Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ - อักษรธรรมอีสาน

คู่มือการอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ - อักษรธรรมอีสาน

Description: คู่มือการอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสานเพื่อเผยแพร่.

Search

Read the Text Version

ค่มู ือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน คมู่ อื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน รูปพยญั ชนะ อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล W8 W86 คฺรุ ครู ผหู้ นกั แน่น W9 wW9q ไตฺรย ไตรย สาม Wx Wxkป ปฺราฺส ปราชญ์ ผรู้ ู้ Wr Wrkๆ พฺราฺม พราหมณ์ ผลู้ อยบาป Wl Wl สฺร สระ (สะ) บ่อน้า Wศ Wศu ศฺรี ศรี (สี) ส่ิงที่เป็นมงคล หมายเหตุ ในการพดู จริงของชาวอีสาน ไม่นิยมออกเสียง ร ควบ แต่ในรูปของอกั ขรวธิ ีมีใชอ้ ยู่ ทวั่ ไป ~ ๙๐ ~ ~ 90 ~

คู่มอื การอา่ นถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน คมู่ อื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน ตวั อยา่ งการใชอ้ กั ษร ,| } (ล) ควบ คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล รูปพยญั ชนะ อกั ษรธรรมอสี ำน d| dk| : กฺลาฺว กล่าว พดู r| roy| พฺลน พลนั เร็ว, รีบด่วน 8} 8}u คฺลี คลี กีฬาชนิดหน่ึง s} gs}bฮ, เหฺลิอม เหล้ือม สุกใส, แวววาว ตวั อยา่ งการใชอ้ กั ษร : (ว) ควบ คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล รูปพยญั ชนะ อกั ษรธรรมอสี ำน d: dk: \" กฺวาฺง กวาง ช่ือสตั วช์ นิดหน่ึง d: cdf: แกฺวฑ แกวด ตรา, บญั ญตั ิ ~ ๙๑ ~ ~ 91 ~

ค่มู ือการอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน คู่มอื การอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน รูปพยญั ชนะ อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล -: -k: ๆ ขฺวาฺม ขวา้ ม ขา้ ม -: -k: \" ขฺวาฺง ขวาง กวา้ ง, ใหญ่ 8: 8:k คฺวา ควา่ เสาะหา, แสวงหา 8: 8fy: กฺวฑ กวดั คุย้ , ขดุ ~ ๙๒ ~ ~ 92 ~

คู่มอื การอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน คูม่ ือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน แบบฝึ กทบทวนความจา จงกาเคร่ืองหมายกากบาท ( x ) หนา้ ขอ้ ท่ีเห็นวา่ ถูกเพยี งขอ้ เดียว ๑. พยญั ชนะประสม หมายถึงอะไร ก. หมายถึงการนาเอาพยญั ชนะ ๒ ตวั มาซอ้ นกนั ข. หมายถึงการนาเอาพยญั ชนะ ๓ ตวั มาซอ้ นกนั ค. หมายถึงการนาเอาพยญั ชนะ ๔ ตวั มาซอ้ นกนั ง. หมายถึงการนาเอาพยญั ชนะ ๕ ตวั มาซอ้ นกนั ๒. กลุ่มพยญั ชนะประสม พยญั ชนะตวั แรกใชร้ ูปพยญั ชนะตวั เตม็ หรือตวั เฟ้ื อง ก. ตวั เตม็ ข. ตวั เฟ้ื อง ค. ใชไ้ ดท้ ้งั พยญั ชนะตวั เตม็ และตวั เฟ้ื อง ง. ใชพ้ ยญั ชนะตวั อ่ืนจากตวั เตม็ และตวั เฟ้ื อง ๓. พยญั ชนะประสมมีกี่อยา่ ง ก. ๑ อยา่ ง ข. ๒ อยา่ ง ค. ๓ อยา่ ง ง. ๔ อยา่ ง ~~ ๙9๓3~~

ค่มู อื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน คู่มอื การอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน ๔. พยญั ชนะท่ีมี ห นา ท่ีปรากฏรูปน้นั มีกี่ตวั ก. ๖ ตวั ข. ๗ ตวั ค. ๘ ตวั ง. ๙ ตวั ๕. รูปพยญั ชนะต่อไปน้ี เรียกวา่ พยญั ชนะอะไร หฺง หฺน หฺม หฺย ตอบ ......................................................................................................................... ๖. จงเขียนคาที่มี ห นา ตอ่ ไปน้ี ใหถ้ ูกตอ้ งตามอกั ขรวธิ ีของอกั ษรธรรมอีสาน เหงา หนุ่ม หมอ หยด หลวง หลาม หวาน ตอบ .................................................................................... ................................... ................................................................................................................................... ๗. จงยกตวั อยา่ งกลุ่มคาท่ีมีเสียง ห นา แต่ไม่ปรากฏรูปมา ๔ คา ตอบ .......................................................................................................................... ๘. จงถอดคาต่อไปน้ี ใหเ้ ป็นอกั ษรไทย และบอกคาแปลไวด้ ว้ ย glๆb l|kF l}[A gl:qb lๆ6f lNA, ตอบ ......................................................................................................................... ................................................................................................................................... ~ ๙๔ ~ ~ 94 ~

คู่มอื การอา่ นถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน คู่มือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน ๙. ตวั อกั ษรธรรมอีสานต่อไปน้ี เรียกวา่ ตวั อะไร p, 2 ตอบ ........................................................................................................................... ๑๐. จงถอดคาต่อไปน้ี ใหเ้ ป็นอกั ษรไทย และบอกคาแปลไวด้ ว้ ย 2k 2^ 2k\" 2ky 2kN 2q, ตอบ ............................................................................................................................ ..................................................................................................................................... ๑๑. จงเขียนคาต่อไปน้ี ดว้ ยอกั ษรธรรมอีสาน อฺยน้ (หด), อฺยวก (ขาว), อฺยอง (จบั ), อฺย้งั (หยดุ ), อฺยา่ , อฺยู่ , อฺยา่ ง, อฺยาก ตอบ............................................................................................................................ ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ๑๒. พยญั ชนะท่ีใชค้ วบมีกี่ตวั ก. ๒ ตวั ข. ๓ ตวั ค. ๔ ตวั ง. ๕ ตวั ~ ๙๕ ~ ~ 95 ~

ค่มู ือการอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน คมู่ อื การอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน ๑๓. ขอั ใด เป็นพยญั ชนะควบกล้าแท้ ก. WdlFy ข. Wxkป ค. Wl ง. Wl\" ๑. ขอ้ ก. ๒. ขอ้ ข. ๓. ขอ้ ค และ ขอ้ ง ๔. ขอ้ ก, ข ๑๔. จงยกตวั อยา่ งอกั ษรควบกล้ามา ๔ คา และบอกคาแปลไวด้ ว้ ย ตอบ............................................................................................................................. ..................................................................................................................................... ๑๕. จงถอดคาต่อไปน้ี ใหเ้ ป็นอกั ษรไทย และบอกคาแปลไวด้ ว้ ย wW9q gs}ฮ,b cd:f 8y:f ตอบ............................................................................................................................. ..................................................................................................................................................... . ~ ๙๖ ~ ~ 96 ~

ค่มู อื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน คู่มอื การอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน บทท่ี ๔ ตำแหน่งและหน้ำทข่ี องอกั ษรธรรมอสี ำน ตำแหน่งและหน้ำทข่ี องอกั ษรธรรมอสี ำน จากตวั อยา่ งต่างๆ ที่ยกมาขา้ งตน้ น้นั พอจะทาใหน้ กั ศกึ ษาเขา้ ใจถึงตาแหน่งและหนา้ ที่ ของอกั ษรอกั ษรธรรมอีสานแต่ละประเภทไดบ้ า้ งแลว้ แต่เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจชดั ข้ึน จะแสดงตาแหน่ง และหนา้ ที่ท่ีแตกต่างกนั ดงั น้ี ๑. ตาแหน่งและหนา้ ท่ีของพยญั ชนะ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑. ๑ ตาแหน่งและหนา้ ที่ของพยญั ชนะตวั เตม็ ตำแหน่ง เขียนไวใ้ นบรรทดั และถา้ คาน้นั ไม่ใช่คาที่ข้ึนตน้ ดว้ ยสระลอย ให้ เขียนดว้ ยรูปพยญั ชนะตวั เตม็ ไวต้ น้ คา ถา้ ใชเ้ ป็นตวั สะกด จะเขียน ไวท้ างขวามือถดั จากตวั เตม็ หน้ำท่ี ทาหนา้ ที่เป็นพยญั ชนะตน้ และตวั สะกด ดงั น้ี ๑. ทาหนา้ ที่เป็นพยญั ชนะตน้ เด่ียว ๒. ทาหนา้ ที่เป็นตวั สะกดในคาภาษาบาลี ๓. ทาหนา้ ที่เป็นตวั สะกดในคาไทยท่ีประสมดว้ ยสระ ๙ ตวั ๔. ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั สะกดในคาไทยที่เป็นอกั ษรนา และอกั ษรควบกล้า ตวั อยา่ งที่ ๑ ทาหนา้ ท่ีเป็นพยญั ชนะตน้ เดี่ยว อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ dy\" กฺง ก้งั บงั , ปิ ด d เป็น พยญั ชนะตน้ -dU ขฺอก ขอก ขอบ, ริม - เป็น พยญั ชนะตน้ ~ ~๙๗9~7 ~

ค่มู อื การอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน ค่มู ือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ 8A{‘'yN คฺบงฺน คบงนั ฉลอง, สมโภช 8 เป็น พยญั ชนะตน้ Sk;kX ฆาวาฺส ฆาวาส ผคู้ รองเรือน S เป็น พยญั ชนะตน้ 'Uf งฺอด งอด แมลงป่ อง ' เป็น พยญั ชนะตน้ ตวั อยา่ งท่ี ๒ ทาหนา้ ที่เป็นตวั สะกดในคาภาษาบาลี คำแปล หมำยเหตุ อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน d เป็นพยญั ชนะตน้ ' เป็นตวั สะกด d'D กงฺก กงั กะ เหยยี่ วแดง - เป็นพยญั ชนะตน้ -8* ขคฺค ขคั คะ พระขรรค,์ ดาบ 8 เป็นตวั สะกด 8 เป็นพยญั ชนะตน้ 8o? คนฺธ คนั ธะ เคร่ืองหอม o เป็นตวั สะกด ฆมฺม ฆมั มะ เหงื่อ S เป็นพยญั ชนะตน้ S,ๆ , เป็นตวั สะกด ~ ๙๘ ~ ~ 98 ~

คู่มือการอค่ามู่ นอืถกา่ ยารถออา่ ดนเอถกา่ ยสถารอโดบเรอากณสา:รโอบักรษาณรธร:รมออกั สีษารนธรรมอีสาน อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ 0 เป็นพยญั ชนะตน้ 0I]Fb จณฺฑิล จณั ฑิละ ช่างตดั ผม I เป็นตวั สะกด ตวั อยา่ งที่ ๓ ทาหนา้ ที่เป็นตวั สะกดในคาภาษาไทยอีสานที่ประสมดว้ ยสระ ๘ ตวั ต่อไปน้ี คือ ฅ6 ( อุ ), ฅ^ ( อู ), gฅy ( เอะ ), gฅ ( เอ ), ฅย ( เอีย ), g ฅUb ( เอือ ), ฅ:A ( อวั ), ฅU ( ออ ) สระ อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล ฅ6 ( อุ ) ]i6 ลุร ลุน หลงั r6i พุร พุน้ โนน้ ฅ^ ( อู ) 9^f ตดู ตูด ยาม, เวลา /^' ฝงู ฝงู พวก, เหล่า gฅy ( เอะ ) lAgๆ fyf สฺมเฑฑ สมเดจ็ ประเสริฐ Wlgfyf สฺรเฑฑ เสดจ็ ไป, อยู่ ~ ๙๙ ~ ~ 99 ~

ค่มู อื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน ~ 100 ~

คมู่ อื การอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน คู่มือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ ตวั f สะกด sN เป็นอกั ษรนา sNdy หฺนก หนกั ไม่เบา ตวั d สะกด sๆ เป็นอกั ษรนา s,B U หฺมอม หม่อม ตรมตรอม ตวั , สะกด หฺยบุ หยบุ หยบิ sq เป็นอกั ษรนา sq@[ ตวั [ สะกด หฺลีร หลิ้น เล่น s| เป็นอกั ษรนา sui| ตวั i สะกด s: เป็นอกั ษรนา wsiy: ไหฺวร ไหวหวน่ั รู้สึกสะเทือนใจ ตวั i สะกด 8N เป็นอกั ษรนา 8uช' คฺนีง คะนิง คานึง, ราพงึ ถึง ตวั ' สะกด ~ ๑~๐๑1~01 ~

ค่มู ือการอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน ค่มู อื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ lN,A สฺนม lN เป็นอกั ษรนา สนม นางกานลั ตวั , สะกด d: เป็นอกั ษรควบ dy': กฺวง กวงั่ ไกล, ยาวไกล ตวั ' สะกด ชน, อาการท่ี -: เป็นอกั ษรควบ -b:f ขฺวฑิ ขวดิ สัตวใ์ ชเ้ ขาทา ร้าย ตวั f สะกด Wx เป็นอกั ษรควบ Wx6' ปฺรุง ปรุง ผสม, แต่ง ตวั ' สะกด gx}db เปลฺ ิก เปลือก ส่วนท่ีหุม้ ขา้ ง x} เป็นอกั ษรควบ นอกของตน้ ไม้ ตวั d สะกด Wr,A พฺรม พรหม พระพรหม, Wr เป็นอกั ษรควบ ท่านผปู้ ระเสริฐ ตวั , สะกด ~ ๑๐๒ ~ ~ 102 ~

คมู่ อื การอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน คูม่ ือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน แบบฝึ กทบทวนความจา ๑. พยญั ชนะตวั เตม็ มีหนา้ ท่ีก่ีอยา่ ง อะไรบา้ ง ตอบ ๒. จงยกตวั อยา่ งพยญั ชนะตวั เตม็ ท่ีทาหนา้ ท่ีเป็นพยญั ชนะตน้ เดี่ยว มา ๔ คา พร้อมคาถ่ายถอด คาอ่าน และคาแปลมาดว้ ย รูปพยญั ชนะ คำอกั ษรธรรม คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล d - 8 S ~~ ๑1๐0๓3~~

ค่มู อื การอา่ นถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน ค่มู อื การอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน ๓. จงยกตวั อยา่ งพยญั ชนะตวั เตม็ ท่ีทาหนา้ ท่ีเป็นตวั สะกดในคาภาษาบาลี มา ๕ คา พร้อมคาถ่าย ถอด คาอ่าน และคาแปลมาดว้ ย รูปพยญั ชนะ คำอกั ษรธรรม คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล d - 8 S ' ๔. จงยกตวั อยา่ งพยญั ชนะตวั เตม็ ท่ีทาหนา้ ที่เป็นตวั สะกดในคาภาษาไทยอีสานที่ประสมดว้ ย สระ ๘ ตวั มาอยา่ งละ ๑ คา พร้อมคาถ่ายถอด คาอ่าน และคาแปลมาดว้ ย รูปสระ คำอกั ษรธรรม คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล ฅ6 ( อุ ) ฅ^ ( อู ) ~ ๑๐๔ ~ ~ 104 ~

คู่มอื การอา่ นถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน ค่มู อื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน รูปสระ คำอกั ษรธรรม คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล gฅy ( เอะ ) gฅ ( เอ ) ฅย ( เอีย ) g ฅbU ( เอือ ) ฅ:A ( อวั ) ฅU ( ออ ) ๕. จงยกตวั อยา่ งพยญั ชนะตวั เตม็ ที่ทาหนา้ ที่เป็นตวั สะกดในคาภาษาไทยอีสานที่เป็นคา อกั ษรนาและอกั ษรควบกล้า มาอยา่ งละ ๑ คา พร้อมคาถ่ายถอด คาอ่าน และคาแปลมาดว้ ย รูปพยญั ชนะ คำอกั ษรธรรม คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล s\" sN ~ ๑๐๕ ~ ~ 105 ~

ค่มู ือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน คู่มือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน รูปพยญั ชนะ คำอกั ษรธรรม คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล sๆ sq s| s: 8N d: -: Wx x} Wr ~ ๑๐๖ ~ ~ 106 ~

คู่มอื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน คู่มือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน ๑. ๒ ตาแหน่งและหนา้ ที่ของพยญั ชนะตวั เฟ้ื อง ตำแหน่ง เขียนไวร้ อบพยญั ชนะตวั เตม็ ท้งั ดา้ นหนา้ ดา้ นบน ดา้ นล่าง ดา้ นหลงั และเขียนไวใ้ ตส้ ระ อา แลว้ แต่กรณี หน้ำที่ ทาหนา้ ที่ ๔ ประการ ดงั น้ี ๑. ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั ควบกล้า ๒. ทาหนา้ ที่เป็นตวั ตามในคาท่ีประกอบดว้ ยอกั ษรนา ๓. ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั สะกดในคาที่ประกอบดว้ ยสระท่ีมีตาแหน่งอยหู่ นา้ บน และหลงั พยญั ชนะตน้ ๔. ทาหนา้ ที่เป็นตวั ตามในคาภาษาบาลี ตวั อยา่ งท่ี ๑ ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั ควบกล้าไดแ้ ก่อกั ษร ๓ ตวั คือ W (ร), | , } (ล), : (ว) อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ Wd,A กฺรม กรม หมวด, หมู่ W เป็นตวั ควบกล้า และ วางไวห้ นา้ พยญั ชนะตน้ d W เป็นตวั ควบกล้า และ W8f6 คฺรุฑ ครุฑ พระยานก วางไวห้ นา้ พยญั ชนะตน้ 8 d'y| กฺลง กลงั เฝือก, เขา้ เฝือก | เป็นตวั ควบกล้า และ วางไวด้ า้ นล่างพยญั ชนะ ~ ~๑๐1๗0~7 ~

คู่มือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน คู่มอื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ ตน้ d } เป็นตวั ควบกล้า และ 8}k คฺลา คลา เดิน, เคล่ือน วางไวด้ า้ นล่างพยญั ชนะ ตน้ 8 วญิ ญาณ, สิ่งที่ : เป็นตวั ควบกล้า และ เป็ นมงคล -:yi ขฺวร ขวญั วางไวด้ า้ นล่างพยญั ชนะ ตน้ - : เป็นตวั ควบกล้า และ -bf: ขฺวฑิ ขวดิ ผา้ ยกดอก วางไวด้ า้ นล่างพยญั ชนะ ตน้ - ตวั อยา่ งท่ี ๒ ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั ตามในคาที่ประกอบดว้ ยอกั ษรนา ๖ ตวั คือ s\" (หฺง), sช (หฺน), sๆ (หฺม), sP (หฺย), s| (หฺล), s: (หฺว) อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ s\";ย หฺงวฺย หงวย เอนลม้ \" เป็นตวั ตามและ ~ ๑๐๘ ~ ~ 108 ~

คู่มอื การอา่ นถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน คู่มือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ อกั ษรนา คือ s หฺงา หงา บงั , ข่ม \" เป็นตวั ตามและ skY\" อกั ษรนา คือ s ช เป็นตวั ตามและ sชA' หฺนง หนง้ ไม่ชดั , เพ้ยี น อกั ษรนา คือ s ช เป็นตวั ตามและ skช ย หฺนาฺย หนาย งาชา้ งพงั อกั ษรนา คือ s sๆvๆ หฺมอฺม หม่อม คาเรียก ๆ เป็นตวั ตามและ พระภิกษุ อกั ษรนา คือ s sๆky หฺมา หมาก คาใชเ้ รียก ๆ เป็นตวั ตามและ ผลไม้ อกั ษรนา คือ s P เป็นตวั ตามและ sP[y หฺยบ หยบั ขยบั , กระเถิบ อกั ษรนา คือ s ~ ๑~๐๙1~09 ~

คมู่ ือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน คมู่ อื การอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ P เป็นตวั ตามและ sP[b หฺยบิ หยบิ เยบ็ , สอย อกั ษรนา คือ s เหฺลา เหลา้ น้าเมา | เป็นตวั ตามและ gs|kA อกั ษรนา คือ s gs|b, เหฺลิม เหลือม ชื่องใู หญ่ชนิด | เป็นตวั ตามและ หน่ึง อกั ษรนา คือ s ซ เป็นตวั ตามและ s:k\" หฺวาฺง หวาง คลาย , ทุเลา อกั ษรนา คือ s s:kP หฺวาฺย หวา้ ย วา่ ย , เคล่ือน ซ เป็นตวั ตามและ ไป อกั ษรนา คือ s ตวั อยา่ งที่ ๓ ทาหนา้ ที่เป็นตวั สะกดในคาท่ีประกอบดว้ ยสระที่มีตาแหน่งอยหู่ นา้ บน และหลงั พยญั ชนะตน้ - ตวั เฟ้ื องสะกดในคาท่ีประกอบดว้ ยสระท่ีมีตาแหน่งอยหู่ นา้ พยญั ชนะตน้ ~ ๑๑๐ ~ ~ 110 ~

คูม่ ือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน คมู่ อื การอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ สระ gฅ y (เอะ) อยหู่ นา้ glF9y lyF เสฺฑตสฺฑ เสดตะสดั เศวตฉตั ร พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง F gry\" g-yN (ฑ) ทาหนา้ ที่เป็น ตวั สะกด สระ gฅ y (เอะ) อยหู่ นา้ เพฺง เพง็ เพญ็ , สวา่ ง พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง \" (ง) ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั สะกด สระ g (เอ) อยหู่ นา้ เขฺน เขน โล่, เครื่อง พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง N ป้ องกนั อาวธุ (น) ทาหนา้ ท่ีเป็น ตวั สะกด สระ g (เอ) อยหู่ นา้ g'Ny เงฺน เงน งอน, แอ่น พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง N (น) ทาหนา้ ที่เป็น ตวั สะกด ~ ๑~๑๑1~11 ~

ค่มู ือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน คมู่ ือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ สระ c (แอ) อยหู่ นา้ cdๆ แกฺม แกม ปน, ระคน พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง ๆ (ม) ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั สะกด สระ c (แอ) อยหู่ นา้ c-: แขฺว แขว้ ฟัน พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง ซ (ว) ทาหนา้ ที่เป็นตวั สะกด GdGN 9N โกฺนโตฺน โก่นโต่น เปลือยลอ้ น สระ G (โอ) อยหู่ นา้ จอ้ น พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง N (น) ทาหนา้ ท่ีเป็น ตวั สะกด สระ G (โอ) อยหู่ นา้ G-NG=N โขฺนโชฺน โขนโซน ขาวโพลน พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง N g0U (น) ทาหนา้ ท่ีเป็น ตวั สะกด เจฺอ เจ่อ บวม, พอง สระ g ฅU (เ - อ) อยู่ หนา้ พยญั ชนะตน้ ตวั ~ ๑๑๒ ~ ~ 112 ~

คมู่ อื การอา่ นถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน คู่มือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ เฟ้ื อง U (อ) ทาหนา้ ท่ี เป็นท้งั สระและตวั สะกด สระ g ฅU (เ - อ) อยู่ gpU เยฺอ เยอ เถิด, เถอะ หนา้ พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง U (อ) ทาหนา้ ที่ เป็นท้งั สระและตวั สะกด สระ g ฅb (เ – อ ) อยู่ gfNb เฑฺิน เดิ่น ลาน, สนาม หนา้ พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง N (น) ทาหนา้ ท่ี เป็นตวั สะกด g]bcD ]{ เลฺิกแลฺบ เลิก็ แลฺบ ลึกซ้ึงนกั สระ g ฅb (เ – อ ) อยู่ หนา้ พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง D (ก) ทาหนา้ ที่ เป็นตวั สะกด ~ ๑~๑๓1~13 ~

ค่มู อื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน ~ 114 ~

คูม่ ือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน คมู่ ือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ สระ ub (อี) อยบู่ น -uN ขฺีน ขีน ขืน, ฝื น พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง N (น) ทาหนา้ ท่ีเป็น ตวั สะกด สระ bu (อี) อยบู่ น 8u\" คฺีง คีง ร่างกาย, ลาตวั พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง N (น) ทาหนา้ ท่ีเป็น ตวั สะกด สระ 7 (อึ) อยบู่ น d{7 กฺึบ กึบ ประกบ พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง { (บ) ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั สะกด สระ 7 (อึ) อยบู่ น -7\" ขฺึง ขึง เขื่อง, ใหญ่ พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง \" (ง) ทาหนา้ ที่เป็นตวั สะกด สระ n (อือ) อยบู่ น dn\" กฺืง ก่ืง ผลกั , กลิง้ พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง \" ~ ๑๑๕ ~ ~ 115 ~

ค่มู ือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน คู่มือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ (ง) ทาหนา้ ที่เป็นตวั สะกด สระ n (อือ) อยบู่ น 8Nn คฺืน คืน กลบั พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง N (น) ทาหนา้ ท่ีเป็น ตวั สะกด สระ A (โอะ) อยบู่ น dA\" กฺง กง เขต, แดน พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง \" (ง) ทาหนา้ ท่ีเป็น ตวั สะกด สระ A (โอะ) อยบู่ น เคียด, ไม่ -ๆA ขฺม ขม พอใจ พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง ๆ (ม) ทาหนา้ ที่เป็นตวั สะกด ~ ๑๑๖ ~ ~ 116 ~

ค่มู ือการอา่ นถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน คูม่ อื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน - ตวั เฟ้ื องสะกดในคาที่ประกอบดว้ ยสระท่ีมีตาแหน่งอยหู่ ลงั อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ สระ k (อา) อยหู่ ลงั 0kF จาฺฑ จาด ตะเพดิ พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง F (ฑ) ทาหนา้ ท่ีเป็น ตวั สะกด สระ k (อา) อยหู่ ลงั 0kๆ จาฺม จาม ฟันเตม็ แรง พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง ๆ (ม) ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั สะกด สิ่งที่เคยทาจน สระ K (อา) อยหู่ ลงั ;KXO วาฺสนฺา วาสนา กลายเป็ น พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง X นิสยั (ส) ทาหนา้ ที่เป็นตวั สะกด สระ K (อา) อยหู่ ลงั ;K{ วาฺบ วาบ หววิ , เสียว พยญั ชนะตน้ ตวั เฟ้ื อง { (บ) ทาหนา้ ที่เป็น ตวั สะกด ~ ๑~๑๗11~7 ~

ค่มู อื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน คูม่ อื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน ตวั อยา่ งท่ี ๔ ทาหนา้ ที่เป็นตวั ตามในคาภาษาบาลี1 คำแปล หมำยเหตุ อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน dd พยญั ชนะตน้ และ ddD@ กกฺกุ กกั กุ แป้ งผดั หนา้ ตวั สะกด ตวั เฟ้ื อง D (ก) ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั ตาม ;bxdD วปิ กฺก วปิ ักกะ xd พยญั ชนะตน้ และ สุกงอม ตวั สะกด ตวั เฟ้ื อง D (ก) ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั ตาม xd_ ปกฺข ปักขะ ฝ่ าย, ขา้ ง xd พยญั ชนะตน้ และ ตวั สะกด ตวั เฟ้ื อง _ (ข) ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั ตาม dd_ กกฺข กกั ขะ dd พยญั ชนะตน้ และ ,8* มคฺค มคั คะ รักแร้ ตวั สะกด ตวั เฟ้ื อง _ (ข) ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั ตาม หนทาง ,8 พยญั ชนะตน้ และ 1 จะยกตวั อยา่ งเฉพาะวรรค ก เทา่ นนั้ รายละเอียด จะอธิบายในบทท่ีวา่ ด้วยภาษาบาลีเขยี นด้วยอกั ษรธรรมอสี าน ~ ๑๑๘ ~ ~ 118 ~

คู่มอื การอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน คูม่ ือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ ตวั สะกด ตวั เฟ้ื อง * (ค) ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั ตาม l8 พยญั ชนะตน้ และ l8* สคฺค สคั คะ สวรรค์ ตวั สะกด ตวั เฟ้ื อง * (ค) ทาหนา้ ที่เป็นตวั ตาม v8 พยญั ชนะตน้ และ v8ฆ อคฺฆ อคั ฆะ มีค่า ตวั สะกด ตวั เฟ้ื อง ฆ (ฆ) ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั ตาม vo8ฆ อนคฺฆ อนคั ฆะ o8 พยญั ชนะตน้ และ ไม่มีค่า ตวั สะกด ตวั เฟ้ื อง ฆ (ฆ) ทาหนา้ ที่เป็นตวั ตาม d' พยญั ชนะตน้ และ d'D กงฺก กงั กะ นกยาง ตวั สะกด ตวั เฟ้ื อง D (ก) ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั ตาม 8'* คงฺค คงั คะ แม่น้า 8' พยญั ชนะตน้ และ ~ ~๑๑1๙1~9 ~

ค่มู ือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน คมู่ ือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน อกั ษรธรรมอสี ำน คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล หมำยเหตุ ตวั สะกด ตวั เฟ้ื อง * (ค) ทาหนา้ ที่เป็นตวั ตาม ~ ๑๒๐ ~ ~ 120 ~

คมู่ อื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน คู่มอื การอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน แบบฝึ กทบทวนความจา ๑. พยญั ชนะตวั เฟ้ื อง มีหนา้ ท่ีก่ีอยา่ ง อะไรบา้ ง ตอบ ๒. จงยกตวั อยา่ งพยญั ชนะตวั เฟ้ื อง ซ่ึงทาหนา้ ท่ีเป็นตวั ควบกล้า มา ๔ คา พร้อมคาถ่ายถอด คา อ่าน และคาแปลมาดว้ ย รูปพยญั ชนะ คำอกั ษรธรรม คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล W | } : ~~ ๑1๒2๑1~~

ค่มู อื การอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน ค่มู ือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน ๓. จงยกตวั อยา่ งพยญั ชนะตวั เฟ้ื อง ซ่ึงทาหนา้ ท่ีเป็นตวั ตามในคาที่ประกอบดว้ ยอกั ษรนา มา ๖ คา พร้อมคาถ่ายถอด คาอา่ น และคาแปลมาดว้ ย รูปพยญั ชนะ คำอกั ษรธรรม คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล s\" sN sๆ sq s| s: ๔. จงยกตวั อยา่ งพยญั ชนะตวั เฟ้ื อง ซ่ึงทาหนา้ ที่เป็นตวั สะกดในคาท่ีประกอบดว้ ยสระ ซ่ึงวางอยู่ หนา้ พยญั ชนะตน้ พร้อมคาถ่ายถอด คาอ่าน และคาแปลมาดว้ ย รูปสระ คำอกั ษรธรรม คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล gฅy ( เอะ ) ~ ๑๒๒ ~ ~ 122 ~

คมู่ ือการอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน ค่มู ือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน รูปสระ คำอกั ษรธรรม คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล gฅ ( เอ ) cฅ ( แอ ) Gฅ ( โอ ) g ฅU ( เ-อ ) g ฅb ( เ-อ ) ๕. จงยกตวั อยา่ งพยญั ชนะตวั เฟ้ื อง ซ่ึงทาหนา้ ที่เป็นตวั สะกดในคาที่ประกอบดว้ ยสระ ซ่ึงวางอยู่ บนพยญั ชนะตน้ พร้อมคาถ่ายถอด คาอ่าน และคาแปลมาดว้ ย รูปสระ คำอกั ษรธรรม คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล ฅy ( อะ ) ฅb ( อิ ) ฅu ( อี ) ~ ๑๒๓ ~ ~ 123 ~

ค่มู อื การอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน คมู่ ือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน รูปสระ คำอกั ษรธรรม คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล ฅ7 ( อึ ) ฅn ( อือ ) ฅA ( โอะ ) ๖. จงยกตวั อยา่ งพยญั ชนะตวั เฟ้ื อง ซ่ึงทาหนา้ ท่ีเป็นตวั สะกดในคาที่ประกอบดว้ ยสระ ซ่ึงวางอยู่ หลงั พยญั ชนะตน้ พร้อมคาถ่ายถอด คาอ่าน และคาแปลมาดว้ ย รูปสระ คำอกั ษรธรรม คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล ฅ k ( อา ) ฅ K ( อา ) ๗. จงยกตวั อยา่ งพยญั ชนะตวั เฟ้ื อง ซ่ึงทาหนา้ ที่เป็นตวั ตามในคาภาษาบาลี มา ๕ คา พร้อมคา ถ่ายถอด คาอ่าน และคาแปลมาดว้ ย ~ ๑๒๔ ~ ~ 124 ~

คูม่ ือการอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน ค่มู อื การอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน รูปพยญั ชนะ คำอกั ษรธรรม คำถ่ำยถอด คำอ่ำน คำแปล dD d_ 8* 8ฆ 'D 0จ 0+ ~~ ๑1๒2๕5~~



คมู่ อื คกู่มารืออกา่ านรถอา่ า่ ยนถถอ่าดยเถออกดสเาอรกโบสราารณโบร:าณอักษ:รอธักรษรมรอธสีรรามนอีสาน บทท่ี ๕ รปู สระอกั ษรธรรมอีสาน รูปสระอกั ษรธรรมอสี าน รูปสระอกั ษรธรรมอีสาน แบ่งออกเป็น ๒ กลุ่ม คือกลุ่มสระลอย และกลุ่มสระจม ดงั น้ี - สระลอย คือกลุ่มสระที่สามารถเขียนไดเ้ ลยโดยไม่ตอ้ งอาศยั พยญั ชนะมาประกอบ ทาหนา้ ที่แทนพยญั ชนะ อ และแทนสระจมที่มีเสียงเหมือนสระลอยไดด้ ว้ ย การ เขียนสระลอยจะเขียนอยตู่ น้ คาหรือตน้ พยางค์ ในระดบั เดียวกนั กบั พยญั ชนะตวั เตม็ และใชใ้ นกรณีท่ีคาน้นั เป็นคาท่ีข้ึนตน้ ดว้ ยเสียงสระ มีจานวน ๑๐ ตวั ดงั น้ี v vk ด ก 1 อะ อา อิ อี อ ุ ! เ Gv 1kA 3 อ ู เอ โอ เอา ฤ ตาแหน่งและหนา้ ท่ีของสระลอย สระลอยทุกตวั มีตาแหน่งคลา้ ยพยญั ชนะตน้ คือวางอยบู่ นบรรทดั และทาหนา้ ท่ีเป็น พยางคแ์ รกของคาหรือเป็นอกั ษรตวั แรกของคา เช่น คาพยางคเ์ ดียว vA\" อฺง อ่ง หยง่ิ , ทนง ~ ๑๒๗ ~ ~ 127 ~

ค่มู ือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน คู่มือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน คาสองพยางค์ vA\"9A\" อฺงตฺง อ่งต่ง เปล่งปลงั่ คาสามพยางค์ vkOg-F อานาเขฺฑ อาณาเขต เขตแห่งอานาจ คาสี่พยางค์ ดipb k[M อิริยาปฺท อิริยาบถ การเคลื่อนไหวของร่างกาย คาหา้ พยางค์ vo6G,mkN อนุโมทฺนา อนุโมทนา ยนิ ดีดว้ ย เป็นตน้ ตวั อยา่ งการใชส้ ระลอย คาถ่ายถอด คาอ่าน คาแปล รูปสระลอย อกั ษรธรรมอสี าน v v9(k อตฺตา อตั ตา ตวั ตน vk vkO0y อานาจ อาณาจกั ร เขตท่ีอานาจแผไ่ ปถึง ด ด0Xk อิจฺสา อิจฉา ความปรารถนา ก กlkช อีสาฺน อีสาน ทิศ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ~ ๑๒๘ ~ ~ 128 ~

คมู่ ือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน คู่มอื การอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน รูปสระลอย อกั ษรธรรมอสี าน คาถ่ายถอด คาอ่าน คาแปล 1 1fAB อุฑฺม อุดม สูงสุด ! !,b อมู ิ อูมิ คล่ืน เ เdk เอกา เอกา หน่ึง Gv Gv=k โอชา โอชา รสอร่อย 1kA 1Ak เอา เอา ลูกหญิงคนที่ ๙ 3 3dX ฤกฺส ฤกษ์ เวลาที่ดี หมายเหตุ สระมลู หรือสระดงั่ เดิม มีเพียง ๘ ตวั คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ เป็นสระในภาษาบาลีท่ีอกั ขรวธิ ี อกั ษรธรรมอีสานยมื มาใช้ ส่วนสระอีก ๒ ตวั คือ เอา และ ฤ เป็นสระที่ยมื มาจากภาษาสันสกฤต ~ ๑๒๙ ~ ~ 129 ~

ค่มู ือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน คู่มือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน แบบฝึ กเขยี นสระลอย v =อ v .............................................................................................................................................................. v .............................................................................................................................................................. v .............................................................................................................................................................. v .............................................................................................................................................................. v .............................................................................................................................................................. vk = อา vk .......................................................................................................................................................... vk .......................................................................................................................................................... vk .......................................................................................................................................................... vk .......................................................................................................................................................... vk .......................................................................................................................................................... ด = อิ ด ............................................................................................................................................................. ด ............................................................................................................................................................. ด ............................................................................................................................................................. ด ............................................................................................................................................................. ด ............................................................................................................................................................. ~ ๑๓๐ ~ ~ 130 ~

ค่มู อื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน คมู่ ือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน ก = อี ก ........................................................................................................................................................... ก ........................................................................................................................................................... ก ........................................................................................................................................................... ก ........................................................................................................................................................... ก ........................................................................................................................................................... 1 = อุ 1 ............................................................................................................................................................. 1 ............................................................................................................................................................. 1 ............................................................................................................................................................. 1 ............................................................................................................................................................. 1 ............................................................................................................................................................. ! = อู ! ............................................................................................................................................................. ! ............................................................................................................................................................. ! ............................................................................................................................................................. ! ............................................................................................................................................................. ! ............................................................................................................................................................. ~ ๑๓๑ ~ ~ 131 ~

ค่มู ือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน คมู่ ือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน เ = เอ เ ............................................................................................................................................................. เ ............................................................................................................................................................. เ ............................................................................................................................................................. เ ............................................................................................................................................................. เ ............................................................................................................................................................. Gv = โอ Gv .......................................................................................................................................................... Gv .......................................................................................................................................................... Gv .......................................................................................................................................................... Gv .......................................................................................................................................................... Gv .......................................................................................................................................................... 1kA = เอา 1kA .......................................................................................................................................................... 1Ak .......................................................................................................................................................... 1Ak .......................................................................................................................................................... 1kA .......................................................................................................................................................... 1kA .......................................................................................................................................................... ~ ๑๓๒ ~ ~ 132 ~

คมู่ อื กคาู่มรออื ่ากนาถรอา่ ย่านถอถดา่ ยเอถกอสดาเรอโกบสราาณรโบ:ราอณกั ษ:รธอรกั รษมรอธสี รารนมอสี าน 3 =ฤ 3 ............................................................................................................................................................. 3 ............................................................................................................................................................. 3 ............................................................................................................................................................. 3 ............................................................................................................................................................. 3 ............................................................................................................................................................. ~ ๑๓๓ ~ ~ 133 ~

ค่มู ือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน คมู่ ือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน แบบฝึ กทบทวนความจา ๑. รูปสระอกั ษรธรรมอีสาน แบง่ ออกเป็นก่ีกลุ่ม อะไรบา้ ง ตอบ ๒. จงเขียนสระลอยในอกั ษรธรรมอีสานลงในช่องวา่ งใหค้ รบทุกตวั และบอกดว้ ยวา่ เป็ นสระอะไร v อะ ๓. สระลอยมีตาแหน่งและหนา้ ที่อยา่ งไร และยกตวั อยา่ งการใชใ้ นคาสอง สาม ส่ี พยางคม์ าอยา่ งละคา ตอบ ~ ๑๓๔ ~ ~ 134 ~

คูม่ ือการอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอีสาน คมู่ ือการอ่านถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน ๔. จงยกตวั อยา่ งการใชส้ ระลอยมา ๗ คา บอกรูปสระลอย คาถา่ ยถอด คาอ่าน และคา แปลมาดว้ ย รูปสระลอย อกั ษรธรรมอสี าน คาถ่ายถอด คาอ่าน คาแปล ๕. จงเขียนคาต่อไปน้ี ดว้ ยอกั ขรวธิ ีอกั ษรธรรมอีสานใหถ้ กู ตอ้ ง ๑) อกตญั ญู ........................................... (ผรู้ ู้จกั พระนิพพาน) ๒) อากาศ ........................................... (ทอ้ งฟ้ า) ~~๑๓1๕3~5 ~

ค่มู อื การอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน คู่มอื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน ๓) อิติหาส ........................................... (ประวิติศาสตร์) ๔) อีสูรย์ ........................................... (ผเู้ ป็นใหญ่) ๕) อุณหภมู ิ ........................................... (ระดบั ความร้อนเยน็ ) ๖) อูรุ ........................................... (ขาอ่อน) ๗) เอราวณั ........................................... (ชา้ งสามเศียร) ๘) โอตตปั ปะ ........................................... (ความกลวั บาป) ๖. จงถ่ายถอดคาตอ่ ไปน้ีดว้ ยอกั ขรวธิ ีภาษาไทยปัจจุบนั ใหถ้ ูกตอ้ ง ๑) vo6liU ........................................... (การระลึกถึง) ๒) vk8kN ........................................... (เรือน) ๓) ด,w0 ........................................... (ปล้ืมใจ) ๔) กf^ ........................................... (เอน็ ดู, สงสาร) ๕) 1x5ๆy ........................................... (ช่วยเหลือ, อุดหนุน) ๖) !{ ........................................... (หีบ, กล่องใส่ส่ิงของ) ๗) เvๆ iU ........................................... (งามอ่อนหวาน) ๘) Gvvk: ........................................... (ราพึงถึง) ~ ๑๓๖ ~ ~ 136 ~

คู่มือการอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน คูม่ ือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อกั ษรธรรมอสี าน - สระจม ใชส้ าหรับเขียนคาท่ีประสมดว้ ยพยญั ชนะ มีจานวน ๓๒ ตวั ดงั น้ี ฅ ฅk ฅK ฅb ฅu อะ อา อา อิ อี ฅ7 ฅn ฅ6 ฅ^ g ฅ อึ อื อุ อู เอะ g ฅy gฅ c ฅ c g ฅy ย เอะ เอ แอะ แอ เอียะ g ฅy ย ฅย g ฅbฮ g ฅbฮ G ฅ เอีย เอีย เอือะ เอือ โอะ Gฅ g ฅ k ฅY ฅU g ฅb โอ เอาะ ออ ออ เออะ ~~ 1๑3๓๗7 ~~

ค่มู อื การอา่ นถ่ายถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน คมู่ อื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน g ฅb ฅซฤ ฅซฤ ฅe wฅ เออ อวั ะ อวั อา ไอ,ใอ g ฅA k ฅZ เอา ออย ตาแหน่งและหนา้ ที่ของสระจม สระจม มีตาแหน่งคลา้ ยพยญั ชนะตวั เฟ้ื อง คือวางไวร้ อบพยญั ชนะตน้ ท้งั หนา้ หลงั บน และล่าง และทาหนา้ ท่ีประกอบพยญั ชนะเพื่อใหพ้ ยญั ชนะออกเสียงไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ - หนา้ พยญั ชนะตน้ ไดแ้ ก่สระ g ( เ- ), c ( แ- ), G ( โ- ), w ( ไ- ) เช่น g g-Ny' เขนฺง เขนง เคร่ืองใส่ดินปื น c cd แก แก่ ลาก, เขน็ G G0y โจ โจก หวั หนา้ , ผเู้ ป็นใหญ่ w wm ไท ไท พวก, หมู่, ชาว ~ ๑๓๘ ~ ~ 138 ~

คู่มอื การอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอสี าน คมู่ ือการอา่ นถา่ ยถอดเอกสารโบราณ : อักษรธรรมอีสาน - หลงั พยญั ชนะตน้ ไดแ้ ก่สระ ( - ะ ), k (- า ) เช่น d di6 กะกรุ กะกลู ตระกลู k dkP กาฺย ก่าย ทอด, พาด ิ -ี -ึ -ื- บนพยญั ชนะตน้ ไดแ้ ก่สระ ฅb ( - ), ฅu ( ), ฅ7 ( ), ฅn ( ) เช่น b 9\"sb }b' ตฺิงหฺลิง ติ้งหลิง้ ใสแจ๋ว u mu{ ทฺีป ทีป ทวปี , แดน 7 [D7 ปึ กฺ ปึ ก ทึบ, โง่เขลา n [nF ปื ฑฺ ปื ด เปิ ด, ถลกข้ึน - ใตพ้ ยญั ชนะตน้ ุ -ูไดแ้ ก่สระ ฅ6 ( - ), ฅ^ ( ), ฅU ( ออ ), ฅA: ( -ัว ) ฅP (เ –ี ย) เช่น ขมุ ข่มุ ลุ่ม, ที่ลุ่ม 6 -,6 ^ 8[^ คูบ คูบ ครอบ ~ ๑๓๙ ~ ~ 139 ~