โ ร ค ผ ล ไ ม ห ลั ง ก า ร เ ก็ บ เ ก่ี ย ว
โรคผลไมห้ ลังการเก็บเกย่ี ว เลขมาตรฐานหนังสือ : ISBN 978-974-436-852-2 สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบญั ญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. 2537 พมิ พค์ รง้ั ที่ 1 มกราคม 2557 ทีป่ รกึ ษา เสริมสุข สลักเพ็ชร์ บุษรา จันทร์แก้วมณี อมรา ชินภตู ิ นชุ นาฏ ณ ระนอง จารุวรรณ บางแวก คณะทาำ งาน รัมม์พัน โกศลานันท์ กรรณิการ์ เพ็งคุ้ม บุญญวดี จิระวุฒิ ชวเลิศ ตรีกรุณาสวัสดิ์ รัตตา สทุ ธยาคม อารีรัตน์ การณุ สถิตย์ชัย เนตรา สมบูรณ์แก้ว อัจฉราพร ศรีจุดานุ สุพี วนศิรากุล ชุติมา วิธูรจิตต์ วีรภรณ์ เดชนำาบัญชาชัย จดั พิมพ์โดย : สำานักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรปู ผลิตผลเกษตร กรมวิชาการเกษตร พมิ พ์ที่ : บริษัท จามจุรีโปรดักส์ จำากัด บางขุนเทียน กรงุ เทพฯ
คำานำา สำานกั วิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูป ผลิตผลเกษตร ได้จัดทาำ คู่มือเรือ่ งโรคผลไม้หลงั การเกบ็ เกย่ี ว สำาหรบั นกั วชิ าการ เจา้ หนา้ ท ี่ เกษตรกร ผปู้ ระกอบการ นกั ศกึ ษา และผทู้ ส่ี นใจ เป็นคู่มือท่ีอธิบายลักษณะเช้ือสาเหตุท่ีก่อให้เกิดโรคหลังการเก็บเก่ียว ในผลไม้เมืองร้อนหลายชนดิ พร้อมท้ังอธิบายการแพร่กระจายของ เชอื้ สาเหตโุ รค ลกั ษณะอาการของโรค และวิธีการควบคมุ และป้องกนั ด้วยเนือ้ หาทก่ี ระชบั และเข้าใจง่าย ขอขอบคณุ คณะจัดทาำ องค์ความรู้ทีร่ วบรวม แก้ไข และจัดทาำ คู่มือ รวมทั้งผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ให้ข้อคิดเห็นในการปรับปรุงเพ่ือให้ คู่มือโรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยวฉบับน้ีมีความสมบูรณ์ หวังว่าคู่มือ ฉบับนจ้ี ะเป็นประโยชน์แก่ผู้สนใจทุกท่าน ในการนำาไปปรับใช้เพื่อลด ความสญู เสียของผลไม้หลงั การเก็บเก่ยี วต่อไป (นำงสำวเสรมิ สุข สลักเพช็ ร์) ผู้อาำ นวยการสาำ นกั วจิ ยั และพัฒนา วิทยาการหลังการเก็บเกีย่ วและแปรรูปผลิตผลเกษตร
สารบัญ 1 3 บทน�ำ 4 แก้วมังกร 6 โรคผลเน่า (Bipolaris cactivora) 8 โรคผลเน่า (Colletotrichum gloeosporioides) 10 โรคผลเน่า (Colletotrichum capsici) 10 การแพร่ระบาด 11 การควบคมุ โรค 12 กล้วย 14 โรคขว้ั หวเี น่า (Lasiodiplodia theobromae) 16 โรคขว้ั หวเี น่า (Fusarium sp.) 18 โรคข้วั หวเี น่า (Colletotrichum musae) 20 โรคแอนแทรคโนส (Colletotrichum musae) 20 การแพร่ระบาด 21 การควบคมุ โรค 22 เงำะ 24 โรคผลเน่า (Lasiodiplodia theobromae) 26 โรคผลเน่า (Gliocephalotrichum spp.) 28 โรคผลเน่า (Greeneria sp.) 30 โรคผลเน่า (Pestalotiopsis sp.) 32 โรคผลเน่า (Phomopsis sp.) 32 การแพร่ระบาด การควบคมุ โรค
สารบัญ (ต่อ) แตงโม 33 โรคผลเน่า (Lasiodiplodia theobromae) 34 โรคผลเน่า (Fusarium sp.) 36 โรคแอนแทรคโนส (Colletotrichum lagenarium) 38 การแพร่ระบาด 40 การควบคุมโรค 40 ทเุ รียน 41 โรคผลเน่า (Phytophthora palmivora) 42 44 โรคผลเน่า (Lasiodiplodia theobromae) 46 การแพร่ระบาด 46 การควบคุมโรค ฝรัง่ 47 โรคผลเน่า (Lasiodiplodia theobromae) 48 โรคผลจุดดำา (Phyllosticta psidiicola) 50 โรคแอนแทรคโนส (Colletotrichum gloeosporioides) 52 การแพร่ระบาด 54 การควบคมุ โรค 54 มะขำมหวำน 55 โรคฝักเน่า (Phomopsis sp.) 56 การแพร่ระบาด 58 การควบคุมโรค 58
สารบัญ (ต่อ) มะม่วง 59 โรคแอนแทรคโนส (Colletotrichum gloeosporioides) 60 โรคขวั้ ผลเน่า (Lasiodiplodia theobromae) 62 โรคขั้วผลเน่า (Dothiorella sp.) 64 การแพร่ระบาด 66 การควบคุมโรค 66 มะละกอ 67 โรคแอนแทรคโนส (Colletotrichum gloeosporioides) 68 โรคแอนแทรคโนส (Colletotrichum capsici) 70 โรคข้วั ผลเน่า (Lasiodiplodia theobromae) 72 โรคข้ัวผลเน่า (Fusarium solani) 74 การแพร่ระบาด 76 การควบคมุ โรค 76 มังคดุ 77 โรคผลเน่า (Lasiodiplodia theobromae) 78 โรคผลเน่า (Phomopsis sp.) 80 การแพร่ระบาด 82 การควบคุมโรค 82 ลำ� ไย 83 โรคผลเน่า (Lasiodiplodia theobromae) 84 โรคผลเน่า (Pestalotiopsis sp.) 86
สารบัญ (ต่อ) 88 88 การแพร่ระบาด 89 การควบคุมโรค 90 ลองกอง 92 โรคผลเน่า (Phomopsis sp.) 94 โรคผลเน่า (Lasiodiplodia theobromae) 94 การแพร่ระบาด 95 การควบคมุ โรค 96 ล้ินจ ี่ 98 โรคผลเน่า (Lasiodiplodia theobromae) 100 โรคผลเน่า (Colletotrichum gloeosporioides) 102 โรคผลเน่า (Curvularia sp.) 102 การแพร่ระบาด 103 การควบคุมโรค 104 ส้ม 106 โรคราเขยี ว (Penicillium digitatum) 106 การแพร่ระบาด 107 การควบคมุ โรค 108 สละ 110 โรคผลเน่า (Thielaviopsis sp.) 110 การแพร่ระบาด การควบคุมโรค
สารบัญ (ต่อ) องุ่น 111 โรคแอนแทรคโนส (Colletotrichum gloeosporioides) 112 การแพร่ระบาด 114 การควบคมุ โรค 114 บรรณำนกุ รม 115 ภำคผนวก 119 โครงสร้างของเชอื้ รา 120 อภิธานศัพท์โรคพืช 124 การเตรยี มอาหารเลยี้ งเชื้อพดี เี อ 127 ดชั นีเชื้อราสาเหตุโรคพืชหลงั การเก็บเกย่ี ว 128
บทนำา ประเทศไทยมีการผลิตผลไม้เมืองร้อนทั้งเพ่ือบริ โภคภายใน ประเทศและสง่ ออก โดยมรี ายไดจ้ ากการสง่ ออกผลไมเ้ ปน็ จาำ นวนมาก และมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามผลไม้เกิด การสญู เสยี ไดต้ งั้ แตใ่ นแปลงปลกู จนถงึ ระยะหลงั การเกบ็ เกย่ี ว สาเหตุ สาำ คญั ประการหนง่ึ ของการสญู เสยี ของผลไมห้ ลงั การเกบ็ เกย่ี ว คอื โรค หลงั การเกบ็ เกย่ี ว ซงึ่ สาเหตหุ ลกั เกดิ จากการเขา้ ทาำ ลายของเชอื้ จลุ นิ ทรยี ์ ที่ทำาให้เกดิ โรคตง้ั แต่ก่อนการเกบ็ เก่ยี ว เช่น เชื้อราและเชือ้ แบคทีเรีย เช้ือสาเหตโุ รคสามารถเข้าทาำ ลายผลไม้ได้โดยเข้าทางบาดแผลและทาง ช่องเปิดธรรมชาติบนผิวของผลไม้ โดยทั่วไปเช้ือราเข้าทำาลายผลไม้ แบบแฝง (latent infection) เมอ่ื เชอื้ ราสรา้ งเส้นใยในเซลล์ของผลไม้ แล้ว จะหยดุ การเจริญเตบิ โตชว่ั คราว แฝงตัวอยู่ระหว่างเซลล์บริเวณ ผิวของผลไม้ รอจนกระท่ังผลไม้เข้าสู่ระยะบริบูรณ์ หรือในระยะท่ี ผลไม้มีปริมาณน้ำาตาล ความช้ืน ความเป็นกรด-ด่าง และปริมาณ โพลฟิ นิ อลทเ่ี หมาะสม รว่ มกบั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต เชือ้ ราจึงเรมิ่ พัฒนาเซลล์ต่อไป และแสดงอาการของโรคในเวลาต่อมา เช้ือสาเหตุโรคสามารถแพร่ระบาดโดยลม ฝน และเศษซาก พืชที่เป็นโรคในแปลงปลูก หรือปนเปอนในบริเวณโรงคัดบรรจุที่ไม่ สะอาด การแพร่ระบาดของเช้ือสาเหตุโรคสามารถพบบนเครื่องมือ การเกษตรหรอื อปุ กรณใ์ นโรงคดั บรรจุ รวมถงึ การสมั ผสั ระหวา่ งผลไม้ ทป่ี กตกิ บั ผลทเี่ ปน็ โรค สง่ ผลใหเ้ กดิ ความเสยี หายในระหวา่ งการขนสง่
การเกบ็ รกั ษา วางจาำ หนา่ ย จนถงึ ผบู้ รโ ิ ภค ทาำ ใหผ้ ลไมม้ คี ณุ ภาพตาำ่ อายุ การเก็บรกั ษาส้นั ราคาตกตา่ำ เกดิ ผลกระทบต่อผู้เกี่ยวข้องทุกส่วนใน ห่วงโซ่อุปทาน อย่างไรก็ตามการปฏิบัติท่ีดีทั้งในแปลงปลูกและภายหลัง การเก็บเก่ยี ว สามารถลดการสูญเสียที่เกดิ จากการเข้าทาำ ลายของเชื้อ จลุ นิ ทรยี ไ์ ด ้ โดยเพมิ่ ความเอาใจใสแ่ ละความระมดั ระวงั ในทกุ ขนั้ ตอน การปฏิบัติตลอดห่วงโซ่อุปทาน นอกจากนค้ี วามรู้ด้านวิทยาการหลัง การเกบ็ เกีย่ ว ได้แก่ การควบคุมด้วยวิธีกายภาพ เช่น การควบคมุ อณุ หภมู แิ ละความชนื้ ในสถานทเ่ี กบ็ รกั ษาผลไมใ้ หเ้ หมาะสม วธิ ที างเคมี เช่น การใช้สารเคมกี ลุ่ม Generally Recognized as Safe (GRAS) และการใช้ชีววธิ ใี นการควบคุมโรค เช่น การใช้จลุ นิ ทรีย์ปฏปิ ักษ์และ การใช้สารสกดั พืช วธิ ีการเหล่าน้สี ามารถควบคมุ การเกดิ โรคหลงั การ เก็บเกี่ยวได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพและมีความปลอดภัยต่อผู้บรโิ ภค วธิ กี ารควบคมุ เหลา่ นนี้ อกจากสามารถควบคมุ การเกดิ โรคได้ แลว้ ยงั มสี ว่ นใหผ้ ลไมห้ ลงั การเกบ็ เกยี่ วมกี ารเปลย่ี นแปลงทางเคมแี ละ สรรี วทิ ยาช้าลง ทาำ ให้ผลไม้คงสภาพความสดและคงคุณค่าทางอาหาร ได้เป็นระยะเวลานานยิ่งขึน้ มีอายกุ ารวางจาำ หน่ายมากข้ึน สามารถลด การสญู เสยี ทเ่ี กดิ ข้ึนในห่วงโซ่อุปทาน โดยเฉพาะการขนส่งจาำ หน่ายใน ตลาดที่มีระยะทางไกลหรือตลาดต่างประเทศ ส่งผลให้แก่เกษตรกร และผู้ประกอบการสามารถเพ่มิ ศกั ยภาพในการส่งออกมากยงิ่ ข้ึน 2 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
แ ᡌÇÁѧ¡Ã (Dragon fruit)กว้ มงั กร อยใู่ นวงศ ์ Cactaceae แกว้ มงั กรพนั ธเ์ุนอื้ ขาวเปลอื กแดง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hylocereus undatus (Haworth) Britton & Rose มถี นิ่ กาำ เนดิ ในทวปี อเมรกิ ากลาง เป็นพชื เศรษฐกจิ ชนดิ ใหม่ที่ได้รับความนิยมอย่างสูง แก้วมังกรสามารถปลูกได้ดีใน ทุกสภาพพ้ืนท่ีทั่วประเทศโดยเฉพาะจังหวัดสมุทรสาคร นครปฐม ราชบุร ี ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร ระยอง จันทบรุ ี สมุทรปราการ นครราชสมี า เชยี งใหม ่ และเชยี งราย โรคหลงั การเกบ็ เกย่ี วทส่ี าำ คญั ของ แก้วมงั กร คอื โรคผลเน่า เกดิ จากการเข้าทำาลายของเชื้อราหลายชนดิ ได้แก่ Bipolaris cactivora Dothiorella sp. Colletotrichum capsici และ Colletotrichum gloeosporioides ทาำ ใหผ้ ลแกว้ มงั กร เสยี หาย คุณภาพลดลง และอายุการเก็บรกั ษาสั้น 3 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เช้ือราสาเหตุ Bipolaris cactivora ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลักษณะโคโลน ี (colony) ของเชอื้ ราบนอาหารพดี เี อ (potato dextrose agar, PDA) มีสเี ขียวมะกอกถงึ สีเทาดาำ เส้นใยเจรญิ บนผิวหน้าอาหาร ด้านใต้วุ้นอาหารมสี ดี ำา โคนดิ โิ อฟอร ์ (conidiophores) มสี นี า้ำ ตาลออ่ น ตงั้ ตรงหรอื โคง้ เลก็ นอ้ ย อยรู่ วมกนั เป็นกลุ่มท่สี ่วนฐาน ปลายโคนดิ ิโอฟอร์โป่งออก ให้กาำ เนดิ โคนเิ ดยี (conidia) โคนิเดยี มีรูปร่างรี ตรงกลางกว้าง รูปร่างคล้ายกระสวย (fusoid) หรอื กระบอง (clavate) มี 3 - 5 เซลล์ สนี ำา้ ตาลอ่อนถงึ สนี า้ำ ตาลทอง ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเร่ิมแรกเป็นจุดแผลฉำ่านำ้า สีนำ้าตาลขนาดเล็ก ต่อมาแผลยุบตัวลง พบกล่มุ ของเชอ้ื ราสเี ขยี วมะกอกถงึ สดี าำ เจรญิ ขนึ้ มาบนบรเิ วณแผล แผลขยายตวั ใหญข่ น้ึ เมื่ออาการรุนแรงจะทำาให้ผลเน่า 4 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 34 ภำพที่ 1 โคโลนขี องเชอ้ื รา Bipolaris cactivora บนอาหารพีดีเอ (PDA) ภำพที่ 2 – 3 ลักษณะโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) และโคนเิ ดยี (conidia) ภำพท ่ี 4 ลักษณะโคนิเดยี ภำพท ่ี 5 – 7 ลกั ษณะอาการของโรคผลเน่า ภำพท ี่ 8 กลุ่มของเชื้อราทเี่ จริญบนผลแก้วมังกร 5 6 7 8 5 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เชื้อราสาเหตุ Colletotrichum gloeosporioides ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลักษณะโคโลนี (colony) ของเชื้อราบนอาหารพีดีเอ (PDA) มีสีขาวถึงเทา เส้นใยเจริญฟูขึ้นเล็กน้อยบนอาหาร ด้านใต้วุ้นอาหารมีสีเทาอมควัน มีการสร้าง โคนเิ ดีย (conidia) สชี มพูอมส้มบริเวณกลางโคโลนี เช้ือราสร้างฟรุตตง้ิ บอดี (fruiting body) แบบอะเซอวูลสั (acervulus) ภายใน สร้างโคนิเดีย และโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) โคนิเดียมีรูปทรงกระบอก (oblong) หัวท้ายมน ส่วนฐานปลายตัดเล็กน้อย ใสไมม่ สี ี (hyaline) ภายในมไี ซโตพลาสซมึ (cytoplasm) เปน็ แกรนลู (granule) ชดั เจน ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเรมิ่ แรกเป็นจุดแผลฉา่ำ น้าำ แผลยบุ ตัวลง ขยายเน่าลาม แผลเป็นวง ต่อมา เช้ือราสร้างกลุ่มของโคนิเดียเป็นเมือกเหนียว (slimy mass) สีชมพู สีส้ม หรือสีแดง อมส้มบนแผล 6 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
12 34 ภำพท ่ี 1 โคโลนขี องเชือ้ รา Colletotrichum gloeosporioides บนอาหารพดี ีเอ (PDA) ภำพท ่ี 2 ลักษณะของอะเซอวลู สั (acervulus) บนผลแก้วมงั กร ภำพที่ 3 ลกั ษณะโคนดิ โิ อฟอร ์ (conidiophores) และโคนเิ ดยี (conidia) ภำพท่ี 4 ลักษณะโคนเิ ดยี ภำพท่ี 5 - 8 ลักษณะอาการของโรคผลเน่า 5 6 7 8 7 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เชื้อราสาเหตุ Colletotrichum capsici ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลักษณะโคโลนี (colony) ของเช้ือราบนอาหารพีดีเอ (PDA) เส้นใยมี สีนำ้าตาลเทาจนถึงสีดำา ด้านล่างโคโลนีสีนำ้าตาลเข้ม สร้างกลุ่มโคนิเดีย (conidia) สีนำ้าตาลอ่อนถึงสีชมพูอมส้ม และโครงสร้างลักษณะคล้ายหนาม เรียกว่า ซีเต้ (setae) สนี ำา้ ตาลดำา เชื้อราสร้างฟรุตต้ิงบอดี (fruiting body) แบบอะเซอวูลัส (acervulus) ภายในมีการสร้างโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) โคนิเดีย และซีเต้ โคนิเดยี มรี ูปร่างคล้ายเส้ียวพระจนั ทร์ (falcate) ส่วนยอดแหลม ส่วนฐาน ปลายตัดเล็กน้อย ใสไม่มีสี (hyaline) ไม่มีผนงั ก้ัน โคนดิ ิโอฟอร์ ไม่มีผนงั ก้ัน ไม่มีสถี ึงสีนำ้าตาลอ่อน ลักɳะอาการโรค แผลเปน็ จดุ สนี า้ำ ตาลออ่ น เนอ้ื เยอ่ื ยบุ ตวั ลง ฉา่ำ นา้ำ ขนาดของแผลจะขยายออก ใหญ่ขนึ้ บริเวณกลางแผลเชือ้ ราสร้างอะเซอวลู ัส ภายในมกี ารสร้างโคนเิ ดีย และซีเต้ ลกั ษณะทเ่ี หน็ เป็นจุดสีดำา รอบแผลเป็นสีนำา้ ตาลอ่อน แผลมรี ูปร่างวงกลม ขอบแผล สมำา่ เสมอ ถ้ามีการเข้าทาำ ลายของเชื้อมาก อาจเน่าลามตดิ กันเป็นแผลใหญ่ 8 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
12 34 ภำพที ่ 1 โคโลนขี องเช้อื รา Colletotrichum capsici บนอาหารพีดีเอ (PDA) ภำพที่ 2–3 ลักษณะโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) และซเี ต้ (setae) ภำพท ี่ 4 ลักษณะโคนเิ ดยี (conidia) ภำพท ี่ 5–8 ลกั ษณะอาการของโรคผลเน่า 5 6 7 8 9 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
การแพร่ระบาด โคนิเดียจะแพร่กระจายโดยลม การให้นำ้า และฝน แหล่งท่ีมาของเชื้อราใน แปลงมาจากส่วนของลาำ ต้นทเี่ ป็นโรค พบเชือ้ ราบนกงิ่ อ่อน ลักษณะเป็นจุดสนี ำ้าตาล และในสว่ นของดอกอาจพบสปอรส์ เี ขม้ ซงึ่ เปน็ แหลง่ ของเชอ้ื ทแ่ี พรก่ ระจายไปสผู่ ลออ่ น การควบคุมโรค 1. หลกี เลีย่ งการปลกู ในพื้นทท่ี ีม่ ปี ริมาณน้าำ ฝนมาก 2. ใช้ท่อนพันธุ์ท่ีปราศจากโรค 3. หลีกเล่ียงการใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง ควรใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกเพื่อ ปรับปรุงดนิ 4. หลกี เล่ยี งการไว้กิง่ ในปริมาณมาก เพื่อลดความชนื้ ในทรงพุ่ม 5. กาำ จดั วัชพชื เพื่อลดความชืน้ ในดิน 6. ตดั แต่งกงิ่ ทเี่ ป็นโรคออก ทาำ ความสะอาดมีดและกรรไกรหลงั การตัดแต่ง กง่ิ ทเี่ ปน็ โรคในแตล่ ะครงั้ และเกบ็ เศษซากแกว้ มงั กรออกจากพนื้ ทแ่ี ปลง ควรตดั แตง่ ก่งิ ในช่วงอากาศแห้ง 7. ลดพาหะทจี่ ะก่อให้เกดิ การแพร่ระบาดของโรค เช่น หอย มด เพลี้ยอ่อน 8. เก็บเก่ียวผลผลติ ในช่วงอากาศแห้ง เพอื่ ลดการแพร่ระบาดของโรค และ ไม่วางผลผลิตบนพน้ื ดนิ โดยตรง 9. การควบคุมโรคหลังการเก็บเก่ียวโดยการจุ่มน้ำาร้อน 55 องศาเซลเซียส 5 นาที หรอื การใช้โพรคลอราซ (prochloraz) 200 มลิ ลิกรัมต่อลติ ร ร่วมกบั น้ำาร้อน 53 องศาเซลเซียส 1 นาที สามารถลดการเกดิ โรคผลเน่าได้ 10 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
ก ¡ÅŒÇ (Banana)ลว้ ย อยใู่ นวงศ ์ Musaceae ชอื่ วทิ ยาศาสตร ์ Musa spp. เปน็ ไมล้ ม้ ลกุ สามารถปลกู ได้ท่วั ภมู ิภาคของประเทศ ปัญหาสำาคญั ของกล้วยหลงั การ เกบ็ เก่ยี ว คอื อ่อนแอต่อโรคขว้ั หวีเน่า จะแสดงอาการเมอื่ กล้วยเร่มิ สกุ และ อาการเพ่ิมขึ้นเม่ือกล้วยสุกมากข้ึน เช้ือราท่ีทำาให้เกิดอาการของโรคข้ัวหวีเน่า รนุ แรง คอื เชอ้ื รา Lasiodiplodia theobromae แตส่ ว่ นมากพบการเขา้ ทาำ ลาย ของเชื้อราหลายชนดิ ร่วมกัน ส่วนโรคแอนแทรคโนส สาเหตุเกิดจากเช้ือรา Colletotrichum musae สามารถเข้าทำาลายแบบแฝงได้ต้ังแต่ผลกล้วยยัง อ่อนอยู่ หรอื เข้าทางบาดแผล เมือ่ ผลกล้วยสุก อาการของโรคจะพฒั นาอย่าง รวดเรว็ กลว้ ยนาำ้ วา้ ออ่ นแอตอ่ โรคแอนแทรคโนส สว่ นกลว้ ยไขแ่ ละกลว้ ยหอม จะพบอาการโรคเม่ือผลกล้วยสุก ลักษณะอาการของโรคแอนแทรคโนสของ กลว้ ยไขจ่ ะคลา้ ยคลงึ กบั อาการตกกระทเี่ กดิ จากการเปลย่ี นแปลงทางสรรี วทิ ยา เรม่ิ แรกมขี นาดเลก็ เทา่ ปลายเขม็ และขยายลามตดิ กนั เชอ้ื ราสามารถเขา้ ทาำ ลาย ผลกล้วยบรเิ วณที่เกิดอาการตกกระได้อีกด้วย 11 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
âä¢ÑéÇËÇÕà¹‹Ò (Crown Rot) เช้ือราสาเหตุ Lasiodiplodia theobromae ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลักษณะโคโลนี (conoly) ของเช้ือราบนอาหารพีดีเอ (potato dextrose agar, PDA) มเี ส้นใยฟสู ีเทาอ่อนถึงดาำ เส้นใยอายนุ ้อยมีสีขาวละเอยี ด ค่อนข้างฟู จะเจรญิ เตม็ จานเลยี้ งเชื้อหลงั จากวางเชือ้ เป็นเวลา 2 วนั เม่ือโคโลนีแก่เส้นใยเปลี่ยน จากสขี าวเป็นสีเทาดาำ เชอื้ ราสร้างฟรตุ ต้ิงบอดี (fruiting body) แบบพิคนเิ ดีย (pycnidia) ภายใน ประกอบด้วยเส้นใยพาราไฟซิส (paraphyses) ใสไม่มีสี (hyaline) รูปร่างทรง กระบอก (oblong) โคนดิ โิ อจีนสั เซลล์ (conidiogenous cells) มีหน้าที่ในการสร้าง โคนเิ ดีย (conidia) โดยสร้างอยู่ท่ีปลายโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) โคนิเดีย ระยะแรกมีสีใส เซลล์เดียว รูปไข่ถึงยาวรี (ovoid) เม่ือโคนิเดีย แก่จะเปลี่ยนเป็นสีนำ้าตาลเข้ม มีผนังกั้น (septum) ทำาให้แบ่งเป็นสองเซลล์ ผนงั โคนิเดยี ค่อนข้างหนา ลักɳะอาการ¢องโรค เริ่มแรกเป็นจุดสีน้ำาตาลอ่อนท่ีบริเวณขั้ว แผลขยายลุกลามอย่างรวดเร็วท่ี บรเิ วณข้ัวหวี ต่อมาแผลเปลย่ี นเป็นสีน้ำาตาลเข้มอย่างรวดเร็วและสร้างเส้นใยสเี ทาฟู บนแผล เชอื้ ราเข้าทาำ ลายเนือ้ เยอ่ื บรเิ วณขว้ั หวีอย่างรวดเร็ว ถ้ารนุ แรงมากจะเน่าลาม ไปถงึ ขั้วผล ทำาให้ผลหลดุ ร่วงจากหวีได้ 12 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 34 ภำพท ่ี 1 โคโลนขี องเชอ้ื รา Lasiodiplodia theobromae บนอาหาร พดี เี อ (PDA) ภำพท ี่ 2 ลกั ษณะโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) และโคนิเดีย (conidia) ภำพท ี่ 3 ลักษณะโคนเิ ดียอ่อน และเส้นใยพาราไฟซสิ (paraphyses) ภำพท่ ี 4 ลกั ษณะโคนเิ ดียแก่ ภำพท ่ี 5 ลกั ษณะอาการของโรคขว้ั หวเี น่าของกล้วยหอม ภำพท ่ี 6 เส้นใยของเชื้อราเจริญบนขัว้ หวี ภำพท ่ี 7 ลักษณะพิคนิเดีย (pycnidia) บนเนื้อเยื่อ 6 5 7 13 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
âä¢éÑÇËÇÕà¹‹Ò (Crown Rot) เชื้อราสาเหตุ Fusarium sp. ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลน ี (colony) ของเชอ้ื ราบนอาหารพดี เี อ (PDA) เสน้ ใยฟ ู ละเอยี ด สีส้มอมชมพอู ่อน เจริญอย่างรวดเร็ว เช้อื ราสร้างโคนเิ ดยี (conidia) บนกลุ่มของเส้นใย (sporodochium) หรือ โคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) ทอ่ี ัดตัวกันเป็นสโตรมา (stroma) เชอ้ื ราสามารถสร้างโคนิเดยี 3 แบบ คือ มาโครโคนเิ ดยี (macroconidia) รปู ร่างโค้งคล้ายพระจนั ทร์เสย้ี ว (falcate) ใสไม่มีส ี (hyaline) มผี นงั ก้นั 3 - 5 อนั ไมโครโคนิเดีย (microconidia) มีรูปร่างหลายแบบ ตั้งแต่รูปไข่ ยาวรี สนั้ ปอ้ ม จนถงึ รปู ทรงกระบอก (oblong) ใสไม่มีสี มี 1 - 2 เซลล์ แคลมโิ ดสปอร ์ (chlamydospore) รปู ไขห่ รอื ทรงกลม ผนงั เรยี บ เกดิ บรเิ วณ ส่วนปลายเส้นใย (terminal) และส่วนกลางเส้นใย (intercalary) ลักɳะอาการ¢องโรค เป็นจุดแผลสีน้ำาตาลบนข้ัวหวี แผลขยายลุกลามออกอย่างช้าๆ ต่อมาสร้าง เส้นใยสีขาวปนส้มอ่อน อาการไม่รุนแรงมากนกั 14 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 34 ภำพท่ี 1 โคโลนขี องเช้ือรา Fusarium sp. บนอาหารพดี ีเอ (PDA) ภำพท ่ี 2 ลักษณะโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) ภำพท่ ี 3 ลักษณะมาโครโ คนิเดีย (macroconidia) ภำพท ่ี 4 ลักษณะแคลมโิ ดสปอร์ (chlamydospores) ภำพท ่ี 5 ลกั ษณะอาการของโรคขวั้ หวเี น่าของกล้วยหอม ภำพที่ 6-7 เส้นใยของเชื้อราบนขั้วหวี 5 6 7 15 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âä¢éÑÇËÇÕà¹‹Ò (Crown Rot) เชื้อราสาเหตุ Colletotrichum musae ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลักษณะโคโลนี (colony) ของเชื้อราบนอาหารพดี ีเอ (PDA) เป็นเส้นใยสีขาว ลักษณะโคโลนกี ลมขอบเรียบ เชอื้ ราสร้างกลุ่มโคนิเดีย (conidia) สสี ้มจาำ นวนมาก แทรกอยู่ในโคโลนี เช้ือราสร้างฟรุตติ้งบอดี (fruiting body) แบบอะเซอวูลัส (acervulus) ลักษณะเป็นรูปถ้วย ภายในอะเซอวูลัสมีการสร้างโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) เป็นก้านตรงเซลล์เดียว ใสไม่มสี ี (hyaline) ที่ปลายโคนดิ โิ อฟอร์ให้กำาเนดิ โคนิเดยี โคนเิ ดยี มลี กั ษณะเป็นเซลล์เดยี ว รปู ไข่ (ovoid) ถึง ทรงกระบอก (oblong) หวั ท้ายมน ใสไม่มีสี ลักɳะอาการ¢องโรค เชอื้ ราเขา้ ทาำ ลายขว้ั หวที างบาดแผลเกดิ เปน็ สนี า้ำ ตาลจนถงึ ดาำ และเนา่ ลามอยา่ ง ช้าๆ เกิดเส้นใยสขี าวบรเิ วณบาดแผล 16 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 34 ภำพท ่ี 1 โคโลนขี องเชื้อรา Colletotrichum musae บนอาหารพดี ีเอ (PDA) ภำพท ี่ 2 ลักษณะกลุ่มโคนิเดยี (conidia) สสี ้ม ภำพที่ 3 ลักษณะโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) และโคนเิ ดยี ภำพท ่ี 4 ลักษณะโคนิเดยี ภำพท ี่ 5 ลักษณะอาการของโรคขว้ั หวีเน่าของกล้วยหอม ภำพที ่ 6 เส้นใยของเช้ือราบนขว้ั หวี ภำพท ่ี 7 กลุ่มโคนิเดียของเชือ้ ราบนขั้วหวี 6 5 7 17 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âäá͹á·Ã¤â¹Ê (Anthracnose) เช้ือราสาเหตุ Colletotrichum musae ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลน ี (colony) ของเช้ือราบนอาหารพดี เี อ (PDA) มีลักษณะกลม ขอบเรียบ เส้นใยสีขาวถึงเทา ฟูเล็กน้อย เชอ้ื ราสร้างกลุ่มโคนเิ ดีย (conidia) สีส้ม บนอาหารหนาแน่น แทรกอยู่ในโคโลนี เช้ือราสร้างฟรุตต้ิงบอดี (fruiting body) แบบอะเซอวูลัส (acervulus) ลักษณะโค้งเว้า ฝังตัวลงไปในเนื้อเย่ือเปลือกกล้วยช้ันอิพิเดอร์มิส (epidermis) โคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) ลกั ษณะเป็นก้านตรงเซลล์เดียว ใสไม่มสี ี (hyaline) เกดิ อยู่ในอะเซอวูลัส ทีป่ ลายโคนดิ โิ อฟอร์ให้กาำ เนดิ โคนเิ ดีย โคนเิ ดยี ลกั ษณะเซลลเ์ ดยี ว ใสไมม่ สี ี รปู ไข ่ (ovoid) ถงึ ทรงกระบอก (oblong) หัวท้ายมน ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเริ่มแรกเป็นจุดสีน้ำาตาลขนาดเล็ก ฉา่ำ น้ำา แล้วขยายการเข้าทำาลายสู่ เปลอื กกลว้ ยดา้ นใน ผวิ เปลอื กของผลกลว้ ยจะเปน็ แผลสนี าำ้ ตาลดาำ ขนาดและรปู รา่ งไม่ แนน่ อน เนอ้ื เยอื่ ยบุ ตวั ลง บรเิ วณแผลสรา้ งกลมุ่ ของโคนเิ ดยี สสี ม้ ถา้ มคี วามชนื้ สงู จะ พบเส้นใยสีขาวของเช้ือรา 18 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 3 4 ภำพที่ 1 โคโลนขี องเชอื้ รา Colletotrichum musae บนอาหารพีดเี อ (PDA) ภำพที่ 2 ลกั ษณะกลุ่มโคนเิ ดีย (conidia) สสี ้ม ภำพที่ 3 ลกั ษณะโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) และโคนเิ ดยี ภายในอะเซอวูลัส (acervulus) ภำพท ่ี 4 ลักษณะโคนเิ ดีย ภำพที่ 5-6 ลกั ษณะอาการโรคแอนแทรคโนสของกล้วยนำ้าว้า 5 6 19 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
การแพร่ระบาด เช้ือราเหล่าน้ีมีอยู่ท่ัวไปในแปลงปลูกกล้วย สามารถเจริญอยู่ได้ในกล้วย ตั้งแต่ ดอก ผล และเครือในแปลง และดำารงชีวิตอยู่บนกล้วยท่ีตายแล้ว หรือ เศษซากพืชอ่ืนๆ โคนิเดียสามารถแพร่โดยลมและฝน นอกจากนี้ยังพบว่าเช้ือรา L. theobromae เป็นสาเหตุโรคผลเน่าของผลไม้หลังการเก็บเก่ียวหลายชนิด เช่น เงาะ ทุเรียน มังคุด ลำาไย เป็นต้น และมีพืชอาศัยจำานวนมาก ส่วนเช้ือรา C. musae สามารถเขา้ ทาำ ลายแบบแฝง (latent infection) มาจากแหลง่ ปลกู โดยที่ ผลกลว้ ยไมแ่ สดงอาการของโรค โคนเิ ดยี ของเชอ้ื รางอกและสรา้ ง (appressoria) เขา้ ไป อยู่ในชนั้ อิพิเดอร์มิส เป็นเส้นใยพักตวั จะแสดงอาการของโรคให้เหน็ เม่ือกล้วยสกุ การควบคุมโรค 1. รกั ษาความสะอาด เช่น เกบ็ เศษซากใบแห้ง ดอกที่แห้ง รวมท้งั กาบปลี แห้งทิ้ง เพราะเป็นแหล่งสะสมโรคและเป็นทเ่ี พาะเชื้อสาเหตขุ องโรคข้ัวหวเี น่า 2. การแยกหวีออกจากเครือ ควรตัดด้วยมีดสะอาด รอยแผลต้องเรียบ ไม่มคี ม เพอื่ ป้องกนั การทาำ ความเสยี หายให้กบั หวอี น่ื หลงั เกบ็ เกย่ี วถงึ ขนสง่ หรอื เกบ็ รักษาควรใช้เวลาไม่เกิน 48 ชวั่ โมง และอณุ หภูมิทีเ่ กบ็ รกั ษาหรอื ขนส่งไม่ควรสูงเกิน 16 องศาเซลเซียส 3. สารเคมที ี่ใช้ได้ผล คือ นาำ้ คลอรีนและแคลเซยี มไฮโพคลอไรต์ (calcium hypochlorite, CaClO2) การใช้สารเคมีกลุ่มไธอะเบนดาโซล (thiabendazole) นับว่าให้ผลดีเช่นกัน โดยใช้อตั รา 300 มลิ ลิกรมั ต่อลิตร ในนำ้าอุ่น แช่นาน 2 นาที นอกจากนกี้ ารใชบ้ โี นมลี (benomyl) ระหวา่ งฤดปู ลกู ในอตั รา 1,000 มลิ ลกิ รมั ตอ่ ลติ ร ฉดี พ่นจะช่วยป้องกันโรคหวเี น่าหลงั เก็บเก่ียวได้ 4. นาำ ผลกล้วยแช่นำา้ ร้อนอุณหภูมิ 55 องศาเซลเซยี ส นาน 5 นาที แล้วผงึ่ ให้แห้งก่อนการบรรจุ 20 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
เ à§ÒÐ (Rambutan)งาะ อยู่ในวงศ์ Sapindaceae ชื่อวิทยาศาสตร์ Nephelium lappaceum Linn. เป็นไม้ผลเมืองร้อน มีถ่ินกำาเนดิ ในประเทศ อินโดนีเซียและมาเลเซีย โดยทั่วไปเงาะเจริญเติบโตดีในบริเวณที่มี ความชนื้ คอ่ นขา้ งสงู ในประเทศไทยนยิ มปลกู ในบรเิ วณภาคตะวนั ออก และภาคใต้ ผลเงาะภายหลังการเก็บเก่ียว จะเร่ิมมีจุดสีนำ้าตาลถึงดำา ฉ่ำาน้ำาบริเวณข้ัวและผล สาเหตุมาจากการเข้าทำาลายของเช้ือรา หลายชนดิ ผลเงาะทปี่ ลกู ภาคตะวนั ออก (จังหวดั จันทบุรี และตราด) พบเช้ือรา Pestalotiopsis sp. มากท่ีสุด รองลงมาคือ เช้ือรา Greeneria sp. ส่วนผลเงาะที่ปลูกภาคใต้ (จังหวัดนครศรธี รรมราช และ สรุ าษฎรธ์ าน)ี พบเชอื้ รา Greeneria sp. มากทสี่ ดุ การเขา้ ทาำ ลาย ของเชอื้ ราทาำ ใหผ้ ลเงาะเสอื่ มคณุ ภาพอยา่ งรวดเรว็ อายกุ ารเกบ็ รกั ษาสน้ั 21 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เชื้อราสาเหตุ Lasiodiplodia theobromae ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลน ี (colony) ของเชอ้ื ราบนอาหารพดี เี อ (potato dextrose agar, PDA) เส้นใยฟูสีเทาอ่อนถงึ ดำา เชอ้ื ราสรา้ งฟรตุ ตงิ้ บอด ี (fruiting body) แบบพคิ นเิ ดยี (pycnidia) มชี อ่ งเปดิ (ostiole) ยน่ื ออกมา ภายในพคิ นเิ ดยี ประกอบดว้ ยเสน้ ใยพาราไฟซสิ (paraphyses) ใสไมม่ สี ี (hyaline) และโคนดิ โิ อฟอร ์ (conidiophores) ใหก้ าำ เนดิ โคนเิ ดยี (conidia) โคนิเดีย ระยะแรกมสี ใี ส เซลล์เดยี ว รูปไข่ (ovoid) ถงึ ยาวรี จนถงึ ค่อนข้าง กลม ปลายดา้ นหนง่ึ กลมมน เมอ่ื โคนเิ ดยี แกจ่ ะสรา้ งผนงั กน้ั (septum) แบง่ เปน็ สอง เซลล์ มรี ูปร่างรคี ล้ายไข่ ผนงั ด้านนอกหนา 2 ชนั้ และมกี ารสร้างเมด็ สเี มลานนิ บน ผวิ เซลล์ด้านในเรียงตัวเป็นรวิ้ ในแนวยาว ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเริ่มแรกเป็นจุดสีนำ้าตาลอ่อนขยายไปตามเปลือกเงาะด้านนอก ต่อมา แผลเปล่ียนเป็นสีน้ำาตาลเข้มอย่างรวดเร็ว และสร้างเส้นใยสีขาวเทาฟูบนบาดแผล เปลือกของผลเงาะจะเปล่ียนเป็นสีดำาท่ัวท้ังผลและมีเส้นใยสีขาวเทาเจริญครอบคลุม ทัว่ ทงั้ ผลอย่างรวดเร็ว ลกั ษณะภายในผล เชอ้ื ราเขา้ ทาำ ลายเปลอื กดา้ นนอกขยายลามเขา้ ไปถงึ เปลอื ก ด้านใน จนถึงเนื้อเงาะเร่ิมเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อนจนถึงสีน้ำาตาล เนื้อเงาะนิ่มเละ น้ำาเยิ้ม มกี ล่ินเหมน็ เปรย้ี ว 22 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
12 34 ภำพที่ 1 โคโลนขี องเชือ้ รา Lasiodiplodia theobromae บนอาหารพีดเี อ (PDA) ภำพท่ ี 2 ลกั ษณะพคิ นเิ ดยี (pycnidia) ภำพท ่ี 3 ลักษณะโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) และโคนเิ ดีย (conidia) ภำพท่ี 4 ลักษณะโคนเิ ดยี แก่ ภำพท ่ี 5 ลกั ษณะอาการของโรคผลเน่า ภำพที่ 6 ลักษณะอาการของโรคผลเน่าภายในผลเงาะ 5 6 23 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เชื้อราสาเหตุ Gliocephalotrichum spp. ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา Gliocephalotrichum bulbilium ลกั ษณะโคโลนี (colony) ของเชื้อราบน อาหารพดี ีเอ (PDA) สร้างเส้นใยสเี หลอื งอ่อนเจริญเป็นวงซ้อนกัน กลุ่มของโคนเิ ดีย (conidia) มสี ีเหลืองเกิดกระจัดกระจายบนผิวหน้าวุ้นเป็นจำานวนมาก โคนิเดียมีรูปร่างกลมรีเหมือนไข่ (ovoid) เกิดบนโคนิเดียลเฮด (conidial head) แตกกิ่งก้านแบบเพนซิ ิเลท (penicillate) และมีการสร้างแคลมิโดสปอร์ (chlamydospore) เป็นแบบหลายเซลล์ (multicellular) มสี ีน้าำ ตาลเข้ม G. longibrachium ลักษณะโคโลนขี องเชือ้ ราบนอาหารพดี ีเอ (PDA) สร้าง เส้นใยฟูสนี ำ้าตาล การเจรญิ ของเส้นใยบางส่วนจะอยู่บนผิวอาหาร บางส่วนแทรกอยู่ ในอาหาร มีกลิ่นแอลกอฮอล์เป็นกลน่ิ เฉพาะ โคนเิ ดียมีรูปร่างทรงกระบอก (oblong) เกิดบนโคนิเดียลเฮด แตกกิ่งก้าน แบบเพนซิ เิ ลท เช้ือราสร้างแคลมิโดสปอร์มีผนงั หนาและมีสีน้ำาตาลเข้ม แบบหลาย เซลล์ต่อกัน ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเริ่มแรกเป็นจุดสีนำ้าตาลเข้มถึงสีดำาขยายวงกว้างข้ึน ต่อมาเชื้อราสร้าง เส้นใยสีขาวเจริญบริเวณแผลและเจริญไปตามเส้นขนของผลเงาะโดยมีลักษณะเป็น ปยุ ฟสู ีขาวแกมเหลอื งเจรญิ ครอบคลมุ ทวั่ ทั้งผลอย่างรวดเรว็ ลกั ษณะภายในผล เชอ้ื ราเขา้ ทาำ ลายเปลอื กดา้ นนอก ในชว่ งแรกจะยงั ไมล่ ามถงึ เปลอื กด้านใน จนกระทงั่ มอี าการเพมิ่ มากขนึ้ เมอ่ื เชอ้ื เจรญิ ถงึ สว่ นเนอื้ เงาะ เชอื้ จะเขา้ ทาำ ลายอยา่ งรวดเรว็ เนอื้ เงาะเปลย่ี นเปน็ สเี หลอื งจนถงึ สนี า้ำ ตาลอมเหลอื ง มลี กั ษณะนม่ิ น้ำาเยิม้ สีเหลือง มกี ลิน่ เหม็นเปรยี้ ว 24 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 3 45 6 ภำพที่ 1 โคโลนขี องเชอื้ รา Gliocephalotrichum bulbilium บนอาหารพดี เี อ (PDA) ภำพท่ ี 2 ลักษณะโคนเิ ดียลเฮด (conidial head) และโคนเิ ดยี (conidia) ของเช้อื รา G. bulbilium ภำพที ่ 3 ลักษณะแคลมิโดสปอร์ (chlamydospore) ของเช้อื รา G. bulbilium ภำพที่ 4 โคโลนขี องเชอื้ รา G. longibrachium บนอาหารพดี ีเอ ภำพที่ 5 ลักษณะโคนิเดยี เฮดและโคนเิ ดยี ของเชอื้ รา G. longibrachium ภำพที่ 6 ลักษณะแคลมโิ ดสปอร์ของเช้อื รา G. longibrachium ภำพที่ 7 ลักษณะอาการของโรคผลเน่า ภำพท ่ี 8 ลกั ษณะอาการของโรคผลเน่าภายในผลเงาะ 7 8 25 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เชื้อราสาเหตุ Greeneria sp. ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลน ี (colony) ของเชอื้ ราบนอาหารพดี เี อ (PDA) สรา้ งเสน้ ใยสขี าว หนา ฟูเลก็ น้อย หรอื ค่อนข้างแบนราบ โคโลนเี จรญิ เป็นวงคล้ายกลีบดอกเบญจมาศ ต่อมามกี ารสร้างกลุ่มของโคนเิ ดยี (conidia) สีเขียวเข้มจนถึงสดี าำ เป็นจาำ นวนมาก กระจดั กระจายอยู่บนผิวหน้าของโคโลนี เช้ือราสร้างฟรุตต้ิงบอดี (fruiting body) แบบอะเซอวูลัส (acervulus) ภายในสร้างโคนเิ ดยี จำานวนมาก โคนเิ ดียมีรูปร่างท่อนยาวรี (rod shape) ใสไม่มสี ี (hyaline) ลักɳะอาการ¢องโรค เนื้อเยื่อรอบบริเวณที่เช้ือราเข้าทำาลายเป็นสีน้ำาตาลเข้มจนถึงดำา บริเวณ แผลเน่าขยายและลุกลามอย่างช้าๆ บริเวณแผลไม่พบการเจริญของเส้นใย ต่อมา ผลแสดงอาการเน่า มีสีนำ้าตาลท่วั ท้ังผล ลักษณะภายในผล เช้ือราจะเข้าทำาลายส่วนของเนื้อเงาะ เร่ิมแรกเป็นจุด สีน้ำาตาลอมเหลืองและขยายลามติดกันเป็นแผลค่อนข้างกลม ขนาดแผลท่ีเปลือก ดา้ นนอกและดา้ นในใกลเ้ คยี งกนั ตอ่ มาเนอื้ เงาะเปลยี่ นเปน็ สนี า้ำ ตาล มนี าำ้ เยมิ้ สเี หลอื ง และกลนิ่ เหมน็ เปรี้ยว 26 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
12 3 4 ภำพที่ 1 โคโลนขี องเช้อื รา Greeneria sp. บนอาหารพีดีเอ (PDA) ภำพท ี่ 2 ลักษณะกลุ่มโคนิเดีย (conidia) บนอาหารพดี เี อ ภำพท ่ี 3 ลักษณะกลุ่มโคนเิ ดีย ภำพที่ 4 ลกั ษณะโคนเิ ดยี ภำพท ่ี 5 ลกั ษณะอาการของโรคผลเน่า ภำพท ี่ 6 ลกั ษณะอาการของโรคผลเน่าภายในผลเงาะ 5 6 27 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เชื้อราสาเหตุ Pestalotiopsis sp. ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลักษณะโคโลนี (colony) ของเช้ือราบนอาหารพีดีเอ (PDA) สร้างเส้นใย มสี ีขาวนวลถงึ สนี ้ำาตาลอ่อนเส้นใยหยาบ ฟเู ลก็ น้อย พบกลุ่มของโคนิเดีย (conidia) สดี ำามันเยิ้มกระจายอยู่ทว่ั โคโลน ี เช้ือราสร้างฟรุตต้ิงบอดี (fruiting body) แบบอะเซอวูลัส (acervulus) สเี ข้ม รปู หมอน (cushion shape) เกิดในชน้ั อพิ ิเดอร์มสิ (epidermis) ภายในมี โคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) ส้ัน ยาวเรียว บางใส ไม่แตกกง่ิ ก้าน โคนิเดียมหี ลายเซลล์ ส่วนใหญ่ม ี 5 เซลล์ เซลล์ส่วนหวั และท้ายมีลักษณะ แหลมเรยี ว (fusoid) ไมม่ สี ี (hyaline) แตเ่ ซลลบ์ รเิ วณกลาง 3 เซลลจ์ ะมสี นี าำ้ ตาลเขม้ ถงึ ดาำ มรี ยางค์ (appendage) ยืน่ ออกไปท่ปี ลาย 2 เส้นหรอื มากกว่า ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเร่ิมแรกเป็นจุดสีน้ำาตาล แผลจะลุกลามอย่างช้าๆ มีสีนำ้าตาลถึง น้ำาตาลเข้ม ยุบตัวเล็กน้อย มีเส้นใยฟูสีขาวข้ึนปกคลุมบริเวณแผล อาการ ไม่รนุ แรงเท่ากับโรคผลเน่าทเ่ี กดิ จากเชื้อรา Greeneria sp. C. gloeosporioides L. theobromae และ Gliocephalotrichum spp. ลกั ษณะภายในผล เชอ้ื ราเขา้ ทาำ ลายเปลอื กดา้ นนอก ตอ่ มาลามเขา้ มาถงึ เปลอื ก ชั้นในเปล่ียนเป็นสีนำ้าตาล ขนาดแผลของเปลือกชั้นในใกล้เคียงกับแผลท่ีเปลือก ด้านนอก ในช่วงแรกส่วนเน้ือเงาะยังไม่เปล่ียนแปลง จนกระท่ังอาการแผลขยาย มากขึ้น เนอ้ื เงาะเปล่ียนเป็นสีเหลืองอ่อน 28 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 34 ภำพท่ ี 1 โคโลนขี องเช้อื รา Pestalotiopsis sp. บนอาหารพดี ีเอ (PDA) ภำพที่ 2 ลกั ษณะกลุ่มโคนิเดีย (conidia) ภำพท ่ี 3 ลกั ษณะโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) และโคนิเดยี ภำพท่ี 4 ลักษณะโคนเิ ดีย ภำพที่ 5 ลักษณะอาการของโรคผลเน่า ภำพท่ี 6 ลักษณะอาการของโรคผลเน่าภายในผลเงาะ 5 6 29 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เช้ือราสาเหตุ Phomopsis sp. ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลักษณะโคโลน ี (colony) ของเช้อื ราบนอาหารพีดเี อ (PDA) สร้างเส้นใยสี ขาวจนถึงน้ำาตาลอ่อน เส้นใยค่อนข้างหยาบเรียบกับผิวอาหาร เชื้อราสร้างพิคนิเดีย (pycnidia) สดี าำ กระจายทวั่ โคโลนี เช้ือราสร้างฟรุตติง้ บอด ี (fruiting body) แบบพคิ นิเดยี ผนงั หนา สนี ำ้าตาล ถงึ ดำา รปู ร่างกลม อาจมชี ่องเดยี วหรือหลายช่อง ภายในพคิ นเิ ดยี สร้างโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) สอี ่อน แตกแขนงมผี นงั กั้น (septum) สร้างโคนิเดีย (conidia) โคนิเดีย มี 2 แบบ คือ อัลฟา โคนเิ ดยี (alpha conidia) มเี ซลล์เดียว ใสไม่มสี ี (hyaline) รปู ไข่ (ovoid) และเบต้า โคนิเดยี (beta conidia) ใสไม่มสี ี เซลล์เดียว รูปร่างเป็นเส้นยาว ส่วนปลายโค้งงอคล้ายตะขอ ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเริ่มแรกเป็นแผลสีนำ้าตาล แผลขยายออกช้าๆ บริเวณกลางแผลจะมี สนี ้ำาตาลเข้มปนดาำ ขอบแผลจะมีลกั ษณะเหมือนรอยชาำ้ สนี ำ้าตาลอ่อน บริเวณแผล มีลักษณะแห้งแข็ง แผลมีลักษณะยุบตัวลงเล็กน้อย บนแผลไม่ปรากฎเส้นใยของ เชอ้ื รา ลักษณะภายในผล แผลที่เปลือกชั้นในมีขนาดใกล้เคียงกับแผลท่ีเปลือก ด้านนอก ในช่วงแรกสีของเปลือกชนั้ ในเปลี่ยนเป็นสนี าำ้ ตาลก่อน ส่วนเน้อื เงาะยงั ไม่ เปล่ียนแปลง จนกระทั่งอาการแผลขยายมากข้ึน เน้ือเงาะเปล่ียนเป็นสีเหลืองอ่อน จนถึงสเี หลือง มีนา้ำ เยิ้มสีเหลือง และกลิน่ เหมน็ เปร้ยี ว 30 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 3 4 ภำพที่ 1 โคโลนขี องเช้ือรา Phomopsis sp. บนอาหารพีดีเอ (PDA) ภำพที่ 2 ลักษณะโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) ภำพท ี่ 3 ลักษณะอลั ฟา โคนิเดยี (alpha conidia) ภำพท่ ี 4 ลกั ษณะเบต้า โคนเิ ดยี (beta conidia) ภำพที่ 5 ลกั ษณะอาการของโรคผลเน่า ภำพท ี่ 6 ลักษณะอาการของโรคผลเน่าภายในผลเงาะ 5 6 31 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
การแพร่ระบาด เชือ้ ราสามารถดำารงชีวติ อยู่บนเศษซากพืชและผลเงาะทเ่ี น่าเสยี ในสวน สปอร์ ของเชอ้ื รามีชวี ติ อยู่ได้นานในแปลงปลูกท่มี ีความช้ืนและอุณหภมู ิสงู เช้ือราตกค้างที่ ใบและผลเงาะทเ่ี นา่ แหง้ แพรร่ ะบาดไดด้ ใี นสภาพอากาศชน้ื และฝนตกชกุ สปอรแ์ พร่ กระจายโดยลม นาำ้ และตดิ ไปกบั เครอื่ งมอื ทางการเกษตร เชอ้ื ราบางชนดิ สามารถอยู่ ในดิน เช่น Gliocephalotrichum spp. จะสร้างแคลมโิ ดสปอร์ (chlamydospore) เป็นสปอร์ที่มีผนงั หนาทนต่อสภาพแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสม และเม่ือสภาพแวดล้อม เหมาะสมก็จะเจรญิ และเป็นแหล่งท่ีแพร่เช้อื ต่อไปได้ การควบคุมโรค 1. เก็บเกี่ยวด้วยความระมัดระวังโดยใช้กรรไกรคมและสะอาดตัดช่อผล จากต้น ตัดข้วั ผลให้มกี ้านติดอยู่ไม่เกนิ 5 มลิ ลิเมตร ในกรณจี าำ หน่ายเป็นผลเด่ียว 2. ฉดี พน่ สารเคมฆี า่ เชอ้ื ราตง้ั แตร่ ะยะออกดอก และฉดี พน่ ทกุ ๆ 2 สปั ดาห์ จนกว่าจะเก็บเกีย่ ว สารเคมที ี่ใช้ได้ผล คอื มาเนบ (maneb) และไซเนบ (zineb) 3. การใช้สารเคมีหลังการเก็บเกี่ยว โดยใช้วิธีฉีดพ่น แล้วผึ่งให้แห้ง สารเคมีท่ีใช้ เช่น อิมาซาลิล (imazalil) อตั รา 500 มิลลกิ รัมต่อลิตร 4. ระมัดระวังอย่าให้เกดิ แผลขน้ึ ในระหว่างการจดั การหลงั การเกบ็ เก่ียว 5. ทำาความสะอาดสวนและโรงคดั บรรจุ 6. ควรเก็บรกั ษาผลเงาะท่ีอณุ หภมู ิ 13 องศาเซลเซียส 32 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
แ áµ§âÁ (Watermelon)ตงโม อยู่ในวงศ์ Cucurbitaceae ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Citrullus lanatus (Thunb.) Matsum & Nakai เป็นไม้ล้มลุกประเภท เถาเลื้อย มีความสำาคัญทางเศรษฐกิจชนดิ หนงึ่ เนื่องจากแตงโมเป็น พืชท่ีปลูกง่ายสามารถปลูกได้ตลอดทั้งปี และปลูกได้ทั่วภูมิภาคของ ประเทศไทย ปัญหาสำาคัญของแตงโมหลังการเก็บเกี่ยวคอื โรคผลเน่า ซง่ึ เกดิ จากเชอื้ รา Fusarium spp. Lasiodiplodia theobromae และ Colletotrichum lagenarium ทำาให้ผลผลิตเสยี หาย คณุ ภาพลดลง 33 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เชื้อสาเหตุ Lasiodiplodia theobromae ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลน ี (colony) ของเชอื้ ราบนอาหารพดี เี อ (potato dextrose agar, PDA) เร่ิมแรกเส้นใยจะมีสีขาวละเอียดค่อนข้างฟู และเมื่ออายุมากข้ึนเส้นใยจะมี สีเทาอ่อนถงึ ดำาละเอยี ด เช้ือราสร้างฟรุตต้ิงบอดี (fruiting body) แบบพิคนิเดีย (pycnidia) บนสโตรมา (stroma) ภายในจะให้กาำ เนดิ โคนเิ ดีย (conidia) สร้างอยู่บนปลายก้าน โคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) โคนิเดียระยะอ่อนสปอร์จะมีเซลล์เดียว ไม่มีสี (hyaline) รูปไข่ (ovoid) ถึงยาวรี และเมื่อโคนิเดียแก่จะเปล่ียนเป็นสีน้ำาตาลเข้ม มีผนงั เซลล์ตามขวางแบ่ง เป็นสองเซลล์ ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเริ่มแรกจะเห็นเส้นใยสีขาวขึ้นบริเวณข้ัวแตงโมก่อน ต่อมาเนื้อเย่ือท่ี ติดกับข้ัวจะช้ำาฉาำ่ นำ้า แผลพัฒนาอย่างรวดเร็วเปล่ียนเป็นสีเขียวคล้ำาคล้ายรอยเปอน น้ำามนั ขยายลามไม่มีขอบเขตในเวลา 2-3 วัน ต่อมาเชอื้ ราจะสร้างเส้นใยสขี าวเทาฟู เจริญครอบคลมุ ท่วั ท้งั ผลอย่างรวดเร็ว ลักษณะภายในผล เช้ือราเข้าทำาลายเปลือกด้านนอกขยายลามเข้าไปถึง เนอื้ ด้านใน ทำาให้ผลแตงโมมลี กั ษณะฉาำ่ นำา้ นิม่ เละ น้ำาเยิม้ และมกี ลิ่นเหมน็ เปรยี้ ว 34 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
12 34 ภำพท ี่ 1 โคโลนขี องเชอื้ รา Lasiodiplodia theobromae บนอาหารพดี เี อ (PDA) ภำพที่ 2-3 ลักษณะโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) และโคนเิ ดีย (conidia) ภายในพคิ นเิ ดียม (pycnidium) ภำพท ่ี 4 ลักษณะโคนเิ ดียอ่อน ภำพที่ 5-6 ลกั ษณะอาการของโรคผลเน่า ภำพที ่ 7 ลักษณะอาการของโรคผลเน่าภายในผลแตงโม 5 6 7 35 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เชื้อสาเหตุ Fusarium sp. ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลักษณะโคโลนี (colony) ของเช้ือราบนอาหารเล้ียงเชื้อพีดีเอ (PDA) เส้นใยฟู ละเอยี ด สขี าว เจริญอย่างรวดเร็ว เชอ้ื ราสร้างโคนเิ ดยี (conidia) บนกลุ่มของเส้นใย (sporodochium) หรือ โคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) ที่อดั ตวั กันเป็นสโตรมา (stroma) เช้อื ราสร้างโคนเิ ดยี 3 แบบ คือ มาโครโ คนิเดีย (macroconidia) รปู ร่างโค้งคล้ายพระจันทร์เสี้ยว (fusoid- subculate) ใสไม่มีสี (hyaline) มผี นงั ก้นั (septum) 3-5 อนั ไมโครโคนิเดีย (microconidia) รูปไข่ (ovoid) ยาวรี ส้ัน รูปร่างคล้าย เคยี วป้อม จนถึงรปู ทรงกระบอก (oblong) ใส ไม่มสี ี มี 1-2 เซลล์ แคลมิโดสปอร์ (chlamydospore) รปู ไข่หรอื ทรงกลม ผนงั เรียบ เกิด บริเวณส่วนปลายเส้นใยและส่วนกลางเส้นใย ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเรมิ่ แรกจะเหน็ เสน้ ใยสขี าวขน้ึ บรเิ วณขว้ั กอ่ น จากนนั้ แผลขยายใหญข่ นึ้ โดยเน้ือเยือ่ บริเวณรอบๆ ทเ่ี ชอื้ ราเจรญิ มลี ักษณะฉาำ่ นำ้า ลักษณะภายในผล เชื้อราเข้าทำาลายเปลือกด้านนอกขยายลามเข้าไปถึง เน้อื ด้านใน ทาำ ให้ผลแตงโมจะมีลักษณะฉา่ำ นา้ำ น่ิมเละ 36 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
12 34 ภำพที่ 1 โคโลนขี องเชือ้ รา Fusarium sp. บนอาหารพดี เี อ (PDA) ภำพท่ี 2 ลกั ษณะโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) ภำพที ่ 3 ลกั ษณะมาโคร โคนิเดยี (macroconidia) ภำพที ่ 4 ลกั ษณะแคลมิโดสปอร์ (chlamydospore) ภำพท ่ี 5-6 ลักษณะอาการของโรคผลเน่า ภำพท ี่ 7 ลักษณะอาการของโรคผลเน่าภายในผลแตงโม 5 6 7 37 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âäá͹á·Ã¤â¹Ê (Anthracnose) เช้ือสาเหตุ Colletotrichum lagenarium ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลนี (colony) ของเชื้อราบนอาหารพีดีเอ (PDA) เส้นใยสีเทาดาำ มกี ลมุ่ ของโคนเิ ดยี (conidia) สสี ม้ แทรกอยใู่ นเสน้ ใยของเชอื้ รา ขอบโคโลนสี ขี าวสม้ เชอ้ื ราเจรญิ ช้า เชื้อราสร้างฟรุตต้ิงบอดี (fruiting body) แบบอะเซอวูลัส (acervulus) ภายในอะเซอวลู สั มโี คนดิ โิ อฟอร ์ (conidiophores) เปน็ กา้ นตรงเซลลเ์ ดยี ว ใสไมม่ สี ี (hyaline) ท่ปี ลายให้กาำ เนดิ โคนเิ ดีย และมีการสร้างซีเต้ (setae) โคนเิ ดยี มลี กั ษณะเป็นเซลล์เดยี ว ใสไม่มีส ี รปู ไข่ (ovoid) ถึงทรงกระบอก (oblong) หวั ท้ายมน ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเรม่ิ แรกจะเหน็ จดุ สนี า้ำ ตาลประปรายบนผลแตงโม ตอ่ มาแผลขยายใหญ่ ขน้ึ และเนอ้ื เยอ่ื ตรงกลางแผลยบุ ตา่ำ ลงไปจากระดบั เดมิ เลก็ นอ้ ย บรเิ วณแผลสรา้ งกลมุ่ ของโคนเิ ดยี สสี ม้ เรยี งเปน็ วงกลมซอ้ นกนั หลายชน้ั ตามขนาดของแผลทข่ี ยายใหญข่ น้ึ ลักษณะภายในผล เชื้อราเข้าทำาลายเปลือกด้านนอก ต่อมาลามเข้ามาถึง เปลือกช้ันใน เน้ือด้านในแห้งและยุบตัวลง ขนาดแผลของเปลือกชั้นในมีขนาดเล็ก กว่าแผลด้านนอก 38 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
12 34 ภำพท่ี 1 โคโลนขี องเชอื้ รา Colletotrichum lagenarium บนอาหารพดี เี อ (PDA) ภำพท ่ี 2 ลักษณะซเี ต้ (setae) ภำพท ่ี 3 ลกั ษณะโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) และโคนิเดยี (conidia) ภำพท่ี 4 ลักษณะโคนเิ ดีย ภำพที่ 5–7 ลกั ษณะอาการของโรคแอนแทรคโนส 5 6 7 39 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
การแพร่ระบาด การแพร่ระบาดเกิดขึ้นได้ท้ังโคนเิ ดียและเส้นใยโดยติดไปกับนาำ้ ดิน ปุ๋ยหมกั ปุ๋ยพืชสดท่ีได้จากพืชที่เป็นโรค ติดปะปนไปกับเมล็ดหรือส่วนท่ีใช้ทำาพันธุ์ต่างๆ รวมถึงการสัมผัสกันระหว่างผลปกตกิ บั ผลท่เี ป็นโรค แหลง่ ทม่ี าของเชอื้ ในแปลงจากสว่ นของพชื ทเี่ ป็นโรค กง่ิ กา้ น ใบ เศษซากพชื และดนิ ทีม่ เี ชือ้ สาเหตโุ รคสะสมอยู่ โดยหยดนา้ำ กระเด็นมาถูกหรอื นา้ำ ฝนที่ตกลงมา กระทบสปอร์แล้วถกู ลมพัดไป การควบคุมโรค 1. เลอื กใชเ้ มลด็ พนั ธท์ุ ส่ี ะอาดปราศจากเชอ้ื ปะปนอย ู่ หากไมแ่ นใ่ จใหท้ าำ การ แชห่ รอื คลกุ แมนโคเซบ (mancozeb) อตั รา 15 กรมั ตอ่ เมลด็ พนั ธ ์ุ 1 กโิ ลกรมั กอ่ น นำาไปปลูกเพอื่ ฆ่าเช้อื ทีต่ ดิ มากับเมลด็ พันธุ์ 2. บาำ รงุ พชื ทป่ี ลกู ใหส้ มบรู ณแ์ ขง็ แรงอยเู่ สมอ อยา่ ใหข้ าดนา้ำ หรอื ธาตอุ าหาร ท่ีจำาเป็นเพอ่ื ไม่ให้ง่ายต่อการเกดิ โรค 3. เลอื กใช้พนั ธ์ุทม่ี คี วามต้านทานต่อโรค 4. ตัดแต่งกิ่งท่ีเป็นโรคออก ทำาความสะอาดมีดและกรรไกรหลังการตัด แต่งกิง่ ในแต่ละครง้ั และเกบ็ เศษซากแตงออกจากพน้ื ที่แปลง ควรตัดแต่งกิง่ ในช่วง อากาศแห้ง 40 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278