Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาแบดมินตัน

คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาแบดมินตัน

Description: คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาแบดมินตัน.

Search

Read the Text Version

คูมอื ผฝู กสอนกีฬาแบดมินตนั การกีฬาแหง ประเทศไทย การตลี ูกตบ มกี ารตีลกู ขัน้ สงู ดังน้ี 1) การตลี ูกตบใหร ุนแรงทส่ี ดุ 2) การตลี ูกตบแบบเฉยี งไมจะทำใหลูกตกลงพื้นในระยะใกล 3) การบงั คบั ตีลกู ตบใหสงู ระดบั หนาอกของคแู ขง ขัน 4) การกระโดดตบลกู ท่จี ดุ ท่สี งู ทีส่ ดุ ทกี่ ระโดดขน้ึ ไปถงึ 5) การตลี ูกตบกึ่งการตลี ูกตดั หยอดใหแ รงตีสุด 6) การหลอกสะบดั ขอ มอื เหวย่ี งไมแ บดมนิ ตนั ตลี กู เซฟแตเ ปลย่ี นเปน ตลี กู ตบแทน การตีลกู เซฟ มีการตีลกู ขั้นสูงดงั น้ี 1) การตลี ูกเซฟใหเ รว็ และแรงทีส่ ดุ 2) การกระโดดตีลูกเซฟใหล กู ดาดขามศีรษะคูแขง ขันไปลงหลงั คอรท 3) การหลอกสะบัดขอมือเหวี่ยงไมแบดมินตันตีลูกเซฟแตเปลี่ยนเปนตีลูก ตัดหยอดแทน การตีลูกตัดหยอด มกี ารตีลกู ข้นั สูงดังน้ี 1) การตีลูกตัดหยอดกึ่งการตีลูกตบใหลงเร็วที่สุดที่แดนหนาใกลตาขาย ท้งั สองดา น ท้ังดา นตามเขม็ และทวนเขม็ นากิ า 2) การกระโดดตีลูกตัดหยอดใหลูกตกลงใกลตาขายใหม ากทส่ี ุด 3) การหลอกสะบัดขอมือเหวี่ยงไมแบดมินตันตีลูกเซฟแตเปลี่ยนเปนตีลูก ตัดหยอดแทน 3. ทักษะการโยนลกู ดวยมอื การปลอ ยลูกดวยไมเ พ่ือฝก ทักษะตา งๆ ทกั ษะการปลอ ยลกู เพอ่ื ปอ นใหน กั กฬี าฝก ทกั ษะตา ง ๆ ดว ยการโยนลกู ดว ยมอื หรือตีลูกดวยไมแบดมินตัน จะตองทำใหลูกที่ปลอยออกไปมีทิศทางที่แมนยำและสามารถ ปรับความเร็วในการสงลูกดวยไมหลายๆ ระดับเพื่อใหเขากับความสามารถของนักกีฬา แตละคนซึ่งมีความสามารถไมเหมือนกันโดยมีเปาหมายใหเร็วขึ้นมากที่สุดตอไปทุกคน การหลอกสะบัดขอมือโยนลูกหรือหลอกสะบัดขอมือใชไมแบดมินตันตีลูกก็มีความสำคัญ ในการชวยใหนักกีฬากลับตัวเปลี่ยนทิศทางการวิ่งฟุตเวิรคไปตีลูกที่สงไปไดทุกลักษณะ จะทำใหนกั กีฬาพฒั นาทักษะการตลี ูกข้ันกา วหนา ไดรวดเร็วข้นึ คูม อื ผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตนั 93 93

คมู อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมินตัน การกฬี าแหง ประเทศไทย เทคนคิ และยทุ ธวิธกี ารเลนกีฬาแบดมินตัน 1. เปาหมาย ใหมีความรูเกี่ยวกับการฝกและกลยุทธในการแขงขันประเภทเดี่ยว การฝก และกลยุทธใ นการแขงขนั ประเภทคแู ละการฝก และกลยทุ ธใ นการแขงขนั ประเภทคูผ สม 2. ประกอบดว ย 2.1 การฝก นกั กฬี าประเภทเด่ียว 2.2 การฝก นกั กฬี าประเภทคู 2.3 การฝกนกั กีฬาประเภทคูผ สม รายละเอยี ดเนอ้ื หา 1. การฝกนกั กฬี าแบดมินตนั ประเภทเดี่ยว การฝกนักกีฬาแบดมินตันในประเภทชายเดี่ยวและหญิงเดี่ยว ตั้งแตระดับ เยาวชนที่มีอายุ 9 - 16 ป จนถึงระดับนักกีฬาแบดมินตันทีมชาติไทย สามารถฝกนักกีฬา ใหบรรลุเปาหมายสูงสุดในการแขงขันทุกรายการได โดยใหสอดคลองกับความเปนไปได ตามวัฒนธรรมของนักกีฬาไทยในปจจุบันที่นักกีฬาทุกคนจะตองฝกซอมกีฬาควบคูกับ การศึกษา หรือทำงานที่จะเปนฐานรองรับอนาคตของนักกีฬาทุกคนเมื่อรางกายของนักกีฬา พนชวงระยะเวลาที่สมรรถภาพสมบูรณสูงสุดไปแลว หรือมีภาระงานอื่นรัดตัวจนไมสามารถ ปลีกเวลาไปฝกซอมตามตารางการฝกซอมได การฝกนักกีฬาแบดมินตันสามารถแบงนักกีฬา ออกเปน 3 ระดับ ดังน้ี 1. การฝก นักกฬี าแบดมินตันระดบั เยาวชนอายตุ ้ังแต 9 - 15 ป 2. นักกฬี าแบดมินตนั ระดบั เยาวชนท่มี ีอาย1ุ 6 ปขึ้นไป จนถงึ นกั กฬี าแหง ชาติ 3. นกั กฬี าแบดมนิ ตนั ระดบั ทมี ชาตไิ ทย 94 94 คมู ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตนั

คมู อื ผูฝ กสอนกฬี าแบดมินตนั การกีฬาแหงประเทศไทย นักกีฬาแบดมินตันในแตละระดับก็สมควรมีการกำหนดคุณสมบัติของนักกีฬา แบดมินตันที่เหมาะสมกับการเลนประเภทเดี่ยว เพื่อคัดเลือกนักกีฬาเขารับการฝกการเลน แบดมนิ ตนั ประเภทเดย่ี วใหเกิดคณุ ภาพสูงสดุ การฝกการเลนแบดมินตันประเภทเดี่ยวสำหรับนักกีฬาระดับเยาวชนที่มีอายุ ต้ังแต 9 - 15 ป เพ่อื ใหการฝก นักกีฬาประเภทเดยี่ วมีประสทิ ธิภาพและไดน กั กฬี าทมี่ คี ุณภาพ สูงที่สุด จึงควรจะใหมีการพิจารณาคัดเลือกนักกีฬาที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเลน ประเภทเด่ียวเขารบั การฝก ซอมตามคณุ สมบตั ขิ องนักกีฬาที่กำหนดไวดงั นี้ 1) การฝกนกั กฬี าแบดมินตนั ประเภทเด่ยี วระดบั เยาวชนอายุต้งั แต 9-15 ป คุณสมบัตขิ องนักกีฬา นักกฬี าควรมคี ณุ สมบัติดงั น้ี 1. เปนนักกีฬาที่ผานการฝกทักษะขั้นพื้นฐานมาแลวอยางครบถวนตามรายการ ดงั ตอไปน้ี 1.1 ลักษณะการจับไม การตั้งทาตีลูก การเหวี่ยงแขนพรอมสะบัดขอมือ และการถา ยน้ำหนัก 1.2 ทักษะการตีลูก 9 ทักษะ คือ เสิรฟ หยอด งัด แย็บ รับลูกตบ สวนดาด เซฟ ตบ และตัดหยอด 1.3 ทักษะการวิ่งฟุตเวิรค หนา - หลัง ไปกลับดานขางทั้ง 2 ขาง วิ่งคอรท 4 จดุ และว่ิงคอรท 6 จุด 1.4 ทกั ษะกายบริหารทว่ั ไป และกายบริหารสำหรับแบดมินตนั 2. รูปรางสัดทัด สมสวน โดยนักกีฬาชายจะตองมีสวนสูงไมนอยกวา 170 ซม. และนกั กฬี าหญงิ จะตองมีสวนสูงไมน อยกวา 165 ซม. เม่ือมีอายุครบ 15 ปข นึ้ ไป 3. รางกายสมบูรณและแข็งแรงสามารถอดทนตอการฝกซอมอยางตอเนื่อง 2 - 3 ชั่วโมงตอวัน ในทุกอิริยาบถของการฝกซอม รวมทั้งการฝกเคลื่อนตัวอยางชาไปจนถึง การฝก ซอมที่ตอ งเคล่อื นตัวอยา งเรว็ ทสี่ ดุ 4. มีความถนัดในการเลนเดี่ยว 5. มีจติ ใจเปนนักสแู ละควบคุมอารมณไดดี 6. เปนนักกีฬาทรี่ ูจ ักใชความคิด ความจำ และการตัดสนิ ใจแกไขเกมการเลน ได ตลอดเวลา คูมอื ผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตนั 95 95

คูม อื ผูฝกสอนกีฬาแบดมินตัน การกฬี าแหง ประเทศไทย วิธีการฝกการเลน แบดมนิ ตนั ประเภทเด่ียว เพ่อื ใหมาตรฐานการเลน แบดมินตนั ประเภทเดี่ยวของนกั กีฬาดีขึน้ สมควรจัดใหมี การฝก ซอ มตามหวั ขอ ตอ ไปนส้ี ลบั คละกนั อยา งตอ เนอ่ื งในแตล ะวนั ของการฝก ซอ ม โดยคำนงึ ถงึ เปาหมายในการพัฒนาทักษะของนักกีฬาแตละคน ใหมีจุดเดนมากขึ้นและลดจุดดอย ใหนอยลง ซึ่งทำใหการจัดหัวขอการฝกซอมของนักกีฬาแตละคนไมจำเปนตองเหมือนกัน ทุกคร้ัง 1. การเลนเกม เพื่อใหเกิดทักษะของการเลนเกมประสบการณและความ เคยชิน โดยผูฝกสอนตองติดตามการเลนเกมของนักกีฬาใหมีการเอาจริงเอาจังโดยตลอด อยางใกลชิดพรอมวิเคราะหจุดเดนและจุดดอยของนักกีฬา เพื่อนำไปปรับปรุงแกไขหรือ ชมเชย ใหกำลังใจในจุดเดน รวมทั้งมีการจดบันทึกคะแนนแพชนะในการซอมแตละครั้งและ เวลาที่ใชในแตละเกมอยางละเอียด ระยะเวลาการเลนเกมของนักกีฬาในแตละเกมไมควร นอ ยกวา 10 นาที และหากการเลน เกมครบ 2 เกม แลว ใชเ วลาไมถ งึ 15 นาที ควรใหเ ลน เกมสาม ตออกี 1 เกม เพ่ือทำใหน ักกฬี าไดรับทกั ษะและประสบการณสูงสุดจากการฝก ซอ ม 2. การเสิรฟลูก ควรจัดใหมีการฝกเสิรฟลูกเปนประจำโดยควบคุมใหถูกตอง ตามกติกาแบดมินตัน เพื่อเกิดความแมนยำมากที่สุดเพราะการเสิรฟลูกมีความสำคัญที่สุด ในการเลนเดี่ยวเปนผลใหเกิดการแพหรือชนะในการแขงขันทุกครั้ง การฝกใหเสิรฟลูกควรให นักกีฬาไดฝกในสภาพของรางกายทุกชวงของการฝกซอม โดยฝกตั้งแตชวงแรกที่มีพละกำลัง สงู ท่ีสุด จนถงึ ชว งท่ีรางกายเหนอ่ื ยเตม็ ทห่ี รือหมดพละกำลงั ซ่ึงตองฝน ฝกตอ ไปอกี โดยกำหนด เวลาใหฝ กเสริ ฟคร้งั ละ 20 - 30 นาที การเสริ ฟลูกควรฝก ใหไดห ลายแบบดงั น้ี 2.1 การเสริ ฟลูกโดงไปทา ยคอรท โดยมีเปา หมายในการเสริ ฟลกู ใหสงู ท่สี ุด เทาที่จะทำได และกำหนดจุดตกของลูกที่ใกลเสนทายคอรทใหได หลายจุด 2.2 การเสิรฟลูกดาดไปทายคอรท โดยมีเปาหมายใหพนไมแร็กเกตของ ผูรับลูกเสิรฟที่อยูในตำแหนงยืนรับที่กลางคอรท และมีการกำหนด จุดตกของลกู ทใ่ี กลเ สนทา ยคอรทใหไ ดห ลายจุด 96 96 คมู ือผูฝ ก สอนกฬี าแบดมินตัน

คูมอื ผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตัน การกฬี าแหง ประเทศไทย 2.3 การเสิรฟลูกเลียดตาขายใหตกภายในคอรทใกลเสนเสิรฟดานหนา และมีการกำหนดจุดตกของลูกภายในคอรทใกลเสนเสิรฟดานหนา ใหไดห ลายจุด 3. การรับลูกเสิรฟ ควรจัดใหมีการฝกตีรับลูกใหไดตกในจุดที่ไดตกในจุด ที่ไดเปรียบ โดยกำหนดยืนรับลูกเสิรฟใหเหมาะสมกับรางกายของนักกีฬา พรอมทั้งฝกให นกั กีฬาตลี กู ตอบโต การเสิรฟ ทีม่ ที งั้ เซฟ ตบ ตดั หยอด หยอด งัด และแย็บ ไปตามจุดที่กำหนด ใหควรกำหนด ใหนักกีฬาฝกรับลูกเสิรฟครั้งละ 20 - 30 นาที ซึ่งอาจกำหนดใหฝกพรอม นักกฬี าท่ีฝกการเสิรฟ ลกู 4. การเคลอ่ื นตวั ไปตลี กู หยอด โดยใชว ธิ ปี ลอ ยลกู ใหน กั กฬี าวง่ิ ฟตุ เวริ ค เขา ไป หยอดลูกที่หนาตาขายทั้ง 2 ขาง ดวยความเร็วตามความสามารถของนักกีฬาเพื่อใหเกิด ความคลองตัวในการวิ่งฟุตเวิรคและหยอดลูกใหมีคุณภาพในทุกสภาพของการเคลื่อนตัว และกำหนดจำนวนลกู ทใี่ ชปลอยคนละ 30 - 40 ลูก 3 - 4 ครัง้ 5. การเคลื่อนตวั ไปตลี ูกหยอด - งดั - ดาด โดยใชว ิธปี ลอยลูกใหนกั กฬี า วิ่งฟุตเวิรคเขาหยอดลูกสลับกับการงัด และผลักลูกดาดที่หนาตาขายทั้ง 2 ขาง ดวยควาเร็ว ตามความสามารถของนกั กีฬาและกำหนดจำนวนลูกทใ่ี ชป ลอ ยคนละ 30 - 40 ลูก 3 - 4 ครั้ง 6. การเคลื่อนตัวไปตีลูกเซฟ โดยใชวิธีปลอยลูกใหนักกีฬาวิ่งไปตีลูก ทั้งเซฟโดง และเซฟดาดจากหลังคอรททั้ง 2 ดาน ไปยังจุดทายคอรทที่ฝงตรงกันขาม ดวยความเร็ว และใหเนนคุณภาพและกำหนดจำนวนลูกที่ใชปลอยคนละ 32 - 48 ลูก 3 - 4 ครั้ง 7. การเคลื่อนตัวไปตีลูกตบ โดยใชวิธีปลอยลูกใหนักกีฬาวิ่งไปตบลูก ทั้งกลางคอรท และหลังคอรทดวยความเร็ว และใหเนนคุณภาพในการตบลูกใหลงที่จุด กอนถึงเสนเสิรฟเสนหลังในประเภทคูใหไดพรอมระบุทิศทางใหตบไดทั้งแนวตรงและ แนวทะแยงและกำหนดจำนวนลกู ทใี่ ชป ลอ ยคนละ 32 - 48 ลูก 3 - 6 ครงั้ คมู ือผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตัน 97 97

คมู ือผูฝก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกีฬาแหง ประเทศไทย 8. การเคลื่อนตัวไปตัดหยอด โดยใชวิธีปลอยลูกใหนักกีฬาวิ่งไปตัดหยอด ที่หลังคอรท ทั้ง 2 ขา ง โดยตัดหยอดแบบธรรมดา และแบบทวนเข็มนากิ า และใหเนนจดุ ตก ของลูกที่ตัดหยอดไปใหอยูใกลเสนเสิรฟดานหนาพรอมระบุทิศทางใหตัดหยอดในแนวตรง และแนวทะแยงและกำหนดจำนวนลกู ทใี่ ชป ลอยคนละ 40 - 60 ลูก 3 - 4 ครัง้ 9. การเคลื่อนตัวไปรับลูกตบ โดยใชวิธีปลอยลูกใหนักกีฬาวิ่งไปรับลูกตบ ทง้ั 2 ขา ง สลบั กนั ไปมา รวมทงั้ รับลูกตบเขาตัวดวย เนน ใหนกั กีฬาตีลูกรบั ลกู ตบไปหลังคอรท ทงั้ แนวดาด และงดั โดง พรอมรบั ลกู ตบแบบวางหยอดหนา ตาขา ย ทัง้ แนวตรงและแนวทะแยง และกำหนดจำนวนลกู ทใ่ี ชป ลอยคนละ 32 - 48 ลูก 3 - 4 คร้งั 10. การเคลื่อนตัวไปตบลูกแลววิ่งเขาหยอด เพื่อฝกใหนักกีฬาเลนเกมบุก วิธีปลอยลูกใหนักกีฬาวิ่งไปตบจากหลังคอรทแลววิ่งเขาไปหยอดลูกที่หนาตาขายสลับกัน ไปมา และเนนใหตบลูก และหยอดลูกอยางมีคุณภาพ ทั้งทิศทางในแนวตรงและแนวทะแยง และกำหนดจำนวนลกู ที่ใชป ลอ ยคนละ 24 - 36 ลูก 4 - 6 ครั้ง 11. การเคลื่อนตัวไปรับลูกตบและหยอดลูก โดยวิธีปลอยลูกใหรับลูกตบ เปนสวนใหญสลับกับการโยนลูกใหวิ่งเขาไปหยอดและเนนการตีรับลูกตบ และหยอดลูก ใหมีคุณภาพและเปลี่ยนทิศทางการตีลูกไดตลอดเวลา และกำหนดจำนวนลูกที่ใชปลอย คนละ 24 - 32 ลกู 3 - 4 คร้งั 12. การเคลื่อนตัวไปตีลูกทุกลักษณะตามจุดตางๆ ทั่วทั้งคอรท โดยวิธี ปลอยลูกสงไปตามจุดตางๆ ทั่วทั้งคอรท เพื่อใหนักกีฬาวิ่งไปตีลูกทุกลักษณะของการตีลูก ตามที่นักกีฬาสามารถวิ่งไปไดทันพรอมทั้งกำหนดเปาหมายใหตีลูกในลักษณะที่เปนฝายบุก ไดแก ตัดหยอด เซฟดาด หรือเซฟจี้ สวนดาด แย็บ หยอดปน หรือเปนฝายรับ ไดแก เซฟโดง งัด หยอด รบั ลกู ตบ และกำหนดจำนวนลูกทใ่ี ชป ลอ ยคนละ 32 - 56 ลกู 3 - 4 ครง้ั 13. การเคลื่อนตัวเขาไปแย็บ โดยใชวิธีปลอยลูกจากใตตาขายขึ้นมา ใหนักกีฬากระโดดเขาไปตีลูกแย็บเพื่อใหเกิดความแมนยำและความรวดเร็ว และกำหนด จำนวนลกู ทีใ่ ชป ลอ ยคนละ 60 - 80 ลูก 3 - 4 คร้ัง (แสดงรูปประกอบ) 14. การตีลูกเซฟโดยใหนักกีฬา 1:1 ใหนักกีฬา 2 คน ตีลูกเซฟดาด และเซฟโดง ในแนวตรงและแนวทะแยงสลบั กนั จับเวลาฝกใหค รบคนละ 30 - 40 นาที 98 98 คูม อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมินตัน

คูมอื ผูฝกสอนกฬี าแบดมนิ ตัน การกีฬาแหง ประเทศไทย 15. การตีลูกตัดหยอดและงัดโดยใชันักกีฬา 1:1 ใหนักกีฬาตีลูกตัดหยอด 1 คน และตงี ัดลูก 1 คน สลบั กนั จับเวลาฝก ใหครบ คนละ 30 - 40 นาที 16. การตีลูกเซฟ - งดั - ตัดหยอด - เซฟโดยใชนกั กีฬา 1:1 ใหน กั กีฬา 2 คน ตลี ูกเซฟโดงหรอื ดาด - งัด - ตดั หยอด - เซฟ ใหตอ เน่ืองกัน โดยนกั กฬี าคนแรกเซฟโดง จากหลังคอรท นักกีฬาคนที่สองตัดหยอดแลวใหคนแรกงัดไปทายคอรท และสุดทาย ใหนกั กฬี าคนท่ีสอง ตเี ซฟโดง หรอื ดาดอกี สลับกันจบั เวลาฝก ใหครบคนละ 30 - 40 นาที 17. การตีลกู ตัดหยอด - งัด - ตัดหยอด - งัดโดยใชน ักกีฬา 1:1 ใหน ักกีฬา 2 คน ตีลูกตดั หยอดแลว งดั สลบั กันอยา งตอ เนอื่ งจับเวลาฝก ใหค รบคนละ 30 - 40 นาที 18. การตีลูกหยอดตรงและหยอดทะแยงโดยใชนักกีฬา 1:1 ใหนักกีฬา 2 คน ฝกตีลูกหยอดกันโดยใหนักกีฬาคนแรกหยอดตรง และนักกีฬาคนที่สองหยอดทะแยง สลับกัน จบั เวลาฝกใหครบคนละ 30 - 40 นาที 19. การตีลูกบุกและรับโดยใชนักกีฬา 1:1 ใหนักกีฬา 2 คน ฝกตีลูกบุก และรับโดยใหนักกีฬาคนแรกตีลูกเปนฝายบุก ไดแก ตบ - เซฟดาด - ตัดหยอด และนักกีฬา คนที่สองตีลูก เปนฝายรับ ไดแก รับลูกตบ เซฟโดง งัดโดง หยอด สลับกันเปนฝายบุก และรบั จับเวลาฝก ใหค รบคนละ 30 - 40 นาที 20. การตีลูกบุกและรับในจุดบังคับโดยใชนักกีฬา 1:1 ใหนักกีฬา 2 คน ตีลูก เปนฝายบุกจากจุดหลังคอรท ไดแก ตบ เซฟดาด ตัดหยอด แลวใหนักกีฬาคนที่สอง ตรี ับลูก งดั ไปใหน ักกฬี าฝงตรงขา มบกุ อกี สลบั กนั จบั เวลาฝกใหค รบคนละ 30 - 40 นาที 21. การตีลูกเซฟโดยใชนักกีฬา 1:2 ใหนักกีฬา 3 คน ซอมรวมกันแบบ 1 คน ตอ 2 คน กำหนดใหเซฟตรงหรือสลบั กันไป จับเวลาฝก ใหครบคนละ 30 - 40 เวียนกันไป ทัง้ 3 คน 22. การตบลูกและรับลูกตบโดยใชนักกีฬา 1:2 ใหนักกีฬา 3 คน ซอมรวมกัน แบบ 1 คน ตอ 2 คน กำหนดใหนักกีฬาดานที่มี 1 คน เปนฝายตบลูกไปยัง นักกีฬาดานที่มี 2 คน เปนฝายรับลูกตบโยนกลับไปใหตบใหม โดยจับเวลาฝกใหครบคนละ 20 - 30 นาที คูมือผูฝกสอนกีฬาแบดมินตัน 99 99

คมู ือผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตนั การกีฬาแหง ประเทศไทย 23. การตัดหยอดโดยใหนักกีฬา 1:2 ใหนักกีฬา 3 คน ซอมรวมกันแบบ 1 คน ตอ 2 คน กำหนดใหนักกฬี าดา นท่ีมี 1 คน ตดั หยอดท้ังตรงและทะแยงแลว ใหนักกฬี า ดา นท่ีมี 2 คน งดั โดง กลับไปตัดหยอดอีก โดยจับเวลาฝก ใหค รบคนละ 30 - 40 นาที 24. การตีลูกสวนดาดโดยใชนักกีฬา 1:2 ใหนักกีฬา 3 คน ซอมรวมกัน แบบ 1 คน ตอ 2 คน กำหนดใหนักกีฬาดานที่มี 1 คน ตีลูกสวนดาดแจกไปยังนักกีฬา ดานทีม่ ี 2 คน สลับกนั ไปมา โดยจบั เวลาใหครบคนละ 30 - 40 นาที 25. การงัดลูกและตัดหยอดโดยใชนักกีฬา 1:2 ใหนักกีฬา 3 คน ซอมกัน แบบ 1 คน ตอ 2 คน กำหนดใหนักกีฬาดานที่มี 1 คน เปนฝายตีงัดลูกไปหลังคอรทแลวให นกั กฬี า ดานที่มี 2 คน ตบหยอดกลับมาและกำหนดใหเ ปลยี่ นทศิ ทางตลอดเวลา โดยจบั เวลา ฝกใหครบคนละ 30 - 40 นาที 26. การตีลูกบุกโดยใชนักกีฬา 1:2 ใหนักกีฬา 3 คน ซอมกันแบบ 1 คน ตอ 2 คน กำหนดใหนักกีฬาดานที่มี 1 คน ตีลูกบุก ไดแก ตบ ตัดหยอด เซฟดาด จากกลางคอรทจนถึงหลังคอรท แลวใหนักกีฬาดานที่มี 2 คน เปนฝายตีลูกรับ ไดแก เสริ ฟโดง เซฟโดง งดั โดง หยอดขาง โดยจบั เวลาฝก ใหครบคนละ 30 - 40 นาที 27. การตีลูกรับโดยใชนักกีฬา 1:2 ใหนักกีฬา 3 คน ซอมกันแบบ 1 คน ตอ 2 คน กำหนดใหนักกีฬาดานที่มี 1 คนตีลูกเปนฝายรับ ไดแก เสิรฟ เซฟโดง งัดโดง หยอด แลวใหนักกีฬาดานที่มี 2 คนเปนฝายตีลูกบุก ไดแก ตัดหยอด เซฟาด โดยจบั เวลาฝก ใหค รบคนละ 30 - 40 นาที 28. การตีลูกรับโดยใชนักกีฬา 1:3 ใหนักกีฬา 4 คน ซอมกันแบบ 1 คน ตอ 3 คน กำหนดให 1 คน เปนฝายตีลูกรับ ไดแก เสิรฟ เซฟโดง งัด หยอด และใหนักกีฬา ดานที่มี 3 คนยืนรับผิดชอบหนาตาขาย 1 คน และหลังคอรท 2 คน ๆ ละคอรทเปนฝาย ตลี กู บุก ไดแก เซฟดาด ตดั หยอด ตบ แยบ็ โดยจับเวลาฝกใหค รบคนละ 30 - 40 นาที 29. การวิ่งระยะทางไกล ควรจัดใหนักกีฬาวิ่งระยะทางไกล 3 - 4 กิโลเมตร โดยกำหนดใหวิ่งเร็วสลับชาเปนประจำเพื่อใหรางกายชินกับกีฬาแบดมินตัน โดยใหฝก สปั ดาหละ 1 - 2 ครง้ั 100 100 คูมอื ผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตนั

คูม อื ผูฝกสอนกฬี าแบดมนิ ตนั การกีฬาแหงประเทศไทย 30. การวง่ิ เรว็ ระยะสน้ั ควรจดั ใหน กั กฬี าวง่ิ เรว็ ระยะทาง 100 - 200 - 400 เมตร 5 - 6 รอบ จบั เวลาทำสถติ ิเก็บไวโ ดยใหฝกสัปดาหล ะไมเ กนิ 1 ครง้ั 31. การฝกกายบริหารเพื่อแบดมินตัน ควรจัดใหมีการฝกกายบริหารเพื่อ แบดมินตันประกอบดวย กระโดดสลับเทาเหยาะๆ วิ่งยกเขากระโดดไขวเขา กระโดด บดิ ปลายเทา กระโดดยอเขา หนา - หลงั กระโดดเขา ออกดา นขาง วง่ิ ซอยปลายเทาใหเ รว็ ทีส่ ุด 1) การฝกกายบริหารจัดเวลาฝกทาละ 2 - 3 นาที รวมกันหลายๆ ทา เพ่ือไมใหเ กิดความเบอื่ หนายรวมเวลาประมาณ 15 - 20 นาที 2 - 3 ครั้ง โดยควรจัดใหฝก อาทิตยล ะ 3 - 4 ครั้ง 2) การฝก กายบรหิ ารทา พน้ื ฐานสลบั การวง่ิ ระยะสน้ั 50-80-100-200เมตร จุดแรกใหวิดพื้น 20 ครั้ง แลวลุกขึ้นวิ่งเร็ว 50 เมตร ไปถึงจุดที่สอง ใหนงั่ ลงเลน กลา มทอ ง 20 ครัง้ แลว ลกุ ขึน้ วิ่งเรว็ ไปอีก 50 เมตร ไปถึง จุดที่สามใหเลนกลามหลัง 20 ครั้ง แลวลุกขึ้นวิ่งเร็วไปอีก 50 เมตร ใหฝกตอเนื่องไปเรื่อยๆ จนครบเวลา 15 - 40 นาที ตามที่ตองการ ที่จะใหนักกีฬาฝก ความอดทน 32. การฝกโดยใชน ำ้ หนกั 1) การยกน้ำหนักดรัมเบล 3 - 4 กิโลกรัม ทั้งสองมือในหลายๆ ทาๆละ 20 - 30 ครั้ง ไดแก ยกในทาพับขอศอกทั้งสองมือพรอมกัน หรือสลับกันทีละมือ ยกในทาแบกอยูชิดหัวไหลแลวยกชูขึ้นเหนือ ศีรษะยกในทาเหยียดมือทั้งสองชูเหนือศีรษะแลวพับขอศอกไปทาง ดานหลังสลับขึ้น - ลง ซึ่งในทายกน้ำหนักแตละทาดังกลาวใหจำนวน 3 - 4 เทย่ี ว แตใ หม กี ารหยดุ พกั กลา มเนอ้ื กอ นทกุ เทย่ี วและใหส ะบดั แขน คลายกลามเนื้อ เพื่อหลีกเลี่ยงการยกน้ำหนักตอเนื่องเปนการปองกัน การบาดเจบ็ กับกลา มเน้ือได 2) การยกน้ำหนักบารเบล 20 - 50 กิโลกรัม ตามความสามารถของ รางกาย ในหลายๆ ทาๆละ 10 - 20 ครั้ง ไดแก ยกในทายืนแยกเทา แบบขึ้นอยูในระดบั หัวไหล แลว ยกชขู ้ึนเหนือศีรษะยกในทาพบั ขอ ศอก คมู ือผูฝ กสอนกีฬาแบดมินตัน 101 101

คมู อื ผฝู กสอนกฬี าแบดมนิ ตัน การกฬี าแหงประเทศไทย ขึ้นชิดอก ยกในทายืนแยกเทาโดยหอยน้ำหนักเหยียดแขนลงดานหนา หรือดานหลังแลวยกขึ้นมาใหเหนือระดับเอว ยกในทานอนหงายราบ กับพื้นเริ่มจากการแนบอยูบนอกแลวยกชูขึ้นไปบนอากาศ ซึ่งในทา ยกน้ำหนักแตละทาดังกลาวใหทำ จำนวน 3 - 4 เที่ยว แตใหมีการ หยุดพักกลามเนื้อกอนทุกเที่ยวและใหสะบัดแขนคลายกลามเนื้อ เพื่อหลีกเลี่ยงการยกน้ำหนักตอเนื่องเปนการปองกันการบาดเจ็บกับ กลา มเน้อื ได 3) การยกนำ้ หนกั ดรมั เบลและบารเ บล สลบั การวง่ิ เรว็ ระยะสน้ั นบั เปน ชดุ ๆ ผสมกนั อาทเิ ชน จดุ แรกใหน กั กฬี ายกนำ้ หนกั ดรมั เบลในทา พบั ขอ ศอก ขึ้นชิดอก 20 ครั้ง แลววิ่งเร็ว 80 เมตร ไปถึงจุดที่สองใหยกน้ำหนัก ดรัมเบล ในทาแบกไวระดับหัวไหลแลวยกชูขึ้นเหนือศีรษะ 20 ครั้ง แลววิ่งเร็วไปอีก 80 เมตร ไปถึงจุดที่สามใหยกน้ำหนักบารเบล 40 กิโลกรัม ในทายืนแบกน้ำหนักแลวยกชูขึ้นเหนือศีรษะ 15 ครั้ง แลววิ่งตอไปอีก 80 เมตร ใหฝกตอเนื่องไปเรื่อยๆ จนครบเวลา 15 - 40 นาที ตามทตี่ องการที่จะใหน กั กีฬาฝกความอดทน วิธีฝกซอมตามหัวขอตางๆ ที่ไดแนะนำมาทั้งหมดนี้สามารถจัดผสมกันระหวาง หัวขอหรือเพิ่มเติมหัวขอใหมไดอีกตามที่เห็นสมควร และเหมาะสมกับนักกีฬาแตละคนที่มี ความสามารถแตกตางกันไป แตตองมีการวางแผนการจัดตารางพรอมหัวขอการฝกซอม ในแตละวัน - สัปดาห - เดือนที่จะใชฝกซอมใหเหมาะสมกับรางกายของนักกีฬาและ อาหารสำหรับนักกีฬา รวมทั้งเวลาพักผอนของนักกีฬาโดยคำนึงถึงการแบงเวลาฝกซอม ใหมีประสทิ ธภิ าพในการซอมดงั นี้ 102 102 คูม อื ผฝู กสอนกฬี าแบดมนิ ตัน

คูมือผฝู กสอนกีฬาแบดมินตัน การกฬี าแหงประเทศไทย การฝกทักษะการตีลูก ไดแก การเลนเกม การปลอยลูก การซอมโดยใชนักกีฬา 1 : 1, 1 : 2, 1 : 3 ควรจะเปน 60 - 80% ของเวลาทง้ั หมด การฝกความสามารถของรางกาย ไดแก การฝกกายบริหาร ยกน้ำหนัก วิ่งเร็ว ระยะสั้น วิ่งระยะไกล การฝกกายบริหาร หรือยกน้ำหนักสลับกับการวิ่งเร็ว ควรจะเปน 20 - 40% ของเวลาท้ังหมด ตัวอยางการจัดตารางและหัวขอของการฝกซอมนักกีฬาประเภทเดี่ยวใน 1 สัปดาห โดยมนี ักกฬี า 4 คน และสนามฝกซอ ม 2 สนาม มีรายละเอียดดงั น้ี วันทใ่ี ชฝก ซอ ม จนั ทร - อังคาร - พฤหสั - ศกุ ร - เสาร วนั พกั ผอ น พธุ และอาทิตย เวลาทใี่ ชฝ ก ซอ ม 18.00 - 21.00 น. เทากบั 3 ช่ัวโมง หรอื 180 นาที รายชื่อนักกีฬา ก - ข - ค - ง รายการฝกซอ ม วันจันทร ใหนักกีฬาฝกซอมตามหัวขอตอไปนี้และใหพักระหวางหัวขอครั้งละ 10 นาที (ใชเ วลา 179 นาที) 1. ใหนักกีฬาซอมเลนเกมเดี่ยวนับคะแนนและจับเวลาทั้ง 2 สนาม (ใชวลา 40 นาที) ก VS ข และ ค VS ง 2. ใหน ักกีฬาซอ มตีลกู เซฟ 40 นาที โดยใชน ักกีฬา 1 : 1 ท้ัง 2 สนาม กำหนดให เซฟตรงคนละ 20 นาที เซฟทะแยง 20 นาที (ใชเ วลา 40 นาที) ก : ค และ ข : ง 3. ใหนักกฬี าซอ มตลี กู บกุ และรับโดยใชนกั กฬี า 3 : 1 ใชส นามเดยี ว กำหนดให นกั กฬี าฝงท่มี คี น 1 คน เปนฝายรบั คนละ 20 นาที เพยี ง 2 ชุด ชดุ แรก ก + ข + ค : ง ชุดหลัง ก + ข + ง : ก 4. ใหนักกีฬาทุกคนฝกกายบริหารแบบอยูกับที่ตามทาตางๆ ดังนี้ วิ่งเหยาะๆ กระโดดเทาคหู นาหลงั ว่ิงยกเขา สงู กระโดดบิดปลายเทา วง่ิ ไขวเ ขา วง่ิ ซอยปลายเทา อยางเรว็ ในแตละครง้ั ใหพัก 5 นาที (ใชเ วลา 29 นาที) คูมือผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตัน 103 103

คูมอื ผูฝกสอนกฬี าแบดมนิ ตนั การกฬี าแหง ประเทศไทย วันอังคาร ใหนักกีฬาซอมตามหัวขอตอไปนี้และใหพักหลังจากฝกซอมตาม หัวขอ ท่ี 1 เปนเวลา 5 นาที และใหพ กั ระหวา งหัวขออนื่ ๆ ครั้งละ 10 นาที 1. ใหนักกีฬาซอมเลนเกมเดี่ยวนับคะแนนและจับเวลาทั้ง 2 สนาม (ใชเวลา 40 นาที) ก VS ข และ ข VS ง 2. ใหนักกีฬา ก : ง ซอมแบบ 1 : 1 ในสนามที่ 1 เพื่อใหมีการตัดหยอด แลว วิ่งเขาไปหยอดในทศิ ทางแนวตรง 10 นาที และแนวทะแยง 10 นาที สลบั กันทลี ะคน สำหรับนักกีฬา ข กับ ค ใหฝกตีลูกโดยใชวิธีปลอยลูกในสนามที่ 2 กำหนด การตีลูกตามลักษณะดงั นี้ (ใชเ วลา 40 นาที) - วง่ิ เขาไปหยอดลกู ทัง้ 2 ขา ง คนละ 40 ลูก - วง่ิ ไปตบลกู แลว เขา หยอด หรอื ตบซำ้ หนา ตาขา ย 24 ลูก 6 คร้ัง - วง่ิ ไปตบลูกตา งๆ ทั่วท้ังคอรท 40 ลกู 3 ครงั้ 3. ใหนักกีฬา ก กับ ง ซอมปลอยลูกเหมือน ข กับ ค ในขอ 2 ในสนามที่ 2 และนักกีฬา ข กับ ค ซอมแบบ 1 : 1 เหมือนกับ ก กับ ง ในขอ 2 ในสนามที่ 2 (ใชเวลา 40 นาที) 4. ใหน กั กีฬาทกุ คนว่ิงคอรทแบบ 6 จดุ คนละ 40 จุด สลบั กันช้มี อื และว่งิ คอรท แบบหนา - หลัง คนละ 20 ชุด 2 ครั้ง และวิ่งคอรทแบบ 2 ขาง คนละ 20 ชุด 2 ครั้ง (ใชเ วลา 30 นาที) วันพฤหัส ใหน ักกฬี าซอมตามหัวขอ ตอ ไปนี้และพักระหวา งหวั ขอครงั้ ละ 10 นาที 1. ใหนกั กีฬา ก กับ ง และ ข กับ ค ฝก เสริ ฟเดี่ยวกบั รับลูกเสริ ฟ คนละ 15 นาที สลับกนั ใช คลู ะสนาม (ใชเวลา 30 นาที) 2. ใหนักกีฬาฝกยืนตีลูกตัดหยอดตรงและเซฟทะแยงจากจุดเดี่ยวแบบ 1 : 1 โดยนกั กีฬาอีกดานหน่ึงตองตลี ูกงดั และเซฟกบั ไปยงั จุดเดิมของฝง ตรงขา มคอรทละ 10 นาที สลับกนั ไป กำหนดใหน ักกฬี า ก กบั ข และ ค กับ ง ใชค ูละสนาม (ใชเ วลา 40 นาที) 3. ใหนักกีฬายืนตีลูกเปนฝายบุกโดยใชลูกตบ - เซฟ - ตัดหยอด จากจุดเดียว แบบ 1 : 1 โดยนักกีฬาอีกดานหนึ่งตองตีลูกงัด - รับลูกตบ - เซฟกลับไปยังจุดเดิมของ 104 104 คูมอื ผูฝ กสอนกฬี าแบดมนิ ตนั

คูม อื ผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกฬี าแหงประเทศไทย ฝง ตรงขามคอรท ละ 10 นาที สลบั กนั ไปกำหนดใหนกั กฬี า ก กบั ค และ ข กับ ง ใชค ลู ะสนาม (ใชเ วลา 40 นาที) 4. ใหนักกีฬาวิ่งเร็วในคอรทตามขวางคอรท 2 คอรท ไปและกลับ 4 รอบ โดยกำหนดทาตางๆ ในการวิ่งดงั นี้ (ใชเ วลา 40 นาที) - ว่งิ ทาธรรมดาเอาความเรว็ เปน หลกั 4 ครัง้ - วิ่งเท่ยี วไปทา ธรรมดา และวงิ่ เทยี่ วกลบั ถอยหลังกลับ 4 คร้งั - วงิ่ ซิกแซกแบบยอเขา ใหเทาขวานำหนาอยเู สมอ (ถนัดมอื ขวา) จำนวน 4 คร้งั - วิ่งฟตุ เวริ คอยา งเรว็ ไปขางหนา และถอยหลังมาทำทากระโดดตบ 8 คร้ัง วันศกุ ร ใหน กั กีฬาซอ มตามหัวขอตอ ไปนีแ้ ละใหยดุ พกั 10 นาที ระหวา งหวั ขอ 1. ใหน ักกฬี าเลน เกมจับเวลาและนบั คะแนนท้ังสองสนาม ก VS ง และ ข VS ค 2. ใหนักกีฬาซอมตีลูกบุกและรับโดยใชนักกีฬา 1 : 2 นักกีฬาดานที่มีคนเดียว ซอมตีลูกบุก 20 นาที และรับ 20 นาที ในสนามที่ 1 (ใชเวลา 40 นาที) ก : ข - ค และ ใหน ักกฬี า ง ซอ มเสริ ฟเด่ียวคอรทละ 20 นาที ในสนามที่ 2 (ใชเ วลา 40 นาท)ี 3. ใหนักกีฬาซอมตีลูกบุกและรับ โดยใชนักกีฬา 1 : 2 เชนเดียวกับขอ 2 ในสนามที่ 1 ข : ค - ง และนักกีฬา ก ซอมเสิรฟเดี่ยวคอรทละ 20 นาที ในสนามที่ 2 (ใชเวลา 40 นาที) 4. ใหนักกีฬาซอมกายบริหาร และยกน้ำหนักทุกคนตามหัวขอตอไปนี้ (ใชเ วลา 40 นาที) 4.1 กระโดดเชอื ก 10 นาที 2 คร้ัง พักครัง้ ละ 2 นาที 4.2 ยกนำ้ หนกั ดรมั เบล 5 กโิ ลกรัม ดวยทาตางๆ ดังนี้ - ยกชิดอก 20 ครง้ั 4 เที่ยว - ยกในทา แบกและยกชขู ึน้ เหนือศรี ษะ 20 ครั้ง 4 เท่ียว - ยกชขู ้นึ เหนอื ศรี ษะแลว สะบัดไปดา นหลงั 10 คร้งั 4 เทย่ี ว คมู ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั 105 105

คูม อื ผูฝ ก สอนกฬี าแบดมินตัน การกีฬาแหง ประเทศไทย วันเสาร ใหนักกีฬาฝกซอมตามหัวขอตอไปนี้และใหหยุดพัก 10 นาที ระหวาง หัวขอ 1. ใหน กั กฬี าซอ มเลน เกมจบั เวลาและนบั คะแนนทง้ั สองสนาม (ใชเ วลา 40 นาท)ี ก VS ข แล ค VS ง 2. ใหนักกีฬาซอมเลนเกมตอจากขอ 1 จับเวลา และนับคะแนนทั้งสองสนาม (ใชเวลา 40 นาท)ี ผูชนะ VS ผชู นะ และผแู พ VS ผูแพ 3. ใหนักกีฬาทุกคนวิ่งเร็วสลับชาระยะทาง 1/4 กิโลเมตร 4 เที่ยว โดยเปลี่ยน ความเร็วทกุ ระยะทาง 100 เมตร (ใชเ วลา 30 นาท)ี 4. ใหนักกีฬายกน้ำหนักบารเบล 40 กิโลกรัม ดวยทาตางๆ ดังนี้ (ใชเวลา 40 นาที) - แบกขน้ึ บา ในทา ยนื แยกเทา และเขยง ปลายเทา แลว ยอ เขา เลก็ นอ ย จบั เวลา ครง้ั ละ 2 นาที 5 เท่ียว โดยใหม ีการวิ่งซอยเทา ไปเปน ระยะทาง 220 เมตร ทกุ เท่ยี ว เพ่ือคลาย กลา มเนอ้ื - แบกขน้ึ บาในทายนื แยกเทา แลว ยกชขู ึน้ เหนือศีรษะ 10 ครั้ง 5 เทีย่ ว โดยให มีการสะบดั แขนหลังการยกนำ้ หนกั ทกุ เที่ยว 2) การฝก นกั กฬี าแบดมนิ ตนั ประเภทเดย่ี วระดบั เยาวชนอายตุ ง้ั แต 16 ปข น้ึ ไป จนถึงระดบั นกั กีฬาแหง ชาติ วิธีการฝก แบดมนิ ตนั ประเภทเดยี่ ว วิธีการฝกแบดมินตันประเภทเดี่ยว (2) เปนวิธีการฝกแบดมินตันสำหรับ นักกีฬาเยาชนที่มีอายุตั้งแต 16 ขึ้นไป จนถึงการเปนนักกีฬาระดับนักกีฬาแหงชาติ ซึ่งนับเปนการสอนนักกีฬาระดับอายุในวัยรุนจนถึงวัยฉกรรจ จะตองใชความละเอียดออน ในการสอนมากกวาในวยั เดก็ โดยเฉพาะตอ งมีการใชจิตวิทยาในการสอนมากข้นึ เพราะระดบั อายุในวัยดังกลาว นักกีฬาจะทำการฝกซอมอยางจริงใจไดตอเมื่อนักกีฬายอมรับในความคิด เสียกอนจึงจะฝกซอมจริงจังตามที่สอน การบังคับใหฝกซอมตามใจผูฝกสอนเพียงฝายเดียว จะมีแรงตอตานไมฝกซอมตามรายการฝกซอมที่กำหนด หรืออาจจะฝกซอมแบบไมจริงจัง ไปจนหมดเวลากจ็ ะไมไ ดผลการฝกซอ มท่ดี ี 106 106 คูม ือผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตัน

คูมือผูฝก สอนกฬี าแบดมนิ ตนั การกฬี าแหง ประเทศไทย กฎ กตกิ า มารยาทและวิธกี ารเลนกฬี าแบดมนิ ตนั 1. เปา หมาย ใหมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับมารยาทการดู มารยาทการเลน มารยาท และวินัยของนักกีฬา การปลูกฝงจริยธรรม และคุณธรรมในกีฬาแบดมินตันแกเยาวชน กฎ กตกิ าการเลน พ้นื ฐาน 2. ประกอบดวย 2.1 การเลน การนบั คะแนน 2.2 กฎ กตกิ ากีฬาแบดมนิ ตนั 2.3 มารยาทการเลน และการดกู ฬี าแบดมนิ ตนั 2.4 บรรทดั ฐาน คา นยิ ม (Norm) ในสังคมกีฬาแบดมินตนั รายละเอยี ดเนอ้ื หา การเลนแบดมนิ ตัน แบดมินตันเปนกีฬาประเภทหนึ่งที่ชวยสงเสริมการออกกำลังกายเชนเดียวกับ กีฬาชนิดอื่นๆ นอกจากจะสามารถเลนไดทั้งในรมและกลางแจงแลว ยังเลนไดทุกเพศทุกวัย เปน กฬี าทเ่ี ลน ไมย ากนกั และใชเ นอ้ื ทไ่ี มม ากในการเลน พอจะสรปุ ประโยชนข องกฬี าแบดมนิ ตนั เปนขอ ใหญๆ ดงั นี้ 1. ทางดานรางกาย 1.1 ทำใหรางกายแข็งแรง เพราะกฬี าแบดมนิ ตันตอ งใชก ำลัง ความอดทน ความแคลวคลองวองไว ความแมนยำ การทรงตัว ซึ่งลวนแตพัฒนาสมรรถภาพทางกาย ทง้ั สนิ้ 1.2 ฝกทักษะไปสกู ีฬาประเภทอ่ืนๆ ในการใชเทา และมือในการเคลอ่ื นไหว 1.3 สงเสรมิ บุคลกิ ภาพใหด ขี น้ึ คูม ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตัน 107 107

คูมอื ผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตัน การกีฬาแหงประเทศไทย 1.4 ฝก ความสมั พนั ธร ะหวา งอวยั วะตา งๆ ของรา งกายใหท ำงานอยา งมรี ะบบ และมีประสทิ ธภิ าพดีขนึ้ หากเปน เด็กยังชวยใหเ จรญิ เติบโตไดเตม็ ท่ยี ง่ิ ขึน้ 2. ทางดานจติ ใจ 2.1 ใหความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ 2.2 เปนการพกั ผอนคลายความตึงเครียด 2.3 พฒั นาความมีนำ้ ใจเปนนกั กฬี า รูแพ รชู นะ รูอภยั 2.4 ใหมที ศั นคตทิ ี่ดีตอการกีฬาทถ่ี ูกตอ ง 2.5 ทำใหเ ปน ผทู ่รี ูจักวเิ คราะหสถานการณแ ละตดั สินใจไดอยางรวดเรว็ 3. ทางดา นอารมณ 3.1 ทำใหอ ารมณแจมใส 3.2 รูจักการควบคุมอารมณใ นขณะแขงขนั 3.3 ฝกใหเ ปน คนท่ีมอี ารมณม ่ันคง มคี วามอดทนและใหอ ภยั 4. ทางดานสงั คม 4.1 เปน ผูท ี่มีมนุษยสัมพนั ธที่ดี สามารถเขากับคนอืน่ ได 4.2 ไดพ บปะสงั สรรคใ นหมูเพ่อื นกับบคุ ลอ่นื 4.3 รจู ักแบง หนาท่แี ละรกั ษาหนาที่ ตลอดจนมีการรวมมือกับผูอื่นไดดี 4.4 ฝก การเปน ผนู ำและผูตามที่ดี มมี ารยาท เคารพกฎ กตกิ า และระเบียบ ท่ีควรปฏิบตั ิ 4.5 รจู ักใชเ วลาวางใหเกดิ ประโยชน 5. ดานสตปิ ญญา 5.1 รจู กั ความสามารถและขอ บกพรองของตนเอง 5.2 ฝก ใหเ ปนผทู ีร่ จู กั คดิ คาดการณล ว งหนา และวเิ คราะหสถานการณ 5.3 ฝกความสามารถในการตดั สนิ ใจและแกปญหาอยางรวดเร็ว 108 108 คมู อื ผูฝ กสอนกฬี าแบดมนิ ตนั

คูม ือผูฝกสอนกฬี าแบดมินตนั การกีฬาแหง ประเทศไทย คุณสมบตั ิของนักกีฬาแบดมินตนั ทดี่ ี นกั กฬี าแบดมนิ ตนั ทด่ี นี น้ั ควรจะประกอบดว ยคณุ สมบตั หิ ลายประการ โดยเฉพาะ ความคลองตัว ความวองไวในการเคลื่อนไหวมีความออนตัวไมแข็งกระดาง และมีความ แข็งแรงของกลามเนื้อสวนตางๆ ของรางกายเปนสำคัญ นักกีฬาแบดมินตันจะตองเปนผูที่มี สายตาที่ดี มีไหวพริบ ที่สำคัญตองมีจิตใจที่เขมแข็งไมทอถอยตอสถานการณที่ลำบาก รวมท้งั ตอ งมีการเคลือ่ นไหวในสว นตางๆ ของรา งกายสมั พันธกนั เปนอยางดีดว ย ซึง่ พอจะสรุป เปนองคป ระกอบใหญๆ ดังน้ี ทางดา นรางกาย ควรจะประกอบดว ยลกั ษณะสำคัญ ดงั นี้ 1. มรี ปู รางคอนขางสูง สันทัด มีสายตา และประสาทสมั ผัสที่ดี 2. มีความเรว็ (Speed) วองไวในการเคลื่อนไหวไมช าอืดอาด 3. มคี วามออ นตวั (Flexibility) ซง่ึ จะชว ยใหน กั กฬี าแบดมนิ ตนั มคี วามแคลว คลอ ง ไมแ ข็งเกร็ง 4. มีความแข็งแรง (Strength) ซึ่งเปนพื้นฐานที่สำคัญในการกีฬาทุกชนิด โดยเฉพาะกลามเนื้อ ชว งแขน ขอมือ และทอ ง 5. มีความอดทน (Endurance) ซึ่งเปนพื้นฐานที่สำคัญในการพัฒนาการเลน ใหดขี ึน้ เพราะจะตอ งฝกซ้ำๆ และสม่ำเสมอจงึ จะทำใหรางกายมีความทนทานไดน าน 6. มีความสัมพันธระหวางกลามเนื้อและประสาท (Motor Ability) กลาวคือ ความสามารถของประสาทสั่งงานกับกลามเนื้อเปนไปอยางรวดเร็วทันทีทั้งความแรงและ ความนมุ นวล เชน ในการบงั คับแร็กเกตขณะตีลูก 7. ความวองไว (Agility) เปนความสามารถในการปรับเปลี่ยนทิศทางการ เคลื่อนไหว ซ่ึงเปนปจจยั สำคญั ในการเลน แบดมนิ ตัน ทางดา นจิตใจ ควรจะประกอบดวยลกั ษณะสำคัญๆ ดังน้ี 1. มีความสนใจอยางแรงกลาในการเรียนรูและพัฒนาเพื่อปรับปรุงตัวเอง ใหด ขี นึ้ คูม อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตัน 109 109

คมู ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกีฬาแหงประเทศไทย 2. ตองมีความอดทนตอการฝก มีจิตใจที่เขมแข็งไมทอถอยตอสถานการณ ที่เสยี เปรยี บ 3. ตองรูและเขาใจในความสามารถและขอบกพรองของตนเอง เพื่อจะปรับปรุง แกไข 4. มีความเขาใจตอสถานการณในการแขงขันและขอไดเปรียบเสียเปรียบ เปน อยางดี 5. มีความม่งั คงในอารมณส งู สามารถควบคุมอารมณและการแสดงออกไดเปน อยา งดีในขณะแขงขัน 6. มไี หวพริบในการแกไขสถานการณแ ละปญ หาเฉพาะหนาไดเ ปน อยา งดี ทางดา นสงั คม ซง่ึ เปนคณุ สมบัติทว่ั ๆ ไปของนักกีฬาชนิดอืน่ ๆ ดว ยดงั น้ี 1. เปนผูมีความประพฤตเิ รยี บรอ ย มรี ะเบียบวนิ ยั และมีความรับผดิ ชอบ 2. เชื่อฟงและปฏิบตั ิตามคำแนะนำของผูฝก สอนอยางเครง ครดั 3. มคี วามขยนั หม่ันเพยี รในการฝก ซอ มอยา งสมำ่ เสมอ 4. มีความรแู ละเขาใจในกฎ กติกา ระเบยี บ ตลอดจนการแขง ขันเปน อยา งดี ลกั ษณะของการเลนกีฬาแบดมนิ ตัน แบดมินตนั มกี ารเลนกนั อยู 5 ประเภท คือ 1. ประเภทชายเด่ยี ว กำหนดการเลนไวเกมละ 21 คะแนน 2. ประเภทหญิงเดย่ี ว กำหนดการเลนไวเ กมละ 21 คะแนน 3. ประเภทชายคู กำหนดการเลนไวเ กมละ 21 คะแนน 4. ประเภทหญงิ คู กำหนดการเลนไวเ กมละ 21 คะแนน 5. ประเภทคผู สม (ชาย - หญงิ ) กำหนดการเลนไวเ กมละ 21 คะแนน ประเภทเดี่ยวจะมีผูเลนขางละ 1 คน และประเภทคูจะมีผูเลนขาง 2 คน สำหรับกีฬาแบดมินตันประเภท 3 คน มีเพียงประเทศไทยแหงเดียวในโลกที่มีเกมการแขงขัน และนยิ มเลน ในประเภทน้ี 110 110 คูมอื ผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตัน

คมู ือผฝู ก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน การกฬี าแหงประเทศไทย การเร่มิ เกม เมื่อผเู ลนทั้งสองฝายลงสนามแลวกจ็ ะเริ่มตน ดวยการเสยี่ ง ฝายไหนชนะการเส่ยี ง จะมีโอกาสเลือกสงลูกกอนหรือเลือกขางอยางใดอยางหนึ่ง ที่เหลือผูแพการเสี่ยงจะตองรับ สทิ ธท์ิ ี่เลือก การนบั คะแนน 1. แมทชหนง่ึ ตองชนะใหไดม ากทส่ี ดุ ใน 3 เกม เวน แตจ ะไดกำหนดเปนอยา งอน่ื 2. ฝายท่ไี ด 21 คะแนนกอน เปนฝา ยชนะ 3. ฝา ยท่ชี นะการตีโตจ ะได 1 คะแนน 4. ถามคี ะแนน 20 เทา กนั ฝา ยชนะตองมีคะแนนนำ 2 คะแนน 5. ถา มคี ะแนน 29 เทา กัน ฝา ยทีไ่ ด 30 คะแนนกอนเปน ฝา ยชนะ 6. ฝา ยชนะ เปน ฝายไดสงในเกมตอ ไป การเปลีย่ นขา ง 1. ผเู ลนจะเปลี่ยนขาง 1.1 หลงั จากจบเกมที่ 1 1.2 กอ นเริ่มเลน เกมท่ี 3 (ถามี) และ 1.3 ในเกมที่ 3 หรอื ในการแขงขนั เกมเดียว เมอื่ คะแนนถึง 11 คะแนน 2. ถา ผเู ลน ลมื เปลย่ี นขา งตามทไ่ี ดร ะบไุ วใ นกตกิ าขอ 1 เมอ่ื พบความผดิ ใหเ ปลย่ี น ขางทนั ทีเมอื่ ลูกไมอยูในการเลนและใหนบั คะแนนตอ จากคะแนนทีไ่ ดใ นขณะนั้น มารยาทในการเลนและการแขงขนั กฬี าแบดมนิ ตัน กีฬาแบดมินตันเปนกีฬาที่มีผูนิยมเลนกันมากชนิดหนึ่ง เมื่อมีการแขงขันจะมี ผูชมเปนจำนวนมาก เพราะฉะนั้นผูเลนควรจะแสดงกิริยาทาทางที่สุภาพ ไมแสดงออก ในทาที่ไมดี ควรมีน้ำใจเปนนักกีฬา รูจักแพ รูจักชนะไมกอใหเกิดความวุนวาย รวมทั้ง ผูชมกีฬาแบดมินตันก็ตองมีมารยาทเชนกันไมควรทำอะไรที่เปนการรบกวนสมาธิของนักกีฬา ขณะทำการแขงขัน สำหรับการเลนและการแขงขันกีฬาแบดมินตันมีมารยาทและสิ่งที่จะตอง ประพฤติปฏิบตั อิ ยหู ลายประการดงั น้ี คมู ือผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตัน 111 111

คมู ือผฝู กสอนกฬี าแบดมนิ ตัน การกฬี าแหง ประเทศไทย ก. ผเู ลน 1. แตง กายดวยชุดกีฬาสีขาว สะอาด เรยี บรอ ย 2. ย้ิมแยม แจมใสตอคูแขงขัน แสดงออกถึงมติ รภาพ ความสุภาพ ออนโยน ดวยการสัมผัสมือหรือเปดโอกาสใหคูแขงขันไดวอรม เชน การทดลองลูกตีโต รวมทั้งการใช สิทธิใ์ นการเลอื กการเส่ยี ง เปน ตน 3. ไมแ สดงกริ ยิ าทไ่ี มด เี มอ่ื ทำเสยี เองดว ยทา ทางหรอื คำพดู รวมทง้ั การกลา ว ตำหนผิ ูเลน ฝายเดียวกัน 4. ควรแสดงความมีน้ำใจเปนนักกีฬา พรอมที่จะอภัยแกความผิดพลาด ทุกอยาง โดยไมค ำนึงถงึ ผลแพห รือชนะเปน สิ่งสำคัญมากจนเกนิ ไป 5. ชมเชยเมือ่ คูข องตนหรอื ฝา ยตรงขามตีลกู ไดแมน ยำ สวยงาม 6. เมอื่ ขณะดำเนนิ การแขง ขันอยหู ากจะหยุดพกั เชน ขอเช็ดเหงื่อหรือดื่มน้ำ ควรขออนุญาตตอผูตัดสิน และหากจะเปลี่ยนลูกขนไกตองขออนุญาตคูแขงขันและผูตัดสิน เสียกอนทุกครั้ง 7. หากลูกขนไกตกลงในแดนของตนเมื่อจะสงลูกใหคูแขงขันตองสงลูกขาม ตาขา ยไปให 8. เมื่อการแขงขันสิ้นสุดลง ถาเปนฝายแพไมควรแสดงอารมณฉุนเฉียว ตองควบคุมอารมณ และรีบไปแสดงความยินดีกับคูแขงขันทันที ถาเปนฝายชนะตองไม แสดงความดใี จจนเกินควร 9. ในสนามที่มีผูมารอเลนอยูมากและไมใชการแขงขัน ไมควรเลนกันนาน จนเกนิ ไป ควรเปด โอกาสใหผ อู ืน่ ไดเลน บา ง ข. ผชู ม 1. แตง กายใหสุภาพ เรียบรอ ย เปนการใหเกยี รติแกก ารแขงขันนน้ั ๆ 2. ใหเกยี รตแิ กนกั กฬี าท้งั 2 ฝา ย ดว ยการปรบมอื เมอ่ื มกี ารแนะนำคแู ขง ขัน 3. ไมกลาววาจาท่ไี มส ุภาพ และไมเ ชียรฝ า ยใดฝา ยหน่ึงจนไมนา ดู 4. ขณะการแขงขันยังดำเนินอยูไมควรรบกวนสมาธิของผูแขงขันหรือ ผชู มดว ยกัน เชน การลุกเดินไปมาหรือตะโกนบอกลูกดีหรือลูกออก รวมทง้ั การสอนผูเลนดว ย 112 112 คูม อื ผูฝ ก สอนกีฬาแบดมนิ ตัน

คูม ือผูฝกสอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกีฬาแหง ประเทศไทย 5. การนิ่งเงียบ ในขณะที่นกั กฬี ากำลงั เลนถอื เปน มารยาททดี่ ีของผูชม 6. ควรปรบมือเมื่อผูเลนฝายใดฝายหนึ่งเลนไดดี สวยงาม และกระทำ เมือ่ ลกู ไมไดอยูในการเลน 7. ไมแสดงออกดวยกิริยาหรือวิพากษวิจารณการตัดสินของกรรมการ ขณะทำการแขง ขัน แมว าจะมขี อ ผดิ พลาดอยางไร กค็ วรใหอภัยและยอมรับ 8. เมอ่ื การแขงขันสิน้ สุดลง ควรปรบมอื เปนเกียรตแิ กคแู ขงขนั ทงั้ 2 ฝาย ขอควรระวงั และหลกั การรกั ษาความปลอดภัย ในกีฬาแบดมินตัน โอกาสที่จะเกิดการบาดเจ็บจากการเลนหรือการแขงขัน ยอมเปนไปไดเสมอ ทั้งนี้เพราะหากไมมีการระมัดระวังปองกันหรือการเตรียมตัวที่ดีพอ เนื่องจากเกมของกีฬาแบดมินตันตองใชความแข็งแรง ความเร็ว ความออนตัว จากการวิ่ง หยดุ กระโดด เปลย่ี นทิศทางของการเคลอ่ื นที่อยา งตอ เนือ่ งกัน รวมท้งั การใชความสัมพนั ธของ รางกายกับอุปกรณในการจับจังหวะในการตีลูกหลายๆ แบบ การบาดเจ็บอาจมีปจจัยมาจาก ตัวนักกีฬาเกี่ยวกับความผิดปกติของโครงสราง กรรมพันธุมาแตกำเนิด เชน ขาโกง หลังงอ เขาชน กลามเนื้อขอตอไมแข็งแรง หรือจากการบาดเจ็บแตเดิม เปนตน นอกจากนี้สภาพ ของอปุ กรณแ ละสถานท่ีไมอำนวยใหเกิดความปลอดภยั กจ็ ะเปนโอกาสใหเกดิ อุบัติเหตไุ ดง าย หลักปองกันการบาดเจ็บที่ผูเลนและผูฝกสอนควรทราบ และระมัดระวัง ปอ งกนั มดี งั น้ี ผเู ลน ในผูเลนที่สูงอายุหรือหยุดการเลนไปนานหรือมีประวัติสุขภาพที่ไมดีมากอน ควรไปพบแพทยเพ่อื ตรวจสุขภาพกอ นการเลน แตง กายดว ยชุดกีฬาทเี่ หมาะสมตอ การฝกซอม หรอื แขง ขันเทานน้ั อบอนุ รา งกายใหเ พียงพอโดยเฉพาะบริเวณทต่ี อ งใชมาก เชน หัวไหล แขน หรือขา เปนตน ขณะเลนหรือแขงขันควรระมัดระวังอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได ควรทราบ ขีดจำกัดและความสามารถของตน ไมหักโหมเลนจนเกินไปเมื่อไมอยูในสภาพรางกายและ จติ ใจรวมท้ังไมม อี ุปกรณท ีค่ ุน เคยพอเหมาะก็ไมค วรเลน คมู ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตัน 113 113

คมู ือผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตัน การกีฬาแหง ประเทศไทย เหตุภายนอก 1. สำรวจอุปกรณที่ใชเองวามีความเหมาะสมไดมาตรฐานหรือไม เชน แร็กเกต เสอ้ื กางเกง รองเทา และถุงเทา เปน ตน 2. สภาพสนามเหมาะสมไมลื่น ไมมีหยดเหงื่อหรือเศษขนไก กอนหรือกรวด เล็กๆ ท่อี าจกอ ใหเกิดอนั ตรายได 3. แสงสวางของหองที่ใชฝกหรือแขงขันมีความเขมของแสงพอเหมาะตอ การเลน หรือไม 4. ควรสวมอุปกรณเครื่องปองกันอันตรายจากการบาดเจ็บเดิมหรือคาดวา อาจกอใหเ กดิ อนั ตรายได ขอเสนอแนะ 1. ควรฝกซอมใหเกิดความชำนาญในทักษะตางๆ เปนไปตามลำดับกอน จะทำการแขงขนั คือ - จากนอยไปหามาก - จากเบาไปหาหนกั - จากงายไปหายาก 2. ฝกอยา งสมำ่ เสมอบอ ยๆ พยายามใหทุกสว นไดอ อกกำลัง 3. ไมควรฝก หนกั เกนิ ไป (Over Load Training) ควรหยดุ เลนทนั ทีเม่ือมอี าการ เหนื่อยมากกวาปกติ เชน หัวใจเตนแรง เวียนศีรษะ หนามืด คลื่นไส หายใจขัด หรือชีพจร เตน เกนิ 160 คร้ัง/นาที 4. ควรศึกษาถึงขอบกพรองหรือจุดออน ตลอดจนทราบถึงอันตรายที่มักเกิดขึ้น กบั ตนเอง 5. ถามผี ฝู กสอนควรเช่ือฟงและปฏบิ ตั ิตามผฝู ก สอนอยา งเครงครดั 6. ถา เขาแขง ขันในรายการใดตอ งคำนึงถงึ - คูแขงขันทฝี่ มือทดั เทียมกัน จะทำใหไ มห นกั มากในการแขงขัน - ฝกฝนมามากและหนกั พอตอ การแขง ขนั ในแตละคร้ังได - เชอ่ื ฟง และปฏบิ ัตติ ามกติกาโดยเครง ครัด 114 114 คูมอื ผฝู กสอนกฬี าแบดมินตัน

คมู ือผูฝ กสอนกีฬาแบดมนิ ตัน การกีฬาแหงประเทศไทย - เลอื กโปรแกรมและสมคั รเขา แขง ขนั ในประเภททเ่ี หมาะสมซง่ึ ไมต อ งแขง ขนั ติดตอกันจนเกนิ ไป 7. ระมัดระวังและรูจักทดสอบตนเองในขณะฝก เชน การจับชีพจร ชั่งน้ำหนัก ทดสอบสมรรถภาพ เปน ตน กติกาการเลน กฬี าแบดมนิ ตนั 1. ประเภทการแขงขนั แบดมินตันเปนกีฬาที่นิยมเลนกันมากในประเทศไทย มีประเภทการแขงขัน 2 ประเภท คือ ประเภททีม และประเภทบุคคล สำหรับประเภททีมแบงเปนประเภททีมชาย และทีมหญิง สว นประเภทบคุ คลแบง เปน 5 ประเภท คือ ชายเด่ียว หญงิ เด่ยี ว ชายคู หญงิ คู และคูผสม 2. สนามและอปุ กรณ ในการเลนกฬี าแบดมนิ ตนั ตอ งมสี ถานที่และอุปกรณการเลน ดังน้ี สนามในรมหรือกลางแจงขนาดมาตรฐานและมีแสงไฟฟาสองสนามขนาดความ เขมของแสงประมาณ 300 ลักซ มีอุปกรณประกอบสนามคือเสาและตาขาย ไมแร็กเกตและ ลูกแบดมินตัน ผูเลนตองแตงกายใหเหมาะสม ควรเปนผายืดที่ซึมซับเหงื่อไดดีสำหรับเสื้อ และกางเกงหรอื กระโปรง สวมถงุ เทา และรองเทา มกี ระเปา อปุ กรณต า งๆ เชน นำ้ ดม่ื ผา รดั ขอ มอื ผัาซับเหงื่อ เปน ตน 3. การเลน 3.1 การเสี่ยง กอนการเลนกีฬาทั้ง 2 ฝายตองมาทำการเสี่ยงเพื่อใชสิทธิ์ ของผูชนะในการเลือกเลนอยางใดอยางหนึ่ง คือ เลือกสงลูกกอน หรอื รบั ลกู กอ น หรอื เลอื กสนามดา นใดดานหนึง่ 3.2 การนับคะแนน เพื่อใชในการแขงขันหาผูชนะ 2 ใน 3 เกม ในแตละ ประเภทดังน้ี คูม อื ผูฝก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั 115 115

คมู อื ผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตัน การกีฬาแหงประเทศไทย ประเภทเดี่ยว 1. สนามสง ลูกและรบั ลกู 1.1 ผูเลนจะสงลูกและรับลูกในสนามสงลูกดานขวา เมื่อผูสงทำคะแนน ไมไ ดหรอื คะแนนทไ่ี ดเปน เลขคใู นเกมนนั้ 1.2 ผูเ ลนจะสงลกู และรับลูกในสนามสง ลูกดานซาย เมื่อผูสง ลกู ไดคะแนน เปน เลขคีใ่ นเกมนั้น 2. หลังจากไดรับลูกที่สงมาแลว จะเปนการตีสลับกันของฝายสงและฝายรับ จากตำแหนงใดกไ็ ดในสนามของแตล ะฝา ยที่มตี าขา ยน้ัน จนกระทั่งลูกไมอยูใ นการเลน 3. คะแนนและการสง ลกู 3.1 ถาผรู บั ทำ “เสีย” หรอื ลกู ไมอยใู นการเลน เน่อื งจากลกู ตกลงพ้ืนสนาม ฝายรับ ผสู ง ลูกได 1 คะแนน และผสู ง ยังคงไดส ง ลูกตอในสนามสงลูก อีกดา นหนึ่ง 3.2 ถา ฝา ยสง ทำ “เสยี ” หรอื ลกู ไมอ ยใู นการเลน เนอ่ื งจากลกู ตกลงพน้ื สนาม ของฝายสง ฝายรับได 1 คะแนน ฝายสงหมดสิทธิ์ที่จะสงลูกตอและ ฝายรับจะเปลย่ี นฝายสง ประเภทคู 1. สนามสง ลกู และรบั ลกู 1.1 ในการเริ่มตนเกม ผูเลนที่เปนฝายสงลูกจะตองเริ่มสงจากสนามสงลูก ดานขวา หรือเมื่อฝายสงลูกยังไมมีคะแนน หรือคะแนนในเกมนั้น เปนเลขคู 1.2 ผูเลนจะสงลูกในสนามสงลูกดานซาย เมื่อผูสงลูกไดคะแนนในเกมนั้น เปน เลขคี่ 1.3 ใหคขู าปฏบิ ตั ใิ นทางกลบั กัน 1.4 ผูเลนที่เปนฝายรับ ใหยืนทะแยงมุมตรงขามกับฝายสงลูกโดยจะเปน ผูร ับลูก 116 116 คมู ือผฝู กสอนกีฬาแบดมินตนั

คมู ือผฝู กสอนกฬี าแบดมินตัน การกีฬาแหง ประเทศไทย 1.5 ผรู บั ลกู เทา นน้ั เปน ผตู ลี กู กลบั ไป ถา ลกู ขนไกถ กู ตวั หรอื ถกู คขู าของผรู บั ลกู ตีลูก ถือวา “เสีย” และผสู งลกู ได 1 คะแนน 1.6 การสงลูกทุกครั้งตองสงจากสนามสงลูกสลับกันไป ยกเวน ตามที่ได กำหนดไวในกติกาขอ 1.2 1.7 ผูเลนที่เปนฝายรับ จะตองไมเปลี่ยนสนามในการรับลูกสง จนกระทั่ง ฝา ยตนไดคะแนนจากการสง ลกู 2. ลำดับการเลนและตำแหนงการยนื ในสนาม 2.1 หลังจากไดรับลูกที่สงมาแลว ผูเลนของฝายสงคนหนึ่งคนใดตีลูก กลับไป และผูเลนคนหนึ่งคนใดของฝายรับโตลูกกลับมา เปนอยางนี้ เร่อื ยๆ ไปจนกวา ลูกไมอ ยูในการเลน 2.2 หลังจากไดรับลูกที่สงแลว ผูเลนคนหนึ่งคนใดจะตีโตลูกจากที่ใดก็ได ภายในสนามของตนโดยมีตาขายกั้น 3. การนับคะแนน 3.1 ถาฝายรับทำ “เสีย” หรือลูกไมอยูในการเลนเพราะลูกตกลงบน พื้นสนามของฝายรับ ฝายสงได 1 คะแนน ฝายสงยังคงไดสงลูกตอ ในสนามที่สลับกนั ไป 3.2 ถาฝายสงทำ “เสีย” หรือลูกไมอยูในการเลนเพราะลูกตกลงบน พื้นสนามของฝายสง ฝายรับได 1 คะแนน ผูสงหมดสิทธิ์สงลูกและ ฝา ยรบั จะเปล่ียนเปน ฝา ยสง ลูก 4. การสงลกู ในแตละเกม สิทธใ์ิ นการสงลูกจะตองเรยี งตามลำดบั ดงั นี้ 4.1 ผเู ลนคนแรกท่ีเปน ผเู ร่มิ สง จะสงจากสนามสง ลกู ดา นขวา 4.2 คขู าของผูรับคนแรก จะเปนผูสงคนตอ ไปจากสนามสงลกู ดา นซา ยมอื 4.3 คูขาฝา ยสงคนแรก จะยืนทส่ี นามสง ลกู ตามคะแนนของดานน้นั ๆ 4.4 ผูเลนของฝายรับคนแรก เมื่อเริ่มเลนจะยืนที่สนามสงลูกตามคะแนน ของดานนัน้ ๆ และจะเปน เชน นเี้ รอื่ ยไป คมู อื ผูฝก สอนกฬี าแบดมินตัน 117 117

คมู ือผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตัน การกีฬาแหง ประเทศไทย 5. หามผูเลนสงลูกกอนถึงเวลาที่ตนเปนผูสง หรือรับลูกกอนถึงเวลาที่ตน เปนผูรับ หรือรับลูกสงติดตอกันสองครั้งในเกมเดียวกัน ยกเวนตามที่ไดกำหนดไว ในกตกิ าขอ 1.2 6. ผูเลนคนหนึ่งคนใดของฝายชนะ จะเปนผูสงลูกกอนในเกมตอไปได และ ผเู ลน คนหน่ึงคนใดของฝา ยแพจะเปนผูร ับลูกกอนกไ็ ด 4. กฎ กตกิ า มารยาท ในระหวางการเลนน้ันผูเลนทง้ั 2 ฝา ย จะตองไมท ำผดิ กติกาดังน้ี การทำผดิ ซึ่งมีผลแตกตางกนั ใน 2 กรณี คือ การทำผดิ ในสนามสง ลกู ไดแ ก การผดิ ลำดบั การรบั และสง ซง่ึ กรณนี ห้ี ากกรรมการ ผูตัดสินตรวจพบเปนครั้งแรกและตรวจพบกอนการสงลูกตองแกไขใหมีการยืนในตำแหนง หรือลำดับการรับการสงในสนามที่ถูกตองเสียกอนที่จะใหสงลูกเพื่อเลนตอไป แตถาตรวจพบ การทำผิดน้ันภายหลงั ท่ีไดสงลูกไปแลว ใหเลน ตอไปตามนน้ั จนจบเกม การทำผิดมารยาทในการเลน ไดแ ก จงใจถวงเวลาเพ่ือใหหายเหน่ือย การออกไป นอกสนามโดยมไิ ดร บั อนญุ าตจากกรรมการผตู ดั สนิ รบั รหู รอื แสดงถงึ การรบั คำแนะนำระหวา ง การแขง ขนั แสดงกริ ยิ ามารยาททไ่ี มเ หมาะสม หรอื จงใจทำใหว ถิ แี ละความเรว็ ของลกู เปลย่ี นไป ซ่งึ หากผูเลนทำผิดมารยาทตามที่กลา วน้จี ะไดรับการลงโทษตามลำดบั การทำเสีย ในระหวางการเลนเปนผลทำใหลูกไมอยูในการเลนมีหลายกรณี เชน ลูกไมขามตาขาย ลูกถูกตัว ลูกถูกวัตถุหรือบุคคลภายนอก การตีลูกกอนที่ลูกจะขามตาขาย หรือการกีดขวางทำลายสมาธิคูแขงขัน เปนตน เมื่อมีการทำเสีย ทำใหลูกตายถาเปนฝายสง ทำเสียก็จะเสยี แตมและหมดสทิ ธิ์สง การลงโทษ ผูเลนที่ทำผิดตามขอ 4.1.2 จะไดรับการลงโทษตามลำดับของ ความผิด และลำดับของความรา ยแรงที่เกิดข้ึน ดังนี้ การเตอื นอยางไมเปนทางการ (Caution) เปน การคาดโทษดวยวาจา การเตือนอยางเปนทางการ (Warning) ไดรบั ใบเหลือง การตดั สิทธิ์ (Fault) ไดร บั ใบแดง การใหอ อกจากการแขงขัน (Disqualified) ไดรับใบดำ 118 118 คูม อื ผูฝกสอนกฬี าแบดมนิ ตนั

คมู ือผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตนั การกฬี าแหง ประเทศไทย 5. เจาหนาท่ี กรรมการผูตัดสิน เปนผูควบคมุ การแขงขนั ภายในสนาม กรรมการกำกับการสงลกู เปนผขู านเสยี สำหรับการสงลูกท่กี ระทำผดิ กรรมการกำกับเสน เปน ผใู หสัญญาณดหี รอื ออก ในเสน เขตทไ่ี ดร ับผดิ ชอบ กรรมการผชู ้ขี าด เปนผคู วบคมุ การแขง ขนั ทัง้ หมด คมู อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมินตนั 119 119

คมู ือผูฝกสอนกฬี าแบดมินตนั การกีฬาแหงประเทศไทย ทกั ษะพื้นฐาน เทคนคิ วิธกี ารสอน และการประเมนิ ผล 1. เปา หมาย ใหมีความรู และทักษะกีฬาแบดมินตัน สามารถสาธิต สอนและแกไข ขอ บกพรอ ง และประเมินผลความสามารถของนกั กฬี าได 2. ประกอบดว ย 2.1 การใชเทาและการเคลื่อนที่ การวางเทาทาเตรียม การเคลื่อนที่ในทิศทาง ตา งๆ ทั้งหกทิศทาง 2.2 การเคล่ือนไหวรางกายเพอ่ื ตลี กู การวางเทา การถา ยน้ำหนกั ตัว การเคลอื่ นไหวสว นตา งๆ ของรางกายเพอ่ื ตีลกู และการปลอยไมต าม 2.3 การจบั ไมแ ละปรับเปลี่ยนหนาไม 2.3.1 การตลี ูกเหนือศรี ษะ เชน เซฟ ตบ ตดั หยอด ดาด 2.3.2 การตีลกู ขางลำตวั เชน ตรี ะดบั สูงกวา ไหล ระดับไหล ระดับตำ่ กวา ไหล 2.3.3 การตลี ูกหนา ลำตัว เชน งัด หยอด รบั ลูกตบ 2.3.4 การรบั - สง ลกู เชน ลูกสนั้ และลกู ยาว 2.4 ทกั ษะการปลอยลกู ดวยมือและปลอ ยลกู ดว ยแร็กเกต 120 120 คูมือผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตัน

คูม อื ผูฝ ก สอนกฬี าแบดมนิ ตนั การกฬี าแหงประเทศไทย รายละเอยี ดเนอ้ื หา 1. การจับไมแ รก็ เกต (Grip) ตองจับใหสามารถตีลูกไดทั้งสองดานของแร็กเกต โดยตีลูกโฟรแฮนด ดวยดานหนึ่งของแร็กเกตใหนิ้วชี้เปนตัวออกแรงบังคับการตีและตีลูกแบ็คแฮนดดวย อีกดานหนึ่งของแร็กเกตโดยใชนิ้วหัวแมมือออกแรงบังคับการตี การจับไมไมควร กำใหแนนเกินไป เพราะจะทำใหนิ้วมือออกแรงไปโดยเปลาประโยชนตามรูปที่แสดง ลกั ษณะการจับไมท ถี่ ูกตอง การจบั ไมแร็กเกต 2. การตั้งทา ตลี ูก (Stance) สำหรับคนที่ถนัดใชมือขวาใหยืนในลักษณะเอียงลำตัวโดยใชเทาซายนำหนา และเทาขวาอยูขางหลัง และใหปลายเทาซายชี้ไปตามทิศทางที่จะตีลูก สำหรับคนที่ถนัดใช มอื ซาย ใหต้ังทาทำนองเดียวสลับกนั เฉพาะเทาเทา น้ัน การตัง้ ทาตีลกู คมู ือผฝู กสอนกฬี าแบดมนิ ตนั 121 121

คมู อื ผฝู กสอนกฬี าแบดมินตัน การกีฬาแหงประเทศไทย 3. การถายน้ำหนักตวั พรอ มกับหวยี่ งแขนสะบัดขอ มอื ตีลม สำหรับคนถนัดมือขวา เมื่อตั้งทาตีลูกโดยใชเทาซายอยูหนาและเทาขวา อยูหลังแลว ตองมีการถายน้ำหนักตัวจากเทาหลังไปอยูบนเทาหนาเมื่อมีการตีลูก และขณะเดียวกันก็จะมีการเหวี่ยงแขนใหครบรอบวงแขนแลวยืดแขนไปตีลูกเหนือศีรษะ ใหสุดแขน การถายน้ำหนักตัว 4. การยืนตีลูกขณะยนื อยูก ับที่ ตอ งฝก ตลี กู ใหเ กดิ ความชำนาญท้ัง 9 ลกั ษณะ ของการตลี กู ดงั ตอ ไปน้ี 4.1 การตลี ูกเสิรฟ (Serve) สำหรับคนถนัดมือขวาเมื่อตองการเสิรฟลูกใหโดงไปหลังคอรท เพื่อการเลนเดี่ยวทางดานโฟรแฮนดใหยืนเอียงลำตัวขางซายนำหนาและใหเทาขวาอยูหลัง ทิ้งน้ำหนักตัวอยูบนเทาหลัง ถือลูกดานมือซาย จับสวนบนของลูกแลวใหหัวลูกขนไกอยู ขางลาง เหวี่ยงแขนจากดานหลังมาดานหนาแลวสะบัดขอมืองัดลูกขางลางพรอม ถายน้ำหนักตัวจากเทาหลังมาเทาหนา และปลอยลูกขนไกใหกระทบแร็กเกตที่ดานหนา กับปลอยแร็กเกตไปตามแรงเหวี่ยงของการตีลูก อยาฝนแร็กเกตไว บังคับใหลูกขนไก โดง มากไปตกอยใู กลเสนหลังสดุ การเสิรฟเพื่อเลนคูทางโฟรแฮนดยืนตั้งทาเชนเดียวกับการเสิรฟเดี่ยว แตไมเหวี่ยงแร็กเกตไปขางหลัง ถือแร็กเกตใกลกับลูกใชขอมือบังคับแร็กเกตตีลูกใหเลียด 122 122 คมู ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตนั

คมู ือผฝู กสอนกีฬาแบดมินตนั การกีฬาแหง ประเทศไทย ตาขายแลวตกใกลเสนเสิรฟดานหนาตาขายมีการถายน้ำหนักตัวเพียงเล็กนอยจากเทาหลัง มาเทาหนา และสำหรับการเสิรฟลูกเพื่อเลนคูทางดานแบ็คแฮนดใหยืนตั้งทาโดยใช เทาขวานำหนาใชมือซายถือลูกใหหัวลูกขนไกดิ่งลงอยูระดับเดียวกับเอวถือแร็กเกต ใกลกับลูก ใชหัวแมมือบังคับทิศทางการตีลูกทางดานแบ็คแฮนด พรอมกับใชขอมือ สะบดั ตีลูกใหเ ลยี ดตาขายและลงใกลเ สนเสิรฟดานหนาใหม ากที่สุด การเสริ ฟเดยี่ วและคู การเสริ ฟ ดวยแบ็คแฮนด 4.2 การตีลูกหยอด (Drop) ใหยืนตั้งทาโดยใหเทาขวาอยูขางหนาแลวตีลูกโดยใชการสะบัดขอมือ เพียงเล็กนอยทั้งบนดานโฟรแฮนดและแบ็คแฮนดบังคับใหลูกเลียดขามตาขายแลวตกลง อยูใกลต าขาย การตีลกู หยอด คมู ือผฝู ก สอนกฬี าแบดมนิ ตนั 123 123

คมู ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกฬี าแหง ประเทศไทย 4.3 การตีลกู งดั (Net Lob) ใหยืนตั้งทาโดยใหเทาอยูดานหนาแลวตีลูกโดยสะบัดขอมืออยางแรง ท้งั ทางดา นโฟรแฮนดแ ละแบ็คแฮนดใหลกู โดง ไปหลังคอรท การตลี ูกงัด 4.4 การตีลกู แย็บ (Jap) ใหยืนตั้งทาโดยวางเทาขวาอยูดานหนา ยกไมแร็กเกตใหเหนือตาขาย แลวตีลูกที่เพิ่งขามตาขายมาโดยผานแร็กเกตออกทางดานโฟรแฮนดหรือแบ็คแฮนด ตามความเหมาะสม สำหรบั คนถนดั มอื ขวาเมื่อยืนอยหู นาตาขายในตำแหนง ทีเ่ ทา ขวาอยใู กล เสนดานขางควรตีลูกแย็บทางดานโฟรแฮนด และหากอยูในตำแหนงเทาซายอยูใกลเสน ดานขา งควรตีลกู แยบ็ ทางดา นแบ็คแฮนดเ พื่อใหลกู ขนไกไมออกดา นขา งงา ยๆ การตีลกู แย็บ 124 124 คูมอื ผูฝกสอนกฬี าแบดมินตนั

คูม ือผฝู ก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน การกฬี าแหง ประเทศไทย 4.5 การตีลกู สวนดาด (Drive) ใหยืนตั้งทาโดยวางเทาขวานำหนาอยูดานหนาแลวตีลูกที่สงมา เหนือระดับเอวขึ้นไป โดยบังคับแร็กเกตตีลูกทางดานโฟรแฮนดหรือแบ็คแฮนดใหลูกขนไก มีวิถีเลียดไปกับตาขาย การตีลูกสวนดาดที่ถูกตองหัวของแร็กเกตจะตั้งฉากกับพื้ในจังหวะที่ตี ลูกขนไกพ อดี การตีลูกสวนดาด 4.6 การตีรบั ลกู ตบ (Smash Recovery) ใหยืนตั้งทาโดยวางเทาขวานำอยูดานหนาและตีรับลูกตบดวยดาน แบ็คแฮนดเปนสวนใหญ และตีรับลูกตบดวยดานโฟรแฮนดเปนสวนนอย จุดสำคัญของการ รบั ลกู ตบกค็ อื การขยับเทาเพื่อถา ยน้ำหนักตวั ชว ยเสรมิ ความไวในการรับลกู การตรี ับลกู ตบ คมู อื ผูฝกสอนกีฬาแบดมินตนั 125 125

คูม อื ผฝู กสอนกฬี าแบดมินตัน การกฬี าแหงประเทศไทย 4.7 การตลี กู เซฟหรอื การตลี กู โดง ทางดา นโฟรแ ฮนด (Safe หรอื Lob) ใหยืนตั้งทาโดยวางเทาขวาอยูดานหลังแลวเอียงลำตัวดานซาย และ วางเทาซายหนาในการตีลูกจะมีการเหวี่ยงแขนพรอมถายน้ำหนักตัวจากเทาขวาไปอยูบน เทาซายดานหนา แลวสะบัดขอมือตีลูกในตำแหนงสูงที่สุดใหถูกจังหวะกับพอดีจะตีลูก ไดแรงมาก โดยเฉพาะการเหวี่ยงแขนใหสัมพันธกับการสะบัดขอมือและตีลูกในตำแหนง สงู ทส่ี ดุ สำหรบั การตที างดา นแบค็ แฮนดใ หย นื ตง้ั ทา โดยวางเทา ขวานำหนา ในการตลี กู จะมกี าร เหวย่ี งแขนพรอ มถา ยนำ้ หนกั ตวั จากเทา ซา ยไปอยบู นเทา ขวาแลว สะบดั ขอ มอื ตลี กู ในตำแหนง สูงที่สุด วิถีที่ถูกตีไปจะโดงขามตาขายและคูตอสูไปตกที่หลังคอรท การถายน้ำหนักตัวตอง พยายามใหเปนเสนตรงตามแนวที่ตองการสง ลกู ไป การตีลกู เซฟดานโฟรแ ฮนด 126 126 คูม อื ผูฝกสอนกฬี าแบดมนิ ตนั

คูมือผูฝก สอนกีฬาแบดมินตัน การกีฬาแหง ประเทศไทย 4.8 การตีลูกตบท้งั ทางดานโฟรแฮนดและแบ็คแฮนด (Samash) มีลักษณะการตั้งทาเหวี่ยงแขนพรอมถายน้ำหนักตัวและสะบัดขอมือ เหมือนกันกับการตีลูกเซฟ แตจังหวะที่แร็กเกตจะกระทบลูกจะเลยตำแหนงสูงสุดไปทาง ดานหนา ทำใหวถิ ีลูกเฉียงลงไปตามทิศทางทีต่ อ งการตลี กู ไปยังฝงตรงขาม การตบโฟรแฮนด 4.9 การตีลูกตัดหยอดทั้งทางดานโฟรแฮนดและแบ็คแฮนด (Drop Shot) มีลักษณะการตั้งทาเหวี่ยงแขนพรอมถายน้ำหนักตัวและสะบัดขอมือ เหมือนกันกับการตีลูกตบแตกอนที่แร็กเกตจะกระทบลูกจะมีการหมุนหัวแร็กเกตตาม เข็มนาิกาหรือทวนเข็มนาิกาจากบนลางทำใหลูกมีวิถีเฉียงลงจากจุดตีลูกไปขามตาขาย แลว ตกอยใู กลๆ เสนเสิรฟของฝง ตรงขาม ขอควรฝกฝน เนื่องจากการตีลูกเซฟ ลูกตัดหยอดและลูกตบ มีลักษณะสวนใหญ เหมือนกันหมดผิดกันตรงจังหวะที่แร็กเกตจะกระทบลูก ซึ่งใชเวลาเพียงเสี้ยววินาทีเทานั้น แตวิถีลูกจะแตกตางกันมาก ทำใหคูตอสูเดาใจไดยาก ฉะนั้นควรฝกฝนการตีลูกทั้งสาม ลักษณะนี้ใหแมนยำและเปลี่ยนจังหวะการตีลูกบอยๆ เพื่อใหเกิดความชำนาญ จะไดเปน ประโยชนใ นการเลนกีฬาแบดมินตนั ทีด่ ีตอ ไป คมู อื ผูฝก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน 127 127

คมู อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมินตนั การกีฬาแหง ประเทศไทย การตีลูกตัดหยอด 5. การวิ่งฟตุ เวริ ค ตองเรมิ่ ฝก ว่ิงฟุตเวริ ค ตามลำดบั ดังน้ี 5.1 การวงิ่ เขาหนาและถอยหลัง จะวิ่งโดยกาวเทาขวานำหนาเสมอแลวกาวเทาซายวิ่งสไลดตาม และการวิ่งจะมีลักษณะเอียงลำตัวขวานำหนา การลงจังหวะกาวสุดทายขณะวิ่งเขาหนา ใหลงสนเทากอนเพื่อชวยในการหยุด หากลงดวยปลายเทากอนอาจทำใหขอเทาพลิกหรือ บาดเจ็บไดง าย การวิง่ เขา หนาและถอยหลงั 128 128 คมู ือผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตัน

คมู อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมินตนั การกฬี าแหงประเทศไทย 5.2 การว่งิ ฟุตเวิรค ออกดานขา ง การวิ่งจะใชกาวเทาขวานำแลวกาวเทาซายสไลดตาม เชนเดียวกับ การวง่ิ เขา หนา และถอยหลงั แตก า วสดุ ทา ยทางดา นโฟรแ ฮนดใ หบ ดิ ปลายเทา ชไ้ี ปดา นขา งดว ย สำหรับการวิ่งออกดานขางเพื่อตีแบ็คแฮนด จะวิ่งโดยใชเทาซายนำบางในกรณีตีลูกใกลๆ ตัว กท็ ำได การวง่ิ ฟตุ เวริ ค ออกดา นขาง 5.3 การวิ่งฟุตเวิรค 4 จดุ โดยยืนเริ่มตนที่กลางคอรทแลววิ่งเขาไปทำทาหยอดลูกหนาตาขาย 2 จุด และหลังคอรท 2 จุด ในการวิ่งใชกาวเทาขวานำและใหเทาซายกาวสไลดตามเสมอ (สำหรบั คนทถ่ี นดั ขวา) การกา วเทา ตลี กู หนา ตาขา ยกา วสดุ ทา ยตอ งยดึ หลกั ใหด ตี รงทใ่ี หส น เทา ลงกอน และใหปลายเทาชี้ไปตามตำแหนงลูกที่จะตีเพื่อปองกันมิใหขอเทาพลิกหรือบาดเจ็บ ไดงา ย การวิง่ ฟุตเวริ ค 4 จุด คมู ือผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตัน 129 129

คมู อื ผูฝก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกีฬาแหงประเทศไทย 5.4 การวิง่ ฟุตเวริ ค 6 จดุ เริ่มวิ่งจากกลางคอรทไปทำทาหยอดลูกหนาตาขาย 2 จุด ตีลูก กลางคอรท 2 จุด และตีลูกหลังคอรท 2 จุด การวิ่งคลายกบั วง่ิ ฟุตเวิรค 4 จุด แตเพิ่มการทำทา ตีลูกกลางคอรทอีก 2 จุด ซึ่งตองระวังในเรื่องปลายเทาใหดี ตองชี้ไปตามตำแหนงลูกที่จะตี เพื่อปองกนั มใิ หข อ เทา พลิกหรอื บาดเจบ็ ไดงา ย การวิง่ ฟุตเวริ ค 6 จุด 6. การเคลื่อนตัวไปตีลูก ฝกฝนโดยใชลักษณะการวิ่งฟุตเวิรคและการยืน ตลี กู อยกู บั ท่ี ดงั ทไ่ี ดก ลา วมาแลว ผสมกนั บงั คบั ใหล กู ไปลงตามตำแหนง ทต่ี อ งการอยา งแมน ยำ เชน เดียวกบั การยืนตีลูกอยูกับทีโ่ ดยฝกใหค รบท้ัง 8 ลักษณะของการตลี กู ดังนี้ 6.1 การวิง่ เขา ไปหยอดลูก ฝกโดยวิ่งจากหลังคอรทเขาไปตีลูกหยอดที่หนาตาขายแลววิ่งฟุตเวิรค ถอยหลังไปหลังคอรทอีกทำสลับกันไป และตองฝกหยอดลูกทั้งดานโฟรแฮนดและแบ็คแฮนด จนเกดิ ความชำนาญ 130 130 คูมือผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตนั

คมู อื ผูฝก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน การกฬี าแหงประเทศไทย การว่ิงเขาไปหยอดลูก 6.2 การวิง่ เขาไปตีลูกงดั ฝกเชนเดียวกับการวิ่งเขาไปหยอดลูก แตเปลี่ยนจากการหยอดลูก เปนตีลกู งดั ทั้งดา นโฟรแ ฮนดและแบ็คแฮนด การวิง่ เขา ไปตีลกู งดั คูม อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตนั 131 131

คมู อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมินตนั การกีฬาแหงประเทศไทย 6.3 การว่งิ เขาไปแยบ็ ลกู ใหกาวเทาขวาเขาไปแย็บลูก (สำหรับคนถนัดขวา) โดยใหยกไมสูง เหนือตาขายแลวตีลูกใหลงพื้นฝายตรงขามแลวผานแร็กเกตขนานไปตามตาขายทางดาน โฟรแฮนดแ ละแบ็คแฮนดต ามความเหมาะสม ระวงั ไมใหไ มแ ร็กเกตขา มตาขายหรือถกู ตาขาย การวิง่ เขา ไปแยบ็ ลกู 6.4 การวิ่งไปตีลกู สวนดาด ใหก า วเทา ขวาออกนำไปตลี กู ดา นขา งทง้ั ดา นโฟรแ ฮนดแ ละแบค็ แฮนด ตลี กู โดยสะบดั ขอ มอื ใหด าดเลยี ดตาขา ยขา มไปฝง ตรงขา มและใหแ รก็ เกตกระทบลกู ในจงั หวะ ท่ีหวั ไมตง้ั ฉากกบั พ้นื พอดีจะทำใหลูกทถี่ ูกตขี ามไปไมโดง ขน้ึ การวง่ิ เขาไปสวนลกู ดาด 132 132 คูมือผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตนั

คมู อื ผฝู ก สอนกฬี าแบดมนิ ตนั การกีฬาแหงประเทศไทย 6.5 การวง่ิ ไปตีรบั ลกู ตบ ใหกาวเทาขวานำแลวใชเทาซายสไลดตามไปรับลูกตบดานขาง ทั้งทางดา นโฟรแ ฮนดแ ละแบค็ แฮนด แลว สะบัดขอมือตีลกู ไปเลยี ดขามตาขา ยไปฝงตรงขา ม การว่งิ ไปรบั ลกู ตบ 6.6 การวิง่ ไปตรี บั ลูกเซฟหรอื ลูกโดง ใหกาวเทาขวาพรอมเอียงลำตัวขางขวาไปทางดานหลัง ใชเทาซาย สไลดตามเทาขวาไปจนถึงจุดที่จะตีลูกแลวเหวี่ยงแขนสะบัดขอมือตีลูกเต็มที่ในตำแหนง สูงที่สุดใหลูกโดงขามตาขายไปฝงตรงขาม หากตองการใหลูกโดงขึ้นมากตองตีลูกในตำแหนง คลอ ยหลังจากตำแหนง สงู สดุ ไปทางดา นหลงั การวง่ิ ไปตลี กู เซฟหรอื ลกู โดง คูมอื ผูฝ กสอนกฬี าแบดมินตนั 133 133

คมู ือผฝู ก สอนกฬี าแบดมนิ ตนั การกฬี าแหงประเทศไทย 6.7 การว่ิงไปตลี ูกตบ ลักษณะการวิ่งเหมือนการวิ่งไปตีลูกเซฟแตตำแหนงแร็กเกต ตกกระทบลูกจะอยูต่ำกวาตำแหนงสูงสุดไปดานหนา เพื่อใหวิถีลูกที่ตีเฉียงขามตาขายไปยัง ตำแหนงที่ตองการบงั คับลกู ใหไป การว่งิ ไปตบลูก 6.8 การวิง่ ไปตดั หยอด ลักษณะการวิ่งและการตีลูกตำแหนงเดียวกันกับการวิ่งไปตีลูกตบ แตกอนที่ไมจะกระทบลูกจะมีการหมุนขอมือเพื่อใหวิถีลูกเฉียงขามตาขายลงไปตำแหนง ใกลต าขา ยทสี่ ดุ การวง่ิ ไปตดั หยอด 134 134 คูมือผูฝ กสอนกีฬาแบดมนิ ตัน

คมู อื ผูฝกสอนกฬี าแบดมนิ ตัน การกีฬาแหงประเทศไทย 7. การกายบริหารเพื่อกฬี าแบดมนิ ตัน กายบริหารเปนสิ่งจำเปนมากสำหรับนักกีฬาแบดมินตัน เพราะตองใช รา งกายทกุ สว นแบง การกายบรหิ ารออกเปน 2 ชดุ คอื การกายบรหิ ารทว่ั ไป และการกายบรหิ าร สำหรบั แบดมนิ ตัน 7.1 การกายบริหารทั่วไปหรือการวอรมอัพ ใชเพื่อเตรียมรางกายกอน การตีลกู โดยเริ่มการกายบรหิ ารจากปลายเทาจนถึงศรี ษะดงั นี้ 1) ยืนแยกเทาออกดานหนา - หลัง แลวกดปลายเทาลงกับพื้น ทำสลับทลี ะเทา 2) ยืนบิดขอเทา และขอมือทวนเข็มนาิกาและตามเข็มนาิกา สลบั กนั ทำทีละเทา สลบั กันไป 3) ยืนตรงชิดเทา เอามือจับหัวเขาทั้งสองขางแลวหมุนทวนเข็ม นาิกา และตามเข็มนาิกาสลบั กัน 4) ยืนแยกเทา เอามือจับหัวเขาทั้งสองขางแลวหมุนหัวเขาเขาหากัน และหมนุ แยกอกจากกนั สลับกันไป 5) ยืนตรงเทาชิดเอามือจับหัวเขาแลวกด 2 ครั้ง ทำใหขาเหยียดตรง แลว นงั่ ยองลง 2 ครั้ง และยืนข้ึนอกี ทำสลับกันไป 6) ยนื แยกเทา ใหห า งกนั มากๆ แลว นง่ั ยอ เอนไปดา นขา ง ใหน ำ้ หนกั ตวั อยบู นเทาทลี ะขา งสลับกนั ไป 7) ยืนแยกเทา กางแขนออกดานขางใหเสมอไหลเหยียดเทาตรงกัน หมุนลำตัวใหมือขวาไปแตะปลายเทาซายแลวหมุนตัวกลับ ใหม อื ซา ยไปแตะปลายเทาขวาทำสลบั กนั ไป 8) ยืนแยกเทา ยกแขนขึ้นใหสูงสุด แบะตัวออกไปดานหลัง 2 ครั้ง แลวกม ลงสอดมือทัง้ สองสอดเทาไปดานหลัง 2 ครั้ง ทำสลบั กันไป 9) ยืนแยกเทาแลวกมตัวหมุนเอวทวนเข็มนาิกาและตามเข็ม นากิ าสลบั กันไป คมู อื ผูฝกสอนกีฬาแบดมนิ ตนั 135 135

คมู อื ผูฝก สอนกีฬาแบดมินตนั การกฬี าแหงประเทศไทย 10) ยืนแยกเทากางแขนออกดานขางใหเสมอไหล เอามือขางหนึ่ง จับเอวและเอามือขางหนึ่งยกครอมศีรษะพรอมเอนลำตัวไปขาง ทีม่ ือจบั เอวอยทู ำสลบั ทีละขา ง 11) ยืนแยกเทากางแขนออกดานขางใหเสมอไหลทั้งสอง หมุนลำตัว ไปดา นซา ยและขวาสลบั กันไป 12) ยืนแยกเทา ยกแขนชูขึ้นเหนือศีรษะ เอนไปดานหลัง 2 ครั้ง แลวปลอยแขนลงชิดตัวและสะบัดออกไปดานหลังอีก 2 ครั้ง ทำสลับกนั ไป 13) ยืนแยกเทา ยกแขนขวาชูขึ้นเหนือศีรษะ ปลอยแขนซายใหอยู ชิดลำตัวและสะบัดแขนทั้งสองออกไปทางดานหลัง 2 ครั้ง แลว สลบั แขนทำเชน เดยี วกันอกี 2 ครั้ง ทำสลบั กนั ไป 14) ยืนแยกเทาเหวี่ยงหมุนแขนรอบหัวไหลไปทางดานหนา แลวหมุน กลบั ไปทางดา นหลงั ทำสลับกนั ไป 15) ยืนแยกเทา กางแขนออกดานขางท้งั 2 แขน กำมอื พรอมพบั แขน กางขอศอกไวแกวงแขนออกไปดาหลังขณะพับแขน 2 ครั้ง และขณะกางแขน 2 คร้งั ทำสลับกัน 16) ยืนแยกเทา หมุนลำคอออกขางซาย หมุนกลับตรง และหมุนออก ขางขวาทำสลบั กันไปมา 17) ยืนแยกเทา เงยหนาหงายขึ้น กมหนากลับตรงและกมหนาลง ทำสลบั กันไปมา 18) ยืนแยกเทา หมุนศีรษะรอบคอทวนเข็มนาิกาและตามเข็ม นากิ าสลบั กนั 7.2 การกายบริหารสำหรับแบดมินตันควรฝกเพื่อเสริมสรางความแข็งแรง ใหก ับกลามเน้อื สว นตางๆ ของรา งกาย ซ่งึ มีวิธกี ารฝก ใหใ ชเวลาชว งส้นั ๆ ตามหวั ขอ ตอไปน้ี 1) ว่ิงสลับขาเหยาะๆ อยูกบั ท่ี 2) ว่ิงยกเขาสูงสลับขาอยกู ับที่ ชา สลบั เร็ว 136 136 คมู ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตัน

คูมอื ผูฝ ก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน การกีฬาแหง ประเทศไทย 3) กระโดดแยกเทา ออกไปดา นหนาและหลังใหกวา งทส่ี ดุ 4) กระโดดแยกเทา ออกดานขา งสลบั กันกระโดดชิดเทา 5) กระโดดยอ เขาในลกั ษณะเทาชดิ ไปขางหนา และหลังสลับกัน 6) กระโดดยอเขาในลักษณะชดิ ออกขางขวาและซายสลบั กัน 7) วง่ิ ไขวเ ขา สลับซายขวาอยกู บั ท่ชี าสลับเรว็ 8) กระโดดบิดปลายเทาออกดา นซายและขวาสลับกัน ชาสลับเรว็ 9) กา วเทาออกไปรบั ลกู ดานขา งทัง้ สองขาง สลับกนั ไป 10) กาวเทา ออกไปดานหนา แลว ถอยหลงั กลับมา สลบั กันไป 11) วิ่งซอยเทาอยูกับที่แลวกาวเทาออกไปรับลูก ตามทิศทางที่ไดรับ สัญญาณ 12) ดนั พืน้ 13) เลน กลา มทอ งโดยนอนราบกับพน้ื แลว เกรง็ ตวั ลุกขน้ึ นั่งสลับกัน 14) เลนกลามทองโดยนอนราบกับพื้นแลวเกร็งตัวยกศีรษะและเทา ขน้ึ ใหสงู จากพนื้ เลก็ นอ ยแลว จบั เวลา 15) เลนกลามหลัง โดยนอนคว่ำบนโตะหรือเกาอี้ที่สูงกวาพื้นใหลำตัว ทอนบนนับจากเอวขึ้นไปหอยลง ใหผูชวยจับยืดลำตัวทอนลาง ตรึงแนบอยูกับโตะหรือเกาอี้แลวเกร็งตัวใหสวนบนขึ้นอยูในแนว เดียวกับสว นลา ง แลว หอยลำตวั ลงไปอกี สลบั กนั ไป 16) จบั คดู ัดหลงั 8. การเลนประเภทเดี่ยว เปนการเลนที่ตองใชความอดทนมาก ฉะนั้นควรฝก การเคลอ่ื นตัวตลี กู ผสมกนั หลายๆ ลกู และใชเวลาใหม ากท่ีสุดเทา ท่ีจะทำไดต ามหวั ขอ ตอไปน้ี 1) การเสิรฟ ลกู และการรับลกู เสริ ฟ 2) การเคล่ืนตวั ไปหยอดลูกหนา ตาขา ยทง้ั สองขางอยางเรว็ 3) การเคลอ่ื นตวั ไปตีลูกเซฟ 4) การเคล่อื นตัวไปตดั หยอด คูมือผฝู กสอนกฬี าแบดมินตัน 137 137

คมู อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกฬี าแหง ประเทศไทย 5) การเคลือ่ นตวั ไปตดั หยอดแลว เคลือ่ นตัวเขา ไปหยอดลูก 6) การเคลอ่ื นตัวไปตบลูกหลงั คอรท 7) การเคลือ่ นตัวไปตบลูกแลวเคลอ่ื นตวั เขาไปหยอดลูก 8) การกระโดดตบลกู กลางคอรท 9) การเคลือ่ นตัวไปตลี ูกตามจุดตา งๆ ของคอรท 10) การคลอ่ื นตวั ไปตีลูกรับตามจุดตางๆ โดยใชผเู ลน 1 : 1 หรอื 1 : 2 11) การเคลื่อนตัวไปตลี กู บุกตามจุดตางๆ โดยใชผ เู ลน 1 : 1 หรอื 1 : 2 12) การบรหิ ารเพอื่ เสริมสรางความแข็งแกรง ใหก ลา มเนอื้ แขนและขา 13) การว่ิงคอรท 6 จดุ โดยใชมือชี้ (หนา 2 จดุ กลาง 2 จดุ หลัง 2 จุด) 14) วง่ิ เร็วระยะทางสัน้ เพือ่ สรางความวอ งไวใหผูเลน 15) วิ่งเร็วสลับชาระยะทางไกล เพื่อสรางความอดทนใหกับผูเลน และ เสรมิ สรางความวองไวไปในตัวดว ย 9. การเลนประเภทคู ตองใชความแมนยำและความเร็วในการตีลูกใหมาก จึงควรฝกตามหวั ขอตอ ไปนี้ 1) การเสริ ฟ ลูกและรับลกู เสริ ฟ 2) การเคล่ือนตัวไปหยอดลูกหนาตาขาย 3) การตีลกู สวนดาด ใชผูเ ลน 1 : 1 หรือ 1 : 2 4) การกระโดดตบลกู กลางคอรท 5) การเคลื่อนตัวไปตบลกู หลงั คอรท 6) การเคล่ือนตัวไปรับลูกตบหรอื ใชผ ูเ ลน 1 : 2 7) การเคลื่อนตวั ไปแย็บลูก 8) การเคลอ่ื นตัวไปรับลูกแยบ็ 9) การเคลื่อนตัวไปสกัดลูกดาดที่ใกลหนาตาขาย ไมใหผานตัวเพื่อทำให เปน ฝายบุกตลอดเวลา 10) กายบริหารเพอ่ื สรา งความแข็งแกรงใหกลา มเน้อื แขนและขา 138 138 คมู ือผฝู กสอนกฬี าแบดมนิ ตัน

คูมอื ผูฝกสอนกฬี าแบดมินตนั การกีฬาแหงประเทศไทย 11) การว่ิงคอรท 8 จดุ โดยใชมอื ชี้ (หนา 2 จุด กลางลา ง 2 จดุ กลางบน 2 จุด หลงั 2 จุด) เพอ่ื สรางความวองไวใหกบั ผเู ลน 12) การวง่ิ คอรทคร้ังละ 2 คน เพอื่ สรางความสัมพนั ธการเลน ประเภทคู 13) การเคลื่อนตัวตีลูก เพื่อความสัมพันธในการเลนประเภทคูใหเปนฝายบุก อยตู ลอดเวลา 14) วิง่ เร็วระยะทางส้ันเพ่ือสรา งความวองไวใหผ ูเลน 15) วง่ิ เรว็ สลบั ชา ระยะทางไกลเพอ่ื สรา งความอดทนใหก บั ผเู ลน และเสรมิ สรา ง ความวอ งไวไปในตัวดวย คมู อื ผฝู ก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน 139 139

คูม อื ผูฝ ก สอนกีฬาแบดมินตัน การกฬี าแหง ประเทศไทย เทคนิคและยุทธวธิ กี ารเลนกฬี าแบดมินตัน 1. เปา หมาย ใหมีความรูเกี่ยวกับการฝกและกลยุทธในการแขงขันประเภทเดี่ยว การฝก และกลยุทธในการแขง ขนั ประเภทคแู ละการฝก และกลยทุ ธใ นการแขง ขันประเภทคูผสม 2. ประกอบดว ย 2.1 การฝกและกลยทุ ธในการแขงขันประเภทเดย่ี ว 2.2 การฝก และกลยุทธในการแขง ขันประเภทคู 2.3 การฝกและกลยทุ ธในการแขงขันประเภทคผู สม รายละเอยี ดเนื้อหา 1. การฝก นกั กฬี าแบดมนิ ตันประเภทเดีย่ ว การฝก นกั กฬี าแบดมนิ ตนั ในประเภทชายเดย่ี วหรอื หญงิ เดย่ี ว ตง้ั แตร ะดบั เยาวชน ที่มีอายุ 9 - 16 ป จนถึงระดับนักกีฬาแแบดมินตันทีมชาติไทย สามารถฝกนักกีฬาใหบรรลุ เปา หมายสงู สดุ ในการแขง ขนั ทกุ รายการได โดยใหส อดคลอ งกบั ความเปน ไปไดต ามวฒั นธรรม ของนักกีฬาไทยในปจจุบันที่นักกีฬาทุกคนจะตองฝกซอมกีฬาควบคูกับการศึกษา หรือทำงาน ที่จะเปนฐานรองรับอนาคตของนักกีฬาทุกคนเมื่อรางกายของนักกีฬาพนชวงระยะเวลา ท่ีสมรรถภาพสมบูรณสูงสดุ ไปแลว หรือมภี าระงานอืน่ รดั ตวั จนไมส ามารถปลีกเวลาไปฝก ซอม ตามตารางการฝกซอ มได นักกีฬาแบดมินตันในแตละระดับก็สมควรมีการกำหนดคุณสมบัติของนักกีฬา แบดมินตันที่เหมาะสมกับการเลนประเภทเดี่ยว เพื่อคัดเลือกนักกีฬาเขารับการฝกการเลน กฬี าแบดมนิ ตันประเภทเดย่ี วใหเกิดคุณภาพสูงสดุ 140 140 คูมอื ผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตนั

คูมอื ผูฝกสอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกีฬาแหงประเทศไทย การฝกการเลนกีฬาแบดมินตันประเภทเดี่ยวสำหรับนักกีฬาตั้งแตระดับเยาวชน ขึ้นไปเพื่อใหการฝกนักกีฬาประเภทเดี่ยวมีประสิทธิภาพและไดนักกีฬาที่มีคุณภาพสูงที่สุด จึงควรจะใหมีการพิจารณาคัดเลือกนักกีฬาที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเลนประเภทเดี่ยว เขารับการฝกซอ มตามคณุ สมบตั ิของนกั กีฬาท่ีกำหนดไวดังนี้ คุณสมบตั ิของนกั กฬี า นักกฬี าควรมคี ณุ สมบตั ิดังนี้ 1. เปนนักกีฬาที่ผานการฝกทักษะขั้นพื้นฐานมาแลวอยางครบถวนตามรายการ ตอ ไปนี้ 1.1 ทักษะการจับไม การตั้งทาตีลูก การเหวี่ยงแขนพรอมสะบัดขอมือ และการถา ยนำ้ หนกั 1.2 ทกั ษะการตลี ูก 9 ทกั ษะ คอื เสิรฟ หยอด งัด แย็บ รบั ลูกตบ สวนดาด เซฟ ตบ และตดั หยอด 1.3 ทักษะการวงิ่ ฟุตเวิรค หนา - หลงั ไปกลับดานขา งทั้ง 2 ขาง วงิ่ คอรท 4 จุด และวิ่งคอรท 6 จดุ 1.4 ทักษะการกายบริหารทว่ั ไป และกายบริหารสำหรับกีฬาแบดมนิ ตัน 2. รปู ราง สันทัด สมสวน โดยนกั กีฬาชายจะตองมีสวนสงู ไมนอ ยกวา 170 ซม. และนักกีฬาหญงิ จะตอ งมสี วนสูงไมนอ ยกวา 165 ซม. เมอื่ มีอายคุ รบ 15 ปข ้นึ ไป 3. รางกายสมบูรณและแข็งแรงสามารถอดทนตอการฝกซอมอยางตอเนื่อง 2 - 3 ชั่วโมงตอวัน ในทุกอิริยาบถของการฝกซอม รวมทั้งการฝกเคลื่อนตัวอยางชาไปจนถึง การฝกซอ มท่ตี อ งเคลอ่ื นตัวอยางเร็วที่สุด 4. มคี วามถนดั ในการเลนเดย่ี ว 5. มจี ิตใจเปนนกั สูและควบคุมอารมณไดด ี 6. เปนนักกีฬาที่รูจักใชความคิด ความจำ และการตัดสินใจแกไขเกมการเลน ไดตลอดเวลา คมู ือผูฝกสอนกฬี าแบดมินตนั 141 141

การกคูม ฬี ือผาฝู แกหสอง นกปีฬราแะบเทดมศนิ ไตทันย วธิ กี ารฝก การเลนกีฬาแบดมนิ ตันประเภทเดี่ยว เพื่อใหมาตรฐานการเลนกีฬาแบดมินตันประเภทเดี่ยวของนักกีฬาดีขึ้น สมควร จัดใหมีการฝกซอมตามหัวขอตอไปนี้สลับคละกันอยางตอเนื่องในแตละวันของการฝกซอม โดยคำนึงถึงเปาหมายในการพัฒนาทักษะของนักกีฬาแตละคน ใหมีจุดเดนมากขึ้นและ ขจัดจุดดอยใหนอยลง ซึ่งทำใหการจัดหัวขอการฝกซอมของนักกีฬาแตละคนไมจำเปนตอง เหมอื นกันทุกคร้ัง 1. การเลน เกม เพอ่ื ใหเ กดิ ทกั ษะของการเลน เกมประสบการณแ ละความเคยชนิ โดยผูฝ ก สอนตอ งตดิ ตามการเลน เกมของนักกฬี าใหมีการเอาจรงิ เอาจังโดยตลอดอยางใกลชิด พรอมวิเคราะหจุดเดน และจดุ ดอ ยของนกั กีฬา เพือ่ นำไปปรับปรงุ แกไขหรือชมเชย ใหก ำลังใจ ในจดุ เดน รวมทง้ั มกี ารจดบนั ทกึ คะแนนแพช นะในการซอ มแตล ะครง้ั และเวลาทใ่ี ชใ นแตล ะเกม อยา งละเอยี ด ระยะเวลาการเลน เกมของนกั กฬี าในแตล ะเกมไมค วรนอ ยกวา 10 นาที และหาก การเลนเกมครบ 2 เกม แลว ใชเวลาไมถงึ 15 นาที ควรใหเลน เกมสามตออกี 1 เกม เพื่อทำให นกั กีฬาไดร ับทกั ษะและประสบการณส ูงสดุ จากการฝก ซอม 2. การเสิรฟลูก ควรจัดใหมีการฝกเสิรฟลูกเปนประจำโดยควบคุมใหถูกตอง ตามกตกิ ากฬี าแบดมนิ ตนั เพอ่ื เกดิ ความแมน ยำมากทส่ี ดุ เพราะการเสริ ฟ ลกู มคี วามสำคญั ทส่ี ดุ ในการเลนเดี่ยวเปนผลใหเกิดการแพหรือชนะในการแขงขันทุกครั้ง การฝกใหเสิรฟลูกควรให นักกีฬาไดฝกในสภาพของรางกายทุกชวงของการฝกซอม โดยฝกตั้งแตชวงแรกที่มีพละกำลัง สูงที่สุด จนถึงชวงที่รางกายเหนื่อยเต็มที่หรือหมดพละกำลังซึ่งตองฝนฝกตออีก โดยกำหนด เวลาใหฝ ก เสิรฟครั้งละ 20 - 30 นาที การเสริ ฟลกู ควรฝก ใหไดห ลายแบบดังนี้ 2.1 การเสริ ฟ ลูกโดง ไปทายคอรท โดยมีเปาหมายในการเสริ ฟลูกใหส ูงท่ีสดุ เทาที่จะทำไดและกำหนดจุดตกของลูกที่ใกลเสนทายคอรทใหได หลายจุด 2.2 การเสิรฟลูกดาดไปทายคอรท โดยมีเปาหมายใหพนไมแร็กเกตของ ผรู บั ลกู เสริ ฟ ทอ่ี ยใู นตำแหนง ยนื รบั ทก่ี ลางคอรท และมกี ารกำหนดจดุ ตก ของลูกทใ่ี กลเ สน ทายคอรท ใหไดหลายจุด 142 142 คมู ือผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตัน