Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่องเล่าตามบ้านเรา...ตามรอยเท้าพ่อ

เรื่องเล่าตามบ้านเรา...ตามรอยเท้าพ่อ

Description: เรื่องเล่าตามบ้านเรา...ตามรอยเท้าพ่อ.

Search

Read the Text Version

ระดบั ประถมศกึ ษา “เรื่องเลา่ จากบา้ นเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” ๔๙

๕๐ “เรื่องเล่าจากบา้ นเรา... ตามรอยเทา้ พ่อ” โชคดที ไ่ี ดพ้ บกบั ในหลวง (รชั กาลที่ ๙) โดยบงั เอญิ ลงุ จนั ทรเ์ ลา่ วา่ ครง้ั แรกทท่ี ่านได้พบ กับในหลวง (รัชกาลท่ี ๙ ) “ตอนนั้นผมก�ำลังด�ำนาแล้วมีรถประมาณ ๓-๔ คันเข้ามา ในหมู่บ้าน ผมจึงก้าวเท้าขึ้นไปนิดนึง แลว้ ผมก็มองหนา้ ท่าน ทา่ นจึงถามผมวา่ ท่ีน่ีคือ ทไี่ หน ผมกต็ อบไปว่าท่นี ี่คอื โคกกระทอ่ ม และถามผมว่าที่น่นั คอื ที่ไหน พรอ้ มกับชไี้ ปทาง โคกอิฐ-โคกใน ผมกต็ อบไปวา่ ท่ีนัน่ คอื บา้ นโคกอิฐ-โคกใน พระองค์จึงบอกกับผมว่าอีก หนงึ่ อาทติ ยผ์ มจะมาใหม”่ เมือ่ ในหลวง (รชั กาลท่ี ๙) มาเย่ียมเยือนอกี คร้ัง ทา่ นเขา้ ไปดู พนื้ ทขี่ องบ้านโคกอฐิ -โคกใน จงึ ร้วู ่าในพนื้ ทโี่ คกอฐิ -โคกในเป็นพน้ื ดนิ เปรยี้ วเป็นอยา่ งมาก ทำ� ใหช้ าวบา้ นทำ� นาและทำ� สวนไมไ่ ด้ ในหลวง (รชั กาลท่ี ๙) จงึ คดิ โครงการอนั เนอ่ื งมาจาก พระราชดำ� ริ ทม่ี ชี อื่ วา่ โครงการแกล้งดนิ จนถงึ ตอนนชี้ าวบา้ นสามารถทำ� นาและทำ� สวนได้ จากที่เป็นทุ่งนารา้ ง แตพ่ ระองคท์ �ำใหช้ าวบ้านโคกอิฐ-โคกในสามารถท�ำมาหากินได้อยู่ อย่างสุขสบาย หนูดีใจและประทับใจมากที่หนูได้ไปชมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ท�ำให้ หนรู ้จู กั การใชช้ วี ติ แบบเรยี บงา่ ยของลงุ จนั ทร์ เพราะลงุ จนั ทร์ใชช้ วี ติ แบบพอเพยี งตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียงของพระองคท์ ่าน และท�ำใหห้ นูมีแรงบันดาลใจในการใชช้ ีวิตแบบ เศรษฐกจิ พอเพียง การทรงงานของในหลวง (รัชกาลท่ี ๙) คือแรงบันดาลใจของหนูที่ท�ำให้หนูเห็น คณุ ค่าในความยิง่ ใหญ่ของพระองคท์ ่าน และสามารถนำ� ไปปฏิบัติในชีวติ ประจ�ำวนั เช่น การประหยดั ท�ำให้หนรู จู้ ักการใช้เงนิ สามารถมเี งินเกบ็ ไว้ใชใ้ นอนาคต มีชวี ติ ท่ีเรียบงา่ ย ไมฟ่ ุม่ เฟือย พอกินพอใช้ และพึ่งพาตนเอง ท่บี า้ นของหนูปลูกผักสวนครัว เลีย้ งไก่ และ เลยี้ งเปด็ ทำ� ใหห้ นใู ช้ในสง่ิ ทห่ี นมู ี นำ� มาประกอบอาหาร และส่วนทเี่ หลอื ทห่ี นรู บั ประทาน ไมห่ มด หนูนำ� ไปขายเพ่ือเป็นรายได้แกค่ รอบครัวของหนู วันน้ีหนูจะสัญญาวา่ หนูจะยึดมั่นในการใชห้ ลักเศรษฐกิจพอเพียง ในฐานะท่ีหนูเป็น คนไทยคนหนึ่ง หนูอยากบอกวา่ หนูดีใจและภูมิใจที่เกิดมาในแผน่ ดินไทย แผ่นดินที่มี ในหลวง (รชั กาลท่ี ๙) ทค่ี อยมอบสง่ิ ดๆี ให้กบั ชาวไทย ทำ� ใหช้ าวไทยทกุ คนไดอ้ ยสู่ ขุ สบาย ในหลวงของหน ู คงอยใู่ นใจ พวกเราคนไทย มใี จรกั ท่าน

ระดับประถมศึกษา “เร่ืองเล่าจากบา้ นเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” ๕๑ “กา้ วยา่ ง ตามรอยของพ่อหลวง” อนิ ฟามี ดาเอะ๊ โรงเรยี นแหลมทองวิทยา จ.นราธิวาส พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช หรอื ทพ่ี วกเราเรยี กกนั ว่า “ในหลวงของ แผ่นดิน” พระองคท์ รงช่วยเหลือ และเยี่ยมเยียนพสกนิกรชาวไทยเสมอมา เม่ือไหรท่ ี่ พระองคไ์ ดท้ ราบว่า ทใ่ี ดเดอื ดร้อน พระองคท์ รงรบี ไปช่วยเหลอื ทนั ที พรอ้ มกบั สง่ิ ทอ่ี ยใู่ นมอื ของพระองค์ คอื แผนท่ี ดนิ สอ และสง่ิ ทค่ี ลอ้ งคอพระองคม์ าโดยตลอด คอื กล้องถ่ายรปู ซง่ึ อุปกรณเ์ หล่านจ้ี ะคุ้นตาพสกนิกรชาวไทยเสมอมา ในวนั ที่ ๒๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๑ หนไู ด้มาอบรมเกยี่ วกบั โครงการสร้างสรรคง์ านเขยี น และเรยี นรโู้ ครงการตามแนวพระราชดำ� รแิ ลว้ หนกู ไ็ ดไ้ ปศกึ ษาเรอ่ื งราวต่างๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในอดตี ในขณะทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดชฯ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เยย่ี มเยอื น พสกนิกรชาวไทย หนไู ด้มาถงึ จดุ หมาย มองเหน็ รว้ั สฟี า้ ตดิ ตอ่ กนั ยาว แลว้ หนกู ไ็ ด้ตงั้ คำ� ถามกบั ตนเองวา่ “เอ๊ะ! ทนี่ ที่ ไ่ี หน” พอเข้าไปขา้ งในหนกู ไ็ ดร้ ้วู า่ ทนี่ ค่ี อื “สำ� นกั งานชลประทานท่ี ๑๗” และหนู กไ็ ด้เจอกบั “นายเฉลมิ ชยั ตรนี รนิ ทร์” ซงึ่ เปน็ ผ้อู ำ� นวยการฯ ของทนี่ ี่ ทา่ นกไ็ ดเ้ ลา่ เรอ่ื งราว ในอดตี ทที่ ่านได้พบเจอกบั พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พระองคไ์ ด้มอบแนวคิดให้กับส�ำนักงานชลประทานที่ ๑๗ วา่ “หลักส�ำคัญวา่ ตอ้ งมีน้�ำ บรโิ ภค นำ�้ ใช้ นำ้� เพอ่ื การเพาะปลกู เพราะวา่ ชวี ติ อยทู่ น่ี นั่ ถ้ามนี ำ�้ คนอยไู่ ด้ แต่ถ้ามไี ฟฟา้ ไม่มีนำ�้ คนอยู่ไมไ่ ด”้ ผอู้ ำ� นวยการฯ จงึ ยดึ หลกั คำ� สอนของพระองค์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ อย่างสงู สุด

๕๒ “เรอ่ื งเลา่ จากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ”

ระดบั ประถมศกึ ษา “เร่ืองเลา่ จากบา้ นเรา... ตามรอยเท้าพ่อ” ๕๓ หลังจากนั้น หนูได้เดินทางไปศึกษาความเป็นมาของสวนลุงจันทร์ที่ บา้ นโคกอฐิ -โคกใน อำ� เภอตากใบ หนไู ด้เหน็ สงิ่ แวดลอ้ มรอบๆ สวนลงุ จนั ทร์ มีแตต่ ้นไมส้ ีเขียวขจี แล้วหนูก็ได้เจอกับลุงจันทร์ ชาญแท้ อายุ ๖๖ ปี เอกลกั ษณ์ของลงุ จนั ทร์ คอื นงุ่ ผ้าขาวมา้ แลว้ ลงุ กไ็ ดม้ าเล่าเรอื่ งราวตา่ งๆ ในอดีตในขณะที่ลุงได้พบปะพูดคุยกับพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร โดยบังเอญิ พระองคไ์ ด้ตรสั กับลุงจันทร์ว่า “ถ้าคนเราท�ำอะไรก็แลว้ แต่ถ้าไม่ใส่ใจ มนั กไ็ มส่ ำ� เรจ็ แล้วเราตอ้ งขยัน อดทน ประหยัด และซื่อสัตย์ แล้วเราก็ ต้องไมโ่ กหกผอู้ ื่น เราต้องพูดตามความเป็นจริง” ลงุ จนั ทร์ยดึ หลกั คำ� สอนของพระองค์มาโดยตลอด แลว้ ลงุ จนั ทร์กพ็ ดู ว่า “ภูมิใจมากที่ได้เจอกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร โดยบังเอิญ แล้วจะไม่ลืมเรื่องที่คุยกับพระองค์ครับ” แล้วลุงก็บอกอีกวา่ “แรงบันดาลใจของผม คือ จากพ้ืนท่ีที่ท�ำอะไรไมไ่ ด้ เลยกลบั กลายมาเป็นทงุ่ นาสวนผลไม้ตา่ งๆ อดุ มไปดว้ ยต้นไมต้ ่างๆ เพราะ เดิมแล้วพน้ื ทนี่ ี้เปน็ พนื้ ท่ีดินเปรี้ยวปลกู อะไรก็ไม่ข้ึน ในหลวงจงึ รบี มา ช่วยเหลอื ทำ� ให้พน้ื ทด่ี นิ เปรย้ี วแห่งนก้ี ลายเปน็ ทุ่งนา สวนผักผลไมต้ ่างๆ ที่ ทำ� ใหผ้ มอยู่ดกี ินดมี าถึงวนั นค้ี รับ” พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงเปน็ แบบอยา่ งของคนทงั้ ประเทศ แมว้ า่ พระองคจ์ ะเจอประสบการณอ์ ะไรกต็ าม พระองคก์ ็ยังอดทนเลย แล้วเหตุใดเลา่ ท่ีเราไมส่ ามารถอดทนกับบท ทดสอบตา่ งๆ ได้เลย การมาอบรมครัง้ น้ี ทำ� ใหห้ นูได้รับแรงบันดาลใจ และประสบการณต์ า่ งๆ ท่ีทำ� ให้หนูยึดหลักคำ� สอนของพระองค์มาใชใ้ ห้ เกิดประโยชน์อย่างสงู สดุ ความรสู้ กึ ทห่ี นไู ดม้ าคา่ ยนี้ หนรู ้สู กึ ภาคภมู ใิ จในพระองค์และดใี จทไี่ ด้ เขา้ รว่ ม “โครงการสร้างสรรคง์ านเขียนและเรียนรูโ้ ครงการตามแนว พระราชด�ำร”ิ ท�ำใหห้ นไู ดร้ ับความรแู้ ละประสบการณ์ตา่ งๆ จนทำ� ให้หนู มีความรูเ้ พิ่มมากขึ้น หนูขอบพระคุณคณะผู้จัดท�ำโครงการนี้มากค่ะ ขอบคุณค่ะ

๕๔ “เรอ่ื งเล่าจากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” “เรตือ่ างมเรลอา่ จยาเกทบ้าพา้ น่อเร”า... อฟั นาน กะลูแป โรงเรียนบา้ นเกาะแลหนงั จ.สงขลา ตอนเดก็ ๆ ฉนั มกั ได้ยนิ คำ� วา่ “พ่อของแผ่นดนิ ” เสมอแตต่ อนนนั้ ฉนั ก็ ยงั ไม่ร้วู า่ พ่อของแผ่นดนิ หมายถงึ อะไร แม่ของฉนั กอ็ ธบิ ายใหร้ ้คู วามหมาย ของพ่อ ฉนั กไ็ ดร้ คู้ วามหมายของพ่อของแผน่ ดนิ ฉันก็ดีใจมากเพราะแม่ บอกว่าพอ่ ของแผ่นดนิ ชว่ ยเหลอื ชมุ ชนทุกเมอื่ แต่เสียดายหนูไม่เคยเห็น หน้าพอ่ เลยเพราะพอ่ จากไปแลว้ หนกู ย็ งั คดิ ถึงพอ่ เสมอค่ะ จากทฉ่ี ันไดต้ ิดตามดูพ่อผู้รักและห่วงลูกๆ ตลอดนนั้ ฉนั ก็ได้ยนิ ผู้คน ในชุมชนพูดกันวา่ ในหลวงจากพวกเราไปแล้วต้งั แต่ ปี ๒๕๕๙ หนไู ด้ยิน ขา่ วนหี้ นกู ็ท�ำใจไม่ได้ค่ะ ตอนแรกๆ หนคู ดิ วา่ ทำ� ไมเราจงึ มพี อ่ สองคนแต่ ครอู ธบิ ายให้หนู หนกู ร็ ้เู ลยว่าทำ� ไมเราต้องมพี ่อสองคนดว้ ย เพราะคนนี้ เปน็ พ่อของคนไทยทงั้ แผ่นดิน ทรงมลี กู อยทู่ กุ ภมู ภิ าคของไทย หนไู มเ่ คย สงสัยเลยว่าท�ำไมบา้ นทุกบา้ นจึงมีรูปพระองค์อยู่ทุกบ้านทุกแหง่ หน ในหลวงของเราทรงงานหนกั แตพ่ ระองค์ทำ� ไปทงั้ หมดกเ็ พอื่ พสกนกิ รของ พระองค์ รปู ทมี่ อี ย่ใู นบา้ นของคนไทยทว่ั ประเทศ เปน็ คำ� ตอบวา่ คนไทย ควรรกั และสามคั คกี นั เพราะเรามหี วั ใจดวงเดยี วกนั พอ่ อกี คนคอื ผ้ทู ใ่ี ห้ กำ� เนดิ ทา่ นอบรมสง่ั สอนใหเ้ ราเปน็ คนดี ตง้ั แตอ่ ยใู่ นเปลจนเราเตบิ ใหญ่ พ่อดูแลพวกเราอย่างดีและพอ่ ฝากพวกเราวา่ หา้ มพวกเราด้ือและซน ห้ามโกหกใคร ทำ� ตามคำ� สงั่ ของพอ่ หนไู ด้เหน็ รอยยมิ้ พอ่ บนใบหน้า หนกู ็

ระดบั ประถมศกึ ษา “เรื่องเลา่ จากบา้ นเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” ๕๕

๕๖ “เร่ืองเลา่ จากบ้านเรา... ตามรอยเทา้ พอ่ ” ดใี จแลว้ คะ่ พอ่ สอนว่าให้มคี วามกตญั ญตู ่อผ้มู พี ระคณุ พ่อแม่ และครบู าอาจารย์ ในหลวง ก็เหมอื นพอ่ คนทส่ี องของเรา หนจู ะตามรอยเท้าของพอ่ ให้ได้ เพราะพ่อเคยไปเยย่ี มชมุ ชนที่ ลำ� บาก พอ่ ไมเ่ คยพดู คำ� วา่ เหนอื่ ยสกั คำ� พ่อเตม็ ใจทจี่ ะไปเยยี่ มชมุ ชนทล่ี ำ� บากและยากจน ทง้ั นนั้ และมโี ครงการพระราชดำ� รมิ ากมาย ๔,๐๐๐ โครงการ โดยจดุ ม่งุ หมายเดยี ว คือ ตอ้ งการให้ประชาชนของพระองคอ์ ยู่ดีกินดี เชน่ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการแกม้ ลิง โครงการชา่ งหวั มัน โครงการฝนหลวง เป็นต้น ครอบครวั ของหนนู อ้ มนำ� หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการดำ� เนนิ ชีวติ เหลอื กิน เหลือเกบ็ เหลอื ใช้ นำ� ไปขายเพอ่ื เปน็ การเพมิ่ รายได้ หลงั จากการขายนำ� มาแจกจา่ ยเพอ่ื นบ้านโดยยดึ หลกั การ ดำ� เนนิ ชวี ติ แบบเดนิ ทางสายกลาง พออยพู่ อกนิ โดยการพงึ่ พาตนเอง ฉนั จะตามรอยเทา้ ของ พ่อให้ถงึ จดุ หมายทฉ่ี นั อยากตามพอ่ หลวง ฉนั คงยงั ตามรอยเทา้ ของพ่อเหมอื นเดมิ เพราะ พอ่ สอนใหเ้ ราพอเพยี ง เดนิ สายกลาง และพึง่ พาตนเอง พอ่ สอนใหเ้ ราปลกู ปา่ ปลกู ต้นไม้ ทดแทนเพอื่ ให้ร่มเงา และทำ� ใหแ้ หลง่ นำ�้ สมบรู ณ์ พอ่ หลวงสอนใหเ้ ราชว่ ยกันรักษาชว่ ย เหลือซ่ึงกันและกัน แบ่งปันซึ่งกันและกันคะ่ ไมแ่ ปลกใจเลยว่าทำ� ไมคนไทยทกุ คนจึงรัก พระองค์ แมว้ ่าพ่อจะจากเราไปแต่พ่อก็ท�ำสิ่งท่ีดีใหพ้ วกเราคนไทยยึดและปฏิบัติตาม รอยเท้าของพอ่ ซึง่ เปน็ รากฐานของการดำ� เนนิ ชวี ิต หนูคดิ ว่าพ่อคงคิดถึงพวกเราเหมือน ทพี่ วกเราคดิ ถงึ พอ่ เสมอ แตพ่ อ่ กไ็ ม่อย่แู ลว้ ค่ะสำ� หรบั ตวั หนแู ล้ว หนคู ดิ และฝนั ไว้ว่าสกั วนั หนคู งจะไดเ้ จอผชู้ ายคนนตี้ วั จรงิ ๆ สกั ครง้ั ในชวี ติ แต่กไ็ ม่ไดเ้ จอเลยเพราะพอ่ จากพวกเรา ไปแล้วแตก่ ค็ ดิ ถงึ ทกุ คำ� สอน พอ่ บอกพอ่ สอนเราหลายอย่าง เวน้ อย่อู ย่างเดยี วทพ่ี อ่ ไมเ่ คย บอกก็ คอื “ใหเ้ ราทกุ คนรกั พ่อ”แตเ่ รารสู้ กึ เองดว้ ยหวั ใจเราเองวา่ พอ่ คงใหพ้ วกเราคนไทย ทกุ คนรกั และสามคั คกี นั พ่อทำ� ให้ประชาชนมอี ย่มู กี ินมคี วามเป็นอย่ทู ดี่ แี ละใหอ้ ภยั ซงึ่ กนั และกัน อยู่อยา่ งสงบรู้รักสามคั คี เราทำ� เพื่อในหลวงของเรา หนจู ะเดินตามรอยเทา้ พ่อ เทา่ ทเ่ี ดก็ ผหู้ ญงิ ตวั เลก็ ๆ จะทำ� ได้ หนจู ะทำ� ความดถี วายในหลวงผซู้ งึ่ เปน็ พอ่ ของแผน่ ดิน ตราบนานเท่านาน และพวกเราทกุ คนรกั พอ่ คนนี้เสมอคะ่ สดุ ทา้ ยน้ี หนคู งยงั รกั พ่อและห่วงใยพ่อเสมอ หนูดใี จท่ีเกิดมาเปน็ คนไทย สง่ิ ทห่ี นู จะตอบแทนให้พอ่ มันคงเลก็ และไมส่ วยเทา่ ท่ีพอให้พวกเราค่ะ แต่หนขู อสญั ญาว่าหนูจะ เป็นคนดขี องพ่อและครบู าอาจารย์เสมอค่ะ

เรยี งความ ระดบั มธั ยมศึกษา

๕๘ “เรอ่ื งเล่าจากบา้ นเรา... ตามรอยเท้าพ่อ” “เรื่องเลา่ แห่งแรงบนั ดาลใจ” อตริ จุ ดอื เระ รางวลั ชนะเลิศ โรงเรยี นจริยธรรมศึกษามลู นธิ ิ จ.สงขลา ร้อยบทเพลงบรรเลงเรอ่ื งราวพอ่ รอ้ ยภาพต่อพอ่ ทรงงานราษฎรส์ ขุ ศรี รอ้ ยหยดหมึกบันทึกถ้อยภกั ด ี รอ้ ยวาทีเลา่ เรื่องราวพอ่ หลวงไทย ตลอดระยะเวลา ๗๐ ปแี หง่ การครองแผน่ ดนิ โดยธรรม เพ่ือประโยชนส์ ขุ แหง่ มหาชนชาวสยามของมหาราชท่ีช่อื ว่าภมู ิพล เรือ่ งราวแหง่ แรงบนั ดาลใจได้ เกดิ ขนึ้ อย่างมากมาย หลายครงั้ เรอ่ื งราวเหล่านน้ั ไดร้ บั การถ่ายทอดผา่ นบทเพลง ภาพถ่าย วิดีโอ ตัวหนังสือ หรือบางคร้ังก็สามารถรับฟงั ผา่ นค�ำบอกเลา่ จากชาวบ้านในชุมชนซึ่งอาศัยอยู่ในถ่ินทุรกันดารไดเ้ ช่นกัน เน่ืองจากทุกๆ ที่ ซ่ึงสองพระบาทพระยาตราของพระองคท์ รงกา้ วย่าง ท่ีตรงนั้นมักมีเรื่องเลา่ แหง่ แรงบนั ดาลใจเกิดขึ้นตามมาเสมอ ผม เดก็ ผชู้ ายนบั ถอื ศาสนาอสิ ลามทเ่ี กดิ และเตบิ โตบนพนื้ ทป่ี ลายดา้ มขวาน ของประเทศไทย ตลอดระยะเวลา ๑๘ ปี ทผ่ี มเตบิ โตขึ้นภายใต้รม่ เงาของธง ไตรรงค์ ชาติ ศาสน์และกษัตริย์ ผมเคยได้เห็นภาพการทรงงาน เคยไดฟ้ ัง บทเพลงและเรอื่ งราวแห่งความเสยี สละอนั นา่ ประทบั ใจของในหลวงรชั กาลท่ี ๙ จากครู พอ่ แม่ คนในชมุ ชน รวมไปถงึ ข่าวสารสารคดจี ากโทรทศั น์ทน่ี ำ� เสนอและ

ระดบั มัธยมศกึ ษา “เรื่องเลา่ จากบา้ นเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” ๕๙

๖๐ “เร่ืองเลา่ จากบา้ นเรา... ตามรอยเทา้ พอ่ ” เล่าเรอ่ื งของพ่อได้อย่างซาบซงึ้ ใจ โดยเฉพาะภาพและเรอ่ื งเลา่ ทมี่ คี วามเกย่ี วขอ้ งกบั มาตภุ มู ิ จงั หวัดชายแดนใต้และศาสนาอิสลามของผมเอง อาทิ เรื่องเล่าการเสด็จพระราชดำ� เนนิ มาเย่ยี มเยยี นราษฎรในพื้นทีส่ ามจงั หวดั ชายแดนใต้เปน็ ครง้ั แรกในปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๐๒ อุสตาซ (ครูสอนศาสนา) เล่าใหผ้ มฟังว่าวันท่ีขบวนรถไฟพระทนี่ ง่ั เสดจ็ มาถงึ มีชาวบ้าน นบั รอ้ ยคอยรบั เสดจ็ ในวนั นน้ั ชาวบา้ นหลายคนเรยี กพระองคว์ า่ “รายอ ซแี ย” หมายถึงพระ ราชาแหง่ สยาม แตเ่ มอ่ื กาลเวลาผ่านไปพระองค์ทรงบ�ำบดั ทุกขบ์ ำ� รุงสขุ ให้เปน็ ทป่ี ระจกั ษ์ และใกลช้ ดิ สนทิ สนมกบั ชาวบา้ นมากขน้ึ ชาวบา้ นในพน้ื ทจ่ี งึ พรอ้ มจติ พรอ้ มใจคอ่ ยๆ เปล่ยี น ค�ำเรียกพระองค์ใหมว่ ่า “รายอ กีตอ” อนั หมายถึงพระราชาของพวกเรา จากความรักและหว่ งใยราษฎรอันเปรียบประดุจดั่งสายสัมพันธ์แห่งรักแทท้ ่ีพ่อมีต่อ ลูกก่อให้เกิดพระราชกรณียกิจส่งเสริมการสรา้ งสันติสุขและความเป็นอยูท่ ี่ดีให้เกิดข้ึนใน พน้ื ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใต้อยา่ งมากมาย พระราชกรณยี กจิ ทสี่ ำ� คญั อาทิ การแก้ปัญหา ดินเปรี้ยวในพ้ืนท่ีดินพรุซึ่งเป็นพ้ืนท่ีท�ำกินของชาวบ้านจนน�ำไปสู่การจัดตั้งศูนย์ศึกษา การพัฒนาพิกุลทองฯ ในปพี ุทธศักราช ๒๕๒๔ โดยพระองค์ทรงมีพระประสงค์เพื่อให้ เป็นศูนยส์ �ำหรับการศึกษาพัฒนาดินอินทรีย์และดินเปรี้ยว การเกษตรย่ังยืนตามเกษตร ทฤษฎีใหม่ รวมไปถึงเป็นสถานท่ีจัดอบรมส่งเสริมงานศิลปาชีพให้แก่คนในชุมชน เม่ือศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ แตกดอกออกผลก็กอ่ ให้เกิดประโยชนอ์ ยา่ งอนันต์ ชาวบ้านหลายครัวเรือนไดม้ ีที่ดินท�ำกิน มีอาชีพเสริม สามารถลืมตาอ้าปาก ยืนได้ด้วย ล�ำแข้งของตัวเอง พระราชกรณียกิจเร่ืองปลารอ้ งไห้กเ็ ป็นอีกหนึ่งเรอ่ื งทฟ่ี ังทีไร กต็ ืน้ ตัน ใจทกุ ครั้ง เร่อื งนี้ครูฟาตอน่า ครูสอนวิชาสงั คมศึกษาเล่าให้ฟังว่า “เม่ือครัง้ ในหลวงเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เยี่ยมราษฎรในเขตพน้ื ทีพ่ ฒั นาพรแุ ฆแฆ จ.ปตั ตานี ในครงั้ น้นั มรี าษฎรคน หน่งึ ชือ่ นายอูเซง็ ชาวบ้านผเู้ ลีย้ งปลากะพงเพ่อื ยังชพี ตัง้ ใจอยู่รอรับเสด็จ เพ่อื ถวาย ภาพถ่ายปลาในกระชังลอยตายเต็มแพนับหมื่นตัว เน่ืองจากปัญหาการปลอ่ ยน้�ำเปร้ียว

ระดบั มธั ยมศึกษา “เรอ่ื งเลา่ จากบา้ นเรา... ตามรอยเทา้ พ่อ” ๖๑ จากพรุพาเจาะท่ีไหลผ่านกระชังบริเวณน้ันกอ่ นลงทะเล เปน็ เหตุให้ปลาขาดออกซิเจน และตายเป็นจำ� นวนมาก ในขณะท่ีนายอูเซง็ ถวายค�ำอธบิ ายไปกร็ ้องไหไ้ ป ดว้ ยไมร่ ูว้ า่ จะ แก้ไขปัญหาเหล่าน้ีอยา่ งไร มองไมเ่ ห็นหนทางท�ำกินจนต้องขอพง่ึ พระบารมใี นหลวงทรง ทอดพระเนตรเห็นอาการสะอึกสะอื้นของเขาก็ทรงเห็นใจ จึงตรัสดว้ ยพระอารมณ์ขัน ดว้ ยประโยคส้ันๆ ว่า “ปลาร้องไห้ จะตอ้ งหาทางแกไ้ ข” จากน้ันพระองคท์ รงเปดิ แผนท่ี เพอื่ ทอดพระเนตรตน้ เหตขุ องปัญหา ทรงศกึ ษาหาวธิ ปี อ้ งกนั การปล่อยนำ้� เปรยี้ วลงจดุ เดมิ อย่างจริงจัง พรอ้ มท้ังทรงมอบหมายใหห้ น่วยงานผู้รับผิดชอบวางแผนระยะยาว ดว้ ย พระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระองค์ในวนั นนั้ จงึ ทำ� ใหน้ ายอเู ซง็ และชาวบ้านอกี หลายหลงั คาเรอื น ไม่ตอ้ งมีทัง้ “ปลา” และ “คน” ร้องไห้อกี ต่อไป อกี หนง่ึ เรอ่ื งเลา่ สดุ แสนประทบั ใจซงึ่ ไดร้ บั การเลา่ ผา่ นหนงั สอื ขายหวั เราะ (เลม่ นติ ยสาร การ์ตูนไทยก�ำเนิดในรัชกาลท่ี ๙) น่ันคือเร่ืองเล่าเหตุการณอ์ ลหม่านในพิธีพระราชทาน รางวลั แกโ่ ตะ๊ ครู ณ สนามโรงพิธชี ้างเผือก อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดยะลา ในขณะทใ่ี นหลวง และสมเดจ็ พระบรมราชนิ นี าถ พระราชทานรางวลั แกโ่ ตะ๊ ครอู ย่นู น้ั ได้เกดิ เสยี งระเบดิ ดงั ขน้ึ ท�ำใหร้ าษฎรที่เฝ้าฯ รับเสด็จพากันวิ่งหนีอยา่ งอลหม่านแต่ทั้งสองพระองค์ยังคงประทับ อยูบ่ นพลับพลา เมื่อเหตุการณส์ งบลง พระองค์จึงเริ่มพิธีพระราชทานรางวัลแกโ่ ต๊ะครู อกี ครง้ั จนเสรจ็ พธิ ี จากนน้ั ได้มชี าวบ้านคนหนงึ่ ไดก้ ราบบงั คมทลู แด่พระองคว์ ่า “เมอ่ื เสยี ง ระเบดิ ดงั ขน้ึ มา ฉนั กต็ กใจวงิ่ หนี แตพ่ อวง่ิ ขน้ึ ไปแลว้ นกึ ขึ้นไดว้ ่าพระองคย์ งั อย่ทู ี่นั่น จงึ วิ่ง กลับมาและคิดวา่ ถ้าเปน็ อะไรข้นึ มากต็ ายดว้ ยกัน” คำ� ดังกล่าวสะท้อนใหเ้ หน็ ถึงความรัก ท่ีราษฎรมีต่อทง้ั สองพระองค์ เรื่องเล่าของพอ่ ท่ีเกิดข้ึนในบ้านของเราพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ไดก้ อ่ เกิดเป็น พลงั แห่งแรงบนั ดาลใจใหผ้ คู้ นจำ� นวนมากก้าวย่างตามรอยเทา้ ของพอ่ ตวั ผมเองกเ็ ป็นหนงึ่

๖๒ “เร่อื งเล่าจากบ้านเรา... ตามรอยเทา้ พอ่ ” ในน้ันในวนั ทีพ่ ่อได้หลบั พกั ผ่อนจากความเหน็ดเหนือ่ ย ผมและเพ่อื นในชนั้ เรียนรว่ มกัน ก่อต้ัง “กลุม่ ยุวชนจิตอาสา มะพรา้ วปันสุข” พรอ้ มกับการริเร่ิมโครงการ “สืบสาน พระราชปณิ ธานความดี สานใจพี่สใู่ จน้อง เพอื่ ชุมชนสนั ติสุข” ดำ� เนนิ กิจกรรมจติ อาสา เชงิ สรา้ งสรรค์เพอื่ ส่งเสรมิ และพฒั นาเดก็ และเยาวชนในพนื้ ทอ่ี ำ� เภอจะนะ จงั หวดั สงขลา ให้เตบิ โตเป็นกล้าใหม่ทมี่ คี วามร้คู ่คู ณุ ธรรม หนง่ึ กจิ กรรมทสี่ ำ� คญั นน่ั คอื “กจิ กรรมตน้ กลา้ สนั ตสิ ุข ตามรอยเท้าพ่อ” ซึ่งนอ้ มน�ำพระราชด�ำรัสและเร่ืองราวแหง่ ความดขี องในหลวง รัชกาลท่ี ๙ มาถ่ายทอดสู่เด็กและเยาวชน ทัง้ น้ี กิจกรรมของโครงการด�ำเนนิ ไปด้วยมี หลกั การทรงงานของในหลวงรัชกาลที่ ๙ เปน็ เขม็ ทศิ ชนี้ �ำทาง อันได้แก่ หลกั การระเบดิ จากขา้ งในและการแกป้ ัญหาจากจดุ เลก็ ๆ ผลจากการดำ� เนนิ กจิ กรรมเพอื่ สบื สานก้าวตาม รอยเท้าพ่อ สง่ ผลใหเ้ ดก็ และเยาวชนกวา่ ๕ ตำ� บลของอำ� เภอจะนะ ไดร้ บั แนวทางในการ ดำ� เนนิ ชวี ติ ทถ่ี กู ต้องและไดร้ บั แรงบนั ดาลใจในการทำ� ความดี รกั และดแู ลบา้ นเกดิ ของตนเอง นอกจากนใี้ นปีทผ่ี ่านมา “โครงการสบื สานพระราชปณิ ธานความดี สานใจพสี่ ่ใู จน้อง เพอื่ ชมุ ชนสนั ตสิ ขุ ” ยงั ไดร้ บั คดั เลอื กจากมลู นธิ สิ ำ� นกั งานทรพั ยส์ นิ สว่ นพระมหากษตั รยิ ใ์ หเ้ ป็น โครงการตน้ แบบระดบั ประเทศแกเ่ ยาวชนในภมู ภิ าคอน่ื ๆ อกี เช่นกนั ผมและสมาชกิ จติ อาสา ในกลุ่มทุกคนปลื้มปติ ิและดีใจเป็นอยา่ งยิ่ง ความสุขของผมคงจะเป็นความสุขเดียวกัน กับที่ในหลวงทรงมี ความสขุ น้ันน่ันกค็ อื ความสขุ ของการเป็นผ้ใู ห้น่ันเอง เรื่องเล่าจากบ้านเรา ตามรอยเท้าพอ่ จะไมม่ วี ันดับสญู หากทว่าจะยงั คงเปน็ เร่อื งเล่า ทมี่ พี ลงั แห่งแรงบนั ดาลใจตอ่ ไปอย่างไมม่ วี นั สน้ิ สดุ ตราบใดทค่ี นไทยยงั คงยดึ มน่ั กา้ วยา่ ง ตามรอยเท้าพ่อจากเรื่องเลา่ ท่ีสองหูไดฟ้ ัง จากภาพที่สองตาได้เห็นและจากตัวอักษรที่ หัวใจได้อ่าน เรอื่ งราวแห่งแรงบนั ดาลใจก็จะถา่ ยทอดจากรุน่ ไปส่รู ่นุ สงั คมไทยของเราก็ จะเปน็ สงั คมแหง่ การให้ การทำ� ดี และเสยี สละเพอ่ื สว่ นรวมกอ่ เกิดเปน็ สังคมแหง่ ความสขุ ทเ่ี พยี งพอและพอเพียงตามรอยเทา้ พ่ออย่างแทจ้ ริง

ระดับมัธยมศึกษา “เร่ืองเลา่ จากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” ๖๓ “ความทรงจำ�ของฟูฟ”ู สธุ าวณี กุลสันตติ รางวัลรองชนะเลิศอนั ดับ ๑ โรงเรยี นโพธิ์ครี ีราชศึกษา จ.ปัตตานี ในทกุ ๆ เยน็ จะเหน็ ชายชราพงุ โตทย่ี งั ดไู มค่ อ่ ยแกน่ กั กบั เดก็ นอ้ ยผมม้าสน้ั เตอ่ ตวั กลมดก๊ิ ขบั รถไปทเ่ี สาไฟฟ้าต้นหนง่ึ เปน็ ประจำ� เพอื่ ทจ่ี ะสบั สวติ ชเ์ ปดิ ไฟบนท้องถนนให้ผคู้ นได้ขบั ขี่ รถกันสะดวกยิง่ ขึ้น ทน่ี ่คี ือท่แี ห่งความทรงจำ� ดีๆ... อนั เปน็ ทร่ี วมความสุขไวข้ องเด็กตวั กลมคนนนั้ เดก็ หญงิ ฟฟู ู คือตวั หนูเอง ในบ้านหลงั หนงึ่ ทเ่ี ปน็ บา้ นไมธ้ รรมดาๆ ยกใตถ้ นุ สงู ภายในบา้ นหลงั นไี้ ม่มเี ครอื่ งเรอื น อะไรเลยนอกจากของใช้จำ� เป็นและสมาชกิ ในบ้านเทา่ น้นั คือ ลงุ ปา้ พีห่ นงิ และหนู ลงุ กบั ปา้ มีลกู ดว้ ยกนั สามคนคอื พหี่ นึ่ง พส่ี อง พ่หี นงิ พีห่ นึง่ เป็นลกู คนโตสดุ เปน็ ทหารเรือ สว่ นพ่ีสองเป็นคนทีส่ องตามชอื่ ทำ� งานเป็นวิศวกร และพีห่ นงิ คนสดุ ท้องเปน็ คณุ ครู พี่ หนง่ึ กบั พส่ี องไปทำ� งานตา่ งจงั หวดั เหลอื แตพ่ ห่ี นงิ ทอ่ี ยกู่ ับลงุ และปา้ เปน็ คณุ ครสู อนอยู่ใน โรงเรยี นใกลบ้ ้าน หนูเปน็ เด็กติดพี่หนิงมาก พ่ีหนิงไปไหนหนูจะไปด้วยเสมอ ในเวลาเชา้ พ่ีหนิงจะไป สอนหนงั สอื ตอนนน้ั ยงั จำ� ไดเ้ ลยวา่ วง่ิ ตามรถพห่ี นงิ ไปร้องไห้ไปด้วย นกึ แลว้ สงสารตัวเอง เหลอื เกนิ คงเหนอ่ื ยไม่นอ้ ยทเี ดยี ว วนั หนงึ่ ๆ ในชวี ติ ของหนตู นื่ ขนึ้ มานง่ั มองตำ� ลงึ และต้นไม้ ที่เขียวขจีหลังบา้ นแล้วก็บอกว่าอยากกินแกงจืดต�ำลึงซ่ึงหนูก็ได้กินเป็นประจ�ำอยู่แล้ว

๖๔ “เร่ืองเลา่ จากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพ่อ” ไม่รเู้ หมอื นกนั วา่ ทำ� ไมถงึ ตดิ ใจขนาดนน้ั พอตกตอนเยน็ กน็ ง่ั รถเลน่ ไปเปดิ ไฟทเ่ี สาไฟฟา้ กบั ลงุ พอคำ�่ กน็ อนดดู นมขวดดทู วี เี พลนิ ๆ บางคนื ก็จะมีส่ิงที่น่าอัศจรรย์ก็คือค้างคาวบินผ่านมาใหเ้ ห็น หนูรู้สึกตกใจ แต่นานเขา้ กช็ นิ ไมร่ สู้ กึ กลวั ความทรงจำ� นี้ยงั คงอย่ไู มจ่ างหายไป อำ� เภอทห่ี นอู าศยั อย่เู ป็นทท่ี อ่ี ดุ มสมบรู ณม์ าก ทนี่ ค่ี อื อำ� เภอสคุ ริ นิ เปน็ อ�ำเภอหน่ึงในจังหวัดนราธิวาส สมบูรณ์ถึงข้ันมีแรท่ องค�ำเลย ทเี ดยี ว สคุ ริ นิ เป็นอำ� เภอทอ่ี ยบู่ นเขามพี น้ื ทไี่ มใ่ หญ่มากแต่มที ที่ ่องเทย่ี ว และโครงการพระราชดำ� รขิ องในหลวงรชั กาลที่ ๙ อยหู่ ลายโครงการ อย่างเชน่ ทีต่ ำ� บลภูเขาทอง มแี ร่ทองคำ� ให้นักทอ่ งเทย่ี วไดม้ าค้นหา และมีศาลเจ้าแม่โต๊ะโมะ ในทุกๆ ปีก็จะมีการแสดง มีการจัดงาน สมโภชศาลเจ้าแมฯ่ ขน้ึ เป็นประจำ� ซ่งึ จะมีการแสดงหวาดเสยี วให้ ดูหลายอยา่ งแตท่ ี่ยังจ�ำติดตาตั้งแต่ตอนนั้นคือหนูเห็นเขาเอาดาบ แทงลิน้ ของเขาชัดๆ เตม็ สองตาเลยแตเ่ ขาไม่เป็นอะไร ไม่เจ็บปวด หรอื มบี าดแผล ซึ่งมนั น่าทึง่ มาก บางทกี ็มกี ารว่งิ ลุยไฟบ้าง แทงมอื ใหด้ ูบ้าง ซ่ึงกิจกรรมจะเปล่ียนไปในทุกๆ ปีเพื่อท่ีจะไดแ้ สดงถึง อทิ ธฤิ ทธข์ิ องเจา้ แม่ กอ่ นหน้าทีห่ นจู ะมคี วามสขุ กบั สง่ิ ท่หี นูเล่ามา คนทเ่ี มืองนีต้ ้อง ทุกขท์ นกับความล�ำบากเปน็ อย่างมากในอดีตลุงและป้าเคยเล่าวา่ “เมอ่ื กอ่ นคนแถวนไ้ี ม่มีน้ำ� ใชห้ รอกนะ ค่อนข้างขาดแคลนน�้ำเลยละ่ เวลาอาบนำ้� กต็ ้องพากนั ไปอาบทคี่ ลองแถวๆ บา้ น ตอนนนั้ พออาบกนั เสร็จสักชวั่ โมงกพ็ ากนั คันทง้ั ตวั ” “แล้วทำ� ยงั ไงล่ะคะทนี ”ี้ เดก็ ตวั กลมถามป้า “กท็ ายาแก้คนั กนั ไงล่ะ” ป้าเลา่ ต่อว่า “พอตอนหลงั กม็ โี ครงการฝายคลองโต๊ะโมะอนั เนอ่ื งมาจาก พระราชดำ� รนิ แ้ี หละทชี่ ว่ ยไว้ พอทางอบต.ยนื่ เรอ่ื งไปใหท้ ่าน ทา่ นก็ รับทนั ทแี ละต่อมาไม่นานเรากไ็ ด้ใช้น้�ำจากฝายคลองน้ีแหละท่ีชว่ ย ส่งน�้ำไปยังบา้ นตา่ งๆ ต้องขอบพระคุณทา่ นจริงๆ ที่ชว่ ยพวกเรา ชาวบา้ นไว้ไมป่ ลอ่ ยปละละเลย” พอป้าพดู จบปา้ กแ็ หงนหน้าขน้ึ มอง

ระดบั มัธยมศกึ ษา “เรื่องเลา่ จากบา้ นเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” ๖๕

๖๖ “เร่อื งเล่าจากบา้ นเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” รปู ภาพทฝี่ าผนงั และค่อยๆยกมอื ทเี่ หยี่ วคลำ�้ จากการถกู แดดเผามาพนมและน้อมไหวร้ ูปนั้น พรอ้ มกับเอ่ยปากว่า “ขอบคณุ ทา่ นจรงิ ๆ” หนูอดคิดไม่ไดว้ ่าถา้ ไมม่ ีโครงการฝายคลองโตะ๊ โมะอันเนื่องมาจากพระราชดำ� ริน้ีหนู ฟูฟูอาจจะไม่มีโอกาสไดส้ ัมผัสความสุขกับการมองต�ำลึงที่เขียวชอุม่ ก็เป็นได้เพราะต�ำลึง พวกนคี้ งแห้งเฉาไมน่ ่ามองและอาจจะตายไปหมดทง้ั แถบ แลว้ กค็ งจะไม่มคี า้ งคาวบนิ โฉบ มาให้เห็นถ้าพื้นท่ีตรงน้ันขาดความอุดมสมบูรณ์นับวา่ เปน็ ความโชคดที มี่ นี ำ้� จากฝายมา ช่วยท�ำให้เกิดความเจริญงอกงามและความอุดมสมบูรณ์ เด็กน้อยตัวกลมนึกพลางแลว้ คอ่ ยๆ ยกมือป้อมๆ ของตวั เองขน้ึ พนมมอื และมองรูปน้ันเหมือนที่คุณปา้ มองพร้อมพูด วา่ “ขอบคุณคะ่ ” และหันมายิ้มน้อยๆ ให้กับคณุ ปา้ ภาพแหง่ ความทรงจ�ำทุกอย่างยังฝงั แนน่ อยู่ในใจของหนูนอ้ ยกลมด๊ิกคนนี้ หาไม่ได้ จากไหนอกี แลว้ ความสุขเพยี งแค่การมองตำ� ลงึ เพียงแค่การเปิด-ปิดสวิตซท์ เ่ี สาไฟ เพยี ง แค่การมองสนุ ขั วงิ่ เลน่ เพยี งแคน่ อนรอคา้ งคาว เพยี งแคว่ งิ่ ตามรถพห่ี นงิ เร่ืองแคน่ กี้ ท็ �ำให้ เรามีความสุขไดถ้ ือเปน็ อะไรที่นา่ ท่ึงสุดๆ ชีวิตท่ีไมเ่ คยมีอะไรเลยท�ำไมช่างมีความสุขได้ มากขนาดนี้ ความสขุ มนั อยทู่ ใี่ จจรงิ ๆไมใ่ ช่เงนิ ทอง ขนาดหลงั คาบ้านรว่ั ยงั ไมเ่ ครยี ดเลย ช่าง น่าอัศจรรย์จริงๆ นึกแล้วก็คิดถึงช่วงเวลาน้ันท่ีผา่ นมา และมันก็ผา่ นมานานเหลือเกิน เกินกวา่ ท่ีจะท�ำใหม้ ันเปน็ เหมือนเดิมได้ หลังจากน้ีก็ไมม่ ีอีกแลว้ แกงจืดต�ำลึง คุณลุงพุง แตงโม เดก็ หญงิ ตวั กลมดกิ๊ คณุ ครพู หี่ นงิ คณุ ปา้ ทแี่ สนใจดี ทกุ อยา่ งกลายเปน็ เรื่องราว ความทรงจ�ำในอดีตที่แสนสุข จากวนั นนั้ จนถงึ วนั น้ี ผา่ นมานานหลายปแี ลว้ เดก็ น้อยอ้วนกลมหรอื ฟฟู คู นนน้ั กก็ ลายเปน็ สาวนอ้ ยวยั แรกรนุ่ รปู ร่างเปลยี่ น ทรงผมเปลยี่ น นำ้� เสยี งมคี วามแหลมขน้ึ ท่เี หลอื อย่คู งเปน็ เค้าโครงเดิมของใบหน้าที่เปลี่ยนไปไมม่ ากนัก หนูและครอบครัวได้ย้ายมาตั้งถ่ินฐานอยู่ ทต่ี �ำบลนาประดู่ อ�ำเภอโคกโพธิ์ จงั หวดั ปตั ตานี เพราะหลังจากทเ่ี สยี พอ่ ไปดว้ ยโรครา้ ย แม่ก็คงตอ้ งการหาที่พึ่งจึงย้ายมาอยูก่ ับเพื่อนเกา่ สมัยเรียนท่ีอยู่แถวนี้ และเปดิ ร้านขาย ของช�ำเล็กๆ ตอนนั้นเป็นวันที่หนูย้ายมาใหมๆ่ คุณแมแ่ ละเพ่ือนของแมบ่ อกจะพาหนู ไปเลน่ ท่ีนำ�้ ตกทรายขาว หนูตืน่ เตน้ มากเพราะไม่เคยไดเ้ ลน่ น้ำ� ตกเลยตัง้ แตเ่ กิดมาไดเ้ ลน่ แตน่ ำ้� ทะเลและน�ำ้ คลอง เมือ่ ถึงวันทต่ี กลงกนั เรากพ็ ากนั ไปขึ้นรถทบ่ี า้ นเพือ่ นแม่ โดยมี ผรู้ ว่ มเดินทางทงั้ หมด ๕ คน คอื เพ่ือนแม่ พ่ียุย้ พี่โจอ้ี แม่ และหนู ระหว่างที่รถ ๔ ล้อ

ระดับมธั ยมศึกษา “เรอื่ งเลา่ จากบา้ นเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” ๖๗ ขบั เคลอ่ื นไปตามเส้นทางเรอื่ ยๆ สองขา้ งทางกเ็ ตม็ ไปดว้ ยตน้ ไม้ทเี่ ขยี วชอ่มุ แต่พอผา่ นไป สกั พกั กเ็ หน็ ฝายคลอง หนเู ลยสงสยั วา่ ทำ� ไมแถวนตี้ ้องมฝี ายคลองด้วยทง้ั ๆทบี่ รเิ วณนร้ี ม่ รนื่ ขนาดนี้ หนกู เ็ ลยถามแมไ่ ป แตส่ งิ่ ทไ่ี ด้กลบั มาคอื แม่กไ็ มร่ ้เู หมอื นกนั เพราะแมก่ เ็ พง่ิ ยา้ ยมา หนเู ลยร้สู กึ ผดิ หวงั นดิ หน่อยทไี่ มไ่ ด้คำ� ตอบในเรอ่ื งน้ี แต่เพอื่ นแมค่ นนเ้ี ขาร้แู ละเล่าใหฟ้ ังว่า “เมื่อก่อนคนแถวนี้เขาประสบปัญหาขาดแคลนน�้ำ ส�ำหรับการใช้อุปโภคและบริโภคใน ช่วงหน้าแล้งนะ่ เลยสรา้ งไวใ้ หม้ ีน�้ำใชไ้ ด้เพยี งพอตลอดท้งั ปแี ละใช้ในการประกอบอาชพี เกษตรกรรมได้” พอหนฟู ังจบหนกู ็นกึ ยอ้ นกลับไปในอดตี ทำ� ไมเรอื่ งราวมนั ช่างคล้ายคลงึ กับท่สี ุคิรนิ มคี นจ�ำนวนมากทีเ่ คยประสบปัญหาขาดแคลนน้ำ� แตก่ ไ็ ด้โครงการนี้มาช่วย อกี แลว้ “แลว้ ฝายนเ้ี รยี กว่าอะไรเหรอคะ” หนเู อ่ยปากถามเพ่อื นของแม่ “ฝายคลองช่องเรอื เปน็ ฝายในโครงการพระราชด�ำรจิ ะ้ ฟฟู ู” เพอื่ นแมต่ อบกลบั มา “ทำ� ไมมแี ตโ่ ครงการเกย่ี วกับนำ�้ ล่ะคะ เหมือนท่สี คุ ริ นิ เลย” หนยู งั ซักถามตอ่ “ทา่ นถอื เปน็ พระบดิ าแห่งการจดั การนำ้� เลยนะ” คราวนแ้ี มเ่ ป็นคนตอบบา้ ง พร้อมเล่าตอ่ วา่ “ยังมีอีกหลายที่น่ันแหละท่ีประสบปญั หาเก่ียวกับการใช้น�้ำในทั่วประเทศ จะน�้ำล้น จะนำ�้ แห้งหรอื อะไร ท่านกจ็ ะร้จู กั วธิ กี ารแกป้ ัญหาอย่างดบิ ดี เปรยี บเสมอื นท่านเป็นเจ้าของ น้�ำที่รจู้ กั วธิ ใี ชม้ ันมากทสี่ ดุ ” พอได้ยินแบบน้ีแลว้ หนูรูส้ ึกว่าทา่ นไม่เคยที่จะทอดท้ิงประชาชนเลยแมจ้ ะอยูใ่ นเขต สามจังหวัด ไม่ว่าจะเป็นสุคิรินเมืองเล็กๆ หรือทรายขาวหมูบ่ ้านเล็กๆ ท่ีเปน็ สถานที่ ท่องเท่ียว ท่านก็ยังใสใ่ จคอยดูแลคอยแกป้ ญั หาให้อยา่ งต่อเนื่อง นี่สินะถึงท�ำให้ทา่ นมี โครงการในพระราชด�ำริถึงสี่พันกว่าโครงการ ทั้งหมดนี้เกิดจากความเดือดร้อนของ ประชาชน แตห่ นง่ึ โครงการเลก็ ๆ กม็ คี นไดป้ ระโยชนเ์ ป็นร้อย เป็นพนั คน แล้วสพี่ นั กวา่ โครงการทว่ั ประเทศจะสร้างประโยชนใ์ ห้แก่คนในประเทศได้มากขนาดไหน ในอดตี ถงึ ปจั จบุ นั มคี วามทรงจำ� มากมายทผี่ ่านมาให้จำ� จะดหี รอื จะรา้ ย แตถ่ ้าสงิ่ ทเ่ี ปน็ ความทรงจำ� ทเ่ี ปน็ ความสขุ กจ็ ะอยกู่ บั เราไดน้ านเปน็ พเิ ศษ แต่ถา้ ลองคดิ ดทู กุ ๆ ความทรงจำ� ทสี่ วยงามมกั มี ในหลวงรชั กาลที่ ๙ อย่เู บอ้ื งหลงั ความสขุ เหลา่ นนั้ เสมอ ดงั่ เชน่ ความทรงจำ� ของหนู ฟูฟู

๖๘ “เรอ่ื งเลา่ จากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ”

ระดบั มัธยมศกึ ษา “เรือ่ งเลา่ จากบ้านเรา... ตามรอยเทา้ พอ่ ” ๖๙ “เหตุผลของหยดน�้ำ” ฮาซานา หะยีดอเลา๊ ะ รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ ๒ โรงเรียนธรรมวทิ ยามลู นิธิ จ.ยะลา โลกมกั มคี ำ� สองพยางคน์ เี้ ปน็ องค์ประกอบของมนั เสมอ คำ� ว่า “เหตผุ ล” บางครงั้ อาจเปน็ เรอ่ื งทดี่ ี แต่ในบางครงั้ อาจกลบั เปน็ สงิ่ ท่ี เลวร้ายทส่ี ดุ ในชวี ติ เฉกเช่นเดยี วกบั ในพ้นื ท่ีท่ีประสบปัญหาเกย่ี ว กับภยั แลง้ อยา่ งต�ำบลพรอ่ น อ�ำเภอเมือง จงั หวัดยะลา เพยี ง เพราะคำ� ว่า “แล้ง” เปน็ เหตุใหช้ าวบา้ นไม่สามารถทจี่ ะประกอบ อาชีพของตนได้ เช่นเดียวกันเมื่อย่างเขา้ ฤดูฝน พ้ืนที่แหง่ นี้ก็จะ ประสบกบั เหตกุ ารณอ์ ทุ กภยั สง่ ผลใหพ้ น้ื ทเ่ี กษตรเกดิ ความเสยี หาย นำ�้ ตาทหี่ ลง่ั รนิ ของพนื้ ทเ่ี ลก็ ๆ แหง่ นย้ี อ่ มถกู มองขา้ มเสมอ แต่นนั่ เปน็ เพยี งเหตุการณก์ อ่ นพทุ ธศักราช ๒๕๕๔ เท่านั้น. ๒๙ มกราคม ๒๕๖๑ เปน็ วนั ทข่ี ้าพเจา้ และคณะชาวค่ายการเขยี น และการเรยี นรโู้ ครงการตามแนวพระราชดำ� รไิ ด้ไปเยยี่ มเยยี นสถานที่ แหง่ น้ี หากเปรยี บกับเหตกุ ารณ์ในช่วงกอ่ นพุทธศักราช ๒๕๕๔ แล้วอาจกล่าวได้ว่าเป็นการเปลย่ี นแปลงครง้ั ยงิ่ ใหญข่ องชาวบา้ น ณ ทแ่ี ห่งนเี้ ลยกว็ ่าได้ เนอื่ งจากโครงการแก้มลงิ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว รัชกาลที่ ๙ สามารถเปลี่ยนให้สถานที่แห่งนี้ให้ กลายเป็นแหล่งเกษตรกรรมทสี่ รา้ งรายได้และได้รบั การพฒั นามา จนถงึ ปัจจุบนั สิ่งทีเ่ ราทกุ คนสมั ผัสได้ ณ ขณะนน้ั คือ หยดน�้ำ มากมายรวมตัวกันเปน็ สายธารใชห้ ลอ่ เลี้ยงผูค้ นในต�ำบลพร่อน ใหม้ ชี วี ติ ทม่ี น่ั คงยงิ่ ขน้ึ เหตผุ ลอะไรทที่ ำ� ใหพ้ น้ื ทแี่ ห่งนไี้ ด้มโี ครงการ

๗๐ “เร่อื งเล่าจากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” แก้มลงิ เกดิ ขน้ึ เพราะความสงสยั นที้ ำ� ให้ข้าพเจ้าตดั สนิ ใจเข้าไปสอบถามรายละเอยี ด เกีย่ วกับโครงการแก้มลิงแหง่ น้กี ับท่านวทิ ยากรดอเลาะอาลี สาแม ท่านได้ทำ� งาน ชว่ ยเหลอื ชาวบา้ นเชน่ น้มี าตลอด ๓๘ ปโี ดยทท่ี ่านไม่ได้รับค่าตอบแทนเลยสกั บาท เหตุใดท่านถงึ ต้องเสียสละมากมายถงึ เพยี งนี้ เพราะทา่ นเพยี งตอ้ งการทีจ่ ะท�ำเพื่อ ชาวบา้ นและลกู หลานในอนาคตเหมอื นพระองคท์ ่าน ทา่ นได้อธบิ ายวธิ กี ารทรงงาน ของพระองคว์ า่ “แนวพระราชด�ำริในการแกป้ ัญหาเรือ่ งน�ำ้ มีอยูด่ ้วยกัน ๓ ขอ้ คือ หานำ้� ให้เจอ กกั นำ้� ใหอ้ ยู่ และบริหารน�้ำใหเ้ ปน็ ” แตส่ ิ่งทข่ี ้าพเจ้ารสู้ ึกประทับใจมาก ทส่ี ดุ คอื การมองปัญหาของทา่ น “การคดิ ทจี่ ะทำ� แกม้ ลงิ ต้องหา้ มมองแค่ว่ากนั นำ้� ทว่ ม แต่ใหม้ องภาพรวมอยา่ งเป็นระบบ”. อาจกลา่ วไดว้ า่ การลงมือทำ� โครงการในคร้ังนสี้ ง่ ผลให้ชาวบ้าน ณ พืน้ ที่แหง่ น้ีมี วถิ ชี วี ติ ทดี่ ยี ง่ิ ขน้ึ เช่นเดยี วกบั อกี พนื้ ทหี่ นง่ึ ทข่ี า้ พเจา้ และคณะได้ไปศกึ ษาดงู านเช่นกนั นนั่ กค็ อื โครงการอา่ งเกบ็ นำ้� บ้านไบก์อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ ตำ� บลบดุ ี อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ยะลา ซง่ึ กอ่ นหนา้ นชี้ าวบา้ นในพน้ื ทแี่ หง่ นก้ี ป็ ระสบกบั ปญั หาภยั แล้งและอทุ กภยั เชน่ เดยี วกบั ตำ� บลพร่อน สง่ิ ทข่ี า้ พเจา้ สามารถสมั ผสั ได้อย่างชดั เจนทส่ี ดุ ณ พน้ื ทแ่ี หง่ น้ี คือ ความตงั้ ใจของขา้ ราชการไทยทตี่ อ้ งการชว่ ยเหลือชาวบ้านอย่างเตม็ ที่ “ถงึ รู้วา่ มันเปน็ เร่ืองที่เส่ียง แต่เราก็ต้องท�ำ” ค�ำพูดของท่านกิตติพงษ์ นิลนิยม นายชา่ ง ชลประทานชำ� นาญงานทมี่ าเป็นวทิ ยากรในวนั นน้ั คำ� พดู ของท่านทำ� ให้ข้าพเจา้ เชอ่ื ว่า หยาดเหงอ่ื ของพระองคท์ ่านจะไมม่ วี ันสูญเปลา่ แผนท่ีทอ่ี ยใู่ นพระหตั ถข์ องทา่ นจะ ไม่มวี ันสูญหายหากชาวไทยทุกคนรว่ มใจกนั ท�ำตามศาสตร์ของพระราชา. “อยา่ ยึดติดว่าเงนิ เทา่ นัน้ ที่สามารถวดั ระดบั ของตวั เราในสังคม แตใ่ หด้ �ำรงชวี ติ อยู่ดว้ ยการใช้ศาสตร์ของพระราชาทีว่ า่ ‘กินของท่ปี ลกู ปลกู ของที่กิน’ เราก็จะอยู่ ได้โดยไม่ต้องพ่ึงคนอื่นและสามารถช่วยเหลือผู้อ่ืนไดด้ ้วยการแบ่งปัน” ค�ำพูดของ ท่านกวี ลิม่ อสุ ันโน ผ้แู ทนจากศนู ย์ศึกษาการพัฒนาพกิ ุลทอง ท่ที ำ� ใหข้ ้าพเจ้ามีแรง บันดาลใจท่ีจะน�ำศาสตรข์ องพระองคท์ ่านที่ถูกถา่ ยทอดผา่ นโครงการอันเนื่องมา จากพระราชดำ� รติ ่างๆ มาปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ หากเราลอง

ระดับมัธยมศกึ ษา “เรือ่ งเลา่ จากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” ๗๑ สมั ผสั เข้าไปลกึ ๆ แลว้ แต่ละโครงการทพี่ ระองคท์ ่านได้ทำ� ไว้มกั แทรกไปดว้ ยความรกั ทม่ี อบแกพ่ สกนกิ รของท่าน เราชาวไทยทกุ คนควรนำ� สงิ่ ดๆี จากพระองค์ทา่ นนำ� ไปใช้ ไม่เพยี งแต่โครงการตา่ งๆ ของพระองค์ท่านทส่ี ามารถทำ� ใหว้ ถิ ชี วี ติ ของเราสมดลุ ขน้ึ หากแตเ่ ปน็ การเอาใจใส่ใจผู้อนื่ ให้มากข้นึ พระองค์ทา่ นสอนให้คนไทยทุกคนรกั กัน โดยไมจ่ �ำกัดเพศหรือศาสนา การน�ำส่ิงท่ีทา่ นสอนมาชว่ ยเหลือพี่นอ้ งรว่ มประเทศ อาจเปน็ จดุ ประสงคอ์ นั สงู สดุ ของพระองคท์ ่านทส่ี ามารถปลกู ความสามคั คี ความรกั ให้เกิดขึ้นบนผืนแผน่ ดินไทยทไ่ี ม่อาจใช้เงนิ ทองหาซอ้ื ได้ ถึงแมม้ ันอาจจะไม่ไดส้ รา้ ง ความร่�ำรวยหรือเงินทองมากมายให้กับพสกนิกรชาวไทยก็ตามเพียงแคเ่ รารู้จักน�ำ โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� รติ ่างๆ ของทา่ นกลบั มาพฒั นาชวี ติ ความเป็นอยู่ ของเรา ในทนี่ ขี้ า้ พเจา้ ขอหยบิ ยกตวั อย่างง่ายๆ ทเี่ ราทกุ คนสามารถนำ� มาปรบั ใชไ้ ด้ อาทิ โครงการเศรษฐกจิ พอเพยี งทที่ ำ� ใหเ้ ราร้จู กั ทจ่ี ะอย่ไู ด้โดยไมล่ ำ� บาก หรอื อาจเปน็ แนวคิดของพระองคท์ ่านท่ีว่า ‘ท�ำเร่ืองยากให้เปน็ เร่ืองงา่ ย’ ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีเราผูเ้ ปน็ นักเรียนทุกคนสามารถน�ำมาปฏิบัติได้ เพียงแค่เราลงมอื ท�ำ. ความรูส้ ึกของข้าพเจ้ากับภาพตรงหนา้ ที่ซึ่งส�ำหรับประชาชนชาว ๓ จังหวัด ชายแดนใต้แล้วอาจเปน็ ได้เพยี งภาพวาดในความฝนั บดั นไี้ ดก้ ลบั กลายเป็นความจรงิ ทสี่ ัมผสั ได้ คือ ผืนแผน่ ดินทีเ่ ต็มไปดว้ ยหญ้าสีเขยี ว สายธารทีท่ อประกายเม่อื ถกู แสงแดดกระทบ ต้นไมพ้ ืชพรรณที่พรอ้ มกันเจริญงอกเงยจากพ้ืนดิน เปน็ ภาพท่ี ท�ำใหข้ า้ พเจา้ นึกถึงขณะที่ถือศีลอด น้�ำคือส่ิงท่ีเราตอ้ งการมากท่ีสุด เช่นเดียวกับ ตน้ ไม้เมอ่ื ขาดนำ้� เขาก็จะเห่ียวเฉาและตายในทีส่ ดุ พระองคท์ า่ นไม่ไดม้ องเหตุนเี้ ป็น เพียงจุดเล็กๆ ที่ควรมองขา้ ม แต่กลับใช้หยาดเหงื่อของทา่ นหลอมรวมกลายเป็น สายน�้ำใช้หลอ่ เลีย้ งทุกสรรพสงิ่ บนผืนแผน่ ดินไทยให้กลบั มามชี ีวิตอีกครง้ั . จากเหตุเล็กๆ ที่เป็นผลอันย่ิงใหญ่ เปรียบเสมือนกับหยดเหงื่อบนพระพักตร์ ของพระองค์ท่ีกลายเปน็ สายธารใหเ้ หล่าปวงชนชาวไทยไดร้ ะลึกถึงบุญคุณอัน ล้นพน้ ท่สี ามารถเปล่ยี นน�ำ้ ตาเป็นรอยยิม้ ไดเ้ พียงเพราะ “เหตุผลของหยดนำ้� ” ที่ ไมอ่ าจลมื เลือน

๗ ๒ “เรอ่ื งเลา่ จากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ”

ระดบั มธั ยมศึกษา “เร่อื งเลา่ จากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพ่อ” ๗๓ “เหตุเกิด ณ พ้นื ท่ีสแี ดง” อสุ มาน วาเตะ๊ โรงเรียนประสานวิทยามูลนธิ ิ จ.ปัตตานี มากกวา่ ๕๐๐ โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ และศนู ย์ การศกึ ษาการพฒั นาอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระราชทานใหแ้ กร่ าษฎร ในพนื้ ทส่ี แี ดงหรอื พนื้ ทส่ี ามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ทรงพระราชทาน ผา่ นโครงการทคี่ รอบคลมุ ด้านการเกษตร ทรพั ยากรนำ�้ ทรพั ยากรดนิ ทรพั ยากรปา่ ไม้ การสง่ เสรมิ อาชีพ การสื่อสาร ส่งิ แวดลอ้ มและ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ นวตั กรรม ฝนหลวง การศกึ ษา รวมไปถึงด้านหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและดา้ นอ่ืนๆ อกี มากมาย พระองค์ทรงเปลยี่ นความเป็นอยขู่ องพสกนกิ รในพนื้ ที่ สามจังหวัดชายแดนใตจ้ ากความทุกขย์ ากล�ำบากใหก้ ินดีอยู่ดี ท�ำใหเ้ กิดความเจริญรุง่ เรืองและพร้อมที่จะกา้ วไปข้างหน้าดว้ ย ความหวงั และกำ� ลงั ใจจากนำ�้ พระราชหฤทยั ของพระองค์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเป็น พระมหากษตั รยิ ท์ คี่ รองแผน่ ดนิ และครองใจคนไทยในทกุ ภาคสว่ น ประชาชนรกั และเทิดทนู พระองค์ด้วยหวั ใจอนั บรสิ ทุ ธิ์ ประชาชน เหน็ และสมั ผสั ไดด้ ว้ ยตนเองถงึ ความรกั ความห่วงใยและการอทุ ศิ กำ� ลงั พระวรกายและสตปิ ัญญาเพอื่ ชว่ ยเหลอื อาณาประชาราษฎร์

๗๔ “เร่อื งเลา่ จากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพ่อ” ของพระองค์ พระองค์ทรงมพี ระวริ ยิ ะอตุ สาหะ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปทว่ั ทกุ แห่งใน ผนื แผ่นดนิ ไทย ไม่เวน้ แม้แตพ่ น้ื ทส่ี ามจังหวดั ชายแดนใต้ ซ่งึ เปน็ พ้ืนทีท่ ่กี �ำหนดเป็น เขตสแี ดง เนอ่ื งจากเกดิ เหตกุ ารณ์ความไม่สงบอยบู่ ่อยครง้ั แต่พระองคก์ ไ็ ม่ทรงคดิ ท่ี จะถดถอย ทรงบุกน�ำ้ ลุยไฟ เพราะพระองคท์ รงร้วู ่าราษฎรของพระองค์ ต้องการได้ รับความช่วยเหลอื ในการบำ� บดั ทกุ ข์ บำ� รงุ สขุ อาจกลา่ วได้วา่ ไม่มที ใี่ ดในแผน่ ดนิ ไทย ทรี่ อยพระบาทยาตราไปไม่ถงึ การทพ่ี ระองคเ์ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ เยยี่ มเยยี นราษฎร ในพนื้ ทส่ี ามจงั หวดั ชายแดนใต้ ทำ� ใหพ้ ระองค์ทรงทราบถงึ ปญั หาสว่ นใหญข่ องราษฎร อนั ได้แก่ปญั หาดา้ นการเกษตร ทรัพยากรน�ำ้ ทรพั ยากรปา่ ไม้ และปัญหาดา้ นอ่ืนๆ ท่ีตอ้ งการได้รับความชว่ ยเหลือ พระองค์จึงทรงมีความมุ่งม่ันที่จะช่วยเหลือและ แกป้ ญั หาใหร้ าษฎรมีความเป็นอยูท่ ่ีดีขึ้น ทรงศึกษาหาแนวทางตา่ งๆ จนเกิดเปน็ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริมากมายในพื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนใต้ ซึ่งคลอบคลุมในด้านต่างๆ แตล่ ะโครงการก่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาพื้นที่ อยา่ งรวดเร็ว อกี ทงั้ เกิดประโยชนส์ ุขแกร่ าษฎรอย่างแท้จริง กระผมเปน็ ประชาชนคนหนง่ึ ทอ่ี าศยั อย่ใู นพน้ื ทส่ี ามจงั หวดั ชายแดนใต้ ซง่ึ กระผม ซาบซง้ึ ถงึ ความหว่ งใยของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชทที่ รงมี ตอ่ ราษฎรในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ ซึ่งจังหวัดปตั ตานีเป็นหนึ่งในพ้ืนที่ท่ีมี โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริหลายโครงการ นับว่าเป็นพระมหากรุณาธคิ ณุ อย่างหาทส่ี ดุ มไิ ด้ นบั วา่ เปน็ ความโชคดขี องราษฎรจงั หวดั ปัตตานแี ละจงั หวดั ใกล้เคยี ง ทคี่ รง้ั หนง่ึ รอยพระยคุ ลบาทของพระองค์ไดเ้ ปน็ รอยประทบั ตราเคยี งคจู่ งั หวดั ปตั ตานี หนึ่งในเรื่องราวของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ที่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จมาทรงงานในพ้ืนท่ีจังหวัดปัตตานี ซ่ึงโครงการน้ี เรียกไดว้ ่าเปน็ หนึ่งในต�ำนานที่ทรงคุณคา่ ของปตั ตานี น่ันก็คือ โครงการเล้ยี งปลาน�้ำกรอ่ ย (ปลารอ้ งไห้) อนั เนือ่ งมาจากพระราชดำ� ริ ซึ่งเร่ืองราว ที่มาของโครงการปลาร้องไหน้ ี้ เรม่ิ มาจากชายคนหนงึ่ มีชื่อว่านายอูเซง ซาและแม เป็นชาวบ้านปาตาตีมอ อ�ำเภอสายบุรี จังหวัดปตั ตานี ซึ่งมีอาชีพเลี้ยงปลากะพง ขาวในกระชัง ในพื้นท่ีบริเวณแมน่ ้�ำสายบุรี โดยมีงบประมาณจากสหกรณ์เพ่ือ

ระดบั มัธยมศกึ ษา “เรือ่ งเลา่ จากบ้านเรา... ตามรอยเทา้ พ่อ” ๗๕ การเกษตรมาลงทนุ จนกระทง่ั มอี ยชู่ ว่ งหน่งึ ชลประทานมีการปล่อยน�ำ้ โดยทไ่ี มม่ ี การประกาศให้ชาวบ้านได้รบั รไู้ ว้ล่วงหนา้ ซง่ึ นำ้� ทปี่ ล่อยมานน้ั เป็นนำ้� กรอ่ ยมสี ภาพ เป็นกรดรนุ แรง ลงส่แู มน่ ำ้� สายบรุ ี เปน็ เหตทุ ำ� ใหป้ ลากะพงในกระชงั ทีน่ ายอเู ซงและ ชาวบา้ นเลี้ยงน้ันเกิดการน็อกน้�ำและพากันตายหมด เพราะปลากะพงไมส่ ามารถ ทนต่อสภาพนำ�้ กร่อยได้ ส่งผลให้คา่ ใชจ้ า่ ยภายในครอบครวั ของนายอเู ซงไม่สามารถ หมนุ เวยี นได้ อกี ทง้ั ยงั เป็นหนข้ี องสหกรณ์เพอื่ การเกษตรอกี จำ� นวนไม่นอ้ ย นายอเู ซง จึงเรียกร้องขอความชว่ ยเหลือจากหนว่ ยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมาท�ำการชดเชย ค่าเสียหายดังกล่าว แต่กลับไม่ได้รับการชดเชยใดๆ เลย ตอ่ มาได้มีข่าวคราววา่ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชจะเสดจ็ มาทรงงานทจ่ี งั หวดั ปัตตานี ท�ำให้นายอูเซงและชาวบา้ นในพ้ืนที่ท่ีได้รับความเดือดรอ้ นรู้สึกดีใจเปน็ อย่างยิ่ง นายอเู ซงจงึ ตดั สนิ ใจทจ่ี ะกราบทลู ถงึ ความเดอื ดร้อนดงั กล่าวให้พระองค์ได้ทรงทราบ และแลว้ วันส�ำคัญก็มาถึง นายอูเซงและชาวบ้านจึงเดินทางไปรอรับเสด็จด้วย ความมน่ั ใจ แต่พอถงึ เวลาพบพระองค์ ดว้ ยความตนื่ เตน้ และตวั สน่ั กลบั พดู อะไรไมอ่ อก จๆู่ นายอเู ซงและชาวบา้ นทรี่ อรบั เสดจ็ พากนั รอ้ งไห้เป็นเวลาเกอื บครงึ่ ชวั่ โมง พระองค์ จงึ ตรสั มาวา่ “ใครพดู ได้ ช่วยอธิบายหนอ่ ยว่าชาวบา้ นร้องไห้กนั ท�ำไม” ชาวบา้ นท่ี อยขู่ ้างๆ จงึ อธบิ ายใหพ้ ระองคไ์ ด้ทรงทราบ จนกระทง่ั พระองค์ทรงรับทราบถงึ เรอ่ื ง ราวและรับรู้ถึงสาเหตุท่นี ายอเู ซงและชาวบา้ นพากันร้องไห้ จากน้นั ไม่นาน นายอู เซงและชาวบ้านกไ็ ดพ้ ระราชทานพนั ธ์ปุ ลากะพงขนาด ๑ นว้ิ ครอบครวั ละ ๑,๐๐๐ ตวั อกี ทงั้ อาหารปลาและสง่ั ซอ้ื อวนพระราชทานเพอื่ มาทำ� กระชงั ใหม่ พรอ้ มทงั้ ทรงกอ่ ตง้ั โครงการเลยี้ งปลานำ้� กรอ่ ย (ปลาร้องไห)้ อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ ทบ่ี า้ นปาตาตมี อ อำ� เภอสายบรุ ี จงั หวดั ปัตตานี ด้วยพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระองคใ์ นวนั นนั้ จงึ ทำ� ให้ ไม่ตอ้ งมีทั้งปลาและคนร้องไห้อีกตอ่ ไป นับว่าเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้นท่ี พระองคท์ รงห่วงใยราษฎรของพระองค์ ทกุ ๆ ครง้ั ทกี่ ระผมได้พดู ถงึ เรอ่ื งราวของโครงการนท้ี ไี ร แทบจะอดใจไม่ไหว ทจี่ ะยม้ิ เบาๆ ทม่ี มุ ปากผสานกบั นำ้� ตาคลอ เนอื่ งจากกระผมไม่เคยลมื นำ้� พระราชหฤทยั ของพระองค์ที่ทรงมอบใหแ้ ก่ครอบครัวของนายอูเซงและชาวบ้านปาตาตีมอ

๗ ๖ “เร่อื งเล่าจากบา้ นเรา... ตามรอยเทา้ พอ่ ” อำ� เภอสายบรุ ี จนทำ� ให้วถิ ชี วี ิตที่เคยยากจน กลายมาเป็นชวี ติ ทอี่ ยดู่ ีกินดีจนถึงทกุ วนั น้ี แมว้ ่าโครงการนจ้ี ะล่วงเลยมานานแลว้ แตค่ วามจงรักภักดแี ละความซาบซง้ึ ของราษฎรในพนื้ ทสี่ ามจงั หวดั ชายแดนใต้กย็ งั คงตราตรงึ ในหวั ใจตลอดไป เรอื่ งราว ของโครงการปลาร้องไห้ อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำริอันทรงคุณคา่ เร่ืองน้ี เปน็ แค่ เส้ียวหน่ึงของอีกหลากหลายเรื่องราวในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ซ่งึ ยงั มอี กี หลายโครงการทพี่ ระองคท์ รงจัดตั้งไว้กวา่ ๕๐๐ โครงการ โดยกระจายไป ตามพนื้ ทต่ี ่างๆ ในสามจงั หวดั ชายแดนใต้ เชน่ โครงการสนบั สนนุ นำ�้ ให้พนื้ ทพ่ี รแุ ฆแฆ อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ ต�ำบลปะเสยะวอ ตำ� บลบางเกา่ และตำ� บลพ่อม่ิง ใน อ�ำเภอทุ่งยางแดงและอ�ำเภอสายบุรี จงั หวัดปตั ตานี ซ่งึ เป็นโครงการก่อสร้างฝาย เพื่อให้มีน�้ำไว้ใชใ้ นการอุปโภคบริโภค ใชใ้ นพ้ืนที่ปลูกพืชผักสวนครัวและพ้ืนที่นา บางสว่ นบรเิ วณเชิงเขา ศนู ย์การศกึ ษาธรรมชาติปา่ ชายเลนยะหริ่ง อันเน่ืองมาจาก พระราชดำ� ริ ต�ำบลตะโละกาโปร์ อ�ำเภอยะหร่งิ จงั หวัดปัตตานี เพ่อื เปน็ ศูนยก์ าร ศึกษาทางธรรมชาติ ซ่ึงส่งเสริมการพัฒนาการศึกษา คน้ คว้าและวิจัยเก่ียวกับป่า ชายเลนในด้านต่างๆ ท้ังยงั เป็นแหล่งทัศนศึกษา แหล่งท่องเทีย่ วและเป็นท่ีพักผอ่ น หย่อนใจของประชาชน โครงการปรบั ปรุงระบบประปา ท่สี ถาบันการศึกษาปอเนาะ อิสลามศาสนด์ ารุสลาม อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ อ�ำเภอเมือง จังหวัดยะลา ซึ่งเปน็ โครงการที่ปรับปรุงระบบน้�ำประปาในสถาบันการศึกษา เพื่อแก้ไขปญั หา ความเดอื ดรอ้ นจากการขาดแคลนนำ้� ส�ำหรบั ใชใ้ นการอุปโภคบรโิ ภค พร้อมทง้ั เพิ่ม คุณภาพน้�ำให้ได้มาตรฐานน�้ำดื่มแก่นักเรียนและครูของสถาบันการศึกษาปอเนาะ อสิ ลามศาสน์ดารสุ ลม โครงการเพมิ่ หมดู่ บั ไฟ เพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการควบคมุ ไฟปา่ พรโุ ต๊ะแดง อำ� เภอสไุ หงโก-ลก อำ� เภอตากใบและอำ� เภอเมอื ง จงั หวดั นราธวิ าส ซึ่งเป็นโครงการท่ีจัดจา้ งพนักงานดับไฟป่า เพ่ือกระจายก�ำลังในการเฝา้ ระวังไฟปา่ ให้ครบทุกจุดเส่ียง รวมท้ังร่วมลาดตระเวน ตรวจสอบบริเวณพื้นที่ป่าพรุโต๊ะแดง เพ่ือสมรรถนะในการควบคุมไฟป่าให้สามารถดำ� เนินการได้อย่างรวดเร็วและเข้าถึง ไดท้ ุกพื้นที่ และเพื่ออนุรักษแ์ ละรักษาผืนปา่ พรุโตะ๊ แดงใหค้ งความอุดมสมบูรณ์ ตลอดไป และยังมีอีกนบั ร้อยกวา่ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ ในเขตพื้นท่ี

ระดับมธั ยมศกึ ษา “เรอื่ งเลา่ จากบา้ นเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” ๗๗ สามจังหวัดชายแดนใต้ ที่ชวนให้เราศึกษาถึงพระอัจฉริยภาพของพระองค์ท่ีอยูใ่ น รปู แบบของโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ ซงึ่ โครงการแตล่ ะโครงการจะสามารถ กล่าวได้วา่ เปน็ องคค์ วามร้ทู เ่ี กอื้ หนนุ คณุ ภาพชวี ติ และความเป็นอยใู่ นทกุ ๆ ดา้ นของ พสกนิกรของพระองค์ “ภมู สิ งั คม” เป็นหนง่ึ ในหลกั ธรรมการทรงงาน ๒๓ ประการ ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทที่ รงเปน็ แบบอย่างในการทรงงานแก่ปวงชนไทย ในทกุ ภมู ภิ าค ซงึ่ หนง่ึ ในหลกั ธรรมน้ี สะท้อนถงึ การพฒั นาพน้ื ทส่ี ามจงั หวดั ชายแดนใต้ อยา่ งเห็นไดช้ ัด เนื่องจากก่อนท่ีจะริเร่ิมการพัฒนา พระองคท์ รงค�ำนึงถึงสภาพ ภูมิประเทศของพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ท่ีมีความแตกต่างจากภูมิภาคอ่ืนๆ โดยสิน้ เชงิ เน่อื งจากเปน็ พนื้ ทท่ี ม่ี ลี ักษณะเป็นสงั คมพหวุ ฒั นธรรม ประกอบไปด้วย ชาวไทยมสุ ลมิ ไทยพุทธและชาวไทยเช้ือสายจีน ทอี่ าศยั อยู่รว่ มกนั อย่างกลมกลืน และผสมผสานวัฒนธรรมไดอ้ ย่างลงตัว นับวา่ เป็นพระมหากรุณาธิคุณอยา่ งสูงที่ พระองคไ์ ด้เสด็จฯ มายังพื้นทีส่ ามจงั หวัดชายแดนใต้ เพ่ือสดบั รบั ฟังปัญหาความ ทกุ ขย์ ากลำ� บากและความเดอื ดรอ้ นของราษฎรดว้ ยพระองค์เอง ซงึ่ การรวบรวมข้อมลู ท่ีทรงคน้ พบและการศึกษาขอ้ มูลอย่างลึกซึ้ง ท�ำให้พระองค์ทรงเป็นนักวิจัยชนบท อย่างแท้จริง ตลอดระยะเวลา ๗๐ ปีแห่งการครองสิริราชสมบัติของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช นับวา่ เปน็ การเดินทางอันยาวนานที่สุดเทา่ ที่ เคยมมี า ไมม่ ใี ครทำ� งานหนกั และนานในประเทศไทยเทา่ พระราชาพระองค์น้ี ไม่มี ใครย่างก้าวไปเกอื บทกุ ตารางนวิ้ บนผนื แผ่นดนิ ไทย ไมเ่ วน้ แมแ้ ต่พนื้ ทเี่ ปน็ เขตสแี ดง ในสามจงั หวดั ชายแดนใตท้ เี่ กิดความไมส่ งบอย่บู ่อยครงั้ เฉกเช่นพระราชาพระองคน์ ี้ น่ีคือพระราชปณิ ธาน พระวิริยะอุตสาหะ พระสติปัญญา และน�้ำพระราชหฤทัย หว่ งใยพสกนกิ รของพระองค์ แมพ้ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช เสด็จสวรรคตแล้ว สายใยแห่งความรักและความผกู พนั ระหว่างพระองค์กบั ราษฎร ในพ้ืนทีส่ ามจงั หวัดชายแดนใต้ กย็ ังคงตราตรึงอยู่ในหวั ใจตราบนานชั่วนาน

๗๘ “เรอ่ื งเลา่ จากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ”

ระดบั มัธยมศกึ ษา “เร่ืองเล่าจากบา้ นเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” ๗๙ “กินดีอยดู่ ี ด้วยความพอมพี อกนิ ” โซฟียะห์ หะยีมะเดง็ โรงเรียนดรุณศาสน์วิทยา จ.ปัตตานี “...การพัฒนาประเทศน้ันจ�ำเปน็ ต้องท�ำตามล�ำดับข้ันตอน ต้องสรา้ งพนื้ ฐาน คอื ความพอมี พอกนิ พอใช้ ของประชาชน ส่วนใหญเ่ ปน็ เบ้ืองตน้ กอ่ น โดยใชว้ ิธีการและใชอ้ ุปกรณ์ที่ ประหยัด แตถ่ ูกต้องตามหลักวิชา เม่ือพ้ืนฐานมั่นคงพร้อม พอควรและปฏิบัติไดแ้ ลว้ จึงคอ่ ยสรา้ งค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจข้ันสูงข้ึนโดยล�ำดับต่อไป หากมุง่ แต่ จะสรา้ งความเจรญิ ยกเศรษฐกจิ ขนึ้ ใหร้ วดเรว็ แตป่ ระการเดยี ว โดยไมใ่ ห้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและ ประชาชนโดยสอดคล้องดว้ ย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่อง ต่างๆ ขนึ้ ซง่ึ อาจกลายเปน็ ความยงุ่ ยากลม้ เหลวได้ในทส่ี ดุ …” ความข้างต้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งให้คนไทยครงั้ แรก ดงั พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วนั พฤหัสบดที ี่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ ดิฉันเปน็ เพียงเด็กผู้หญิงคนหนึ่งที่อาศัยอยู่ในจังหวัดปัตตานี ซง่ึ เป็นหนงึ่ ในสามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ทใี่ ครๆ ต่างกร็ จู้ กั ในนาม ทวี่ า่ เปน็ พน้ื ทส่ี แี ดง จนไม่มใี ครคดิ ทจี่ ะมาเย่ยี มเยอื น เนือ่ งจากได้ เกดิ เหตกุ ารณ์ตา่ งๆ มากมายทกี่ ่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายทง้ั ทรพั ยส์ นิ

๘๐ “เรื่องเลา่ จากบ้านเรา... ตามรอยเทา้ พ่อ” และชีวิต แต่ถึงอยา่ งนั้นดิฉันก็ยังคงรักบา้ นเกิดของดิฉัน เพราะต้ังแต่ดิฉันจ�ำความได้ ในหม่บู า้ นของดิฉันก็ไดม้ ีโครงการหน่งึ เกิดขน้ึ แล้ว เป็นโครงการทแี่ รกๆ ดฉิ ันก็ไมร่ ู้จกั วา่ มนั คืออะไร แลว้ เปน็ โครงการท่ที ำ� ให้เกิดผลอย่างไร จนดิฉนั โตมา ดฉิ นั ถงึ ได้ร้วู ่า เพราะ โครงการนถี้ งึ ไดท้ ำ� ให้หมบู่ า้ นของดฉิ นั เกดิ ความพอมี พอกนิ ไม่ขาดแคลนและไม่มมี ากเกนิ ไป จนเกดิ การแกง่ แย่งกนั ทกุ คนตา่ งสามคั คกี นั ร้จู กั แบ่งปันกนั ซง่ึ เมอ่ื ดฉิ นั ไดท้ ำ� การศกึ ษา อย่างจรงิ จงั จนได้ร้วู า่ แทจ้ รงิ นน้ั เปน็ โครงการในพระราชดำ� รขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ท่ีทรงมีพระราชหฤทัยมุ่งม่ันที่จะแกป้ ญั หาความเดือดร้อนของราษฎร เสมือนหน่ึงเป็น ความทกุ ข์ของพระองค์ พระองค์จงึ ได้ทรงมพี ระราชดำ� รทิ จ่ี ะพฒั นาความเป็นอยขู่ องราษฎร ใหเ้ กิดความ “พออยู่ พอกิน” นนั่ เอง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นค�ำที่ดิฉันเช่ือวา่ ทุกคนในปจั จุบันต่างก็รู้จักค�ำนี้เปน็ อยา่ งดี เพราะค�ำนี้ได้มีมาอย่างชา้ นาน ต้ังแตก่ ่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ เพียงแตผ่ ู้คน ไม่นำ� มาปฏบิ ตั ใิ ชใ้ หเ้ กดิ เป็นประโยชน์ จนกระทงั่ ไดเ้ กดิ ปัญหาทางเศรษฐกจิ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั กไ็ ดท้ รงนำ� หลกั เศรษฐกิจพอเพยี งนมี้ าเน้นยำ�้ แนวทางในการแก้ปญั หาใหก้ บั ราษฎรและใหร้ าษฎรทรงปฏบิ ตั ติ ามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี งของพระองค์จนประสบผลสำ� เรจ็ และเปน็ ที่ยอมรับโดยท่ัวกันไมเ่ พียงแต่ภายในประเทศไทยเทา่ นั้น แต่ยังเปน็ ท่ียอมรับ ของผู้คนทัว่ ทุกภมู ิภาคของโลกอีกดว้ ย ซึง่ ปรชั ญาน้ียังสามารถด�ำรงอยูไ่ ด้อย่างม่ันคงและ ยัง่ ยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภิวัตนท์ มี่ กี ารเปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา คำ� ว่า “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” แท้จรงิ นน้ั เปน็ ไปไดห้ ลายความหมาย ซงึ่ บางความหมาย อาจจะหมายถงึ การดำ� รงชวี ติ อยา่ งพอมี พอกนิ พอใช้ และการจดั สรรพนื้ ทก่ี ารทำ� มาหากนิ อยา่ งถูกวิธี ไม่ฟุ่มเฟือยใชจ้ า่ ยโดยไม่จ�ำเปน็ ยงั มเี งนิ เก็บเพียงพอ หรอื การดำ� รงชวี ติ อยู่ บนพน้ื ฐานของความพอดี ไม่มากหรอื น้อยเกนิ ไป หรอื อกี บางความหมายอาจจะหมายถงึ วิธีคดิ วธิ ตี ดั สินใจต่างๆให้อยูบ่ นทางสายกลาง ไมเ่ บยี ดเบยี ดผูอ้ น่ื หรือตนเอง ไมม่ ่งุ หวัง สิง่ ท่มี ากเกินไป เพราะเป้าหมายท่แี ท้จรงิ ของค�ำว่าเศรษฐกิจพอเพียงน้นั กค็ อื การทำ� ให้ ความคดิ จิตใจและการปฏิบตั ิตวั ของตนเองพบเจอกบั ความสุขทีแ่ ทจ้ รงิ และยงั่ ยืน

ระดบั มัธยมศกึ ษา “เรือ่ งเล่าจากบา้ นเรา... ตามรอยเทา้ พอ่ ” ๘๑ สำ� หรบั ดฉิ นั คำ� วา่ “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” นนั้ ไม่เพยี งแต่เปน็ ปรชั ญาของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั เทา่ นนั้ แตม่ นั คอื ทกุ สงิ่ ทกุ อย่างของการดำ� รงชวี ติ เพราะเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ แรงบันดาลใจท่ีท�ำให้ชาวบ้านในหมูบ่ ้านของดิฉัน รวมถึงครอบครัวของดิฉันเอง สามารถด�ำรงชีวิตอย่างมีความสุข เน่ืองจากมีการแบ่งพื้นท่ีท่ีดินเป็นไปตามค�ำสอนที่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวที่ได้บอกไว้วา่ หากมีพื้นที่ท�ำกินอยู่แปลงหน่ึง ตอ้ งแบง่ ทำ� มาหากนิ เปน็ สว่ นๆ โดยสว่ นหนง่ึ ปลกู บา้ น ส่วนหนง่ึ เล้ียงปลา อีกสว่ นหน่ึงปลูกผักซึ่ง ท�ำใหส้ ามารถใช้ทรัพยากรท่ีดินไดอ้ ยา่ งคุม้ ค่าทุกตาราง และยงั สามารถนำ� ผลผลิตทีไ่ ด้ นั้นมาท�ำอาหารกินเองภายในครัวเรือนและถา้ เหลือก็น�ำไปแบ่งปันใหเ้ พื่อนบา้ นหรือขาย เพื่อน�ำมาเป็นทุนเพม่ิ เตมิ ดังพระราชดำ� ริ เม่ือวนั ที่ ๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ ความว่า “...เกบ็ ผกั เกบ็ ปลากนิ ปลกู พชื สวนครวั ไว้กนิ เองบ้าง ปลกู ไมผ้ ลไวห้ ลงั บ้าน ๒-๓ ต้น พอทจี่ ะมไี ว้กนิ เองในครวั เรอื น เหลอื จงึ นำ� ไปขาย ไมฟ่ ่มุ เฟอื ยไปซอ้ื ของแพงๆ มาใช้...” และมกี ารดำ� รงชวี ติ ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งอย่างจรงิ จงั ทำ� ใหค้ รอบครวั ดฉิ นั สามารถ ด�ำรงอยไู่ ดด้ ้วยความพอมี พอกินไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตามเป้าหมายหลกั ของปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ซง่ึ ดิฉันจะไม่สามารถปฏบิ ัตติ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไดเ้ ลย ถา้ หากขาดแนวคิดต่างๆท่ีจะน�ำมาประยุกต์ใชอ้ ย่างเปน็ ระบบ โดยดฉิ ันกไ็ ดน้ ำ� หลกั การ ทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั มาใช้ในการทำ� งานเปน็ ระดบั ขน้ั ตา่ งๆ จนประสบ ผลส�ำเร็จในทส่ี ดุ น่ันเอง แนวคดิ หรอื หลกั การทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มคี วามน่าสนใจทสี่ มควร นำ� มาประยกุ ต์ใชก้ บั การศกึ ษาหรอื การทำ� งานเป็นอย่างยง่ิ สามารถปรบั ใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ ไดใ้ นหลายๆ เรอ่ื ง โดยดฉิ นั นนั้ กไ็ ด้นำ� หลกั การทรงงานของพระองค์ในหลายๆ หวั ข้อมา ประยกุ ต์ใช้ในการศกึ ษาของดฉิ นั เองและยงั นำ� หลกั การทรงงานนมี้ าใชใ้ นการดำ� รงชวี ติ โดย ใช้หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งภายในครวั เรอื นของดฉิ นั อกี ดว้ ย ซง่ึ ขนั้ แรกทด่ี ฉิ นั ไดท้ ำ� ตามหลกั การทรงงานของพระองค์ กค็ อื การทด่ี ิฉันได้ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง อย่างเปน็ ระบบ โดยเริ่มจากดิฉันไดศ้ ึกษารายละเอยี ดข้อมลู เบ้ืองตน้ จากเอกสารตา่ งๆ เพอ่ื ใหไ้ ดร้ ายละเอยี ดทถ่ี กู ตอ้ ง แลว้ สามารถนำ� ข้อมลู เหลา่ นน้ั ไปใช้ประโยชน์ได้จรงิ อย่าง

๘๒ “เร่อื งเลา่ จากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” ถกู ต้อง รวดเรว็ และตรงตามเปา้ หมายทีด่ ฉิ นั วางไว้ ซึง่ กอ่ นทด่ี ิฉันจะเริ่มศกึ ษาหาขอ้ มูล เกยี่ วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี งนนั้ ดฉิ นั กต็ อ้ งเรม่ิ สรา้ งความเข้มแขง็ จากภายในให้มคี วามคดิ ท่ี อยากจะทำ� ให้สำ� เรจ็ ร่วมกบั ครอบครวั ของดฉิ นั ไม่ใชก่ ารสง่ั ให้ใครคนใดคนหนงึ่ ทำ� เพราะ คนทไ่ี ม่อยากทำ� อาจจะไม่ยอมทำ� กเ็ ป็นได้ ในการทำ� งานนนั้ อาจจะต้องคยุ กบั คนในครอบครวั กอ่ นเพ่อื ให้ทราบถึงเปา้ หมายและวิธีดำ� เนินการขัน้ ตอ่ ไป หรอื ทีเ่ รียกว่า การระเบิดจาก ข้างในน่ันเอง ซึ่งเมื่อดิฉันและครอบครัวได้ลงมือท�ำแล้วน้ันแนน่ อนวา่ จะตอ้ งประสบกับ ปญั หาตา่ งๆ มากมายทีเ่ กิดขึ้นในเวลาใกล้เคยี งกนั ซงึ่ มันยากทจ่ี ะแก้ปัญหาสำ� หรบั มอื ใหมอ่ ยา่ งดฉิ นั ดฉิ นั จงึ ไดน้ ำ� หลกั การทรงงานการแก้ปัญหาจากจดุ เลก็ ๆ ซงึ่ ก่อนทด่ี ฉิ นั จะ แก้ปญั หานน้ั ดฉิ นั กจ็ ะมองปัญหาภาพรวมกอ่ นเสมอ และจะมองในสงิ่ ทคี่ นมกั จะมองขา้ ม แล้วเร่มิ แกป้ ัญหาจากจดุ เลก็ ๆ เสียก่อน เม่อื สำ� เรจ็ แลว้ จงึ คอ่ ยๆ ขยับขยายแกไ้ ปเรอื่ ยๆ ทลี ะจุด จนสามารถแกป้ ญั หาไดท้ ง้ั หมดจนสดุ ทา้ ยกจ็ ะสามารถทำ� ไดต้ ามเปา้ หมายทว่ี างไว้ ซงึ่ เมอ่ื ดฉิ นั สามารถแก้ปัญหาตา่ งๆไดแ้ ล้วดฉิ นั กเ็ รมิ่ ดำ� เนนิ การตอ่ ไปโดยเรมิ่ ทำ� ตามลำ� ดบั ขนั้ ซึ่งถือเป็นหลักการทรงงานอีกข้อหนึ่งของพระองค์ โดยดิฉันจะเร่ิมตน้ ลงมือท�ำในส่ิงท่ี จ�ำเปน็ กอ่ น เม่อื ส�ำเรจ็ แลว้ กเ็ รมิ่ ลงมอื ในสงิ่ ทจ่ี ำ� เปน็ ลำ� ดบั ตอ่ ไป ด้วยความรอบคอบและ ระมัดระวงั เม่อื ดิฉันท�ำตามหลักน้ีได้ งานทกุ สง่ิ ท่ีดิฉันท�ำก็ส�ำเร็จได้โดยง่ายทนั ที ดิฉันปฏิบตั ิทุกอยา่ งนน้ั โดยวิธกี ารท�ำงานแบบองคร์ วมคอื ดฉิ ันจะมองสิ่งตา่ งๆ ทีเ่ กิด ขึ้นให้เปน็ ระบบวงจร คิดว่าทุกส่ิงทุกอยา่ งมมี ิติเชื่อมต่อกนั มองสิ่งท่เี กิดขน้ึ และแนวทาง แกไ้ ขใหม้ ีความช่อื มโยงกันในทุกๆด้าน ซงึ่ การท�ำงานทุกอยา่ ง ควรทำ� งานอย่างยืดหย่นุ กับสภาพและสถานการณน์ ้นั ๆ ไมย่ ดึ ติดอยูก่ บั ต�ำราวชิ าการ ดงั ค�ำทวี่ ่า “ความรู้ทว่ มหัว เอาตัวไม่รอด” เพราะมัวแตย่ ึดติดทฤษฎีมากจนเกินไปจนทำ� อะไรไมไ่ ด้เลย ไมเ่ พียงเทา่ นี้ แตห่ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยังท�ำให้ดิฉันรูจ้ ักการแกป้ ญั หาด้วยความประหยัด เรียบงา่ ย แต่ก็ได้รับประโยชนส์ งู สดุ โดยใชข้ องทหี่ าไดใ้ นทอ้ งถนิ่ นนั้ มาแก้ไข ปรับปรงุ โดยไม่ต้องลงทนุ สูง ซงึ่ เป็นการคิดค้น ดัดแปลง ปรบั ปรงุ และแก้ไขงานไปไดโ้ ดยงา่ ย และ ส่ิงท่ีมีส่วนช่วยในการท�ำให้การสร้างเศรษฐกิจพอเพียงภายในครัวเรือนของดิฉันเกิด ความสำ� เรจ็ ไปไดด้ ว้ ยดนี นั้ กม็ สี ง่ิ หนงึ่ ทขี่ าดไมไ่ ด้เลย คอื การมสี ่วนรว่ มของสมาชกิ ภายใน

ระดับมัธยมศกึ ษา “เร่ืองเล่าจากบ้านเรา... ตามรอยเทา้ พ่อ” ๘๓ ครอบครวั ทไ่ี ดร้ ว่ มแสดงความคดิ เหน็ ต่างๆ ซงึ่ การแกไ้ ขปัญหาตา่ งๆ ไม่สามารถลงมอื ทำ� คนเดียวได้ ตอ้ งอาศัยความรว่ มมือรว่ มใจกันและสิ่งท่ีส�ำคัญท่ีสุดน้ันจะตอ้ งหัดท�ำใจให้ กว้างขวาง หนักแนน่ รู้จกั รับฟงั ความคดิ เหน็ จากผ้อู นื่ ซึง่ แท้จรงิ นนั้ กค็ อื การระดมสติ ปัญญาและประสบการณอ์ ันหลากหลายมาอ�ำนวยการปฏิบัติบริหารงานให้ประสบผล สำ� เร็จทส่ี มบรู ณ์น่นั เองโดย ต้องยดึ ประโยชน์ส่วนรวมเปน็ ส�ำคัญ ดังพระราชด�ำรัสตอน หนงึ่ วา่ “…ใครต่อใครบอกว่า ขอให้เสยี สละสว่ นตวั เพอื่ สว่ นรวม อนั นฟี้ ังจนเบอ่ื อาจ ร�ำคาญดว้ ยซำ�้ ว่า ใครต่อใครมากบ็ อกวา่ ขอให้คิดถึงประโยชนส์ ว่ นรวม อาจมานกึ ในใจวา่ ให้ๆ อย่เู รอ่ื ยแล้วส่วนตัวจะไดอ้ ะไร ขอใหค้ ิดว่าคนท่ีใหเ้ ปน็ เพื่อส่วนรวม น้นั มไิ ด้ใหส้ ว่ นรวมแตอ่ ย่างเดยี ว เป็นการให้เพือ่ ตวั เองสามารถท่จี ะมีส่วนรวมที่ จะอาศัยได…้ ” ทงั้ น้ี “เศรษฐกิจพอเพยี ง” นนั้ กเ็ ป็นหลกั ปรชั ญาทีเ่ ปน็ หนง่ึ ในหลกั การทรงงานของ พระองค์ ทที่ รงด�ำรสั เพอื่ ชแี้ นะแนวทางการด�ำเนินชีวติ ให้ด�ำเนินไปบน “ทางสายกลาง” เพือ่ ใหร้ ู้จักการพ่งึ พาตนเองดว้ ยการแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้า เพ่อื ให้มีความแขง็ แรงพอที่ จะดำ� รงชวี ติ ได้ต่อไปจนสามารถพงึ่ ตนเองได้ในทส่ี ดุ และความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ ความจรงิ ใจ ต่อกนั กย็ งั คงเป็นอกี หนง่ึ หลกั การทรงงานของพระองค์ทจ่ี ำ� เปน็ ต้องมเี ป็นอย่างยงิ่ เพอ่ื งาน ทอ่ี อกมาจะได้มีความสมบูรณ์แบบมากทสี่ ดุ ซึ่งผูท้ ่มี ีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมี ความรู้นอ้ ย ก็ยอ่ มท�ำประโยชนใ์ ห้แก่สว่ นรวมได้มากกว่าผู้ท่ีมีความรูม้ าก แตไ่ ม่มี ความสุจริตและไม่มีความบริสุทธ์ิใจ ซ่ึงเพราะเหตุนี้ก็จะท�ำให้เราท�ำงานร่วมกันอย่างมี ความสุขได้ สนุกกับการท�ำงานหรือจะท�ำงานโดยค�ำนึงถึงความสุขที่เกิดจากการได้ท�ำ ประโยชนใ์ หก้ บั ผอู้ น่ื กส็ ามารถทำ� ได้เชน่ เดียวกัน ความเพียรก็เปน็ อีกหนึ่งหลักการทรงงานของพระองคท์ ่ีเห็นได้ชัดเป็นอยา่ งย่ิงจาก พระองคท์ ท่ี รงปฏบิ ตั งิ านอย่างพากเพยี รมาอย่างยาวนาน ซง่ึ การเรมิ่ ตน้ ทำ� งานนน้ั อาจจะ ไม่ได้มีความพร้อมมากมายนกั เพยี งแตต่ ้องอาศัยความอดทนและความมุ่งมนั่ ท่ีจะทำ� ให้ ส�ำเร็จ ดงั เชน่ พระมหาชนก กษัตริย์ผเู้ พียรพยายามเป็นอยา่ งมาก แมจ้ ะไมเ่ หน็ ฝง่ั กย็ งั คง

๘๔ “เร่อื งเล่าจากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพ่อ” วา่ ยนำ้� ตอ่ ไปจนถงึ ลมหายใจสดุ ทา้ ย ซง่ึ ทำ� ให้ไดพ้ บกบั เทวดาทชี่ ่วยเหลอื ไม่ใหพ้ ระมหาชนก จมน�้ำ ชี้ใหเ้ ห็นว่าถ้าหากเรามีความเพียรพยายามมากพอ เราก็จะไดร้ ับผลตอบแทน เพราะความเพยี รพยายามของเรานั้น หลักการทรงงานท่ีดิฉันไดก้ ลา่ วมาขา้ งตน้ น้ัน ดิฉันได้ท�ำการปฏิบัติอยา่ งเครง่ ครัด จนประสบผลส�ำเร็จ และมีผลตอบรับอย่างสวยงาม ทั้งภายในครัวเรือนของดิฉันเอง หรือแมก้ ระท่ังสมาชกิ ภายในหมู่บ้านของดฉิ นั ที่ได้นำ� หลักการทรงงานต่างๆ มาปรบั ใช้ ในการด�ำรงชวี ิตแบบเศรษฐกิจพอเพยี ง จนกระทัง่ หมู่บ้านของดิฉันก็ได้รบั ความนยิ มและ เปน็ ท่ีเลื่องลือในเร่ืองของการด�ำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพราะไดม้ กี ารใชป้ ระโยชนจ์ ากทดี่ นิ ทไี่ ม่ไดใ้ ชง้ านมานาน มาแบ่งเปน็ สดั ส่วนตามคำ� สอนท่ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวได้ตรัสไว้วา่ หากมีพื้นที่ท�ำกินอยูแ่ ปลงหน่ึง ต้องแบ่ง ทำ� มาหากินเปน็ ส่วนๆ โดยส่วนหนึง่ ปลกู บา้ น สว่ นหนงึ่ เลีย้ งปลา อกี สว่ นหนงึ่ ปลูกผักซึ่ง ทำ� ให้ทดี่ นิ ส่วนนน้ั ถกู ใช้ประโยชนอ์ ยา่ งเตม็ ท่ี แถมยงั ได้เปน็ แหล่งเรยี นร้ใู หเ้ ยาวชนรนุ่ ใหม่ ทม่ี คี วามสนใจจะศกึ ษาเกยี่ วกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งใหไ้ ดม้ าเรยี นรพู้ ร้อมกบั ปฏิบัติไดอ้ ยา่ งทัว่ ถงึ อีกดว้ ย ส�ำหรับดิฉันแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวได้ทรงงานตา่ งๆ มากมายต้ังแตย่ ัง ทรงพระเยาว์ซง่ึ หนงึ่ ในนน้ั กค็ อื การให้คำ� สอนเกยี่ วกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ทดี่ ฉิ นั สามารถศกึ ษาและเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งจรงิ จงั และสามารถนำ� ความร้นู นั้ มาใช้ในการพฒั นา ความเป็นอย่ภู ายในครวั เรอื นของดฉิ นั เองจนกระทง่ั สามารถนำ� มาพฒั นาหมบู่ า้ นของดฉิ นั ได้อกี ด้วยเพราะหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งนนั้ เป็นคำ� ตอบของทกุ สงิ่ ทกุ อย่างของการดำ� รงชวี ติ ประจ�ำวันใหอ้ ยไู่ ดอ้ ย่าง “พอมีพอกิน”

ระดบั มธั ยมศกึ ษา “เรอื่ งเล่าจากบา้ นเรา... ตามรอยเทา้ พอ่ ” ๘๕ เพ“เือ่ หสตว่ ุผนลรทวท่ี มำ� ” ปวริศา ใจใหญ่ โรงเรียนเดชะปตั ตนยานกุ ูล จ.ปัตตานี ข้าพเจา้ ถูกสอนมาตัง้ แตข่ ้าพเจา้ เพ่งิ หัดเดนิ วา่ “ใหท้ ำ� เพ่ือสว่ นรวม” หากแตข่ า้ พเจา้ ไม่เข้าใจความหมายของประโยคนนั้ ทเี่ ออื้ นเอย่ ออกมาจากผอู้ าวโุ ส ข้าพเจา้ ยงั คงตงั้ คำ� ถาม กบั ประโยคนน้ั นานนบั ปีหากเราทำ� เพอื่ ส่วนรวมเราจะไดส้ ง่ิ ใดตอบแทนกนั เงนิ ทอง ชอ่ื เสยี ง ยศถาบรรดาศักดิ์ แต่ขา้ พเจา้ ก็ยังคงไมไ่ ด้ค�ำตอบเช่นเดิม จนกระท่ังมีวันหน่ึงท่ีท�ำให้ ข้าพเจ้ารูใ้ นคำ� ตอบนน้ั และเปล่ยี นความคิดของข้าพเจา้ ไปตลอดกาล ณ โรงแรมธรรมดาและไรช้ ่ือเสยี งแห่งหนึง่ ในตัวเมอื งจงั หวดั ปัตตานี ข้าพเจา้ นงั่ รอ การอบรมในหอ้ งโถงของโรงแรมด้วยสีหนา้ บูดบ้ึงอยา่ งเห็นได้ชัด ข้าพเจา้ ไมไ่ ดเ้ ต็มใจ เข้าร่วมการอบรมนสี้ กั เทา่ ไหร่ หากแตอ่ าจารยข์ องขา้ พเจ้าได้ส่งข้าพเจ้าเข้ารบั การอบรม การสร้างสรรคง์ านเขยี นและเรยี นรเู้ รอ่ื งพระราชกรณยี กจิ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว รัชกาลที่ ๙ ในจงั หวัดปตั ตานีเพราะท่านอาจารยเ์ ลง็ เห็นวา่ การอบรมครง้ั นค้ี งสง่ ผลดีตอ่ ข้าพเจา้ อย่างยิง่ ยวดเป็นแน่ ขา้ พเจ้าเข้าไปในห้องประชุมใหญ่เพ่ือฟงั ก�ำหนดการของการอบรมครั้งนี้การอบรม จดั ขนึ้ ๓ วนั ผ้ทู ม่ี าเขา้ ร่วมจะได้รบั การอบรมนอกสถานที่ ข้าพเจ้ามองดเู อกสารกำ� หนดการ ในมอื แลว้ พบวา่ สถานทที่ เี่ ราจะไปเข้ารบั การอบรมนนั้ อยนู่ อกเมอื ง ข้าพเจา้ ร้สู กึ หงดุ หงดิ ขน้ึ มาทนั ทีทันใด เดิมทแี ล้วขา้ พเจา้ ไมช่ อบการเดินทางสกั เท่าไหร่เพราะการเดินทางไป ท่ีไกลๆ น้ันช่างเหนื่อยและเสียเวลามากแต่ขา้ พเจา้ ไม่เข้าใจว่าท�ำไมอิสตรีผู้เขา้ รว่ มการ อบรมท่ีข้าพเจา้ ไม่รู้จักชื่อทางด้านซา้ ยของขา้ พเจา้ ถึงไดด้ ูดีอกดีใจยิ่งนักแต่ข้าพเจา้ ก็ไม่ สนใจนางอีก

๘๖ “เรอ่ื งเลา่ จากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ”

ระดบั มัธยมศกึ ษา “เรื่องเล่าจากบ้านเรา... ตามรอยเทา้ พ่อ” ๘๗ บดั นรี้ ่างกายของขา้ พเจา้ ทเ่ี ยน็ เฉยี บเนอื่ งจากเครอื่ งปรบั อากาศ ในหอ้ งประชมุ ข้าพเจ้าเดนิ ขน้ึ ไปนง่ั บนรถทวั รส์ สี ม้ แสบตาทจ่ี ะพา เราทุกคนไปสู่การอบรม ก่อนหนา้ นีไ้ ด้มีวทิ ยากรคนหนงึ่ บอกกับ ขา้ พเจา้ ว่าการอบรมครั้งน้ีอาจเปล่ียนความคิดและชีวิตของใคร สกั คนไปตลอดกาล ขา้ พเจ้าคดิ วา่ นเ่ี ปน็ สง่ิ ทไ่ี รส้ าระทสี่ ดุ การอบรม เพยี งสองวนั นน่ี ะ่ หรอื ทจ่ี ะเปลยี่ นคนๆ หนง่ึ ไปตลอดกาล ขา้ พเจา้ หัวเราะใหก้ ับค�ำพูดน้ันและเมินเฉยใหก้ ับสายตาของวิทยากรที่ มองมา ข้าพเจา้ นงั่ รถทวั ร์สแี สบตานมี้ านานนบั ชวั่ โมง รถของขา้ พเจา้ โคลงเคลงอยู่หน้าทางเขา้ ในพ้ืนที่ที่เปน็ โครงการพระราชด�ำริท่ี เราจะตอ้ งไปศกึ ษา อาการมนึ หวั ของขา้ พเจา้ กำ� เรบิ ขึ้นมาอกี ครั้ง นั่นท�ำใหข้ า้ พเจา้ หงุดหงิดมากข้ึนไปอีก ขา้ พเจา้ นึกสบถอยูใ่ นใจ หากทางยากล�ำบากและขรุขระเช่นนี้ จะให้ขา้ พเจา้ มาท�ำไมกัน ช่างยากล�ำบากเสยี เหลือเกิน คุณวิทยากรผู้เดิมปรายตามองข้าพเจ้าแลว้ จึงเอ่ยปากพูดวา่ ท่ีแหง่ น้ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวรัชกาลท่ี ๙ เคยเดินทาง มาเมอื่ หลายปีก่อนและตอนนนั้ ทางกล็ ำ� บากกวา่ นมี้ ากนกั แตท่ า่ น กไ็ มไ่ ดป้ รปิ ากบ่นหรอื แสดงสหี น้าเหนอ่ื ยหนา่ ยออกมาเลย ขา้ พเจ้า รู้สึกสะอึกและหน้าชาเม่ือวิทยากรมองมาที่ข้าพเจา้ หลังจากพูด ประโยคนั้นจบแตข่ า้ พเจา้ ก็ละทิ้งความรูส้ ึกละอายใจออกไปแล้ว กลับมาเป็นปกติเช่นเดิม เมื่อรถของข้าพเจ้าจอดสนิท ข้าพเจา้ ก็ลงมาจากรถเปน็ คน สดุ ท้ายของคนั สง่ิ แรกทข่ี ้าพเจ้ารสู้ กึ ได้คอื กลนิ่ อายของหญ้าชน้ื ๆ กลิ่นของน้�ำและกลิ่นอากาศบริสุทธ์ิที่ขา้ พเจา้ ไม่ค่อยมีโอกาส สัมผัสมากนัก ข้าพเจ้าหยุดยืนซึมซับบรรยากาศไดไ้ ม่นานก็ต้อง รีบสาวเทา้ ไปทีศ่ าลารมิ น้�ำที่ถกู จดั ที่น่ังเอาไวเ้ พอื่ การอบรม

๘๘ “เรอ่ื งเล่าจากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” ขา้ พเจ้าเลอื กทนี่ ง่ั หลงั สดุ ไมม่ ใี ครนง่ั ข้างขา้ พเจ้า ขา้ พเจ้านง่ั ฟังเรอ่ื งทพ่ี วกเขาเล่ามา พวกเขาเรมิ่ เล่าถงึ ประวตั คิ วามเปน็ มาของทแ่ี ห่งนเ้ี ป็นอนั ดบั แรก ข้าพเจ้าร้สู กึ ชน่ื ชมชาวบา้ น ทส่ี ามารถข้ามผ่านอปุ สรรคตา่ งๆ ไปได้และขา้ พเจ้ายงั ร้สู กึ ตน้ื ตนั ใจกบั พระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวรชั กาลที่ ๙ เปน็ อย่างยิ่ง หลังจากที่การอบรมส้ินสุดลง คุณลุงม่ิงท่ีมาเปน็ วิทยากรอบรมเชิญชวนใหพ้ วกเรา เข้าไปชมการปลูกพืช แน่นอนทุกคนต่างตกลง ผู้คนส่วนใหญ่รีบกุลีกุจอไปที่สวนทันที ยกเว้นแต่เพียงข้าพเจา้ ท่เี ดินร้ังทา้ ย ขา้ พเจ้าเดนิ ดกู ารปลกู พชื ในยางล้อรถดว้ ยความรสู้ กึ ตน่ื ตาตน่ื ใจ ข้าพเจ้าเดนิ ไปเรอ่ื ยๆ กระทง่ั ไปเจอกบั คณุ ยายทา่ นหนงึ่ ก้มๆ เงยๆ พรวนดนิ ในยางล้อรถอยา่ งขะมกั เขม้นแตส่ งิ่ ท่ี ข้าพเจา้ แปลกใจท่ีสุดคือรอยยิ้มท่ีประดับอยูบ่ นใบหน้าท่ีเห่ียวยน่ การท�ำงานท่ามกลาง แสงแดดท่ีชา่ งเหน่ือยแสนเหนื่อยกลับท�ำให้คุณยายมีความสุขขนาดนั้นเชียว ขา้ พเจา้ จ้องมองคุณยายไปสักพักก็เห็นเด็กชายและเด็กหญิงที่คาดวา่ น่าจะเปน็ แฝดกันกึ่งวิ่งกึ่ง เดินเขา้ มาหาคุณยาย ในมือของเดก็ ทั้งสองมีนำ้� อยู่ ๓ ขวดดว้ ยกนั ท้งั สามคนดม่ื น�ำ้ กัน คนละขวด เดก็ หญิงพาคุณยายไปน่ังทแ่ี คร่ใกล้ๆ กันแล้วลงมอื ทำ� งานแทนคณุ ยายดว้ ย รอยยิม้ หยอกลอ้ กับแฝดชายบ้างตามประสาเด็ก ขา้ พเจ้ามองภาพเหล่าน้ันดว้ ยความรู้สึกที่หลากหลายรวมถึงค�ำถามท่ีผุดขึ้นมา ราวกบั ดอกเหด็ เช่นกนั ถา้ หากขา้ พเจ้าชว่ ยผอู้ น่ื แบบนนั้ บา้ ง ผลทตี่ ามมาจะเปน็ เชน่ ไรกนั ขา้ พเจ้าจะได้รบั รอยยมิ้ แบบนน้ั กลบั มาหรอื ไม่ หากมวั แต่ตงั้ คำ� ถามเพยี งอย่างเดยี วจะไป ได้ค�ำตอบได้อย่างไรกัน ตอนนี้ข้าพเจ้าอยู่ท่ีริมแหลง่ น�้ำขนาดใหญ่ที่ใสสะอาดและบริสุทธิ์ ขา้ พเจ้ายกกลอ้ ง ตวั โปรดขน้ึ มาถ่ายววิ ทวิ ทศั น์รอบขา้ งอย่างไมร่ จู้ กั เบอ่ื หน่ายแต่ในสมองของข้าพเจ้ายงั คง คดิ ถงึ เรื่องทขี่ า้ พเจา้ เพง่ิ เจอไป

ระดบั มัธยมศกึ ษา “เร่อื งเลา่ จากบา้ นเรา... ตามรอยเท้าพ่อ” ๘๙ หลังจากอบรมเสร็จ ขา้ พเจ้าก็มาถ่ายรูปวิวทิวทัศนต์ รงเนินเขา ระหวา่ งท่ีขา้ พเจ้า ก�ำลังเก็บเกี่ยวบรรยากาศอยูน่ ั้นแรงสะกิดเบาๆ บนไหลซ่ า้ ยเรียกให้ขา้ พเจ้าหันไปมอง นั่นท�ำใหข้ ้าพเจา้ พบกับหญิงสาวที่นา่ จะอายุนอ้ ยกวา่ ขา้ พเจา้ สักปีหรือสองปีท�ำหน้าตา น่าสงสารไมน่ ้อย เธอเอย่ ปากขอนำ�้ ด่ืมดว้ ยทา่ ทางทนี่ า่ สงสาร ข้าพเจา้ จงึ หยิบยื่นให้นาง อยา่ งลังเล เธอยกขวดน้�ำกระดกขึ้นดื่มอย่างไมเ่ กรงอกเกรงใจ เม่ือดื่มเสร็จเธอบอก ขอบคุณขา้ พเจ้าพร้อมกบั รอยยิ้มจริงใจทขี่ า้ พเจ้าไมเ่ คยไดร้ ับมากอ่ น หลังจากเหตุการณ์น้ัน ขา้ พเจา้ ก็พยายามช่วยเหลือทุกคนเทา่ ท่ีข้าพเจ้าจะท�ำได้ อย่างเชน่ ช่วยผสู้ ูงอายุถอื ของ ชว่ ยแจกของวา่ งและนำ้� ดื่ม แบง่ ปนั ในส่ิงที่ขา้ พเจา้ มแี ละ ข้าพเจา้ กพ็ บวา่ นเี่ ป็นสงิ่ ทที่ ำ� ใหข้ ้าพเจ้ามคี วามสขุ มากมายทเี ดยี ว คนอนื่ ๆ รอบข้างขา้ พเจา้ กเ็ รมิ่ เข้ามาผกู มติ ร พดู คยุ กบั ข้าพเจา้ มากขน้ึ เพราะข้าพเจ้าไม่ไดด้ นู า่ กลวั เฉกเชน่ ตอนแรก อกี แลว้ ข้าพเจ้าเข้าใจความรู้สึกของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวรัชกาลท่ี ๙ แล้วว่าท�ำไม พระองคถ์ ึงไดพ้ ยายามเพื่อประชาชนมากมายขนาดนั้นถึงแม้วา่ สิ่งท่ีขา้ พเจ้าท�ำจะเทียบ ไม่ไดก้ ับส่ิงที่พระองคท์ รงท�ำมาตลอดแต่ข้าพเจ้าก็ขอสัญญาวา่ จะชว่ ยผู้อ่ืนและท�ำเพ่ือ สว่ นรวมอยา่ งเต็มความสามารถและข้าพเจ้าจะทำ� ตลอดไปแน่นอน “…ใครต่อใครกบ็ อกวา่ ขอใหเ้ สยี สละส่วนตวั เพอ่ื ส่วนรวม อนั นฟ้ี ังจนกระทง่ั เบอ่ื หู อาจรำ� คาญด้วยซำ้� ว่าใครตอ่ ใครมาก็บอกวา่ ขอใหค้ ิดถึงประโยชนส์ ว่ นรวม อาจมา นกึ ในใจวา่ ให้ๆ ให้อย่เู รอ่ื ย แล้วส่วนตวั จะได้อะไร ขอให้คดิ วา่ คนทใี่ หเ้ พอ่ื ส่วนรวมนน้ั มิไดใ้ หเ้ พ่ือส่วนรวมแตฝ่ ่ายเดียวเปน็ การใหเ้ พ่ือตัวเองสามารถที่จะมีส่วนร่วมท่ีจะ อาศัยได…้ ” พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่นิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น วนั จันทร์ท่ี ๒๐ ธันวาคม ๒๕๑๔

๙๐ “เร่ืองเลา่ จากบา้ นเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” “ม”ี กมลชนก ศรสี ุรางค์ โรงเรียนเดชะปตั ตนยานกุ ูล จ.ปตั ตานี ในวันศกุ ร์ วนั สดุ ท้ายของการเรียนในสัปดาห์ท่ี ๓ ของเดอื นธนั วาคมกอ่ นจะเข้าสู่ช่วง สอบกลางภาคของเทอมท่ี ๒ ฉนั ที่เป็นนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๕ นักเรียนธรรมดาๆ การเรยี นระดับปานกลาง กิจกรรมในแตล่ ะวนั ก็ไม่พ้นการเรยี นทั้ง ๙ คาบ ทำ� การบา้ น เล่นโทรศัพท์เร่ือยเปื่อย ผลาญเวลาไปวันๆ ในวันนัน้ คุณครทู ี่สอนภาษาไทยท่านหนงึ่ เดนิ เขา้ มาหาฉนั พร้อมถามว่า ในเดอื น กมุ ภาพันธม์ งี านอบรมเกีย่ วกับโครงการของในหลวงทีโ่ รงแรมมายการเ์ ดนส์ สนใจหรือ

ระดบั มัธยมศกึ ษา “เรื่องเลา่ จากบา้ นเรา... ตามรอยเทา้ พ่อ” ๙๑ เปลา่ ? ฉันรบี ตอบตกลงอย่างไมค่ ิดที่จะสนใจรายละเอียดของโครงการแม้แตน่ ้อย ฉนั คิดวา่ เด็กธรรมดาแบบฉัน มกั ไมม่ ีโอกาสท่ีจะไปท�ำอะไรอย่างน้ีเสยี ดว้ ย ในตอน น้ันฉันเพียงแต่คิดว่าการอบรมคร้ังนี้จะท�ำให้ฉันมีรูปที่เขา้ ร่วมกิจกรรมไปลงในประวัติ ผลงาน ท่ีมีผลในการศกึ ษาระดบั อุดมศึกษาของฉันเท่านั้น ในวันกอ่ นที่จะไปอบรม ฉันเพ่ิงนึกข้ึนไดว้ า่ ในวันรุ่งข้ึนจะมีการจัดอบรมท่ีฉันตอ้ ง เขา้ ร่วม ฉันไมไ่ ดค้ ิดที่จะศึกษาข้อมูลโครงการพระราชด�ำริล่วงหนา้ แม้แต่น้อย ฉันคิด มั่นใจในตัวเอง ฉันก็รเู้ รอ่ื งโครงการพระราชดำ� ริไมน่ ้อยไปกวา่ ใครเหมือนกนั ฉนั ร้จู กั ท้ัง โครงการฝาย ฝนหลวง แก้มลิงและเขอ่ื นต่างๆ ทเ่ี ขามักหยบิ มาพูดกนั ทำ� ให้ฉนั ไม่คดิ ท่ี จะศกึ ษาเพ่ิมเติมจากสง่ิ ท่ฉี นั ร้เู ลย เหตกุ ารณใ์ นวนั นั้น ทำ� ให้วนั หยดุ ท่ีควรจะไดพ้ กั ผ่อนของฉนั กลับตอ้ งมายนื อยหู่ น้า โรงแรมที่เป็นสถานท่ีจัดการอบรมในเชา้ วันน้ีท่ีนา่ นอนหลับตาอยูบ่ นเตียงเสียมากกวา่ ใครจะไปคิดวา่ การแคต่ ้องการเพียงรูปท�ำกิจกรรมลงประวัติผลงาน จะท�ำใหฉ้ ันที่เป็น นกั เรยี นทม่ี โี อกาสได้รบั การอบรม ได้ความร้ทู ฉี่ นั ไมเ่ คยทราบมาก่อน ในโครงการอนั เนอื่ ง

๙๒ “เรื่องเล่าจากบ้านเรา... ตามรอยเทา้ พ่อ” มาจากพระราชด�ำริในท้องถ่ินจังหวัดบา้ นเกิดของดิฉันเอง รวมถึงการฝึกปรือฝมี ือใน การสรา้ งสรรค์งานเขียนสะทอ้ น สิ่งดีๆ ที่บา้ นเรา ตามรอยพอ่ เป็นเรียงความฉบับน้ี ขน้ึ มาได้ ใครจะคาดคิด... วันที่ ๓ กมุ ภาพนั ธ์ ฉันไดไ้ ปลงทะเบียนกอ่ นจะเขา้ รบั การอบรมท้งั ๓ วัน พรอ้ มด้วย คณุ ครแู ละรนุ่ นอ้ งในโรงเรยี นเดยี วกนั รวมทง้ั หมด ๕ คน ไมน่ านนกั กเ็ รมิ่ พธิ เี ปดิ การอบรม “การสรา้ งสรรคง์ านเขียนและเรียนรู้โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ” ก่อนจะมี การศกึ ษางานนอกสถานทที่ อี่ ำ� เภอสายบรุ ี เปน็ หนง่ึ ในสถานทโ่ี ครงการตามแนวพระราชดำ� ริ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลที่ ๙ ตอนนนั้ ฉนั ถงึ ได้ตระหนกั ว่า สิ่งท่ีฉันรู้เกี่ยวกับโครงการพระราชด�ำริน้ันช่างน้อยนิดเม่ือเทียบกับส่ิงที่พระองค์ทรงท�ำ ทั้งหมด ฉันไม่รู้ด้วยซ�้ำวา่ ในพื้นที่ที่ฉันอยู่ จังหวัดท่ีอยู่เกือบสุดชายแดนประเทศไทยใน ภาคใต้ จะมโี ครงการพระราชด�ำริด้วย ช่างนา่ ละอายจริงๆ ฉนั นงั่ ขบคดิ ไปได้ไมน่ าน รถทวั ร์ของคณะอบรมทงั้ ๒ คนั ถงึ ทหี่ มายแรกในการศกึ ษางาน นอกสถานท่ี น่ันกค็ ือ “อ่างเก็บน�ำ้ หว้ ยกะลาพอ” ฉนั กวาดสายตามองไปยงั อา่ งเกบ็ นำ�้ ท่ี เปน็ หนึ่งในหลายพันโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ หากไม่ไดม้ ากับคณะอบรม ฉนั คงไมร่ ู้จริงๆ วา่ ทนี่ เ่ี ป็นโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำ� ริ เพราะหนทางทฉ่ี ันนั่งรถ เขา้ มามแี ต่ป่า ทางแคบๆ ทรี่ ถยงั ผ่านแทบไมไ่ ด้ นา่ เหลือเช่อื มากทพี่ ระองคท์ รงเห็นถงึ ความลำ� บากยากแค้นของชาวบา้ นในพื้นทหี่ ่างไกลและทรุ กนั ดารเช่นน้ี นอกจากน้ยี งั มีผูใ้ หญ่บา้ น หมู่ที่ ๑ ของต�ำบลตะลบุ นั มากลา่ วต้อนรบั และทกั ทาย คณะอบรมของพวกเรา ผู้ใหญ่บ้านอธิบายที่มาและความเปน็ ไปของอา่ งเก็บน�้ำแห่งน้ี วา่ ชาวตะลบุ นั มอี าชพี ทำ� นาเปน็ สว่ นใหญ่ และเมอ่ื หลงั ฤดเู กบ็ เกยี่ วทมี่ เี พยี งครงั้ เดยี วตอ่ ปี กจ็ ะเป็นช่วงฤดรู ้อน สภาพแห้งแลง้ และร้อนจดั ทำ� ให้ชาวบา้ นขาดแคลนนำ�้ ในการบรโิ ภค และอุปโภคชาวบา้ นขัดสนท้ังรายได้และการใชช้ ีวิตเป็นอย่างมากลุงผูใ้ หญบ่ า้ นบอกว่า ปัญหาทั้งหมดท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนท่ีของต�ำบลตะลุบันแห่งน้ีเกิดจาก “น้�ำไม่เสมอดิน” เม่ือ คณะอบรมไดย้ นิ ดงั นนั้ ตา่ งมองหนา้ กนั ด้วยความสงสยั ในประโยคทเ่ี ขาพดู ลงุ ผ้ใู หญบ่ ้าน จงึ ขยายความใหเ้ ข้าใจวา่ มนั คอื ปรากฏการณท์ ดี่ นิ ไม่มคี วามช่มุ ชนื้ ไมม่ นี ำ้� และสารอาหาร ส�ำหรับตน้ ไม้ ปญั หาเหลา่ น้ีสว่ นใหญ่มาจากสภาพทางภูมิศาสตร์ในต�ำบลตะลุบันเปน็ พน้ื ทร่ี าบลมุ่ พร้อมกบั ความแหง้ แลง้ ในฤดรู ้อน ทำ� ให้ดนิ ไม่สามารถกกั เกบ็ นำ�้ ไว้ได้ ชาวบ้าน

ระดับมัธยมศึกษา “เรื่องเลา่ จากบา้ นเรา... ตามรอยเท้าพ่อ” ๙๓ จึงไม่สามารถปลูกอะไรได้เลยหลังฤดูเก็บเก่ียว และดว้ ยเหตุน้ีจึงมีการขุดอา่ งเก็บน้�ำข้ึน และเพอ่ื ใหส้ ามารถแกป้ ญั หาน�้ำไม่เสมอดินได้ อ่างเกบ็ น้�ำจงึ มขี นาดท่ใี หญแ่ ละกวา้ งมาก พอตอ่ การทำ� ให้ดนิ ช่มุ ชน้ื และเพยี งพอตอ่ การอปุ โภคและบรโิ ภคของชาวบา้ น อา่ งเกบ็ นำ�้ จงึ มีความยาวถึง ๔๐๐ เมตรและมคี วามลกึ ถงึ ๓๐ ปจั จุบันอ่างเกบ็ นำ�้ แหง่ นี้ไม่ได้เพยี งแค่ใชใ้ นการเกษตร อุปโภค บรโิ ภคของชาวบ้าน เท่าน้นั ยังชว่ ยแกป้ ัญหาน้�ำท่วมในช่วงฤดนู �ำ้ หลาก และเกบ็ น�้ำไวใ้ ชใ้ นช่วงหน้าแล้งอีก ดว้ ย นอกจากจะแก้ปญั หาทางธรรมชาติไดอ้ ย่างเฉียบขาดแล้ว คุณลงุ ยังเสรมิ อีกด้วยวา่ “เม่ือดนิ มีน�ำ้ ดนิ กอ็ ดุ มสมบูรณ์ ชาวบา้ นมกี ินมีใช้ อา่ งเก็บน้�ำแหง่ น้ีท�ำให้พวกเรามอี ย่าง ทุกวันน้ี”ฉันถึงได้ตระหนักอีกครั้งว่าแคอ่ ่างเก็บน�้ำแสนธรรมดาๆแห่งนี้กลับท�ำให้หลาย ชีวติ หลายครัวเรอื น ได้มีกินมใี ช้อยา่ งไม่ขดั สน แคม่ ีน้ำ� พวกเขากลับพูดคำ� ว่า “มี” ได้ อย่างภาคภูมิใจ ราวกบั น่นั คือเงินทองทแี่ สนมีคา่ คอื สิง่ ทฉี่ นั ไมเ่ ข้าใจเลยแม้แต่น้อย... สถานท่ีเดียวกันในต�ำบลตะลุบันที่ไมห่ า่ งจากอ่างเก็บน�้ำมากน้ัน มีศาลาเล็กๆ ท่ีมี ป้ายสขี าวสะอาดตาเขยี นว่า “ศูนย์การเรียนร”ู้ แต่เมือ่ มองไปรอบๆ แลว้ ฉันมองไม่เห็น แม้แต่กระดานหรือหนังสือเลยสักเล่ม มีเพียงพ้ืนโล่งๆ ที่เป็นปูนเปลือย มีเกา้ อี้วาง อ�ำนวยความสะดวกแกค่ ณะอบรม ขา้ งๆ ศาลาก็จะมีตะแกรงพัดลมที่มีการปลูกผัก สถานที่แบบนี้จะเปน็ ศูนยก์ ารเรียนรูไ้ ดอ้ ย่างไร? ฉันอดสงสัยในใจ ในเวลาน้ันเปน็ ชว่ ง เท่ียงพอดิบพอดี ทั้งคณะอบรมท้ังหมดไดร้ ับประทานอาหารท่ีน่ัน ก่อนท่ีผูใ้ หญ่บา้ น แนะน�ำใหร้ ้จู ักกับลุงถิน ท่เี ป็นส่วนหนึง่ ในการก่อตงั้ ศูนยก์ ารเรียนรูแ้ หง่ น้ี จงึ ได้รู้ว่าทน่ี ่ี ก็เป็นหนึง่ ในโครงการพระราชดำ� ริของสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ที่มี ฟารม์ ตวั อยา่ งอยดู่ ว้ ยเดิมทีสถานทแี่ ห่งนอี้ ยู่ใกล้กับเข่ือนทำ� ให้มีการอดั ดินให้แนน่ น้ำ� ซมึ ลงดนิ ยาก การเพาะปลกู พชื สวนครวั ตา่ งๆ จงึ ไม่ออกดอกออกผล ชาวบ้านตอ้ งออกไปซอื้ วตั ถดุ ิบในการท�ำอาหารจากตา่ งหมบู่ ้าน คุณลงุ ท้ัง ๓ คนจงึ ไดแ้ นวคดิ ทนี่ �ำของเหลือใช้ มาเปน็ ภาชนะในการปลูกพืชผกั สวนครัวแทน เมอ่ื ราชองครกั ษ์ของในหลวง รัชกาลที่ ๙ ได้มาดูงานใน ๓ จังหวัดชายแดนใต้ ลุงถินจึงได้กล่าวรายงานถึงปญั หาและแนวทาง แกไ้ ขตามแนวพระราชดำ� ริ องครกั ษ์จงึ ไดม้ าดงู านทศ่ี นู ยก์ ารเรยี นรู้ และหลงั จากนน้ั ๗ วนั สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้พระราชทานเงินจ�ำนวนหน่ึงแสนบาท เพื่อเปน็ ทุนในการท�ำฟารม์ ตัวอยา่ ง และยังพระราชทานเงินอีกจ�ำนวนหน่ึงเพ่ือให้สร้าง

๙๔ “เรื่องเล่าจากบา้ นเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” คอกไก่ รวมถงึ พระราชทานไก่มาอกี ๒๐๐ ตวั ก้อนเหด็ อกี ๙๐๐ ก้อน เพอ่ื ให้ลงุ ถนิ และ ชาวบา้ นพัฒนาหมบู่ า้ นต่อไป ปจั จุบนั ฟารม์ แหง่ นี้ มรี ายได้ท่ีเปน็ สว่ นกลางของหมบู่ า้ น สามารถเล้ียงปากทอ้ งของ คนในหม่บู า้ นได้ นอกจากน้ี ยงั ทำ� ใหค้ นในหม่บู ้านมรี ายได้จากการขายผลติ ภณั ฑ์ที่ไดจ้ าก การท�ำฟาร์มตวั อย่างอกี ด้วย ลุงถินได้เลา่ เรอื่ งราวทถี่ งึ แม้จะผา่ นมานานลุงยงั กไ็ ม่มีทาง ลมื เลอื น หากไม่มคี วามเมตตากรณุ าธคิ ณุ ของสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ ในครัง้ นนั้ หมบู่ ้านน้ีก็ “ไมม่ ”ี อย่างทุกวันน้ี สถานทสี่ ดุ ทา้ ยในการศกึ ษางานนอกสถานทใ่ี นอำ� เภอสายบรุ คี อื “คลองบางตาหยาด” หรือที่รู้จักกันในต�ำนาน “ปลาร้องไห้” นายกเทศมนตรีเมืองตะลุบันไดก้ ลา่ วถึงที่มาวา่ ครง้ั ตอนพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ได้เสดจ็ มาทอ่ี ำ� เภอสายบรุ ี ตรงกบั ชว่ งฤดูน้�ำหลาก ท�ำให้น้�ำเปรี้ยว คือเป็นน้�ำเสียไหลลงในคลองท่ีชาวบ้านในละแวกนั้น เลย้ี งปลาในกระชงั ดว้ ยนำ้� ทม่ี สี ภาพเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเรว็ ในช่วงฤดนู ำ้� หลาก รวมถงึ เป็นน้�ำท่ีมีสารอินทรียส์ ูง ไม่มีออกซิเจนท่ีเพียงพอ ท�ำให้ปลาในกระชังของชาวบา้ น นอ็ กน้�ำตาย สร้างความเสียหายตอ่ ปลาในกระชงั ภายในระยะเวลาส้ันๆ แตร่ ุนแรงถึงขั้น ปลาสามารถตายหมดทั้งกระชังหากไม่ไดร้ ับการแกไ้ ขที่ทันท่วงที เงินท่ีลงทุนไปของ ชาวบ้านไมไ่ ดผ้ ลตอบแทน ซ�ำ้ ยังก่อความเดือดรอ้ นอย่างหนัก ซึ่งในตอนนั้นมีการห้าม ให้พระองค์ทรงรวู้ า่ มเี หตกุ ารณ์ปลานอ็ กนำ้� เกดิ ขน้ึ และเมอื่ พระองค์ทรงถามว่าทำ� ไมปลา ถงึ ตาย ชาวบา้ นได้แต่รำ่� ไห้ พูดไมอ่ อก พระองคจ์ ึงตรัสว่า “อ๋อ ปลาร้องไห้” ตามอารมณ์ ขันของพระองค์ หลังจากน้ันพระองคก์ ็ทรงเล็งเหน็ ถึงปัญหาของธรรมชาตทิ ย่ี ากจะแกไ้ ข จึงได้มีโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริเกิดขึ้น มีการขุดคลองแหง่ นี้ข้ึนมา เพ่ือให้ นำ้� ทะเลได้ชำ� ระลา้ งนำ้� เปรย้ี วออกไป จงึ ไมม่ เี หตกุ ารณ์ปลานอ็ กนำ้� ตายเกดิ ขนึ้ อกี โครงการนี้ ได้ผลระยะยาวทไี่ มท่ ำ� ลายธรรมชาตแิ ละยงั เออื้ ตอ่ การทำ� อาชพี ของชาวบา้ นในละแวกนนั้ อีกด้วย นอกจากน้ี นายกเทศมนตรีไดพ้ ูดถึงว่า “ช่วงท่ีพระองคเ์ สด็จมาและเริ่มท�ำ โครงการนี้ ผมยังไม่ได้เปน็ นายกเทศมนตรีอยา่ งในปจั จุบันน้ี แตผ่ มก็รบั รู้และภูมใิ จท่ี คลองแหง่ นท้ี ำ� ใหช้ าวบา้ นของผมมอี าชพี และความเป็นอยทู่ ด่ี อี ย่างทคี่ วรจะเป็น พระองค์ ทรงเหน็ ความลำ� บากของพวกเราแมเ้ ราจะห่างไกลจากพระองค์มากแคไ่ หนพวกเราก็เป็น ประชาชนของพระองคเ์ สมอครับ”

ระดับมัธยมศึกษา “เรื่องเล่าจากบา้ นเรา... ตามรอยเทา้ พ่อ” ๙๕ เมือ่ ถึงตอนนนั้ ฉันคิดวา่ ฉนั เร่ิมเข้าใจในคำ� วา่ \"ม\"ี ของชาวบา้ นทนี่ ่ี ไมใ่ ชแ่ คม่ ี เงิน ทอง แต่การมีส่ิงท่ีย่ังยืนกว่า คือ มีทรัพยากร มีปัญญา มีความเสียสละ และเห็นแก่ ประโยชนส์ ว่ นรวม ก็ทำ� ให้ไมใ่ ช่แคเ่ ราท่ีมสี ขุ แต่เป็นการท�ำให้ลงุ ป้า นา้ อา ในหมบู่ ้าน ของเรากพ็ ากันมีสุขไปด้วย ฉนั ได้กลบั มาทบทวนถงึ สง่ิ ทฉ่ี นั ไดค้ ดิ มาตลอดทง้ั วนั วา่ ตกลงคำ� ว่า “ม”ี มนั เปน็ อยา่ งไร กันแน่ เหตุใดท�ำไมค�ำว่ามีของชาวบา้ น ชา่ งต่างกับพวกเรายิ่งนัก แท้ท่ีจริงแลว้ ฉันตระหนักไดว้ ่ามีของแตล่ ะคนน้ันไมแ่ ตกตา่ งกันออกไป “มี” ของ ชาวบา้ นตะลุบัน หมู่ ๑ คงจะหมายถงึ การมนี ำ�้ กิน น้�ำใช้ ดินอดุ มสมบรู ณ์ น่นั เปน็ ส่งิ ที่ ทำ� ให้ชาวบ้านนน้ั มที กุ วนั น้ี สว่ นชาวบา้ นในศนู ย์การเรยี นรู้ คงคดิ วา่ ถา้ ไมม่ ไี ก่ ๒๐๐ ตวั ก้อนเหด็ ๙๐๐ ก้อนทเี่ ปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ ของสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ คงจะไม่มอี ยา่ งทกุ วนั น้ี ใครจะไปคดิ วา่ ไกเ่ พยี งแค่ ๒๐๐ ตวั เงนิ เพยี ง ๑๐๐,๐๐๐ บาท กลบั สรา้ งชวี ติ ทด่ี ขี นึ้ ให้แกช่ าวบา้ นในละแวกนน้ั ทอ่ี ย่นู บั รอ้ ยครวั เรอื นจวบจนถงึ ทกุ วนั นไ้ี ด้ สุดทา้ ยท่ีคลองบางตา-หยาด เพราะมีคลองแห่งนี้ ชาวบ้านถึงมีรายได้จากการเล้ียง ปลากระชงั หมดปญั หานำ�้ เปรยี้ วเขา้ ทะลกั ในคลองทช่ี าวบ้านเลยี้ งปลากระชงั เพราะคลอง แหง่ นี้ท�ำใหช้ าวบ้านได้ประกอบอาชีพท่ีไร้ปัญหาเชน่ นี้ นั่นแค่เพียง ๓ โครงการเทา่ นนั้ กลับท�ำใหเ้ กิดผลมากมาย ประชาชนชาวไทยของพระองคน์ ับลา้ นชีวิต จากรุน่ สู่รุน่ ได้เปลยี่ นชีวติ ท่ีแต่เดิม “ไมม่ ี” เปน็ “มี” ได้อย่างในปัจจบุ นั ภายใตโ้ ครงการอนั เนอื่ งมาจาก พระราชดำ� รนิ บั หลายพนั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ ท่ีทรงร่วมทุกขร์ ว่ มสุข แก้ไขปญั หาใหแ้ ก่พสกนิกรชาวไทยท่ีไมใ่ ห้ ปลาแก่ชาวบ้าน แตเ่ ปน็ การยน่ื วธิ กี ารตกปลาและมอบเบด็ เบด็ ตกปลาให้แก่ชาวบ้าน ทำ� ให้ ชาวบ้านเรยี นรู้ทจ่ี ะแก้ไขและด�ำรงอาชีพต่อไปได้ตราบนานเทา่ นาน สำ� หรับชาวบา้ นแล้ว มขี องพวกเขา ขอแค่มสี ภาพแวดลอ้ ม ธรรมชาติท่ีเออ้ื ต่อการ ประกอบอาชีพ ชีวติ ไมข่ ัดสน พอกินพอใช้ ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง แค่นั้นก็เพยี งพอ ตอ่ ค�ำวา่ “ม”ี ทีช่ าวบ้านจะพูดออกมาอย่างเตม็ ปากและภมู ิใจว่าเขามีจรงิ ๆ ตา่ งจากค�ำ ว่ามขี องฉนั ทต่ี อ้ งมีเงนิ มีทอง มชี วี ิตอู้ฟหู่ รูหรา มีการงานท่ีสุขสบาย นนั้ เป็นความหมาย ของค�ำวา่ “มี” ส�ำหรับฉัน ท่ีแตกต่างกับของชาวบา้ นมากทีเดียว ฉันที่มีแตค่ วามโลภ

๙ ๖ “เรอื่ งเล่าจากบ้านเรา... ตามรอยเท้าพอ่ ” อยากสุขสบาย เงินทองเหลือใช้ แตช่ าวบา้ นกลับตอ้ งการแค่พอกินพอใช้ ก็เพียงพอ ส�ำหรับพวกเขาแล้ว หลังจากเสร็จกิจกรรมท้งั หมดในวันแรกของการอบรม ฉนั นกึ ถึงความรู้สึกตอนท่ฉี นั เพง่ิ ร้วู ่าในจงั หวดั ทฉี่ นั อยู่ มโี ครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� รดิ ว้ ย ฉนั จงึ ไดต้ ดั สนิ ใจ คน้ ควา้ เกย่ี วกบั โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� รทิ ที่ ว่ั ทงั้ ประเทศไทยทมี่ มี ากถงึ ๔,๘๖๕ โครงการ และในพ้ืนท่ีจังหวัดปตั ตานีแห่งน้ีและพื้นท่ี ๓ จังหวัดชายแดนใต้มีโครงการ อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� รมิ ากถงึ ๕๖๐ โครงการเลยทเี ดยี ว ยงิ่ ตระหนกั ไดว้ ่าถงึ แม้เรา จะอยสู่ ดุ ชายแดนใต้ แต่ดว้ ยพระมหากรณุ าธคิ ณุ บารมี พระปรชี าสามารถและพระเมตตา ของพระองคย์ งั แผก่ งิ่ ก้านสาขาใหพ้ วกเรา พสกนกิ รชาวไทยไดอ้ ย่รู ่มเยน็ เปน็ สขุ ประกอบ อาชพี อย่างสจุ รติ ไดด้ ำ� รงชวี ติ ทา่ มกลางธรรมชาตทิ เ่ี ป็นกลไกสำ� คญั ในการทำ� อาชพี ตา่ งๆ ทไ่ี ม่ว่าจะห่างไกลแคไ่ หนพวกเรากย็ ังคงเปน็ ประชาชนของพระองคเ์ สมอ ไม่เส่อื มคลาย ทำ� ให้ฉันตระหนักไดว้ ่าสดุ ท้ายแล้วค�ำวา่ “มี” ทดี่ ีทสี่ ดุ สำ� หรับปวงชนชาวไทยทุกคน คอื เรา “ม”ี ในหลวงรัชกาลที่ ๙ เป็นพระมหากษัตรยิ ป์ กครองปวงชนชาวไทยใหอ้ ยู่ดีกินดี และพวกเราจะมีท่าน และค�ำสอนของทา่ นสถิตในดวงใจ และเปน็ แนวทางการด�ำเนิน ชีวติ ของพวกเรานิรนั ดร์

IMAGE

๙๘ “เรอื่ งเล่าจากบา้ นเรา... ตามรอยเทา้ พอ่ ” “กผารลใตหอ้ทบี่ไมแห่ทวนัง”... นูรีดา เจ๊ะอมุ า โรงเรยี นเตรียมศกึ ษาวิทยา จ.ปัตตานี ถ้าประชาชนไมท่ ิง้ ข้าพเจ้าแลว้ ขา้ พเจา้ จะท้งิ ประชาชนอยา่ งไรได้ หลายทา่ นคงไดอ้ า่ นเรอ่ื งราวและได้ยนิ ประโยคนกี้ นั มานาน ซงึ่ เปน็ คำ� พดู ของในหลวง รัชกาลที่ ๙ ของเราทุกคนท่ีไดก้ ลา่ วในระหวา่ งวันเสด็จฯ จากประเทศไทยสูป่ ระเทศ สวิตเซอรแ์ ลนดเ์ พื่อศึกษาต่อ ท�ำใหช้ ว่ งเวลา ๗๐ ปนี ับตั้งแตก่ ารเสด็จข้ึนครองราชย์ พระองค์จะทรงนึกถึงประชาชนตลอดเวลา จึงไดท้ รงพระวิริยะอุตสาหะศึกษาเล่าเรียน เพื่อที่จะได้นำ� ความรู้ ความสามารถกลบั มาพฒั นาประเทศ กลบั มาดแู ลประชาชนของ พระองค์ และแลว้ พระองคก์ ็ทรงกลบั มา กลบั มาทำ� ส่งิ เหล่านใี้ หป้ ระชาชนของพระองค์ กว่า ๔,๖๐๐ โครงการพระราชด�ำริท่ชี ว่ ยบำ� บดั ทกุ ข์บ�ำรุงสขุ ของประชาชนชาวไทย ในชว่ ง ๗ ทศวรรษภายใต้รัชสมัยของในหลวงรัชกาลที่ ๙ สะท้อนถึงพระอัจฉริยภาพ