เอกสารวิชาการท่ี 2/2557 การผลติ น�ำ้ ผง้ึ คณุ ภาพ จดั พมิ พ์ : กรมส่งเสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พิมพค์ รั้งที่ 1 : ปี 2557 จ�ำนวน 1,000 เล่ม พิมพท์ ี่ : โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกดั ISBN : 978-616-358-043-6
ii การผลิตน�ำ้ ผึ้งคณุ ภาพ
ค�ำนำ� น�้ำผึ้ง เป็นอาหารจากธรรมชาติที่มนุษย์น�ำมาใช้เป็นสารให้ความหวานชนิดแรก ของโลก เปน็ ยาอายวุ ฒั นะทมี่ นษุ ยใ์ ชน้ �้ำผง้ึ เปน็ อาหารบำ� รงุ สขุ ภาพและยารกั ษาโรคมาอยา่ งยาวนาน ปัจจุบันในบางประเทศ ได้น�ำน้�ำผ้ึงขึ้นเป็นทะเบียนเป็นยาแผนปัจจุบันชนิดหนึ่ง และในขณะน้ี นำ�้ ผงึ้ จะมบี ทบาทในการเปน็ อาหารสง่ เสรมิ สขุ ภาพมากขน้ึ เนอื่ งจากเกดิ กระแสในการรกั ษาสขุ ภาพ ด้วยอาหารธรรมชาติ ท�ำให้น�้ำผึ้งแท้ หรือน�้ำผึ้งคุณภาพเป็นที่ต้องการมากขึ้นในปัจจุบัน น�้ำผ้ึง ได้ถูกน�ำมาใช้ประโยชน์ท้ังการบริโภคสดและในอุตสาหกรรมระเภทต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมยา เครือ่ งส�ำอาง เครื่องด่ืม แพทยแ์ ผนไทย เป็นตน้ การผลติ นำ้� ผงึ้ คณุ ภาพ จะตอ้ งเกดิ จากกระบวนการเลยี้ งผง้ึ พนั ธท์ุ ดี่ ี เกษตรกรผเู้ ลยี้ งผง้ึ หรอื ผู้สนใจท่ีจะประกอบอาชีพการเลี้ยงผึ้งจะต้องศึกษาข้อมูลการเล้ียงท้ังในด้านชีววิทยาและ สงั คมของผง้ึ การจดั การเลย้ี งผง้ึ เปน็ อยา่ งดี และควรมคี วามรกั ในชวี ติ ของผง้ึ และเขา้ ใจในธรรมชาติ ของผง้ึ เพราะการเลี้ยงผ้ึงต้องการความละเอยี ดออ่ นและความละเมยี ดละไม ผง้ึ เปน็ แมลงตวั เลก็ ๆ ที่มีความเป็นอยู่ การจัดระบบสังคมภายในรวงรังท่ีน่าสนใจมาก ประโยชน์จากการเล้ียงผึ้งนั้น มีมากมาย สามารถสร้างอาชีพและรายได้ให้แก่เกษตรกร และเพ่ิมผลผลิตมวลรวมให้แก่ประเทศ อกี ด้วย เนือ่ งจากน้ำ� ผ้งึ เปน็ สินค้าส่งออกท่สี ร้างรายได้ใหแ้ ก่ประเทศไทย กรมส่งเสริมการเกษตร ได้จัดท�ำหนังสือ “การผลิตน�้ำผ้ึงคุณภาพ” เพ่ือเผยแพร่ความรู้ ด้านการเล้ียงผึ้งพันธุ์ท่ีถูกต้อง อันจะนำ� ไปสู่ผลิตภัณฑ์น�้ำผึ้งคุณภาพให้แก่เกษตรกรผู้เล้ียงผึ้งและ ผู้สนใจ คณะผู้จัดท�ำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือ “การผลิตน�้ำผึ้งคุณภาพ” จะเป็นแนวทาง ในการเล้ียงผึ้งท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้ผลผลิตน�้ำผ้ึงที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และเป็นท่ียอมรับ ในตลาดโลกและสามารถแขง่ ขันกับนานาประเทศได้ ส�ำนักสง่ เสรมิ และจดั การสนิ คา้ เกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร การผลิตนำ�้ ผง้ึ คณุ ภาพ iกii
สารบญั หนา้ ค�ำนำ� ก ----------------------------------------------------- -สา-ร-บ-ญั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -ข- -บ-ท-ท-ี่ 1- ประวตั กิ ารเล้ียงผ้ึงพนั ธุใ์ นประเทศไทย 1 -บ-ท-ท-ี่ 2- - ------------------------ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -- ความส�ำคญั และประโยชนข์ องผึง้ พันธ ุ์ 12 บ- -ท-ท-ี่ 3- - ------------------------ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - --- - ชวี วิทยาและสงั คมของผึ้ง 35 บ- -ท-ท-่ี 4- ---------------- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - --- - อุปกรณ์การเลี้ยงผ้ึงพันธุ์ 56 -บ-ท-ท-่ี 5- ---------------- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - --- การจดั การผึ้งพันธเ์ุ พื่อผลิตน้�ำผง้ึ คุณภาพดี 65 บ- -ท-ท-ี่ 6- - -------------------------- - - - - - - - - - - - - - - - - - - --- - เทคนิคในการเลยี้ งผ้งึ พันธ์ุ 104 ----------------- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ---- บทท่ี 7 สขุ อนามัยของผึ้งพันธ ุ์ 109 ----------------------------------------------------- เอกสารอ้างองิ 122 ----------------------------------------------------- ภาคผนวก 123 ----------------------------------------------------- มาตรฐานการปฏบิ ตั ทิ างการเกษตรท่ดี สี ำ� หรับฟาร์มผง้ึ (GAP ฟารม์ ผ้งึ ) 123 ----------------------------------------------------- คู่มือมาตรฐานฟาร์มผ้ึงและการบนั ทกึ ฟาร์มผึ้ง 142 ----------------------------------------------------- iขv การผลติ น�้ำผ้ึงคณุ ภาพ
บทที่ 1 ประวตั ิการเลีย้ งผึ้งพันธใ์ุ นประเทศไทย การพัฒนาการเล้ยี งผึ้งพันธใ์ุ นประเทศไทย มนุษย์เรารู้จักผึ้งและน�ำผึ้งมาเลี้ยงในโอ่งหรือไหที่ท�ำด้วยดินมาเป็นเวลาช้านานกว่า 5,000 ปี โดยมหี ลกั ฐานบันทกึ เปน็ เรอ่ื งราวอยู่ในแทง่ ศลิ าจารึกทค่ี ้นพบในปิรามดิ ประเทศอิยปิ ต์ ซ่ึงกล่าวถึงการใช้เรือขนย้ายผ้ึงจากอียิปต์ตอนล่างไปตามลุ่มแม่นำ้� ไนล์สู่อียิปต์ตอนบนในฤดูที่มี ดอกไมบ้ านสะพรงั่ และในสมยั กอ่ นครสิ ตศักราช 2,000 ปี กไ็ ดม้ ีการดัดแปลงวัสดุต่างๆ เพ่ือน�ำมา ใช้ในการเลยี้ งผง้ึ เชน่ โอ่ง ไห ตะกร้าสาน เชอื กถกั นอกจากน้ยี ังไดม้ กี ารศกึ ษาชีวติ ความเปน็ อยู่ ของผ้ึงและได้มีการปรับปรุงรังเล้ียงผึ้งจนได้เป็นกล่องเลี้ยงผ้ึงสี่เหลี่ยมที่ท�ำด้วยไม้และมีขนาด กะทัดรัดสะดวกตอ่ การขนย้ายไปยังที่ต่างๆ สำ� หรบั ประเทศไทยมกี ารเลย้ี งผงึ้ มานานหลายรอ้ ยปี โดยใชโ้ พรงไม้ โอง่ ไห หรอื ทอ่ ซเี มนต์ เป็นวัสดุให้ผงึ้ เข้าไปอาศัยอยู่ ต่อมาไดพ้ ฒั นาโดยนำ� รังไม้สเ่ี หลยี่ มไปตั้งล่อผ้งึ ตามธรรมชาติ ซึง่ เป็น ผ้ึงโพรง หรือผ้ึงประจ�ำถ่ินของประเทศไทย การเล้ียงผ้ึงในลักษณะน้ีมีอยู่ท่ัวไปในภูมิภาคต่างๆ และไม่มีหลกั ฐานยืนยันวา่ ไดม้ กี ารริเรมิ่ เลีย้ งผึง้ โพรง ในประเทศไทยมาตง้ั แตส่ มยั ใด อยา่ งไรก็ตาม การเล้ียงผ้ึงในอดีตเป็นเพียงการน�ำผลผลิตจากผ้ึง น่ันคือ น้�ำผึ้ง มาเป็นเป็นอาหารซ่ึงเป็น แหล่งพลังงานตามธรรมชาติ และเป็นน้�ำตาลชนิดแรกที่มนุษย์น�ำมาใช้เป็นอาหาร นอกจากนี้ น้�ำผึ้ง ยังเป็นยารักษาโรค ซึ่งถือเป็นยาอายุวัฒนะเนื่องจากสูตรยาโบราณต่างๆ จะต้องใช้น้�ำผ้ึง มาเปน็ ส่วนประกอบในเคร่ืองยาดังกล่าว ภาพทตี่ ้งั วางรังผ้งึ ภาพทร่ี ังเล้ียงผึง้ แบบโบราณ การผลิตนำ�้ ผงึ้ คุณภาพ 1
ภาพสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามมงกุฎราชกุมารี ทรงเย่ยี มชมนิทรรศการส่งเสรมิ การเลยี้ งผงึ้ ณ งาน Worldtech 95 Thailand การเลี้ยงผ้ึงพันธุ์ในประเทศไทย เริ่มเมื่อประมาณปี 2496 โดยศาสตราจารย์หลวง สมานวนกจิ ซ่งึ ขณะน้นั ด�ำรงตำ� แหน่งคณบดคี ณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ไดส้ ่งั ผงึ้ พันธ์ุ อติ าเลยี นจากประเทศออสเตรเลยี มาเลยี้ งในมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรเ์ ปน็ ครงั้ แรก อยา่ งไรกต็ าม การด�ำเนินงานในข้ันตอนต่อมาประสบความผิดพลาดบางประการ โดยเฉพาะอุปสรรคส�ำคัญ ไดแ้ ก่ เรื่องโรคผ้งึ และพชื อาหารของผึ้ง ทำ� ใหก้ ารด�ำเนนิ งานหยดุ ชะงักไป จนกระท่งั ชว่ งระหวา่ ง ปี 2514-2518 ประเทศไทยและไต้หวันยังมีความสัมพันธ์ทางการทูตกันอยู่ ได้ส่งนักวิชาการ แลกเปล่ียนความรู้ด้านต่างๆ กันโดยเฉพาะไต้หวันได้ส่งผู้เชี่ยวชาญมาปฏิบัติงานสนับสนุน โครงการพัฒนาทางการเกษตรในประเทศไทยเป็นจ�ำนวนมาก ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้หลายคนมี ความรู้เร่ืองผึ้งเป็นอย่างดีและมีโอกาสมาศึกษาสภาพแวดล้อมของภูมิประเทศทางภาคเหนือ ตอนบนของประเทศไทย และเห็นว่ามีความเหมาะสมท่ีจะเล้ียงผ้ึงพันธุ์ต่างประเทศ จึงได้มี การส่งพันธุ์ผึ้งเข้ามาทดลองเลี้ยงซ่ึงเป็นงานศึกษาและทดสอบภายใต้โครงการพระราชด�ำริ โดยมีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเ์ ปน็ หนว่ ยประสานงานและรับผดิ ชอบ ต่อมาช่วงระหว่างปี 2519-2522 ได้มีนักธุรกิจเอกชนในประเทศไทยรวมกลุ่มกันจัดตั้ง บริษัทประกอบธุรกิจเลี้ยงผ้ึง โดยว่าจ้างผู้เช่ียวชาญชาวไต้หวันมาเป็นผู้บริหารกิจการและ การดำ� เนินงาน จนไดร้ บั ผลส�ำเร็จเปน็ ทีน่ า่ พอใจ และในช่วงเดยี วกันไดม้ ผี ู้ประกอบอาชีพเลยี้ งผ้งึ ชาวไต้หวันเป็นจ�ำนวนมากเข้ามาประกอบอาชีพเล้ียงผ้ึงในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดล�ำพูน ซ่ึงเข้าใจว่าเป็นกลุ่มนักวิชาการเกษตรชาวไต้หวันท่ีเข้ามาปฏิบัติงานจนครบวาระและกลับไต้หวัน 2 การผลติ น้ำ� ผงึ้ คุณภาพ
ไปแล้ว กลุ่มน้ีได้กลับเข้ามาอีกคร้ังในรูปของผู้ประกอบธุรกิจเล้ียงผ้ึงอย่างเต็มตัวและบางราย ก็เคยเป็นผู้บริหารฟาร์มผึ้งของเอกชน และได้เดินทางกลับไปไต้หวันเพราะได้ฝึกสอนคนไทย จนมีความสามารถบริหารงานและด�ำเนินกิจการด้วยตนเองได้แล้ว การท�ำธุรกิจเล้ียงผ้ึงของ ชาวไต้หวันน้ัน กระท�ำกันอย่างปกปิด เพราะมีปัญหาด้านกฎหมายเกี่ยวกับการสงวนอาชีพ ให้คนไทย แต่ชาวไต้หวันก็ได้หาทางออกโดยการว่าจ้างให้คนไทยเป็นผู้เลี้ยงผ้ึงและเมื่อได้น้�ำผึ้ง ก็จะส่งออกไปยังไต้หวัน อย่างไรก็ดีขณะน้ีทางการได้มีมาตรการเข้มงวดมากขึ้นเพราะเห็นว่า เป็นการผิดต่อกฎหมาย ท�ำใหก้ ารดำ� เนินงานของชาวไตห้ วนั ไมม่ คี วามคล่องตัวเทา่ ทคี่ วร ส�ำหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงผึ้งซ่ึงเป็นคนไทยได้มีการเลี้ยงผ้ึงเพื่อเป็นการค้าอย่างจริงจัง ต้งั แต่ปี 2520 เป็นตน้ มา โดยมีจุดเร่มิ ทสี่ �ำคัญ 3 ประการคอื 1. ผู้ประกอบธุรกิจเล้ียงผ้ึงชาวไต้หวันบางรายได้น�ำผ้ึงเข้ามาเล้ียงในประเทศไทยเม่ือ เลิกกจิ การไดข้ ายผลผลิตทั้งนำ�้ ผ้งึ และพันธุ์ผึ้งที่นำ� เข้ามาใหแ้ กค่ นไทยทม่ี คี วามสนใจ 2. ได้มีนักธุรกิจชาวไทยบางราย ได้สั่งพันธุ์ผ้ึงจากต่างประเทศเข้ามาทดลองเลี้ยงเอง เน่อื งจากได้พบเหน็ ตวั อยา่ งจากความสำ� เรจ็ ของผ้เู ล้ยี งรายอน่ื 3. เกดิ จากความบกพรอ่ งในการจดั การรงั ผง้ึ ของผเู้ ลย้ี งชาวไตห้ วนั ทำ� ใหก้ ารคำ� นวณเวลา ในการแยกรงั ผดิ พลาด จงึ เปน็ สาเหตสุ �ำคญั ทท่ี ำ� ใหผ้ งึ้ แยกรงั เอง และไปเขา้ รงั พน้ื เมอื งของชาวบา้ น ซ่ึงเลี้ยงผ้ึงโพรงเป็นงานอดิเรก และเน่ืองจากผลตอบแทนที่ได้รับอยู่ในเกณฑ์ดี จึงเป็นเหตุจูงใจ ที่ท�ำให้เกษตรกรเกิดความคิดท่ีจะต่อรังเลี้ยงผึ้งแบบมาตรฐานเลียนแบบผู้เลี้ยงชาวไต้หวัน และมีการสืบค้นหาความรู้เพิ่มเติมท้ังจากหน่วยงานส่งเสริมของทางราชการและผู้ท่ีมีอาชีพ เลี้ยงผ้ึงอยู่กอ่ นแลว้ ด้วยสาเหตุทั้ง 3 ประการดังกล่าว ท�ำให้การเลี้ยงผ้ึงพันธุ์เร่ิมแพร่ขยายใน ประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างย่ิงตั้งแต่ปี 2524 เป็นต้นมา กองป้องกันและก�ำจัดศัตรูพืช กรมส่งเสริมกาเรกษตรโดยความร่วมมือของ รัฐบาลอิสราเอลได้จัดให้มีการอบรมเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมการเกษตรให้มีความรู้เฉพาะอย่าง ในดา้ นการเลี้ยงและการจัดการผึ้ง จนสามารถ นำ� ไปอบรมเผยแพรแ่ กเ่ กษตรกรได้ ท�ำใหอ้ ตั รา การขยายตัวของผู้เล้ียงผ้ึงพันธุ์ในประเทศไทย ภาพการฝึกอบรมด้านการเลยี้ งผ้ึงภายใตค้ วาม เพิม่ ขึ้นอยา่ งสมำ่� เสมอตลอดมาจนถึงปัจจุบัน รว่ มมอื ของรัฐบาลไทย - อสิ ราเอล การผลติ นำ�้ ผงึ้ คุณภาพ 3
การส่งเสริมการเลีย้ งผึง้ ของกรมส่งเสรมิ การเกษตร การเลย้ี งผง้ึ พนั ธใ์ุ นประเทศไทยชว่ งกอ่ นปี 2520 อยใู่ นขอบเขตจ�ำกดั เฉพาะกลมุ่ ชาวจนี ฮอ่ ทางภาคเหนือ โดยได้น�ำเทคโนโลยีการเล้ียงผึ้งจากไต้หวันมาทดลองเลี้ยงแบบปกปิดความรู้ และไม่ถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคคลภายนอก และประสบกับปัญหาต่างๆ มากมาย เช่น โรคและ ศตั รขู องผง้ึ การจดั การเลยี้ งผง้ึ ทไ่ี มถ่ กู วธิ ี ความรเู้ กยี่ วกบั นางพญาผงึ้ ท�ำใหป้ ระสบกบั ความลม้ เหลว ตลอดมาในการดำ� เนนิ การเพ่ือแก้ไขปญั หาดังกลา่ วยงั ไม่ครอบคลุมเทา่ ท่ีควร เน่อื งจากในขณะนัน้ ยงั ไมม่ หี นว่ ยงานใดรบั ผดิ ชอบโดยตรง ในปี พ.ศ. 2521 ดร.ยุกติ สาริกะภูติ ซ่ึงในขณะนั้นด�ำรงต�ำแหน่งอธิบดีกรมส่งเสริม การเกษตร ได้เล็งเห็นความส�ำคัญและประโยชน์ของผึ้ง จึงมอบหมายให้นายณรงค์ มีนะนันท์ ซึ่งในขณะน้ันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้อ�ำนวยการกองป้องกันและกำ� จัดศัตรูพืช ด�ำเนินการวางกรอบ การพฒั นาการส่งเสรมิ การเลี้ยงผ้งึ เปน็ คนแรก และต่อมาในปี พ.ศ. 2522 กรมส่งเสรมิ การเกษตร ได้จัดต้ัง กลุ่มส่งเสริมและอนุรักษ์พันธุ์ผ้ึง ซึ่งข้ึนตรงกับกองป้องกันและก�ำจัดศัตรูพืช โดยมี นายอดุ ม จริ ะเศวตกลุ เปน็ หวั หนา้ ฝา่ ยอนรุ กั ษแ์ ละขยายพนั ธผ์ุ งึ้ คนแรก พรอ้ มทงั้ จดั ตงั้ ศนู ยอ์ นรุ กั ษ์ และขยายพนั ธผ์ุ งึ้ ขนึ้ ทว่ั ประเทศ จำ� นวน 5 ศนู ย์ ไดแ้ ก่ จงั หวดั เชยี งใหม่ พษิ ณโุ ลก ขอนแกน่ จนั ทบรุ ี และจังหวัดชุมพร สว่ นราชการอนื่ ทไ่ี ดม้ กี ารด�ำเนนิ งานในขณะนนั้ จะเปน็ การศกึ ษาและวจิ ยั ของมหาวทิ ยาลยั ต่างๆ ไดแ้ ก่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นต้น ซ่ึงการศึกษาวิจัยการเล้ียงผึ้ง ดงั กลา่ ว ยงั ไมไ่ ดน้ ำ� ผลการศกึ ษามาใชใ้ นทางปฏบิ ตั ใิ นระดบั เกษตรกร เกษตรกรยงั ไมส่ ามารถเขา้ ถงึ องค์ความรู้ดังกลา่ วได้ จนกระท่ังเม่ือวนั ท่ี 23 - 24 เมษายน 2522 ได้มีการสมั มนาบูรณาการทาง ดา้ นการเลยี้ งผงึ้ เปน็ ครงั้ แรก โดยมหี นว่ ยงานเขา้ รว่ มสมั มนา ประกอบดว้ ย กรมสง่ เสรมิ การเกษตร กรมวชิ าการเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ เกษตรกร และผทู้ รงคณุ วฒุ ิ อีกหลายทา่ น จึงนบั ไดว้ า่ เปน็ การจดุ ประกายการส่งเสรมิ และพัฒนาการเล้ียงผ้งึ อย่างแทจ้ ริง จากการประชุมสัมมนาในคร้ังน้ัน ได้ก่อให้เกิดการพัฒนาการเล้ียงผึ้งในระยะต่อมา เป็นอันมาก ดังน้ี 1. การพฒั นางานวจิ ยั ทางดา้ นการเลยี้ งผงึ้ ซงึ่ มมี หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรมวิชาการเกษตร และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ด�ำเนินการศึกษาวิจัยและมีการน�ำเสนอ ผลงานวจิ ยั ออกมาเป็นระยะๆ 2. การพัฒนางานส่งเสริมการเลี้ยงผึ้ง ซ่ึงกรมส่งเสริมการเกษตรได้ดำ� เนินการส่งเสริม การเลี้ยงผ้งึ อยา่ งกวา้ งขวาง ดังน้ี 4 การผลิตนำ้� ผึ้งคุณภาพ
2.1 ส�ำรวจศักยภาพการเลี้ยงผง้ึ ทัว่ ประเทศ 2.2 กรมส่งเสริมการเกษตร ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดฝึกอบรม เทคโนโลยกี ารเลีย้ งผงึ้ พันธใ์ุ หแ้ ก่เจา้ หนา้ ที่ และเกษตรกรผู้เลี้ยงผ้งึ ณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน ด�ำเนินการฝึกอบรมโดย ดร.พงศ์เทพ อัครธนกุล ซ่ีงส�ำเร็จการศึกษาด้าน การเลี้ยงผึ้ง ณ มหาวทิ ยาลัย Cornell ประเทศสหรฐั อเมริกา นอกจากน้ี กรมส่งเสริมการเกษตร ไดจ้ ดั สง่ เจา้ หนา้ ทเ่ี ดนิ ทางเขา้ รบั การฝกึ อบรมและศกึ ษาดงู านดา้ นการเลย้ี งผงึ้ ในตา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ ประเทศออสเตรเลีย และประเทศอสิ ราเอล 2.3 ด�ำเนนิ การสง่ เสริมการเล้ียงผึ้งส่เู กษตรกรทว่ั ประเทศอย่างจรงิ จัง 2.4 กรมส่งเสริมการเกษตรร่วมกับเกษตรกรผู้เล้ียงผ้ึง ได้ก่อต้ังสมาคมผู้เล้ียงผ้ึง ภาคเหนือแหง่ ประเทศไทย โดยไดก้ อ่ ตัง้ อย่างเป็นทางการเมอ่ื วันท่ี 5 เมษายน 2526 นับวา่ เปน็ องค์กรหลักของเกษตรกรผู้เล้ียงผึ้งมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากน้ียังเกิดชมรม สหกรณ์ และ กลุ่มเกษตรกรผ้เู ลีย้ งผง้ึ ในเวลาตอ่ มาอกี หลายแหง่ ภาพกรมส่งเสรมิ การเกษตร ร่วมกบั สมาคมผู้เลีย้ งผ้งึ ภาคเหนอื จดั งานสมั มนาการเลย้ี งผง้ึ แหง่ ชาติ คร้งั ท่ี 1 ณ จังหวดั เชยี งใหม่ 2.5 กรมส่งเสริมการเกษตร ได้นำ� คณะผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ และเกษตรกรผู้เล้ียงผ้ึง เขา้ ร่วมสัมมนาและการประชมุ ระดบั โลก ไดแ้ ก่ Apimondia , Bee World การผลิตนำ้� ผ้งึ คณุ ภาพ 5
3. การบูรณาการด�ำเนินงานส่งเสริมและพัฒนาการเลี้ยงผึ้ง กับส่วนราชการต่างๆ เกษตรกรผเู้ ล้ียงผึง้ ผปู้ ระกอบการ และภาคเอกชน ก่อใหเ้ กดิ การพัฒนางานทางดา้ นการเล้ียงผ้งึ เป็นไปด้วยดตี ามล�ำดบั ดังนี้ 3.1 ได้เสนอกรมศุลกากรขอลดหย่อนภาษีการน�ำเข้าอุปกรณ์การเลี้ยงผึ้งจาก ต่างประเทศ เปน็ ระยะเวลา 3 ปี เพอ่ื พัฒนาการเล้ยี งผ้งึ หลังจากไดร้ บั การอนุญาตและมผี ลในทาง ปฏิบัติแล้ว ท�ำให้เกษตรกร ผู้เลี้ยงผึ้งได้มีการน�ำเทคโนโลยีท่ีก้าวหน้าจากต่างประเทศเข้ามา และมีการพัฒนารูปแบบของอุปกรณ์การเลี้ยงผ้ึงในประเทศไทย ท�ำให้มีการผลิตอุปกรณ์ การเลี้ยงผง้ึ ชนดิ ตา่ งๆ ทม่ี ีคุณภาพทัดเทียมกับอุปกรณ์จากตา่ งประเทศ 3.2 ได้เสนอให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศให้การเลี้ยงผ้ึงเป็นอาชีพ ทางการเกษตร โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ประกาศให้ผ้ึงเป็นผลผลิตเกษตรกรรมข้ันต้น เมอื่ วนั ท่ี 15 มถิ นุ ายน 2526 หลงั จากประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณม์ ผี ลทางปฏบิ ตั ิ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ เกษตรกรผเู้ ล้ียงผง้ึ ทัว่ ประเทศ ไมต่ อ้ งประสบกับปัญหาการขนย้ายผ้งึ และผลิตภณั ฑ์ จากการประกอบอาชพี การเล้ยี งผึ้ง ซึง่ จะถูกเจา้ หน้าท่ีตำ� รวจเข้าใจผิด และกักกัน ในลักษณะผดิ พระราชบัญญัติป่าไม้อยู่เสมอ ท�ำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงผ้ึงด�ำเนินการเลี้ยงผ้ึง และขนย้ายผึ้งเป็น กองคาราวานดังเช่นประเทศทกี่ า้ วหนา้ ปฏิบตั จิ นถงึ ทกุ วันนี้ 3.3 ได้เสนอกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผ่านกรมปศุสัตว์ และส�ำนักงาน คณะกรรมการกฤษฎกี า ออกกฏกระทรวงเก่ยี วกบั ผึง้ ออกตามความในพระราชบัญญัตโิ รคระบาดสตั ว์ พ.ศ. 2499 โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ประกาศกฏกระทรวงฉบบั ท่ี 21 และฉบบั ท่ี 22 ประกาศ ณ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2528 เก่ียวกับการน�ำผ้ึงเข้าหรือน�ำเข้าผ่านราชอาณาจักร เมอื่ กฏกระทรวง มผี ลในทางปฏบิ ตั ทิ ำ� ใหก้ ารนำ� เขา้ ผงึ้ พนั ธท์ุ มี่ โี รคผงึ้ ตดิ เขา้ มาดว้ ย ซง่ึ เปน็ การนำ� เขา้ แบบไม่ถกู ต้องตามหลักวชิ าการนน้ั ไม่สามารถนำ� เขา้ ประเทศไทยไดอ้ ีกต่อไป สง่ ผลให้การระบาด ของโรค และศัตรผู ้งึ ท่ตี ดิ มากับผ้งึ จากการน�ำเข้าจากตา่ งประเทศลดลง 3.4 ได้มีการร่วมพิจารณาเสนอมาตรฐานอุตสาหกรรมน�้ำผึ้ง ตลอดจนการพิจารณา เสนอมาตรฐานนำ้� ผงึ้ และรอยลั เยลลี่ ผา่ นสำ� นกั งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม และสำ� นกั งาน คณะกรรมการอาหารและยา ดังน้ี 3.4.1 สำ� นกั งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม ไดก้ ำ� หนดมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ อุตสาหกรรมนำ�้ ผ้ึง ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 714 (พ.ศ. 2526) ออกตามความ ในพระราชบญั ญัตมิ าตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เมือ่ วันท่ี 11 สงิ หาคม 2526 3.4.2 ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้ก�ำหนดคุณภาพมาตรฐาน รอยลั เยลล่ี และผลติ ภัณฑร์ อยลั เยลลี่ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบบั ที่ 133 (พ.ศ. 2533) เม่ือวันที่ 16 พฤศจิกายน 2533 และได้ก�ำหนดให้น�้ำผึ้งเป็นอาหารควบคุมเฉพาะ ตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 139 (พ.ศ. 2534) เมื่อวนั ท่ี 18 ธนั วาคม 2534 ทัง้ 2 ฉบับออกตาม พระราชบญั ญตั อิ าหาร พ.ศ. 2522 6 การผลิตนำ้� ผึง้ คณุ ภาพ
3.4.3 การกำ� หนดคณุ ภาพมาตรฐานดงั กลา่ ว สง่ ผลตอ่ ความเชอื่ ถอื ของผบู้ รโิ ภค ในประเทศ และตา่ งประเทศ ตอ่ ผลิตภัณฑผ์ ้งึ ของประเทศไทยตามหลกั มาตรฐานสากลของโลกได้ 3.5 ได้ประสานงานกับผู้ประกอบการต่างๆ ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ผึ้งผสมอาหาร หลายชนิด เช่น นมผสมน้�ำผึ้ง น้�ำผลไม้ผสมน้�ำผ้ึง เป็นต้น นอกจากน้ี ก่อให้เกิดการแปรรูป ผลิตภัณฑ์ผ้ึงท่ีหลากหลาย และเป็นการเพ่ิมมูลค่าของสินค้าและผลิตภัณฑ์ผึ้ง เช่น สบู่และ ยาสระผมผสมนำ้� ผึง้ โลช่นั ผสมนมผ้ึง ผลส�ำเรจ็ ของงานทผ่ี า่ นมา กรมส่งเสริมการเกษตร ได้ร่วมด�ำเนินงานกับหน่วยงานต่างๆ สรุปผลส�ำเร็จได้ ดังนี้ 1. การแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเลี้ยงผ้ึงที่เกิดข้ึนหลายปัญหาลุล่วงไปด้วยดีท�ำให้ปัญหา สำ� คัญๆ หลายปัญหา ลดความรุนแรงของปญั หาลงไปมาก ซึ่งอยู่ในความรบั ผดิ ชอบทสี่ ามารถดูแล และควบคมุ ปัญหาได้ เชน่ ปญั หาขาดแคลนนำ้� ตาล (อาหารเสริม) ในการเลยี้ งผึง้ 2. ดำ� เนนิ งานสง่ เสรมิ และพฒั นาการเลย้ี งผง้ึ ท�ำใหม้ เี กษตรกรประกอบอาชพี เลยี้ งผง้ึ พนั ธ์ุ ในทกุ ภูมิภาคของประเทศ ก่อใหเ้ กดิ อาชพี การเล้ียงผง้ึ ตามมาตรฐานสากล ซง่ึ จะเป็นอาชพี ท่ีเปน็ มรดกของคนไทยตลอดไป 3. ผลผลิตท่ีเกิดข้ึนจากการเลี้ยงผ้ึงได้แก่ น้�ำผ้ึง ไขผึ้ง เกสรผึ้ง และนมผึ้ง ซ่ึงในอดีต กอ่ นปี 2523 ไมเ่ คยมรี ายงานผลผลติ ทมี่ นี ยั สำ� คญั ในเชงิ อตุ สาหกรรมแตป่ ระการใด จากการสง่ เสรมิ และพัฒนาการเลี้ยงผ้ึงดังกล่าวอย่างต่อเน่ือง เกิดเป็นอุตสาหกรรมเล้ียงผึ้งท่ีมีการผลิตน�้ำผ้ึง และผลติ ภัณฑ์ผ้ึงตา่ งๆ ในแต่ละปี มากกวา่ 6,000 ตัน 4. การด�ำเนินงานสนับสนุนการใช้ผลผลิตจากผ้ึงในอุตสาหกรรมหลายประเภท และ การส่งออกผลิตภัณฑ์จากผึ้ง ท�ำให้มีการใช้ผลิตภัณฑ์ผึ้งในอุตสาหกรรมต่างๆ ปีละประมาณ 2,000 ตัน และส่งออกปีละประมาณ 2,000 ตัน โดยมีการใช้ผลิตภัณฑ์ผ้ึงท่ีใช้ในอุตสาหกรรม ประเภทต่างๆ ไดแ้ ก่ การใช้นมผึ้ง ในอุตสาหกรรมอาหารหลายประเภทโดยเฉพาะอย่างยิ่งใช้ใน อตุ สาหกรรมนม ซง่ึ เปน็ ทีน่ ิยมในการบรโิ ภคของประชาชนอยา่ งกว้างขวาง การใช้นมผึ้ง น�้ำผ้ึง และไขผ้ึงในอุตสาหกรรมเคร่ืองส�ำอาง และมีแนวโน้ม คอ่ นขา้ งดี ในอนาคต 5. การส่งเสริมและพัฒนาการเลี้ยงผึ้ง ได้ท�ำให้มีการจัดการน�ำผึ้งช่วยผสมเกสรเพิ่ม ผลผลิตพืชท�ำให้เกษตรกรท่ัวไป โดยเฉพาะชาวสวนไม้ผลส่วนใหญ่มีความเข้าใจบทบาทของผึ้ง และแมลงชนดิ ตา่ งๆ ในการชว่ ยผสมเกสรมากขน้ึ และเกษตรกรเกดิ การอนรุ กั ษแ์ มลงทมี่ ปี ระโยชน์ ตลอดจนมคี วามระมดั ระวงั ในการใช้สารเคมกี ำ� จัดศตั รพู ืชมากขึ้น การผลติ นำ้� ผ้งึ คณุ ภาพ 7
บทบาทของหนว่ ยงานท่เี กยี่ วข้องกับการเลย้ี งผึง้ ในปจั จุบัน 1. กรมสง่ เสริมการเกษตร กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ไดจ้ ดั ตง้ั หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบดา้ นการสง่ เสรมิ แมลงเศรษฐกจิ ทงั้ ใน สว่ นกลาง และสว่ นภมู ภิ าค อนั ประกอบไปดว้ ย กลมุ่ สง่ เสรมิ แมลงเศรษฐกจิ ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เทคโนโลยี การเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จ�ำนวน 2 แห่ง ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดชุมพร และ ศูนย์สหวิชาการ ท่ีมีบทบาทหลักในการส่งเสริมการเล้ียงผึ้งและแมลงเศรษฐกิจ จำ� นวน 3 แห่ง ไดแ้ ก่ จังหวดั อุตรดิตถ์ ขอนแก่น และจังหวัดจนั ทบุรี ซง่ึ หน่วยงานเหล่านี้จะมบี ทบาทภารกจิ ดังนี้ 1) ส่งเสริมและสนบั สนนุ การผลิตผงึ้ และแมลงเศรษฐกจิ ให้เป็นอาชีพท่ีมน่ั คงและยงั่ ยืน 2) ส่งเสริมและสนับสนุนการเล้ียงและผลิตสินค้าผ้ึงและแมลงเศรษฐกิจให้ได้มาตรฐาน และปลอดภัยตอ่ ผูบ้ ริโภค 3) วิจัยและพัฒนาการผลิตสินค้าผึ้งและแมลงเศรษฐกิจให้มีประสิทธิภาพ มีเทคโนโลยี การผลติ ท่ีทนั สมยั การผลติ ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ลดตน้ ทุนการผลิต 4) เชื่อมโยงและสร้างความสามารถในการแขง่ ขันทั้งตลาดภายในและตา่ งประเทศ 5) การบรกิ ารทางการเกษตรให้กับเกษตรกรทีเ่ ล้ยี งผง้ึ และแมลงเศรษฐกจิ 6) เผยแพร่และประชาสมั พันธ์ใหเ้ ปน็ ทีแ่ พร่หลายและส่งเสริมการบริโภค 7) ประสานงานและใหค้ วามร่วมมือกับหน่วยงานท่เี ก่ียวข้อง 2. กรมปศสุ ัตว์ กรมปศุสัตว์เป็นหน่วยงานที่ท�ำหน้าท่ีรับรองมาตรฐานฟาร์มผึ้ง (GAP) และมาตรฐาน ฟาร์มผง้ึ อินทรีย์ ซึง่ มีขน้ั ตอนการดำ� เนินการดงั นี้ 1) เจ้าหน้าท่ีส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัดรับสมัครผู้ประกอบการท่ีมีความประสงค์จะขอรับ ใบรบั รอง 2) ผปู้ ระกอบการยน่ื เรอ่ื งขอใบรบั รองทสี่ ำ� นกั งานปศสุ ตั วจ์ งั หวดั ณ ทอ้ งทที่ ฟี่ ารม์ เลยี้ งผงึ้ ตัง้ อยู่ 3) เจ้าหนา้ ทีส่ ำ� นกั งานปศสุ ตั วจ์ งั หวัดตรวจสอบเอกสารและคุณสมบัตผิ ูป้ ระกอบการ 4) เจา้ หนา้ ทสี่ ำ� นกั งานปศสุ ตั วจ์ งั หวดั สง่ รายชอ่ื ผปู้ ระกอบการทม่ี หี ลกั ฐาน และคณุ สมบตั ิ ครบให้คณะผตู้ รวจรับรองด�ำเนนิ การตรวจประเมนิ 5) คณะผ้ตู รวจรับรองด�ำเนนิ การตรวจประเมนิ ฟาร์มเล้ียงผ้ึง การปฏิบัติงาน ปฏิบัตติ าม คูม่ ือขั้นตอนการปฏบิ ัติงานการตรวจประเมินเพือ่ การรบั รอง (Initial Audit) สำ� หรบั คณะผู้ตรวจ รบั รอง 6) คณะผตู้ รวจรบั รอง สง่ รายงานผลการตรวจประเมนิ ฟารม์ โดยละเอยี ด พรอ้ มหลกั ฐาน ไปยังคณะกรรมการ 8 การผลิตน�ำ้ ผึง้ คณุ ภาพ
7) คณะกรรมการพิจารณาให้ค�ำตัดสินเพื่อให้การรับรอง รายละเอียดการปฏิบัติงาน ตามคู่มือข้ันตอนการปฏิบัติงาน องค์ประกอบ หน้าที่ และการดำ� เนินงานส�ำหรับคณะกรรมการ รับรองมาตรฐานฟารม์ เล้ยี งผ้งึ 8) คณะกรรมการสรุปผลการพิจารณาส่งให้ส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัดด�ำเนินการตามมติ คณะกรรมการ 9) ให้ส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัดด�ำเนินการออกใบรับรองให้แก่ผู้ประกอบการโดยวันท่ีมี ผลบังคับใช้นับต้ังแต่วันที่คณะกรรมการมีมติ การจัดท�ำใบรับรองด�ำเนินการตามคู่มือข้ันตอน การปฏิบัตงิ านการจัดท�ำใบรับรอง 10) สำ� นกั งานปศุสตั วจ์ ังหวัดจดั สง่ ใบรับรองใหแ้ กผ่ ู้ประกอบการ 11) เจ้าหน้าท่ีส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัดจัดท�ำรายช่ือผู้ได้รับการรับรองและรายงานผล ใหก้ รมปศสุ ตั ว์ทราบทุกเดอื น 3. สำ� นักงานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ส�ำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) เป็นหน่วยงานท่ีทำ� หน้าท่ี ในการกำ� หนดมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล พร้อมทั้งควบคุม กำ� กบั ดแู ล ตรวจสอบ ใหม้ กี ารปฏบิ ตั เิ ปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยมาตรฐานสนิ คา้ เกษตร และสง่ เสรมิ เผยแพร่มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ส�ำหรับในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเล้ียงผึ้งและสินค้า น้ำ� ผึง้ มกอช.ไดก้ �ำหนดมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ จ�ำนวน 2 ฉบบั ได้แก่ 1) การปฏบิ ตั กิ ารเกษตรทด่ี สี �ำหรบั ฟาร์มผ้ึง (GAP ฟารม์ ผึง้ ) มีผลบงั คบั ใชต้ ้งั แต่วนั ท่ี 19 ธันวาคม 2546 2) มาตรฐานสินคา้ เกษตร “น้�ำผงึ้ ” มีผลบังคบั ใช้ตง้ั แตว่ ันท่ี 13 กุมภาพนั ธ์ 2557 4. สำ� นักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เป็นส่วนราชการมีฐานะการปกป้องและ คุ้มครองสุขภาพประชาชนจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพโดยผลิตภัณฑ์สุขภาพเหล่านั้น ต้องมีคุณภาพมาตรฐานและปลอดภัย มีการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องด้วยข้อมูล วิชาการที่มีหลักฐานเช่ือถือได้และมีความเหมาะสม เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ ท่ีปลอดภยั และสมประโยชน์ สำ� หรบั ผลผลติ จากผง้ึ ไดแ้ ก่ นำ�้ ผงึ้ และนมผง้ึ (รอยลั เยลล)ี ซง่ึ จดั ไดว้ า่ เปน็ อาหารชนดิ หนง่ึ สำ� นักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) จงึ ไดอ้ อกประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข จ�ำนวน 2 ฉบบั ไดแ้ ก่ 1) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบบั ท่ี 211) พ.ศ. 2543 เรอ่ื ง น�้ำผงึ้ 2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบบั ท่ี 294) พ.ศ. 2548 เร่อื ง นมผึ้งและผลิตภัณฑ์ นมผ้งึ การผลติ นำ้� ผ้ึงคุณภาพ 9
สำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) จะมหี นา้ ท่ีในการรบั รองการขอขึ้นทะเบียน อย. ใหก้ บั เกษตรกรผเู้ ลย้ี งผง้ึ ทง้ั รายใหญห่ รอื รายเลก็ และโรงงานขนาดเลก็ พรอ้ มทงั้ ใหค้ ำ� แนะนำ� ปรึกษาในการขอรับการรับรอง อย. และบรกิ ารออกแบบหอ้ งบรรจนุ �้ำผง้ึ 5. สำ� นกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรม ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มีบทบาทหน้าท่ีในการก�ำหนดมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมท่ีตรงความต้องการและสอดคล้องกับแนวทางสากล กำ� กับดูแลผลิตภัณฑ์ และการตรวจสอบและรับรองด้านการมาตรฐานให้ได้รับการยอมรับ ส่งเสริมและพัฒนา ดา้ นมาตรฐานผลติ ภัณฑข์ องประเทศ การเลยี้ งผง้ึ เพอื่ เกบ็ ผลผลติ นำ้� ผงึ้ ของประเทศไทยไดร้ บั การพฒั นาจนกลายเปน็ อตุ สาหกรรม น้�ำผ้ึง ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จึงได้ออกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ในผลิตภัณฑ์น�้ำผึ้งของระดับประเทศ ได้แก่ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 470-2546 และออกมาตรฐานผลิตภัณฑช์ มุ ชน มผช. 263/2547 6. สมาคมผเู้ ลยี้ งผง้ึ ภาคเหนือแห่งประเทศไทย สมาคมผู้เล้ียงผ้ึงภาคเหนือแห่งประเทศไทยในการสนับสนุนของกรมส่งเสริมการเกษตร ได้เร่ิมก่อตั้งและได้รับอนุญาตให้จัดต้ังสมาคมที่เป็นนิติบุคคลอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2526 ปัจจุบันมีสมาชิกสามัญมากกว่า 500 ราย ซึ่งมีท้ังเกษตรกรผู้ท่ีเริ่มเล้ียงใหม่ และฟาร์มเล้ียงผึ้ง ขนาดกลางและขนาดใหญ่ สมาคมมีนโยบายในการด�ำเนินกิจกรรมท่ีท�ำให้เกิดความสามัคคี และรวมตวั กนั ของสมาชิก เพ่อื ความเจรญิ ก้าวหนา้ ในอาชพี การเลยี้ งผงึ้ และอ�ำนวยความสะดวก ให้แก่สมาชิกในการวางแผนผลิตภัณฑ์ การตลาดท้ังใน-นอกประเทศ นอกจากน้ียังท�ำหน้าที่ ประชาสัมพันธ์ข่าวสารทางวิชาการและความเคลื่อนไหวในวงการเล้ียงผ้ึง เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจอนั ดรี ะหวา่ งสมาชกิ 10 การผลติ นำ้� ผ้ึงคณุ ภาพ
7. สมาคมผ้เู ลี้ยงผ้งึ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ สมาคมผู้เลี้ยงผึ้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือในการสนับสนุนของกรมส่งเสริมการเกษตร ได้เร่ิมก่อต้ังและได้รับอนุญาตให้จัดตั้งสมาคมท่ีเป็นนิติบุคคลอย่างเป็นทางการเม่ือวันที่ 30 พฤศจิกายน 2549 ปัจจุบันมีสมาชิกสามัญ จ�ำนวน 50 ราย ซ่ึงมีท้ังเกษตรกรผู้ท่ีเริ่มเล้ียงใหม่ ฟาร์มเลย้ี งผึง้ ขนาดเลก็ ฟาร์มเลีย้ งผง้ึ ขนาดกลาง และฟาร์มเลยี้ งผ้งึ ขนาดใหญ่ สมาคมมีนโยบาย ในการส่งเสริมอาชีพการเล้ียงผ้ึงให้ถูกต้องตามหลักวิชาการและส่งเสริมประสิทธิภาพในการเพ่ิม ผลผลติ ทางการเกษตร โดยอาศัยผ้งึ เพ่อื ชว่ ยผสมเกสร นอกจากน้ีเพ่อื เผยแพร่ผลติ ภัณฑน์ ำ�้ ผ้งึ แท้ และบรสิ ทุ ธข์ิ องสมาชกิ ตลอดจนการดำ� เนนิ การเพอ่ื เปน็ หลกั ประกนั ความมน่ั คงแกผ่ ปู้ ระกอบอาชพี การเลยี้ งผึ้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 8. สมาคมผู้เลย้ี งผึ้งนานาชาติ (APIMONDIA) APIMONDIA เป็นสมาคมผู้เล้ียงผึ้งนานาชาติ ประกอบด้วยสมาชิกประเทศพันธมิตร ของสมาคมผึง้ ประเทศตา่ งๆ และองค์กรท่ีด�ำเนินงานด้านการเล้ยี งผ้งึ สมาคมผเู้ ลยี้ งผงึ้ นานาชาติ ได้จัดต้ังสภาเลขาธิการผเู้ ลีย้ งผ้ึงนานาชาติ ในปี ค.ศ. 1895 และตอ่ มากอ่ ตงั้ สมาคม APIMONDIA ขึ้นตามมตสิ ภาเลขาธกิ าร เมอ่ื ปี ค.ศ. 1949 ณ เมืองอัมสเตอร์ดมั สมาคมผู้เลี้ยงผ้ึงนานาชาติ (APIMONDIA) มีวัตถุประสงค์หลักในการส่งเสริมสนับสนุน นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย นักนิเวศวิทยา นักสังคมและนักเศรษฐศาสตร์ ทางด้านการพัฒนา การเล้ียงผึ้งและอุตสาหกรรมในประเทศต่างๆ APIMONDIA จะอ�ำนวยความสะดวกในการ แลกเปลย่ี นขอ้ มลู และการจดั เวทอี ภปิ รายโดยการจดั ประชมุ Congress และ Symposia ทเ่ี กษตรกร ผูเ้ ลีย้ งผง้ึ นกั วทิ ยาศาสตร์ ผู้ประกอบการในด้านต่างๆ ทเี่ ก่ียวข้องกับการเลี้ยงผึ้ง เพอ่ื แลกเปลี่ยน ความรู้และความคิดเห็นเพื่อพัฒนาและจัดท�ำกลยุทธ์ด้านการเล้ียงผ้ึงในระดับโลก ปัจจุบันมี สมาคมผู้เล้ยี งผงึ้ จากประเทศต่างๆ เขา้ ร่วมทง้ั หมด 114 ราย การผลิตนำ�้ ผึง้ คณุ ภาพ 11
บทที่ 2 ความส�ำคญั และประโยชน์ของผึ้งพันธ์ุ ผ้ึง เป็นแมลงท่ีมนุษย์รู้จักมานับพันปี และเป็นแมลงสังคมที่มีคุณค่าต่อมวลมนุษย์ และสร้างความสมดุลของสภาพแวดล้อมในธรรมชาติท้ังทางตรงและทางอ้อม กล่าวคือเป็นแมลง ท่ีช่วยผสมเกสรตามธรรมชาติ สร้างสมดุลในระบบนิเวศ ท�ำให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ นอกจากน้ี ผง้ึ ยงั ใหผ้ ลผลติ แกม่ นษุ ยห์ ลากหลายชนดิ ซงึ่ มคี ณุ ประโยชนต์ อ่ รา่ งกายมนษุ ยท์ ง้ั ในดา้ น เปน็ แหลง่ อาหารทม่ี คี ณุ คา่ ทางโภชนาการนานปั การ และคณุ คา่ ทางยารกั ษาโรคแกม่ วลมนษุ ยชาติ จึงนบั ไดว้ ่าผงึ้ เปน็ แมลงมหศั จรรยแ์ ละให้ผลิตภณั ฑท์ เ่ี ปน็ อมตะ ความส�ำคัญและประโยชน์ของผึ้งพนั ธุ์ มดี งั น้ี 1. ประโยชน์ทางการเกษตร 1.1 ผงึ้ เป็นแมลงชว่ ยผสมเกสรเพิม่ ผลผลิตพชื ปัจจุบันเทคโนโลยีการเกษตรได้มีการพัฒนาปัจจัยการผลิตพืชทุกด้าน เพื่อให้เกษตรกร ไดร้ บั ผลผลติ ดที สี่ ดุ ทงั้ ในดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพ การเพาะปลกู พชื แตล่ ะชนดิ จะตอ้ งมกี ารวางแผน และใช้ปัจจัยการผลิตต่างๆ อย่างเหมาะสม จึงจะเอื้ออ�ำนวยให้ผลผลิตเป็นไปตามเป้าหมายที่ ต้องการได้ การมองข้ามปัจจัยการผลิตท่ีสำ� คัญปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งอาจจะก่อให้เกิดผลเสียหายต่อ ผลผลติ ทจ่ี ะไดร้ บั เปน็ อนั มาก ปจั จยั การใชผ้ ง้ึ ในการชว่ ยผสมเกสรเปน็ ปจั จยั ทส่ี �ำคญั ปจั จยั หนงึ่ ทจ่ี ะ ตอ้ งใชใ้ นการเพมิ่ ผลผลติ พชื เนอ่ื งจากพชื ทางการเกษตรหลายชนดิ ถงึ แมจ้ ะมกี ารดแู ลและเอาใจใส่ เปน็ อยา่ งดมี ีการเจรญิ เตบิ โต แข็งแรงและออกดอกเตม็ ต้นไปหมด ในชว่ งทพ่ี ชื ออกดอกนี้ ถา้ หาก ไม่มผี ้ึงชว่ ยผสมเกสรผลผลิตพชื จะได้รับเพยี งบางส่วนประมาณร้อยละ 40 - 60 ทีเ่ กิดจากการผสม ตัวเองและผสมข้ามตามธรรมชาตเิ ท่าน้นั นอกจากน้พี ชื หลายชนดิ เกดิ การผสมเกสรไมเ่ ต็มท่ีท�ำให้ ผลผลิตที่ได้รับบิดเบี้ยวไม่ได้คุณภาพสภาพเช่นนี้เป็นปัญหาท่ีเกษตรกรประสบอยู่เป็นประจ�ำ ผลทไี่ ดร้ บั คอื ผลผลติ ตำ่� มากและไมไ่ ดค้ ณุ ภาพ การจดั การน�ำผง้ึ ชว่ ยผสมเกสรพชื ทางการเกษตรไดม้ ี การนำ� มาใชเ้ ปน็ ปจั จยั การผลติ ไดร้ บั ผลดแี ละเปน็ ทย่ี อมรบั ของประเทศตา่ งๆ ทวั่ โลกวา่ ผลการชว่ ย ผสมเกสรพืชสามารถเพ่ิมผลผลิตพืชทั้งด้านปริมาณและคุณภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพถึงร้อยละ 40 - 90 โดยท่เี กษตรกรเพาะปลูกพชื มิได้ลงทนุ ในสว่ นน้ีเพิม่ เลย ดงั นนั้ ความจำ� เป็นของผึ้งในการ ผสมเกสรพชื จงึ เป็นปัจจยั ทส่ี ำ� คญั ปัจจยั หนึง่ ในการเพาะปลูกพืชทางการเกษตร 12 การผลติ นำ�้ ผ้งึ คุณภาพ
ภาพผ้งึ ผสมเกสรในดอกทานตะวันและดอกลำ� ไย ผ้ึงเป็นแมลงท่ีมีความส�ำคัญซึ่งท�ำหน้าที่ในการผสมเกสรของพืชเศรษฐกิจมากมาย หลายชนดิ เชน่ ลำ� ไย ลิน้ จี่ สม้ มะพร้าว มะม่วง กาแฟ ทอ้ สตรอเบอรี่ มะมว่ งหิมพานต์ ทานตะวัน พืชตระกูลแตง พืชผักที่ต้องการผลิตเมล็ดพันธุ์ เช่น ข้าวโพด ฝ้าย ถั่วเหลือง ถั่วเขียว เป็นต้น ผ้ึงจึงเป็นแมลงท่ีช่วยผสมเกสรและเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรท่ีดีชนิดหน่ึง เพราะสามารถ เคล่ือนย้ายรังผ้ึงไปตามแหล่งที่ต้องการได้ การเล้ียงผึ้งเพ่ือผสมเกสรเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรโดยตรง เพราะการติดผลของพืชหลายชนิดต้องอาศัยแมลงช่วย ผสมเกสรที่มีประสิทธิภาพอย่างเช่น ผ้ึง ผลผลิตของพืชผลที่เพิ่มข้ึน มีราคามากกว่ารายได้ที่ได้ จากผลิตภัณฑผ์ ึง้ พฤติกรรมของผึง้ และดอกไม้ ผึ้งและดอกไม้มีพฤติกรรมบางอย่างตายตัวไม่เปล่ียนแปลง พฤติกรรมบางอย่างก็ เปลยี่ นแปรไปตามสง่ิ แวดลอ้ ม แตใ่ นสว่ นของผงึ้ พฤตกิ รรมการลงตอมดอกไมข้ องผงึ้ แตล่ ะสายพนั ธ์ุ จะเหมือนกันไม่ว่าจะเป็นผ้ึงรุ่นยาย รุ่นแม่ รุ่นลูก หรือรุ่นหลาน ก็แสดงวิธีการตอมดอกไม้ เหมอื นกนั หมด แตผ่ ง้ึ ตา่ งสายพนั ธจ์ุ ะมพี ฤตกิ รรมแตกตา่ งกนั ในสว่ นของดอกไม้ ขอ้ มลู ดา้ นรปู แบบ การผสมเกสร จัดเป็นพฤตกิ รรมตายตวั ของดอกไม้แต่ละชนิด พฤตกิ รรมของผ้งึ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การผสมเกสร พฤติกรรมท่ีผึ้งงานออกหาอาหารบนดอกไม้ เป็นพฤติกรรมที่ผ้ึงแสดงออกมาให้เห็น เหมือนกันทุกตัว ที่ลงตอมดอกไม้ชนิดเดียวกัน ในเวลาเดียวกัน เรียกว่าพฤติกรรมน้ีถูกควบคุม ดว้ ยพันธุกรรม ไดแ้ ก่ 1. พฤตกิ รรมการเก็บเกสร และน�้ำหวานจากดอกไม้ 2. พฤติกรรมการเก็บน�้ำและยางไม้ 3. พฤติกรรมการสง่ ข่าวสารบอกแหลง่ อาหาร การผลิตนำ�้ ผึ้งคณุ ภาพ 13
ส่วนพฤติกรรมท่ีเปล่ียนแปลงไป คือ ผ้ึงงานจะเก็บน้�ำหวานมาก เกสรน้อย หรือต้อง ออกไปหานำ�้ สง่ ผลใหผ้ ง้ึ งานมพี ฤตกิ รรมตอบสนองในความตอ้ งการของรงั ผง้ึ แตล่ ะรงั ไมเ่ ทา่ กนั หรอื เป็นเพราะปัจจยั ภายนอกมีอิทธิพลต่อรังผ้งึ รังนน้ั และมผี ลต่อการผสมเกสร ได้แก่ 1. ความต้องการเกสรและน้�ำหวานจากดอกไม้ ซง่ึ ขน้ึ อยกู่ ับจำ� นวนตวั ออ่ นและผง้ึ ท่เี ลี้ยง ในรงั 2. จ�ำนวนเที่ยวบินที่ผ้ึงออกหาอาหารในแต่ละวัน ซ่ึงข้ึนอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ถา้ ฝนตก อากาศหนาวเย็น ผึง้ จะไมอ่ อกหากิน และก่อนฝนจะตกประมาณ 1 ชวั่ โมง ผึง้ ทอ่ี อกไป หาอาหารนอกรัง จะบินกลับรัง หรือถ้ามีเสียงนกจาบคา ซ่ึงเป็นศัตรูตัวฉกาจ มันก็จะไม่โผล่ ออกมาจากรังเชน่ กนั ซ่งึ เปน็ พฤติกรรมการเรยี นรขู้ องผึง้ 3. พฤติกรรมเลือกชอบตอมดอกไม้แต่ละชนิดไม่เท่ากัน และผึง้ แตล่ ะรังหากินเป็นถิ่น พฤตกิ รรมของดอกไมท้ เี่ กยี่ วข้องกบั การผสมเกสร ดอกไม้แต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกัน ซึ่งถูกกำ� หนดโดยพันธุกรรม (genetic factors) หรือท่ีเกษตรกรพูดกนั วา่ เปน็ เพราะพันธุต์ า่ งกัน ได้แก่ 1. ชนิดของเพศดอก 2. ตำ� แหนง่ ของดอกไมแ้ ต่ละชนดิ 3. รูปแบบการผสมเกสร 4. การมีชีวติ ของเรณู 5. การตอบรบั ของยอดเกสรตัวเมยี 6. ความสามารถในการปฏสิ นธขิ องรังไข่ 7. ปริมาณละอองเรณตู อ่ อับเรณูของดอกไม้ 8. ความเข้มขน้ หรอื ความหวานของนำ้� ต้อยของดอกไม้ พฤติกรรมท่ีเปลี่ยนแปลงมักข้ึนอยู่กับสภาพแวดล้อมและภูมิอากาศเป็นส่วนใหญ่ (environmental factors) ส่วนหน่ึงข้ึนอยู่กับปริมาณอาหาร และฮอร์โมนของพืชสรีรวิทยา ของพืชที่เปล่ียนไป เน่ืองจากปัจจัยภายนอกมากระทบหรือท่ีเกษตรกรพูดกันว่าเป็นเพราะ สภาพดินฟา้ อากาศ ไดแ้ ก่ 1. จำ� นวนดอกตอ่ ชอ่ หรอื ต่อตน้ 2. อัตราสว่ นเพศดอก 3. ระยะเวลาของการบานของดอก 4. จำ� นวนดอกที่บานในแตล่ ะวัน 5. การแตกของอบั เรณแู ละจำ� นวนละอองเรณูของดอกไม้ 6. ปรมิ าณนำ้� ต้อยทแ่ี ต่ละดอกผลติ ได้ 7. การแกง่ แย่งอาหารกันภายในชอ่ ดอก 14 การผลิตน้ำ� ผง้ึ คณุ ภาพ
ข้อมูลเหล่านี้มีความส�ำคัญในการดูแลรักษาสวนหรือพืชพรรณ ตลอดจนการจัดการ รังผึ้ง โดยเกษตรกรต้องดูแลรักษาพรรณไม้ของตนให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ เพ่ือให้ขบวนการ ผสมเกสรพืชดอกเหล่านั้นมีประสิทธิภาพมากที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ ผู้เลี้ยงผ้ึงก็ต้องการรังผึ้งให้อยู่ ในสภาพที่พรอ้ มเช่นกัน ปจั จยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ พฤตกิ รรมของพชื แบง่ เปน็ ปจั จยั ภายใน เชน่ พนั ธกุ รรม ระดบั ฮอรโ์ มน ปริมาณอาหาร เป็นต้น และปัจจัยภายนอก เช่น สภาพดินฟ้าอากาศ แร่ธาตุในดิน ตลอดจน การปฏิบัติดูแลรักษาพรรณไม้ บางคร้ังปัจจัยทั้งสองไม่สามารถแยกออกจากกันได้อย่างชัดเจน บางครงั้ มนั มปี ฏกิ ริ ยิ ารว่ มกนั บางครง้ั กไ็ มม่ คี วามสมั พนั ธก์ นั คอื พชื พรรณบางชนดิ มคี วามแปรปรวนสงู ยกตัวอยา่ งเช่น การบานของดอกมะม่วงไมม่ คี วามสัมพนั ธก์ นั กบั อุณหภูมิ ความชนื้ หรอื แสงแดด แตอ่ ยา่ งใด แตแ่ สงแดดกลบั ไปมอี ทิ ธพิ ลตอ่ การแตกของอบั เรณู และอตั ราสว่ นของเพศดอก อณุ หภมู ิ และอาหารมีอิทธิพลต่อการผลิตฮอร์โมน เปน็ ต้น มนษุ ย์พยายามท่ีจะควบคมุ ปจั จัยต่าง ๆ ท่ีมีอทิ ธพิ ลตอ่ พชื หรือแม้กระท่ังผึ้ง แตก่ ็ทำ� ไมไ่ ด้ เต็มท่ี เพราะมันเป็นส่ิงมีชีวิต มีวิญญาณ มีความรู้สึก มีการปรับตัวอยู่ตลอดเวลาน่ันเอง เช่น สภาพภูมิอากาศ ถ้าเป็นไปตามปกติ ถูกต้องตามฤดูกาล เรายังสามารถปรับระบบหรือหลีกเล่ียง สภาพไม่เอ้ืออ�ำนวยได้ ปัจจุบันสภาพดินฟ้าอากาศเกิดวิปริต แปรปรวน ไม่ตรงตามฤดูกาล ไม่สามารถทำ� นายไดว้ ่าช่วงเวลาใดจะแลง้ ชว่ งไหนฝนจะตก นำ้� จะทว่ ม อกี ทั้งยงั เกดิ สภาพแลง้ จดั น�้ำหลากท่วมขังเป็นเวลานาน จงึ ทำ� ให้ชาวไรช่ าวสวนและผเู้ ล้ียงผง้ึ จนปญั ญาไมส่ ามารถแก้ไขได้ และทง้ั หมดนกี้ ไ็ มใ่ ชฝ่ มี อื ใครทไี่ หน มนษุ ยเ์ รานเี่ องเปน็ ตน้ เหตขุ องการท�ำลายสงิ่ แวดลอ้ ม แลว้ มนั ก็ กำ� ลงั ยอ้ นกลบั มาท�ำลายตวั เราเองอยู่ขณะน้ี การเลยี้ งผงึ้ เพ่อื ผสมเกสร เป็นงานทีต่ อ้ งอาศัยความรู้ ท้ังทางด้านการเลี้ยงผึ้ง หรอื การจัดการรังผ้ึงเพื่อการผสมเกสรพชื เปา้ หมายแตล่ ะชนิด จ�ำเปน็ ทจี่ ะ ต้องทราบขอ้ มูลทางชีววทิ ยาของดอกไม้ ที่ตอ้ งการผสมเกสร เพ่ือนำ� ไปใช้ในการจดั การรงั ผึง้ ต่อไป ภาพผง้ึ ผสมเกสรในดอกฝร่งั และดอกปาล์ม การผลิตนำ้� ผึง้ คุณภาพ 15
ความสมั พันธ์ของผึง้ ในการผสมเกสรพืชชนดิ ตา่ งๆ ชนดิ พชื การผสมเกสร ความจำ� เป็นตอ้ งใช้ผงึ้ การรวบรวม ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ช่วยผสมเกสร ของผ้งึ กาแฟ (coffee) เกสร น้ำ� หวาน Coffee spp. Coffee arabica กาแฟพนั ธุอ์ าราบกิ า้ • ผ้ึงช่วยผสมเกสรกาแฟ * ** Coffee robusta ผสมตัวเอง พนั ธอ์ุ าราบกิ า้ ชว่ ยเพม่ิ สว่ นกาแฟพนั ธอ์ุ ่นื ๆ ผลผลิตกาแฟได้เพ่ิม งา จะผสมข้าม มากขน้ึ กว่าเดิม (sesame) • กาแฟพนั ธอ์ุ น่ื ๆตอ้ งการ Sesamum ผ้ึงช่วยผสมเกสรจะตดิ indicum เมลด็ ไดด้ ขี นึ้ ผสมตวั เองและ มีผึ้งช่วยผสมเกสรจะท�ำ ** ** ผสมขา้ ม ให้ผลผลิตเมล็ดงาเพ่ิมขึ้น อีกรอ้ ยละ 20 เงาะ ผสมตวั เอง ต้องการผ้ึงช่วยผสมเกสร - ** (rambutan) และผสมขา้ ม จะช่วยเพ่ิมผลผลติ เงาะได้ Nephelium มที ง้ั ดอกสมบรู ณเ์ พศ 5 เทา่ ตวั จากสภาพปกติท่ี appceum และดอกแยกเพศ ไมม่ ีผ้ึงช่วยผสมเกสร แตงกวา ดอกเกสรตัวผู้บาน ในสภาพทไี่ มม่ ผี ง้ึ ชว่ ยผสม - ** (cucumber) กอ่ นดอกเกสรตวั เมยี เกสรผลผลติ จะไม่สม่�ำเสมอ Cucumis และทรงผลแตงกวาไม่ sativus สมบูรณ์ ถ้ามีผึ้งช่วยผสม จะทำ� ใหผ้ ลผลติ สมำ่� เสมอ มีทรงผลแตงกวาสมบูรณ์ 16 การผลิตน�ำ้ ผึง้ คุณภาพ
ชนิดพชื การผสมเกสร ความจ�ำเปน็ ตอ้ งใชผ้ ึ้ง การรวบรวม ช่ือวิทยาศาสตร์ ชว่ ยผสมเกสร ของผ้ึง แตงโม (watermelon) เกสร น�ำ้ หวาน Citrullus lanatus มที ง้ั ดอกสมบรู ณเ์ พศ ดอกแตงโมจะต้องมีผ้ึง - ** และดอกแยกเพศ เข้ามาช่วยผสมเกสร ถวั่ เหลือง และในดอกรวมเพศ มากกว่า 8 ครั้ง เพื่อให้ (soybean) เกสรตัวผู้และเกสร ละอองเกสรตัวผู้กระจาย Glycine max ตัวเมียแยกกันเห็น บนเกสรตวั เมยี ผลแตงโม ชัดเจน ทไ่ี ดจ้ งึ จะมลี กู กลม มฉิ ะนน้ั ถว่ั ลสิ ง (peanut) แล้วลูกจะบิดเบ้ียวไม่ได้ Arachis ลูกกลมและมขี นาดเล็ก hypogaea L. ทานตะวัน ผสมตัวเอง ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ผึ้งช่วย - * (sunflower) ผสมเกสรยกเว้นการท�ำ Helianthus ลกู ผสมจำ� เป็นตอ้ งใชผ้ ึง้ annus ผสมตวั เอง ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ผ้ึงช่วย - * ฝา้ ย ผสมขา้ ม ผสมเกสรแต่ถ้ามีผึ้งช่วย ** (cotton) ผสมให้เกิดการผสมข้าม Gossypium ผสมตวั เอง จะได้รับผลผลิตเพิ่มข้ึน ** 6-11% spp. ทานตะวนั พนื้ เมอื งจ�ำเปน็ ** ต้องใช้ผึ้งช่วยผสมเกสร จึงจะไดผ้ ลผลิต 85-99% ถ้าไม่มีผ้ึงช่วยผสมเกสร ผลผลิตจะต่�ำมาก ทานตะวันลูกผสม ถ้ามี ผึ้งช่วยผสมเกสรจะได้รับ ผลผลติ เพิ่มขึน้ มผี งึ้ ชว่ ยผสมเกสรจะทำ� ให้ - สมอฝ้ายมขี นาดใหญ่ การผลิตนำ้� ผ้งึ คณุ ภาพ 17
ชนิดพืช การผสมเกสร ความจำ� เป็นต้องใชผ้ ้ึง การรวบรวม ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ช่วยผสมเกสร ของผง้ึ ฟักทอง (pumpkin) เกสร นำ�้ หวาน ฟกั (squash) ดอกเกสรตวั ผูบ้ าน ผึ้งช่วยผสมเกสรจะท�ำให้ * ** Cucurbita spp. กอ่ นดอกเกสรตวั เมยี ผลมีขนาดใหญส่ มำ�่ เสมอ มะพร้าว (coconut) ผสมขา้ ม ดอกตัวผู้บานก่อนดอก ** ** Cocos nucifera และผสมตวั เอง ตั ว เ มี ย จึ ง ไ ม ่ ส า ม า ร ถ * * L. ผสมขา้ มและ ผสมตัวเองได้ในช่อดอก ผสมตวั เอง เดียวกัน จึงต้องการผึ้ง มะม่วง ดอกมะมว่ งมีทั้ง ในการช่วยผสมเกสรโดย (mango) ดอกสมบรู ณ์เพศ เฉพาะผง้ึ มม้ิ และผงึ้ โพรง Mangifera และดอกแยกเพศ ผ้ึงม้ิม ผ้ึงโพรง แมลงวัน indica และชันโรง เป็นแมลงที่มี ประสิทธิภาพมากในการ สม้ เขยี วหวาน ชว่ ยผสมเกสรมะม่วง (orange) Citrus พนั ธส์ุ ม้ มหี ลายชนดิ ต้องการผ้ึงช่วยผสมเกสร ** ** reticulata ส่วนใหญ่เป็น จะท�ำใหผ้ ลผลิตเพ่มิ พืชผสมข้าม มากขึน้ สม้ โอ (Pomelo) เป็นพืชผสมขา้ ม ต้องการผ้ึงช่วยเกสรจะ ** ** Citrus grandis สม้ เป็นพชื ท่ี ท�ำให้ผลผลิตเพ่ิมมากขึ้น เกสรตัวเมยี และการปลูกส้มโอควร ไม่ยอมรบั เกสรตวั ผู้ ปลูกต่างพันธุ์ไว้ในพ้ืนท่ี จากตน้ ตัวเอง เดียวกันด้วยจะท�ำให้ ต้องการจากตา่ งตน้ ผลผลติ เพิม่ ขึน้ ตา่ งสายพนั ธุ์ 18 การผลติ น�ำ้ ผึง้ คุณภาพ
ชนดิ พืช การผสมเกสร ความจ�ำเป็นตอ้ งใช้ผง้ึ การรวบรวม ชื่อวิทยาศาสตร์ ชว่ ยผสมเกสร ของผ้ึง ล�ำไย (Longan) เกสร น�ำ้ หวาน Dimocarpus longan มที งั้ ดอกสมบรู ณเ์ พศ ต้องใช้ผ้ึงช่วยผสมเกสร * ** และดอกแยกเพศ จะช่วยเพ่ิมผลผลิตล�ำไย เป็นดอกตัวผู้และ ได้ 9 เท่าตวั จากสภาพท่ี ดอกตัวเมยี ไม่มผี ง้ึ ช่วยผสมเกสร ลนิ้ จี่ มที ง้ั ดอกสมบรู ณเ์ พศ ต้องการผ้ึงช่วยผสมเกสร - ** (Lychee) และดอกแยกเพศ จะช่วยเพิ่มผลผลิตลิ้นจ่ี Litchi chinensis เปน็ ดอกตัวผแู้ ละ ได้ 2 เท่าตัวจากสภาพที่ ดอกตวั เมยี ไมม่ ีผงึ้ ช่วยผสมเกสร นนุ่ ผสมตัวเองและ ตอ้ งการผงึ้ ชว่ ยผสมเกสร - ** (Kapok) ผสมข้าม จะช่วยเพม่ิ ปริมาณ Ceiba นำ�้ หนกั ฝักนุ่นต่อฝักถงึ pentander 30 % แอปเปลิ้ เปน็ พชื ผสมขา้ ม ต้องการแมลงในสกุล * * (Apple) แอปเปิลเป็นพืช Apis ในการผสมเกสร * * Malus ท่ีเกสรตวั เมยี sylvestris ไมย่ อมรบั เกสรตวั ผู้ สตรอเบอรร์ ี่ จากตน้ ตวั เองตอ้ งมา (Strawberry) จากต่างตน้ ตา่ งพันธุ์ Fragaria ผสมข้ามภายในต้น ต้องการแมลงในสกุล Xananassa เดียวกัน และผสม Apis ในการผสมเกสร Duch. ข้ามต้น เน่ืองจาก เพ่ื อให้มรี ูปทรงผลที่ ความพร้อมในการ สวยงามและสมบูรณ์ ผสมเกสรของดอกตวั ผลจะขยายใหญส่ ่งผลให้ เมียจะเร็วกว่าเกสร ผลสตรอเบอร์รมี่ นี ำ้� หนัก ของดอกตวั ผู้ มากข้นึ หมายเหตุ : - หมายถึง ผ้งึ ไมส่ ามารถรวบรวมเกสร หรือน้�ำหวานได้ * หมายถึง ผ้ึงสามารถรวบรวมเกสร หรือน้�ำหวานได้พอสมควร ** หมายถงึ ผง้ึ สามารถรวบรวมเกสร หรือนำ�้ หวานได้ดี การผลติ นำ�้ ผง้ึ คณุ ภาพ 19
1.2 ตวั ชว้ี ดั สง่ิ แวดลอ้ ม ผ้ึงเป็นแมลงสังคมขนาดเล็กที่มีคุณประโยชน์นานัปการทั้งในด้านให้ผลผลิตท่ีเป็นอาหาร และเปน็ ยาอายวุ ฒั นะ ทม่ี นุษยน์ �ำผลิตภัณฑจ์ ากผงึ้ มาใชต้ ้งั แต่โบราณกาล และผึ้งยังมีความส�ำคญั ตอ่ ระบบนเิ วศวทิ ยา ทีม่ บี ทบาทเป็นแมลง ที่ช่วยผสมเกสรดังทีก่ ล่าวไปแล้วในตอนต้น นอกจากนี้ ผ้ึงยังเป็นแมลงตัวชี้วัดสิ่งแวดล้อมท่ีส�ำคัญ กล่าวคือ หากพ้ืนที่ใดยังมีผึ้งอาศัยและท�ำรังอยู่ แสดงว่าพ้ืนท่ีนั้นยังมีสภาพแวดล้อมที่ดีและปลอดภัยจากสารพิษ ท้ังน้ีเน่ืองจากผ้ึงเป็นแมลง ทม่ี คี วามไวตอ่ สารเคมเี ปน็ อยา่ งมาก หากผงึ้ ไดร้ บั สารเคมี ผงึ้ จะไมส่ ามารถด�ำรงชวี ติ และไมส่ ามารถ อาศัยอยู่บริเวณนั้นจะท�ำการย้ายรงั ไปทอี่ ่ืน การเกิดวิกฤตของส่ิงแวดล้อม จะมีความสัมพันธ์และส่งผลกระทบต่อผึ้งด้วย โดยผ้ึงจะมี พฤติกรรมการแสดงออกตอบสนองต่อส่ิงเร้าท้ังภายนอกและภายใน เช่น ตาเด่ียวของผ้ึงจะมี ความไวตอ่ ระดับความเขม้ แสง เมอ่ื เกดิ หมอกควัน หรือควนั ไฟ อันมาจากมลพิษต่างๆ เช่น ควนั ไฟ จากการเผาป่า ไอเสียจากรถยนต์ จะส่งผลทำ� ให้ทิศทางการบินของผ้ึงผิดไปจากเดิม นอกจากนี้ การที่ชั้นบรรยากาศถูกปกคลุมไปด้วยหมอกควัน และมลพิษ จะส่งผลให้บดบังและทำ� ลายกล่ิน ของดอกไม้ซึ่งเป็นอาหารของผึ้ง ท�ำให้ผ้ึงไม่ตอมดอกไม้ดังกล่าว เน่ืองจากผ้ึงใช้เส้นหนวดที่ ประกอบดว้ ยเซลลร์ บั ความรสู้ กึ จากสารเคมที อ่ี ยบู่ นหนวด โดยทหี่ นวดแตล่ ะเสน้ รบั กลน่ิ อยา่ งอสิ ระ ผงึ้ หาตำ� แหนง่ ของกลน่ิ ดว้ ยการหนั หวั จนกระทง่ั ระดบั ความเขม้ ขน้ ของกลน่ิ เทา่ กนั ทง้ั สองขา้ ง ซงึ่ มี ความไวในการรบั กล่ินมากกว่ามนษุ ยถ์ งึ 100 เทา่ นอกจากนี้ ผึง้ ตอ้ งการออกซิเจนในกระบวนการ หายใจเช่นเดียวกับมนุษย์ โดยผึ้งจะอาศัยระบบท่อลมที่ประกอบด้วย ถุงลมและท่อลมฝอย การเกดิ ปญั หาหมอกควนั และฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ จะท�ำใหผ้ ง้ึ ไดร้ บั อากาศทเี่ ปน็ พษิ และสง่ ผลกระทบ ต่อสุขภาพของผ้ึงเช่นเดียวกับมนุษย์ แต่ไม่สามารถทนต่อมลพิษได้เท่ามนุษย์เนื่องจากผ้ึงมีขนาด ล�ำตวั เลก็ กว่ามนุษย์หลายรอ้ ยเท่า การใช้สารเคมีทางการเกษตรของมนุษย์ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมและแมลงด้วยเช่นกัน จากผลการศกึ ษาของประเทศจีน พบวา่ สารนโี อนิโคตนิ อยด์ มผี ลท�ำใหผ้ งึ้ หลงทาง ทำ� ใหค้ วามจำ� และการสอ่ื สารเสื่อม ผลต่อระบบประสาท รบกวนการเต้นร�ำ การกำ� หนดทิศทางการท�ำงานและ ท่ีส�ำคัญสารนี้ไม่ได้ฆ่าผึ้งทันที แต่อาจทำ� ให้พฤติกรรมผ้ึงผิดปกติเช่น เกิดอัลไซเมอร์ นอกจากน้ี การใชย้ าก�ำจัดไร อาจส่งผลทำ� ให้ผงึ้ เครียดและอ่อนแอ กระตุ้นอาการแฝงท่ผี ดิ ปกติในรา่ งกายผงึ้ ใหป้ รากฏและแสดงอาการออกมา และเมอ่ื ผง้ึ หรอื แมลงชว่ ยผสมเกสรตามธรรมชาตมิ ปี รมิ าณลดลง ย่อมส่งผลกระทบมายังพืชผลทางการเกษตรด้วย เช่น เกษตรกรในมณฑลเสฉวน สาธารณรัฐ ประชาชนจีน จะต้องใช้คนในการผสมเกสรต้นสาลี่ เนอ่ื งจากผึ้งถูกทำ� ลายดว้ ยสารกำ� จดั ศัตรูพืช 20 การผลิตน้�ำผงึ้ คณุ ภาพ
ภาพผง้ึ ตายหน้ารงั เนอื่ งจากไดร้ บั ผลกระทบจากสารเคมที างการเกษตร นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพด้วย ดังน้ัน จึงควรลดการใช้ สารเคมีทางการเกษตรควรใช้เท่าที่จ�ำเป็นและอย่างระมัดระวัง เพ่ือเป็นการรักษาระบบนิเวศ อยา่ งย่ังยืนตอ่ ไป ดังค�ำกลา่ วของบุคคลสำ� คัญระดับโลก อัลเบิร์ต ไอสส์ ไตน์ เคยกลา่ วว่า “เม่อื ใด ทผ่ี ง้ึ หมดไปจากพนื้ ผวิ โลก เมอื่ นนั้ มนษุ ยเ์ หลอื เวลาเพยี งสป่ี ที จี่ ะมชี วี ติ ไมม่ กี ารถา่ ยละอองเรณู อีกตอ่ ไป ไม่มพี ืชอีกตอ่ ไป ไมม่ ีสตั ว์ ไมม่ มี นษุ ย”์ การผลติ นำ้� ผงึ้ คุณภาพ 21
2. ผลผลิตจากการเลย้ี งผงึ้ พนั ธุ์ ความสำ� คญั และประโยชนข์ องการเลยี้ งผง้ึ มคี ณุ คา่ ตอ่ มวลมนษุ ยแ์ ละระบบนเิ วศ เนอื่ งจาก ผ้ึงเป็นแมลงช่วยผสมเกสรให้กับพืชผลทางการเกษตร สร้างมูลค่าให้กับผลผลิตทางการเกษตร อย่างมากมาย และเป็นแมลงตัวช้ีวัดส่ิงแวดล้อม สร้างความหลากหลายทางชีวภาพให้กับโลก นอกจากนี้ ผ้ึงยังให้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าต่อมวลมนุษยชาติ โดยมนุษย์ได้น�ำผลิตภัณฑ์จากผ้ึงมา ใช้ประโยชน์มาตั้งแต่อดีตกาล จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ พบว่า ในสมัยอียิปต์โบราณได้นำ� น้�ำผึ้งมาใช้เป็นอาหาร เป็นรางวัลส�ำหรับนักรบ เป็นยารักษาโรค และใช้เป็นสิ่งแลกเปล่ียนแทน เงนิ ตรา นอกจากนี้ ได้มกี ารน�ำไขผ้ึงมาใช้ประโยชนใ์ นการการทำ� เทยี นในพธิ ีกรรมต่างๆ เน่อื งจาก ไขผึง้ ถกู ผลติ มาจากล�ำตวั ของผง้ึ งาน ซึ่งเป็นผง้ึ พรหมจรรย์ถอื เปน็ ไขผ้งึ บรสิ ุทธิ์ สำ� หรบั ในปัจจบุ นั มนษุ ยไ์ ดม้ กี ารเลยี้ งผงึ้ และนำ� ผลติ ภณั ฑจ์ ากผง้ึ มาใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งหลากหลาย ทงั้ นำ� ไปเปน็ อาหาร ยารกั ษาโรค และได้มีการพฒั นาการแปรรปู ผลติ ภัณฑ์จากผ้งึ อย่างหลากหลายเช่นกัน โดยเฉพาะ อาหารส่งเสรมิ สขุ ภาพ และเครื่องสำ� อาง เปน็ ต้น ผลติ ภณั ฑจ์ ากผงึ้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทตามแหลง่ ที่มา ได้แก่ 1) ผลติ ภัณฑจ์ ากภายนอกรงั ไดแ้ ก่ เกสร และโปรโปลสิ 2) ผลิตภัณฑท์ ่ผี า่ นขบวนการย่อยของผ้ึงแลว้ ค่อยคายมาสะสมในหลอดรวง ได้แก่ นำ้� ผึ้ง 3) ผลติ ภัณฑท์ เ่ี ปน็ ผลทางดา้ นสรรี วิทยา ได้แก่ ไขผง้ึ นมผงึ้ พษิ ผึ้ง และตวั ออ่ นผึ้ง 2.1 น�ำ้ ผงึ้ (Honey) นำ�้ ผง้ึ จดั เปน็ อาหารทม่ี นษุ ยร์ จู้ กั มาตง้ั แตส่ มยั โบราณ มสี รรพคณุ ทางยาและมคี ณุ ประโยชน์ มากมาย องคป์ ระกอบหลกั ของนำ้� ผึ้ง คอื นำ�้ ตาลโมเลกุลเดย่ี วเป็นสว่ นใหญ่จึงดูดซมึ เขา้ สู่รา่ งกาย และสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ง่าย นอกจากนี้ยังพบว่าในน้�ำผึ้งมีสารแอนติออกซิแดนท์ เชน่ เดยี วกับท่ีมีในผกั ใบเขียว และยงั มวี ิตามินบี ซี ฟอสฟอรัส แคลเซยี ม เกลือแร่ และกรดอะมโิ น ซงึ่ มปี ระโยชนต์ อ่ สุขภาพ นำ้� ผ้งึ คือ นำ้� หวานทผ่ี ้ึงเก็บจากต่อมนำ�้ หวานของดอกไม้ หรอื ต้นไม้ ทผ่ี ่านขบวนการยอ่ ย ภายในตวั ผง้ึ ขณะก�ำลังบนิ กลบั รงั แล้วคายออกมาเก็บไวใ้ นหลอดรวง ทำ� การบม่ จนของเหลวนน้ั มคี วามเข้มข้นสงู หรอื มคี วามชืน้ น้อยกวา่ 20% โดยนำ้� หนกั ซงึ่ จะมีส่วนของแรธ่ าตุ วิตามนิ และ กรดอะมิโน เป็นส่วนประกอบอยู่ในน�้ำผึ้งน้ัน น�้ำผึ้งจัดเป็นอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตท่ีดีท่ีสุด เพราะ 99% ของน�้ำผ้งึ คอื น�้ำตาล ทำ� ให้ไดพ้ ลังงานมากกวา่ เม่ือเปรยี บเทยี บกับอาหารชนิดอนื่ ลกั ษณะของนำ�้ ผึง้ ท่ดี ี 1) ใส ขน้ มคี วามหนืด และมีสีเหลืองออ่ นถงึ สนี ้�ำตาล สะอาด ไม่มีเศษไขผ้งึ หรือตัวผึง้ ปะปน 2) มรี สหวาน มีกลิ่นหอมเฉพาะตามชนิดของดอกไม้ 3) มฉี ลากปดิ แสดงแหล่งผลติ และผผู้ ลติ ที่สามารถตรวจสอบยอ้ นกลับได้ 22 การผลิตน�ำ้ ผงึ้ คณุ ภาพ
องคป์ ระกอบในนำ�้ ผง้ึ ความชืน้ 17.20 % น�้ำตาลฟรคุ โทส 38.19 % น�ำ้ ตาลกลูโคส 31.28 % น้�ำตาลมอลโทส 7.31 % นำ�้ ตาลซโู คส 1.31 % น�ำ้ ตาลอนื่ ๆ 1.50 % แร่ธาตตุ า่ ง ๆ 0.17 % โปรตนี 0.26 % เอนไซม์และวติ ามนิ 2.21 % กรดชนิดต่าง ๆ 0.57 % ประโยชนข์ องนำ�้ ผงึ้ มนุษยน์ �ำนำ�้ ผึ้งมาใชป้ ระโยชน์ในลักษณะต่างๆ กัน ดงั นี้ 1. ใชเ้ ป็นสารให้ความหวานเป็นสารอาหารและเป็นอาหารเสริม สำ� หรับอตุ สาหกรรมอาหาร การใชน้ ้�ำผึ้งจะชว่ ยใหร้ สชาติ (flavor) และเปน็ ที่ดึงดูดใจ ของผู้บริโภค โดยเฉพาะผู้บริโภคในปัจจุบันที่หันมานิยมบริโภคอาหารที่มีความเป็นธรรมชาติ นอกเหนือจากผลของการที่น�้ำผ้ึงให้ความหวานกับผลิตภัณฑ์แล้ว ในผลิตภัณฑ์บางอย่าง เช่น ผลติ ภณั ฑข์ นมอบ ไดแ้ ก่ ขนมคกุ กี้ ขนมเคก้ เปน็ ตน้ การใชน้ �้ำผง้ึ ยงั มสี ว่ นชว่ ยใหผ้ ลติ ภณั ฑม์ ลี กั ษณะ ชมุ่ ฉำ�่ นา่ รบั ประทาน ส�ำหรบั ผลติ ภณั ฑท์ มี่ กี ารน�ำนำ้� ผง้ึ ไปใชเ้ ปน็ สว่ นประกอบ ไดแ้ ก่ ผลติ ภณั ฑน์ ม และไอศกรมี ผลติ ภณั ฑป์ ระเภทลกู กวาด ผลติ ภณั ฑป์ ระเภทของขบเคยี้ วหรอื ของวา่ ง ผลติ ภณั ฑน์ ม และไอศกรีม ผลติ ภณั ฑ์ประเภทลูกกวาด ผลิตภัณฑป์ ระเภทของขบเคย้ี วหรอื ของว่าง ผลิตภณั ฑ์ ผลไมอ้ บนำ้� ผงึ้ เชน่ กลว้ ยตากน�้ำผง้ึ มะมว่ งแช่อมิ่ นำ�้ ผ้ึง เป็นตน้ รวมท้งั ผลติ ภณั ฑ์อาหารท่ีบำ� รุง สขุ ภาพตา่ งๆ (Lagrange et al., 1991) นำ้� ผง้ึ ยงั มปี ระสทิ ธภิ าพในการตา้ นอนมุ ลู อสิ ระ (antioxidant properties) ท�ำใหเ้ ซลล์ ในรา่ งกายเสอื่ มสภาพชา้ ลง (Harman, 1993; Bermond, 1990) ความสามารถในการตา้ นอนมุ ลู นี้ ได้มาจากพืชหรือดอกไม้ท่ีผ้ึงไปเก็บน�้ำหวานมา (Rosenblat et al., 1997) ดังนั้น จึงมีการใช้ น�้ำผ้งึ เป็นอาหารเสริมหรือสว่ นประกอบของอาหารเสรมิ อีกด้วย 2. ใช้ในเครอ่ื งสำ� อางตา่ งๆ เช่น ใช้น�้ำผ้ึงเป็นส่วนผสมของเครื่องประทินผิวประเภท ครีมบ�ำรุงผิว สบู่ และ น�้ำยาสระผม เป็นต้น การผลติ นำ้� ผึง้ คณุ ภาพ 23
3. ใชใ้ นการรักษาโรค การท่ีน้�ำผ้ึงมีความสามารถในการยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์และใช้รักษาโรคได้นั้น เปน็ ทท่ี ราบกนั มานานแลว้ แตใ่ นสมยั กอ่ นยงั ไมส่ ามารถอธบิ ายเหตผุ ลไดช้ ดั เจน การใชน้ �้ำผง้ึ รกั ษา แผลเร้ือรังและสมานแผลผา่ ตดั ในปจั จบุ ันเรยี กวา่ “honey medicine” นำ�้ ผง้ึ มคี วามสามารถในการยบั ยงั้ จลุ นิ ทรยี ไ์ ดก้ วา้ งขวาง (broad spectrum) สามารถ ยบั ยงั้ การเจริญของจุลินทรยี ไ์ ด้หลายชนดิ ทัง้ แบคทเี รยี และรา (Molan, 1992) คุณสมบตั ิการยบั ยั้งจลุ ินทรีย์ของนำ�้ ผ้ึง อาจเกดิ จากสิง่ ตอ่ ไปน้ี 1. ผลจากความเขม้ ข้นของตวั ถูกละลาย (osmotic effect) น�้ำผึ้งเป็นสารละลายอิ่มตัวของน้�ำตาลผสมของกลูโคสและฟรุคโทส มีน�้ำ 15 - 20% โดยน้�ำหนัก และ เป็นน�้ำท่ีมีปฏิกิริยากับน้�ำตาล ท�ำให้มีน�้ำอิสระอยู่ในรูปของ วอเตอร์แอกทิวิตี (water activity, aw) มีค่าอยู่ในช่วง 0.562 - 0.620 ซ่ึงเป็นค่าที่ตำ�่ มาก สามารถยบั ยง้ั การเจรญิ ของจลุ ินทรียส์ ว่ นใหญไ่ ด้ ยกเวน้ ยีสต์และราบางชนดิ 2. ความเปน็ กรด (acidity) น�้ำผึ้งมีความเป็นกรดค่อนข้างสูง pH ของนำ�้ ผ้ึงอยู่ในช่วง 3.2-3.5 ซึ่งสามารถ ยบั ยงั้ จลุ นิ ทรยี ท์ ก่ี อ่ ใหเ้ กดิ โรคหลายชนดิ แตถ่ า้ นำ�้ ผงึ้ ถกู เจอื จางโดยนำ�้ หรอื ของเหลวในรา่ งกาย pH อาจจะสูงขึ้น และความเปน็ กรดของนำ้� ผ้ึงจะลดลง ท�ำให้ประสทิ ธภิ าพในการยับยัง้ เชือ้ ลดลงด้วย 3. ปไฮรโะดสริทเจธนิภเพาพอใรนอ์ กอการไซตด้า์น(hจุลydินrทoรgียe์ขnอpงนer้�ำoผx้ึงidสeา,เHห2ตOุห2น)่ึงเกิดจากไฮโดรเจน เพอร์ออกไซด์ท่ีเกิดจากปฏิกิริยาท่ีมีเอนไซม์กลูโคสออกซิเดส (glucose oxidase) เป็นตัวเร่ง เอนไซม์น้ีสร้างจากต่อมไฮโปฟาริงจ์ของผ้ึงซ่ึงถูกผสมลงในน้�ำต้อย ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์เป็น สารทีม่ คี วามสามารถในการท�ำลายจุลนิ ทรีย์ 4. สารเคมีอ่ืนๆ ที่มาจากพืช ด้วยเหตุผลดังที่กล่าวมาแล้ว การน�ำน�้ำผ้ึงไปใช้เป็นสารต้านจุลินทรีย์น่าจะให้ ผลดีกว่าเมื่อใช้ภายนอก น้�ำผ้ึงได้ถูกน�ำมาใช้รักษาบาดแผล (wound dressing) ท�ำให้แผลหาย เรว็ ขนึ้ ทงั้ บาดแผลสดและบาดแผลจากไฟไหม้ (burns) (Green, 1988) เนอื่ งจากน�้ำผงึ้ มคี วามเขม้ ขน้ ของตัวถกู ละลายสงู และมสี ารบางอยา่ งที่ชว่ ยในการยับย้ังการเจริญจุลนิ ทรยี ์ 2.2 เกสรผง้ึ (Pollen) เกสรผึ้งเป็นแหล่งรวมเกสรนานาชนิดที่รวบรวมโดยผ้ึง เกสรดอกไม้ คือ ละอองเกสร คล้ายฝุ่นแป้งจากช่อเกสรตัวผู้ ของดอกไม้ ต้นไม้ ชนิดต่างๆ ท่ีผึ้งเก็บรวบรวมคลุกเคล้าผสมกับ น�้ำหวานของดอกไม้ ติดไว้ทป่ี ลายขาหลงั ทั้งสองขา้ ง แลว้ นำ� ไปเก็บไวใ้ นหลวดรวงรังผึ้ง กอ้ นเกสร แต่ละก้อน มีละอองเกสร (pollen grain) ประมาณ 100,000-300,000 อณู การเก็บรวบรวม เกสรเพอ่ื จำ� หนา่ ย ต้องระมดั ระวงั เรื่องความชืน้ เพราะอาจเกิดเช้ือรา ท�ำใหค้ ณุ สมบัติและคณุ ค่า 24 การผลิตนำ้� ผงึ้ คุณภาพ
ของเกสรสญู เสยี ไป ปกตเิ กสรสดทเี่ พง่ิ เกบ็ จะมี ความชื้นระหว่าง 9 - 36% การไล่ความช้ืน อาจท�ำโดยน�ำไปตากแดดหรือน�ำเข้าตู้อบที่ อุณหภมู ไิ ม่เกิน 40 °C เพื่อให้มีความชืน้ เหลอื อยปู่ ระมาณ 8 - 10 % เกสรผ้ึงเปน็ อาหารท่ี ดดู ซมึ งา่ ย รา่ งกายสามารถนำ� ไปใชไ้ ดเ้ ลย องคป์ ระกอบในเกสรผึง้ โปรตีนเป็นสว่ นใหญ่ แร่ธาตุ วิตามิน กรดอะมโิ น เกสรผง้ึ ( Bee Pollen) เอนไซม์ องค์ประกอบในเกสรผึ้งจะข้ึนกับชนิดของพืชและแหล่งของพืชท่ีผ้ึงไปเก็บสะสมอาหาร โดยทั่วไปจะมีสารอาหารโดยประมาณดังนี้ โปรตีน 30 – 35 % กรดอะมิโน 15 – 20 % คาร์โบไฮเดรต 40 – 50 % ไขมัน 1 – 5 % และแร่ธาตตุ ่างๆ เช่น โซเดยี ม โพแทสเซียม แมกนเี ซียม แคลเซยี ม เหล็ก ทองแดง สงั กะสี ฟอสฟอรสั เปน็ ตน้ วติ ามินท่ีพบ ได้แก่ วิตามินบี 1 วิตามนิ บี 2 วติ ามินบี 5 หรอื ไนอะซนิ กรดเพนโททีนกิ (panthothenic acid) ไบโอทนิ (biotin) กรดโฟลกิ (folic acid) วิตามินซี และวิตามินอี นอกจากนี้ยังมีเอนไซม์ต่างๆ ฮอร์โมน รงควัตถุ และสาร ฟลาโวนอยด์ (flavonoid) โดยควรมคี วามช้ืนไม่เกนิ 25 % (สริ ิวฒั น,์ 2532) ประโยชนข์ องเกสรผ้ึง ฤทธทิ์ างชวี ภาพของเกสรผง้ึ นน้ั ไดร้ บั ความสนใจและมผี ศู้ กึ ษาทง้ั ในสตั วท์ ดลองและการวจิ ยั ทางคลินิกถึงผลของเกสรผึ้งในการบ�ำรุงรักษาร่างกาย ชะลอความชรา เสริมสมรรถภาพทาง การกฬี าและทางเพศ เกสรผึ้งอาจใช้เป็นอาหารเสริมสุขภาพ โดยเป็นแหล่งโปรตีนและกรดอะมิโน ผู้ที่นิยม รบั ประทานจะนำ� ไปผสมในกาแฟหรอื เครอื่ งดม่ื เชน่ นำ้� สม้ นำ�้ มะนาว เปน็ ตน้ ผผู้ ลติ บางรายนำ� เรณู มาท�ำเป็นเม็ด และอาจเรยี กวา่ “เกสรผง้ึ ” (bee pollen) มีการน�ำไปใช้ในเชิงเวชศาสตรป์ ้องกัน (preventive medicine) เพื่อกระตุ้นการท�ำงานของร่างกายของนักกีฬาหรือผู้ท่ีท�ำงานหนัก โดยรับประทานเรณูวนั ละ 5 มิลลกิ รัม (Parkhill, 1982) ทางการแพทย์ใช้รกั ษาผูป้ ว่ ยโรคภูมิแพ้ โดยเรม่ิ ใหใ้ นปรมิ าณตำ่� ๆ แลว้ คอ่ ยๆ เพม่ิ ปรมิ าณขนึ้ เพอื่ ใหร้ า่ งกายสรา้ งความตา้ นทานตอ่ เรณขู อง ดอกไม้น้ันๆ ในยุโรป มีการใช้เรณูในการป้องกันและบรรเทาอาการแทรกซ้อนของไข้หวัด นอกจากนี้ เรณยู ังช่วยกระตนุ้ การเจรญิ ของเน้ือเยอื่ บริเวณผวิ หนัง กระตนุ้ ใหเ้ ลอื ดไปเล้ยี งเซลลไ์ ด้อย่างทั่วถงึ ใหค้ วามชมุ่ ชน้ื ตอ่ ผวิ หนงั ทแ่ี หง้ จงึ มกี ารน�ำไปใชใ้ นเครอื่ งสำ� อาง เชน่ ครมี บำ� รงุ ผวิ ครมี รองพน้ื และ ใชใ้ นการบ�ำรงุ รักษาเสน้ ผมให้เป็นเงางาม เป็นตน้ การผลติ นำ�้ ผง้ึ คุณภาพ 25
2.3 นมผึง้ (Royal Jelly) นมผึ้ง เป็นอาหารที่ผึ้งงานผลิต เพ่ือป้อนผ้ึงนางพญาเท่าน้ัน มีลักษณะเป็น ของเหลวขน้ คลา้ ยนำ�้ สลดั ชนดิ ครมี สเี หลอื งออ่ น -ขาว มีรสเปร้ียว เผ็ด หวานเล็กน้อย มีฤทธิ์ เปน็ กรด เปน็ อาหารทอ่ี ดุ มไปดว้ ยโปรตนี นมผง้ึ ซึ่งเป็นอาหารของผ้ึงนางพญาและตัวอ่อนของ ผง้ึ จะถกู ผลติ ออกมาจากตอ่ มไฮโปฟารงิ ซท์ อ่ี ยู่ บริเวณหัวของผึ้งงาน ซึ่งผึ้งนางพญาต้องการ นมผง้ึ ตลอดเวลาเพ่อื ทดแทนโปรตนี ทใ่ี ชใ้ นการผลิตไข่ ดงั นัน้ นมผง้ึ จงึ จดั เป็นอาหารธรรมชาตทิ มี่ ี คุณค่าทางโภชนาการสงู องค์ประกอบในนมผึ้ง (Takenaka , T 1982) น�ำ้ 66.9 % โปรตนี 11.4 % น้�ำตาล 9.1 % สาร 10 HDA (10-hydroxy-2decenoic acid) เถ้าถา่ น 0.94 % เอนไซมก์ ลูโคสออซเิ ดส และเอนไซมฟ์ อสฟาเทส วิตามินชนิดตา่ ง ๆ นมผ้ึงมีประโยชน์ในการช่วยในการเผาผลาญอาหาร ช่วยในการเจริญเติบโต ต้านความเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลดีต่อระบบประสาทต่างๆ ท�ำให้ผิวพรรณดี ดูอ่อนกว่าวัย ช่วยเพิ่มความแข็งแกร่งของกล้ามเน้ือ ช่วยบรรเทาอาการก่อนมีประจ�ำเดือน จนถึงวัยหมด ประจ�ำเดือน ช่วยลดระดับน้�ำตาลในเลือด อย่างไรก็ตามการการบริโภคนมผ้ึงควรบริโภคแบบสด ซึ่งต้องเก็บรักษานมผ้ึงไว้ท่ีอุณหภูมิต�่ำกว่า -12 ํC เพื่อให้คงสภาพความสดและคุณสมบัติเดิมไว้ ในปจั จุบันจงึ มีการผลติ นมผึง้ ในรปู แบบแคปซูล ซง่ึ มีคณุ สมบตั ิใกล้เคียงกับนมผงึ้ แบบสด ประโยชนข์ องนมผ้ึง ในสมัยก่อนคนจีนโบราณถือว่านมผ้ึงเป็นยาอายุวัฒนะ มีสรรพคุณบ�ำรุงร่างกายและ บำ� รงุ ประสาท ในปัจจุบันมีการน�ำเอานมผึ้งมาใช้เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องส�ำอาง กนั อยา่ งแพรห่ ลาย ประโยชนข์ องนมผง้ึ สว่ นหนงึ่ เกดิ จากองคป์ ระกอบของนมผงึ้ คอื 10-ไฮดรอกซ-ี 2 ดซี โี นอกิ (10-HDA) ซง่ึ มฤี ทธต์ิ า้ นการเจรญิ ของแบคทเี รยี บางชนดิ เชน่ Staphylococcus aureus, Bacillus และ E. coli เป็นต้น (Iannuzzi, J, 1990a, 1985) 26 การผลิตน�ำ้ ผึง้ คณุ ภาพ
อน่ึง ผู้บริโภคบางกลุ่มโดยเฉพาะผู้ท่ีเป็นโรคหอบหืดอาจมีอาการแพ้ ซึ่งอาจท�ำให้เกิด ผน่ื ลมพิษ หรอื หายใจไม่ออก จึงควรสังเกตอาการเม่ือเรม่ิ บริโภคในระยะแรกด้วย การเก็บรักษานมผ้ึง นมผึ้งจะเสื่อมคุณภาพอย่างรวดเร็ว เมื่อสัมผัสกับแสงและก๊าซออกซิเจนหรือเก็บไว้ที่ อุณหภมู หิ อ้ ง การเกบ็ รกั ษาสามารถท�ำไดห้ ลายวิธีดงั นี้ 1. การเก็บรักษาในรูปของนมผ้ึงสด โดยการแช่เยือกแข็งในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ไม่ควรใช้ภาชนะบรรจุที่เป็นโลหะเพราะนมผึ้งมีฤทธ์ิเป็นกรด การเก็บรักษานมผ้ึงสดใน ถุง HDPE (high density polyethylene) ที่อณุ หภูมิ -18 ํC สามารถรกั ษาคณุ ภาพของนมผงึ้ ไวไ้ ด้นานอย่างนอ้ ย 5 เดือน (Sanguandeekul and Nimachaikool, 1993b) 2. การเก็บรักษาโดยการระเหิดแห้ง (lyophlization หรือ freeze-dry) เป็นวิธีที่นิยม กันมากในการเก็บรักษานมผ้ึงในทางการค้า และเป็นวิธีท่ีเก็บรักษานมผ้ึงที่ดีท่ีสุดที่อุณหภูมิห้อง นมผ้งึ ทีไ่ ด้จะมลี กั ษณะเปน็ ผงแหง้ ซ่ึงอาจนำ� ไปบรรจแุ คปซลู หรืออดั เม็ดและจำ� หน่ายตอ่ ไปได้ 2.4 พรอพอลสิ (Propolis) เปน็ สารทผ่ี งึ้ งานรวบรวมมาจากยางไม้ โดยเฉพาะยางที่เคลือบอยู่บริเวณตาใบ มีลักษณะเป็นยางเหนียวสีน�้ำตาลส้มถึงแดง แล้วแต่ชนิดของต้นไม้ที่ผึ้งงานไปเก็บมา เพ่ือ นำ� กลบั มาใชป้ ระโยชนภ์ ายในรงั เชน่ น�ำมาทำ� ก�ำแพงก้ันช่องทางเดินภายในรัง หรือน�ำมา ยาปากทางเข้ารังให้มีขนาดเล็กลง เพ่ือให้ รังอบอุ่นในฤดหู นาว พรอพอลสิ คือ สารสกัด จากยางไม้ท่ีมีคุณสมบัติเป็นสารปฏิชีวนะท่ีดี ทส่ี ดุ ตามธรรมชาติ มสี ารประกอบฟลาโวนอยด์ (Flavonoid) ซง่ึ เปน็ สารประกอบจากพชื ทเี่ ปน็ ทม่ี ี คณุ สมบตั ใิ นการตอ่ ตา้ นการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าออกซเิ ดชนั่ (Antioxidant) ตอ่ ตา้ นเชอ้ื แบคทเี รยี เชอื้ ไวรสั เชอื้ รา และมีคุณสมบตั ิยับย้ังการอักเสบ นอกจากน้ียังพบสารอาหารอ่นื ๆ อกี กวา่ 22 ชนิด ไดแ้ ก่ กรดอะมิโน คารโ์ บไฮเดรต วิตามินต่างๆ เกลือแร่ เอนไซม์ และฮอรโ์ มนจากธรรมชาติ เปน็ ตน้ องค์ประกอบของพรอพอลิส กลุ่มสารชนิดต่าง ๆ เช่น กลมุ่ flavonoids กรดเบนโซอิค กรดอะมิโน การผลิตนำ�้ ผง้ึ คณุ ภาพ 27
น�้ำตาล แร่ธาตุ เทอรพ์ ีน สารสเตียรอยด์และสารอินทรียต์ า่ งๆ พรอพอลิสเป็นผลิตภณั ฑจ์ ากผึ้งท่ีไมส่ ามารถระบสุ ว่ นประกอบทช่ี ัดเจนได้ คณุ สมบัตขิ อง พรอพอลิสอาจแตกต่าง ขึ้นกับชนิดของยางไม้และพืชอาหารที่ผึ้งไปเก็บมา เน่ืองจากเป็นผลผลิต จากธรรมชาตจิ ากการเกบ็ สะสมของผ้ึง อยา่ งไรกต็ าม พรอพอลสิ โดยทวั่ ไปจะมีลักษณะเหนียวขน้ มีสีอยู่ในช่วงเหลืองถึงน�้ำตาลเข้ม มีลักษณะแข็งท่ีอุณภูมิ 15 องศาเซลเซียส แต่จะน่ิมลงเม่ือ อุณหภูมสิ ูงข้ึน และหลอมเหลวทอ่ี ุณหภมู ิ 60-69 องศาเซลเซยี ส องค์ประกอบทวั่ ไปคล้ายคลึงกัน คือประกอบด้วยชัน (resin) และยางใสหอม (balsam) 55% ไขผ้ึง 30% น้�ำมันหอมระเหย (ethereal oil) 10% และเรณจู ากดอกไม้ 54 % ทเี่ หลอื เปน็ แรธ่ าตตุ า่ งๆ และวติ ามนิ องคป์ ระกอบ ทางเคมที ส่ี ำ� คญั ของพรอพอลสิ คอื สารประกอบฟลาโวนอยด์ (flavonoids) ฟโี นลกิ ส์ (phenolics) และสารประกอบที่มีหมู่แอโรแมติก นอกจากนี้ พรอพอลิสยังประกอบด้วยน้�ำมันท่ีระเหยได้ (volatiles oils) และเทอรพ์ นี ส์ (terpenes) ฟลาโวนอยดน์ น้ั เปน็ สารประกอบจากพชื ทม่ี คี ณุ สมบตั ิ ในการตา้ นออกซิเดชนั (antioxidation) คณุ สมบัตใิ นการตอ่ ต้านแบคทเี รีย ราและไวรสั รวมทั้ง ตา้ นการอักเสบดว้ ย ประโยชนข์ องพรอพอลิส ฮปิ โปเครทสี (Hippocrates) บดิ าทางการแพทยข์ องโลก ใชพ้ รอพอลสิ เปน็ ครมี สมานแผล บรรเทาอาการปวดแสบปวดรอ้ น รกั ษาแผลเนา่ เปอ่ื ย ชาวโรมนั ใชบ้ รรเทาอาการปวดเมอ่ื ยเอน็ และ กลา้ มเนอ้ื ลดการบวมและความปวดจากแผลใชต้ า้ นการตดิ เชอ้ื ในชอ่ งปาก ดบั กลน่ิ ปาก ขจดั ตาปลา และเน้ือตาย บรรเทาอาการหวัด ในรัสเซียใช้เป็นยาทาเฉพาะที่โดยใช้ความเข้มข้น 2 – 4 % เพื่อบรรเทาอาการอักเสบ มีประสทิ ธิภาพในการใชเ้ ปน็ ยาแกป้ วด นอกจากนี้ พรอพอลิสยงั มฤี ทธิ์ ทางชีวภาพหลายสารประกอบดงั แสดงในตาราง 28 การผลิตน้ำ� ผ้งึ คณุ ภาพ
ตารางที่ 1 แสดงสารประกอบในพรอพอลสิ ท่มี ฤี ทธ์ทิ างชวี ภาพ สารประกอบ ฤทธิ์ เคอรซ์ ติ ิน (Quercitin) ต้านไวรัส พโิ นเซมบรนิ (Pinocembrin) แก้แพ้ กรดแคฟเฟอิก (Caffeic acid) รักษาโรคกระเพาะ ตา้ นแบคทเี รยี แคฟเฟอกิ แอชิด ฟนี เอทลิ เอสเตอร์ ตา้ นเชือ้ รา (Caffeic acid phenethylester) ยาชาเฉพาะท่ี ตา้ นแบคทีเรีย ตา้ นเชื้อรา ตา้ นไวรสั ต้านการอกั เสบ ท�ำลายเซลล์เน้อื งอก (Tumor cytotoxicity) ท่ีมา : Crane, 1997 2.5 ไขผึง้ (Beeswax) เป็นสารท่ีผึ้งงานผลิตจากต่อมไขผ้ึง เพ่ือใช้สร้าง ซ่อมแซมและปิดฝาหลอดรวง มีลักษณะเป็นเกล็ดขนาดเล็ก สีขาวใส มนี ำ�้ หนักเบา ถ้าน�ำแผ่นไขผ้ึง 800,000 เกลด็ มาชั่ง จะพบน้�ำหนักไม่ถึงกิโลกรัม และผ้ึง ต้องกินน้�ำหวานมากถึง 8.4 กิโลกรัม เพื่อใช้ ผลิตไขผ้งึ 1 กโิ ลกรมั คุณสมบัตขิ องไขผ้งึ 1. ไขผึ้งจะละลายได้ดีในน้�ำมันโดยเฉพาะนำ้� มันสน แต่ไม่ละลายในนำ้� มีจุดหลอมเหลว 63 - 65 °C ถา้ ได้รับความรอ้ นสงู กว่าจุดหลอมเหลว จะเกิดเปลวไฟลกุ ไหม้ ดงั นน้ั การหลอมไขผ้ึง ควรใชค้ วามร้อนจากไอน�้ำ หรอื นึ่งในน�้ำรอ้ น 2. ถา้ เกบ็ ทอี่ ุณหภูมติ ำ�่ ไขผง้ึ จะหดตวั และท�ำใหเ้ ปราะแตกงา่ ย การผลิตนำ�้ ผ้งึ คณุ ภาพ 29
ประโยชนข์ องไขผึง้ ในสมยั กอ่ นมกี ารใชไ้ ขผง้ึ ในกจิ กรรมตา่ งๆ ประเทศแถบยโุ รปบางแหง่ ใชไ้ ขผง้ึ เปน็ สอื่ กลาง ของการแลกเปลี่ยนแทนเงิน นอกจากนี้ สถาปนกิ ใชไ้ ขผ้งึ เป็นสอื่ กลางของการแลกเปลีย่ นแทนเงนิ นอกจากนี้ สถาปนิกใช้ไขผ้ึงส�ำหรับปั้นหุ่นหรือโครงสร้างจ�ำลองต่างๆ ในประเทศไทยใช้เป็นหุ่น ในการหลอ่ พระพทุ ธรูปมาตง้ั แตส่ มยั โบราณ ความแข็งแรง ความยืดหยุ่น และความสามารถในการกั้นน�้ำได้เป็นสมบัติส�ำคัญที่ท�ำให้ สามารถน�ำไขผึ้งไปใช้ในการเคลือบผิวหรือขัดผิวให้ความมันวาว และยังใช้เป็นส่วนประกอบใน เครื่องส�ำอางต่างๆ เช่น ครีมทาผิว ลิปสติก เป็นต้น นอกจากน้ียังเป็นส่วนผสมในการผลิต เครอ่ื งอปุ โภคหลายชนดิ เชน่ ดนิ สอสแี ละหมกึ เปน็ ตน้ ไดม้ กี ารนำ� ไขผง้ึ มาผลติ เปน็ เทยี นไขสำ� หรบั ให้แสงสว่าง ซ่ึงใช้ในระดับครัวเรือนกันมานานแล้ว โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ในพระราชประสงคข์ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มโี รงหลอ่ เทยี นหลวงซงึ่ รบั ซอ้ื ไขผง้ึ แทบ้ รสิ ทุ ธ์ จากเกษตรกรผเู้ ล้ยี งพนั ธ์แุ ละผึง้ โพรงมาผลิตเทียนหลวงสำ� หรับใชใ้ นพระราชพิธตี ่างๆ 2.6 พิษผง้ึ (Bee Venom) พิษผ้ึงเป็นสารประกอบโปรตีนที่ผลิตโดยต่อมพิษและเก็บไว้ในถุงน�้ำพิษที่อยู่บริเวณ โคนเหล็กใน พิษผึ้งจะถูกปล่อยออกมาโดยผ่านออกทางเหล็กในของผึ้งงาน ถุงน�้ำพิษถุงหนึ่งถุง จะบรรจุน้�ำพิษ ประมาณ 0.3 มิลลิกรัม ผึ้งจะสร้างน�้ำพิษได้ในช่วงท่ีผึ้งงานตัวเต็มวัยอายุ 10 – 14 วัน และมีปริมาณมากที่สุดในช่วงที่ผึ้งงานอายุ 15 วัน และจะมีประมาณคงท่ีตลอด อายุชีพ พิษผึ้งท่ีผลิตข้ึนมาเพื่อใช้ป้องกันตัวและป้องกันรังเท่าน้ัน และเหล็กในผ้ึงมีเพียง 1 อัน เท่าน้ัน สามารถปล่อยเหล็กในได้เพียงคร้ังเดียวและเมื่อผ้ึงปล่อยเหล็กในออกมาผ้ึงก็จะตาย มนษุ ยน์ ำ� พษิ ผงึ้ มาใชใ้ นการบำ� บดั รกั ษาโรคตา่ งๆ มายาวนาน เชน่ ในประเทศจนี มใี ชพ้ ษิ ผง้ึ บำ� บดั โรค มาเป็นเวลากว่า 3,000 ปี นอกจากนี้ ประเทศออสเตรียเป็นประเทศแรกท่ีท�ำการบ�ำบัดโรค ดว้ ยพิษผึ้งอย่างเป็นทางการ ส�ำหรับประเทศไทยได้เริ่มด�ำเนนิ การอย่างจรงิ จังเม่ือปี 2553 ลกั ษณะของพิษผง้ึ พิษผ้ึงมีลักษณะเป็นของเหลวใส มีรสขม มีกลิ่นของสารอโรมาติกคล้ายกล่ินนมแมว มฤี ทธิเ์ ป็นกรด และมคี วามถ่วงจำ� เพาะ 1.313 เปน็ สารอินทรีย์เคมี ทอี่ อกฤทธ์ิเรว็ และรุนแรง ท�ำให้แมลงบางชนิดตาย พิษผึ้งมีส่วนประกอบทางเคมีท่ีซับซ้อน มีสารท่ีมีปฏิกริยาทางเภสัชและทางชีวเคมี ได้แก่ เมลิททิน (melitin) อะปามนี (apamin) ฮีสตามนี (histamine) โดปามีน (dopamine) นอรอ์ พี เิ นฟรนิ (norepinephrine) สารทำ� ลายแกรนลู เลตงิ้ ในแมสเซลล์ (mast cell degranulating peptide) ฟอสโฟไลเปส เอ สอง (Phospholipase A2) ไฮยาลโู รนิเดส (hyaluronidase) 30 การผลติ นำ้� ผ้ึงคณุ ภาพ
ประโยชนข์ องพษิ ผงึ้ ถึงแม้พิษผึ้งจะท�ำให้เกิดอาการเจ็บปวดดังกล่าว แต่มนุษย์ก็ได้น�ำพิษผึ้งมาใช้ประโยชน์ ทางการแพทย์มานานแล้ว การใช้พิษผึ้งในการรักษาโรคท่ีเรียกว่า “bee venom therapy” ซง่ึ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการใชผ้ งึ้ และผลติ ภณั ฑใ์ นการรกั ษาโรค (apitheraphy) (Cherbuliez, 1997) การใช้พษิ ผง้ึ ในทางการแพทย์ อาจแบ่งไดด้ ังน้ี 1. ใชร้ ักษาผู้ป่วยท่ีเปน็ ไขขอ้ อักเสบ (rheumatoid arthritis) การให้ผึง้ ต่อยเพอ่ื บรรเทา อาการปวดขอ้ นน้ั มกี ารใชก้ นั มานานแลว้ พษิ ผง้ึ มฤี ทธต์ิ า้ นการอกั เสบใกลเ้ คยี งกบั cylo phosphamid กลไกอาจเกดิ จากสารเมลทิ ทิน (melittin) ในพษิ ผ้งึ 2. ใช้ในลักษณะภูมิคุ้มกันบ�ำบัดส�ำหรับผู้ท่ีต้องท�ำงานเก่ียวกับผึ้งและมีภูมิคุ้มกันไวเกิน ตอ่ พิษผง้ึ (hypersensitivity to bee venom) โดยใชพ้ ิษผึ้งทส่ี กดั มาท�ำเป็นยาเพอ่ื ฉีดเข้ารา่ งกาย ของผู้ท่ีแพพ้ ษิ ผงึ้ ด้วยความเขม้ ขน้ ตำ่� มาก เชน่ 0.1 ไมโครกรมั ต่อ 1 มิลลลิ ิตร โดยฉีดทุกสัปดาห์ แลว้ ค่อยๆ เพิ่มความเข้มข้นข้นึ เรอื่ ยๆ 3. ใช้รักษาโรคอืน่ ๆ เชน่ multiple sclerosis โดยอาศยั ฤทธต์ิ า้ นการอักเสบและกระตนุ้ ภมู คิ ้มุ กัน โรคท่สี ามารถรักษาได้ดว้ ยพษิ ผ้งึ อาการปวดตา่ งๆ ได้แก่ ปวดคอ ปวดหลงั ปวดเอว ปวดสะโพก ปวดขา ปวดเขา่ เข่าเสื่อม เอวเคล็ด โรคอนื่ ๆ ไดแ้ ก่ รูมาตอยต์ โรคเกาต์ นวิ้ ลอ็ ค รดิ สีดวง ตะคริวนอ่ ง เบาหวาน ไมเกรน ความดนั โลหติ สงู นอนกรน ประจำ� เดอื น มาไมป่ กติ มือ-เทา้ ชา ไหลต่ ิด เปน็ ตน้ การบำ� บัดโรคดว้ ยพิษผึ้งท�ำได้โดยการ จับผึ้งมาต่อยบริเวณจุดเจ็บ หรือจุดปราสาท ลมปราณ ซึ่งเป็นต�ำแหน่งจุดเช่นเดียวกับ ศาสตร์การฝังเข็ม ผ้ึงจะต่อยและหลั่งน�้ำพิษ ออกมา ปลอ่ ยไวป้ ระมาณ 3 - 5 นาที จงึ ถอน เหลก็ ในออก และในปจั จุบันมีการน�ำพิษผึ้งมา ผลิตเป็นยาฉีดโดยละลายในนำ้� หรือน�้ำมันฉีด เขา้ ใต้ผิวหนัง ผลิตในรูปแบบยาทา และบาล์ม นอกจากน้ี ได้มีการน�ำสารสกัดพิษผึ้ง มาผสมในเครอ่ื งสำ� อางบำ� รงุ ผวิ เนอื่ งจากพษิ ผงึ้ มคี ณุ สมบตั ใิ นการกระตนุ้ ใหผ้ วิ หนงั สรา้ งคอลลาเจน และอลิ าสตนิ ทำ� ใหผ้ วิ เตง่ ตงึ และกระชบั อยา่ งไรกต็ าม จะตอ้ งใชใ้ นปรมิ าณทเี่ หมาะสมเพอื่ ปอ้ งกนั การอักเสบต่อผิวหนัง ปัจจุบันได้มีผลิตภัณฑ์เครื่องส�ำอางที่มีส่วนผสมของพิษผ้ึงหลายชนิด เชน่ ครมี บำ� รุงผิวหนา้ และเซร่มั บำ� รุงผวิ หนา้ การผลิตนำ�้ ผ้งึ คุณภาพ 31
2.7 ตัวออ่ นของผ้ึง (larva and pupa) เป็นตัวอ่อนผึ้งระยะตัวหนอนจากผ้ึงงานแต่ส่วนใหญ่เป็นตัวหนอนผึ้งนางพญา ท่ีเก็บจาก การท�ำรอยัล เยลลี่ เป็นอาหารเสริมโปรตีน ประเทศไทยนิยมบริโภคตัวอ่อนจากผ้ึงมาเป็นเวลา ช้านานแล้ว นิยมหาน�้ำผ้ึงจากผึ้งหลวง ซ่ึงต้องปีนต้นไม้ใหญ่ที่มีรังผึ้งหลวงอยู่ เม่ือได้น้�ำผึ้งแล้ว ตัวออ่ นผงึ้ จะเปน็ ผลพลอยได้ น�ำมาประกอบเป็นอาหารรับประทาน เช่นเดียวกับผึ้งโพรง เมื่อเกบ็ น้�ำผึ้งแล้วก็น�ำมาประกอบเป็นอาหาร ในปัจจุบันมีผู้เล้ียงผึ้งพันธุ์มากข้ึน ผู้เล้ียงผ้ึงจึงน�ำตัวอ่อน มาประกอบเปน็ อาหารท�ำใหเ้ กดิ รายได้เพ่มิ ขึ้น ดงั น้ี 1) ขายรวงผงึ้ สด ซ่ึงมตี วั หนอนและดักแด้วัยออ่ น 2) น�ำรงั ผ้ึงมาตดั เป็นชิ้น ๆ น�ำมาหอ่ ใบตอง ป้ิงหรอื นงึ่ ขาย 3) ตัวหนอนที่ได้จากการท�ำรอยัล เยลลี่ น�ำมาผสมไข่และเครื่องปรุง ใส่ในกระทง ใบตองปิง้ หรือนง่ึ ขาย ปัจจบุ ันในต่างประเทศ เช่น จนี ญป่ี ุ่น และเกาหลใี ต้ ไดน้ �ำตัวออ่ นของผงึ้ ตวั ผูม้ าอบแหง้ และรบั ประทานเปน็ อาหารบำ� รงุ กำ� ลงั ซง่ึ เปน็ ทน่ี ยิ มในผบู้ รโิ ภคเปน็ อยา่ งมาก เนอ่ื งจากเปน็ แหลง่ โปรตนี ท่ีมคี ุณภาพดี และไดม้ กี ารผลติ ตวั อ่อนของผึง้ ตัวผเู้ พอื่ นำ� มาอบแห้งและจำ� หน่ายอย่างกว้างขวาง ภาพรวงผ้งึ สดท่ีมีตัวออ่ นของผึ้งและนำ้� ผ้งึ ทีว่ างขายในท้องตลาด ภาพผลติ ภณั ฑต์ วั ออ่ นตวั ผ้อู บแหง้ 32 การผลติ น�้ำผงึ้ คณุ ภาพ
3. ประโยชนด์ ้านอ่นื ๆ 3.1 อุตสาหกรรมตอ่ เน่อื ง การเลี้ยงผ้ึงได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว แพร่หลายไปทั้งประเทศ ทำ� ให้เกิดอาชีพใหม่เป็น อุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณ์ในการเลี้ยงผึ้ง เช่น รังผึ้ง แผ่นรังเทียม เครื่องสลัดน�้ำผ้ึง เครอ่ื งปาดหลอดรวงน้�ำผึง้ ทีพ่ น่ ควนั ผึ้ง เหลก็ งัดรัง และการขายพนั ธุผ์ งึ้ เป็นตน้ ภาพอตุ สาหกรรมผลิตรังผงึ้ และอุปกรณก์ ารเลีย้ งผงึ้ ภาพอตุ สาหกรรมผลิตอปุ กรณ์สลัดนำ�้ ผง้ึ การผลติ นำ�้ ผึง้ คณุ ภาพ 33
ภาพอุตสาหกรรมผลิตไขผงึ้ และผลิตแผน่ รงั เทียม ภาพอุตสาหกรรมผลติ ชดุ เล้ยี งผึง้ 3.2 งานอดเิ รก เป็นงานอดิเรกช่วยผ่อนคลายอารมณ์ การเล้ียงผึ้งนอกจากจะยึดเป็นอาชีพแล้วยัง สามารถเปน็ งานอดเิ รกทใี่ หค้ วามสขุ ผอ่ นคลาย อารมณ์ สำ� หรบั ผมู้ เี วลาวา่ งและผสู้ งู อายไุ ดเ้ ปน็ อย่างดี เพราะผ้ึงเป็นแมลงสังคมที่น่าศึกษา ความเป็นอยู่ของมัน ในต่างประเทศมีผู้นิยม เล้ียงผึ้งเป็นงานอดิเรกเปน็ จ�ำนวนมาก ภาพการเลีย้ งผึง้ บนดาดฟา้ ของตกึ สูง ณ เมือง Buenos Aires สาธารณรัฐอารเ์ จนตนิ า 34 การผลิตนำ�้ ผงึ้ คุณภาพ
บทที่ 3 ชีววทิ ยาและสงั คมของผ้งึ ผึ้ง (Honey bee, Apis spp.) เป็นแมลงทด่ี �ำรงชวี ติ โดยการกินนำ�้ หวานและเกสรจาก ดอกไม้ เป็นแมลงท่ีมีประโยชน์ต่อมนุษย์เป็นอย่างมาก นอกจากจะให้น้�ำผ้ึง ไขผึ้ง รอยัลเยลลี และอื่นๆ อกี หลายชนิด ผงึ้ ยงั เปน็ ตวั การสำ� คญั ในการผสมเกสรของพชื ช่วยเพมิ่ ผลผลิตทางดา้ น การเกษตรอีกด้วย ดังนั้น เพ่ือให้การเลี้ยงผึ้งพันธุ์ประสบผลส�ำเร็จ จึงต้องให้ความสนใจและ ให้ความส�ำคัญกับชวี วทิ ยาและพฤตกิ รรมทางสงั คมของผ้งึ พันธุ์ ผึ้งที่พบเห็นทวั่ ๆ ไป มี 4 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. ผ้ึงหลวง (Apis dorsata) เปน็ ผง้ึ ทมี่ ขี นาดใหญท่ สี่ ดุ มลี กั ษณะตวั ใหญ่ ล�ำตวั ยาวรี ประชากรสว่ นใหญจ่ ะอยปู่ กคลมุ รงั เพ่ือท�ำหน้าที่ป้องกันรัง รวงผึ้งมีขนาดใหญ่ มีประชากรประมาณ 10,000 – 80,000 ตัวต่อรัง สร้างรวงรังเพียงรวงเดียว โค้งรีเป็นรูปคร่ึงวงกลม ชอบท�ำรังในท่ีโล่งแจ้งและอยู่ที่สูงมีร่มเงา ที่ไม่ร้อนเกินไป บางคร้ังในท่ีเดียวกันอาจมี รงั ผึง้ หลวงกันมากกวา่ 50 รงั ผ้งึ หลวงจะดุรา้ ย เม่ือถูกรบกวนหรือถูกท�ำลาย และจะรุมต่อย ศัตรูนับเป็นสิบถึงร้อยตัว เหล็กในมีพิษมาก ผงึ้ หลวงสามารถบนิ หาอาหารไดไ้ กล บางรงั อาจ มีการเก็บสะสมนำ้� ผึง้ ถึง 15 กโิ ลกรมั ผึ้งหลวง ไมส่ ามารถน�ำมาเลย้ี งได้ แตค่ วรจะอนรุ กั ษใ์ หม้ ี อยใู่ นธรรมชาติ เพราะตน้ ไมห้ ลายชนดิ ตอ้ งการ ผ้ึงหลวงเป็นแมลงช่วยผสมเกสรเพ่ือด�ำรง เผ่าพันธุ์ ขนาดของผ้ึงหลวง ขนาดล�ำตัวยาว 17-19 มิลลิเมตร ส่วนอกกว้าง 5 มิลลเิ มตร ภาพรังผงึ้ หลวงบนกิ่งไม้ใหญ่ การผลติ นำ้� ผึง้ คณุ ภาพ 35
2. ผึง้ มม้ิ (Apis florea) เปน็ ผง้ึ ทมี่ ขี นาดเลก็ ทสี่ ดุ พบเหน็ มากตามรา้ นขนมหวาน ประชากรสว่ นใหญจ่ ะอยปู่ กคลมุ รงั รวงผง้ึ มีขนาดเล็ก มีประชากรประมาณ 3,000 – 15,000 ตวั /รงั มีการสร้างรวงรังเพียงรวงเดยี ว มีรปู รา่ งเกือบเป็นวงกลม มีขนาดตง้ั แต่ 10 ซม. ถงึ 30 ซม. ลักษณะรวงผึ้งจะท�ำค่อมกงิ่ ไม้พมุ่ ไม้ เตี้ยๆ (ส่วนของน้�ำผึ้งจะอยู่ค่อมรอบก่ิงไม้) อยู่บนส่วนของรวง เน่ืองจากเป็นผ้ึงขนาดเล็กและ บนิ หาอาหารได้ไม่ไกลนกั จงึ ท�ำใหม้ ีนำ้� ผ้ึงนอ้ ยและมกี ารอพยพทิ้งรงั บอ่ ย ไม่สามารถน�ำมาเล้ียงได้ เช่นเดยี วกบั ผึ้งหลวง ขนาดของผงึ้ ม้ิม ขนาดลำ� ตวั ยาว 7 มิลลิเมตร ส่วนอกกว้าง 2.60 มิลลเิ มตร ภาพลกั ษณะการทำ� รงั ของผง้ึ ม้ิม 3. ผ้ึงโพรง (Apis cerana) เปน็ ผ้งึ ที่มขี นาดกลาง ตวั เลก็ กว่าผ้ึงพันธ์ุ แตใ่ หญก่ วา่ ผึง้ มิม้ เป็นผ้งึ ทม่ี ีววิ ัฒนาการที่สงู กวา่ ผ้ึงม้ิมและผึ้งหลวง สร้างรังอยู่ในที่มืด และมีจำ� นวนรวงหลายรวง ตั้งแต่ 5-15 รวง มีประชากร ประมาณ 5,000 – 30,000 ตวั ในธรรมชาติ ผ้ึงโพรงที่พบในเมืองไทยจะสรา้ งรงั ในโพรงหนิ หรือโพรงไม้ตา่ งๆ ซึ่งตอ่ มาเกษตรกรผเู้ ลี้ยงผง้ึ ได้ท�ำกล่องไม้ให้ผ้ึงอาศัยอยู่เพื่อความสะดวก ต่อการเก็บน้�ำผึ้ง ผ้ึงโพรงจะให้น�้ำผึ้งประมาณ 3-15 กิโลกรัมต่อรัง โดยเฉล่ียประมาณ 7 กิโลกรัมตอ่ รังต่อปี ขนาดของผงึ้ โพรง ขนาด ล�ำตัวยาว 12 มิลลิเมตร ส่วนอกกว้าง 3.3 มิลลเิ มตร ภาพลกั ษณะการทำ� รังของผ้ึงโพรง 36 การผลิตนำ�้ ผึ้งคุณภาพ
4. ผง้ึ พนั ธุ์ (Apis mellifera) เปน็ ผ้งึ ทนี่ �ำเขา้ จากยโุ รปและอเมรกิ า มขี นาดใหญ่กวา่ ผง้ึ โพรงแต่เลก็ กวา่ ผ้งึ หลวง สรา้ งรงั อยใู่ นทม่ี ดื จำ� นวนประชากรมี 20,000 – 60,000 ตวั ตอ่ รงั นสิ ยั ไมด่ ุ ไมท่ งิ้ รงั สามารถนำ� มาเลย้ี งแลว้ ใหผ้ ลตอบแทนสงู ขนาดของผึง้ พันธุ์ ขนาดลำ� ตวั ยาว 16 มลิ ลิเมตร ส่วนอกกว้าง 4 มิลลเิ มตร ภาพผึ้งพนั ธแุ์ ละการตง้ั รงั เล้ียงผึง้ พันธุ์ ลักษณะของผงึ้ พันธุ์ ลกั ษณะท่วั ไปของผงึ้ พนั ธุ์ แบง่ ออกได้เป็น 3 ส่วน คือ 1. ส่วนหัว ประกอบด้วยอวัยวะรับความรูส้ ึกต่างๆ ทส่ี ำ� คัญคอื ตารวม มีอยู่ 2 ตา ประกอบด้วยดวงตาเล็กๆ เป็นรูปหกเหล่ียมหลายพันตารวมกัน เชือ่ มติดต่อกนั เป็นแผง ทำ� ให้ผึง้ สามารถมองเห็นส่งิ ต่างๆ ไดร้ อบทศิ ตาเด่ียว อยดู่ ้านบนสว่ นหวั ระหว่างตารวมสองข้าง เปน็ จดุ เล็กๆ 3 จุด อย่หู ่างกันเปน็ รูปสามเหล่ียม ซ่ึงตาเด่ียวนี้จะเป็นส่วนที่รับรู้ในเร่ืองของความเข้มของแสง ทำ� ให้ผ้ึงสามารถแยก สตี า่ งๆ ของสิง่ ของท่ีเห็นได้ ฟริช ดาร์ล ฟอน ไดท้ �ำการศกึ ษาและพบว่า ผ้งึ สามารถเหน็ สไี ด้ 4 สี คือ สอี ลุ ตรา้ ไวโอเลต สฟี ้า สฟี า้ ปนเขียว และสเี หลอื ง สว่ นชว่ งแสงท่มี ากกว่า 700 มิลลิไมครอน ผงึ้ จะมองเปน็ เป็นสีดำ� หนวด ประกอบด้วย ข้อต่อและปล้องหนวดขนาดเท่าๆ กัน จ�ำนวน 10 ปล้อง ประกอบเปน็ เส้นหนวด ซึง่ จะทำ� หน้าท่รี ับความรสู้ ึกที่ไวมาก 2. ส่วนอก ประกอบด้วย ปล้อง 4 ปล้อง ส่วนด้านล่างของอกปล้องแรกมีขาคู่หน้า อกปล้องกลางมีขาคู่กลาง และด้านบนปล้องมีปีกคู่หน้าซ่ึงมีขนาดใหญ่หนึ่งคู่ ส่วนล่างของ ปล้องท่ี 3 มขี าคู่ท่ีสามซงึ่ ขาหลงั ของผึ้งงานนี้ จะมตี ะกร้อเกบ็ ละอองเกสรดอกไม้ และดา้ นบนจะมี ปีกคหู่ ลงั อยู่หนงึ่ คทู่ เี่ ลก็ กวา่ ปีกหน้า 3. ส่วนท้อง ส่วนท้องของผึ้งงานและผ้ึงนางพญา เราจะเห็นภายนอกเพียง 6 ปล้อง ส่วนปล้องที่ 8-10 จะหุบเขา้ ไปแทรกตวั รวมกนั อยู่ในปล้องที่ 7 สว่ นผึง้ ตวั ผู้จะเห็น 7 ปลอ้ ง การผลติ นำ้� ผ้ึงคณุ ภาพ 37
วงจรชวี ติ ของผึง้ พันธ์ุ วงจรชีวติ ของผ้งึ พันธุ์ แบ่งออกไดเ้ ป็น 4 ระยะ คอื ระยะไข่ (eggs stage) ผงึ้ นางพญามหี นา้ ทว่ี างไขภ่ ายในรงั โดยรงั ไขข่ องผง้ึ นางพญาจะมขี นาดใหญ่ ประกอบดว้ ย ท่อรังไข่หลายอัน ท่ีส่วนปลายของท่อรังไข่แต่ละอัน จะเป็นท่ีผลิตเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย เซลล์น้ี จะมขี นาดใหญข่ นึ้ เรอ่ื ยๆ เมอื่ เคลอื่ นทมี่ าทป่ี ากทอ่ รงั ไข่ เซลลส์ บื พนั ธน์ุ ค้ี อื ไข่ (egg) เมอื่ ไขโ่ ตเตม็ ท่ี ก็จะถูกปล่อยออกจากท่อน�ำไข่ (oviduct) ไปยังช่องคลอด (vagina) ซ่ึงจะมีท่อเล็กๆ เช่ือมต่อ อยกู่ บั ถงุ เกบ็ น�้ำเชอื้ ของผง้ึ ตวั ผู้ (spermatheca) ภายในถงุ นจ้ี ะมเี ซลลส์ บื พนั ธข์ุ องผงึ้ ตวั ผบู้ รรจอุ ยู่ ซ่ึงผ้ึงนางพญาได้รับมาเก็บไว้จากการผสมพันธุ์ ที่ปลายท่อของถุงเก็บน�้ำเชื้อ ท่ีเชื่อมติดต่อกับ ช่องคลอด จะมีล้ินเปิดปิดอยู่เพ่ือใช้ในการบังคับให้น้�ำเชื้อของผ้ึงตัวผู้ออกมาผสมกับไข่ ในกรณี ที่ผ้ึงนางพญาต้องการวางไข่เพศเมียหรือปิดลิ้นไม่ให้น�้ำเชื้อของผึ้งตัวผู้ออกมาผสมกับไข่ในกรณี ที่ต้องการวางไข่ตัวผู้ ลักษณะของไข่จะยาวประมาณ 0.5 เซนติเมตร หวั ทา้ ยมนโคง้ งอเล็กน้อย มสี ีขาว ไขจ่ ะถกู วางเอาสว่ นทา้ ยตดิ กบั กน้ ของหลอดรวงตงั้ ขนึ้ มา เมอื่ ไขใ่ กลจ้ ะฟกั กจ็ ะลม้ ลงนอนอยทู่ ก่ี น้ หลอดรวง ระยะตัวหนอน (larva stage) เมื่อไขม่ ีอายุไดป้ ระมาณ 3 วนั ก็จะฟักออกมาเป็นตวั หนอนขนาดเล็กๆ สีขาว นอนลอยอยู่ บนอาหารที่ก้นหลอดรวง ตัวหนอนน้ีก็จะค่อยๆ เจริญเติบโตข้ึนเรื่อยๆ มีการลอกคราบท้ังหมด 5 ครง้ั ตวั หนอนของผง้ึ จะไมม่ ขี า สว่ นล�ำตวั สขี าวจะมขี นาดใหญก่ วา่ สว่ นหวั มาก ผนงั ล�ำตวั จะเปราะ และบอบบาง ส่วนหัวก็จะมีสีขาวเหมือนกับล�ำตัว แต่สังเกตเห็นได้ค่อนข้างยาก เพราะส่วนหัว มักหดจมลงในส่วนของล�ำตัว ตัวหนอนของผึ้งจะมีหน้าท่ีกินอาหารที่ผ้ึงงานป้อนให้เท่าน้ัน กระเพาะอาหารของตัวหนอนจะมีขนาดใหญ่มาก คือ ขนาดเกือบเท่าส่วนของลำ� ตัว ในระยะ ที่ตวั หนอนยังมอี ายุนอ้ ย ระบบขบั ถา่ ยยังเจรญิ ไม่เตม็ ที่ ฉะนัน้ ตัวหนอนในระยะแรกๆ จึงยงั ไมม่ ี การขับถา่ ย จนตวั หนอนโตเต็มที่ก่อนทจี่ ะปดิ ฝาหลอดรวง จะมีการขับถา่ ยของเสียออกมาจนหมด แลว้ จึงถักไยเป็นรังไหมหอ่ หมุ้ ตวั ตัวหนอนภายในก็จะลอกคราบเป็นครงั้ สดุ ท้าย กลายเป็นดกั แด้ ระยะดักแด้ (pupa stage) ระยะดักแด้ ตัวหนอนจะเปลี่ยนรูปร่างเปน็ อวัยวะตา่ งๆ ชัดเจนขน้ึ แบง่ เป็น 3 สว่ น คอื สว่ นหวั (head) สว่ นอก (thorax) และสว่ นทอ้ ง (abdomen) นอกจากนน้ั ยงั เหน็ หนวด (antennae) ขา (legs) และปกี (wings) ดกั แด้ในวันแรกๆ จะมสี ีขาวเหมอื นตัวหนอน เมื่อมีอายมุ ากข้นึ กจ็ ะ ค่อยๆ เปลีย่ นเปน็ สีนำ�้ ตาลออ่ น และเปน็ สนี ำ�้ ตาลเข้มข้นึ เรื่อยๆ ผนงั ล�ำตัวก็จะแข็งข้นึ เมอื่ ดกั แด้ โตเตม็ ท่ีจะมีลกั ษณะเหมอื นผ้ึง ตวั เต็มวัยทกุ ประการ แตจ่ ะมสี ีออ่ นกวา่ และมีขนปกคลมุ มากกวา่ อวัยวะภายในบางอย่างยังไมเ่ จริญเตม็ ท่ี 38 การผลิตน้ำ� ผงึ้ คุณภาพ
ระยะตัวเตม็ วยั (adult stage) ดักแด้โตเต็มทก่ี ็จะใชก้ รามกัดไขผงึ้ ท่ีปดิ ฝาหลอดรวงออกมาเป็นตวั เต็มวัย ตารางท่ี 2 แสดงวงจรชวี ติ ของผ้งึ แตล่ ะวรรณะ วรรณะ ชนดิ ระยะตัวออ่ น (วัน) รวม (วัน) ตวั เต็มวัย ระยะไข่ ระยะ ระยะดักแด้ (ประมาณ) ผงึ้ นางพญา ผสมน�้ำเช้อื 16 ผึ้งงาน ผสมน้�ำเชอ้ื ตัวหนอน 21 2 ปี ผงึ้ ตัวผู้ ไมผ่ สมน้�ำเชือ้ 3 5½ 7½ 24 3 เดอื น 2 เดอื น 3 6 12 3 6 ½ 14 ½ การผลติ นำ�้ ผึง้ คณุ ภาพ 39
40 การผลิตน�ำ้ ผึ้งคณุ ภาพ
วรรณะของผงึ้ แบ่งออกเปน็ 3 วรรณะ คือ 1. ผ้ึงนางพญา (queen) มีขนาดใหญ่ มีล�ำตัวยาวกว่าผ้ึงตัวผู้และผ้ึงงาน ปีกของผึ้งนางพญาจะมีขนาดสั้น เม่ือเทียบกับความยาวของล�ำตัว มีเหล็กในต่อสู้กับนางพญาตัวอื่นเท่าน้ัน ไม่เหมือนผึ้งงานที่มี เหล็กในไว้ท�ำร้ายศัตรู ไม่มีการออกหาอาหาร ไม่มีตะกร้อเก็บเกสร และไม่มีต่อมผลิตไขผ้ึง การเคลอื่ นไหวคอ่ นขา้ งเชอ่ื งชา้ แตส่ ขุ มุ รอบคอบ แตถ่ า้ จำ� เปน็ กพ็ บวา่ นางพญาสามารถเคลอ่ื นไหว ได้รวดเร็วเช่นกัน ในรังผ้ึง นางพญาท่ีถูกผสมพันธุ์แล้ว มักจะพบอยู่บริเวณรวงผึ้ง ท่ีมีตัวอ่อน อยู่ภายในหลอดรวง นางพญาจะถูกห้อมล้อม ด้วยผ้ึงงาน โดยผึ้งงานจะใช้หนวดแตะหรือใช้ ลิ้นเลียตามตัวผึ้งนางพญา คอยให้อาหารและ ท�ำความสะอาด และน�ำของเสียที่ผึ้งนางพญา ขบั ถา่ ยออกไปท้งิ นอกจากนนั้ ผ้งึ งานยงั รับเอา สารทผี่ ง้ึ นางพญาผลติ ออกมา แลว้ สง่ ตอ่ ใหผ้ งึ้ งาน ตัวอื่นๆ หรือใช้ปีกกระพือให้กลิ่นของสาร แพร่กระจายไปทวั่ รงั ผึ้ง รังผ้ึงในสภาพปกติจะมีผ้ึงนางพญาอยู่ เพยี งตวั เดยี วเทา่ นน้ั โดยผง้ึ นางพญาจะมหี นา้ ท่ี ส�ำคญั คอื ภาพนางพญาผงึ้ จะมีขนาดใหญ่ 1. ผสมพันธ์ุ ล�ำตวั ยาว ปีกส้นั กวา่ ลำ� ตัว 2. วางไข่ 3. ควบคุมสังคมและพฤติกรรมของผึ้งให้อยู่ในสภาพปกติ โดยการผลิตสารเคมี แพร่กระจายไปทว่ั รงั นางพญาพรหมจรรย์ (virgin queen) เม่ือตัวอ่อนของผ้ึงนางพญาโตเต็มท่ีแล้ว ผึ้งงาน ก็จะท�ำการปิดหลอดรวงด้วยไขผ้ึง ตัวอ่อนภายในก็จะเริ่มเข้าดักแด้ โดยจะถักเส้นไหมห่อหุ้ม รอบตัวแล้วกลายเป็นดักแด้ และเป็นตัวเต็มวัยในท่ีสุด ผึ้งนางพญาที่โตเต็มที่แล้วจะกัดฝา หลอดรวงทป่ี ิดออกมา ถา้ สภาพรงั ผง้ึ ขณะนนั้ ผง้ึ เตรยี มตวั จะแยกรงั (swarming) ผงึ้ งานจะคอยปอ้ งกนั ผง้ึ นางพญา ตัวใหม่ ไม่ให้ผ้ึงนางพญาตัวเก่ามาท�ำร้าย เมื่อผ้ึงนางพญาตัวเก่าแยกรังออกไปแล้ว ผ้ึงนางพญา ตัวใหม่ก็จะออกผสมพันธุ์เป็นนางพญาประจ�ำรังน้ันต่อไป โดยท่ีนางพญาใหม่เมื่อมีอายุได้ 3 – 5 วนั ก็จะเรมิ่ ออกบนิ เพอื่ ผสมพันธ์ุ การผลิตนำ้� ผึง้ คณุ ภาพ 41
การผสมพนั ธขุ์ องผงึ้ จะเกิดขนึ้ เฉพาะในกลางอากาศเท่านนั้ โดยในวันทีอ่ ากาศดๆี ท้องฟา้ แจม่ ใส ผง้ึ นางพญาจะบนิ ออกจากรงั เมอื่ ผง้ึ ตวั ผไู้ ดร้ บั กลนิ่ ของผง้ึ นางพญากจ็ ะพากนั บนิ ตดิ ตามไป เปน็ กลมุ่ ผงึ้ ตวั ผจู้ ะเปน็ ผง้ึ ทมี่ าจากรงั ผง้ึ ในบรเิ วณนนั้ การผสมพนั ธจ์ุ ะเกดิ ขน้ึ ในระยะความสงู ตง้ั แต่ 50 – 100 ฟุต ถา้ ต่ำ� หรอื สูงกว่านกี้ ็จะไมม่ กี ารผสมพันธ์ุ ผึ้งนางพญาตวั หนึง่ จะผสมพันธก์ุ ับผงึ้ ตวั ผู้ คร้ังหนึ่งประมาณ 7 – 10 ตัว หรือบางทีอาจถึง 20 ตัว ระยะเวลาในการผสมพันธุ์ประมาณ 10 – 30 นาที โดยทผ่ี ึ้งนางพญา จะมถี ุงสำ� หรับเกบ็ นำ�้ เช้อื ของผ้ึงตัวผู้ (sperm) ไวไ้ ด้ตลอดอายุ ของผ้งึ นางพญา โดยไมต่ ้องมกี ารผสมพนั ธุ์อกี เลย เม่ือผึ้งนางพญาบินกลับมาจากการผสมพันธุ์ ผึ้งงานก็จะเข้ามาช่วยท�ำความสะอาดและ ดงึ เอาอวยั วะสบื พนั ธข์ุ องผง้ึ ตวั ผทู้ ตี่ ดิ มาออกไปทงิ้ หลงั จากผสมพนั ธแ์ุ ลว้ สว่ นทอ้ งของผง้ึ นางพญา จะขยายใหญข่ นึ้ ภายใน 2 – 4 วนั ผงึ้ นางพญากจ็ ะเรม่ิ วางไข่ โดยมดุ หวั เขา้ ไปแลว้ กางขาคหู่ นา้ ออก วดั ขนาดของหลอดรวง เพ่อื ทีจ่ ะได้รู้วา่ ควรจะวางไข่ชนิดไหน แลว้ จะถอยกลับออกมา หย่อนสว่ น ท้องลงไปวางไขท่ ีก่ อ้ นหลอดรวงนัน้ ถา้ หลอดรวงทีว่ ัดมขี นาดเล็ก (ประมาณ 0.5 ซม.) ผึง้ นางพญา จะวางไข่ของผ้ึงงาน คือ ไข่ที่ได้รับการผสมกับน�้ำเชื้อของผ้ึงตัวผู้ มีโครโมโซม 2n ถ้าหลอดรวง ท่ีวัดได้ มีขนาดใหญ่ (ประมาณ 0.7 - 0.8 ซม.) ผ้ึงนางพญาจะวางไข่ของผึ้งตัวผู้ คือ ไข่ที่ไม่มี การผสมกับนำ้� เชือ้ ของผ้งึ ตัวผู้ มโี ครโมโซม n เดียว ผง้ึ นางพญาจะวางไขต่ ดิ ตอ่ กนั ในเวลาอนั รวดเรว็ โดยเฉลย่ี ประมาณ 1,200 ฟองตอ่ วนั ซงึ่ คดิ แลว้ นำ�้ หนกั ของไขท่ วี่ างตอ่ วนั นห้ี นกั เปน็ 1-2 เทา่ ของน้�ำหนกั ตวั ของผง้ึ นางพญา ปรมิ าณการวางไข่ ของผ้ึงนางพญาขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ถ้าในเขตร้อนผึ้งนางพญาสามารถวางไข่ได้ตลอดปี ตัวอ่อน ของผึง้ จะเจริญไดด้ ีทอี่ ุณหภมู ิประมาณ 32-35 ํC ผ้ึงจะรกั ษาอณุ หภูมภิ ายในรังใหค้ งทอี่ ยูต่ ลอดเวลา 2. ผ้ึงตวั ผู้ (drone) ผึ้งตัวผู้จะมีขนาดใหญ่และตัวอ้วนกว่าผึ้งนางพญาและผ้ึงงาน แต่จะมีความยาวน้อยกว่า ผึง้ นางพญาไม่มเี หล็กใน ล้ินจะส้นั มาก มีไวส้ �ำหรับคอยรบั อาหารจากผ้ึงงาน หรือดูดกินนำ�้ หวาน จากท่ีเก็บไว้ในรวงเท่านั้น จะไม่มีการออกไป หาอาหารกินเองนอกรัง ไม่มที ่ีเกบ็ ละอองเกสร มีหน้าท่ีอย่างเดียวคือผสมพันธุ์ ปริมาณของ ผง้ึ ตวั ผูใ้ นรังมไี มแ่ นน่ อน อาจมีไดต้ ัง้ แต่ศนู ยถ์ ึง หลายพันตัวขึ้นกับฤดูกาล ผ้ึงตัวผู้จะเจริญมา จากไข่ทีไ่ มไ่ ด้รบั การผสม (un-fertilized egg) เมื่อตัวอ่อนของผ้ึงตัวผู้โตเต็มท่ี ผ้ึงงานก็จะมา ปดิ ฝาหลอดรวงดว้ ยไขผง้ึ ผง้ึ ตวั ผกู้ จ็ ะเขา้ ดกั แด้ อยภู่ ายใน เมอ่ื ครบกำ� หนดกจ็ ะกดั ไขผง้ึ ทป่ี ดิ ฝา ออกมาเปน็ ตวั เต็มวยั พรอ้ มทจี่ ะผสมพันธไุ์ ด้ ภาพผ้งึ ตวั ผู้ มีขนาดใหญ่ ตัวอว้ น ตาโต 42 การผลติ น้�ำผง้ึ คุณภาพ
ในการผสมพันธุ์พบว่า ผ้งึ ตวั ผจู้ ากรงั ผงึ้ ต่างๆ จะบินออกจากรังไปรวมกล่มุ กนั ณ สถานท่ี ซึ่งเรียกว่า ท่ีรวมกลุ่มของผ้ึงตัวผู้ (drone congregation area) ในวันท่ีอากาศดี ท้องฟ้าสดใส การผสมพันธจ์ุ ะเกดิ ขึ้นภายในบริเวณน้ี คอื เม่อื มผี ึง้ นางพญาสาวบนิ เขา้ มาในบริเวณน้ี ผึ้งตัวผเู้ ป็น กลุ่มก็จะบินติดตามไปเพื่อผสมพันธุ์ ตัวผู้แต่ละตัวใช้เวลาประมาณ 3-5 วินาที ในการผสมพันธุ์ โดยเริ่มตั้งแต่ผ้ึงตัวผู้บินตามนางพญาได้ทัน ก็จะใช้ขาเกาะติดกับนางพญาทางด้านหลัง แล้วก็จะ ออกแรงดันให้อวัยวะสืบพันธุ์ของตัวผู้เข้าไปในอวัยวะสืบพันธุ์ของผึ้งนางพญาแล้วผึ้งตัวผู้นั้นก็จะ ตกลงมาตาย โดยท่ีอวัยวะสืบพันธุ์ยังหลุดติดคาอยู่ที่ผ้ึงนางพญา ถ้าตัวผู้ตัวไหนยังไม่ได้ผสมพันธุ์ ในวันนั้นจะบินกลับรัง เพ่ือรอโอกาสในวันต่อไป ถ้าหมดฤดูผสมพันธุ์ผ้ึง ตัวผู้ท่ียังไม่ได้ผสมพันธุ์ ก็มกั จะถกู ไลอ่ อกจากรงั หรือผึง้ งานจะหยดุ ปอ้ นอาหารและตายไปในท่ีสดุ 3. ผงึ้ งาน (worker) ภาพผง้ึ งาน เปน็ ผง้ึ ทม่ี ีขนาดเลก็ ทส่ี ดุ ภายในรัง ผง้ึ งานเปน็ ผง้ึ ทม่ี ขี นาดเลก็ ทส่ี ดุ ภายใน รังผ้ึง แต่มีปริมาณมากที่สุด ก�ำเนิดมาจาก ไขท่ ไ่ี ดร้ บั การผสมกบั เชอื้ ตวั ผู้ (fertilized egg) ผ้ึงงานเป็นเพศเมียแต่พัฒนาการของอวัยวะ สืบพันธไ์ุ ม่สมบรู ณ์ คอื ส่วนของรงั ไข่ขนาดเล็ก ไม่สามารถสร้างไข่ได้ ยกเว้นในกรณีท่ีรังผ้ึง รังน้ีเกิดขาดผึ้งนางพญาขึ้นมา ก็พบว่า อาจมี ผง้ึ งานบางตวั สามารถวางไขไ่ ด้ (laying worker) แต่ไข่ทว่ี างจะเปน็ ไขท่ ีเ่ ป็นผึง้ ตัวผู้ ผึ้งงานจะมีอวัยวะพิเศษหลายอย่าง เพื่อที่จะปฏิบัติงานส�ำคัญๆ ภายในรังไข่ เช่น มตี ่อมไขผึง้ ตะกรอ้ เก็บเกสร ต่อมกลิน่ การผลติ นำ้� ผ้งึ คณุ ภาพ 43
ปจั จัยท่กี ำ� หนดการทำ� งานของผง้ึ งาน แบ่งออกเป็น 2 ประการ คือ 1. ความพร้อมทางด้านการพัฒนาระบบต่างๆ ภายในรา่ งกาย คอื ผง้ึ จะปฏบิ ัตงิ านตา่ งๆ ไดน้ ัน้ ข้ึนอยกู่ ับอายุของตวั เต็มวัยของผึง้ งาน ตารางที่ 3 แสดงอายุ หนา้ ที่ และการเจริญของต่อมตา่ งๆ ของผึ้งงาน อายุตัวเตม็ วยั (วนั ) หนา้ ที่ ต่อม 1–3 ท�ำความสะอาดรัง ต่อมพเ่ี ลย้ี ง (nurse gland) 4 – 11 ใหอ้ าหารตวั อ่อน ต่อมผลติ ไขผง้ึ (wax gland) 12 – 17 สร้างและซอ่ มแซมรวง ตอ่ มพษิ (poison gland) 18 – 21 ตอ่ มนำ้� ลาย (salivary gland) และ ปอ้ งกันรัง ต่อมกลิน่ (scent gland) 22 – ตาย หาอาหาร พรอพอลิส และนำ�้ 2. ความต้องการของสังคมผ้ึงในขณะน้ัน ยามท่ีสังคมผึ้งมีความจ�ำเป็นเร่งด่วนท่ีจะให้มี ผ้ึงจ�ำนวนมากร่วมปฏิบัติภารกิจบางอย่างด้วยกัน การท�ำงานของผ้ึงงานแต่ละตัวก็อาจข้าม หรือถอยหลังจากก�ำหนดการท�ำงานปกติตามความพร้อมของร่างกายก็ได้ เช่น ถ้ารวงผึ้งเกิด ความเสียหาย หรือจ�ำเป็นต้องเสริมสร้างรวงเพ่ิมเติม ผึ้งงานที่อายุมากๆ ก็จะไปกินน้�ำหวาน ปริมาณมาก ซงึ่ จะมีผลไปกระต้นุ ให้ตอ่ มผลติ ไขผ้ึงทีฝ่ ่อไปแล้ว เจรญิ ข้นึ มาสามารถผลติ ไขผึง้ ได้ พฤตกิ รรมภายในรงั ผ้ึง (Activities of Bees Hive) 1. การสร้างรวง (Comb Building) โดยปกตผิ งึ้ งานจะใชช้ วี ติ ครงึ่ หนง่ึ อยภู่ ายในรงั และอกี ครงึ่ หนงึ่ อยภู่ ายนอกรงั งานสรา้ งรวง และเลยี้ งตัวอ่อนเป็นงานหลักท่ีสำ� คัญภายในรงั ผึ้ง ไขผึ้ง คือ วัสดุที่ผ้ึงใช้ในงานสร้างรวง ไขผึ้งจะถูกผลิตข้ึนมาจากต่อมผลิต ไขผึ้งอยู่ที่ ด้านลา่ งของปลอ้ งท้อง ปลอ้ งทอ้ งท่ี 3 - 6 ของผ้งึ งานปล้องละ 1 คู่ โดยจะมที ั้งหมด 4 คู่ ผง้ึ งาน ที่ผลิตไขผ้ึงได้โดยท่ัวไป จะมีอายุอยู่ระหว่าง 12 - 17 วัน ไขผ้ึงท่ีผลิตออกมาจะเป็นเกล็ดบางๆ สีขาวใส มีขนาดเลก็ ติดอย่ทู ีป่ ล้องทอ้ งด้านลา่ ง ผง้ึ จะผลิตไขผึ้งทอ่ี ณุ หภูมคิ ่อนขา้ งสงู คือ ประมาณ 39 - 43 องศาเซลเซยี ส โดยผึ้งงานจะต้องกนิ น�ำ้ หวาน เป็นปรมิ าณมาก มผี ู้ค�ำนวณว่าโดยเฉล่ยี ผง้ึ จะใชน้ ้�ำหวานประมาณ 8.4 กโิ ลกรมั ในการผลิตไขผึ้ง 1 กิโลกรัม 44 การผลติ นำ้� ผง้ึ คุณภาพ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172