มหาราชพระองคท์ ี่ 1 พระเจ้าพรหมมหาราช ผเู้ รยี บเรียงนายประสาร ธาราพรรค์ พระบรมราชานุสาวรียพ์ ระเจ้าพรหมมหาราช หน้าที่วา่ การอาเภอแมส่ าย จงั หวดั เชียงราย มหาราช พระองคแ์ รก ของสยาม ทรงพระนาม พระเจา้ พรหม ผู้ยิง่ ใหญ่ ธ กอบกู้ เอกราช ก้องเกรกิ ไกร ธ ทาให้ ความเป็นไทย ไดก้ ลับคนื โยนกลา้ นนา แดนเหนอื พน้ จากทาส ของทรราชย์ ท่ีย่ายี ชาสุดฝืน พวกขอมดา ขม่ เหง สดุ กลากลนื ทรงพลกิ ฟ้ืน แก้ไข ไทยยืนยง ความเป็นมา ของพระองค์ แปลกเลิศลา เป็นผนู้ า กลการศึก สดุ สงู ส่ง สรา้ งโยนก ล้านนา ไดม้ ั่นคง ไทยดารง คงชื่อไท้ ใหจ้ ดจา ............................................................. ประสาร ธาราพรรค์ รอ้ ยกรอง
พระราชประวตั ิพระเจา้ พรหมมหาราช “พระเจ้าพรหมมหาราช” พระนามของพระมหากษัตริย์มหาราชพระองค์น้ี หาน้อยคนนักจะรู้จัก พระองค์ได้รบั การยกย่องให้เป็น “มหาราช” พระองค์แรกของแผ่นดินสยาม นับต้ังแต่การรวมแผ่นดินล้านนา เข้ากับสยามในสมัยของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช แห่งกรุงธนบุรี เหตุที่ได้รับการยกย่องเป็นมหาราช เพราะทรงสถาปนาสร้างเมืองไชยปราการ พระองค์มีพระปรีชาสามารถด้านการรบ สามารถกู้เอกราชตีเอา เมืองโยนกนครไชยบุรีราชธานีศรีช้างแสน คืนได้จากพระยาขอม (ขอมดา จากเมืองอุโมงคเสลานคร) ซ่ึง ยกทัพมาชิงเมืองโยนกในสมัยพระเจ้าพังคราช พระเจ้าพรหม เป็นชื่อที่เรียกขานของ “วีรบุรุษใน ตานาน” ของอาณาจักรโยนกนครไชยบรุ ีราชธานศี รีชา้ งแสน่ (หรือโยนกล้านนา) เอกสารของ วัน วลิต, ตาชาต และลาลแู บร์ ที่ได้บันทกึ ไว้ทาให้รู้ว่าชาวพระนครศรีอยุธยาจานวน หนึ่ง พวกเขาก็มีความเช่ือว่าพระเจ้าพรหมเป็น “ปฐมบรมกษัตริย์” ของพวกเขามานานแล้ว ตังแต่ก่อน แผ่นดนิ สมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง และต้องถือว่าพระเจ้าพรหม เปน็ กษัตริย์ไทยที่แท้จริงองค์แรก ที่ได้ตัง อาณาจกั รไทยขึน
พระบรมราชานุสาวรีย์พระเจ้าพรหมมหาราช ทว่ี ดั พระเจา้ พรหมมหาราช (วดั ป่าไม้แดง)อาเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ พระราชประวตั พิ ระเจา้ พรหมมหาราช พระเจา้ พรหมมหาราช หรอื พระเจา้ พรหมกมุ าร ไดร้ ับการยกย่องว่าเปน็ พระมหากษัตริย์ผู้องอาจกล้า หาญของไทย ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยองค์แรกท่ีได้รับการยกย่องเป็นมหาราช พระองค์ทรงเป็นราชบุตร องค์ท่ี 2 ของพระเจ้าพังคราชเมื่อประสูติออกมาน้ันมีพระวรกายงดงามพระราชบิดาจึงทรงต้ังพระนามว่า “พรหมราชกุมาร” พระองค์ประสูติในวันอาทิตย์ แรม 8 ค่า เดือน 6 เหนือ (คือเดือน 4 ใต้) ปีมะเส็ง พ.ศ. 1461 ณ โยนกนคร พระองค์มพี ระเชษฐามีพระนามวา่ พระเจ้าทุกขภิกขราช แคว้นโยนกตกเปน็ ของขอม ในสมัยเดียวกับสมัยน่านเจ้า ขณะที่พม่าได้เข้ามามีอ่านาจอยู่ในดินแดนสุวรรณภูมิน้ันเป็นเวลา เดียวกับท่ีพวกไทยเริ่มอพยพลงมาอยใู่ นแควน้ โยนกและหลวงพระบางเป็นจ่านวนมาก (คือคราวอพยพเม่ือราว พทุ ธศตวรรษที่ 16) ฉะนั้นเม่ือพม่าหมดอ่านาจลงอย่างเด็ดขาดแล้ว พวกไทยในแคว้นโยนกก็มีก่าลังข้ึนบ้างจึง ได้เริ่มปกครองตนเองข้ึนอีก โดยได้ช่วยกันสร้างเมืองข้ึน มีจ่านวนหลายเมือง บางเมืองได้แซกอยู่ในเขตของ อาณาจักรของพวกขอม ซึ่งเป็นเจ้าของถิ่นเดิม ในสมัยน้ันได้แบ่งเป็น 2 ภาค คือ ภาคเหนือมี “เมืองสยาม” เปน็ เมอื งสา่ คญั ภาคใตม้ ี “เมอื งละโว้” ชนชาติไทยท่ีอยู่เหนือข้ึนไปจากอาณาจักรของขอม พยายามตั้งตัวเป็น อิสระคือ อาณาจกั รไทย “โยนก”
อาณาจักรโยนก เชียงแสน อาณาจักรไทยโยนก มีกษัตริย์ไทยครอบครองติดต่อกันมาหลายสิบพระองค์ โดยพระเจ้าแผ่นดินอัน สืบสันติวงศ์ต่อเน่ืองลงมา จากพระเจ้าเจิงหัวติผู้เป็นต้นพระวงศ์จนถึงรัชกาลพระเจ้าพังคราช ทรงเสวยราช สมบัติต้ังแต่อายุ 18 พรรษา พระองค์ขึ้นครองราชย์ทรงเป็นพระเจ้าแผ่นดินที่ค่อนข้างจะอ่อนแอท้ังประจวบ กับเป็นเวลาที่เพิ่งจะก่อร่างสร้างตัวขึ้นใหม่ ๆ พอพระชนมายุ ได้ 20 ปี พวกขอมเห็นว่าพม่าไม่เอาใจใส่ใน ดินแดนท่ีได้ไว้น้ันประสงค์จะแผ่อ่านาจให้เหมือนอย่างเก่าอีกจึงคุมกองทัพข้ึนไปตีเอานครโยนกขอมด่ายกทัพ มา พระเจ้าพังคราช ได้เตรียมทัพออกรบ เพื่อประวิงเวลาในการให้ เด็ก สตรี และ คนชรา หลบหนี พร้อมท้ัง เตรียมขนย้ายทรัพย์สมบัติไปซ่อนไว้ แถวดอยตุงบ้าง แม่สายบ้าง การรบคร้ังแรก ก็ได้ ปะทะกับทัพหน้า ของ ขอมด่า พระเจ้าพังคราชก็มีชัยชนะ แต่พอทัพหลวงทัพซ้ายทัพขวาของขอมด่ามา ถึงซ่ึงก่าลังพลมากกว่าเรา กว่า 4 เท่า ในท่ีสุดพระเจ้าพังคราช ก็ยอมแพ้ พระราชบิดาและพระราชมารดาของพระองค์ต้องถูกพวกขอม เนรเทศให้ออกจากอาณาจักรโยนกไปอยู่เมืองเล็กเมืองหน่ึง เมืองนี้มีชื่อว่า “เวียงสีทวง” (ปัจจุบันอยู่ในท้องที่ อ่าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ใกล้ ๆ ชายแดนพม่าไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของบ้านปางห่าประมาณ 6 กิโลเมตร มีช่ือใหม่ว่า “บ้านเวียงแก้ว” แต่เดิมเรียกว่า “ส่ีตวง” เป็นเมืองออกของไทย ปกครองโดยพวกลัวะ ความเจ็บปวดแสนสาหัส ความทุกข์ ทรมานที่ถูกขอมด่าย่ายี อย่างโหดร้าย ลูกใคร เมียใคร ที่มันต้องการ มัน จะบังคับเอาตามอ่าเภอใจของ มัน หรือจะฆ่าจะท่าร้ายใครก็ท่าได้ เพราะ เป็นนโยบายของเจ้าขอมด่าท่ีจะ ก่าจัดคนไทยให้หมดภูมิภาคนี้เวลาผ่านไป พระมเหสีของพระเจ้าพังราช ทรงพระครรภ์ และคลอดพระราช โอรส ใหน้ ามวา่ ทกุ ขภิกข แปลว่า เกิดมาในท่ามกลางความทุกข์ เพราะ คนไทยในขณะนั้น ต้องอยู่อย่างอดทน ตา่ งกช็ ่วยกนั ท่ามา หากินพร้อมกับออกไปร่อนทอง เพื่อเป็นส่วนส่งให้ขอมด่า แม้แต่พระเจ้าพังคราชก็เสด็จไป ร่อนทองด้วยพอถึงปีท่ีต้องน่าทองค่าส่ีตวงลูกมะตูมมาส่งให้เป็นบรรณาการ นานเข้าเรียกเพ้ียนเป็นเวียง “สี่ ตวง” )
ตานานการกาเนิดพระเจ้าพรหมมหาราช สถาปัตยกรรมอาณาจักรโยนก ลา้ นนา พระยาขอมด่า(พญากลอมดา่ ) เมอื งอุโมงค์คเสลาไดย้ กกองทัพยึดครองโยนกนคร คนไทยต้องตกอยู่ใต้ อ่านาจของพระยาขอมด่าได้รับความกดข่ีข่มเหง จากเจ้านายขอมต่างๆ นานา ทั้งดูถูก ดูหมิ่นเหยียดหยามคน ไทย เป็นการบีบคั้น ทางจิตใจ คนไทยอย่างรุนแรง ตามต่านานสิงหนวัติได้กล่าวไว้ว่า ได้มีสามเณรเมืองส่ีตวง องค์หน่ึง ซ่ึงมีอายุได้ 19 ปี พักอาศัยอยู่วัดแห่งหน่ึง ในเวียงโยนก เช้าวันหน่ึงสามเณรองค์นี้ได้ออกบิณฑบาต ได้เข้าไปในคุ้มของพญาขอม สามเณรได้ไปยืนหยุดอยู่ เม่ือพญาขอม ได้เห็นสามเณร เข้าถึงในคุ้มของตน ก็ได้ สอบถามพวกไพร่ฟ้าที่เฝ้าประตู พวกไพร่ของพญาขอมก็ตอบว่า สามเณรองค์นี้เป็นพวกไทย จากเวียงส่ีตวง พญาขอมได้ฟงั ดังนนั้ ก็โกรธเป็นอนั มาก และได้กล่าวปริภาษ ด้วยค่าหยาบช้า ว่า “เณรเป็นคนเมืองไพร่เท่าน้ัน หาควรที่จะเข้ามารับบิณฑบาต ในบ้านของท้าวพญาขอม อันย่ิงใหญ่ไม่” แล้วจึงร้องบอกให้ไพร่ทั้งหลายว่า “สามเณรเป็นลูกคนเมืองส่วย พวกสูทั้งหลาย อย่าเอาข้าวของกูไปใส่บาตรให้มันเลย”สามเณรได้ฟังพญาขอม ว่าดังนั้นแล้ว ก็เกิดความน้อยอกน้อยใจเป็นอันมาก และพร้อมกันนั้น ก็เกิดทิฏฐิมานะ คิดหาหนทางท่ีจะตอบ แทน ความหยาบช้าของพญาขอมให้จงไดค้ ดิ แล้วกเ็ ดนิ ออกจากคุ้มพญาขอม เมื่อเดินถึงกู่แก้ว จึงยกเอาอาหาร บิณฑบาต ทต่ี นได้มาจากบา้ นอื่น ถวายเป็นพุทธบชู าแด่พระธาตุ แลว้ กไ็ ด้ต้ังจิตสัจจะอธิษฐานว่า “ด้วยเดชบุญ กุศล ที่ข้าได้ประพฤติปฏิบัติ ในธรรม ของพระพุทธเจ้า จะเป็นด้วย ศีล สมาธิ ปัญญา ภาวนากุศล จงดล บันดาลใหข้ า้ จงจตุ ิ (ตาย) จากโลกน้ี ภายใน 7 วันเถิด แลว้ ขอใหข้ ้า จงได้ไปเกิดในครรภ์ ของนางเทวี มเหสีเจ้า เมอื งเวยี งสตี่ วง (พระเจ้าพังคราช) และเมื่อหากว่าข้าได้เกิดมาแล้ว ขอให้ผู้ข้ามีรูปอันงาม มีก่าลังอันกล้าแข็งมี อายุยั่งยืนนาน เป็นท่ีรักของเจ้าเมืองเวียงส่ีตวง ผู้เป็นพระบิดา เม่ืออายุข้าได้ 16 ปี ขอให้ข้าได้รับชัยชนะ ใน การปราบพญาขอมดา่ ผ้โู อหงั ด้วยเหตวุ ่า พญาขอมผู้นี้ ไมร่ ู้คณุ ของพระรตั นตรัยแกว้ สามประการ”
พระธาตุดอยก่แู ก้ว เมื่อสามเณร ได้ต้ังสัจจะอธิษฐาน ต่อพระบรมธาตุดอยกู่แก้วแล้ว ก็น่ังสมาธิอยู่ใต้ต้นไม้ต้นหน่ึง ไม่ ยอมฉันข้าวและนา้่ ครัน้ ล่วง 7 วนั สามเณรองคน์ ี้ก็ได้ถงึ แก่มรณภาพ ด้วยสัจจวาจา ดวงวิญญาณ ของสามเณร ก็ได้ไปถือปฏิสนธิ ในครรภ์ของพระนางเทวี มเหสีของพระเจ้าพังคราช ส่วนพระนางเทวี ในราตรีนั้นกาลคืน นั้น ขณะที่พระนางทรงบรรทมอยู่ พอใกล้สว่าง ก็ทรงสุบินนิมิตรว่าได้เห็นช้างเผือกตัวหน่ึง มายืนอยู่ใกล้ พระองค์ แล้วเดินผ่านเขา้ ไปในเวยี งทางทิศใต้ เมอ่ื พน้ เวยี งออกไปแล้ว ได้ว่ิงไล่คนทั้งหลาย ฝูงชนได้แตกต่ืนหนี กันเปน็ ว่นุ วาย เมอ่ื พระนางสะดงุ้ ตนื่ ขนึ้ จงึ ได้ทรงเล่านิมิตรนี้ ให้พระราชสวามีฟัง พระเจ้าพังคราชทรงท่านาย ว่า จะมีผ้มู ีบญุ มาเกิดในครรภ์ของพระนาง ตั้งแต่นตี้ ่อไปขอใหพ้ ระนางจงรักษาพระครรภ์ไวใ้ หด้ ีเถิด มีต่านานกล่าวว่า ท้าวโกสีสักเทวราช คือ พระอินทร์ ทราบว่า กรรมเก่าของพระเจ้าพังคราช และ ราษฎรคนไทยได้สลายตัวแล้ว จึงแปลงกายเป็นเด็กอายุประมาณ 12 ปี เดินมาจากป่าตรงไปหา พระเจ้า พังคราช ทีแรกบรรดาประชาชนก็กันไว้ แต่พระเจ้าพังคราชบอกว่าอย่ากัน \"จะเป็นใครมาจาก ไหนก็ตามเรา ถือว่า เป็นคนเหมือนกัน เราจะต้องอยู่ร่วมกันได้\" แล้วเด็กคนนั้นก็เข้าไปหาพระเจ้าพังคราชแนะน่าวิธีท่าทอง โดยบอกส่วนผสม ที่ใช้ในการหลอมท่าทอง คือ แร่เพรียงไฟ ดีบุก แร่ทอง แดง สารปากนกแก้ว และสารอีก ชนดิ หน่ึง (ขอปดิ ไว้) พร้อมบอก สถานทม่ี ีสารแร่เหล่าน้ี และท่าให้ดูเป็น ตัวอย่าง จะได้ทองค่า 100%หลังจาก
น้ันพระเจ้าพังคราช และราษฎรคนไทยก็มีความเป็นอยู่ดีข้ึนผ่านไป 3 ปี ในขณะนั้น \"ท้าวผกาพรหม\" ได้ไป เรยี ก \"สพั เกศีพรหม\" บอกว่า ขณะนค้ี นไทยล่าบากอยู่ ท่านจะมาเสวยสุข อยู่เฉพาะผเู้ ดียว โดยไม่เหลียวแลคน ไทยท่ีอยู่ข้างหลังไม่เป็นการสมควร ท่านควรจะ ลงไปเกิดเป็นลูกชายพระเจ้าพังคราช แล้วช่วยกู้ชาติไทย ให้ ปลอดภัยจากความเป็นทาสหลังจากน้ัน ท้าวผกาพรหมก็ประกาศว่า มีพรหมองค์ใดท่ีนับถือ พระพุทธศาสนา เคยเกิดเป็นคนไทยมา ก่อนจะลงไปช่วยคนไทย ก็มีพรหมอีก 250 องค์ลงไปเกิดพร้อมๆกันเป็นสหชาติ และมี พรหมอกี 3 องค์ บอกว่าจะมาช่วยไปเกิดเป็นช้างคู่บารมี พระพรหม ต่อมา สัพเกศีพรหม พร้อมด้วยพรหมอีก 250 องค์ ก็ได้มาเกิด พร้อมกันทุกองค์ ต่างมีรูปร่าง ผิวพรรณ สวยงามมาก เพราะตา่ งกม็ าจากพรหม โอรสพระเจ้าพังคราชมีนามว่า \"พรหมกุมาร\" หลังจากพรหม กมุ าร และ สหชาติทัง้ 250 ได้มาเกดิ ความอุดมสมบรู ณ์ กป็ รากฏแกป่ ระชาชนชาวไทย พระเจ้าพรหมมหาราชประสูติ ขณะที่พระมเหสีทรงครรภ์ราชโอรสองค์น้ีได้ 7 เดือน ได้กราบทูลพระสวามีว่า ขอให้น่าเอาศาตราวุธ มาให้ดูว่ามีอะไรบ้าง ท่ีใช้ในราชการสงคราม พระสวามีก็แสวงหามาตกแต่งไว้ในห้องให้พระมเหสี ทอดพระเนตรทกุ วันคร้นั พระครรภ์ครบถว้ นทศมาส พระนางกป็ ระสตู พิ ระกุมารในวันอาทิตย์ แรม 8 ค่า เดือน 6 เหนอื (คอื เดอื น 4 ใต)้ ปมี ะเส็ง พ.ศ. 1461
\"....ยามรุ่งแจ้ง ครรภ์นางเต็มทศมาสได้ 10 เดือนแล้ว นางก็ประสูติได้ลูกชายผู้หนึ่งเกิดมามีวรรณะ ผุดผ่อง สิรโิ ฉมงดงาม ดงั พรหม เน้ือตนอนั หมดจดหามลทนิ มไิ ด้ เป็นดง่ั ล้างไวส้ ะอาดแล้ว คร้ังนั้นญาติท้ังหลาย ฝูงอันมีอยู่ในบ้านศรีทองนั้น และเสนาอ่ามาตย์พราหมณ์ปุโรหิตก็มารับเอาแล้วเบิกบายนามกร เอานิมิตอัน งามเหมอื นดั่งพรหมมาเกดิ น้นั จึง่ ใสช่ ่อื ว่า พรหมกุมาร นน้ั แล เม่อื ทรงเจรญิ วยั พรหมกุมารก็ข้ึนใหญ่มาได้ 7 พรรษา หาพญาธิโรคา พระราชบิดาได้ทรงให้พระองค์ เข้ารับการศึกษา จากครูอาจารย์ท่ีมีวิชาความรู้ ทางศิลปศาสตร์ และวิชาพิชัยสงคราม พระองค์ทรงเป็นผู้มี จิตใจกล้าหาญสามารถเรียนศิลปศาสตร์ จากครูบาอาจารย์ได้อย่างว่องไว สามารถใช้อาวุธ และต่าหรับต่ารา พิชัยสงคราม ได้เป็นอย่างดี พระเจ้าพังคราชพระราชบิดา ได้ทรงค้นหาครูบาอาจารย์ ผู้ทรงความรู้ทางพิชัย สงคราม และพระฤาษีผู้ทรงวิชาด้วยอิทธิฤทธิ์ ให้พระกุมารได้ศึกษาอบรม จนพระราชกุมารได้ศึกษาจนจบ ทรงมฝี ีพระหตั ถ์ อนั เขม้ แข็ง ยากทีจ่ ะหาผทู้ เี่ สมอเหมือนในยคุ นัน้ พระเจ้าพรหมมหาราชสุบนิ นมิ ิตฝนั เม่ือพรหมกุมารทรงพระเจริญวัยข้ึนมีพระชนม์ 13 พรรษา คืนหน่ึงทรงพระสุบินว่ามีเทวดามาบอก พระองค์วา่ ถ้าอยากไดช้ ้างเผอื กคู่พระบารมีส่าหรบั ทา่ ศกึ สงครามแล้วไซร้ วนั พรุง่ น้ตี อนเช้าก่อนดวงอาทิตย์ข้ึน ใหอ้ อกไปทฝี่ ่ังแม่น้่าโขง แล้วคอยดูจะมีช้างเผือกล่องน้่ามาตามแม่น้่าโขง 3 ตัวด้วยกัน ถ้าจับได้ตัวใดตัวหนึ่งก็ จะใช้เป็นพาหนะท่าศึกสงคราม ถ้าจับได้ตัวที่หนึ่งจะปราบได้ท้ังส่ีทวีป ถ้าจับได้ตัวท่ีสองจะปราบได้ท่ัวชมพู ทวีป ถ้าจับได้ตัวที่สามจะดินแดนแคว้นล้านนาไทยได้ท้ังหมด ส้ินสุบินนิมิตแล้ว เจ้าพรหมราชกุมารต่ืนจาก บรรทม ไม่ทันสรงพระพักตร์ไปเรียกมหาดเล็กของท่าน ซึ่งเป็นลูกทหารแม่ทัพนาย กองจ่านวน 50 คน ให้ไป ตัดไม้รวกเปน็ ขอตามคา่ เทวดาบอก ให้ใช้ขอไม้รวกและเกาะคอชา้ งจะได้ลากข้ึนฝั่ง แล้วพากันไปท่ีฝ่ังแม่น่้าโขง พอได้สักครู่ใหญ่ ๆ ท้องฟ้าก็สว่าง ในขณะน้ันมีงูใหญ่ตัวหนึ่งสีเหลืองตัวใหญ่โตประมาณ 3 อ้อม ยาว 10 กว่า
วา ลอยมาตามแม่น่้าโขง เข้ามาใกล้ฝั่งที่พระองค์และมหาดเล็กอยู่น้ัน เจ้าพรหมราชกุมารและมหาดเล็กเห็น เข้าก็ตกใจกลัวมิอาจเข้าไปใกล้ได้ เจ้างูนั้นก็เลยล่องผ่านไป พออีกสักครู่ใหญ่ ๆ ก็มีงูลอยตามน้่ามาอีกแต่ตัว เลก็ กว่าเกา่ ขนาดกส็ ั้นกวา่ ตัวเกา่ เปน็ งอู ย่างเดียวกันก็ลอยล่องไปอีก เจ้าพรหมราชกุมารไม่กล้าท่าอะไร พอตัว ทส่ี องน้ีผ่านไปได้ครู่ใหญ่ ๆ กน็ ึกว่าเทวดาบอกว่าจะมีช้างเผือกลอยมา 3 ตัว ไม่เห็นช้างเผือกลอยมาสักตัวเห็น แตง่ ลู อยมาสองตวั แล้ว ถา้ หากวา่ มีอีกตัวหนึง่ ต้องเป็นช้างเผอื กแน่ ตัวที่สามนี้อยา่ งไรก็ต้องเอาละเพราะเป็นตัว สุดท้ายแล้ว พอเจ้างูตัวท่ี 3 ลอยมา เจ้าพรหมก็ลงน้่าและบุกน่้าลงไป ไปถึงก็เอาไม้รวกเกาะคองูน้ัน พอขอไม้ รวกเกาะคองู งูก็แปรสภาพเป็นช้างเผือกทันที มหาดเล็ก 50 คน ก็ช่วยกันเอาขอไม้รวกเกาะคอช้างจะเอาข้ึน ฝั่งท่าอย่างไรมนั ก็ไม่ยอมข้นึ ฝ่งั เดนิ ไปเดนิ มา อยู่ในน่า้ นน่ั เอง เจ้าพรหมราชกุมาร ก็ใช้ให้มหาดเล็กไปกราบทูล พระราชบิดาว่าไดช้ ้างเผอื กแล้ว แต่ไมย่ อมขึ้นฝั่ง เมื่อพระเจ้าพังคราชทรงทราบเช่นนั้นก็เรียกโหรหลวงมาถาม โหรหลวงก็ทลู วา่ ใหเ้ อาทองคา่ ประมาณยส่ี ิบต่าลงึ มาตีพางทองอันหนึง่ (พางคอื ระฆงั หรือกระดิง่ ผกู คอช้าง) พางกระดิ่งผูกคอชา้ ง ทรงรังสงั่ ให้พระราชโอรสองค์ใหญเ่ อาพางไปท่ีฝั่งแม่น่้า และเอาไม้ตีพางทองเข้าพอพางทองดังช้างจะ ข้นึ ฝ่ังเอง พระเจ้าพังคราชกม็ รี ับส่งั ให้ทา่ พางทองขึ้นและน่าไปที่ฝ่ังแม่น่้าโขง และไม้เคาะท่ีพางทองก็มีเสียงดัง เหมือนระฆัง ช้างก็ขึ้นมาจากฝ่ัง เจ้าพรหมกุมารก็น่าช้างเข้าเมือง พระราชบิดาก็สร้างโรงช้างเผือกเข้าเล้ียง บ่ารุงไว้ท่ีน่ัน ช้างก็เลยได้ชื่อว่า “ช้างเผือกพางค่า” เมื่อช้างเผือกพางค่าจะไปไหน จะเข้าป่า ก็ไม่มีสัตว์ตัวใด กล้าท่าร้าย ชา้ งป่าก็ เขา้ มาเป็นบริวารมากมายโดยไมต่ ้องไปต่อหรือไปดึงมา ต่อมาเจ้าพรหมกุมารก็ได้โปรดให้
สร้างเมืองข้ึนท่ีน่ัน โดยขุดคูเอาน้่าจากแม่น่้าสายมาเป็นคูเมืองและให้ชื่อว่า “เมืองพานค่า” ( ต้ังอยู่ริมแม่น่้า สายตรงท่ีส่านักงานไร่ยาสูบ อ.แม่สายในปัจจุบัน ) และทรงใช้เวียงพานค่านี้เป็นแหล่งชุมนุมไพร่พล เพราะ เวียงพานคา่ มีอาณาเขตเป็นท่รี าบกวา้ งอดุ มสมบรู ณด์ ว้ ยพืชพนั ธธ์ุ ัญญาหารเหมาะแกก่ ารประชุมพล การก้เู อกราชประกาศอิสรภาพจากขอมดา พระบรมราชานุสาวรียพ์ ระเจา้ พรหมมหาราช วัดทา่ ซุง จงั หวัดอุทัยธานี เมื่อพระเจ้าพรหมมหาราชอายุได้ 16 ปี ด้วยความปรารถนาอย่างแรงกล้าของพระองค์ในที่จะปลด แยกอาณาจักรโยนกออกจากการปกครองของพวกขอมพระองค์ได้กราบทูลพระราช บิดาว่า \"ต่อไปน้ีเราจะไม่ เป็นผู้แพ้ ดินแดนของเราอยู่เพียงไหน เราจะยึดเอามาให้หมด แล้วจะยึดพ้ืนที่อีกไม่น้อยกว่า 4 เท่า\"พรหม กุมารก็เริ่มสะสมอาวุธ ฝึกการรบ เตรียมไพร่พล เพ่ือกู้เอกราช เม่ือเตรียมการเสร็จก็ได้งดส่งส่วย ให้ขอมด่า เม่ือขอมด่ารู้ว่า คนไทยงดส่งส่วย แสดงว่า แข็งเมือง จึงยกทัพมาตี ฝ่ายไทยเตรียมพร้อมอยู่ แล้วจึงจัดทัพ ออกไปรบทันที ในขณะที่ท่าศึก พรหมกุมาร ก็ได้กราบทูลพระราชบิดา ขอเป็นกษัตริย์ชั่วคราว เพ่ือสะดวกใน การออกค่าส่ัง การสงครามระหว่างไทยกับขอมด่าก็เร่ิมข้ึนอีกคร้ังหนึ่ง พระยาขอมด่าจึงด่ารัสสั่งให้ระดมพล ด่วน ข่าวน้ีทราบมาถึงพรหมกุมาร จึงรวบรวมพลไว้ประมาณหน่ึงแสนคน ยกออกจากเวียงพานค่า ไป ประจนั หนา้ กับทัพขอมท่กี ลางท่งุ สนั ทราย \"....คร้ังนั้น พระยาขอมด่าปรารถนาจักต่อรบกับพรหมกุมาร ก็ไปทันรบช้างท่ีน่ัน พระยาขอมด่านั้นก็ เห็นช้างมงคลพานคา่ ในทน่ี นั้ อันพรหมกุมารเจา้ ข่ีอย่นู น้ั พระยาขอมด่ากม็ คี วามสะดุ้งตกใจหว่ันไปทั้งตัว แล้วก็ หนั หน้ากลับดน้ วิง่ ไปครั้งนั้น หมชู่ า้ งแห่งพระยาขอมด่าท้งั หลายก็แตกต่ืนเหยียมย่าหัวขอมด่าท้ังหลายตายมาก
นัก แตกกระจดั กระจายพ่ายหนีไปสเู่ สียง ส่วนพระเจ้าพรหมกุมารก็ขช่ี ้างพาคนหาญเลยไปก่าจัดขอม ไปตลอด ถึงเวียงโยนกนครน้ันแล พระยาขอมด่าก็พาลูกน้องเข้าไปในเวียง แล้วปิดประตูเวียงเสียทุกแห่ง คร้ันพรหม กุมารเจ้าก็ไสช้างพานค่าเข้าแทงประตูเวียงทะลุ เข้าไปก่าจัดขับไล่พระยาขอมในเวียงท่ีนั้น ผู้คนบ่าวไพร่แห่ง พระยาขอมด่ากฉ็ บิ หายตายมากนักแล....\" ศึกคราวน้ีขอมพ่ายแพ้ พระองค์จึงยกกองทัพใหญ่ ไล่จับพวกขอมที่เป็นชายฆ่าเสียเกือบหมด พวกท่ี รอดตายไปได้ คือพวกที่มาทางใต้ พระเจ้าพรหมฯ ตั้งพระทัยที่จะท่าลายพวกขอมให้หมดสิ้น เป็นการขับไล่ ชนิดที่เรียกว่า “กวาดล้าง” เพราะพวกขอมมีหลายหัวเมืองด้วยกัน เช่น เมืองหริภุญชัย เมืองสุโขทัย เมือง ละโว้ เมอื งศรีสัชชนาลัย ด้วยการรบอยา่ งรุนแรง เพ่อื จะขจัดอทิ ธิพลของพวกขอมน่นั เอง การรบแม้ไทยมีก่าลังน้อยกว่าถึง 4 เท่าแต่การรบคร้ังนี้ ก่าลังใจของคนไทยแข็งแกร่งมากเพราะการ รบ คร้งั น้ี รบเพอื่ หวงั ประโยชนส์ องอย่าง คือ 1.รบเพอื่ หวงั อสิ รภาพ ไทยต้องเปน็ ไท 2.รบเพื่อขับไล่ขอมด่าให้ออกไปนอกเขตไทย ในท่ีสุด พระเจ้าพรหมมหาราช และสหชาติ ใช้กลยุทธ ต่าง ๆ ในการรบ จนสามารถขับไล่ขอมออกไปจากเขตแดน ไทยได้ แต่ในการไปตีเมืองขอม พระมเหษีของ พระองค์ ซ่ึงได้ออกรบด้วย ได้ถูกขอมฆ่าเสียชีวิต ท่าให้พระเจ้าพรหมกุมารโกรธแค้นขอมมาก ได้ไล่ล่าฆ่าขอม เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จึงหยุดพักทหารแล้วจึงเคล่ือนทัพ ไล่ฆ่าขอมต่อขึ้นช่ือว่าขอมจะต้องไม่มีชีวิตอยู่ ไล่ไป จนถงึ เมืองกา่ แพงเพชร เมอื งวชริ ปราการ กาแพงเพชร ในอดีต ในต่านานโยนกจงึ ได้กล่าวถึงปาฏิหาริย์ที่จะยับยั้งมิให้พระองค์ท่าการรุกไล่พวกขอมต่อไปว่า ร้อนถึง พระอินทรเ์ จา้ สวรรค์ชน้ั ดาวดึงสเ์ ลง็ ทพิ ยเ์ นตรมาเห็น ถ้าไม่ไปช่วยไว้ ขอมจะต้องตายหมด ชีวิตมนุษย์ก็จะเป็น
อันตรายมากจ่าต้องช่วยป้องกันไว้ จึงมีเทวองค์การส่ังให้พระวิศณุกรรมเทพบุตรลงไปเนรมิตรก่าแพงแก้ว ก็ หยุดเพียงแค่น้ัน ไม่ได้ไล่ตามต่อไป ท่ีต้ังก่าแพงแก้วนี้ ต่อมาเกิดมีเมืองข้ึนเมืองหนึ่งมีช่ือว่า “เมืองวชิร ปราการ” แปลตามพยัญชนะวา่ “ก่าแพงเพชร” คอื จงั หวดั ก่าแพงเพชรในปจั จบุ นั นี้ พระบรมราชานสุ าวรียว์ ดั พระเจา้ พรหมมหาราช (วัดป่าไม้แดง) ข้อความในต่านานนี้พอจะสันนิษฐานได้ว่าเมื่อพระเจ้าพรหมลุกไล่พวกขอมลงไปทางใต้เป็นระยะ ทางไกลพอสมควรแลว้ ทรงเหน็ วา่ พวกขอมท่ีแตกพ่ายไปอย่างไม่เป็นกระบวนนั้น คงไม่สามารถที่จะรวมก่าลัง ยกกองทัพมารวบกวนได้อีก และประกอบกับบรรดาไพร่พลของพระองค์อิดโรยอ่อนก่าลัง เพราะท่าการสู้รบ ตดิ พนั กนั เปน็ เวลานานถงึ 1 ปเี ศษ ได้อาณาเขตกว้างขวางมากอยู่พอแลว้ มพี ระราชประสงค์จะหยุดพักไพร่พล เสียบ้างจึงได้ยกกองทัพกลับมายังบ้านเมือง คืออาณาจักรโยนกนคร คร้ันพระเจ้าพรหมเสด็จมาถึงโยนกนคร แล้วก็ทรงอัญเชิญให้พระเจ้าพังคราชพระราชบิดาเสด็จข้ึนครองราชย์สมบัติในนครโยนกตามเดิมและให้เจ้า ทขุ ติ ราชกมุ ารพระเชษฐาเป็นมหาอุปราช แต่ทรงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “เมืองชัยบุรี” เพราะว่าที่ตีมาน้ีได้ชัยชนะ ( บางทเี รียกว่า “ชัยบรุ เี ชยี งแสน” หรอื ไมก่ ็เรียกว่า “เมืองเชียงแสนชัยบุรี” ) นอกจากน้ันพระเจ้าพรหมฯ กับ พระราชบิดายังช่วยกันสร้างพระเจดีย์ขึ้นแห่งหน่ึงในราชอาณาจักร พระเจดีย์ที่ทรงสร้างขึ้นในประวัติศาสตร์ เรียกว่า “เจดีย์จอมกิตติ” (เด๋ียวนี้เรียกว่าพระธาตุจอมกิตติ เป็นเจดีย์องค์ใหญ่ประดิษฐานอยู่บนเขาสูงบนฝ่ัง น้่าแม่โขง ห่างจากท่ีว่าการอ่าเภอเชียงแสนปัจจุบันไปทางซ้ายมือประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นปูชนียสถานท่ี ส่าคัญเป็นท่ีกราบไหว้ของคนท่ัวไป) ฝ่ายพระเจ้าพรหมกุมาร เมื่อทรงปราบพวกขอมสงบราบคาบแล้ว ได้ยก
เมืองคืนให้พระเจ้าพังคราช พระราชบิดา มาครองเมืองเชียงแสนต่อไป หลังเสร็จศึกพระองค์จึงทรงประกาศ อิสรภาพของชาติไทย ใน พ.ศ. 1497 ซ่ึงเป็นเวลาภายหลังที่อาณาจักรโยนกหรือโยนกนาคพันธ์ ต้องตกอยู่ ภายใต้อ่านาจของขอมมาเป็นเวลา 20 ปีพระเจ้าพังคราช ทรงรักใคร่พระเจ้าพรหมกุมารเป็นอย่างมาก แล้ว ทรงยกเมืองเชียงแสน ให้พระเจ้าพรหมกุมาร ทรงครอบครองต่อไป แต่พระเจ้าพรหมกุมารไม่ทรงรับ พระเจ้า พังคราช จะทรงตัง้ ให้เปน็ มหาอปุ ราช พระเจ้าพรหมกุมารก็ไม่ทรงรับอีก กราบบังคมพระราชบิดาว่า ขอให้ยก พระเชษฐาธิราช คือ เจ้าฟ้า “ทุขิตกุมาร” ขึ้นเป็นมหาอุปราชเถิด พระเจ้าพังคราชในเม่ือเห็นว่า ความต้ัง พระทัยของพระราชโอรสน้อย เป็นอย่างนั้น จึงทรงได้ปฏิบัติตามความประสงค์ ของพระเจ้าพรหมกุมาร คือ ทรงตง้ั เจ้าฟ้าทุขติ กมุ าร เป็นมหาอปุ ราช พระเจ้าพรหมมหาราชครองเมืองไชยปราการ พระเจา้ พรหมกมุ ารทรงคดิ ในอนาคต ไปข้างหนา้ วา่ เม่ือพวกขอมไดป้ ราชยั พา่ ยแพไ้ ปแล้ว ในภายหลัง พวกขอมอาจจะคดิ การแก้แค้นอีกก็เป็นได้ พระเจ้าพรหม จึงได้กราบถวายเร่ืองราว ให้พระราชบิดาทรงทราบ แล้วกราบลา พาเอาไพร่พล พร้อมทั้งช่างทั้งหลาย มีช่างตีเหล็ก ช่างทอง ช่างไม้ บัณฑิตผู้มีปัญญา พร้อมทั้ง พระสังฆมหาเถร อพยพไปทรงต้ังเมืองใหม่ข้ึน ทางทิศตะวันตก ของเมืองเชียงแสน เมืองนี้ตั้งอยู่บนฝั่งของ แม่น่้าฝางตอนบน ทรงเห็นเป็นท่ีท่าเลเหมาะดี ก็ทรงสร้างนครข้ึนท่ีนั่นทรงสถาปนาเมืองน้ีว่า “เมืองชัย ปราการ ” ซ่ึงได้มีซากเมือง ปรากฏอยู่ในปัจจุบันนี้ การที่พระองค์ทรงสร้างเมืองชัยปราการน้ีขึ้นก็เพื่อจะให้ เป็นเมอื งหนา้ ด่าน เพอ่ื ป้องกนั ขา้ ศกึ ท่ีจะมาทางทศิ ตะวันตกของเมืองเชียงแสน เมืองเก่าไชยปราการ
จึงทรงสร้างเมืองข้ึนอีกแห่งหนึ่ง ทรงขนานนามว่า “ไชยปราการ” และทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็น กษัตรยิ ์ มเี มอื งชะเลียง (สวรรคโลก) เป็นเมอื งหนา้ ด่านใต้ ประชิดอาณาเขตขอม และทรงสถาปนาเมืองหริภุญ ไชย ซึง่ เคยเปน็ ของละว้าและขอมมาก่อน เปน็ หัวเมืองเอก ในรัชสมัยพระเจา้ พรหมมหาราชเสด็จมาครองราชย์ สมบตั ิ ณ เมืองไชยปราการนน้ั แว่นแคว้นโยนก แบ่งออกเปน็ 4 มหานคร คือ เมืองโบราณเชียงแสน ไชยบุรีเชียงแสน เป็นราชธานี ภายหลังได้จมลงสู่พ้ืนธรณีในสมัยพระเจ้าไชยมหาชนะ หรือพระเจ้า มหาไชยชนะทรงครองราชสมบตั ิอยู่ ปัจจบุ ันอยู่ในทอ้ งทีท่ ่าขา้ วเปลอื ก ไกลจากที่ว่าการอ่าเภอเชียงแสนไปทาง ทศิ ตะวันออกเฉียงใต้ ระยะทาง 112 ก.ม. เวยี งไชยนารายณ์ คือทอ้ งท่อี า่ เภอเมืองเชียงรายในปจั จุบนั น้ี เวียงไชยปราการ อยู่ท่ีอา่ เภอฝางมาทางทิศใต้ระยะทางประมาณ 32 ก.ม (โปรเฟสเซ่อรแคมแมน นัก ส่ารวจโบราณวัตถุแห่งมหาวิทยาลัยมลรัฐเพ็นซิลวาเนีย อเมริกา ให้ข้อสันนิษฐานว่า เมืองไชยปราการท่ีพระ เจ้าพรหมมหาราชทรงสร้างข้ึนน้ันมิใช่ตัวเมืองฝางปัจจุบันนี้ แต่เป็นเวียงริมน่้าฝางทางทิศตะวันออก อยู่ใน ท้องที่ต่าบลแม่งอน ทางทิศใต้ของอ่าเภอฝาง ยังปรากฏรากก่าแพงเมือง ซุ้มประตู และซากพระราชฐาน พระราชวังอยโู่ ดยชัดแจง้ ส่วนตัวเมืองฝางนนั้ เปน็ เมอื งทสี่ รา้ งขนึ้ ใน) เวียงพานค่า ตงั้ อยู่รมิ ฝ่ังแม่นา่้ สาย ในเขตอา่ เภอแมส่ าย จงั หวดั เชยี งราย ในปจั จบุ นั น้ี ในคร้ังน้ัน แว่นแคว้นโยนกนับว่ามีก่าลังแข็งแรงมาก พระเจ้าพรหมมหาราช ได้ทรงวางก่าลังป้องกัน พวกขอมไวอ้ ย่างแขง็ แรง จนพวกขอมไม่ยกกองทัพมารบกวนอกี ตลอดรัชสมยั ของพระองค์
สิ่งศักด์สิ ทิ ธป์ิ ระจาเมือง พระเจ้าพรหมมหาราช พญาขอมได้ครองเมืองเชียงแสน นานได้ 17 ปีก็หมดอ่านาจแล้วก็หนีลงทางใต้ ไม่กลับมารุกรานไทย อีก ตลอดสมัยพระเจ้าพรหมมหาราช ครั้นทรงสร้างเมืองชัยปราการ เสร็จเรียบร้อยแล้วประมาณ 3 ปี พระ พุทธศักราชล่วงได้ 949 ปี (ตามบันทึกของกรมศิลปากร ว่า พ.ศ.1483) มีพระมหาเถระองค์หน่ึง ช่ือว่า พระ พุทธโฆษาจารย์ เป็นชาติมอญ มีบ้านเดิมอยู่เมืองสะเทิม (พม่าเรียกว่า ตะโถ่ง) อยู่ใกล้กับเมืองเมาะล่าเลิง ประเทศพม่า พระพุทธโฆษาจารย์นี้ ท่านได้ออกจากเมืองมอญ ลงส่าเภาไปศึกษาพระพุทธศาสนาในประเทศ ลังกา มีความรู้พระพุทธศาสนา จบพระไตรปิฏกอย่างแตกฉาน ก็ได้กลับมาสู่ประเทศของตน ท่านได้เผยแผ่ พระพุทธศาสนา ในประเทศมอญ และประเทศพม่าตามล่าดับ แล้วได้เดินทางเข้ามาในเมืองสุโขทัย ล่าดับมา จนถงึ เมอื งโยนก ถงึ เมืองเชียงแสน ในสมัยพระเจ้าพงั คราช นอกจากพระพทุ ธโฆษาจารย์ จะนา่ พุทธศาสนา มา เผยแผ่ในนครโยนกแล้ว ท่านยังได้อัญเชิญพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้ามาด้วย 16 องค์ เป็นอัฏฐิหน้าผาก มี ขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ได้แบ่งพระบรมธาตุขนาดใหญ่ 1 องค์ ขนาดกลาง 2 องค์ และขนาดเล็ก อีก 2 องค์ ถวายแกพ่ ระญาเรอื นแกว้ สว่ นทเ่ี หลอื ได้ถวายแก่พระเจ้าพังคราช พระเจ้าพังคราชได้น่าพระโกฏเงิน พระโกฏ ทอง และพระโกฏแก้ว มารองรับพระบรมธาตุท้ัง 11 องค์น้ัน ทรงมอบให้พระเจ้าพรหมมหาราช น่าไป ประดิษฐาน ก่อพระเจดีย์ไว้ที่บนดอยน้อยหรือจอมกิตติ ซ่ึงเป็นดอยที่ พระพุทธเจ้า ทรงประทานเกษาธาตุ บรรจไุ วก้ ่อนแลว้ ในสมัยโนน้ พระธาตุจอมกติ ติ
พระเจ้าพรหมราชให้ชา่ งก่อพระเจดีย์ชน้ึ กว้าง 3 วา สงู 6 วา 2 ศอก บนดอยจอมกิตติ พระเจดีย์แล้ว เสร็จ ในวนั จันทร์ เดอื น 6 เพ็ญ พ.ศ.1483 โดยบริบรู ณ์ ได้ใหม้ ีการท่าบุญฉลองอย่างมโหฬาร ทรงบ่าเพ็ญพระ ราชกุศล ถวายมหาทานแก่ประชาราษฎร์ เป็นการมหาปางอันยิ่งใหญ่ พระพุทธศาสนาก็ได้เจริญรุ่งเรืองใน เมืองเชียงแสน โดยเฉพาะในสมัยพระเจ้าพรหมมหาราชนี้ ได้เกิดศิลปกิจกรรม ในสร้างพระพุทธรูปด้วยทอง ส่าริด ซ่ึงเรียกว่า ศิลปกรรมสมัยเชียงแสน เมื่อพระเจ้าพรหมมหาราช ได้สร้างเจดีย์จอมกิตติส่าเร็จเรียบร้อย แล้ว พระองค์เสด็จกลับ นครชัยปราการ พระองค์ได้ให้ช่างก่อพระเจดีย์ข้ึน ณ บนดอยพระธาตุสบฝาง หลงั จากได้สรา้ ง เมืองชยั ปราการเสร็จแลว้ 4 ปี พระองค์ได้น่าเอาพระบรมธาตุที่ทรงแบ่งไว้ จากการสร้างพระ ธาตดุ อยกิตติ ไดน้ า่ มาบรรจุไวท้ ่เี จดยี ์วัดพระธาตุสบฝางน้ี นอกจากนี้ พระองคย์ ังได้ให้ช่าง หล่อพระพุทธรูปข้ึน ดว้ ยทองส่ารดิ เปน็ จ่านวนมาก ไดน้ ่าไปถวายไวต้ ามวดั ท่ีพระองค์ทรงสร้าง มวี ัดสม้ สุก วัดเก้าตื้อ วัดป่าแดง วัด ดอกบุญนาคเป็นต้น ประชาชนที่นับถือพุทธศาสนา ก็พากันสร้างพระพุทธรูป ตามเจตนาของแต่ละคนเป็น จา่ นวนหลายองค์ ถวายไว้ท่ีบนพระธาตุสบฝางนั้น พระเจ้าพรหมมหาราชขึนครองราชย์ หลังจากที่พระเจ้าพังคราชเสด็จสวรรคต ราชสมบัติก็ตกเป็นของพระเจ้าทุขิตราช และเม่ือพระ ทขุ ติ ราชเสด็จสวรรคตพระราชสมบัตกิ ต็ กเป็นของพระเจ้าพรหมมหาราชพระองค์ทรงครองราชย์บัลลังก์ได้ 60 ปี พระองค์ มพี ระราชโอรสองค์เดยี ว คือพระเจ้าสิริชัยหรือชยั สริ ิ พระเจา้ พรหมมหาราชเสด็จสวรรคต วดั พระเจ้าพรหมมหาราช มีศลิ ปะการกอ่ สรา้ งทเ่ี กา่ แกส่ วยงามเปน็ ศิลปกรรมแบบล้านนา เปน็ ท่ี ประดิษฐานของอนุสาวรีย์ของพระเจา้ พรหมมหาราชผู้สร้างนครไชยปราการ ...
พวกขอมยังคงตั้งราชธานีอุปราชอยู่เมืองลพบุรีและมีเมืองใหญ่ซึ่งเป็นเมืองหน้าด่านอยู่ท่ีสุโขทัย แต่ พวกขอมยังไม่มีก่าลังพอจะข้ึนไปปราบปรามพวกไทยในลานนาและลานช้างได้ก็ต้องสงบอยู่พระเจ้าพรหมได้ ครองราชยอ์ ย่เู มืองชัยประการเป็นเวลา 59 ปี พอพระชนมายุได้ 77 พรรษากส็ วรรคตเม่ือ พ.ศ. 1538 เมื่อพระ เจา้ พรหมมหาราชเสดจ็ สวรรคตแล้วมขุ มนตรกี ็อัญเชิญพระเจ้าชัยสิริราชโอรสข้ึนครองราชย์ปกครองบ้านเมือง เป็นกษตั ริยน์ ครไชยปราการ อันดบั ท่ี 2 สบื แทนตอ่ มา พระเจ้าพรหมมหาราช พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ประเสริฐ กู้เอกราชโยนกนครพ้นทาส ขอม ทังได้ทานุบารุง บ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองขึนกว่าแต่ก่อนทุก ๆ ด้าน เป็นอันมากทังในการปกปักษ์ รักษาบ้านเมืองให้อยู่รอด มีความมั่นคงแข็งแรงพอท่ีจะต่อสู้กับอริราชศัตรู พระองค์ทรงเสริมสร้างป้อมคู ประตหู อรบ ขยายอาณาเขตให้กวา้ งขวางยิ่งขึน ดว้ ยพระปรชี าสามารถของพระองคท์ าให้ได้รับการยกย่อง เป็นกษัตริยม์ หาราชพระองคแ์ รกของไทย ..................................................................... ข้อมูลแหล่งอ้างอิง www.chiangmainews.co.th www.lovemaesai.com/story3.htm www.m-culture.go.th www.silpa-mag.com www.sujitwongthes.com/.../พระเจา้ พรหม-“มหาราช www.thairath.co.th www.web-pra.com th.wikipedia.org/wiki/พระเจา้ พรหมมหาราช \\https://th-th.facebook.com/.../วดั ปา่ ไมแ้ ดง lek-prapai.org sites.google.com ขอขอบคุณเนือหาและภาพจากเว็บไซต์ต่างๆ
มหาราชพระองคท์ ี่ 2 พญามงั รายมหาราช (พอ่ ขุนเม็งรายมหาราช) ผเู้ รยี บเรยี งนายประสาร ธาราพรรค์ “อนึ่งควรจัดไพร่ พลดั เปลีย่ นกันอยูบ่ า้ นสรา้ งเหมอื งฝายเรอื กสวนไรน่ า ให้ไพรม่ ที ่ีทานาหากิน อย่าให้ ไพรเ่ ป็นทกุ ข์ ให้ทางานหลวง 10 วนั ทางานของตน 10 วัน กาหนดเชน่ นี้ถกู ต้องตามโบราณธรรมฯ ผ้ใู ดไมไ่ ด้ สร้างเหมืองฝายแม้แต่สกั นอ้ ย หากไปขโมยนา้ ท่าน ให้ตีหัวแตกแล้วจึงปล่อยไปหากไมเ่ ช่นนั้นให้ปรบั 190 เงนิ หากยังไปขโมยซ้าอกี ให้ฆา่ เสยี ท่ีนั้น” “มังรายศาสตร์” กฎหมายท่บี ัญญัติขึน้ โดยพญามังรายกษตั ริย์ผกู้ ่อตงั้ อาณาจักรล้านนา ท่ีให้ความสาคัญใน การจดั การน้าในระบบเหมอื งฝาย
พระราชประวัติพญามงั รายมหาราช พญามังรายมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์มังราย ผู้ก่อต้ังเมืองเชียงรายเป็นราชธานี เมื่อปี พ.ศ. 1805 เป็นโอรสของพญาลาวเม็ง ซึ่งเป็นเชื้อพระวงค์ลัวะจังกราชแห่งแคว้นจก มารดาช่ือนางเทพคาข่าย(นาง เทพคาขยายหรอื นางอัว้ มิ่งจอมเมือง) ซึ่งเป็นธิดาของท้าวรุ้งแก่นชาย เจ้านครเชียงรุ้ง แห่งแคว้นสิบสองปันนา จึงนับว่าพระองค์สืบเชื้อสายมาจากเจ้านครช้ันสูงทั้งฝ่ายพระบิดาและพระมารดา พระองค์ประสูติเมื่อวัน อาทิตย์ แรม 9 ค่า เดือนอ้าย ปีกุน เอกศกจุลศักราช 601 ตรงกับพุทธศักราช 1782 (บางตานานกล่าวว่าเป็น เดือน 3 ปีจอ) เม่ือพระมารดาแรกต้ังพระครรภ์นั้น ได้ทรงสุบินนิมิตว่าได้เห็นดาวประกายหยาดแต่ท้องฟ้า นภากาศลงมาทางทิศทักษิณ และได้รับดวงดาวนั้น โหรถวายคาพยากรณ์ว่าจะได้โอรสทรงศักดานุภาพปราบ ประเทศทักษิณจดแดนมหาสมุทร เม่ือพญามังรายพระชนมายุได้ 16 พรรษา พญาลาวเม็งพระบิดา ได้สู่ขอ พระธดิ าเจา้ เมืองเชียงเรืองมาอภิเษกกับพญามังรายแล้วทรงโปรดยกให้เป็นมหาอุปราช ต่อมาเม่ือพระชนมายุ ได้ 20 พรรษา พระบิดาได้เสด็จทิวงคต จึงได้ครองเมืองหิรัญนครเงินยางสืบแทนต่อไปตั้งแต่ พ.ศ. 1802 นับเป็นกษัตริย์องค์ที่ 25 ใน ราชวงศ์ลัวะจังกราช พระองค์ทรงรวบรวมบ้านเล็กเมืองน้อยเข้าเป็นอาณาจักร ล้านนาไทยจนเจริญรุ่งเรือง ทรงสถาปนาอาณาจักรล้านนาไทยให้เป็นปึกแผ่น และทรงสร้างความสามัคคี ระหว่างชนชาตไิ ทย
ปัญหาพระนามของพระองค์ ช่อื ใดถูกตอ้ งกันแน่ พระนามของพระองค์เป็นท่ีถกเถียงกันมาก สาหรับพระนามที่ถูกต้องของพระองค์คือ \"มังราย\" แต่ท่ีมี ปัญหาคือ คานาหน้าพระนามท่ีถูกต้องควรเป็น \"พญา\" ไม่ใช่ \"พ่อขุน\" หากกล่าวถึงพระนามท่ีถูกต้องควรเป็น \"พญามงั ราย\"ไม่ใช่ \"พอ่ ขุนเม็งราย\" การเรียกขานคานาหน้าพระนามของกษัตริย์ว่า….\"พ่อขุน.\"เป็นคตินิยมของ ทางอาณาจักรสุโขทัย แต่คตินิยมทางอาณาจักรล้านนา ไม่ปรากฎว่าเรียกขานกษัตริย์ ว่า \"พ่อขุน\"คงมีแต่. พญา..\"หรอื .ขุน .เท่านั้น แมก้ ระทงั่ ชาวไทยเขนิ รฐั เชยี งตุงและชาวไทยลื้อ รัฐสิบสองพันนาก็ใช้คาว่า..\"…พญา ..\" แทนตาแหน่งกษัตริย์ เร่ืองพญามังรายสร้างเมืองเชียงตุง พญาจ๋องเป็นปฐมกษัตริย์สิบสองพันนาในตานาน เมืองเชยี งตงุ และตานานสบิ สองพนั นาซง่ึ มหี ลกั ฐานอ้างอิง ดังน้ี 1.เหตุทีม่ ีการเรียกพระนามวา่ \"เม็งราย\"สบื เนอ่ื งมาจากพงศาวดารโยนกเขยี นโดย พระยาประชากิจกร จักรเปล่ียนพระนาม \"มังราย\"เป็น \"เม็งราย\" ท้ังๆท่ีเอกสารตานานต่างๆ ที่มีการอ้างอิง เช่น ตานานสิงหวัติ ตานานเมืองหริภุญชัย ตานานหิรัญนครเชียงแสน ตานานพิงควงศ์ชินกาลมาลีปกรณ์ ตานานเมืองพะเยา ตานานเมืองเชียงราย ตานานเมืองนาน ตานานพระธาตุดอยตุงและต้นฉบับอักษรพื้นเมือง ล้วนแล้วแต่เรียก พระนามว่า \"พญามังราย\"หรือ \"มังราย\" ท้ังส้ินไม่ปรากฏพระนาม \"เม็งราย\" หรือ \"พ่อขุนเม็งราย\" เลยสักแห่ง เดียว ไมท่ ราบเหตผุ ลใดท่พี ระยาประชากิจกรจักร จึงมาเปลย่ี นพระนามเป็น\"เม็งราย\"แต่ถึงกระน้ันในตอนท้าย ของเลม่ ในรายพระนามกษัตริย์ก็มีคาว่า.\"มังราย.\" ถึงสองแห่ง พลอยให้ผู้เขียนประวัติศาสตร์รุ่นหลังเขียนพระ นามผดิ ไปด้วย แตป่ จั จบุ นั น้ี ปรากฏวา่ หนั มาเขียนพระนาม \"มงั ราย\" ถูกต้องแล้วเป็นส่วนมาก อนึ่งพระนาม \" พ่อขุนเม็งราย\" นักเขียนประวัติศาสตร์คงจะเพิ่งใช้พระนามน้ีทีหลังจากที่หลวงวิจิตรวาทการแต่งเพลง ประวัติศาสตร์ใช้พระนามในเนื้อเพลง \"พ่อขุนเม็งราย\"แต่บัดน้ันเป็นต้นมาความผิดพลาดท่ีเกิดด้วยเหตุน้ีอีก ประการหนงึ่
อนสุ าวรยี ์สามกษตั ริย์ทีศ่ าลาวา่ การจงั หวดั เชียงใหม่พ่อขนุ รามคาแหง พญางาเมือง และพญามังราย 2. หลักฐานทท่ี างราชการถวายพระนาม \"พญามงั ราย\" ปรากฏในการสรา้ งพระบรมราชานุสาวรีย์ สาม กษัตริย์ ที่จังหวัดชียงใหม่ โดยท่ีทางราชการจังหวัดเชียงใหม่ พร้อมด้วยพ่อค้าประชาชน และข้าราชการ ได้ พร้อมใจกันร่วมทุนและดาเนินการก่อสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ พญามังราย พญาร่วง (พ่อขุนรามคาแหง มหาราช)และพญางาเมือง ซ่ึงเป็นพระสหาย ร่วมน้าสาบาน ณ บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ (หลัง เดิม) เพ่ือเป็นอนุสรณ์ท่ีพระมหากษัตริย์ทั้งสามพระองค์ ทรงร่วมปรึกษาหารือวางแผนผังสร้างเมืองเชียงใหม่ และขนานนามเมืองว่า \"นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่\" เพ่ือเป็นท่ีกราบไหว้เคารพสักการะระลึกในพระมหา กรุณาธิคุณ และทางราชการจังหวัดเชียงใหม่ ได้จารึกพระนามไว้ท่ีฐานพระบรมราชาอนุสาวรีย์ว่า \"\"พญามัง ราย\"(เม็งราย) พญาร่วง \"พ่อขุนรามคาแหงมหาราช\" และ \"พญางาเมือง\" ท้ังได้อัญชิญพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวสมเด็จพระบรมราชินีนาถมาทรงประกอบพระราชพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์เมื่อวันท่ี 30 มกราคม 2527 เวลา16.00 น. 3 เหตุผลท่ีจังหวัดเชียงใหม่และคณะกรรมการได้เรียกขานพระนามว่า\"พญามังราย\"ก็เพ่ืออนุรักษ์ให้ ถูกต้องตรงกบั หลักฐานทางประวตั ศิ าสตรโ์ บราณคดี เช่น เอกสารตานานจากคมั ภีร์โบราณปั๊บสาและศิลาจารึก กับคตินิยมของชาวล้านนา ที่ไม่เคยเรียกพระนามกษัตริย์ของล้านนาโดยใช้คานาหน้าว่า \"พ่อขุน\"แม้แต่ พระองค์เดียว ดงั จะกล่าวดงั ต่อไปน้ี 3.1.ศิลาจารึกวัดพระยืน จังหวัดลาพูน ซ่ึงเป็นศิลาจารึกที่พระสุมนเถระ พระภิกษุชาวสุโขทัย ซึ่ง พระเจ้ากือนา แห่งเมืองเชียงใหม่ได้ทรงขอต่อพญาลิไท แห่งกรุงสุโขทัย เพื่อมาเผยแพร่ศาสนาในเชียงใหม่ ปรากฏคาจารกึ อยู่ในหลักจารึกหมายเลข ล.พ. 38 เป็นหลักจารึกของพระสุมนเถระสร้างเสริมพระอัฎฐารสยืน เมอ่ื จ.ศ.732 (พ.ศ.1913)เปน็ ระยะเวลาห่างจากปสี วรรคตของพญามังรายและกษัตริย์ล้านนาว่า.. \"อันว่า พระ ศิลาจารึก เจา้ ท้าวสองแสนนาอนั ธรรมมิกราช ผู้เป็นลูกรักแก่ พญาผาย เป็นหลานแก่ พญาคาฟู เป็นหลานแก่ พญามังราย หลวงนี้ \"
วดั เชยี งมัน่ จังหวัดเชยี งใหม่ 3.2.หลักศิลาจารึกวัดเชียงมั่น จังหวัดเชียงใหม่ เป็นศิลาจารึกท่ี 76 ซึ่งจารึกไว้เม่ือ พ.ศ. 2124(จ.ศ. 943)ในจารกึ กลา่ วถงึ การสร้างเมืองเชยี งใหม่ และสร้างวัดเชียงมั่น โดยพญามังราย พญาร่วง และพญางาเมือง ดงั น้ี \" ศักราช 658 ปีรวายสันเดอื นวสิ าขะออก 8 คา่ วัน 5 ไทยเมงิ เปลา้ ยามแตรรงุ่ แล้วสองลกู นาที ปลายสอง บาทนวลัคนาเสวยนวางศ์ พฤหัสในมีนศรี พญามังรายเจ้า พญางาเมือง พญาร่วง ทั้งสามตนตั้งหอนอนใน ชัยภมู ิราชมณเฑยี รขดุ คือ ก่อตีบรู ท้งั สีด่ า้ น….\" 3.3.หลักจารึก ล.พ. 9 ซ่ึงปัจจุบันตั้งไว้ท่ีพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดลาพูน ระบุพระนามว่า \"พญามังราย\"(ประชุมศิลาจารึกภาคที่3)ฉะน้ันพระนาม\"พญามังราย\"จึงมีความหมายต่อความรู้สึกของชาว ล้านนา และชาวเชียงใหม่อย่างยิ่ง ท่ีพระองค์ทรงเป็นผู้สร้างเมืองเชียงใหม่ เป็นศูนย์กลางการปกครองและ วัฒนธรรม สืบเนือ่ งมาจนถึงทกุ วนั นี้ 3.4.นอกจากน้ันก็ปรากฏอยู่ในตานานเป็นคัมภีร์ใบลานบ้าง ปั๊บสาบ้างเอกสารต่างๆท่ีกล่าวมาล้วน เขียนพระนามว่า\"พญามังราย\"หรือ\"มังราย\"ท้ังส้ินเช่นชินกาลมาลีปกรณ์ รจนาโดย พระรัตนปัญญาเถระพระ วงค์ของ พญามังราย การเรียกพระนาม\"พญามังราย\" จึงไม่ผิด (เอกสารเรื่องน้ีเดิมเขียนเป็นภาษาบาลีและได้ แปลเปน็ ภาษาฝร่ังเศส โดย ศาสตราจารย์ยอร์ซเซเดย์และภาษาอังกฤษโดย ดร.ชยะวิกรม แห่งมหาวิทยาลัยซี ลอน(ลังกา)ตานานมูลศาสนา รจนาโดยพระพุทธพุกาม พระพุทธญาณ เชื่อว่าได้แต่งขึ้นก่อนปีที่แต่งชินกาล มาลีปกรณ์หรือจามเทวีวงศ์ (พ.ศ. 2059-2060) ประชุมพงศาวดารภาคีที่10 เรื่องราชวงศ์ปกรณ์พงศาวดาร เมืองน่าน ประชุมพงศาวดารภาคที่ 61 เร่ือง พงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน และตานานสิงหวัติ ตานาน พ้ืนเมืองเชียงใหม่ 8 ผูก ฉบับสานักนายกรัฐมนตรีจัดพิมพ์เผยแพร่ กฎหมายมังรายศาสตร์ (ฉบับวัดเสาไห้- ฉบับวัดเชียงม่ัน-ฉบับวัดหมื่นเงินกอง-ฉบับนอตอง-ฉบับวัดช้างค้าและฉบับวัดไชยสถาน)ตานานพระธาตุดอย
ตุง โครงราชหิภุญชัย (ฉบับบพระสมุด ฉบับเชียงใหม่-ฉบับลาพูนและฉบับวัดก่ิวพร้าว อ.แม่จันเชียงราย) ตานานเมืองเชียงตุง ตานานสิบหา้ ราชวงศ์ ตานานพระธาตหุ ริภุญชัย โคลงมังรายรบเชียงใหม่ ฯลฯ 4.การใช้คานาหน้าพระนาม \"มังราย\"เป็นพ่อขุนมังราย ย่อมไม่เป็นการถูกต้องตามคตินิยมของชาว ลา้ นนาและไม่ถูกต้องตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดีตามที่กล่าวมาแล้วตั้งแต่ต้น คตินิยมของ การใช้คาว่า \"พ่อขุน\"เป็นลักษณะของชาวอาณาจักรสุโขทัยตามลักษณะการปกครองของกษัตริย์ ทานองพ่อ ปกครองลูกและปรากฏจากหลักฐานศิลาจารึกสุโขทัยเรียกคานาหน้าพระนามว่า \"พ่อขุน\" เพียงไม่กี่พระองค์ คือพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุนบานเมือง พ่อขุนรามคาแหง พ่อขุนผาเมือง พ่อขุนบางกลางหาว(พระองค์ เดียวกับพ่อขุนศรีอินทราทิตย์)และพ่อขุนศรีนาวนาถม เท่านั้นกษัตริย์พระองค์ไม่เรียก \"พ่อขุน\" เช่น พญาลิ ไทย พญาลือไทย(ศิลาจารึกหลักท่ี3 นครชุมกาแพงเพชร)ฉะน้ันการท่ีจะใช้คานาหน้าพระนามของ พระมหากษัตริย์ทางล้านนาเป็น\"พ่อขุน.\" จะทาให้สับสนและผิดเพ้ียนจากความเป็นจริงในทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดี เป็นการฝึกคตินิยมและเอกลักษณ์วัฒนธรรมของชาวล้านนาโดยเฉพาะชาวเชียงใหม่ คาว่า \"พ่อขนุ \"+พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2525 อธิบายว่า \"พ่อขุน\"(โบ) น.กษัตริย์ผู้เป็นใหญ่ใน สมยั สโุ ขทยั ศลิ าจารกึ หลักท่ี 1 ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหง 5. หลักฐานทีป่ รากฏในศิลาจารึกสโุ ขทยั มดี ังนี้ 5.1.ศิลาจารกึ หลกั ท่ี1 หน้า1ตอนท่ี2วา่ เมอ่ื ช่ัวพ่อขุนรามคาแหง เมืองสุโขทัยดี ในน้ามปี ลาในนามี ข้าว \" .\" กลางบ้าน กลางเมืองมีถอ้ ยมคี วามเจบ็ ทอ้ งข้องใจมันจะกลา่ วเถิง เจ้าเถิง ขนุ บ่ไรไ้ ปลั่นกระดิ่ง อัน แขวนไวพ้ ่อขนุ รามคาแหงเจ้าเมอื งได้ \" 5.2ในดา้ นท4่ี กลา่ วคือ \"พ่อขุนรามคาแหง\"ลกู พ่อขุนศรีอินทราทติ ย์ 1204 ศกปีมะแม พ่อขุน รามคาแหงหาใคร่ใจในใจ แลใส่ลายสอื ไทยนีจ้ งึ มีเพื่อขุนผูน้ ้ันใสไ่ วพ้ อ่ รามคาแหงนั้น หาเปน็ ทา้ วพญาแก่ไทย
ทัง้ หลายอนึง่ จะเห็นได้ว่า ตามหลกั ศลิ าจารกึ นนั้ การเรยี กขานพระนาม \"พ่อขนุ \"มิใช่มแี ตพ่ ่อขนุ รามคาแหง เทา่ นน้ั แตไ่ ด้เรยี กถงึ (ศลิ าจารึกหลักท่ี 2 วดั ศรชี มุ สโุ ขทัย) พ่อขุนศรีอนิ ทราทติ ย์ พ่อขุนบางกลางหาว พ่อขุนผาเมือง พ่อขุนบาน และพ่อขนุ นาถมอีกดว้ ย (มีคาวา่ \"ปพู่ ญา\" พรญา)สรีนาวนาถม ซึ่งเปน็ คนละ พระองค์กับ \"พ่อขนุ นาถม\") 5.3. ส่วนทางอาณาจักรล้านนาและสุโขทัยมคี วามสมั พันธ์ตอ่ กษัตรยิ ์ของล้านนาคือ พญามงั ราย พญางาเมอื ง และพอ่ ขุนราม ที่เป็นพระสหายร่วมสาบานกัน และประชาชนทงั้ สองอาณาจักรจะไปมาหาส่ทู า มาค้าขายซึง่ กันและกันกย็ ่อมจะได้กิตตศิ ัพทเ์ รยี กขานกษตั ริย์สโุ ขทยั ว่า \"พ่อขนุ \" อยเู่ ป็นเนืองนิจชาวล้านนาก็ ไม่ไดเ้ อาคตินิยมเรียกขานกษัตริยข์ องสุโขทยั มาเปน็ แบบอยา่ งด้วย คงเรยี กขานพระนามกษตั รยิ ์ของตนเอง \" พญา\" หรอื ไมก่ ็มีเพียงคาว่า \"ขุน\" เท่านั้น สาหรับบางพระองค์หรือบางสมยั กาลแมแ้ ต่พระสมุ นเถระที่เป็นชาว สุโขทยั ซึ่งเป็นผูท้ าศลิ าจารึก วัดพระยนื จงั หวดั ลาพนู ก็ไม่ไดจ้ ารึกพระนาม \"พ่อขุนมังราย\" ตามคตนิ ิยมของ ชาวสโุ ขทยั ซ่ึงพระสมุ นเถระเคยชินอยเู่ ปน็ เนืองนิจในอาณาจกั รสุโขทัย แสดงว่าพระสุมนเถระได้ทราบถึงคติ นิยมของชาวลา้ นนาเปน็ อย่างดี จึงไดจ้ ารกึ พระนากษัตรยิ ์ ของลา้ นนาว่า \"พญาคาฟู พญาผายู และพญามัง ราย\" 5.4. อยา่ งไรก็ดี ในจารกึ สโุ ขทยั หลกั ที่ 4หลักท่ี 5หลกั ท่ี 7และหลักท่ี 8 จารึกพระนามกษตั รยิ ์สโุ ขทัย ว่า \"พญา\" (พระญา) ทั้งสิ้น ดร. ฮนั ส์ เพนธ์ เป็นชาวเยอรมนั เกิดในปี พ.ศ. 2480 ที่นครเบอรล์ นิ เมอื่ อายุ 19 ปี ไดเ้ ร่ิมศึกษาเกยี่ วกบั ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ 6. ความหมายคาวา่ \"พญา\" พจนานุกรมฉบับราชฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ให้อธิบายไวว้ ่า \"พญา\" (พะ ยา) (โบ) น.เจ้าแผ่นดนิ เปน็ ใหญ่ เปน็ หวั หนา้ พะยา น.บรรณาศกั ดิ์สงู กว่า พระต่ากวา่ เจ้าพระยา\" มีผ้รู ้บู าง ทา่ น อา้ งว่า พญา เป็นภาษาเขมร โดยอา้ งพจนานุกรมเขมรวา่ \" พญา\" (น) เจ้าชาย คานาหนา้ ช่ือเจา้ เมือง คา นาหนา้ ชอื่ รฐั มนตรีและผูร้ ู้เท่านัน้ กลา่ วตอ่ ไปอีกว่า การที่มีการใช้คาว่า \" พญา\"เน่อื งจากไทยรบั เอาวัฒนธรรม
เขมรเขา้ มาใชโ้ ดยเฉพาะอย่างยงิ่ หลงั สมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนารถแล้วอทิ ธิพลของภาษาเขมรจะขยายมา ทางลมุ่ แม่น้าเจ้าพระยาและลมุ่ แม่น้าโขงตอนบนมากทีส่ ุดเรอ่ื งนี้ เป็นการทีอ่ ้างเอาพจนานุกรมของเขมรด้าน เดยี ว แตพ่ จนานุกรมไทยมิได้ถอื ว่าเปน็ ภาษาเขมร เพยี งแตอ่ ้างวา่ เปน็ ภาษาโบราณ ตรงข้ามถ้า คาใดเปน็ คา เขมรแท้พจนานุกรมไทยจะระบวุ ่าเป็นภาษาเขมร เช่น เขนย เสวยเป็นต้น สว่ นการที่อ้างวา่ ภาษาเขมร หรอื วัฒนธรรมเขมรแพร่เขา้ มามากในสมัยพระบรมไตรโลกนารถคงจะหมายถึงคาวา่ พระยา ซ่งึ คานตี้ าม พจนานุกรมใหค้ วามหมายเพียงตาแหนง่ บรรดาศกั ดทิ์ ่ีตา่ กวา่ เจา้ พระยา และสงู กวา่ พระแตค่ าวา่ \" พญา\"ทท่ี าง ลา้ นนาใชน้ าหนา้ กษัตรยิ ์นนั้ มมี าก่อนในสมยั พระบรมไตรโลกนารถ อย่างน้อยทส่ี ุดก็เท่าทปี่ รากฏ ในหลกั ศิลา จารึกวัดพระยืน จงั หวัดลาพูน คือ พ.ศ. 1913 ตรงกบั สมัยพญาลิไท และพระเจ้ากือนาอยา่ งไรก็ตาม ผู้รู้อกี ท่านหนงึ่ คือ ดร. ฮันส์ เพนธ์ แหง่ สถาบนั วจิ ยั สงั คม มหาวิทยาลยั เชียงใหม่อธบิ ายว่า พญา เป็นศัพทท์ ี่มาจาก ภาษาอนิ เดยี เป็นคาทใ่ี ช้เรยี กกษตั ริย์ของชาวมอญสมยั โบราณ ดังน้นั ไมว่ ่าจะอ้างเปน็ ภาษาเขมร ภาษามอญ หรือภาษาไทย ก็เป็นภาษาท่ีนามาจากอนิ เดยี กันท้ังส้ิน ไทยทางลา้ นนามิไดร้ บั เอา วัฒนธรรม ทางเขมร แตร่ บั เอาวฒั นธรรมจากมอญ เพราะไปมาหาสกู่ ับอาณาจักรหริภุญชัยอยู่เสมอ และยังผนวกเอาอาณาจกั รหริภุญชยั เข้ามาในอาณาจักรล้านนา ในสมัยพญามังราย อทิ ธิพลของภาษามอญจงึ เขา้ มาปนอย่ใู นภาษาถิ่นของลา้ นนา จนกลายเปน็ ภาษาของลา้ นนาไป ดงั นนั้ ผใุ้ ดจะมาอ้างว่าการใช้ \" พญา\"พระนาม ศรอี นิ ทราทิตย์ รามคาแหง ก็ เปน็ ภาษาตา่ งชาติเหมือนกันดังนัน้ ด้วยเหตผุ ลและข้อเท็จจริงดังไดก้ ลา่ วมาแตต่ น้ พระนามทีถ่ ูกต้องของ พระมหากษัตริยแ์ ห่งลา้ นนาทไยผทู้ รงสรา้ ง \" นพบรุ ศี รนี ครพงิ คเ์ ชียงใหม่\" คอื พญามงั ราย ไมใ่ ช่พ่อขนุ เม็งราย และท้งั ท่ีเปน็ การสมควรในการถวายพระสมัญญานามวา่ \" พญามงั รายมหาราช\" เพ่ือเป็นการเทดิ พระเกยรติใน ฐานะท่พี ระองค์เป็นพระมหากษตั รยิ ์ย่งิ ใหญแ่ ห่งแควน้ ล้านนาไทย ทรงรวบรวมนครรัฐหรอื แคว้นต่างๆทงั้ ได้ ผนวกเอาอาณาจักรเดียวกัน ทาใหอ้ าณาจกั รลา้ นนา ไทยแผ่ไปอย่างกว้างใหญไ่ พรศาล และขยายพระราช อานาจเขา้ ไปถึงอาณาจักรพม่าและหงสาวดี ปัจจุบนั นนี้ ครเชียงใหม่ได้เจรญิ วฒั นาเปน็ หลกั ในการปกครองหัว เมอื งฝา่ ยเหนือและเป็นศูนยก์ ลางแห่งอารยธรรมล้านนาสบื มาทกุ วนั นี้ วดั พระแก้ว จังหวัดเชยี งราย
พระราชกรณียกิจทสี่ าคัญของพญามงั รายมหาราช ทรงสร้างเมืองเอกในแว่นแควน้ ถงึ 3 เมืองได้แก่ สรา้ งเมืองเชยี งราย เมอ่ื พ.ศ. 1805 สร้างเมอื งกุมกาม (ปัจจุบนั คอื อาเภอสารภีจังหวัดเชยี งใหม่) เมอ่ื พ.ศ. 1829 พ.ศ. 1834 พญามังรายเสด็จไปสร้างเมืองใหม่ที่เชิงดอยสุเทพ ใช้เวลาสร้างนาน 5 ปี พ.ศ. 1839 จึงแล้วเสร็จจึงได้อัญเชิญพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระเจ้าแผ่นดินสุโขทัย พญางาเมืองธรรมมิกราช พระเจา้ แผน่ ดนิ แคว้นพะเยา มาช่วยกนั ขนานนามเมืองใหม่ว่า นพบรุ ศี รนี ครพิงค์เชยี งใหม่ นอกจากนั้น พระองค์ยังได้ทรงบูรณะเมืองหิรัญนครเงินยาง และในปี พ.ศ.1811 ได้บูรณะเมืองฝาง เพื่อใช้เป็นท่ีชุมนุมไพร่พลของพระองค์ (ซ่ึงแต่เดิมเมืองฝางตกเป็นเมืองข้ึนของเมืองหิรัญนครเงินยางมาก่อน) และโปรดให้ขุนอา้ ยเครือคาลก หรอื ขนุ เคร่อื ง ราชโอรสองคใ์ หญไ่ ปครองเมืองฝาง เวยี งกุมกาม จังหวดั เชยี งใหม่ ทรงพระปรีชาสามารถในการสงคราม พญามังราย ทรงแผ่พระเดชาในทางการรบ ดินแดนภาคเหนือท้ังหมดพ่อขุนเม็งรายได้ ครอบครองโดยทว่ั อาณาจกั รล้านนาในรัชสมยั ของพระองค์มอี าณาเขตกวา้ งไกล ทางเหนือถงึ เชยี งรงุ่ และเชยี งตุง ตะวันออกถงึ น้าโขง แต่ไมร่ วมเมืองพะเยา เมืองนา่ น และเมอื งแพร่ ทิศใต้ถงึ นครเขลางค์ ตะวันตกถงึ อาณาจกั รพกุ าม (พม่าและมอญ) พ.ศ. 1805 ขณะยกทัพไปถึงเมืองลาวกู่เต้าและประทับอยู่ท่ีน่ัน เผอิญช้างทรงของพระองค์ซ่ึงทอดไว้ท่ี ป่าหัวดอยทางทิศตะวันออก หลุดพลัดไป พระองค์จึงเสด็จตามรอยช้างไปจนถึงดอยจอมทอง ริมฝ่ังแม่น้ากก
ทอดพระเนตรเห็นภูมิประเทศเป็นชัยภูมิท่ีดี จึงได้โปรดให้สร้างพระนครข้ึน โดยก่อกาแพงโอบรอบ เอาดอย จอมทองไว้ภายในขนานนามว่า เมืองเชียงราย แล้วให้ย้ายราชธานีจากเมืองหิรัญนครเงินยาง มาตั้งอยู่ที่ เชียงรายนบั แตน่ น้ั มา พ.ศ.1811 ได้แปรพระราชฐานไปประทับอยู่เมืองฝาง ซ่ึงเป็นเมืองเก่าแก่สร้างมาตั้งแต่ครั้งพระเจ้าลัวะ จักราช ปฐมวงศ์ เมือ่ พ.ศ.1183 พ.ศ.1812 ทรงยกทพั ไปตเี มอื งผาแดงเชยี งของได้ แล้วทรงเสดจ็ กลบั มาประทบั ท่เี มอื งฝาง พ.ศ.1814 ทรงยกทัพไปตีเมืองเชิง ทรงได้รับชัยชนะและทรงได้เมืองเชิงมาไว้ในครอบครอง แล้วเสด็จ กลบั มาประทับทีเ่ มอื งฝาง พ.ศ.1819 พญามังรายได้ยกกองทัพไปประชิดเมืองพะเยา พ่อขุนงาเมือง ผู้ครองเมืองพะเยาออกมา รับเสด็จดว้ ยไมตรีและยกตาบลบา้ นปากนา้ ใหแ้ ก่พ่อขุนเม็งรายแล้วปฏิญาณเป็นมิตรกัน ต่อมาอีกราว 4 ปี พ่อ ขุนรามคาแหงมหาราช แห่งอาณาจักรสุโขทัย พ่อขุนงาเมือง และ พ่อขุนเม็งราย ได้กระทาสัตย์ปฏิญาณเป็น พระสหายกัน โดยทรงเอาโลหติ ที่นว้ิ พระหตั ถผ์ สมกับนา้ สตั ยเ์ สวยท้ังสามพระองค์สัญญาว่าจะไม่เบียดเบียนกัน ตลอดชวี ิตและในปี วดั พระธาตุลาปางหลวง จงั หวดั ลาปาง(เขลางคน์ คร) พ.ศ.1824 ทรงยกทัพไปตีแคว้นหริภุญชัยจาก พญายีบา ทรงทาสงครามอยู่นานกว่าจะสาเร็จทรงส่ง ให้ขนุ ฟา้ เข้าไปเปน็ ไส้ศึกในนครหริภุญชัย เมื่อขุนฟ้าสบโอกาสจึงได้ส่งข่าวไปบอกแก่พญามังรายเจ้ายกทัพเข้า
ตหี รภิ ุญชยั สาเรจ็ พญายบี าทรงเสด็จหนีออกจากเมืองโดยได้รับความช่วยเหลือจากพญาเบิก เจ้าเมืองเขลางค์ นครซึ่งเป็นพระโอรสของพญายีบา พญายีบาเสดจ็ หนอี อกเมืองไปถงึ ดอยกลางปา่ ก็คดิ นึกได้ที่เสียรู้ขุนฟ้าเป็นไส้ ศึกให้พญามังรายก็เสียใจหลั่งน้าตาร้องไห้ สถานท่ีน้าตาตกนี้จึงมีช่ือว่า “ดอยพระยายีบาร้องไห้” มาจนทุก วันนี้ ต่อมาพระยายีบาจึงหนีมาอยู่กับพระยาเบิกเจ้าเมืองลาปาง(เขลางค์) ผู้เป็นโอรส เวลาล่วงไป 14 ปี พระ ยาเบิกทรงช้างช่ือ ปานแสนพล ยกทัพไปหมายจะตีเมืองลาพูนคืนให้พระบิดา พญามังรายให้เจ้าขุนสงคราม ทรงชา้ งช่ือแก้วไชยมงคลออกรับศกึ ทงั้ สองไดท้ ายุทธหัตถกี ัน ที่บ้านขัวมุงขุนช้าง ใกล้เมืองกุมกาม พระยาเบิก ถูกหอกแทงบาดเจ็บ และตีฝ่าวงล้องออกมาได้ จึงมาตั้งรับอยู่ท่ีตาบลแม่ตาล เขตเมืองลาปาง ได้สู้รบกันเป็น สามารถผล ทีส่ ุดทัพลาปางแพ้ยับเยนิ พระยาเบกิ หรอื เจา้ พ่อขนุ ตาน เจ้าขนุ สงครามจับกมุ ตวั พระยาเบกิ แม่ทัพได้ และปลงพระชนม์เสยี ท่ีน่ี ดวงวิญญาณอันกล้าหาญเปย่ี ม ไปด้วยกตญั ญูเวทคิ ุณนี้ จึงได้รบั พระราชทานนามวา่ \"เจา้ พ่อขนุ ตาน\" พญามงั รายทรงครองเมืองหริภญุ ชัยได้ 2 ปจี ึงเสดจ็ ไปสร้างเมืองใหม่คือ เวียงกมุ กาม เนื่องจากทรงมีพระดารวิ า่ เมอื ง หรภิ ุญชัยไม่เหมาะกบั พระองค์ จึงทรงให้เจ้าขุนเครือพระโอรสองคเ์ ล็กของพระองคม์ าปกครองเมืองนีแ้ ทน
ในปี พ.ศ.1828 พระยายีบาและพระยาเบิกยกทัพขอมมาเพื่อตีเมืองหริภุญชัยคืน พ่อขุนเม็งรายจึง ทรงแตพ่ ระโอรสคอื ขุนคราม ยกทัพออกไปต้านทาน ได้รบกบั พระเบิก และจับพระยาเบิกสาเร็จโทษ พระยายี บาร้ขู ่าวว่าเสียบุตรจึงทิ้งเมอื งเขลางคห์ นไี ปพ่ึงพระยาพษิ ณโุ ลก เจา้ ขุนครามจึงได้เมืองเขลางค์อีกเมอื งหนง่ึ พ.ศ.1831 ทรงยกทัพไปตีเมืองหงสาวดี พระเจ้ากรุงหงสาวดีสุทธโสมเกรงพระบารมีจึงแต่งเครื่องราช บรรณาการมาถวายขอเป็นพระราชไมตรีและยอมยกพระราชธิดาพระนางปายโคให้เป็นบาทบริจาริกาแก่ พระองค์ เมอื งพุกาม (Bagan) เมอื งท่องเท่ียวของพม่าทีไ่ ด้รับการขนานนามว่า เปน็ \"เมอื งแห่งทะเลเจดีย์\" หรือ \"ดนิ แดนแห่งเจดีย์สี่พันองค์\" พ.ศ.1833 ทรงยกทัพไปตีเมืองพุกาม พระเจ้าอังวะทรงทราบข่าวจึงได้ให้เสนาอามาตย์ นาเครื่องราช บรรณาการมาถวายขอเป็นพระราชไมตรี พระเจ้าอังวะได้ทรงส่งช่างต่างๆมาให้ เช่น ช่างทองคา ช่าง ทองเหลือง ชา่ งทองแดง ชา่ งเหลก็ และอ่ืนๆ พญามังรายจงึ ทรงยกทัพกลับทรงโปรดให้ช่างทองไปอยู่เมืองเชียง ตุง ชา่ งฆ้องไปอยู่ท่ีเมืองเชียงแสน ช่างทองเหลือง ช่างเหล็กไปอยู่ท่ีเมืองเวียงกุมกามอีกทั้งยังทรงได้บารุงพระ พทุ ธศาสนาโดยไดร้ ับอิทธิพลตามแบบอย่างขององั วะ พ.ศ. 1829 ยกทัพไปตีเมืองหงสาวดีพระเจ้าหงสาวดีเจงพยุเจง เกรงพระบารมีจึงแต่งเครื่องราช บรรณาการมาถวายขอเปน็ ไมตรีโดยยกพระราชธิดาพระนามว่านางปายโค (ตะละแม่ศรี) ให้เป็นบาทบริจาริกา แด่พ่อขนุ เมง็ ราย พ.ศ. 1832 ยกทัพไปตีเมืองพุกาม พระเจ้าอังวะให้ราชบุตรนาเคร่ืองบรรณาการมาต้อนรับขอเป็น ไมตรี
ทรงนาความเจริญในด้านศลิ ปกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรมมาสู่แควน้ ล้านนา โดยเมื่อครั้งท่ียกทัพไปตีเมืองพุกาม พระองค์ได้นาช่างฝีมือต่าง ๆ เช่น ช่างฆ้อง ช่างทอง และ ช่างเหล็ก ชาวพุกามเข้ามาฝึกสอนขาวล้านนาไทย จึงเข้าใจว่าศิลปะต่าง ๆ ของพุกามที่มีเหลืออยู่ในปัจจุบัน น่าจะเร่ิมมาแต่น้ันเม่ือจานวนไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินของพระองค์มีมากข้ึน ก็ทรงจัดหาทาเลท่ีเหมาะสมใน การเกษตรและการค้าเพอื่ ใหม้ อี าชพี ท่ัวหนา้ ทรงเปน็ นกั ปกครองที่สามารถและประกอบด้วยคณุ ธรรมสูงส่ง พญามังรายทรงเลื่อมในและศรัทธาในพระพุทธศาสนา โดยเป็นองค์ศาสนูปถัมภกและทรงนา หลักธรรมทางศาสนามาใช้ในการปกครองราษฎรของพระองค์ได้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุขมีศีลธรรมอันดีมี อธั ยาศัยโอบออ้ มอารี แก่คนท่ัวไปซึ่งเป็นมรดกด้านคุณธรรมท่ีตกทอดถึงลูกหลานชาวล้านนา จนตราบเท่าทุก วนั นี้ แม้ว่าพระองคท์ รงเปน็ นักรบผู้แกลว้ กล้า แต่การใดท่ีเป็นทางนาไปสู่ความหายนะเป็นเหตุให้เสียเลือดเน้ือ ระหว่างคนไทยด้วยกัน พระองค์จะทรงหลีกเล่ียง ดังจะเห็นได้จากการท่ีพระองค์ทรงรับไมตรีจากเจ้าผู้ครอง นครตา่ ง ๆ และการกระทาสัตย์ปฏญิ าณระหว่างสามกษตั รยิ ด์ งั กล่าว พระปรชี าสามารถในด้านการปกครอง กฎหมายมังรายศาสตร์
ในการปกครองบ้านเมือง พญามงั รายทรงวางระเบยี บการปกครองหรอื กฎหมายทที่ รงตราข้นึ ไว้เป็น พระธรรมศาสตร์ ใชใ้ นการปกครองแผ่นดิน ทรงอาศัยประมวลกฎหมายทเี่ รียก \"วนิ จิ ฉัยมังราย\" หรอื \"มงั ราย ศาสตร์\" ซ่ึงเป็นราชศาสตร์ (พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบพระธรรมศาสตร์) อนั กลนั่ กรองมาจากคาวนิ จิ ฉัยท่ี พระมหากษัตริย์มไี ว้ แลว้ ประมวลเขา้ เป็นหมวดเป็นหมู่ เพื่อใหล้ กู ขุนใช้เปน็ บรรทัดฐานในการพิจารณาในการ พพิ ากษาผู้กระทาผดิ สมควรแกโ่ ทษานโุ ทษโดยมิใหเ้ ลือกเห็นแกห่ นา้ ว่าจะเปน็ ผใู้ หญ่ ผนู้ ้อย หวั หมู่ หรือไพร่ นอ้ ยเมื่อกระทาผิดย่อมต้องได้รับโทษเชน่ เดยี วกนั การจดั หน่วยทหาร ตามมังรายศาสตร์ ไดก้ ล่าวถงึ การจดั หน่วยทหาร ต้งั แตเ่ ล็กไปใหญ่ ตามหลักจานวนไพร่พลท่ีมีอยู่ในหนว่ ยนั้น ๆ เริม่ ต้นจากหนว่ ยเลก็ ท่สี ดุ กฎหมายมังรายศาสตร์หรือวินิจฉัยมังราย นับว่าเป็นหนังสือใบลานที่เก่าแก่ที่สุดต้นฉบับเดิมเขียนเป็น ภาษาไทเหนือหรืออักษรตั๋วเมือง ความหมายของชื่อกฎหมายนั้นหมายความว่าเป็นคาพิพากษาของพญามัง รายเจ้าน่ันเองครับ สาหรับลักษณะการแต่งของกฎหมายมังรายศาสตร์นี้เป็นการแต่งแบบร้อยแก้ว มังราย ศาสตร์เป็นหนังสือกฎหมายที่ได้รวบรวมเรียบเรียงมาจากหนังสือธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นคัมภีร์กฎหมายเก่าแก่ ของอนิ เดีย ทถี่ กู มอญดดั แปลงให้เหมาะสมกบั สภาพของตนไปบ้างแล้ว ในส่วนของตอนแรกกล่าวถึงการสืบสันตติวงศ์ลานนา การสร้างเมืองเชียงใหม่และวัตถุประสงค์ในการ แตง่ คานา ใชค้ าว่าสทิ ธิสวัสดี กล่าวถึงกฎหมายท่ีได้รู้มาแต่โบราณ พญามังรายจึงบัญญัติไว้เพื่อให้ท้าวพระยา ทัง้ หลายผูเ้ ปน็ ลูกหลานเหลน และเสนาอมาตย์ผู้ปกครองเมอื งสบื ไปได้รู้จกั ผดิ รจู้ ักชอบ ตอนที่สองกล่าวถึงเรื่องระเบียบการปกครอง ซึ่งสมัยน้ันได้มีการจัดการปกครองออกเป็นหมู่ๆ หมู่ละ 10 คนบ้าง 100 คนบ้าง 1,000 คนบ้าง 10,000 คน 100,000 คนบ้าง โดยมีหัวหน้าทาหน้าที่ในการปกครอง ในแต่ละหมู่
ตอนทสี่ ามกลา่ วถึงเรอื่ งของตวั บทกฎหมาย ที่มีคาอธิบายพร้อมเหตุผลประกอบ มีจริยธรรมสอดแทรก และมีลักษณะของความยืดหยุ่นเพ่ือความเหมาะสมอีกด้วย สาหรับหมวดหมู่ต่างๆท่ีถูกแบ่งไว้มีดังนี้ 1. กฎหมายหมวดหนีศึก 2.คนตายกลางสนามรบ3.รบศึกกรณีได้หัว และไม่ได้หัวข้าศึก 4.เสนาอมาตย์ตาย 5.ให้ ไพร่มีเวรผลัดเปล่ียนกัน 6.ไพร่กู้เงินทุน 7.ไพร่สร้างไร่นา โทษหนักสามสถาน 9.โทษประหารชีวิต 10. ลักษณะหม้นั 11.ลกั ษณะหย่า 12.การแบง่ สินสมรส 13.ขอรับมรดก 14.อายคุ วามย่ีสบิ ปี 15.สาเหตุวิวาทกนั จากหมวดกฎหมายเหล่านี้แสดงให้เห็นว่า พระองค์ทรงเป็นนักปราชญ์แห่งการปกครองอย่างแท้จริ ง สมัยโบราณการศึกษายังไม่มีเป็นระบุ ไม่มีหลักสูตร ไม่มีสถาบันการศึกษา แต่พญามังรายมหาราชทรงรอบรู้ จากสตปิ ัญญา จากสามญั สานกึ และจินตนาการอันแหลมคมของพระองค์ กฎหมายพญามังรายมหาราชน้ันได้ กลายมาเปน็ พ้ืนฐานของกฎหมายปจั จบุ นั ท่ไี ด้รบั การพัฒนาสบื มา วินิจฉัยมังรายฉบับเก่าแก่ที่สุดหลงเหลือมาถึงปัจจุบันเพียงฉบับเดียว คือ ที่พบ ณ วัดเสาไห้ คัดลอก เอาไวเ้ ม่ือ พ.ศ. 2342 และต่อมา ราชบัณฑติ ยสถานแปลเปน็ ภาษาปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2514 พระปรีชาสามารถในการตดั สนิ คดี พญามงั รายมหาราชทรงเป็นตุลาการตดั สนิ ความคดีระหว่างพ่อขุนรามคาแหงมหาราชแห่งอาณาจักร สุโขทัย กับพญางาเมืองธรรมิกราช แห่งแคว้นพะเยา ด้วยความสุขุมรอบคอบ ในปีพ.ศ. 1830 โดยเกิดเหตุคือ เรื่องชู้สาวระหว่าง พญาร่วง ( พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ) แห่งเมืองสุโขทัย กับพระนางอ้ัวเชียงแสนราชเทวี ของพญางาเมอื ง พญางาเมอื ง ทรงทราบเหตุก็กมุ เอาพญารว่ งไว้ พ่อขุนงาเมือง ได้อัญเชิญพญามังรายมหาราช ไปชว่ ยตัดสินความ จะตัดสนิ เองกท็ รงกลัวทจ่ี ะกระทบไมตรีต่อพระสหาย พญามังรายมหาราชทรงทราบเหตุก็ จนิ ตนาการว่า โบราญธรรมแต่กอ่ น เจ้าความยอ่ มมาสู่ผ้รู ู้ไต่ความพิจารณาด้วย บัดน้ีสหายทั้งสองเป็นความต่อ
กันหากกูไปพิจารณาความแห่งเขาท้ังสองบัดนี้ ครั้นจะให้มาตัดสินก็จักเป็นเวรแก่กันมากซะละ คร้ันกูจักเอา พระรว่ งมาตัดแตง่ สนิ ไหมมนั กเ็ ป็นพระยามอี านภุ าพนกั จักมีความละอายซะละ พญางาเมอื งนายโจทย์ ได้แจ้งโทษพระร่วงต่อพญามังรายมหาราชก่อน พญามังรายมหาราชจึงตรัสว่า ดูราสหายเจ้า เราน้ีเปน็ ท้าวพระยาใหญไ่ ดท้ รงนา้ มรุ ธาภเิ ษกสรงเกศมียศบริวารทุกคนดังพญาร่วงน้ีเล่า เขาเจ้า ก็ได้มุรธาภิเษกในเมืองสุโขทัยพู้นแล้ว แม้นท้าวร่วงได้กระทาผิดสหายได้รักษาไว้ บัดน้ีสหายจึงนาพระร่วงมา เราจกั พจิ ารณาตามครรลองคุณและโทษ พญางาเมอื งก็ห้ือเอาพระรว่ งเจ้ามาถาม พระร่วงเจ้าก็ปลงปฏิญาณว่า ได้ประพฤติผิดตามที่กล่าวหา ในวันรุ่งข้ึนพญามังรายมหาราชจึงแนะนาให้พ่อขุนรามคาแหงทรงเสียผี ในการ เลา้ โลมสนมคนโปรดเป็นเงนิ เก้าแสนเกา้ หมน่ื เกา้ พนั เกา้ ร้อยเบ้ีย เงินจานวนนี้พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงไม่ มีติดตัวมา พญามังรายมหาราชจึงทรงออกให้แทนต่อจากน้ันก็ทรงสาบานเป็นมิตรที่ดีต่อกัน ไม่มีการฆ่าฟัน หรือรุกรานกัน โดยทรงกีดเลือดสาบานบริเวณริมฝั่งแม่น้าขุนภู สถานท่ีที่พญาท้ังสามหันหลังพิงกันกล่าวคา สาบานต่อมาได้กลายเปน็ แมน่ ้าชอ่ื ว่า ลานา้ แม่องิ พระปรีชาสามารถในการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของประชากร จลุ ศกั ราช 648 จากประชุมพงศาวดารภาคท่ี 5 ฉบับหอสมุดแห่งชาติ ตอนหนึ่งว่า ถึงปีจอ จุลศักราช 648 พญามังรายมหาราชจึงย้ายมาสร้างเวียงกุมกาม ณ ท่ีใกล้น้าแม่ระมิงค์ ให้ขุดคูเวียงท้ังส่ีด้าน ไขน้าแม่ ระมิงค์เข้าขังในคูและตั้งลาเวียงรอบทุกเบ้ือง ให้ขุดหนองสระอันหนึ่ง ณ ท่ีใกล้เรือนหลวง ยามเมื่อขุดนั้น พญามังรายมหาราชทรงเยี่ยมหน้าต่างดูคนคนทาการทกุ วัน ทั้งน้ีเพ่ือให้ราษฎรมีน้าในการทาการเกษตร ต่อมา ไดท้ รงต้งั ตลาดกมุ กามใหเ้ ป็นทซ่ี อื้ ขายแก่คนท้ังหลายเป็นท่ีสนุกยิ่งนัก แสดงให้เห็นถึงพญามังรายมหาราชทรง มีวสิ ยั ทัศนก์ วา้ งไกลต่อการดารงชีพของชมุ ชน
ด้านการศาสนา พระธาตหุ ิริภญุ ชยั ในอดีต ในปี พ.ศ. 1824 พญามังรายมหาราช ตีได้เมืองหริภุญชัย ก็ได้ทรงทานุบารุงพระพุทธบาทตากผ้า ตอ่ มา จนส้ินราชวงศ์เมง็ ราย เกิดศกึ สงครามบา้ นเมอื งร้าง วัดพระพุทธบาทตากผ้าก็เส่ือมโทรมไปปัจจุบัน พระ พุทธบาทตากผ้า ประดิษฐานอยู่ ณ วัดพระพุทธบาทตากผ้า บนเนินเขาระหว่างดอยม่อนช้าง กับดอยเครือ ตาบลมะกอก อาเภอป่าซาง จังหวัดลาพูน ห่างจากตัวเมืองลาพูนไปทางทิศใต้ประมาณ 22 กิโลเมตร รอย พระพุทธบาทประดิษฐานอยู่ในวิหารจตุรมุข มีอยู่สองรอย คือรอยพระพุทธบาทใหญ่ มีขนาดกว้างประมาณ หนึ่งเมตร ยาวประมาณสองเมตรคร่ึง รอยพระพุทธบาทเล็ก มีขนาดกว้างประมาณ 32 น้ิว ยาวประมาณ 1 เมตร กบั 26 นิว้ ตามตานานกล่าวว่า ในสมัยพุทธกาล ณ เวลาใกล้รุ่งวันหน่ึง พระพุทธองค์ได้ทรงแผ่ข่ายพระญาณ เพ่ือ ตรวจดูสัตว์โลกผู้ควรแก่การบรรลุธรรม ก็ทรงทราบด้วยพระอนาคตังสญาณ (พระญาณหย่ังรู้ความเป็นไปใน อนาคตตามความเปน็ จรงิ ) ว่าในดนิ แดนสวุ รรณภมู ิ (คือดินแดนท่สี ่วนใหญ่เปน็ ที่ตงั้ ของประเทศไทยในปัจจุบัน) จะเป็นทปี่ ระดิษฐานพระพทุ ธศาสนา อย่างม่ันคงต่อไปในอนาคต สมควรท่ีพระองค์จะเสด็จไปประดิษฐานพระ ศาสนาไว้ เมื่อทรงมีพระดาริน้ันแล้ว จึงได้เสด็จมาสู่สุวรรณภูมิโดยพุทธนิมิต มีพระอานนท์เป็นปัจฉาสมณะ (ตามเสด็จ) พระองค์ไดเ้ สดจ็ จารกิ มาตามคามนคิ มชนบทตา่ ง ๆ จนถงึ ถ้าตับเตา่ ถ้าเชียงดาว พระนอนขอนม่วง พระบาทยั้งหวีด และพระธาตุทุ่งตุม ตามลาดับ ได้ทรงเหยียบรอยพระบาท และประทานพระเกศาธาตุ ประดิษฐานไว้ในท่ีน้ัน ๆ ตามควรแกพ่ ุทธอชั ฌาศยั แลว้ เสด็จเลียบลงมาตามฝั่งแม่น้าปงิ จนถงึ วงั น้าแห่งหนึ่ง มี น้าใสสะอาด มีท่ีราบเตียนงาม พระพุทธองค์จึงได้ทรงหยุดพักและทรงเปล้ืองจีวรให้พระอานนท์นาไปซัก สถานทีพ่ ระอานนท์เอาจีวรไปซักนี้ได้ช่ือว่า วังซักครัว มาจนถึงปัจจุบัน เป็นจุดท่ีอยู่ทางใต้ของสบกวง อันเป็น
ที่แม่น้ากวง ไหลมาบรรจบกับแม่น้าปิง ส่วนจุดที่ตากจีวรซ่ึงอยู่ใกล้ ๆ กันน้ัน เป็นเนินศิลา บนผิวศิลาปรากฎ เป็นรอยตารางรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส คล้ายกับผ้าจีวร ซึ่งจะเห็นเป็นตารางคล้ายแนวคันนาของอินเดียในสมัยน้ัน ต่อจากนั้น พระพุทธองค์ก็ได้เสด็จข้ามแม่น้า แล้วจาริกไปตามลาดับ จนถึงบ้านแห่งหน่ึงไม่ห่างจากดอยม่อน ช้างมากนัก พระองค์กท็ รงหยดุ ยนื แล้วผินพระพักตร์หว่าย (บ่าย) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ บ้านน้ันจึงได้ช่ือ ว่า บ้านหว่าย ซ่ึงปัจจุบันคือบ้านหวาย จากน้ันก็เสด็จไปถึงลานผาลาด ซึ่งปัจจุบันคือบริเวณท่ีต้ังวัดพระพุทธ บาทตากผ้า ณ ที่นี้ พระพุทธองค์ได้เหยียบพระบาทประดิษฐานรอยพระบาทลงไว้บนผาลาด แล้วตรัส พยากรณไ์ วว้ ่า พระพทุ ธบาทตากผา้ จงั หวัดลาพูน \" ดูกรอานนท์ สถานทแ่ี หง่ นีจ้ ะปรากฎช่อื ว่า พระพุทธบาทตากผ้า โดยนิมิตท่ีเราตถาคต มาหยุดพักตาก ผา้ กาสาวพสั ตร์นี้ และจะเปน็ ปูชนียสถานท่ีสักการะบูชาของมหาชน ผู้มีศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา จะ อานวยประโยชนส์ ขุ แกป่ วงชน ตลอด 5,000 พรรษา\"หลงั จากนน้ั พระพทุธองค์ก็เสด็จไปทางทิศตะวันออก ถึง หัวดอยมอ่ นชา้ ง แล้วทรงประทบั นอนแบบสีหไสยาสน์ ณ ที่นั้น จากนั้นได้ประทานพระเกศาแก่ตายายสองคน ผัวเมีย ผู้เข้ามาปฏิบัติบารุงพระพุทธองค์ด้วยภัตตาหารและน้า ต่อมาได้มีผู้ศรัทธาสร้างพระพุทธรูปปางสีห ไสยาสนข์ นึ้ ไว้ ณ ท่ีนนั้ ได้ช่อื ว่า พระนอนม่อนช้าง มาจนถงึ ปัจจุบนั นี้ เมอื่ ประมาณพุทธศตวรรษท่ี 3 พระเจา้ อโศกมหาราชแห่งชมภูทวีป ได้สง่ พระโสณะ และพระอุตตระ มา เผยแพรพ่ ระพุทธศาสนาในสวุ รรณภมู ิ ในคร้ังนัน้ มหาชนผู้ได้รบั แสงสว่างจากพุทธธรรม จึงได้สร้างวัดพระพุทธ บาทตากผา้ ข้ึน และได้เเปน็ ปูชนียสถานสาคญั ทางพระพุทธศาสนา นับแต่น้ันมาจนประมาณปี พ.ศ. 1200เศษ พระนางจามเทวีไดค้ รองนครหริภุญชัย (ลาพูน) พระนางมีความศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนามาก ได้ทรง สร้างมณฑปครอบรอยพระพุทธบาท แล้วจัดใหม้ ีการเฉลิมฉลองเปน็ การใหญ่
กู่พญามังราย ท่ีวดั ดอยงาเมือง เชียงราย พระราชโอรส และพระราชบุตรและพระราชธิดาบญุ ธรรม พญามังรายมีพระราชบุตรเท่าใดไม่ปรากฏชัด แต่ปรากฏว่า พระราชบุตรพระองค์หัวปี พระนามว่า ขุนเครื่อง น้ัน ทรงให้ไปครองเมืองเชียงราย แต่ภายหลังคิดกระบถ จึงทรงให้คนไปฆ่าท้ิงเสีย พระราชบุตร พระองค์ที่สอง คือ ขุนคราม ผู้ตีได้นครเขลางค์ดังกล่าวข้างต้น และพระองค์ที่สาม คือ ขุนเครือ โปรดให้กิน เมืองพร้าว แต่ต่อมาถูกพระองค์เนรเทศไปเมืองกองใต้ และชาวไทยใหญ่พากันสร้างเมืองใหม่ให้ขุนเครือ ปกครองแทน พญามังรายมหาราช ได้ทรงรับราชบุตรและราชธิดาบุญธรรม ในช่วงอายุ 74 – 80 ปีก่อนสวรรคต ราชธิดาบุญธรรมพระองค์แรก คือ เจ้าหญิงธรรมธารี พระธิดากษัตริย์แห่งอาณาจักรพุกาม (เขตพม่า) ก่อน เมืองแตก ราชบุตรบุญธรรม พระองค์ที่สอง คือ เจ้ายอดเมือง (เจ้าแสนต่อ) ราชบุตรของเจ้าเมืองเวียงกาหลง (ปัจจุบนั คอื ตาบลเวยี งกาหลง อ.ป่าแงะ จ.เชยี งราย)
พญามังรายสวรรคต พญามังรายมหาราช ทรงสวรรคตเมอื่ พ.ศ.1851 พระชนม์ได้ 80 พรรษาโดยทรงสวรรคตขณะที่ทรง ทอดพระเนตรตลาด เวลานน้ั เปน็ เวลากลางวนั ทอ้ งฟ้าสวา่ งปราศจากเมฆหมอกใดๆ แต่ทันใดนั้นก็ปรากฏเมฆ ต้ังเค้าลมพัดแรงและฝนตกลงมา ในทันทีก็มีอสุนีบาตมายังองค์ของพญามังรายมหาราชเจ้าทาให้ทรงสวรรคต บนหลังช้างระหว่างกลางตลาดน้ันเอง เช่ือกันว่าเป็นปาฏิหาริย์ของพระนางอั้วมิ่งเวียงไชยเนื่องจากทรงระลึก ได้ว่าพญามังรายทรงผิดคาสาบาน ที่พระองค์ทรงสาบาน ในเมื่อประทับ อยู่ท่ีเชียงแสนว่า จะมีมเหสีเพียง พระองคเ์ ดียว พระนางจึงสละพระองค์ออกจากพระราชวัง ออกบวชชี ซึ่งเชื่อกันว่า ต่อมาบริเวณที่พระนางไป บวชน้ัน เป็น เวยี งกมุ กามหลังจากน้ัน พญาไชยสงคราม(เจ้าขุนคราม) พระโอรสได้จัดพิธีปลงพระศพแล้วสร้าง สถูปบรรจุอัฐิของพระบิดาไว้ท่ีตลาดกลางเมือง กู่วัดดอยงาเมือง จังหวัดเชียงรายและปลูกต้นโพธ์ิไว้ที่สถูปน้ัน ทง้ั ยังสร้างรวั้ ล้อมบรเิ วณดังกลา่ วไว้ด้วยและพระราชโอรสพญาชยั สงครามได้ครองเมอื งเชยี งรายตอ่ มา การท่ีพระองค์สวรรคตท่ีตลาดเป็นส่ิงซ่ึงแสดงให้เห็นว่า พระองค์ทรงสนับสนุนสนใจเศรษฐกิจของ บ้านเมืองอย่างย่ิง ทรงมีพระทัยใส่ในการทามาหากินของราษฎรอยู่เสมอ อันส่งผลให้ราษฎรของพระองค์มี การกินดีอยู่ดี มีความม่ังคงทางเศรษฐกิจ จนนาความมั่นคงทางเศรษฐกิจมาส่งเสริมกิจการทหารได้ พญามัง รายมหาราขจงึ ทรงเป็นมหาราชท่สี นับสนุนส่งเสริมกจิ การเศรษฐกิจของบ้านเมอื งอยา่ งแท้จรงิ พญามังรายมหาราช ทรงเป็นกษัตรยิ ท์ เ่ี ข้มแข็งและกลา้ หาญในการศึกสงครามจะเห็นได้จากการขยาย อาณาเขตไปยังนครหริภุญชัย เนื่องจากทรงเห็นว่าเป็นเมืองท่ีรุ่งเรืองด้วยการค้า นอกจากน้ีการท่ีพระองค์ทรง ขยายอาณาเขตไปอย่างกว้างขวางทงั้ ทรงมีสายพระเนตรไกล เป็นกษัตริย์นักพัฒนาที่ยิ่งใหญ่ พระอัจฉริยะและ ด้วยพระมหากรุณาธิคุณ ท่ีมีต่ออาณาประชาราษฎรตลอดพระชนม์ชีพ จึงได้รับเทิดพระนามให้ทรงเป็น มหาราชอกี พระองค์หนง่ึ ..............................................................................................
แหลง่ ข้อมลู อา้ งองิ กรมศลิ ปากร. (2518). ชินกาลมาลปี กรณ์. (พิมพ์ครั้งท่ี 5). กรงุ เทพฯ: บารงุ นกุ ลู กิจ. ประเสรฐิ ณ นคร. (2549, กมุ ภาพันธ์). ประวัตศิ าสตร์เบ็ดเตล็ด. กรุงเทพฯ: มตชิ น. แหล่งข้อมูลอน่ื ประเสรฐิ ณ นคร. (2514). มงั รายศาสตร์ ดร.ประเสรฐิ ณ นคร เรยี บเรยี งเป็นภาษาปจั จุบัน. กรงุ เทพฯ: ?. พงศาวดารโยนก ฉบับหอสมดุ แห่งชาติ. (2507). กรุงเทพฯ: คลงั วิทยา. ISBN -. เพ็ญสภุ า สุขคตะ ใจอินทร์. (2555, 24 สงิ หาคม). 750 ปี 'พระญามงั ราย' หรอื 'พอ่ ขนุ เมง็ ราย'?. สถาบันวิจยั สังคม มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่. (2524). ตานานสบิ ห้าราชวงศ์, (เล่มที่ 1). เชยี งใหม่: มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. th.wikipedia.org/wiki/พญามังราย www.youtube.com/watch?v=tfTIoMRoNRE www.youtube.com/watch?v=Plub0I3A4B8 https://mbasic.facebook.com/.../พอ่ ขนุ เม็งรายมหารา. www.sac.or.th/main/content_detail.php?content_id... www.thamnaai.com/index.php?lay=show&ac www.klangcri.com/porkunmangcri.doc ................................................................................
มหาราชพระองค์ท่ี 3 พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ผเู้ รียบเรยี ง นายประสาร ธาราพรรค์ พ่อขุนราม คาแหง มหาราช ธ คอื ปราชญ์ ทรงสร้างสรรค์ สงิ่ ลาคา่ กอ่ กาเนิด อกั ษรไทย ทรงปรีชา ทรงพัฒนา ชาติไทย ให้รงุ่ เรือง ทรงปกครอง รฐั ราษฎร์ ชาญฉลาด เศรษฐกิจชาติ ทรงสร้างเสริม อยา่ งต่อเน่ือง ด้านการศาล ยุติธรรม ไร้ขุน่ เคอื ง ทรงประเทือง ศาสนา พระรัตนตรยั การชลประทาน ธ ทรงสรา้ ง ทานบกกั นา ทรงเลิศลา กลการศึก ไมห่ วั่นไหว ทรงขยาย อาณาเขต ใหก้ วา้ งไกล ทรงทาให้ ราษฎร์ทั่วไป สุขรม่ เยน็ สัมพนั ธภาพ ต่างประเทศ ล้วนดีเยยี่ ม ธ ทรงเป่ยี ม วิเทโศบาย ทรงเลอื กเฟ้น งานหัตถกรรม ทรงสร้างไว้ ได้โดดเด่น ธ ทรงเป็น ร่มโพธ์ทิ อง ของชาวไทย ............................................................ นายประสาร ธาราพรรค์ ร้อยกรอง พ่อขุนรามคาแหงทรงเป็นมหาราชพระองค์เดียวในสมัยสุโขทัย พระองค์ทรงเป็นอัจฉริย กษัตริย์ทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจอันทรงคุณประโยชน์แก่แผ่นดิน ทรงชานาญทั้งในด้านการรบ การปกครอง และการศาสนา พระองค์ทรงรวบรวมขยายอาณาจกั รสโุ ขทัยออกไปได้กว้างใหญ่ไพศาล ด้วยวิเทโศบายอันแยบยลสุขุมคัมภีรภาพทั้งทรงปกครองไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินด้วยความยุติธรรมได้รับ ความร่มเย็นเป็นสุขกันทั่วหน้า พ่อขุนรามคาแหงมหาราช เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ท่ี 3 ใน ราชวงศ์พระร่วงแห่งราชอาณาจักรสุโขทัย ท้ังยังได้ทรงประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้น ทาให้ชาติไทยได้ สะสมความรู้ทางศลิ ปะ วฒั นธรรม และวิชาการต่าง ๆ สบื ทอดกนั มากว่าเจด็ รอ้ ยปี
พระราชประวัติพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช พอ่ ขนุ ศรีอนิ ทราทิตย์ นางเสอื ง พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช หรือพ่อขุนรามราช ช่ือ”รามราช” พบในจารึกวัดศรีชุมว่า “ลูกพ่อขุนศรี อินทราทิตย์ผู้หน่ึงช่ือพ่อขุนรามราชปราชญ์รู้ธรรม” รวมท้ังพบในจารึก และเอกสารอื่นๆอีกหลายแห่งว่า “พญารามราช” อาจารย์พิริยะ ไกรฤกษ์ อธิบายคาว่า “ราม” (จากชื่อพญารามราช) น่าจะมาจาก “อุตต โมราม” ซ่ึงแปลว่า “พระรามผู้ย่ิงใหญ่” ท่ีทรงเป็นพระอนาคตพุทธเจ้าองค์ต่อไปจากพระเมตไตรย ดังท่ี กล่าวถงึ ใน “โสตตตั ถกมี หานิทาน” เพราะในช่วงเวลานั้นต่างให้ความสาคัญแก่พระอนาคตพุทธเจ้าโดยเฉพาะ (เอกสารวจิ ัยเร่ือง “การศกึ ษาเชงิ ประวตั ศิ าสตร์ศลิ ปะ : จารกึ พ่อขุนรามคาแหง” : 2531)แต่ชื่อ “รามคาแหง” พบเพยี งคร้ังเดยี วในจารึกพ่อขนุ รามคาแหง และไมพ่ บในที่อ่ืนๆอีกเลยทุกวันน้ีชื่อ “รามคาแหง” เป็นที่รู้จักกัน แพร่หลายกว่า “รามราช” จงึ ขอเรียกตามความนยิ มว่า “พอ่ ขนุ รามคาแหง” พ่อขนุ รามคาแหงมหาราชเปน็ พระราชโอรสองคท์ ี่ 3 ของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์กับนางเสือง พ่อขุนศรี อนิ ทราทิตย์ หรอื พระนามเต็ม กามรเตงอัญศรีอินทรบดนิ ทราทิตย์ พระนามเดิม พ่อขุนบางกลางหาว ทรงเป็น ปฐมวงศร์ าชวงศ์พระร่วงแหง่ อาณาจกั รสโุ ขทยั ครองราชสมบัติ ต้ังแต่ พ.ศ. 1782 (คานวณศักราชจากคัมภีร์สุ รยิ ยาตรตามข้อเสนอของ ศ. ประเสรฐิ ณ นครและ พ.อ.พิเศษ เออ้ื น มณเฑียรทอง) แต่ไม่ปรากฏหลักฐานการ สวรรคตหรอื ส้นิ สุดการครองราชสมบัตปิ ีใด มผี ูส้ ันนษิ ฐานท่มี าของพอ่ ขนุ ศรีอนิ ทราทิตย์ จากคัมภีร์ชินกาลมาลี ปกรณ์วา่ บ้านเดมิ ของพระองค์อาจอยูท่ ี่ “บ้านโคน” ในจังหวดั กาแพงเพชร พ่อขุนศรีอินทราทิตย์เม่ือครั้งยังเป็นพ่อขุนบางกลาวหาวได้ร่วมกับพ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราดแห่ง ราชวงศ์ศรีนาวนาถุม รวมกาลงั พลกนั กระทารัฐประหารขอมสบาดโขลญลาพง โดยพ่อขุนบางกลางหาวตีเมือง ศรีสัชนาลยั และ เมอื งบางขลงได้ และยกท้งั สองเมอื งใหพ้ อ่ ขนุ ผาเมือง ส่วนพ่อขุนผาเมืองตีเมืองสุโขทัยได้ ก็ได้ มอบเมืองสุโขทัยให้พ่อขุนบางกลาวหาว พร้อมพระขรรค์ชัยศรีและพระนาม “ศรีอินทรบดินทราทิตย์” ซึ่งได้ นามาใช้เป็นพระนาม ภายหลังได้กลายเป็น ศรีอินทราทิตย์ โดยคาว่า “บดินทร” หายออกไป เช่ือกันว่าเพื่อ เปน็ การแสดงว่ามไิ ด้ เป็น บดีแห่งอินทรปัต คืออยู่ภายใต้อิทธิพลของเขมร (เมืองอินทรปัต) อีกต่อไป เม่ือแรก ต้ังอาณาจักรสโุ ขทยั นนั้ อาณาเขตยังไมก่ ว้างขวางเทา่ ใดนกั เขตแดนทางทิศใต้จดเพยี งเมืองปากน้าโพ ใต้จาก ปากน้าโพลงมายังคงเป็นอาณาเขตของขอมอันได้แก่เมืองละโว้ ทางฝ่ายตะวันตกจดเพียงเขาบรรทัด ทาง
เหนือมเี ขตแดนติดต่อกับประเทศลานนาที่ภูเขาเข่ือน ส่วนทางตะวันออกก็จดอยู่เพียงเขาบันทัดท่ีกั้นแม่น้า สักกับแม่น้าน่าน การเข้ามาครองสุโขทัยของพระองค์ ส่งผลให้ราชวงศ์พระร่วงเข้า มามีอิทธิพลในเขตนคร สโุ ขทัยเพมิ่ มากขึ้น และได้แผ่ขยายดินแดนกว้างขวางมากออกไป แต่เขตแดนเมืองสรลวงสองแคว ก็ยังคงเป็น ฐานกาลังของราชวงศ์ศรนี าวนาถุมอยู่ พอ่ ขนุ ศรีอนิ ทราทติ ย์มพี ระราชโอรสและพระธดิ ารวม 5 พระองค์ ได้แก่ 1. พระราชโอรสองคโ์ ต (ไม่ปรากฏนาม)เสียชวี ติ ตั้งแตย่ ังทรงพระเยาว์ 2. พอ่ ขุนบานเมือง 3. พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช 4. พระธิดา (ไมป่ รากฏนาม) 5. พระธดิ า (ไม่ปรากฏนาม) พ่อขนุ รามคาแหงชนชา้ งขนุ สามชนเจ้าเมืองฉอด ในระหว่างท่ีพระเจ้าศรีอินทราทิตย์ทรงครองราชย์อยู่น้ัน ก็ได้กระทาสงครามเพื่อขยายเขตแดนของ ไทยออกไปอกี ในทางโอกาสท่ีเหมาะสม ดังที่มขี ้อความปรากฏอยใู่ นศลิ าจารึกว่า พระองค์ได้เสด็จยกกองทัพไป ตีเมืองฉอด ได้ทาการรบพุ่งตะลุมบอนกันเป็นสามารถถึงขนาดที่พระเจ้าศรีอินทราทิตย์ ได้ทรงกระทายุทธ หตั ถกี ับขนุ สามชนเข้าเมืองฉอด แต่พระองค์เสียทีแก่ขุนสามชน แลในคร้ังนี้เองท่ีเจ้ารามราชโอรสองค์เล็กของ พระองคไ์ ดเ้ ร่มิ มบี ทบาทสาคญั ด้วยการท่ีทรงถลนั เข้าช่วยโดยไสช้างทรงเข้าแก้พระราชบิดาไว้ทันท่วงที แล้วยัง ไดร้ บพงุ่ ตที ัพขนุ สามชนเข้าเมืองฉอดแตกพา่ ยกระจายไป
การขึนครองราชย์ เมื่อพ่อขุนศรีอินทราทิตย์สิ้นพระชนม์ พระเชษฐาองค์ที่สองทรงพระนามตามศิลาจารึกว่า \"พระยา บานเมือง\" ซ่ึงได้เสวยราชย์ต่อจากพระราชบิดา และเม่ือสิ้นพระชนม์แล้ว พ่อขุนรามคาแหงมหาราชก็เสวย ราชย์แทนต่อมารัชสมัยของพ่อขุนรามคาแหงมหาราชเป็นยุคท่ีกรุงสุโขทัยเฟ่ืองฟูและเจริญข้ึนกว่าเดิมเป็นอัน มาก ระบบการปกครองภายในก่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยอย่างมีประสิทธิภาพ มีการติดต่อสัมพันธ์กับ ต่างประเทศท้ังในดา้ นเศรษฐกิจและการเมือง ประชาชนอยู่ดีกินดี สภาพบ้านเมืองก้าวหน้าทั้งทางเกษตร การ ชลประทาน การอุตสาหกรรม และการศาสนา อาณาเขตของกรงุ สุโขทัยไดข้ ยายออกไปกวา้ งใหญ่ไพศาล การขยายอาณาเขต เม่อื พอ่ ขนุ รามคาแหง เสดจ็ เถลงิ ถวัลราชสมบัติสืบต่อจากพ่อขุนบาลเมืองน้ัน อาณาจักรสุโขทัยนับว่า ตกอยใู่ นระหว่างอันตรายรอบดา้ น และยากทาการขยายอาณาจกั รออกไปได้ เพราะทางเหนือก็ติดต่อกับแคว้น ลานนา อันเป็นเช้ือสายไทยด้วยกันมีพระยาเม็งรายเป็นเจ้าเมืองเงินยางและพระยางาเมือง เป็นเจ้า เมืองพะเยาและทั้งพระยาเม็งรายและพระยางาเมือง ขณะนั้นต่างก็มีกาลังอานาจแข็งแกร่งท้ังคู่ ตาม พงศาวดารโยนก พ่อขุนรามคาแหงมหาราชแห่งกรุงสุโขทัย พญามังรายมหาราชแห่งล้านนา และพญางาเมือง แห่งพะเยา เป็นศิษย์ร่วมพระอาจารย์เดียวกัน ณ สานักพระสุกทันตฤๅษี ที่เมืองละโว้ จึงน่าจะมีอายุรุ่นราว คราวเดียวกนั โดยพ่อขุนเมง็ รายประสตู ิเมอื่ พ.ศ. 1782 พ่อขุนรามฯ นา่ จะประสูตใิ นปีใกล้เคยี งกัน พญางาเมือง พญามังรายมหาราช พ่อขุนรามคาแหงมหาราช
ทรงทาพระราชไมตรีกับพ่อขุนเม็งรายมหาราชแห่งล้านนาและพ่อขุนงาเมืองแห่งพะเยา โดยทรง ยินยอมให้พ่อขุนเม็งรายมหาราชขยายอาณาเขตล้านนาทางแม่น้ากก แม่น้าปิง และแม่น้าวังได้อย่างสะดวก เพื่อให้เป็นกันชนระหว่างจีนกับสุโขทัยกับทั้งยังได้เสด็จไปทรงช่วยเหลือพ่อขุนเม็งรายมหาราชหาชัยภูมิสร้าง เมืองเชยี งใหมเ่ ม่อื พ.ศ. 1839 ด้วย ดว้ ยเหตนุ ี้พอ่ ขุนรามคาแหงจงึ ต้องดาเนินวเิ ทโศบายในการแผ่อาณาจักร อย่างแยบยล และสุขุมท่ีสุดเพ่ือหลีกเลี่ยงการฆ่าฟันระหว่างคนไทยด้วยกันเอง คือแทนที่จะขยายอาณาเขตไป ทางเหนือ หรือตะวันออกซ่งึ มีคนต้งั หลักแหลง่ อย่มู าก พระองค์กลบั ทรงตดั สนิ พระทัยขยายอาณาเขตลงไปทาง ใต้อันเป็นดินแดนของขอม และทางทิศตะวันตกอันเป็นดินแดนของมอญ เพื่อให้คนไทยในแคว้นลานนาได้ ประจกั ษใ์ นบญุ ญาธกิ าร และได้เหน็ ความแข็งแกร่งของกองทัพไทยแห่งอาณาจักรสุโขทัยเสียก่อน แล้วไทยใน แควน้ ล้านนาก็อาจจะมารวมเขา้ ด้วยตอ่ ภายหลงั ได้โดยไม่ยาก แต่แม้จะได้ตกลงพระทัย ดังนั้น พ่อขุนรามคาแหงก็ยังคงทรงวิตกอยู่ในข้อท่ีว่าถ้าแม้ว่าพระองค์ กรีฑาทัพขยายอาณาเขตลงไปสู้รบกับพวกขอมทางใต้แล้วพระองค์อาจจะถูกศัตรูรุกรานลงมาจากทางเหนือก็ ได้ บังเอญิ ในปี พ.ศ. 1829 กษัตริย์ในราชวงศ์หงวนได้ส่งทูตเข้ามาขอทาไมตรีกับไทย พระองค์จึงยอมรับเป็น ไมตรีกับจีน เพ่ือป้องกันมิให้กองทัพจีนยกมารุกรานเมื่อพระองค์ยกทัพไปรบเขมร พร้อมกันนั้นก็ได้ทรง พยายามสรา้ งความสนทิ สนมกับไทยลานนาเช่นได้เสด็จด้วยพระองค์เองไปช่วยพระยาเม็งราย สร้างราชธานีท่ี นครเชียงใหม่เป็นต้น แหละเมื่อเห็นว่าสัมพันธไมตรีทางเหนือมั่นคงแล้ว พระองค์จึงได้เร่ิมขยายอาณาจักร สุโขทยั ลงไปทางใตต้ ามลาดับ คอื ใน พ.ศ. 1823 ทรงตีไดเ้ มืองนครศรธี รรมราช และเมอื งต่างๆ ในแหลมลายู ตลอดรวมไปถึงเมืองยะโฮร์และเกาะสิงคโปร์ในปัจจบุ ันนี้ ใน พ.ศ. 1842 ตีได้ประเทศเขมร (กมั พชู า) มะกะโท พระเจา้ ฟ้าร่ัว
ส่วนทางทิศตะวันตกท่ีมีอาณาเขตจดเมืองมอญนั้นเล่าพระเจ้ารามคาแหงก็ได้ดาเนินการอย่างสุขุม รอบคอบเช่นเม่ือได้เกิดความข้ึนว่า มะกะโท อามาตย์เช้ือสายมอญ ซ่ึงมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดและได้มารับ ราชการใกล้ชิดพระองค์ได้กระทาความผิดชั้นอุกฤษฏ์โทษ โดยลักพาเอาพระธิดาของพระองค์หนีกลับไปเมือง มอญ แทนท่ีพระองค์จะยกทัพตามไปชิงเอาตัวพระราชธิดาคืนมา พระองค์กลับทรงเฉยเสียด้วยได้ทรง คาดการณไ์ กล ทรงมั่นพระทยั วา่ มะกะโท ผูน้ ี้คงจะคิดไปหาโอกาสตั้งตัวเป็นใหญ่ในเมืองมอญ ซึ่งถ้าเมื่อมะกะ โทได้เป็นใหญ่ในเมืองมอญก็เปรียบเสมือนพระองค์ได้มอญมาไว้ในอุ้มพระหัตถ์ โดยไม่ต้องรบราฆ่าฟันกันให้ เสียเลือดเนื้อ ซ่ึงต่อมาการณ์ก็ได้เป็นไปตามที่ได้ทรงคาดหมายไว้ คือมะกะโท ได้เป็นใหญ่ครอบครอง อาณาจักรมอญท้ังหมด แลได้เข้าสามิภักดิ์ต่ออาณาจักรสุโขทัย โดยพระเจ้ารามคาแหงมิต้องทาการรบพุ่ง ประการใดพระองค์ไดเ้ สดจ็ ไปทาพิธีราชภเิ ษกให้มะกะโท และพระราชทานนามใหใ้ หม่วา่ “พระเจา้ ฟา้ รัว่ ” ด้วยวเิ ทโศบายอนั ชาญฉลาด สุขุมคัมภรี ภาพของพระองคน์ ี้เอง จึงเปน็ ผลใหอ้ าณาจักรไทยในสมัย พระเจ้ารามคาแหงแผ่ขยายออกไปอย่างกว้างขวาง ปรากฎตามหลักศิลาจารึกว่าพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ได้ทรงขยายอาณาเขตออกไปอยา่ งกว้างขวางไพศาล คอื ทิศตะวันออก ทรงปราบได้เมืองสรหลวงสองแคว (พิษณุโลก), ลุมบาจาย, สะค้า (สองเมืองหลังนี้อาจ อยแู่ ถวลุม่ แม่น้านา่ นหรือแควปา่ สกั ก็ได้), ขา้ มฝง่ั แม่น้าโขงไปถงึ เวยี งจันทน์และเวยี งคาในประเทศลาว ทิศใต้ ทรงปราบได้คนที (บ้านโคน จังหวัดกาแพงเพชร), พระบาง (นครสวรรค์), แพรก (ชัยนาท), สพุ รรณภมู ,ิ ราชบุรี, เพชรบุรี, และนครศรีธรรมราช โดยมฝี ั่งทะเลสมทุ ร (มหาสมทุ ร) เป็นเขตแดนไทย ทิศตะวันตก ทรงปราบไดเ้ มืองฉอด, เมืองหงสาวดี และมีสมทุ รเปน็ เขตแดนไทย ทิศเหนือ ทรงปราบได้เมืองแพร่, เมืองน่าน, เมืองพลัว (อาเภอปัว น่าน), ข้ามฝ่ังโขงไปถึงเมืองชวา (หลวงพระบาง) เป็นเขตแดนไทย
เศรษฐกจิ และการคา้ ในรชั สมัยของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช เป็นช่วงสมัยท่ีสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุด ซึ่งนอกจาก การทาสงครามเพือ่ ขยายอาณาเขตแล้ว ความรุ่งเรืองของสุโขทัยอาจเนื่องมาจากการที่สุโขทัยตั้งอยู่ในเส้นทาง ทาง การค้ามาต้ังแต่สมัยโบราณ และเมื่อการค้าขยายตัวเพิ่มข้ึน สุโขทัยซ่ึงอยู่บนเส้นทางคมนาคมที่สามารถ ค้าขายติดต่อกับบ้านเมืองต่างๆได้ โดยรอบ โดยมีเส้นทางการเดินทางไปทางเหนือถึงลุ่มแม่น้าโขง ทาง ตะวันตกมีเส้นทางติดต่อกับเมืองพุกามและหัวเมืองมอญ ซึ่งสามารถออกทะเลเบงกอลติดต่อกับลังกา และ อินเดยี ใต้ สว่ นทางใต้มีเส้นทางเดินทางผ่านลุ่มแม่น้าปิง ลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา ผ่านนครศรีธรรมราชออกสู่ทะเล สันนิษฐานวา่ สุโขทัยอาจเปน็ เมืองศนู ย์กลางการค้าแบบกองคาราวาน และสุโขทัยเองอาจจะค้าของป่า และแร่ ธาตุสาคัญ นอกจากนั้นสุโขทัยยังยอมเป็นเมืองผ่านทางการค้า โดยอนุญาตให้พ่อค้าเอาสินค้าไปค้าขาย แลกเปล่ยี นไดโ้ ดยไม่เก็บภาษีผ่านด่าน เป็นการส่งเสริมให้มีคนมาค้าขายที่สุโขทัยเพ่ิมข้ึน ดังมีข้อความปรากฏ ในศิลาจารกึ หลักที่ 1 ว่า “เจ้าเมอื งบ่เอาจกอบ ในไพร่ลู่ทาง เพื่อนจูงวัวไปค้า ข่ีม้าไปขาย ใครจะใคร่ค้าช้างค้า ใครจะใครค่ ้ามา้ ค้า ใครจะใคร่ค้าเงือนค้าทองค้า” จึงอาจเป็นเหตุผลสาคัญท่ีทาให้ผู้คนจากท่ีต่างๆโยกย้ายเข้า มาสู่ดินแดนใน อาณาเขตของอาณาจักรสุโขทัย ดังปรากฏข้อความในศิลาจารึกหลักท่ี 1 ว่า “พ่อขุน รามคาแหง ลูกพ่อขุนศรอี ินทราทติ ย์ เปน็ ขุนในเมอื งศรสี ชั นาลัย สุโขทัย ทั้งมากาว ลาวแลไทย เมืองใต้หล้าฟ้า ฏ…ไทยชาวอู ชาวของ มาออก”ทรงสนับสนุนในทางการค้าพานิช เลิกด่านเก็บภาษีอากรและจังกอบ เพ่ือ เปิดโอกาสใหผ้ ู้คนไปมาคา้ ขายกนั ได้โดยสะดวกได้ยิ่งข้ึน
พระราชกรณยี กิจด้านการตา่ งประเทศ การเช่ือมสัมพันธไมตรีกับประเทศเพ่ือนบ้าน นับเป็นพระราโชบายสาคัญอันหน่ึงของพ่อขุน รามคาแหง ท้ังนี้ก็เพ่ือยังประโยชน์ต่อประเทศชาติบ้านเมืองในด้านต่าง ๆ หลังจากท่ีทรงขยายอาณาจักร สุโขทัยออกไปได้อย่างกว้างขวาง และดาเนินการจัดระเบียบการปกครองเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงหันมาเอา พระทัยใส่ในด้านต่างประเทศอย่างจริงจัง โดยเฉพาะกับประเทศจีนซ่ึงในเวลานั้นเป็นรัชสมัยของ \"พระเจ้าหง วนสีโจ๊วฮ่องเต้\" แหง่ ราชวงศ์หงวน ได้แตง่ ราชฑูตมาเจริญสมั พันธไมตรีกับไทยในราวปี พ.ศ.2825 หลังจากนั้น พอ่ ขนุ รามคาแหงได้เสด็จไปเมอื งจีนถงึ 2 ครั้ง โดยมหี ลักฐานจากจดหมายเหตุของจีนยืนยันว่า ได้เสด็จไปในปี พ.ศ. 1837 และในปี พ.ศ.1843 และในสมยั สุโขทัยเปน็ ราชธานีของไทยได้มบี ันทกึ ทางประวตั ิศาสตร์ว่า ไทยได้ ส่งคณะทตู ไปเมืองจีน 10 คร้ัง จีนส่งมา 4 คร้ัง (แต่มาถึงกรุงสุโขทัยเพียง 3 ครั้ง) พ่อขุนรามคาแหงส่งราชทูต เดนิ ทางมาเฝ้าและแจ้งพระราชประสงคแ์ กพ่ ระเจ้าหงวนสีโจ๊วฮ่องเต้ ณ กรุงปักกิ่งในปี พ.ศ.2835 ว่าจะเสด็จฯ มาเฝ้าด้วยพระองค์เอง แต่เกิดศึกทางด้านเมืองชวา ครั้นถึงปี พ.ศ.1837 พระเจ้าหงวนสีโจ๊วฮ่องเต้เสด็จ สวรรคต พ่อขุนรามคาแหงจึงเสด็จไปถวายคานับพระบรมศพ ณ กรงุ จนี ภายในปนี ั้น และประทับอยู่จนถึงต้นปี พ.ศ.1838 เพื่อเขา้ ร่วมในพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษกพระราชนดั ดา (บางตาราวา่ คอื ติมูรข่าน ทรงเป็นพระราช โอรส) ของพระเจ้าหงวนสีโจ๊ว ซ่ึงเสด็จครองราชย์เป็นรัชกาลท่ี 2 แห่งราชวงศ์หงวน ทรงพระนามว่ามหา จักรพรรดิ \"หงวนเซ่งจง\" หรอื \"พระเจ้าหงวนเสงจงฮ่องเต้\" ในการเสดจ็ ไปประเทศจีนนั้นมผี ลดที างดา้ นการเมอื ง 2 ประการ คอื 1. เพิ่มพนู สัมพนั ธไมตรีระหว่างราชวงศไ์ ทยและจีนใหแ้ นน่ แฟ้นยิ่งข้ึนกวา่ สมัยใด ๆ ที่ผา่ นมา 2. ไทยมีการพฒั นาทางด้านงานศิลปหตั ถกรรม โดยเมือ่ เสด็จกลับจากเมืองจีนแล้ว พ่อขุนรามคาแหง ได้ให้ต้ังโรงงานทาถว้ ยชามเคร่ืองเคลือบดินเผาข้ึนในกรงุ สุโขทยั และเมอื งศรสี ชั นาลัย ซึ่งมีนายชา่ งที่นามาจาก เมืองจนี เป็นผคู้ วบคมุ ดูแล โดยในระยะแรกทรงให้สร้างโรงงานขนาดเล็กขึน้ ก่อน เป็นโรงงานสาหรบั ฝึกชา่ งไทย และทาผลิตผลส่งหลวง
เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาสวรรคโลก ครั้นอีก 6 ปีต่อมาพ่อขุนรามคาแหงเสด็จไปเยือนเมืองจีนเป็นครั้งท่ี 2 ในปี พ.ศ.1843 พระมหา จักรพรรดิหงวนเซ่วจนได้ถวายช่างฝีมือเพ่ิมเติมจึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงงานขนาดใหญ่ข้ึน ณ เมืองสวรรค โลก (เมืองเชลยี ง) อกี แห่งหน่ึง โดยระดมทั้งช่างไทยและช่างจีน ทาการผลิตเครื่องป้ันดินเผาเคลือบนานาชนิด ส่งเป็นสินค้าทางทะเลออกจาหน่ายท้ังภายในและต่างประเทศ ณ ประเทศ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย บอร์เนียว และมาเลเซีย เป็นต้น ซ่ึงได้รับความนิยมแพร่หลาย เน่ืองจากมีลวดลายวิจิตรวายงามและขนาดไม่ใหญ่ เทอะทะเหมอื นแบบเดมิ ทใ่ี ชก้ ันอยู่ ท้ังอายกุ ารใช้งานก็ยาวนาน จงึ เป็นท่ตี อ้ งการของตลาด ในสมัยต่อมาคาว่าสวรรคโลกได้เพี้ยนไป ถ้วย ชาม เคร่ืองเคลือบดินเผาที่ผลิตขึ้นในสมัยน้ันจึงถูก เรียกว่า \"เคร่ืองสังคโลก\" ปัจจุบันเป็นส่ิงท่ีทรงคุณค่าหาได้ยากยิ่ง มีราคาซ่ือขายกันแพงลิบล่ิว และมีช่ือเสียง เป็นที่รู้จักและยอมรับในนานาประเทศ สาหรับเตาเผาท่ีใช้เผาเครื่องสัคโลกเรียกว่า \"เตาทุเรียง\" อันเป็นคาท่ี เพี้ยนมาจากเมืองเชลียง ลักษณะเตาก่อด้วยอิฐกว้าง 1.50 เมตร ยาว 4-5 เมตร ทารูปร่างคล้ายกับประทุน เกวียน แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน คอื 1. ปล่องไฟ 2. ท่สี ไี ฟ 3. ทีว่ างถว้ ยชาม นอกจากการติดต่อกับประเทศจีนแล้ว จากข้อความในหนังสือราชาธิราชปรากฏว่ามีการติดต่อกับ ประเทศใกล้เคียงคอื เมอื งรามัญ เมืองหงสาวดี ชวา มลายูและลงั กา การปกครอง ในด้านการปกครองเพื่อความปลอดภัยและมนั่ คงของประเทศนน้ั พระองคท์ รงถือว่าชายฉกรรจ์ท่ีมี อาการครบ 32 ทุกคนเปน็ ทหารของประเทศ พระเจ้าแผ่นดินทรงดารงตาแหน่งจอมทัพ ข้าราชการก็มี ตาแหน่งลดหล่ันเป็นนายพล นายรอ้ ย นายสบิ ถดั ลงมาตามลาดับ
ในดา้ นการปกครองภายใน จดั เป็นส่วนภมู ิภาคแบง่ เป็นหวั เมอื งช้นั ใน ช้นั นอกและเมอื งประเทศราช สาหรับหวั เมอื งช้นั ใน มีพระเจ้าแผ่นดินเปน็ ผปู้ กครองโดยตรง มเี มอื งสุโขทยั เป็นราชธานี เมืองศรสี ัชนาลัย (สวรรคโลก) เปน็ เมืองอปุ ราช มเี มอื งทุ่งยัง้ บางยม สองแคว (พษิ ณโุ ลก) เมืองสระหลวง (พจิ ิตร) เมืองพระบาง (นครสวรรค์) และเมืองตากเป็นเมอื งรายรอบ สาหรับหวั เมอื งชนั้ นอกนัน้ เรยี กว่าเมืองพระยามหานคร ใหข้ นุ นางผใู้ หญ่ทไ่ี ว้วางพระราชหฤทัยไป ปกครองมีเมืองใหญ่บา้ งเลก็ บ้าง เวลามีศึกสงครามก็ให้เกณฑพ์ ลในหัวเมอื งขนึ้ ของตนไปช่วยทาการรบป้องกัน เมือง หัวเมืองชน้ั นอกในสมัยนั้น ไดแ้ ก่ เมอื งสรรคบรุ ี อทู่ อง ราชบุรี เพชรบุรี ตะนาวศรี เพชรบูรณ์ แล เมอื งศรเี ทพ สว่ นเมอื งประเทศราชนน้ั เป็นเมืองท่ีอย่ชู ายพระราชอาณาเขตมักมีคนต่างด้าวชาวเมืองเดมิ ปะปนอยู่ มาก จงึ ได้ตั้งใหเ้ จา้ นายของเขาน้นั จดั การปกครองกนั เอง แต่ต้องถวายดอกไม้เงินดอกไม้ทองทุกปี แลเมื่อเกิด ศกึ สงครามจะต้องถลม่ ทหารมาชว่ ย เมืองประเทศราชเหล่าน้ี ไดแ้ ก่ เมอื งนครศรีธรรมราช มะละกา ยะโฮร์ ทะวาย เมาะตะมะ หงสาวดี น่าน หลวงพระบาง เวียงจันทร์ และเวียงคา พระพุทธสิหิงค์ การศาสนา ทรงรับเอาพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์ จากลังกา ผ่านเมืองนครศรีธรรมราช มา ประดิษฐานที่เมืองสุโขทัย ทาให้พระพุทธศาสนาวางรากฐานมั่นคงในอาณาจักรสุโขทัย และเผยแผ่ไปยังหัว เมอื งต่างๆในราชอาณาจกั รสโุ ขทยั จนกระท่ังไดก้ ลายเป็นศาสนาประจาชาติไทยมาจนถึงทกุ วันน้ี เมื่อพระพุทธศาสนาได้มาตั้งม่ันท่ีนครศรีธรรมราช พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงเลื่อมใสศรัทธาใน พระพุทธศาสนาจึงให้นิมนต์พระเถระช้ันผู้ใหญ่จากเมืองนครศรีธรรมราชไปต้ังเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่กรุง สุโขทัยด้วย และนับเป็นการเริ่มการเจริญสัมพันธไมตรีกับลังกา อีกทั้งทรงได้สดับกิตติศัพท์ของ \"พระพุทธ สิหิงค์\" ซ่ึงเป็นพระพุทธรูปท่ีเจ้าราชวงศ์ลังกาสร้างขึ้นด้วยพระพุทธลักษณะท่ีงดงาม และมีความศักด์ิสิทธิ์ จึง ทรงให้พระยานครศรีธรรมราช เจ้าประเทศราชแต่งสาส์นให้ทูตถือไปยังลังกา เพ่ือขอเป็นไมตรีและขอ
พระราชทานพระพุทธสิหิงค์มาเพื่อเป็นพระคู่บ้านคู่เมืองไทยสืบไป ศิลปะทางด้านพุทธศาสนา ในสมัยสุโขทัย ได้รับพระพุทธสิหิงค์มาจากลังกา ซ่ึงเป็นแม่แบบของพระพุทธรูปสุโขทัย พระพุทธรูปในประเทศไทยก่อนหน้า นี้ทุกยุคไม่เคยมีเปลวรัศมีสูง เพิ่งจะมีข้ึนครั้งแรกในสมัยสุโขทัย สังฆาฏิพระพุทธรูปในสมัยก่อนหน้าน้ี ไม่เคย เป็นแฉกชนิดที่เรียกว่า เข้ียวตะขาบ พระเจดีย์แบบลอมฟางซ่ึงถ่ายทอดมาจากมรีจิวัดเจดีย์ในลังกาก็ดี ถูปา รามในลังกากด็ ี สมัยสโุ ขทัยก็สร้างข้ึนเลยี นแบบ เช่น พระมหาธาตวุ ดั ชา้ งรอ้ ง เมืองชะเลยี ง ด้วยอทิ ธพิ ลเกีย่ วกับประเพณีทางศาสนา ในศลิ าจารึกของพ่อขุนรามคาแหง ได้พรรณนาถึงสภาพของ ของชาวสุโขทัยและประเพณที างศาสนามีความวา่ \"คนในเมอื งสุโขทยั น้ี มักทาน มักทรงศีล มักโอยทาน พ่อขุน รามคาแหงเจา้ เมอื งสโุ ขทัย ท้งั ชาวแม่ชาวเจา้ ทว่ ยปว่ั ท่วยนาง ลูกเจา้ ลกู ขุน ทงั้ สิ้นทั้งหลาย ท้ังผู้ชายผู้หญิง ฝูง ท่วยมีศรัทธาในพระพุทธศาสนา ทรงศีลเม่ือพรรษาทุกคน เม่ือออกพรรษา กรานกฐินเดือนหน่ึงจึงแล้ว เม่ือ กรานกฐนิ มีพนมเบ้ียพนมหมากมีพนมดอกไม้ มีหมอนน่ังหมอนนอน บริพารกฐิน โอยทานแล่ป่ีแล้ญิบล้าน ไป สวดญัตตกิ ฐินถึงอรัญญิกพู้น…ใครจะมักเล่น…เล่น ใครจะมักหัว…หัว ใครจะมักเล่ือน…เล่ือน เมืองสุโขทัยน้ีมีสี่ ปากประตูหลวง เทยี นญอมคนเสียดกันดทู า่ นเผา่ เทียน เมอื งสุโขทยั น้มี ดี ังจะแตก พระอัจนะ วดั ศรชี ุม นอกจากนกี้ รุงสโุ ขทัยยังมีวดั ต่าง ๆ ทสี่ าคญั เชน่ วัดตะพังเงิน วัดชนะสงคราม วดั สระสี วดั ตะกวน วดั ศรชี มุ เป็นต้น ภายในวดั ศรชี ุมมีพระพุทธรปู ปางมารวชิ ยั ขนาดมหึมา คือ \"พระอัจนะ\" ประดษิ ฐานอยู่ภายใน พระวิหารซ่ึงสร้างเปน็ รูปสี่เหล่ียมลักษณะคล้ายมณฑป แต่หลงั คาพงั ทลายลงมาหมดแล้ว เหลอื เพียงผนงั ท้ังส่ี ดา้ น ผนงั แต่ละด้านก่ออิฐถือปูนอยา่ งแนน่ หนาภายในช่องกาแพงตามฝาผนังมภี าพเขยี นเกา่ แก่แต่เลอะเลอื น เกือบหมดภาพเขียนนี้มีอายุเกือบ 700 ปี
พระแทน่ มนังคศลิ า พระองคเ์ องทรงเป็นอัครศาสนูปถมั ภกไดท้ รงสร้างแทน่ มนังคศิลาไว้ท่ีดงตาล สาหรับใหพ้ ระสงฆ์แสดง ธรรมและบางคร้ังกใ็ ช้เป็นที่ประทับว่าราชการแผ่นดนิ อุทยานประวัติศาสตรศ์ รีสัชนาลยั
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
Pages: