก็ต เมืองในอดีต ที่ ภเู ก็ตจะบางๆ” (จู้ พงศ์ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, 28 สิงหาคม จึงมี 2 ฤดู คือ ฤดูฝน มีต่อวฒั นธรรม 2556) และฤดรู ้อน โดยฤดฝู น เ ริ่ ม ตั่ง แ ต่ ป ล า ย เ ดื อ น ก า ร แ ต่ ง ก า ย เมษายนถึงปลายเดือน ชุดย่าหยาและ “ในอดีตฝนจะตกต้องตามฤดกู าล และมีสภาพอากาศเป็ นเขต พฤศจิกายน ฝนตกชุก ร อ ง เ ท้ า ปั ก มรสมุ แบบร้อนชืน้ และไม่มีผลต่อการแต่งกาย และจะใส่เสือ้ ช่วงเดือนพฤษภาคม ของสตรีอําเภอ คอตงั้ แขนจีบอย่กู บั บ้านเพราะอากาศสบายๆ” (จรินทร์. นีร ถึงเดือนตุลาคม โดย เมือง จังหวัด นาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) เฉล่ียฝนตกปริ มาณ ภูเก็ต ในด้ าน 170 วนั ต่อปี เดือนที่มี “สภาพอากาศของจงั หวดั ภเู ก็ตมีฝน 8 แดด 4 แต่จะมีช่วง ประมาณนํา้ ฝนสูงสุด ส ภ า พ ดิ น ฟ้ า คือ เดือนพฤษภาคม อากาศ อากาศหนาวอยู่ในช่วงเดือนพฤศจิกายน–มกราคม จะออก และฤดูร้ อน เริ่มตั่งแต่ นอกบ้านจะมีการสวมใส่ชุดย่าหยาแล้วแต่จะใส่ไปงานแบบ เดือนธันวาคมถึงเดือน มีนาคม เป็ นช่วงท่ีฝน ไหนขึน้ อยู่กับงาน ส่วนรองเท้าปักเป็ นรองเท้าส้นเตีย้ ทําให้ ตกน้อยที่สดุ เดินสะดวกจึงไม่มีปัญหาในการสวมใส่แต่จะดแู ลรักษายาก” (สมหมาย ปิ่ นพทุ ธศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ”เมื่อก่อนในอดีตมีแดด 4 ฝน 8 ฝนจะตกเยอะ อากาศเย็น สบาย ไม่ร้อน ไม่มีผลตอ่ การแตง่ กาย เพราะแต่งทกุ วนั ” (ไชย ยทุ ธ ปิ่ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) “ไม่สามารถให้ข้อมลู ในประเด็นนีไ้ ด้” (จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) “ภมู ิอากาศของจงั หวดั ภเู ก็ตจะเป็ นฝน 8 แดด 4 อากาศร้อน ชืน้ การแต่งกายในอดีตผู้หญิงจะนุ่งผ้ าปาเต๊ ะ สวมเสือ้ ย่าหยา หรือชดุ เดมายา อาจจะเป็ นลายฉลตุ ่างๆ” (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 1 กนั ยายน 2556)

157 จากตารางท่ี 4.23 ความเหมาะสมกบั สภาพบ้าน เมืองในอดีต ที่มีตอ่ วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านภมู ิอากาศ จากการศกึ ษา สรุปได้ว่า ลกั ษณะภมู ิอากาศ จงั หวดั ภเู ก็ต ตงั้ อย่ใู กล้เส้นศนู ย์สตู ร ทําให้อณุ หภมู ิสงู เกือบตลอดปี แตเ่ น่ืองจากมีทะเลล้อมรอบ จงึ ทําให้อณุ หภมู ิไม่สงู จนเกินไป ประกอบกบั ตงั้ อย่ดู ้านหน้าเทือกเขา ภเู ก็ต ซง่ึ เป็ นด้านรับลมฝนของลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต้ ท่ีพดั จากมหาสมทุ รอินเดีย ทําให้ฝนชุก ในฤดมู รสมุ ดงั กลา่ ว จงั หวดั ภเู ก็ตจึงมี 2 ฤดู คือ ฤดฝู นและฤดรู ้อน แตไ่ มม่ ีผลกระทบตอ่ การแต่ง กาย เพราะชดุ ย่าหยามีลกั ษณะบางเหมาะสมกบั ประเทศท่ีมีภูมิภาคอากาศร้อน การที่ใส่เสือ้ ผ้า บางๆ จะทําให้คลายความร้อนได้ ส่วนรองเท้าปักเป็ นรองเท้าส้นเตีย้ ทําให้เดินสะดวกจึงไม่มี ปัญหาในการสวมใสแ่ ตจ่ ะดแู ลรักษายาก ตารางท่ี 4.24 วเิ คราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในอดตี ท่มี ีต่อ วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวัดภเู ก็ต ในด้านเศรษฐกจิ ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย ความเหมาะสม “ผู้หญิงในภูเก็ตจะมีรายได้จากการขายแร่ดีบุก ส่วน และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง กับ ส ภ า พ บ้ า น ใหญ่ผ้หู ญิงภเู ก็ตจะนิยมคาดเข็มขดั ทองตามรายได้ที่มี เมืองในอดีต ที่มี และการสวมเสือ้ บางจะทําให้เห็นเข็มขดั จึงเป็ นการโชว์ ฤดี (2553) กล่าวว่า ต่ อ วัฒ น ธ ร ร ม อย่างหน่ึงของผ้หู ญิงภูเก็ต และการสวมเสือ้ ผ้าจะเป็ น โครงสร้ างทางเศรษฐกิจที่ การแต่งกายชุด การบอกถึงฐานะอีกอย่างด้วย” (ฤดี ภูมิภูถาวร. สําคัญ คือ การทําเหมือง ย่ า ห ย า แ ล ะ สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) แร่ ชาวบ้านทวั่ ไปจะทําแร่ รองเท้ าปั กของ ดี บุ ก โ ด ย วิ ธี ทํ า เ ห มื อ ง แ ร่ สตรีอําเภอเมือง “จงั หวดั ภเู ก็ตเป็ นจงั หวดั ท่ีมีทรัพย์ในดินมีสินในนํา้ การ และร่อนแร่ท้ายราง เหมือง จังหวัดภูเก็ต ใน ทํามาหากินสะดวก จึงไม่มีผลต่อการแต่งกาย เพราะ สบู ซง่ึ มีรายได้ดีพอสมควร ด้านเศรษฐกิจ แต่งตามฐานะ จังหวดั ภูเก็ตมีสภาพทางเศรษฐกิจดี มี จ า ก จ ด ห ม า ย เ ห ตุ ข อ ง ความร่ํารวย เวลาแต่งงานจะสวมใส่ทองเป็ นกิโลๆ ส่ิง พ่อค้าชาวฝร่ังเศส บันทึก เหล่านีจ้ ะบอกถึงสภาพเศรษฐกิจของคนภูเก็ต”(ยินดี ไว้ ในปี พ.ศ.2229 บาง มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) ตอนกล่าวว่า ชาวเกาะนี ้ ซ่งึ เป็ นคนอาศยั อย่ตู ามป่ า “ในยคุ อดีตมีมากใช้มาก มีน้อยใช้น้อย ใครมีแค่ไหนใช้ ตามดง ไม่ทําการงานท่ี แคน่ นั้ แตส่ รุปโดยรวมคือ มีการแตง่ กายแบบอนรุ ักษ์ แปลกอย่างใดเลย ทัง้ วิชา ค ว า ม รู้ ก็ ไ ม่ ต้ อ ง เ ส า ะ แสวงหา การท่ีทําอยทู่ กุ

158 ตารางท่ี 4.24 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย ความเหมาะสม ของเก่าแบบดัง้ เดิมทัง้ หมด แต่ของทุกชิน้ ที่หามาใช้ และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง กับ ส ภ า พ บ้ า น จะต้องตามฐานะของผ้ใู ช้” (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, เมืองในอดีต ที่มี 28 สงิ หาคม 2556) วนั นีก้ ็เพียงแต่ตดั ไม้ทําฝื น ต่ อ วัฒ น ธ ร ร ม ทํานา และขุดดินเพื่อร่อน การแต่งกายชุด “ในอดีตจงั หวดั ภเู ก็ตจะรุ่งเรืองมาก จากการทําเหมืองแร่ ย่ า ห ย า แ ล ะ และการค้าขาย เศรษฐกิจมีผลต่อการแต่งกายเพราะชุด หาแร่ดีบุกเท่านัน้ แร่ดีบุก รองเท้ าปั กของ ยา่ หยาและรองเท้าปักมีราคาค่อนข้างสงู เพราะฉะนนั้ ถ้า นีเ้ ป็ นสิ่งสําคญั ของเมืองนี ้ สตรีอําเภอเมือง คนที่ไมม่ ีความพร้อม จะแตง่ ไมไ่ ด้ เพราะเครื่องประดบั หา จังหวัดภูเก็ต ใน ยากและมีราคาแพง” (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. สมั ภาษณ์, และได้เกิดการค้าขายโดย ด้านเศรษฐกิจ 31 สงิ หาคม 2556) ที่ชาวเมืองขุดแร่ดีบกุ ได้ ก็ “ในอดีตภูเก็ตมีเศรษฐกิจดีเพราะการทําเหมืองแร่ดีบุก เอาแร่นัน้ ไปแลกเปลี่ยน แต่การแต่งกายในอดีต คนรวยกบั คนมีฐานะระดบั กลาง กับพ่อค้า ซึ่งนําสินค้ามา จะมีกําลงั ทรัพย์ในการสวมใส่ เพราะต้องสง่ั ซือ้ จากปี นัง จากภายนอก เพื่อเอามา แต่คนท่ีไม่ค่อยมีฐานะจะสวมใส่ได้ตามฐานะแต่รองเท้า แลกเปล่ียนกับแร่ ดีบุก จะมีราคาแพงมาก จึงทําให้ คนที่อยู่ในระดับล่างไม่ นัน้ เอง เพราะในเมืองนี ้ สามารถจะสวมใส่ได้” (สมหมาย ปิ่ นพุทธศิลป์ . ไ ม่ ไ ด้ ทํ า อ ะ ไ ร กั น เ ล ย สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) นอกจากขดุ ดินหาดีบกุ ซ่งึ ”ในสมยั กอ่ นเม่ือแร่ดีบกุ ยงั มีราคาอยู่ เศรษฐกิจดี คนสว่ น เขาขดุ ได้เป็ นจํานวนมากๆ ใหญ่จะไปทําเหมืองแร่ แต่ถ้าพูดถึงการแต่งกายก็มีผล และข้าพเจ้าเชื่อว่าคงจะมี เพราะถ้ารายได้ดีมีฐานะการแต่งกายก็ดีตามไปด้วย แต่ บ่อดีบุกท่ีดีกว่านีอ้ ีก แต่ ถ้าฐานะยากจนการแต่งกายก็จะด้อยตามไปด้วย” (ไชย ต้องหาคนที่ชํานาญจึงจะ ยทุ ธ ปิ่ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) ค้ นบ่อดีบุกดีๆได้ ภาวะ “เหมาะสมเพราะเราแต่งตวั ตามฐานะ เศรษฐกิจในอดีต เศรษฐกิจของจังหวัดใน ได้มาจากการทําเหมืองแร่ดีบกุ และจากการค้า จึงทําให้ อดีตนัน้ เศรษฐกิจของ รุ่งเรืองมาก การแต่งกายหรือการใช้จ่ายในการซือ้ เสือ้ ผ้า จังหวัดภูเก็ตขึน้ อยู่กับ ต่างๆ ส่วนรองเท้าปักเราอยู่บ้านว่างๆ ก็มีการปักเอง” ร า ค า สิ น แ ร่ ดี บุ ก เ ป็ น (จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) สําคัญ เนื่องจากราคา ดีบุกในตลาดโลกตํ่าลง ตงั้ แต่ปี พ.ศ.2528 เป็ นต้น มา ทําให้การผลิตสินแร่ ดีบุกไม่คุ้มกับการลงทุน ทําให้ผ้ปู ระกอบการหนั มา ทําธุรกิจการทอ่ งเที่ยวกนั

159 ตารางท่ี 4.24 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม กับ “จังหวัดภูเก็ตในอดีต มีการทําเหมืองแร่ดีบุก มากขนึ ้ สภาพบ้ าน เมืองใน เศรษฐกิจส่วนใหญ่จะได้มาจากการทําเหมืองแร่ อดีต ท่ีมีต่อวฒั นธรรม ดีบกุ เม่ือทกุ คนร่ํารวยจึงได้ซือ้ ผ้าและมีการจบั จ่าย การแต่งกายชุดย่าหยา ใช้สอย ซือ้ ผ้าที่นําเข้ามาจากปี นงั มาสวมใสจ่ ึงทํา และรองเท้าปักของสตรี ให้ การแต่งกายเปลี่ยนไปจากอดีต เศรษฐกิจ อําเภอเมือง จังหวัด รุ่งเรืองขึน้ คนมีรายได้ก็จะหาซือ้ ผ้ามาสวมใส่ได้” ภเู ก็ต ในด้านเศรษฐกิจ (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 1 กนั ยายน 2556) จากตารางท่ี 4.24 ความเหมาะสมกบั สภาพบ้าน เมืองในอดีต ที่มีตอ่ วฒั นธรรมการแต่ง กายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านเศรษฐกิจ จากการศกึ ษา สรุปได้วา่ จงั หวดั ภเู ก็ตในอดีตเป็ นจงั หวดั ท่ีมีทรัพย์แร่ดีบกุ มาก การทํามาหากินสะดวก เศรษฐกิจ ของภูเก็ตในอดีตได้มาจากการทําเหมืองแร่ดีบุก และจากการค้าเกือบทงั้ สิน้ จึงทําให้เกิดความ รุ่งเรืองและความรํ่ารวยจากการทําธุรกิจเหมืองแร่ดีบุก เมื่อเกิดความร่ํารวยจึงทําให้ได้มีการ จบั จ่ายใช้สอย ซือ้ เสือ้ ผ้าที่นําเข้ามาจากปี นงั และมีราคาแพงมาสวมใส่ การแตง่ กายนนั้ สามารถ บง่ บอกถงึ เศรษฐกิจในสมยั นนั้ โดยการแตง่ กายของสตรี พอจะบง่ บอกถึงฐานะของผ้นู นั้ อาทิ การ ใช้เคร่ืองประดบั ท่ีทําด้วยทองคําและเพชร ผ้ใู ดสวมใส่มาก ก็สามารถบ่งบอกถึงฐานะว่ามีความ ร่ํารวยตามการสวมใส่เครื่องประดับที่ไม่มีความพร้ อมจึงทําให้ ขาดการต่อเนื่อง เพราะ เคร่ืองประดบั หายากและมีราคา

160 ตารางท่ี 4.25 วเิ คราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในอดตี ท่มี ีต่อ วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวัดภเู กต็ ในด้านสังคม ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจาก การศกึ ษาเอกสาร/ ความเหมาะสมกบั “ในอดีตภเู ก็ตไม่ต้องมีรัว้ บ้าน สงั คมเป็ นมิตรเข้าบ้านไหนก็ สภาพบ้ าน เมือง รู้จักกันหมด จะมีของติดไม้ติดมือมาฝากกันตลอดเวลา ตาํ รา/ภาพถ่าย ใ น อ ดี ต ที่ มี ต่ อ และทกุ บ้านเป็ นมิตรกนั ไม่มีโจร เปิ ดประตบู ้านทิง้ ไว้ก็ไม่มี และงานวจิ ัยท่ี วฒั นธรรมการแต่ง ปัญหา จอดรถเสียบกุญแจทิง้ ไว้ก็ไม่หาย ไม่เหมือนในยุค กายชดุ ย่าหยาและ ปัจจบุ นั ” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) เก่ียวข้อง รอง เท้ าปั กของ สตรี อําเภอเมือง “ในอดีตสงั คมภเู ก็ตจะเป็ นสงั คมเอือ้ อาทรเพื่อนบ้านมีอะไร สํ า นั ก ง า น จั ง ห วั ด จังหวัดภูเก็ต ใน ก็จะแบง่ ปันกนั การแต่งกายในสมยั ก่อนจะมีการสวมใสช่ ดุ ภเู ก็ต (2535) จงั หวดั ด้านสงั คม พืน้ เมืองกันเยอะ แต่ปัจจุบนั คนมีอายกุ ็เริ่มตายจากกนั ไป ภูเก็ตประกอบด้ วย คนสวมใส่ชุดลดลงจึงทําให้ มีการรณรงค์”(ยินดี มโน ค น ห ล า ย ช น ช า ติ สณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) หลายภาษา การ ยึด ถื อ แ ล ะ ป ฏิ บัติ “ในด้านสงั คมในอดีต ไม่มีการทะเลาะ มีการเอือ้ เฟื อ้ เผื่อแผ่ ทางการศาสนา จึงมี กนั เวลานอนหรือออกไปไหนไมป่ ิ ดประตบู ้านยงั ได้ การแตง่ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง กั น กายก็ขึน้ อย่กู บั งานที่จะไป และมีการสวมชดุ ย่าหยาทกุ วนั ตามความคิด ความ แต่ถ้าออกงานใหญ่ๆ จะสวมชดุ ครุยยาว ใสท่ องเยอะๆ ถ้า เ ช่ื อ แ ล ะ ค ว า ม เป็ นงานไม่ใหญ่มากก็จะใส่ชุดเสือ้ คอตงั้ แบบจีน ส่วนครุย เ ลื่ อ ม ใ ส ศ รั ท ธ า สนั้ ไว้สําหรับผ้สู งู อาย”ุ (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, 28 ตามแต่ศาสนาท่ีตน สงิ หาคม 2556) นับถือ ประชากรใน จังหวัดภูเก็ตร้ อยละ “สงั คมภเู ก็ตในอดีตเป็ นสงั คมท่ีต่างจะเอือ้ ซงึ่ กนั และกนั ซึ่ง 80.4 นับถือศาสนา ในสมยั ก่อนถ้าจะแต่งงาน เครื่องเพชรไม่ต้องมีเราหยิบยืม พุ ท ธ แ ล ะ ร้ อ ย ล ะ กนั และนีเ้ ป็ นสงั คมเอือ้ เฟื ้อเป็ นสงั คมเปรียบเสมือนญาติ 18.6 นับถือศาสนา เพราะฉะนนั้ รูปแบบนีจ้ ะไม่มีธุรกิจเข้ามาเกี่ยวข้องจะอาศยั อิ ส ล า ม ท่ี เ ห ลื อ การหยบิ ยืม และนีเ้ป็นสงั คมภเู ก็ตในอดีต” (จรินทร์. นีรนาถ เ ล็ ก น้ อ ย นั บ ถื อ วโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) ศาสนาคริ สต์และ ศาสนาอื่นๆ

  161 ตารางท่ี 4.25 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจาก การศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ ภาพถ่าย และ งานวจิ ัยท่ี เก่ียวข้อง ความเหมาะสม “สงั คมในอดีต ไมม่ ีการทะเลากนั ะ มีแตเ่ อือ้ เฟื อ้ เผื่อแผ่กนั เวลา กับ ส ภ า พ บ้ า น นอนหรือออกไปไหนไมป่ ิ ดประตบู ้านยงั ได้ การแตง่ กายก็ขนึ ้ อยู่ กบั งานท่ีจะไป และมีการสวมชุดย่าหยาทกุ วนั แต่ถ้าออกงาน เมืองในอดีต ที่มี ใหญ่ๆ จะสวมชุดครุยยาว ใส่ทองเยอะๆ ถ้าเป็ นงานไม่ใหญ่ ต่ อ วัฒ น ธ ร ร ม มากก็จะใส่ชุดเสือ้ คอตัง้ แบบจีน ส่วนครุยสัน้ ไว้ สําหรับ ผ้สู งู อาย”ุ (จ้.ู พงศ์ประดษิ ฐ์. สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) การแต่งกายชุด ย่าหยาและรอง “สงั คมภูเก็ตในอดีตจะเอือ้ ซึ่งกนั และกัน ซ่ึงในสมัยก่อนถ้าจะ แต่งงาน เครื่องเพชรไม่ต้องมีเราหยิบยืมกนั เป็ นสงั คมเอือ้ เฟื อ้ เท้ าปั กของสตรี เป็ นสังคมเปรียบเสมือนญาติ เพราะฉะนัน้ รูปแบบนีจ้ ะไม่มี อํ า เ ภ อ เ มื อ ง ธุรกิจเข้ามาเก่ียวข้องจะอาศยั การหยิบยืม” (จรินทร์. นีรนาถ วโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) จังหวัดภูเก็ต ใน ด้านสงั คม “สงั คมในอดีตผ้หู ญิงจะไม่ค่อยออกบ้าน จึงแต่งกายชดุ ย่าหยา อยกู่ บั บ้าน จึงทําให้มีเวลาประดิดประดอยสง่ิ ของต่างๆ ท่ีจะไป แตง่ อวดในเชิงสงั คม” (สมหมาย ป่ิ นพทุ ธศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ”สังคมของคนภูเก็ตเป็ นสังคมแบบง่ายๆ ไม่มีการถือ ยศถาบรรดาศกั ด์ิใดๆ ทงั้ สิน้ เว้นแต่คนมีฐานะจะอย่ใู นสงั คม อีกระดบั หน่ึง เพราะอย่ดู ้วยความจําเป็ น ในอดีตจะมีการแต่ง กายตามวฒั นธรรม การแต่งกายขึน้ อย่กู บั งานที่จะไป” (ไชย ยทุ ธ ปิ่ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) “ในอดีตภูเก็ตเป็ นสงั คมบ้านๆ มีการเอือ้ เฟื อ้ และผ้หู ญิงเราจะ อยกู่ บั บ้าน จงึ มีเวลาประดษิ ฐ์หรือตดั เยบ็ เสอื ้ ผ้าและการทําลาย รองเท้าปัก” (จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556)

162 ตารางท่ี 4.25 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ ตาํ รา/ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่ี เก่ียวข้อง ความเหมาะสม “สภาพสังคมในอดีต เป็ นครอบครัวใหญ่มีลูก กั บ ส ภ า พ บ้ า น หลายคน คนจีนในสมัยนัน้ ต้ องการท่ีจะสร้ าง เมืองในอดีต ที่มี อาณาจักรต้องการมีลูกเอาไว้สืบสกุล เพราะคน ต่อวฒั นธรรมการ จีนมีธุรกิจเยอะ พ่อแม่จะให้การศึกษาลูก จึงส่ง แ ต่ ง ก า ย ชุ ด เสียลกู ให้เรียนสงู ๆ สภาพสงั คมในอดีตไม่มีผลต่อ ย่าหยาและรอง การแต่งกายส่วนใหญ่จะเป็ นการแต่งกายท่ีอย่ใู น เท้ าปั กของสตรี วิถีชีวิตมากกว่า เป็ นวิถีชีวิตท่ีเรียบง่าย เม่ือมีการ อํ า เ ภ อ เ มื อ ง ค้าขายกบั ชาวต่างชาติหรือชาติตะวนั ตกเข้ามาจึง จังหวัดภูเก็ต ใน จะต้องแต่งกายให้สมฐานะ เพราะต้องพบปะ ด้านสงั คม พดู คุยในด้านธุรกิจ จึงทําให้มีการพัฒนาขึน้ เป็ น ลําดบั ” (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สัมภาษณ์, 1 กนั ยายน 2556) จากตารางท่ี 4.25 ความเหมาะสมกบั สภาพบ้าน เมืองในอดีต ท่ีมีตอ่ วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านสงั คม จากการศกึ ษาสรุป ได้วา่ สาํ หรับสภาพสงั คมของจงั หวดั ภเู ก็ตในอดตี มีความหลากหลายของเชือ้ ชาติและภาษา โดยมี ความเช่ือท่ีแตกต่างกนั ไปตามศาสนาหรือวฒั นธรรมของตน ซง่ึ ขึน้ อย่กู บั วิถีชีวิตของชนชาตินนั้ ๆ เน่ืองจากสงั คมภเู ก็ตเป็ นสงั คมท่ีมีความเอือ้ เฟื อ้ และเอือ้ อาทรต่อกนั เปรียบเสมือนญาติ ไม่มีการ ถือยศถาบรรดาศกั ด์ิใดๆซงึ่ ในสมยั ก่อนถ้าจะแตง่ งาน เครื่องเพชรไม่มี ก็สามารถใช้วิธีหยิบยืมกนั ได้ สงั คมของคนภูเก็ตในอดีต การแต่งกายส่วนใหญ่จะเป็ นการแต่งกายท่ีอยู่ในวิถีชีวิตมากกว่า เป็ นวถิ ีชีวิตที่เรียบง่าย เม่ือมีการค้าขายกบั ชาวตา่ งชาติหรือชาตติ ะวนั ตกเข้ามาจงึ จะต้องแตง่ กาย ให้สมฐานะ เพราะต้องพบปะพดู คยุ ในด้านธรุ กิจ จงึ ทําให้มีการพฒั นาขนึ ้ เป็ นลาํ ดบั

163 ตารางท่ี 4.26 วเิ คราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในอดตี ท่มี ีต่อ วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวัดภเู ก็ต ในด้านการปกครองและการเมือง ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ ความเหมาะสม “การปกครองไม่ค่อยมีผลกระทบต่อการแต่งกายมากนัก ภาพถ่าย และ กับ ส ภ า พ บ้ า น เพราะการแต่งการของคนภเู ก็ตไม่เน้นหรูหรา ฟ่ ุมเฟื อยมาก เมืองในอดีต ที่มี นัก ไปงานต่างๆ จะสวมผ้าปาเต๊ะ สวมเสือ้ ลกู ไม้ หรือชุด งานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง ต่ อ วัฒ น ธ ร ร ม ย่าหยา รองเท้าปัก ในยุคของจอมพล ป.พิบูลสงคราม มี การแต่งกายชุด ผลกระทบต่อจังหวัดภูเก็ต มีนโยบายชาตินิยมเข้ามาใน ในยคุ สมยั ของจอมพล ย่ า ห ย า แ ล ะ ภเู กต็ จึงทําให้ต้องปรับตวั เอง และเปล่ียนการแต่งกายแบบ ป.พิบูลสงคราม ได้ มี รองเท้ าปั กของ ตะวันตก แบบรัฐนิยม ทุกคนต้องสวมหมวกและสวมใส่ นโยบายชาตินิยมเข้ า สตรีอําเภอเมือง รองเท้าคทั ชู จึงทําให้วฒั นธรรมดงั้ เดิมลดลง ส่วนท่ียงั เห็น มาในจังหวัดภูเก็ตทํา จังหวัดภูเก็ต ใน อยู่ในปัจจุบันคือ ผ้าถุงปาเต๊ะ และเสือ้ ย่าหยา ยังไม่ขาด ให้ คนจนที่ ใส่รองเท้ า ด้านการปกครอง ตอน คนรุ่นเก่าๆ ยงั คงสวมใส่อยู่ แต่คนรุ่นใหม่ๆ จะมีการ แ ต ะ ถู ก จั บ ก่ อ น อ อ ก และการเมือง สวมใส่เสือ้ ผ้าตะวนั ตกแทน แต่ไม่มีการสวมใส่เสือ้ ย่าหยา จากบ้านต้องปลกหมก เพราะไม่สะดวกต่อการทํางาน ” (ฤดี ภูมิภูถาวร. และสวมใส่รองเท้าคัท สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) ชหู ้ามกินหมาก ห้ามใช้ ช่ือ หรือนามสกุลจีน “ไม่สามารถให้ข้อมูลในประเด็นนีไ้ ด้”(ยินดี มโนสุณทร. เลยทําให้ วัฒนธรรม สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) กา รแ ต่งกายค่อ ยๆ เ ส่ื อ ม ล ง ไ ป เ ม่ื อ “เพราะจอมพล ป พิบลู สงคราม ห้ามใสร่ องเท้าแตะให้สวม นโยบายชาตินิยมได้ หมวก จึงทําให้วฒั นธรรมเริ่มหายไป ไม่ให้เกล้ามวยทําให้ หมดไปจึงทําให้ มีการ ส่งผลต่อการแต่งกายให้ใส่ผ้าซิ่นยาว ๆ แต่ไม่ได้ห้ามใส่ชุด รื ้อฟื ้นย้ อนเอาอดี ต ย่าหยา ถ้าใส่ชดุ ย่าหยาแล้วมาสวมหมวกก็ไม่เข้ากนั ดตู ลก กลับมาใช้ ใหม่ จึงทํา ๆ เลยทําให้เลกิ ใสไ่ ปโดยปริยาย ห้ามใสผ่ ้าปาเต๊ะ เลยทําให้ ให้ วัฒนธรรมการแต่ง วฒั นธรรมการแต่งกายเสื่อมลงไป” (จู้. พงศ์ประดิษฐ์. กายแบบบาบา๋ กลบั มา สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) อีกครัง้ (อ้างถึงใน คณะ กรรมการฝ่ าย ประมวลเอกสารและ จดหมายเหต,ุ 2544) “มีอย่สู มยั หน่ึงที่ก่อนออกจากบ้านต้องสวมหมวก แต่ก็ไม่มี ผลกระทบทกุ คนก็ใช้ชีวติ เฉยๆ เวลาอยบู่ ้านก็แตง่ กายท่ีเป็น

164 ตารางท่ี 4.26 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง ความเหมาะสม แบบรากเหง้าตัวเอง เม่ือจะออกไปนอกบ้านก็แต่ง กับ ส ภ า พ บ้ า น กายตามทางการสั่ง ” (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) เมืองในอดีต ท่ีมี ต่ อ วัฒ น ธ ร ร ม “ในยุคของจอมพล ป. พิบูลย์สงคราม จะออกนอก บ้านให้สวมหมวก ให้สวมใส่ผ้าซ่ิน ถ้ามาแต่งกับชุด การแต่งกายชุด ย่าหยาแล้ วไม่เข้ ากัน ดูแปลกหรื อดูประหลาด ย่ า ห ย า แ ล ะ (สมหมาย ปิ่ นพุทธศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 กันยายน 2556) รองเท้ าปั กของ สตรีอําเภอเมือง ”ในอดีตสมัยของจอมพล ป.พิบูลสงคราม มี ผลกระทบต่อ การแต่งกาย จะต้ องแต่งกายแบบ จังหวัดภูเก็ต ใน ต่างประเทศ และเวลาออกจากบ้านจะต้องสวมหมวก ด้านการปกครอง แต่ไม่ได้ห้ามการแต่งกายแบบบาบ๋า แต่ถ้าแต่งกาย แบบบาบ๋าแล้วมาสวมหมวกดแู ล้วตลกๆ ไม่เข้ากนั ” และการเมือง (ไชยยทุ ธ ปิ่ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) “ในอดีตยุคจอมพล ป พิบูลสงคราม ได้มีคําสั่ง ให้ สวมหมวกเวลาออกจากบ้านให้นุ่งผ้าซ่ิน ห้ามใส่ รองเท้าแตะ ถ้าเราแตง่ ชดุ พืน้ เมืองแล้วสวมหมวกจะดู แปลกๆ ตลกไม่เข้ากัน” (จรูญรัตน์ ตันฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) “ในสมัยของจอมพล ป พิบูลสงคราม ได้มีนโยบาย ชาตินิยม มีคําสง่ั ให้แต่งกายแบบไทยไม่ให้แต่งกาย แบบชาวตา่ งชาติ จึงทําให้คนภเู ก็ตมาสวมใสส่ ทู และ ผู้หญิงก็ให้สวมใส่เสือ้ ไทย เม่ือนโยบายชาตินิยมได้ หมดไปจึงทําให้มีการย้อนเอาอดีตกลบั มาใช้ใหม่ คือ การแต่งกายแบบบาบ๋า” (สุรเชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 1 กนั ยายน 2556)

165 จากตารางท่ี 4.26 ความเหมาะสมกบั สภาพบ้านเมืองในอดีต ที่มีต่อวฒั นธรรมการแต่ง กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านการปกครองและการเมือง จากการศกึ ษาสรุปได้ว่า ในยคุ สมยั ของจอมพล ป.พิบลู สงคราม ได้มีนโยบายชาตินิยมเข้ามาใน จังหวัดภูเก็ตทําให้ คนจนท่ีใส่รองเท้ าแตะถูกจับก่อนออกจากบ้ านต้ องสวมหมวกและสวมใส่ รองเท้าคทั ชหู ้ามกินหมาก ห้ามใช้ ช่ือ หรือนามสกลุ จีน ไมใ่ ห้เกล้ามวย ทําให้สง่ ผลตอ่ การแตง่ กาย ให้ใสผ่ ้าซนิ่ ยาว ๆ แตไ่ มไ่ ด้ห้ามใสช่ ดุ ยา่ หยา ถ้าใสช่ ดุ ยา่ หยาแล้วมาสวมหมวกก็ไมเ่ ข้ากนั เลยทําให้ เลิกใส่ไปโดยปริยาย ห้ามใส่ผ้าปาเต๊ะ เลยทําให้วฒั นธรรมการแต่งกายเสื่อมลงไปมีอย่สู มยั หนึ่ง เมื่อนโยบายชาตนิ ิยมได้หมดไปจงึ ทําให้มีการรือ้ ฟื น้ ย้อนเอาอดีตกลบั มาใช้ใหม่ จงึ ทําให้วฒั นธรรม การแตง่ กายแบบบาบา๋ กลบั มาอีกครัง้ ตารางท่ี 4.27 วิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในอดตี ท่มี ีต่อ วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวัดภเู กต็ ในด้านศลิ ปวัฒนธรรม ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย ความเหมาะสมกบั “จะเป็ นลวดลายธรรมชาติ สัตว์มงคล รูปดอกไม้ และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง สภาพบ้ าน เมือง มงคล รูปผีเสือ้ ส่วนใหญ่จะเป็ นลวดลาย ลกั ษณะนี ้ ใ น อ ดี ต ท่ี มี ต่ อ เกือบทงั้ หมดแม้แต่ผ้าปาเต๊ะส่วนใหญ่ จะเขียนเป็ น ฤ ดี ( 2 5 5 3 ) ก ล่ า ว ว่ า วฒั นธรรมการแต่ง รูปช่อดอกเบญจมาศ รูปปลา รูปผีเสือ้ ส่วนใหญ่จะ เนื่องจากจงั หวดั ภเู ก็ตเป็ น กายชดุ ย่าหยาและ เป็ นลวดลายลกั ษณ์นี”้ (ฤดี ภมู ิภถู าวร. สมั ภาษณ์, แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ รองเท้าปักของสตรี 23 สงิ หาคม 2556) ที่สําคญั จึงเป็ นส่ิงจงู ใจให้ อํ า เ ภ อ เ มื อ ง คนในภมู ิภาคต่างๆ อพยพ จัง ห วัด ภูเ ก็ ต ใ น “ในอดีตจะมีความเช่ือเข้ามาผสม เช่นใส่เยอะจะบ่ง เ ข้ า ม า ตั้ง ถิ่ น ฐ า น ใ น ด้ า น ศิ ล ป บอกถงึ ฐานะ ความมีอนั จะกิน บง่ บอกถงึ ตําแหน่ง จงึ ดินแดนนีเ้ ป็ นจํานวนมาก วฒั นธรรม ต้ องใส่ให้ ดูดี ให้ ดูสวยงาม”(ยินดี มโนสุณทร. ซึ่ ง แ ต่ ล ะ ก ลุ่ ม ต่ า ง มี สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) ขนบธรรมเนียมประเพณี เป็ นของตนเอง ฉะนัน้ “ในด้ านสังคมในอดีต ไม่มีการทะเลาะ มีการ จงั หวดั ภูเก็ตจึงจดั เป็ นพหุ เอือ้ เฟื ้อเผ่ือแผ่กัน เวลานอนหรือออกไปไหนไม่ปิ ด สั ง ค ม มี วั ฒ น ธ ร ร ม ประตบู ้านยงั ได้ การแตง่ กายกข็ นึ ้ อย่กู บั งานที่จะไปจะ ผสมผสานในหลาย สวมชดุ ครุยยาว ใสท่ องเยอะๆ ถ้าเป็นงานไมใ่ หญ่ รูปแบบ แต่สามารถอยู่ ร่วมกันอย่างสงบสุข ไม่มี ปัญหาระหวา่ งกลมุ่ ชน

  166 ตารางท่ี 4.27 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา ความเหมาะสมกบั มากก็จะใส่ชุดเสือ้ คอตัง้ แบบจีน ส่วนครุยสัน้ ไว้ เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย สภาพบ้ าน เมือง สําหรับผ้สู งู อาย”ุ (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, 28 ใ น อ ดี ต ท่ี มี ต่ อ สงิ หาคม 2556) และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง วฒั นธรรมการแต่ง กายชดุ ย่าหยาและ “ในสมัยก่อนจะยึดถือความถูกต้ องเพราะเป็ น ทุกคนต่างก็ร่วมแรงร่วมใจ รองเท้าปักของสตรี รูปแบบการแตง่ กายของคนท้องถิ่นจะต้องตดั เยบ็ ให้ ใ น ก า ร พั ฒ น า ภู เ ก็ ต ใ ห้ อํ า เ ภ อ เ มื อง จัง ถกู ต้อง เพราะความหลากหลายและนวตั กรรมของ เจริญก้าวหน้า และพัฒนา หวัดภูเก็ตในด้ าน ช่าง จงึ ไมก่ ล้าที่จะคดิ นอกกรอบเหมือนคนในสมยั นี ้ อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ศลิ ป วฒั นธรรม เพราะฉะนัน้ การแต่งกายในสมัยก่อนยังคงสภาพ ฉะนัน้ การศึกษาถึงลกั ษณะ แบบเดิม ๆ เอาไว้” (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. การแต่งกายของชาวภูเก็ต สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) จะเป็นไปในรูปแบบใด ท่ีเป็น เอกลักษณ์เฉพาะตนเพียง “วฒั นธรรม คือ วิถีชีวิต การแต่งกายชุดย่าหยาจะ อย่างเดียวนนั้ คงจะเป็ นการ เป็ นการแต่งกายที่เรี ยบร้ อยมิดชิดไม่โป๊ จึง ยากท่ีจะเจาะจงลงไปหาก เหมาะสมท่ีจะสวมใสไ่ ปในงานตา่ งๆ รองเท้าปักเป็ น กําหนดการแตง่ กายของชาว รองเท้าสวยงาม สวมใส่แล้วเข้ากับชุดย่าหยาจึง ภูเก็ต จะต้องนําเอาการแต่ง เหมาะและสะดวกต่อการสวมใส”่ (สมหมาย ปิ่ น กายของกลมุ่ คนชาวภเู กต็ มา พทุ ธศลิ ป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ประ ยุกต์ เป็ นแบบใหม่ที่ ยอมรับโดยทว่ั กนั วฒั นธรรม ”ในด้านวฒั นธรรมในอดีตของคนไทยเชือ้ สายจีนจะ บาบ๋าภูเก็ต เป็ นวัฒนธรรม เอาอย่างบรรพบุรุษ จึงทําให้วฒั นธรรมจีนเข้มแข็ง ท้ องถิ่ น ก ว่า 100 ปี ข อ ง ขนึ ้ เพราะเจ้าของวฒั นธรรมได้ทํากบั มือ ถ้าในด้าน จังหวัดภูเก็ต ชาวบาบ๋า การแต่งกายก็อาจจะมีผลกระทบบ้าง จะแต่งกาย กําเนิดจากบรรพบรุ ุษชาวจีน ไปตามฐานะของตนเอง” (ไชยยทุ ธ ปิ่ นประดบั . โพ้ นทะเล ที่มาอาศัยและ สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) สมรสกับชาวไทยท้ องถ่ิน ภูเ ก็ ต เ กิ ด เ ป็ น ป ร ะ เ พ ณี “จะเน้นเร่ืองของความหมายและความเป็ นมงคล วั ฒ น ธ ร ร ม ท่ี ง ด ง า ม มี และจะนํามาสอนแทรกให้อยู่ในวิถีชีวิต สังเกตได้ เอกลกั ษณ์โดดเด่นเป็ นของ จากลวดลายเสือ้ ผ้า ลายผ้าปาเต๊ะ ลายรองเท้าปัก ตนเอง เช่น สถาปัตยกรรม จะมีลวดลายของ ดอกไม้ ใบไม้ ลายสตั ว์ ลายสตั ว์ ย่านเมืองเก่าภูเก็ต ภาษา อาหาร การแต่งกายชุด ย่าหยา และวัฒนธรรมต่าง ๆปัจจบุ นั ยงั คงรักษา

167 ตารางท่ี 4.27 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจาก การศกึ ษาเอกสาร/ ความเหมาะสมกบั ลายสัตว์มงคล ลายธรรมชาติ และจะเน้นลายค้างคาว สภาพบ้ าน เมือง เพราะคนจีนถือวา่ ค้างคาวเป็ นของดีเป็ นสตั ว์ขยนั อดทนหา ตาํ รา/ภาพถ่าย ใ น อ ดี ต ที่ มี ต่ อ กินแม้แตก่ ลางคืน สว่ นการแต่งกายจะแตง่ กายตามรูปแบบ และงานวจิ ัยท่ี วฒั นธรรมการแต่ง วฒั นธรรมของเราเอง” (จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์, กายชดุ ย่าหยาและ 16 กนั ยายน 2556) เก่ียวข้อง รองเท้าปักของสตรี อํ าเ ภ อ เมื อง จัง “ศิลปะของภูเก็ตส่วนใหญ่เป็ นศิลปะที่ผสมผสาน เพราะ วัฒนธรรมการแต่ง หวัดภูเก็ตในด้ าน ภูเก็ตมีหลายเชือ้ ชาติ มีวัฒนธรรมท่ีหลากหลาย ท่ี กายเอาไว้ เพ่ือให้อยู่ ศิลปวฒั นธรรม ผสมผสานกนั ไป ถ้าเป็ นในเขตเมืองเก่าจะเป็ นชาวจีนสว่ น คกู่ บั ชาวภเู ก็ตตอ่ ไป ใหญ่ คือ มีวฒั นธรรมทางด้านภาษา ด้านการแตง่ กายแบบ บาบา๋ ยา่ หยา พธิ ีกรรมประเพณีตา่ งๆ แตจ่ งั หวดั ภเู ก็ตไม่ได้ มีแต่ชาวจีนเพียงอย่างเดียว จึงทําให้ภูเก็ตมีวัฒนธรรมที่ ร่วมสมยั อยใู่ นจงั หวดั ภเู ก็ต แต่ไมม่ ีผลต่อการแตง่ กาย สว่ น ใหญ่จะมีการสบื ทอดการแต่งกายของแต่ละวฒั นธรรม ชาว จีนภเู ก็ตก็แต่งกายชดุ ยา่ หยาเหมือนเดิม และมีการสืบทอด ให้กับคนรุ่นหลงั ” (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 1 กนั ยายน 2556) จากตารางที่ 4.27 ความเหมาะสมกบั สภาพบ้าน เมืองในอดีต ที่มีตอ่ วฒั นธรรมการแตง่ กายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ในด้านศิลปวัฒนธรรม จาก การศกึ ษาสรุปได้ว่า ในด้านวฒั นธรรมในอดีตของคนไทยเชือ้ สายจีนจะเอาอยา่ งบรรพบรุ ุษ จงึ ทํา ให้วฒั นธรรมจีนเข้มแข็งขึน้ เพราะเจ้าของวฒั นธรรมได้ทํากบั มือ ในด้านการแตง่ กาย จะแตง่ กาย ไปตามฐานะของตนเอง จะเน้นเร่ืองของความหมายและความเป็ นมงคล และจะนํามาสอดแทรก ให้อยู่ในวิถีชีวิต สงั เกตได้จากลวดลายเสือ้ ผ้า ลายผ้าปาเต๊ะ ลายรองเท้าปัก จะมีลวดลายของ ดอกไม้ ใบไม้ ลายสตั ว์ ลายสตั ว์มงคล ลายธรรมชาติ และจะเน้นลายค้างคาว เพราะคนจีนถือว่า ค้างคาวเป็ นของดีเป็ นสตั ว์ขยนั อดทนหากินแม้แตก่ ลางคืน จะเป็ นลวดลายธรรมชาติ สตั ว์มงคล

168 รูปดอกไม้มงคล รูปผีเสือ้ ส่วนใหญ่จะเป็ นลวดลาย ลกั ษณะนีเ้ กือบทงั้ หมดแม้แต่ผ้าปาเต๊ะส่วน ใหญ่ จะเขียนเป็ นรูปชอ่ ดอกเบญจมาศ รูปปลา รูปผีเสือ้ สว่ นใหญ่จะเป็ นลวดลายลกั ษณะนี ้ 4.1.4.2 การวิเคราะห์ข้ อมูลโดยใช้ การวิเคราะห์แบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) เกี่ยวกบั ความเหมาะสมกบั สภาพบ้านเมืองในปัจจบุ นั ท่ีมีตอ่ วฒั นธรรม การแต่งกายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ภายใต้กรอบข้อคําถาม จํานวน 6 ข้อ ดงั นี ้ 1) ในด้านภมู ิประเทศ 2) ในด้านสภาพดนิ ฟ้ าอากาศ 3) ในด้านเศรษฐกิจ 4) ในด้านสงั คม 5) ในด้านการปกครองและการเมือง 6) ในด้านศลิ ปวฒั นธรรม ผลปรากฏตามตารางที่ 4.28-4.33 ตารางท่ี 4.28 วเิ คราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในปัจจุบนั ท่มี ีต่อ วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวัดภเู กต็ ในด้านภมู ปิ ระเทศ ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ ความเหมาะสม “ปัจจบุ นั มีการทําลายภเู ขาเพ่ือสร้างเป็ นที่พกั อาศยั โรงแรม ภาพถ่าย และ กับ ส ภ า พ บ้ า น จึงไปทําลายตวั ป้ องกนั ธรรมชาติของภเู ก็ต ธรรมชาติสร้าง เมื อ งใ น ปั จ จุบัน สิ่งที่ดีให้กับคนภูเก็ตแล้ว แต่คนต่างถิ่นกลับมาทําลาย งานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง ท่ีมีต่อวฒั นธรรม ออกไป” (ฤดี ภมู ภิ ถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) การแต่งกายชุด สํานกั งานจงั หวดั ภเู ก็ต ย่าหยาและรอง “ในปัจจุบันนีแ้ ตกต่างจากเม่ือก่อนเยอะ เพราะมีบ้าน (2535) สภาพ เท้ าปั กของสตรี เกิดขึน้ เป็ นจํานวนมาก เร่ิมมีการบุกรุกพืน้ ที่ป่ าและภูเขา ภูมิศาสตร์ ของเกาะ อํ า เ ภ อ เ มื อ ง เห็นได้จากโรงแรมท่ีพกั ตา่ งๆ ไปสร้างบนภเู ขาเกือบทกุ แห่ง ภูเ ก็ ต เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กับ จังหวัดภูเก็ต ใน แตก่ ารแตง่ กายไมไ่ ด้เปลีย่ นไปตามภมู ิประเทศ ”(ยินดี มโน ลั ก ษ ณ ะ ท า ง ด้านภมู ปิ ระเทศ สณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) ธรณีวิทยา และการ กระทําของคล่ืนลม ซึ่ง มีส่วนทําให้ สภาพภูมิ ประเทศเปล่ียนแปลง ไปจากเดมิ และ

169 ตารางท่ี 4.28 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย ความเหมาะสม “ในปัจจบุ นั ภเู ขาโดนทําลายไปเยอะมากเกือบจะหมด” และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง กับ ส ภ า พ บ้ า น (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) เมื อ งใ น ปั จ จุบัน สามารถแบ่งตามลกั ษณะ ท่ีมีต่อวฒั นธรรม “ภมู ิประเทศในปัจจุบนั มีการงอกยื่นของแผ่นดินและมี พืน้ ผิว ของเกาะได้ 3 ส่วน การแต่งกายชุด การบุกรุกพืน้ ท่ีบนภูเขามีการบุกรุกป่ าสงวนมากขึน้ คือ ย่าหยาและรอง และมีการสร้ างบ้านจัดสรร จึงทําให้ต้นไม้น้อยลง จึง 1. บริเวณที่เป็ นภูเขาสูง เท้ าปั กของสตรี เป็ นสาเหตุทําให้ แหล่งท่องเที่ยวเสื่อมโทรม ความ ชัน ส่วนใหญ่อยู่ทางทิศ อํ า เ ภ อ เ มื อ ง เคลือ่ นไหวของวฒั นธรรมการแต่งกายของคนภเู ก็ตหาดู ตะวันตกของเกาะ ภูเขา จังหวัดภูเก็ต ใน ได้ ง่ายมากและสะดวกกับการนําเสนอและสะดวกกับ ส่วนใหญ่มีระดับความสูง ด้านภมู ปิ ระเทศ การค้นหา” (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 มากกว่า 100 เมตร เหนือ สงิ หาคม 2556) ระดบั ทะเลปานกลาง มีหิน รองรับ คือ หินแกรนิต อัน “สภาพภมู ิประเทศของจงั หวดั ภเู ก็ตในปัจจบุ นั เป็ นเกาะ เกิดจากแมกม่าท่ีดันตัว มีการทําลายธรรมชาติ ทําลายภเู ขา ตดั ต้นไม้มาก สว่ น ขึน้ มา เป็ นมวลขนาดใหญ่ สภาพการแตง่ กายชดุ ยา่ หยา ยงั คงกลืนกนั อย่กู บั สภาพ จากภายในโลก ไม่มีแนว ในปัจจบุ นั และอาคารหรือตกึ ตา่ งๆ เม่ือสมยั ร้อยกวา่ ปี ที่ ตั ด ม า ก จึ ง ท น ต่ อ ก า ร ผุ แล้วตกึ เหลา่ นีย้ งั เป็นของเดมิ เพียงแต่ถนนมีรถยนต์มาก กร่อนทําลาย บริเวณภเู ขา ขึน้ ซึ่งสภาพเหล่านีท้ ําให้สะดวกกว่าในสมัยก่อน จึง สู ง เ ห ล่ า นี ้จ ะ กิ น พื ้น ที่ เป็ นการเอือ้ อํานวยให้กบั การแต่งกาย แตร่ องเท้าปักจะ มากกว่าบริเวณอื่นๆ พืช ไมม่ ีการสวมใสแ่ ล้วจนเกือบหายไป ยกเว้นจะมีการสวม พรรณธรรมชาติเป็ นป่ าไม้ ใส่มาอวดกนั บ้างบางเวลา” (สมหมาย ปิ่ นพทุ ธศิลป์ . เขตร้อน เช่น บริเวณภูเขา สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ในเขตตําบลกมลา ป่ าตอง ตะกะ กะรน และ เขา ”ในสมยั นีม้ ีการตดั ไม้ทําลายป่ ามากขึน้ สาเหตกุ ็เพราะ พระแทว เป็ นต้น 2. จากการทําเกษตร สร้างโรงแรมและท่ีพกั อาศยั การแตง่ บริเวณที่เป็ นลอนลูกคลื่น กายไม่มีผลเดี๋ยวนีอ้ ย่บู ้านก็สวมใสผ่ ้าถงุ ถ้าจะออกงาน เป็ นบริเวณอยู่ติดต่อกับ เช่น ไปงานบวช งานแต่งงาน หรือไปวดั ก็ใส่ผ้าลกู ไม้” บริเวณภูเขาสูงชัน ส่วน (ไชยยทุ ธ ปิ่ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) ใหญ่เป็ นที่ราบต่ําระหว่าง หุบเขาต่างๆบางส่วนจะ “ยงั คงเป็นสภาพเกาะเหมือนครัง้ ในอดีต แตใ่ นปัจจบุ นั เหินแกรนิต รวมไปถึงหิน ชนั้ และหนิ แปรด้วย

170 ตารางท่ี 4.28 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง ความเหมาะสม ทํามีการตดั ต้นไม้ มีการบกุ รุกป่ า มีการบกุ รุกพืน้ ที่ทะเล บริเวณนีจ้ ะมีทางนํา้ ไหล กั บ ส ภ า พ บ้ า น มีการลายภูเขา มีการบุกรุกพืน้ ท่ีเพ่ือมาสร้ างโรงแรมท่ี ผ่านสามารถใช้ ทําการ เมืองในปัจจบุ นั ที่ พกั ต่างๆ เพื่อให้ได้วิวที่สวยงาม สว่ นการแต่งกายคงยงั เพาะปลกู ได้ดี เช่น บริเวณ มีต่อวัฒนธรรม แตง่ ได้เหมือนเดมิ ไมม่ ีผลกระทบต่อการแตง่ ชดุ พืน้ เมือง” บ้ านบางทองอําเภอกะทู้ การแต่งกายชุด (จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) บ้านตะเคียน บ้านลิพอน ย่ า ห ย า แ ล ะ ร อ ง บ้านดอน อําเภอถลาง และ เท้ าปั กของสตรี “ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศยงั คงเหมือนกบั ในอดีต แตเ่ จริญขนึ ้ บ้ านฉลอง อําเภอเมือง อํ า เ ภ อ เ มื อ ง มีการสร้ าง โรงแรม รี สอร์ ท ขึน้ หลังจากมีการ จังหวัดภูเก็ต ใน อตุ สาหกรรมการท่องเท่ียวเข้ามาในจงั หวดั ภเู ก็ตเม่ือ 20 3. บริเวณที่เป็ นชายฝั่ ง ด้านภมู ปิ ระเทศ ปี ที่แล้ว หลังจากการทําเหมืองแร่หมดไป ได้ทําลาย พื ้น ที่ ส่ ว น ใ ห ญ่ อ ยู่ ใ ก ล้ ทรัพยากรลงมาก ทําให้ ภูมิประเทศและภูมิอากาศ ช า ย ฝั่ ง เ กิ ด จ า ก ส า เ ห ตุ เปล่ียนแปลงไปมาก ลกั ษณะการแต่งกายในปัจจบุ นั จะ ต่างๆกนั ไป คือเกิดจากการ คล้ายๆ กับในอดีต แต่อิทธิพลจากตะวนั ตกเข้ามามาก กดั เซาะของนํา้ พืน้ ท่ีเหลา่ นี ้ ทําให้ลกู หลานจะไม่ชอบใส่ชุดย่าหยา ส่วนใหญ่จะแต่ง มักอยู่บริเวณปากนํา้ หรือ ตามสากล แตร่ ะยะหลงั มีการรณรงค์ให้ชาวภเู ก็ตแตง่ ชดุ บริเวณท่ีหุบเขากว้าง อัน พืน้ เมือง จึงทําให้ผู้หญิงวัยรุ่นหันกลบั มาแต่งกายแบบ เกิดจากการทับถมของ ย้อนยคุ อีกครัง้ ” (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 1 ตะกอนที่แมน่ ํา้ พดั พามา กนั ยายน 2556) จากตารางท่ี 4.28 ความเหมาะสมกบั สภาพบ้าน เมืองในปัจจุบนั ท่ีมีต่อวฒั นธรรมการ แต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ในด้านภูมิประเทศ จาก การศึกษาสรุปได้ว่า ลกั ษณะภูมิประเทศของจังหวดั ภูเก็ตยงั คงเหมือนกันกับในอดีต เน่ืองจาก จังหวัดภูเก็ตเจริญขึน้ มีการสร้ างอาคาร โรงแรม รีสอร์ท ขึน้ หลังจากมีการอุตสาหกรรมการ ท่องเท่ียวเข้ามาในจังหวัดภูเก็ตเม่ือ 20 ปี ท่ีแล้ว หลังจากการทําเหมืองแร่หมดไป ได้ทําลาย ทรัพยากรเป็ นอย่างมาก ทําให้ภูมิประเทศและภมู ิอากาศเปล่ียนแปลงไปมาก ลกั ษณะการแต่ง กายในปัจจุบนั จะคล้ายๆ กับในอดีต ในปัจจุบนั นีจ้ ังหวัดภูเก็ตเป็ นจังหวัดท่ีเจริญ เพราะได้รับ อิทธิพลจากชาติตะวนั ตกเข้ามามาก สว่ นใหญ่แล้วลกู หลานชาวบ้านจะไมช่ อบใสช่ ดุ ย่าหยา สว่ น ใหญ่จะแตง่ กายตามสากล จากการสงั เกตของผ้ศู กึ ษา พบว่า ภมู ิประเทศในปัจจบุ นั จงั หวดั ภเู ก็ต

171 มีการเปลี่ยนแปลงลกั ษณะของภมู ิประเทศไปตามธรรมชาติหรืออาจจะเกิดขึน้ เพราะความเจริญ ของสภาพบ้านเมืองที่เป็ นอยู่ โดยมีการทําลายธรรมชาตเิ พ่ือเตรียมที่จะปลกู สิ่งก่อสร้างแทนท่ี จึง ทําให้ธรรมชาติบางส่วนถูกทําลาย ทําให้วฒั นธรรมการแต่งกายแบบเดิมยังคงมีอยู่แต่ไม่มาก เน่ืองจากความเจริญได้เข้ามาที่เมืองภเู ก็ต ทําให้ประชาชนต้องมีการปรับตวั ให้เข้ากบั สภาพภมู ิ ประเทศท่ีมีความเปล่ียนแปลงไป โดยแต่งกายแบบสากล เพ่ือให้สอดคล้องกบั สภาพภมู ิประเทศ และสภาพพืน้ ที่ในปัจจบุ นั ตารางท่ี 4.29 วิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในปัจจุบนั ท่มี ีต่อ วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวัดภเู ก็ต ในด้านสภาพดนิ ฟ้ าอากาศ ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้ อ มู ล จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า เ อ ก ส า ร / ตํา ร า / ภ า พ ถ่ า ย ความเหมาะสมกบั “ภูมิอากาศของจังหวัดภูเก็ตไม่มีการเปลี่ยนแปลง และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง สภาพบ้านเมืองใน มากนัก จึงทําให้มีผลกระทบต่อการแต่งกาย คน ปั จ จุ บั น ที่ มี ต่ อ ภเู ก็ตจากอดีตจนถึงปัจจบุ นั นิยมสวมใสเ่ สือ้ บาง จะ สํ า นัก ง า น จัง ห วัด ภูเ ก็ ต วฒั นธรรมการแต่ง เป็ นเสือ้ แขนยาวหรือแขนสนั้ ก็จะเป็ นเสือ้ บาง แตจ่ ะ (2535) ลกั ษณะภมู ิอากาศ กายชดุ ย่าหยาและ มีเสือ้ ของคนภูเก็ตเองจะเป็ นเสือ้ ลูกไม้ การที่คน จังหวัดภูเก็ต ตัง้ อยู่ใกล้เส้น รองเท้าปักของสตรี ภเู ก็ตสว่ นใหญ่ตงั้ แตอ่ ดีตจนถงึ ปัจจบุ นั ยงั นิยมสวม ศูนย์สูตร ทําให้อุณหภูมิสูง อํ า เ ภ อ เ มื อ ง เสือ้ บางๆ แสดงว่าอากาศของจังหวัดภูเก็ตมีส่วน เกือบตลอดปี แต่เนื่องจากมี จังหวัดภูเก็ต ใน เก่ียวข้องกบั การแต่งกาย และคนภูเก็ตไม่มีเสือ้ กนั ทะเลล้ อมรอบ จึงทําให้ ด้ านสภาพดินฟ้ า หนาว การสวมรองเท้ามีผลต่อสภาพอากาศ เพราะ อุ ณ ห ภู มิ ไ ม่ สู ง จ น เ กิ น ไ ป อากาศ ฝนตกไม่เหมาะกับการใส่ออกนอกบ้าน และใส่ได้ ประกอบกับตัง้ อยู่ด้านหน้า ในบางโอกาส เพราะถกู ฝนหรือถกู นํา้ ไม่ได้ มีผลต่อ เ ทื อ ก เ ข า ภู เ ก็ ต ซึ่ ง เ ป็ น อายกุ ารใช้งาน” (ฤดี ภูมิภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 ด้ านรับลมฝนของลมมรสุม สงิ หาคม 2556) ตะวันตกเฉียงใต้ ท่ีพัดจาก มหาสมุทรอินเดีย ทําให้ฝน “ในปัจจบุ นั มีฝนตกน้อยลงและตกแบบสนั้ ๆ อากาศ ชุก ในฤดูมรสุมดังกล่าว ในปัจจบุ นั ร้อนอบอ้าว และมีมลพิษมากขนึ ้ อากาศ จงั หวดั ภเู ก็ตจึงมี 2 ฤดู คือ เปล่ียนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมของโลก จึงทํา ฤดฝู นและฤดรู ้อน โดยฤดฝู น ให้มีผลกระทบต่อการแต่งกาย เพราะเป็ นชุดที่ไม่ เ ริ่ ม ตั่ ง แ ต่ ป ล า ย เ ดื อ น ค่อยคล่องตวั ต่อการทํางานในปัจจุบนั ”(ยินดี มโน เ ม ษ า ย น ถึ ง ป ล า ย เ ดื อ น สณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) พฤศจิกายน ฝนตกชุกช่วง เ ดื อ น พ ฤ ษ ภ า ค ม ถึ ง เ ดื อ น ตลุ าคม โดยเฉลย่ี ฝนตก

172 ตารางท่ี 4.29 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ ความเหมาะสมกบั “ปัจจุบนั นีส้ ภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ร้อนจดั หรือฝน สภาพบ้านเมืองใน ตกไม่ตรงฤดู ทําให้ไม่เหมาะกับเสือ้ ผ้าที่เราจะสวมใส่ ภาพถ่าย และงานวจิ ัย ปั จ จุ บั น ที่ มี ต่ อ ในปัจจบุ นั นีม้ ีผลกระทบมากต่อการแต่งกาย เพราะเรา ท่เี ก่ียวข้อง วฒั นธรรมการแต่ง ไมส่ ามารถรู้ถึงสภาพดินฟ้ าอากาศ” (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. กายชดุ ย่าหยาและ สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) ปริ มาณ 170 วันต่อปี รองเท้าปักของสตรี เดือนท่ีมีประมาณนํา้ ฝน อํ าเ ภ อ เมื อง จัง “ในปัจจุบันนีม้ ีอากาศแปรปรวนซ่ึงเห็นได้จากสึนามิ สู ง สุ ด คื อ เ ดื อ น หวัดภูเก็ต ในด้าน เกิดจากความแปรปรวนของภูมิอากาศ ฤดูกาลจะไม่ พฤษภาคม และฤดูร้ อน ส ภ า พ ดิ น ฟ้ า ตรงกนั อากาศในปัจจบุ นั ร้อนขึน้ จงึ ทําให้ลําบากตอ่ การ เร่ิมต่ังแต่เดือนธันวาคม อากาศ สวมใส่ชุดพืน้ เมือง คนในสมยั ก่อนจะสวมใส่เสือ้ คอตงั้ ถึงเดือนมีนาคม เป็ นช่วง แขนจี บอยู่กับบ้ านแต่ในปั จจุบันใส่อยู่กับบ้ านไม่ได้ ที่ฝนตกน้อยท่ีสดุ เพราะร้อน สว่ นรองเท้าปักเราไมส่ ามารถทําเองได้ ผ้าท่ี เราสวมใส่สามารถให้ลมระบายได้ เพราะบ้านเราไม่ เหมาะสมกับการสวมใส่ผ้าไหมหรือผ้าฝ้ ายทอมือแบบ เมืองเหนือ เพราะเมืองเหนือมีอากาศหนาว เราควรท่ีจะ ใช้ตลอดไป” (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) “สภาพอากาศในปัจจบุ นั มีฝนตกไม่มาก จะมีแดดร้อน แต่ในลกั ษณะผิวของผู้หญิงจะต้องทาครีมกันแดดอยู่ แล้ว จงึ ทําให้เหมาะสม เพราะจะมีผลกบั งานวฒั นธรรม ในสายของจิตใจ แต่จะสวมใส่ตามงานที่จะเข้าร่วม แต่ รองเท้าจะมีราคาแพงขึน้ อยกู่ บั ความต้องการมากกว่า” (สมหมาย ปิ่ นพทุ ธศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ”ปั จจุบันนีอ้ ากาศเปล่ียนแปลงไปมากไม่แน่นอน อากาศร้ อนมาก และฝนก็ตกไม่เหมือนสมยั ก่อน มีผล เพราะอากาศร้อนขนึ ้ จงึ ทําให้แตง่ ตวั แบบสบายๆ” (ไชย ยทุ ธ ปิ่ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556)

173 ตารางท่ี 4.29 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจาก การศกึ ษาเอกสาร/ ความเหมาะสมกบั “ยงั มีฝน 8 แดด 4 เหมือนเมื่อก่อน แต่ในปัจจบุ นั อากาศ สภาพบ้านเมืองใน ร้อนขึน้ เพราะแดดแรงขึน้ ฝนตกน้อยลง ตกแบบช่วงสนั้ ๆ ตาํ รา/ภาพถ่าย ปั จ จุ บั น ที่ มี ต่ อ เพราะเกิดจากการบุกรุกพืน้ ท่ีธรรมชาติ และการตัดไม้ และงานวจิ ัยท่ี วฒั นธรรมการแต่ง ทําลายป่ า ส่วนการแต่งกายในปั จจุบันยังคงแต่งได้ กายชดุ ย่าหยาและ เหมือนเดิมไม่มีผลกระทบอะไร” (จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช. เก่ียวข้อง รองเท้าปักของสตรี สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) อํ าเ ภ อ เมื อง จัง หวัดภูเก็ต ในด้าน “สภาพอากาศยังคงเหมือนกันกับในอดีต เนื่องจากการ ส ภ า พ ดิ น ฟ้ า ปรวนแปรในปัจจบุ นั จงึ ทําให้ภมู ิอากาศไมต่ กต้องตาม การ อากาศ แต่งกายก็มีผลกระทบตามมาคือ มีการเปล่ียนโฉม เนื่องจากมีชาวตะวนั ตกเข้ามาจงึ ทําให้เปล่ียนแปลงรูปแบบ การแต่งกายไป ในปัจจบุ นั เรายงั คงรณรงค์ให้กลบั มาสวม ใส่แบบเดิม แต่การแต่งกายชุดย่าหยายังเหมือนเดิม แต่ อาจจะมีการประยกุ ต์ชดุ ยา่ หยา คือนําผ้าบาติกมาประยกุ ต์ ให้เข้ากับชัดย่าหยา ทําให้ใส่สบายโปร่งไม่ร้ อน เพราะใน อดีตผ้าค่อนข้างจะหนา เม่ือประยกุ ต์จึงทําให้ผ้าบางลง จึง ทําให้เนือ้ ผ้าเปลีย่ นแปลงไป จึงทําให้ใสส่ บายขึน้ ” (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 1 กนั ยายน 2556) จากตารางที่ 4.29 ความเหมาะสมกบั สภาพบ้าน เมืองในปัจจบุ นั ท่ีมีตอ่ วฒั นธรรมการ แต่งกายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านสภาพดินฟ้ าอากาศ จากการศกึ ษาสรุปได้วา่ ปัจจบุ นั นีอ้ ากาศในโลกมีการปรวนแปรมาก เน่ืองจากเป็ นการเปลี่ยนโฉม ครัง้ ใหญ่ในสภาวะแวดล้อม เลยทําให้อากาศเปล่ียนแปลงไป จึงทําให้ภูมิอากาศไม่เป็ นไปตาม ฤดกู าล ซง่ึ จงั หวดั ภเู ก็ตในปัจจบุ นั มีการทําลาย ภเู ขา ทะเล และป่ าไม้เป็ นจํานวนมาก การทําลาย เหลา่ นีเ้ป็ นการทําลายสภาพแวดล้อมทําให้เกิดมลภาวะตา่ งๆ จงึ ทําให้มีผลกระทบตอ่ การแตง่ กาย คนภเู ก็ตจากอดีตจนถึงปัจจบุ นั นิยมสวมใส่เสือ้ บาง จะเป็ นเสือ้ แขนยาวหรือแขนสนั้ ก็จะเป็ นเสือ้

174 บาง แตจ่ ะมีเสือ้ ของคนภเู ก็ตเองจะเป็ นเสือ้ ลกู ไม้ การท่ีคนภเู ก็ตสว่ นใหญ่ตงั้ แตอ่ ดีตจนถึงปัจจบุ นั ยงั นิยมสวมเสือ้ บางๆ เพราะฝนตกไม่เหมาะกับการใส่ออกนอกบ้าน และใส่ได้ในบางโอกาส เพราะถกู ฝนหรือถกู นํา้ ไมไ่ ด้ มีผลต่ออายกุ ารใช้งาน จึงทําให้เปลี่ยนแปลงรูปแบบการแตง่ กายไป มีการประยกุ ต์ชุดย่าหยา คือ นําผ้าบาติกมาประยกุ ต์ให้เข้ากบั ชดุ ย่าหยา ทําให้ใส่สบายโปร่งไม่ ร้อน เพราะในอดีตผ้าคอ่ นข้างจะหนา เม่ือประยกุ ต์จงึ ทําให้ผ้าบางลง จงึ ทําให้เนือ้ ผ้าเปล่ียนแปลง ไป จึงทําให้ใส่สบายขึน้ สภาพดินฟ้ าอากาศในปัจจุบนั นัน้ ส่งผลต่อวฒั นธรรมการแต่งกายเป็ น อย่างมาก เพราะการแตง่ กายของคนปัจจบุ นั มีการแตง่ กายท่ีมีความคลอ่ งตวั มากขึน้ เพื่อที่จะตงั้ รับกับสภาพอากาศในปัจจบุ นั ท่ีไม่แน่นอน อีกทงั้ เคร่ืองใช้อย่างเช่น รองเท้าก็มีการเปล่ียนแปลง เป็ นรองเท้าท่ีทําจากพลาสติกหรือวตั ถอุ ื่นๆ ที่มีความทนทาน ทนต่อทกุ สภาพดินฟ้ าอากาศ ต่าง จากเสือ้ ผ้าในอดีตท่ีมีความสวยงามพิถีพิถนั ในการตดั เย็บ การน่งุ การสวมใส่ แต่มีความเบาบาง และไมท่ นทานตอ่ สภาพดนิ ฟ้ าอากาศในปัจจบุ นั ตารางท่ี 4.30 วิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในปัจจุบัน ท่มี ีต่อ วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวัดภเู กต็ ในด้านเศรษฐกจิ ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ ความเหมาะสม “ในยุคของการทําเหมืองแร่เริ่มหมดไป ประกอบกับปี กับ ส ภ า พ บ้ า น 2530 เป็ นต้นมา ธุรกิจการท่องเท่ียวเร่ิมเปิ ดตัวใน ภาพถ่าย และงานวจิ ัย เมื อ งใ น ปั จ จุบัน แผนการท่องเท่ียวและสงั คมแห่งชาติขึน้ การท่องเที่ยว ท่เี ก่ียวข้อง ที่มีต่อวฒั นธรรม ของภูเก็ตจะมีจุดขายของวัฒนธรรมท่ีแตกต่าง คือพวก การแต่งกายชุด ย่าหยา พวกย่าหยาที่เขามาตงั้ ถิ่นฐานในภูเก็ต จึงทําให้ ฤดี (2553) กล่าวว่า ย่าหยาและรอง กลายเป็ นสว่ นหน่ึงของคนภเู ก็ตไป รองเท้าปักในปัจจบุ นั โครงสร้ างทางเศรษฐกิจ เท้ าปั กของสตรี จะไม่มีการสวมใส่ เพราะมีราคาแพง และไม่เหมาะกับ ที่สําคัญ คือ การบริการ อํ า เ ภ อ เ มื อ ง การทํางาน และจะต้องเป็ นคนมีฐานะดีจึงจะสวมใส่ได้ ก า ร ค ม น า ค ม ข น ส่ ง จังหวัดภูเก็ต ใน เพราะไม่เหมือนกบั สมยั ก่อนที่จะมีการปักรองเท้าไว้สวม การค้าปลีก การเกษตร ด้านเศรษฐกิจ ใสเ่ อง” (ฤดี ภมู ิภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร ธนาคาร และการ “สภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันจังหวัดภูเก็ตเป็ นสถานที่ ประกันภัย เดิมรายได้ ทอ่ งเที่ยว จงึ ไมม่ ีผลตอ่ การแตง่ กาย แตน่ า่ จะมีการ หลักของคนภูเก็ต คือ ก า ร ทํ า เ ห มื อ ง แ ร่ ชาวบ้ านท่ัวไปจะทําแ ร่ ดีบุกโดยวิธีทําเหมืองแร่ และร่อนแร่ท้ายราง

175 ตารางท่ี 4.30 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษาเอกสาร/ ตาํ รา/ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่ี ความเหมาะสม รณรงค์การแต่งกาย เพราะเป็ นเอกลกั ษณ์ ”(ยินดี กับ ส ภ า พ บ้ า น มโนสณุ ทร. สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) เก่ียวข้อง เมื อ งใ น ปั จ จุบัน ที่มีต่อวฒั นธรรม “ในปัจจุบันนีท้ างด้านเศรษฐกิจไม่มีผลต่อการ เ ห มื อ ง สู บ ซึ่ ง มี ร า ย ไ ด้ ดี การแต่งกายชุด แต่งกาย เพราะของแท้ไม่มีก็สามารถหาของ พอสมควร จากจดหมายเหตขุ อง ย่าหยาและรอง เลียนแบบมาสวมใส่ได้ เหมือนกัน สวยงาม เท้ าปั กของสตรี เหมือนกัน ในด้านเศรษฐกิจในปัจจุบันที่ทําให้ พ่อค้าชาวฝรั่งเศส บนั ทึกไว้ในปี อํ า เ ภ อ เ มื อ ง ภเู ก็ตเจริญได้ ก็เพราะการท่องเที่ยว” (จู้. พงศ์ พ.ศ.2229 บางตอนกล่าวว่า จังหวัดภูเก็ต ใน ประดษิ ฐ์. สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) ชาวเกาะนี ้ ซ่ึงเป็ นคนอาศัยอยู่ ด้านเศรษฐกิจ ตามป่ า ตามดง ไม่ทําการงานที่ “เศรษฐกิจในปัจจบุ นั มีผลกระทบต่อการแต่งกาย ถ้าคนที่ร่ํารวยมีสมบตั ิเก่าๆ เมื่อเขาหวนระลกึ ถึง แปลกอยา่ งใดเลย ทงั้ วชิ าความรู้ อยากจะแต่งเขาก็สามารถแต่งได้เลย แต่คนที่ ก็ไม่ต้องเสาะแสวงหา การท่ีทํา ส ภ า พ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ท่ี ไ ม่ ดี จ ะ ไ ม่นํ า เ งิ น ไ ป ซื อ้ เคร่ืองประดับ เพราะเคร่ืองประดับเหล่านีไ้ ม่ อยทู่ กุ วนั นีก้ ็เพียงแต่ตดั ไม้ทําฝื น สามารถจะเปลี่ยนเป็ นเงินได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย ทํานา และขุดดินเพื่อร่อนหาแร่ เหมือนทองคํา ต้องเป็ นคนท่ีมีเงินเท่านัน้ จึงจะ ดีบุกเท่านัน้ แร่ดีบุกนีเ้ ป็ นส่ิง ซือ้ หามาสวมใส่ได้” (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. สําคัญของเมืองนี ้ และได้ เกิด สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) การค้าขายโดยที่ชาวเมืองขุดแร่ ดี บุ ก ไ ด้ ก็ เ อ า แ ร่ นั้น ไ ป ”ในปัจจุบนั เศรษฐกิจส่วนใหญ่ของจังหวัดภูเก็ต แลกเปลี่ยนกับพ่อค้ า ซ่ึงนํา มาจากการท่องเท่ียว จึงทําให้สามารถมีกําลัง สินค้ามาจากภายนอก เพื่อเอา ทรัพย์ที่จะซือ้ ได้ และมีการแต่งกายท่ีหลากหลาย มาแลกเปลี่ยนกบั แร่ดีบกุ นนั้ เอง ตามสภาพสงั คม เม่ือมีการรณรงค์ให้รักษาสภาพ เพราะในเมืองนีไ้ ม่ได้ทําอะไรกนั ของท้องถ่ินเข้ามา ทางราชการทวั่ ประเทศจึงได้มี เลย นอกจากขุดดินหาดีบุก ซึ่ง คําสงั่ ให้แต่งชดุ ท้องถิ่น 1 วนั ใน 1 สปั ดาห์ ให้ เลือกตามความเหมาะสม เนื่องจากสภาพของ เขาขุดได้เป็ นจํานวนมากๆ และ จงั หวดั ภูเก็ตเอือ้ อํานวยต่อการท่องเที่ยวจึงทําให้ ข้ าพเจ้ าเช่ือว่าคงจะมีบ่อดีบุกที่ กลายเป็ นแรงกระต้นุ ตวั หน่ึงจึงทําให้การแต่งกาย ดี ก ว่า นี อ้ ี ก แ ต่ต้ อ ง ห า ค น ท่ี ชดุ ยา่ หยากลายเป็นเอกลกั ษณ์อยา่ งหนงึ่ ของสตรี ชํานาญจึงจะค้ นบ่อดีบุกดีๆได้ ปัจจุบันอาชีพที่เป็ นรายได้หลัก ของชาวภูเก็ต คือการท่องเท่ียว ฉะนัน้ การเกิดปัญหาท่ีเก่ียวกับ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม หรือการ ก่อความไม่สงบ ย่อมมีผลต่อ เศรษฐกิจของภเู ก็ตทงั้ สนิ ้ ภาวะ

176 ตารางท่ี 4.30 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย ความเหมาะสม จงั หวดั ภเู ก็ตท่ีเอามาอวดกนั ” (สมหมาย ป่ิ นพทุ ธศิลป์ . และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง กับ ส ภ า พ บ้ า น สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) เมื อ งใ น ปั จ จุบัน เศรษฐกิจของจังหวัดใน ท่ีมีต่อวฒั นธรรม ”เศรษฐกิจในปัจจบุ นั มีงานโรงแรมเข้ามามากขึน้ ทําให้ อดีตนัน้ เศรษฐกิจของ การแต่งกายชุด เศรษฐกิจของจงั หวดั ภเู ก็ตดีขนึ ้ ถ้ามีเงินเดือนสงู จะเดิน จังหวัดภูเก็ตขึน้ อยู่กับ ย่าหยาและรอง ควบคู่ไปกับการแต่งกาย ในยุคปัจจุบันนีเ้ ป็ นยุคการ ราคาสินแร่ดีบกุ เป็ นสําคญั เท้ าปั กของสตรี แต่งกาย เป็ นยุคท่ีฟ่ ุมเฟื อย บางสายงานจะต้องแต่ง อํ า เ ภ อ เ มื อ ง กายให้ดดู ี เช่น งานโรงแรม” (ไชยยุทธ ปิ่ นประดบั . เ น่ื อ ง จ า ก ร า ค า ดี บุ ก ใ น จังหวัดภูเก็ต ใน สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) ตลาดโลกตํ่าลง ตัง้ แต่ปี ด้านเศรษฐกิจ พ.ศ.2528 เป็ นต้นมา ทํา “สภาพเศรษฐกิจในปั จจุบันได้ มาจากโรงแรมและการ ให้ การผลิตสินแร่ ดีบุกไม่ ท่องเท่ียวเป็ นหลกั ส่วนการแต่งกายชุดพืน้ เมืองเราจะ คุ้มกับการลงทุน ทําให้ แต่งกายตามความเหมาะสมและตามอัตภาพ ใน ผู้ประกอบการหันมาทํา ปัจจบุ นั รองเท้าปักมีราคาแพง สว่ นผ้าก็มีทงั้ ผ้าราคาถกู และราคาแพง มีลักษณะเหมือนกันกับผ้าสมัยก่อน ธุรกิจการท่องเที่ยวกนั มาก แบบก็ยงั เหมือนเดิม เราก็เลือกผ้าถกู หรือผ้าแพง ขึน้ อยู่ ขึน้ ประกอบกับรัฐบาลได้ กบั ผ้สู วมใส่” (จรูญรัตน์ ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 มีนโยบายส่งเสริ มการ กนั ยายน 2556) ท่องเที่ยว ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2530 เป็ นต้ นมา ทําให้ “เศรษฐกิจในปัจจบุ นั ของจงั หวดั ภเู ก็ตสว่ นใหญ่มาจาก ห น่ ว ย ง า น ร า ช ก า ร แ ล ะ การท่องเที่ยวเป็ นหลกั การแต่งกายจึงมีการพฒั นาขึน้ ภาคเอกชน หันมาร่วมมือ มาตามลําดับ คือ เม่ือมีธุรกิจโรงแรมเข้ ามา มีการ รณรงค์ให้พนักงานแต่งชุดย่าหยา หรือชุดนายเหมือง กนั ในการดําเนินการธุรกิจ จึงเป็ นการฟื น้ ฟูอีกแบบหน่ึง จึงทําให้เศรษฐกิจดีขึน้ ไป การท่องเท่ียวอย่างจริงจัง ด้วย การแต่งกายชดุ เหลา่ นีใ้ นโรงแรมเป็ นนโยบายของ แ ล ะ ต่ อ เ น่ื อ ง ทํ า ใ ห้ บางโรงแรมท่ีอยากจะให้แขกที่เข้ามาพกั ให้เห็นการแต่ง เศรษฐกิจของจงั หวดั ภเู ก็ต กายของชาวภเู ก็ตในอดีต ซง่ึ เป็ นข้อดีอย่างหน่ึงเป็ นการ เกือ้ หนุนผสมผสานวัฒนธรรมในอดีตและปัจจุบัน” ได้ เปล่ียนรู ปแบบจากการ (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 1 กนั ยายน 2556) ขายสินแร่ดีบุก เป็ นการ ขายบริการทางธุรกิจการ ท่องเท่ียว ภาวะเศรษฐกิจ ข อ ง จั ง ห วั ด ภู เ ก็ ต ใ น ปั จ จุ บั น จึ ง ขึ ้น อ ยู่ กั บ ร า ย ไ ด้ จ า ก ธุ ร กิ จ ก า ร ทอ่ งเท่ียวเป็นสําคญั

177 จากตารางท่ี 4.30 ความเหมาะสมกบั สภาพบ้าน เมืองในปัจจบุ นั ท่ีมีต่อวฒั นธรรมการ แต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ในด้านเศรษฐกิจ จาก การศึกษาสรุปได้ว่า ในปัจจุบนั จังหวดั ภูเก็ตไม่สามารถทําเหมืองแร่ดีบุกได้ เพราะดีบุกเป็ น ทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่เร่ิมหมดไปหรือมีน้อยจงึ ทําให้การขดุ หาไมค่ ้มุ กบั คา่ นํา้ มนั จงึ มีการยกเลิกถือ วา่ การทําแร่ดีบกุ ในปัจจบุ นั นีจ้ ะไปขดั กบั การท่องเท่ียว ในปัจจบุ นั นีเ้ม็ดเงินมหาศาลของภเู ก็ตเกิด จากการท่องเที่ยว ประกอบกบั ปี พ.ศ.2520 เป็ นต้นมา ธุรกิจการท่องเที่ยวเริ่มเปิ ดตวั ในแผนการ ท่องเที่ยวและสงั คมแห่งชาติขนึ ้ จงั หวดั ภเู ก็ตจึงหนั มาทําธุรกิจท่องเท่ียวแทนการทําเหมืองแร่ดีบกุ เนื่องจากภูเก็ตมีทุนทางสงั คม ทุนทางธรรมชาติ ทุนทางวฒั นธรรมดงั้ เดิม จึงทําให้คนภูเก็ตไม่ ลําบาก การท่องเท่ียวของภเู ก็ตเหมือนกบั ท่ีอ่ืนๆ แตม่ ีความแตกตา่ งทางด้านวฒั นธรรมจึงทําให้มี จุดขายท่ีแตกต่าง เมื่อมีธุรกิจโรงแรมเข้ ามา มีการรณรงค์เข้ ามา บางโรงแรม บางสถาน ประกอบการ บางแหง่ ให้พนกั งานแตง่ ชดุ ย่าหยา จึงเป็ นการฟื น้ ฟอู ีกแบบหน่งึ ทําให้เศรษฐกิจดีขนึ ้ ไปด้วย การแต่งกายชุดเหล่านีเ้ ป็ นนโยบายของโรงแรม ซึ่งเป็ นข้อดีอย่างหน่ึงท่ีเป็ นการเกือ้ หนุน ผสมผสานวฒั นธรรมในอดีตและปัจจบุ นั รองเท้าปักในปัจจบุ นั ไม่มีการสวมใส่ เพราะมีราคาแพง และไม่เหมาะกบั การทํางาน ไม่สะดวกกบั การทํามาหากิน และจะต้องเป็ นคนมีฐานะดีจึงจะสวม ใสไ่ ด้ เพราะไมเ่ หมือนกบั สมยั ก่อนท่ีจะมีการปักรองเท้าไว้สวมใสเ่ อง รองเท้าปักมีความคงทนน้อย ไมเ่ หมาะกบั การสวมใสท่ ํางานในปัจจบุ นั ตารางท่ี 4.31 วิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในปัจจุบัน ท่มี ีต่อ วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวัดภเู กต็ ในด้านสังคม ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ ความเหมาะสมกับสภาพ “ในปัจจุบันนีเ้ ปล่ียนไปทุกคนกลัวกันเองหมด ภาพถ่าย และ บ้าน เมืองในปัจจุบัน ท่ีมี สังคมเปลี่ยนกลายเป็ นไม่รู้จักกัน เพราะมีการ ต่อวฒั นธรรมการแต่งกาย ย้ายถ่ินไปอยทู่ ี่อ่ืน และมีคนตา่ งถ่ินเข้ามาอาศยั จงึ งานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง ชุดย่าหยาและรอง เท้าปัก ทําให้สงั คมแบบเดิมๆ ของภูเก็ตเริ่มหมดไปสวม ข อ ง ส ต รี อํ า เ ภ อ เ มื อ ง รองเท้าปักในยุคปัจจุบนั ไม่เหมาะกับการทํางาน สํานกั งานจงั หวดั ภเู ก็ต จงั หวดั ภเู กต็ ในด้านสงั คม แ ล ะ ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม ใ น ก า ร ติ ด ต่ อ ง า น ร า ช ก า ร (2535) จังหวัดภูเก็ต ถงึ แม้วา่ จะมีความสวยงาม แตก่ ็เป็นรองเท้าแตะ ประกอบด้วยคนหลาย ชนชาติ หลายภาษา การยึดถือและปฏิบัติ ทางการศาสนา จึงมี ความแตกตา่ งกนั ตาม

178 ตารางท่ี 4.31 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจาก การศกึ ษาเอกสาร/ ความเหมาะสม ถ้าแสดงถึงความเป็ นเอกลกั ษณ์ท้องถ่ิน ซงึ่ จําเป็ นมาก” (ฤดี กับ ส ภ า พ บ้ า น ภมู ิภถู าวร. สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) ตาํ รา/ภาพถ่าย เมื อ งใ น ปั จ จุบัน และงานวจิ ัยท่ี ท่ีมีต่อวฒั นธรรม “ยุคปั จจุบันการเอือ้ อาทรลดน้ อยลง ความสนิทสนม การแต่งกายชุด ความค้นุ เคยมีน้อยลง อาจจะเป็ นเพราะตา่ งคนต่างทํามาหา เก่ียวข้อง ย่าหยาและรอง กิน ในปัจจบุ นั แมบ่ ้านก็ต้องออกไปช่วยทํางานด้วย จึงทําให้ เท้ าปั กของสตรี สงั คมตา่ งคนตา่ งอย่มู ากขึน้ การแต่งกายในสงั คมในปัจจบุ นั ความคิด ความเชื่อ อํ า เ ภ อ เ มื อ ง ยงั มีคนสวมใส่เยอะ เช่น สวมใส่ไปงานแต่ง หรือสวมใส่ไป แ ล ะ ค ว า ม เ ล่ื อ ม ใ ส จังหวัดภูเก็ต ใน ร่วมงานต่างๆ ส่วนคนท่ีสวมใส่ทุกวันคือ คนที่มีอายุเยอะ ศ รั ท ธ า ต า ม แ ต่ ด้านสงั คม ประมาณ 70-80 ปี ทัง้ นัน้ ในสภาพสังคมใครมีเงินก็ซือ้ ได้ ศ า ส น า ที่ ต น นั บ ถื อ เพราะชุดมีราคาแพงมีความหรูหรา”(ยินดี มโนสุณทร. ประชากรในจังหวัด สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) ภูเก็ตร้ อยละ 80.4 นั บ ถื อ ศ า ส น า พุ ท ธ และร้อยละ 18.6 นบั ถือศาสนาอิสลาม ท่ี เหลือเล็กน้ อยนับถือ ศาสนาคริ สต์และ ศาสนาอื่นๆ “ในยคุ ปัจจบุ นั มีคนตา่ งถิ่นเข้ามาเยอะ เข้ามาทํามาหากินมา กอบโกยผลประโยชน์แล้วก็ออกไป ในสงั คมปัจจุบนั ไม่ค่อย สวมใส่ชดุ ย่าหยา ขึน้ อย่กู บั ว่าจะไปออกงานอะไรมากกว่า” (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) “เหมาะสมเพราะว่าทกุ คนจะมีความภูมิใจ เหมือนกบั ว่าทุก ครัง้ ท่ีสวมใสจ่ ะมีความรู้สกึ ว่ามีความกตญั �ตู ่อบรรพชน เรา เปรียบเสมือนตัวเชื่อมของการเวลาเป็ นร้ อย ๆ ปี ที่มันจะ หายไป เพราะในปัจจุบันนี ้ เราต้องอาศัย ผู้ใหญ่ที่รู้เรื่อง วิธีการท่ีแท้ จริง อาศัยเคร่ืองประดับ อาศัยในเร่ืองของ พิธีกรรมความถูกต้อง สิ่งเหล่านีจ้ ะขาดหายไปในเม่ือไม่มีผู้ สืบทอดเอาไว้ นี่คือการเปลย่ี นแปลงที่ตอ่ ไปอาจจะสญู หายไป ก็ได้ ถ้าหากไม่มีการร่วมมือกนั อย่างจริงจงั และนีค้ ือเหตผุ ล หน่ึงท่ีจงั หวดั ภูเก็ตจดั งานบาบ๋าขึน้ ทกุ ปี ” (จรินทร์. นีรนาถ วโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556)

179 ตารางท่ี 4.31 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจาก การศกึ ษาเอกสาร/ ตาํ รา/ภาพถ่าย และงานวจิ ัยท่ี เก่ียวข้อง ความเหมาะสม “ในปัจจุบันการแต่งกายโดยสวมผ้าปาเต๊ะหายไป ใกล้จะ กับ ส ภ า พ บ้ า น หมดแล้ว ส่วนใหญ่จะสวมกางเกงกันมากกว่า ชุดย่าหยาใน เมืองในปัจจุบัน ปัจจุบันจะเป็ นเสือ้ ลูกไม้ต่อดอก จะมีราคาแพงและไม่ได้ ท่ีมีต่อวฒั นธรรม ออกแบบไว้ให้สตรีสาว ถ้าสวมใส่แล้วจะดูแก่ แต่ในปัจจุบัน การแต่งกายชุด ผ้หู ญิงสาวจะหนั มาใสช่ ดุ ย่าหยากนั เยอะขึน้ แต่จะมีราคาแพง ย่าหยาและรอง แต่จะมีผู้สงู อายสุ วมใส่มากกว่า และจะแต่งไปงานบุญ งาน เท้ าปั กของสตรี บวช งานวดั ต่างๆ” (สมหมาย ปิ่ นพทุ ธศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 อํ า เ ภ อ เ มื อ ง กนั ยายน 2556) จังหวัดภูเก็ต ใน ด้านสงั คม ”สภาพสงั คมในปัจจบุ นั นีจ้ ะเป็นสงั คมตา่ งคนต่างอยู่ และอยู่ แบบถ้อยทีถ้ อยอาศัยก็ยังมีอยู่ ขึน้ อยู่กับนิสัยคนแล้วแต่ ท้องถิ่น ในสงั คมปัจจุบันมีผลกระทบต่อวฒั นธรรมการแต่ง กาย เพราะในปัจจบุ นั วยั รุ่นส่วนใหญ่มกั จะเอาตวั อย่างตาม สื่อต่างๆ แต่ในปัจจบุ นั ก็ยงั มีการแต่งกายแบบบาบ๋าอย่ตู าม กล่มุ คนมีฐานะดี ” (ไชยยทุ ธ ป่ิ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) “สงั คมภูเก็ตในปัจจุบนั เป็ นสงั คมเร่งรีบ ทุกคนต้องออกจาก บ้านเพื่อทํางาน ไม่ได้เป็ นสงั คมเอือ้ เฟื อ้ เหมือนสมยั ก่อน ทกุ คนต้องทํางานเพ่ือเลีย้ งปากท้อง จึงไม่มีเวลาว่างเหมือนใน อดีต ส่วนการแต่งกายชุดพืน้ เมืองเราจะแต่งกายแล้วแต่ โอกาสแล้วแต่งานที่จะไป ส่วนการแต่งกายได้มีวัฒนธรรม ตา่ งชาติเข้ามาผสมเพราะเรามีการติดตอ่ กบั ต่างชาติ” (จรูญ รัตน์ ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) ในยคุ ปัจจบุ นั เป็นครอบครัวขนาดกลางและขนาดเลก็ โดยเน้น ไม่มีลกู เยอะ โดยสภาพสงั คมและเศรษฐกิจท่ีเปล่ียนไปบ้าน แตล่ ะบ้านแทบจะไมไ่ ด้พดู คยุ และพบปะกนั เลย เพราะด้วย

180 ตารางท่ี 4.31 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ ภาพถ่าย และ งานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง ความเหมาะสม ถิ่สภาวะสงั คมท่ีต้องแข่งขนั กบั เวลา และเน่ืองมาจาก มีคน กั บ ส ภ า พ บ้ า น ต่างนเข้ ามาทํางานในภูเก็ตเยอะมาก สังคมภูเก็ตจาก เมืองในปัจจบุ นั ท่ี วัฒนธรรมเดิมๆ ถูกแปลเปลี่ยนไป คนภูเก็ตในปัจจุบนั จะ มีต่อวัฒนธรรม สวมใสช่ ดุ แบบสากลมากกวา่ ท่ีเหน็ อยู่ คือ รองเท้าปักจะไม่มี การแต่งกายชุด แล้ว จะสวมใส่รองเท้าหุ้มส้น รองเท้าส้นตึก ตามแฟชั่น ย่าหยาและรอง เพราะรองเท้าปักจะสวมใสค่ ่กู บั ชดุ ย่าหยา จะสวมใส่ไปงาน เท้ าปั กของสตรี มงคล พิธีแต่งงาน งานบวช หรืองานตรุษจีน จะแต่งกายชดุ อํ า เ ภ อ เ มื อ ง ย่าหยา และสวมใสร่ องเท้าปัก ในปัจจบุ นั จะย้อนกลบั ไปใน จังหวัดภูเก็ต ใน อดีตมากขึน้ แต่จะสวมใส่ไปตามพิธีการมากกว่าไม่ได้มา ด้านสงั คม สวมใสใ่ นชีวติ ประจําวนั “” (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 1 กนั ยายน 2556) จากตารางท่ี 4.31 ความเหมาะสมกบั สภาพบ้าน เมืองในปัจจบุ นั ที่มีตอ่ วฒั นธรรมการ แตง่ กายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านสงั คม จากการศกึ ษา สรุปได้ว่า สภาพสงั คมในปัจจบุ นั เป็ นสงั คมต่างคนตา่ งอย่ไู ม่รู้จกั กนั เพราะคนภเู ก็ตมีการย้ายถิ่น ไปอย่ทู ี่อื่น และมีคนตา่ งจงั หวดั ย้ายเข้ามาอาศยั จงึ ทําให้สงั คมแบบเดมิ ๆ ของคนภเู ก็ตเริ่มหมดไป แต่สงั คมแบบถ้อยทีถ้อยอาศยั ก็ยงั มีอย่ซู ง่ึ เป็ นสงั คมตามชนบท ปัจจุบนั การเอือ้ อาทรลดน้อยลง และความสนิทสนมความค้นุ เคยมีน้อยมาก อาจเป็ นเพราะต่างคนต่างทํามาหากิน จึงทําให้บ้าน แต่ละบ้านแทบจะไม่ได้พดู คยุ กนั เนื่องมาจากสภาวะสงั คมของจงั หวดั ภเู ก็ตต้องแข่งขนั กบั เวลา การใช้ชีวิตค่อนข้างท่ีจะรีบเร่ง เป็ นสงั คมท่ีเห็นแก่ตวั เพราะจังหวดั ภูเก็ตมีความเจริญมากใน ปัจจบุ นั จงึ ทําให้มีคนตา่ งถิ่นเข้ามาทํางานเป็ นจํานานมากและประกอบกบั ยคุ นีเ้ป็ นยคุ โลกาภิวตั น์ สงั คมภเู ก็ตจากวฒั นธรรมเดมิ ๆ ถกู แปลเปลย่ี นไปโดยสภาวะตามกาลเวลา คนภเู ก็ตในปัจจบุ นั จะ สวมใสช่ ดุ แบบสากลมากกว่า ส่วนชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักนนั้ จะสวมใส่เฉพาะตอนท่ีมีงานหรือ พิธีสําคญั ไมไ่ ด้สวมใสใ่ นชีวติ ประจําวนั เหมือนในอดีต การแตง่ กายชดุ ยา่ หยาในปัจจบุ นั ยงั คงมีอยู่ แตจ่ ะสวมใสไ่ ปตามงานพิธีการมากกวา่ เช่น งานมงคล พิธีแต่งงาน งานบวช หรืองานตรุษจีน ใน ปัจจุบนั ชุดย่าหยาและรองเท้าปักเหลือเพียงกลุ่มผู้สูงอายุ และเพื่อใช้ในงานพิธีเป็ นส่วนใหญ่

181 เนื่องจากสภาพสงั คมได้มีการเปลี่ยนแปลงไปทงั้ ทางด้านการดํารงชีวิต ทศั นคติ มมุ มอง การแต่ง กายแบบเดิมจึงไม่เหมาะสมกบั สภาพสงั คมในปัจจุบนั มากกว่า เพราะการแต่งกายปัจจุบนั เน้น ความสะดวกรวดเร็ว เข้ากับสมยั นิยมและค่านิยม ท่ีได้รับเข้ามาของการแต่งกายทางตะวนั ตก เพื่อให้เหมาะกบั การใช้ชีวิตในปัจจบุ นั ตารางท่ี 4.32 วิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในปัจจุบนั ท่มี ีต่อ วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวัดภเู กต็ ในด้านการปกครองและการเมือง ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย ความเหมาะสมกบั “ในปัจจบุ นั นีเ้นื่องจากมีวฒั นธรรมของสงั คมเมือง และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง สภาพบ้านเมืองใน เข้ามา เริ่มมีการแต่งกายหรูหรา ฟ่ มุ เฟื อยเกิดขึน้ ปั จ จุ บั น ที่ มี ต่ อ การแต่งกายในปั จจุบันจะเน้ นราคาและความ ฤดี (2550) กล่าวว่าสําหรับ วฒั นธรรมการแต่ง สวยงาม การปกครองในปัจจุบนั ไม่ได้ห้ามเพราะ การปกครองและการเมืองของ กายชดุ ย่าหยาและ ลําบากในการหาเคร่ืองประดบั แต่มีการแต่งบ้าง จังหวัดภูเก็ตในปัจจุบันเป็ น รองเท้าปักของสตรี ในโอกาสที่มีการเชิญชวน คนจีนในภูเก็ตมีอยู่ 2 การปกครองแบบแบ่งเขตการ อํ าเ ภ อ เมื อง จัง ส่วน 1. มากจากปี นัง จีนเหล่านี ้ จะสวมชุด ปกครองตามลักษณะพืน้ ที่ หวัดภูเก็ต ในด้าน ยา่ หยา 2. มาจากเมืองจีน จีนเหลา่ นีไ้ มส่ วมใส่ แบ่งออกเป็ น 3 อําเภอได้แก่ การปกครองและ ชุดย่าหยา แต่จะสวมผ้าลูกไม้ถ้าในแง่ของการ อําเภอเมืองภเู ก็ต อําเภอถลาง การเมือง รวมชาติพันธ์ุให้เป็ นหน่ึงมีส่วนสําคัญเพราะใน และอําเภอกระทู้ ซงึ่ ในปัจจบุ นั ขณะนีไ้ ด้มีนโยบายให้ชุมชนต่าง ๆ คงความเป็ น การเมืองการปกครองพยายาม เอกลักษณ์ของแต่ละท้องถ่ินไว้ ในขณะที่เรามี ท่ี จะ ส่ง เสริ มแ ละ อ นุรั กษ์ กา ร วฒั นธรรมรวมคือชาติไทยจึงเป็ นส่ิงจําเป็ นว่าใน แต่งกายชดุ พืน้ เมือง ซ่ึงสงั เกต แต่ละชาติพันธ์ุจะต้องดํารงความเป็ นตัวตนของ ได้ จากหน่วยงานต่างๆ ใน วัฒนธรรมของชาติพันธ์ตนเองไว้ เพราะในชาติ จงั หวดั ภเู กต็ จะให้ความสําคญั ไทยมีกล่มุ ชาติพนั ธ์ุมากมาย” (ฤดี ภูมิภูถาวร. ในเรื่องนีม้ าก จึงทําให้เจ้าของ สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) โรงแรมต่างๆ ได้มีนโยบายให้ พนักงานสวมใส่พืน้ เมือง เพ่ือ “ในด้านการเมืองไม่เก่ียว เพราะปัจจบุ นั เน้นเร่ือง เป็ นการรณรงค์และเป็ นการ แฟชั่นให้ดูดีไม่มีใครเหมือน และในปัจจุบันเป็ น สื บ ส า น วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง ค น ยุคเสรี”(ยินดี มโนสุณทร. สัมภาษณ์, 24 ภูเก็ตให้ สืบต่อไปให้ กับคนรุ่ น สงิ หาคม 2556) หลงั

182 ตารางท่ี 4.32 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย ความเหมาะสม “ไม่ได้เกี่ยวข้องกบั การปกครองในปัจจบุ นั รัฐบาลมีการ และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง กับ ส ภ า พ บ้ า น สนบั สนนุ การแตง่ กายแบบพืน้ เมือง” (จ้.ู พงศ์ประดิษฐ์. เมื อ งใ น ปั จ จุบัน สมั ภาษณ์, 28 สงิ หาคม 2556) ท่ีมีต่อวฒั นธรรม การแต่งกายชุด “ไมม่ ีผลกระทบเพราะในปัจจบุ นั การเมืองการปกครอง ย่าหยาและรอง พ ย า ย า ม ที่ จ ะ ส่ง เ ส ริ ม แ ล ะ อ นุรั ก ษ์ ก า ร แ ต่ ง ก า ย ชุด เท้ าปั กของสตรี พืน้ เมือง แม้แต่หน่วยงานเอกชนอย่างเช่นโรงพยาบาล อํ า เ ภ อ เ มื อ ง กรุงเทพภูเก็ต โรงพยาบาลสิริโรจน์ จะมีแรงกระตุ้น จังหวัดภูเก็ต ใน เหมือนกบั ว่าลกู ค้าท่ีเข้าไปใช้บริการท่ีแต่งชุดพืน้ เมือง ด้านการปกครอง จะลดค่าบริการให้ 5 % น่ีคือจดุ สําคญั ” (จรินทร์. นีร และการเมือง นาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) “ในปั จจุบันการปกครองของภูเก็ตไม่มีผลต่อการแต่ง กายเน่ืองจากจงั หวดั ภเู ก็ตในปัจจบุ นั เป็นเมืองท่องเท่ียว ทางราชการจึงสนับสนุนให้แต่งกายชุดย่าหยา แต่ รองเท้าปักในปัจจุบนั ไม่นิยมใส่ เพราะมีราคาแพง แต่ จะสวมกับรองเท้ าส้ นสูงหรื อรองเท้ าแฟช่ันท่ีมีขายใน ปัจจุบนั ” (สมหมาย ป่ิ นพทุ ธศิลป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ”ในปัจจุบันนีก้ ารปกครองต่างๆ จะขึน้ อยู่กับเทศบาล มากกว่า โดยผ้ใู หญ่บ้านหรือกํานนั จะมีบทบาทน้อยลง ไป การแต่งกายแบบบาบ๋า ย่าหยา ในปัจจุบันนัน้ ขนึ ้ อยกู่ บั วา่ จะไปงานอะไร ถ้าเป็นงานข้าราชการจดั ก็ดู ดีหน่อย ถ้าเป็นราชพธิ ีก็แตง่ เต็มที่ ถ้าเป็ นคนจนๆ ก็แต่ง ให้ดูดีให้เข้ากับสังคมได้” (ไชยยุทธ ป่ิ นประดับ. สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556) “ทางราชการยังมีการเข้ ามาสนับสนุนให้ ทุกคนมีส่วน ร่วมในการรักษาอนรุ ักษ์ การแตง่ กายและวฒั นธรรม

183 ตารางท่ี 4.32 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ ความเหมาะสมกับ ต่างๆ และโชความเป็ นรากเหง้าของตวั เองไว้” (จรูญ ภาพถ่าย และ สภาพบ้ านเมืองใน รัตน์ ตนั ฑวณิช. สมั ภาษณ์, 16 กนั ยายน 2556) ปั จ จุ บั น ท่ี มี ต่ อ งานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง วัฒนธรรมการแต่ง “การปกครองในปัจจุบนั ไม่ได้ห้าม แต่มีการสนับสนุน กายชุดย่าหยาและ รณรงค์ให้รักษาวัฒนธรรมของตนเองเอาไว้ ปัจจุบัน รองเท้ าปั กขอ งสตรี น โ ย บ า ย ข อ ง รั ฐ บ า ล แ ล ะ ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง วั ฒ น ธ ร ร ม อําเภอเมือง จังหวัด ต้ องการให้ ทางภูเก็ตรณรงค์และทางภูเก็ตก็มีการ ภูเก็ต ในด้ านการ รณรงค์ให้สวมใสช่ ุดย่าหยา เป็ นการสืบสานวฒั นธรรม ปกครองและ ของภูเก็ตให้ สืบต่อไปให้ คนรุ่ นหลังและในยุคต่อไป” การเมือง (สรุ เชษฐ์ เจริญผล. สมั ภาษณ์, 1 กนั ยายน 2556) จากตารางท่ี 4.32 ความเหมาะสมกบั สภาพบ้าน เมืองในปัจจบุ นั ท่ีมีตอ่ วฒั นธรรมการ แต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ในด้านการปกครองและ การเมือง จากการศึกษาสรุปได้ว่า การปกครองในปัจจบุ นั ไม่ได้มีผลกระทบต่อการแต่งกาย ซ่งึ ปัจจบุ นั เป็ นยคุ แห่งประชาธิปไตยทกุ คนมีสทิ ธิในการใช้ชีวิต รวมถึงการแตง่ กาย อีกทงั้ ทางภาครัฐ ยงั มีสว่ นในการสนบั สนนุ การแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักอีกด้วย ในปัจจบุ นั ภาครัฐพยายาม ท่ีจะส่งเสริมและอนรุ ักษ์การแตง่ กายชดุ พืน้ เมือง ซง่ึ สงั เกตได้จากหน่วยงานต่างๆ ในจงั หวดั ภเู ก็ต จะให้ความสําคญั ในเร่ืองนีม้ าก แสดงว่าการเมืองการปกครองมีส่วนสนบั สนนุ การแต่งกายแบบ ย่าหยามากขึน้ โดยนโยบายของรัฐบาลและของกระทรวงวฒั นธรรมต้องการให้ทางหน่วยงานท่ี เก่ียวข้องหนั มาให้ความสาํ คญั มากขนึ ้ แม้แตห่ นว่ ยงานเอกชน โรงแรมตา่ งๆ ได้ให้พนกั งานสวมใส่ ชดุ ย่าหยาเพื่อเป็ นการรณรงค์และเป็ นการสืบสานวฒั นธรรมของคนภเู ก็ต เนื่องจากจงั หวดั ภเู ก็ต ในปัจจุบนั เป็ นเมืองท่องเท่ียว ทางราชการจึงสนับสนุนให้แต่งกายชุดย่าหยา แต่รองเท้าปักใน ปัจจบุ นั ไมน่ ิยมใส่ เพราะมีราคาแพง แตจ่ ะสวมกบั รองเท้าส้นสงู ท่ีมีขายในปัจจบุ นั หรือเป็ นรองเท้า แฟชนั่ จะได้รับความนิยมมากกวา่

184 ตารางท่ี 4.33 วิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองในปัจจุบนั ท่มี ีต่อ วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีอาํ เภอเมือง จังหวัดภเู กต็ ในด้านศลิ ปวัฒนธรรม ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลจากการศกึ ษา เอกสาร/ตาํ รา/ภาพถ่าย ความเหมาะสมกับ “ในปัจจบุ นั ไม่ได้รับความนิยมเพราะไม่มีใครวาด และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง สภาพบ้ านเมืองใน รูปปลา ค้างคาว ลกู ท้อ ส่ิงต่าง ๆ ท่ีเราเห็นวา่ เป็ น ปั จ จุ บั น ที่ มี ต่ อ ส่ิงดีเพราะมนั ไม่ใช่ศิลปะร่วมสมยั แต่ยงั เห็นอยู่ สําหรับด้ านศิลปวัฒนธรรม วัฒนธรรมการแต่ง ในประวัติศาสตร์ อยู่ตามผนังบ้ านหรื อตามศาล ของจังหวดั ภูเก็ตในปัจจุบัน กายชุดย่าหยาและ เจ้าเท่านัน้ ยกเว้นงานศิลปะนัน้ จะเกิดการฟื ้นฟู ยัง มี ค ว า ม เ ช่ื อ เ รื่ อ ง ศ า ส ต ร์ รองเท้ าปั กขอ งสตรี หรือการอนุรักษ์วัฒนธรรมเก่า การวาดภาพ ต่างๆเพราะคนในจังหวัด อําเภอเมือง จังหวัด โบราณของจงั หวดั ภูเก็ต ทางด้านวฒั นธรรมของ ภูเก็ตส่วนมากเป็ นลกู หลาน ภูเก็ต ในด้านศิลปะ จังหวัดภูเก็ต เพราะการท่ีเรามีวัฒนธรรมท่ี ชาวจีนจึงทําให้ มีความเชื่ อ วฒั นธรรม หลากหลายและคงความเป็ นเอกลักษณ์ของ ในเร่ื องของลาดลายและ ตนเองได้นัน้ คือตวั ตนของคนนัน้ ” (ฤดี ภูมิภู สัญลักษณ์ที่แสดงถึงความ ถาวร. สมั ภาษณ์, 23 สงิ หาคม 2556) เป็ นมงคลเข้ ามาเกี่ยวข้ องอยู่ ในวิถีชีวิตเสมอ โดยเฉพาะ “เหมาะสมกบั ยคุ ในปัจจบุ นั เพราะเป็ นเอกลกั ษณ์ การแต่งกายชุดย่าหยาและ เราเป็ นจุดเด่นไปไหนก็มีคนมอง เมื่อวัฒนธรรม รองเท้าปักยงั คงมีการนําเอา ของชาวตา่ งชาติเข้ามาการเปลี่ยนแปลงจึงเกิดขึน้ ลวดลายต่าง ๆมา ปั กไ ว้ บ น เพราะคนรุ่นใหม่ไม่สนใจ เมื่อมีการแตง่ ชดุ ยา่ หยา ชุดและรองเท้า เพื่อให้เกิด ไปในงานตา่ งๆ ในปัจจบุ นั ถงึ จะเป็ นชดุ เก่าแตเ่ ม่ือ ความสวยงามส่วนลวดลาย แต่งแล้วจะดูดีและดูภูมิฐาน”(ยินดี มโนสุณทร. ท่ีใช้ จะเน้ นถึงความโชกดี สมั ภาษณ์, 24 สงิ หาคม 2556) และความเป็ นมงคล (อ้างถึง ใ น สํ า นัก พิ ม พ์ ส า ร ค ดี , “ในปัจจุบันมีการผสมผสานทางด้ านศิลปะมี 2535) ความเป็ นภเู ก็ตท่ีเรา ความคิดกว้างไกลส่วนเสือ้ ผ้าก็แล้วแต่ผู้สวมใส่ สมั ผสั ได้ในทกุ วนั นี ้ไม่ว่าจะ ออกแบบแล้ วให้ ช่างตัดเย็บตามแบบท่ีเราบอก เป็ นตึกรามบ้านช่อง อาหาร รองเท้าปักไมม่ ีใครทําเพราะต้องทํางานแต่ก็มีขาย การกิน หรือแม้แตว่ ฒั นธรรม ตามถนนถลาง” (จู้. พงศ์ประดิษฐ์. สมั ภาษณ์, จีนที่เข้ ามาผสมผสานอยู่ 28 สงิ หาคม 2556) มากทีเดียว ทัง้ ที่แต่เดิมนัน้ ชาวถลาง (ภูเก็ต) ในอดีต เป็นคนไทยแท้ๆ กบั ชาวมลุ มิ เชือ้ สายมาลายซู งึ่ ตงั้ หลกั

185 ตารางท่ี 4.33 (ตอ่ ) ประเดน็ คาํ ถาม ผลการสัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล ข้ อ มู ล จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า เอกสาร/ตํารา/ภาพถ่ าย ความเหมาะสมกับ “”เคร่ื องแต่งกายจะบอกถึงรากเง้ าของ และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง สภาพบ้ านเมืองใน วฒั นธรรมตนเอง อย่างน้อยควรรู้ตงั้ แต่การนํา ปั จ จุ บั น ท่ี มี ต่ อ เสือ้ ผ้ามาใช้ การเก็บรักษาวัฒนธรรมการแต่ง แหล่งอยู่บนเกาะ แห่งนีเ้ ป็ น วัฒนธรรมการแต่ง กายคนสว่ นใหญ่ในปัจจบุ นั จะให้ความสนใจกบั เวลาหลายร้อยปี มาแล้ว กายชุดย่าหยาและ การแตง่ กายในความที่เป็ นรากเง้าตวั เองมากขึน้ รองเท้ าปั กขอ งสตรี และเป็ นสว่ นหนงึ่ ที่ทําให้เกิดความผกู พนั โดยไม่ อําเภอเมือง จังหวัด รู้ตัวระหว่างรุ่นต่อรุ่น จึงกลายเป็ นสายใย ภูเก็ต ในด้ านศิลป ระหว่างรุ่นโดยอาศัยการแต่งกายมาเป็ น วฒั นธรรม ตวั เช่ือมโดยไม่รู้ตวั และเป็ นความผกู พนั ระหวา่ ง ครอบครัว นี่คือสิ่งสําคญั จากรุ่นส่รู ุ่นที่ผ่านอตั ลกั ษณ์การแต่งกาย (จรินทร์. นีรนาถวโรดม. สมั ภาษณ์, 31 สงิ หาคม 2556) “ปัจจุบันนีก้ ารแต่งกายชุดย่าหยาถือว่าเป็ น ประเพณีหน่ึงท่ีจะเอามาแต่งอวดกันเพื่องาน หรืองานประเพณีต่างๆ ส่วนวัฒนธรรมของ จังหวัดภูเก็ตในปั จจุบันเน้ นวัฒนธรรมเชิงการ ท่องเที่ยวอยู่แล้วจึงเป็ นเรื่องสอดคล้องท่ีจะ รณรงค์ให้แต่งกายชดุ ย่าหยา” (สมหมาย ปิ่ น พทุ ธศลิ ป์ . สมั ภาษณ์, 4 กนั ยายน 2556) ”ในปัจจุบนั นีล้ กู หลานคนไทยเชือ้ สายจีนก็ยงั มี การสืบทอดวัฒนธรรมมาจากบรรพบุรุษ เช่น ขนม อาหารการกิน และวัฒนธรรมความเช่ือ ตา่ งๆ จงึ สืบทอดอย่มู าได้จนถึงทกุ วนั นี ้ไม่มีการ เปล่ียนแปลง ในด้านการแต่งกายในปัจจบุ นั นีก้ ็ มีผลกระทบบ้าง เพราะการแต่งกายขึน้ อยู่กับ ฐานะของผู้สวมใส่ และขึน้ อยู่กับงานท่ีจะเข้า ร่วม” (ไชยยุทธ ปิ่ นประดบั . สมั ภาษณ์, 5 กนั ยายน 2556)