Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาแบดมินตัน

คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาแบดมินตัน

Description: คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาแบดมินตัน.

Search

Read the Text Version

กาครมู อื กผฝูีฬกสาอแนหกฬีงาปแบรดมะเนิทตศนั ไทย 2.3 การเสิรฟลูกเลียดตาขายใหตกภายในคอรทใกลเสนเสิรฟดานหนา และมีการกำหนดจุดตกของลูกภายในคอรทใกลเสนเสิรฟดานหนา ใหไ ดห ลายจดุ 3. การรับลูกเสิรฟ ควรจัดใหมีการฝกตีรับลูกใหไดตกในจุดที่ไดเปรียบ โดยกำหนดจุดยืนรับเสิรฟใหเหมาะสมกับรางกายของนักกีฬา พรอมทั้งฝกใหนักกีฬาตีลูก ตอบโต การเสิรฟที่มีทั้งเซฟ ตบ ตัดหยอด หยอด งัด และแย็บ ไปตามจุดที่กำหนดให ควรกำหนดใหนักกีฬาฝกรับลูกเสิรฟครั้งละ 20 - 30 นาที ซึ่งอาจกำหนดใหฝกพรอมนักกีฬา ท่ีฝกการเสิรฟลกู 4. การเคลื่อนตัวไปตีลูกหยอด โดยใชวิธีปลอยลูกใหนักกีฬาวิ่งฟุตเวิรค เขาไปหยอดลูกที่หนาตาขายทั้ง 2 ขาง ดวยความเร็วตามความสามารถของนักกีฬา เพื่อใหเกิดความคลองตัวในการวิ่งฟุตเวิรคและหยอดลูกใหมีคุณภาพในทุกสภาพของการ เคลื่อนตัว และกำหนดจำนวนลกู ทีใ่ ชป ลอ ยคนละ 30 - 40 ลกู 3 - 4 ครงั้ 5. การเคลื่อนตัวไปตีลูกหยอด - งัด - ดาด โดยใชว ธิ ปี ลอยลกู ใหนักกีฬา วิ่งฟตุ เวิรค เขาหยอดลกู สลบั กับการงัด และผลักลกู ดาดทีห่ นาตาขายทง้ั 2 ขา ง ดว ยความเรว็ ตามความสามารถของนกั กฬี าและกำหนดจำนวนลกู ทีใ่ ชป ลอยคนละ 30 - 40 ลกู 3 - 4 ครง้ั 6. การเคลื่อนตัวไปตีลูกเซฟ โดยใชวิธีปลอยลูกใหนักกีฬาวิ่งไปตีลูก ทั้งเซฟโดงและเซฟดาดจากหลังคอรททั้ง 2 ดาน ไปยังจุดทายคอรทที่ฝงตรงกันขาม ดวยความเร็วและใหเนนคุณภาพและกำหนดจำนวนลูกที่ใชปลอยคนละ 32 - 48 ลูก 3 - 4 ครัง้ 7. การเคลื่อนตัวไปตีลูกตบ โดยใชวิธีปลอยลูกใหนักกีฬาวิ่งไปตบลูก ทั้งกลางคอรท และหลังคอรทดวยความเร็ว และใหเนนคุณภาพในการตบลูกใหลงที่จุด กอนถึงเสนเสิรฟเสนหลังในประเภทคูใหได พรอมระบุทิศทางใหตบไดทั้งแนวตรงและ แนวทะแยง และกำหนดจำนวนลูกทีใ่ ชป ลอยคนละ 32 - 48 ลกู 3 - 6 คร้งั 8. การเคลื่อนตัวไปตัดหยอด โดยใชวิธีปลอยลูกใหนักกีฬาวิ่งไปตัดหยอด ท่หี ลงั คอรท ทงั้ 2 ขา ง โดยตัดหยอดแบบธรรมดา และแบบทวนเขม็ นากิ า และใหเนนจุดตก ของลูกที่ตัดหยอดไปใหอยูใกลเสนเสิรฟดานหนาพรอมระบุทิศทางใหตัดหยอดในแนวตรง และแนวทะแยง และกำหนดจำนวนลูกท่ีใชปลอ ยคนละ 40 - 60 ลกู 3 - 4 ครัง้ คมู อื ผฝู ก สอนกฬี าแบดมนิ ตนั 143 143

คูม ือผูฝก สอนกีฬาแบดมินตัน การกีฬาแหง ประเทศไทย 9. การเคลื่อนตัวไปรับลูกตบ โดยใชวิธีปลอยลูกใหนักกีฬาวิ่งไปรับลูกตบ ทงั้ 2 ขา ง สลับกันไปมา รวมท้งั รับลกู ตบเขา ตวั ดวย เนนใหน ักกฬี าตลี ูกรับลกู ตบไปหลังคอรท ทั้งแนวดาดและงัดโดง พรอมรับลูกตบแบบวางหยอดหนาตาขายทั้งแนวตรงและแนวทะแยง และกำหนดจำนวนลูกที่ใชป ลอยคนละ 32 - 48 ลูก 3 - 4 คร้ัง 10. การเคลื่อนตัวไปตบลูกแลววิ่งเขาหยอด เพื่อฝกใหนักกีฬาเลนเกมบุก โดยวิธีปลอยลูก ใหนักกีฬาวิ่งไปตบจากหลังคอรทแลววิ่งเขาไปหยอดลูกที่หนาตาขาย สลับกันไปมา และเนนใหตบลูกและหยอดลูกอยางมีคุณภาพ ทั้งทิศทางในแนวตรงและ แนวทะแยง และกำหนดจำนวนลูกที่ใชป ลอยคนละ 24 - 36 ลกู 4 - 6 คร้งั 11. การเคลื่อนตัวไปรับลูกตบและหยอดลูก โดยใชวิธีปลอยลูกใหรับลูกตบ เปนสวนใหญสลับกับการโยนลูกใหวิ่งเขาไปหยอดและเนนการตีรับลูกตบ และหยอดลูก ใหมีคุณภาพและเปลี่ยนทิศทางการตีลูกไดตลอดเวลา และกำหนดจำนวนลูกที่ใชปลอย คนละ 24 - 32 ลกู 3 - 4 คร้ัง 12. การเคลื่อนตัวไปตีลูกทุกลักษณะตามจุดตางๆ ทั่วทั้งคอรท โดยวิธี ปลอยลูกสงตามจุดตางๆ ทั่วทั้งคอรท เพื่อใหนักกีฬาวิ่งไปตีลูกทุกลักษณะของการตีลูก ตามที่นักกีฬาสามารถวิ่งไปไดทัน พรอมทั้งกำหนดเปาหมายใหตีลูกในลักษณะที่เปนฝายบุก ไดแก ตัดหยอด เซฟดาด หรอื เซฟจี้ สวนดาด แย็บ หยอดปน หรอื เปนฝายรับ ไดแ ก เซฟ โดง งัด หยอด รบั ลกู ตบ และกำหนดจำนวนลกู ที่ใชป ลอ ยคนละ 32 - 56 ลกู 3 - 4 คร้ัง 13. การเคลื่อนตัวเขาไปแย็บ โดยใชวิธีปลอยลูกจากใตตาขายขึ้นมา ใหนักกีฬากระโดดเขาไปตีลูกแย็บเพื่อใหเกิดความแมนยำรวดเร็ว และกำหนดจำนวนลูก ทใ่ี ชปลอ ยคนละ 60 - 80 ลกู 3 - 4 คร้ัง (แสดงรูปประกอบ) 14. การตีลูกเซฟโดยใหนักกีฬา 1 : 1 ใหน ักกฬี า 2 คน ตลี กู เซฟดาด และ เซฟโดง ในแนวตรงและแนวทะแยงสลบั กนั จับเวลาฝก ใหครบคนละ 30 - 40 นาที 15. การตลี กู ตัดหยอดและงัดโดยใชนกั กฬี า 1 : 1 ใหน ักกฬี าตลี กู ตดั หยอด 1 คน และตีงดั ลูก 1 คน สลับกัน จับเวลาฝกใหครบ คนละ 30 - 40 นาที 16. การตลี ูกเซฟ - งดั - ตดั หยอด - เซฟโดยใชนกั กีฬา 1 : 1 ใหนกั กีฬา 2 คน ตีลูกเซฟโดงหรือดาด - งัด - ตัดหยอด - เซฟ ใหตอเนื่องกัน โดยนักกีฬาคนแรก 144 144 คมู อื ผูฝกสอนกฬี าแบดมินตัน

คูมอื ผฝู ก สอนกฬี าแบดมนิ ตนั การกีฬาแหง ประเทศไทย เซฟโดงจากหลังคอรท นักกีฬาคนที่สองตัดหยอดแลวใหคนแรกงัดไปหลังคอรท และสุดทาย ใหนักกีฬาคนที่สอง ตเี ซฟโดง หรอื ดาดอกี สลับกัน จับเวลาฝกใหค รบคนละ 30 - 40 ครัง้ 17. การตีลูกตดั หยอด - งดั - ตัดหยอด - งดั โดยใชนักกีฬา 1 : 1 ใหนกั กีฬา 2 คน ตลี กู ตัดหยอดแลว งัดสลับกันอยา งตอเนอ่ื ง จบั เวลาฝก ใหครบคนละ 30 - 40 นาที 18. การตีลูกหยอดตรงและหยอดเฉียงโดยใชนักกีฬา 1 : 1 ใหนักกีฬา 2 คน ฝกตีลูกหยอดกัน โดยใหนักกีฬาคนแรกหยอดตรง และนักกีฬาคนที่สองหยอดเฉียง สลับกัน จบั เวลาฝกใหครบคนละ 30 - 40 นาที 19. การตีลูกบุกและรับโดยใชนักกีฬา 1 : 1 ใหนักกีฬา 2 คน ฝกตีลูกบุก และรับโดยใหนักกีฬาคนแรกตีลูกเปนฝายบุก ไดแก ตบ - เซฟดาด - ตัดหยอด และนักกีฬา คนที่สองตีลูก เปนฝายรับ ไดแก รับลูกตบ เซฟโดง งัดโดง หยอด สลับกันเปนฝายบุก และรับ จบั เวลาฝก ใหครบคนละ 30 - 40 นาที 20. การตีลูกบุกและรับในจุดบังคับโดยใชนักกีฬา 1 : 1 ใหนักกีฬา 2 คน ตีลูกเปนฝายบุกจากจุดหลังคอรท ไดแก ตบ เซฟดาด ตัดหยอด แลวใหนักกีฬาคนที่สอง ตรี ับลกู งัดไปใหน ักกฬี าฝง ตรงขามบุกอีกสลบั กนั จบั เวลาฝกใหครบคนละ 30 - 40 นาที 21. การตลี กู เซฟโดยใชน กั กฬี า 1 : 1 ใหนกั กีฬา 3 คน ซอ มรวมกนั แบบ 1 คน ตอ 2 คน กำหนดใหเซฟตรงหรอื สลับกันไป จบั เวลาฝก ใหครบคนละ 30 - 40 นาที เวยี นกันไป ท้งั 3 คน 22. การตบลูกและรับลกู ตบโดยใชนักกฬี า 1 : 1 ใหนกั กีฬา 3 คน ซอ มรว มกนั แบบ 1 คน ตอ 2 คน กำหนดใหนกั กฬี าดานทม่ี ี 1 คน เปน ฝา ยตบลกู ไปยงั นกั กฬี าดานทม่ี ี 2 คน เปนฝา ยรบั ลูกตบโยนกลบั ไปใหตบใหม โดยจบั เวลาฝก ใหค รบคนละ 20 - 30 นาที 23. การตัดหยอดโดยใหนกั กฬี า 1 : 2 ใหนกั กฬี า 3 คน ซอ มรว มกันแบบ 1 คน ตอ 2 คน กำหนดใหนักกีฬาดานที่มี 1 คน ตัดหยอดทั้งตรงและเฉียงแลวใหนักกีฬาดานที่มี 2 คน งดั โดง กลบั ไปตดั หยอดอีก โดยจับเวลาฝกใหค รบคนละ 30 - 40 นาที 24. การตีลูกสวนดาดโดยใชนักกีฬา 1 : 2 ใหนักกีฬา 3 คน ซอมรวมกัน แบบ 1 คน ตอ 2 คน กำหนดใหนักกีฬาดานที่มี 1 คน ตีลูกสวนดาดแจกไปยังนักกฬี าดา นที่มี 2 คน สลับกันไปมาโดยจบั เวลาใหครบคนละ 30 - 40 นาที คมู อื ผูฝก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน 145 145

คูมือผูฝกสอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกีฬาแหงประเทศไทย 25. การงัดลูกและตัดหยอดโดยใชนักกีฬา 1 : 2 ใหนักกีฬา 3 คน ซอมกันแบบ 1 คน ตอ 2 คน กำหนดใหนักกีฬาดานที่มี 1 คน เปนฝายตีงัดลูกไปหลังคอรท แลวใหนักกีฬาดานที่มี 2 คน ตัดหยอดกลับมาและกำหนดใหเปลี่ยนทิศทางตลอดเวลา โดยจบั เวลาฝก ใหค รบคนละ 30 - 40 นาที 26. การตีลูกบุกโดยใชน กั กีฬา 1 : 2 ใหน ักกฬี า 3 คน ซอ มกันแบบ 1 คน ตอ 2 คน กำหนดใหนักกีฬาดานที่มี 1 คน ตีลูกบุก ไดแก ตบ ตัดหยอด เซฟดาด จาก กลางคอรทจนถึงหลังคอรท แลวใหนักกีฬาดานที่มี 2 คน เปนฝายตีลูกรับ ไดแก เสิรฟโดง เซฟโดง งัดโดง หยอดขา ง โดยจับเวลาฝก ใหครบคนละ 30 - 40 นาที 27. การตีลูกรับโดยใชนักกีฬา 1 : 2 ใหนักกีฬา 3 คน ซอมกันแบบ 1 คน ตอ 2 คน กำหนดใหนักกีฬาดานที่มี 1 คน ตีลูกเปนฝายรับ ไดแก เสิรฟ เซฟโดง งัดโดง หยอด แลวใหนักกีฬาดานที่มี 2 คน เปนฝายตีลูกบุก ไดแก ตบ ตัดหยอด เซฟดาด โดยจับเวลาฝกใหค รบคนละ 30 - 40 นาที 28. การตีลูกรับโดยนักกีฬา 1 : 3 ใหนักกีฬา 4 คน ซอมกันแบบ 1 คน ตอ 3 คน กำหนดให 1 คน เปนฝายตีลูกรับ ไดแก เสิรฟ เซฟโดง งัด หยอด แลวใหนักกีฬา ดานที่มี 3 คนยืนรับผิดชอบหนาตาขาย 1 คน และหลังคอรท 2 คนๆ ละคอรทเปนฝาย ตลี ูกบกุ ไดแ ก เซฟดาด ตัดหยอด ตบ แยบ็ โดยจบั เวลาฝก ใหครบคนละ 30 - 40 นาที 29. การวิ่งระยะทางไกล ควรจัดใหนักกีฬาวิ่งระยะทางไกล 3 - 4 กิโลเมตร โดยกำหนดใหวิ่งเร็วสลับชาเปนประจำเพื่อใหรางกายชินกับกีฬาแบดมินตัน โดยใหฝก สปั ดาหล ะ 1 - 2 ครัง้ 30. การว่งิ เร็วระยะสนั้ ควรจัดใหนักกฬี าวง่ิ เรว็ ระยะทาง 100 - 200 - 400 เมตร 5 - 6 รอบ จับเวลาทำสถติ เิ กบ็ ไวโดยใหฝ ก สปั ดาหล ะไมเ กิน 1 ครง้ั 31. การฝกกายบริหารเพื่อกีฬาแบดมินตัน ควรจัดใหมีการฝกกายบริหาร เพื่อกีฬาแบดมินตัน ประกอบดวย กระโดดสลับเทาเหยาะๆ วิ่งยกเขาสูง กระโดดไขวเขา กระโดดบิดปลายเทา กระโดดยอ เขาหนา - หลัง กระโดดยอเขา ออกดานขาง วงิ่ ซอยปลายเทา ใหเรว็ ทส่ี ุด 146 146 คูม อื ผูฝกสอนกฬี าแบดมนิ ตนั

คมู ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตัน การกฬี าแหงประเทศไทย 1) การฝกกายบริหารควรจัดเวลาฝกทาละ 2 - 3 นาที รวมกันหลาย ๆ ทา เพ่อื ไมใหเ กดิ ความเบ่อื หนา ยรวมเวลาประมาณ 15 - 20 นาที 2 - 3 ครงั้ โดยควรจัดใหฝก อาทติ ยล ะ 3 - 4 คร้งั 2) การฝกกายบริหารทาพื้นฐานสลับกับการวิ่งระยะสั้น 50 - 80 - 100 - 200 เมตร จุดแรกใหวิดพื้น 20 ครั้ง แลวลุกขึ้นวิ่งเร็ว 50 เมตร ไปถึงจุดที่สามใหเ ลน กลามหลงั 20 ครงั้ แลวลกุ ขนึ้ วงิ่ เร็วไปอกี 50 เมตร ใหฝกตอเนื่องไปเรื่อยๆ จนครบเวลา 15 - 40 นาที ตามที่ตองการที่จะ ใหน ักกีฬาฝกความอดทน 32. การฝกโดยใชน ้ำหนกั 1) การยกน้ำหนักดรัมเบล 3 - 4 กิโลกรัม ทั้งสองมือในหลายๆ ทาๆละ 20 - 30 คร้ัง ไดแก ยกในทา พับขอศอกท้ังสองมอื พรอ มกัน หรือสลับกนั ทีละมือ ยกในทาแบกอยูชิดหัวไหลแลวยกชูขึ้นเหนือศีรษะยกในทา เหยียดมือทั้งสองชูเหนือศีรษะแลวพับขอศอกไปทางดานหลังสลับขึ้น ในทายกน้ำหนักแตละทาดังกลาวใหทำจำนวน 3 - 4 เที่ยว แตใหมีการ หยุดพักกลามเนื้อกอนทุกเที่ยวและใหสะบัดแขนคลายกลามเนื้อ เพื่อหลีกเลี่ยงการยกน้ำหนักตอเนื่องเปนการปองกันการบาดเจ็บกับ กลามเน้อื ได 2) การยกน้ำหนักบารเบล 20 - 50 กิโลกรัม ตามความสามารถของ รางกาย ในหลายทาๆ ละ 10 - 20 ครั้ง ไดแก ยกในทายืนแยกเทา แบกขน้ึ อยใู นระดบั หวั ไหล แลว ชขู น้ึ เหนอื ศรี ษะยกในทบั ขอ ศอกขน้ึ ชดิ อก ยกในทายืนแยกเทาโดยปลอยน้ำหนักเหยียดแขนลงดานหนาหรือ ดานหลังแลวยกขึ้นมาใหเหนือระดับเอว ยกในทานอนหงายราบกับพื้น จากการแบกอยบู นอกแลว ชขู น้ึ ไปบนอากาศ ซง่ึ ในทา ยกนำ้ หนกั แตล ะทา ดังกลาวใหทำ จำนวน 3 - 4 เที่ยว แตใหมีการหยุดพักกลามเนื้อกอน ทุกเที่ยวและใหสะบัดแขนคลายกลามเนื้อ เพื่อหลีกเลี่ยงการยกน้ำหนัก ตอเนอื่ งเปนการปอ งกันการบาดเจ็บกลา มเนอ้ื ได คูม ือผูฝก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน 147 147

คูมือผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตนั การกฬี าแหงประเทศไทย 3) การยกน้ำหนักดรัมเบลและบารเบล สลับการวิ่งเร็วระยะสั้นนับเปนชุดๆ ผสมกันไปทำนองเดียวกบั วิธีการฝก ขอ 33. อาทเิ ชน จดุ แรกใหน กั กีฬา ยกน้ำหนักดรัมเบลในทาพับขอศอกขึ้นชิดอก 20 ครั้ง แลววิ่ง 80 เมตร ไปถึงจุดที่สองใหยกน้ำหนักดรัมเบลในทาแบกไวระดับหัวไหลแลวยก ชขู นึ้ เหนอื ศีรษะ 20 ครั้ง แลว วิ่งเร็วไปอกี 80 เมตร ไปถึงจุดท่ีสามใหย ก น้ำหนักบารเบล 40 กิโลกรัม ในทายือนแบกน้ำหนักแลวยกชูขึ้นเหนือ ศรี ษะ 15 ครัง้ แลว ว่งิ ตอ ไปอีก 80 เมตร ใหฝก ตอ เนื่องไปเร่อื ยๆ จนครบ เวลา 15 - 40 นาที ตามท่ีตอ งการที่จะใหนักกฬี าฝก ความอดทน วิธีการฝกซอมตามหัวขอตางๆ ที่ไดแนะนำมาทั้งหมดนี้สามารถจัดผสมกัน ระหวางหัวขอหรือเพิ่มเติมหัวขอใหมไดอีกตามที่เห็นสมควร และเหมาะสมกับนักกีฬา แตละคนที่มีความสามารถแตกตางกันไป แตตองมีการวางแผนการจัดตารางพรอม หัวขอการฝกซอมในแตละวัน - สัปดาห - เดือนที่จะใชฝกซอมใหเหมาะสมกับรางกาย ของนักกีฬา และอาหารสำหรับนักกีฬา รวมทั้งเวลาพักผอนของนักกีฬาโดยคำนึงถึง การแบงเวลาฝกซอมใหม ปี ระสิทธภิ าพในการซอ มดงั นี้ การฝกทักษะการตีลูก ไดแก การเลนเกม การปลอยลูก การซอม โดยใชนักกีฬา 1 : 1, 1 : 2, 1 : 3 ควรจะเปน 60 - 80% ของเวลาทงั้ หมด การฝกความสามารถของรางกาย ไดแก การฝกกายบริหาร ยกน้ำหนัก วิ่งเร็วระยะสั้น วิ่งระยะไกล การฝกกายบริหาร หรือยกน้ำหนักสลับกับการวิ่งเร็ว ควรจะเปน 20 - 40% ของเวลาทั้งหมด ตัวอยางการจัดตารางและหัวขอของการฝกซอมนักกีฬาประเภทเดี่ยว ใน 1 สัปดาห โดยมนี กั กฬี า 4 คน และสนามฝกซอม 2 สนาม มรี ายละเอียดดังน้ี วันทใ่ี ชฝ กซอ ม จนั ทร - อังคาร - พฤหัส - ศุกร - เสาร วนั พักผอ น พุธ และอาทิตย เวลาที่ใชฝ ก ซอ ม 18.00 - 21.00 น. เทา กับ 3 ชั่วโมง หรือ 180 นาที รายช่ือนักกีฬา ก - ข - ค - ง 148 148 คูมอื ผฝู กสอนกีฬาแบดมินตัน

คมู ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตนั การกีฬาแหงประเทศไทย รายการฝกซอ ม วันจันทร ใหนักกีฬาฝกซอมตามหัวขอตอไปนี้และใหพักระหวางหัวขอ ครั้งละ 10 นาที (ใชเ วลา 179 นาท)ี 1. ใหนักกีฬาซอมเลนเกมเดี่ยวนับคะแนนและจับเวลาทั้ง 2 สนาม (ใชเวลา 40 นาที) ก VS ข และ ค VS ง 2. ใหนักกีฬาซอมตีลูกเซฟ 40 นาที โดยใชนักกีฬา 1 : 1 ทั้ง 2 สนาม กำหนด ใหเซฟตรงคนละ 20 นาที เซฟเฉยี ง 20 นาที (ใชเวลา 40 นาท)ี ก : ค และ ข : ง 3. ใหนักกีฬาซอมตีลูกบุกและรับโดยใชนักกีฬา 3 : 1 ใชสนามเดียว กำหนดใหนกั กฬี าดา นทีม่ ี 1 คน เปน ฝายรับคนละ 20 นาที เพียง 2 ชุด ชดุ แรก ก + ข + : ง ชุดหลงั ก + ข + ง : ก 4. ใหนักกีฬาทุกคนฝกกายบริหารแบบอยูกับที่ตามทาตางๆ ดังนี้ วิ่งเหยาะๆ กระโดดเทา คหู นา หลงั วิง่ ยกเขาสงู กระโดดบดิ ปลายเทา วงิ่ ไขวเ ขา วงิ่ ซอยปลายเทา อยา งเรว็ ในแตล ะคร้งั ใหพ ัก 5 นาที (ใชเ วลา 29 นาที) วันอังคาร ใหนักกีฬาซอมตามหัวขอตอไปนี้และใหพักหลังจากฝกซอมตาม หัวขอท่ี 1 เปน เวลา 5 นาที และใหพ ักระหวางหวั ขอ อน่ื ๆ คร้งั ละ 10 นาที 1. ใหนักกีฬาซอมเลนเกมเดี่ยวนับคะแนนและจับเวลาทั้ง 2 สนาม (ใชเวลา 40 นาที) ก VS ค และ ข VS ง 2. ใหนักกีฬา ก : ง ซอมแบบ 1 :1 ในสนามที่ 1 เพื่อใหมีการตัดหยอด แลววง่ิ เขาไปหยอดในทศิ ทางแนวตรง 10 นาที และแนวเฉยี งคอรท 10 นาที สลบั กนั ทลี ะคน สำหรับนักกีฬา ข กับ ค ใหฝกตีลูกโดยใชวิธีปลอยลูกในสนามที่ 2 กำหนด การตีลูกตามลักษณะดงั น้ี (ใชเวลา 40 นาท)ี - ว่ิงเขาไปหยอดลกู ทัง้ 2 ขาง คนละ 40 ลูก - วง่ิ ไปตบลูกแลวเขาหยอด หรอื ตบซำ้ หนาตาขา ย 24 ลูก 6 ครง้ั - วง่ิ ไปตลี กู ตางๆ ทว่ั ทัง้ คอรท 40 ลูก 3 คร้งั คูมอื ผูฝกสอนกฬี าแบดมนิ ตัน 149 149

คูมือผูฝก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกีฬาแหง ประเทศไทย 3. ใหนักกีฬา ก กับ ง ซอมปลอยลูกเหมือน ข กับ ค ในขอ 2. ในสนามที่ 2 และนักกีฬา ข กับ ค ซอมแบบ 1 : 1 เหมือนกับ ก กับ ง ในขอ 2 ในสนามที่ 2 (ใชเวลา 40 นาที) 4. ใหนักกีฬาทุกคนวิ่งคอรทแบบ 6 จุด คนละ 40 จุด 4 ครั้ง สลับกันชี้มือ และวิ่งคอรทแบบหนา - หลัง คนละ 20 ชุด 2 ครั้ง และวิ่งคอรทแบบ 2 ขาง คนละ 20 ชุด 2 ครั้ง (ใชเ วลา 30 นาท)ี วันพฤหัส ใหน ักกีฬาซอมตามหัวขอตอไปน้ีและพกั ระหวางหัวขอคร้งั ละ 10 นาที 1. ใหนักกีฬา ก กับ ง และ ข กับ ค ฝกเสิรฟเดี่ยวกับรับลูกเสิรฟคนละ 15 นาที สลบั กนั ใชคูล ะสนาม (ใช 30 นาท)ี 2. ใหนักกีฬาฝกยืนตีลูกตัดหยอดตรงและเซฟเฉียงคอรทจากจุดเดี่ยวแบบ 1 : 1 โดยนักกีฬาอีกดานหนึ่งตองตีลูกงัด และเซฟกับไปยังจุดเดิมของฝงตรงขามคอรทละ 10 นาที สลับกนั ไป กำหนดใหน ักกฬี า ก กบั ข และ ค กบั ง ใชคูสนาม (ใชเ วลา 40 นาที) 3. ใหนักกีฬายืนตีลูกเปนฝายบุกโดยใชลูกตบ - เซฟ - ตัดหยอด จากจุดเดียว แบบ 1 : 1 โดยนักกีฬาอีกดานหนึ่งตองตีลูกงัด - รับลูกตบ - เซฟกลับไปยังจุดเดิมของ ฝง ตรงขา มคอรท ละ 10 นาที สลบั กนั ไปกำหนดใหน ักกฬี า ก กับ ค และ ข กบั ง ใชคูละสนาม (ใชเวลา 40 นาท)ี 4. ใหนักกีฬาวิ่งเร็วในคอรทตามขวางคอรท 2 คอรท ไปและกลับ 4 รอบ โดยกำหนดทาตางๆ ในการว่ิงดังนี้ (ใชเ วลา 40 นาท)ี - วิ่งทา ธรรมดาเอาความเร็วเปน หลกั 4 ครงั้ - ว่ิงเทีย่ วไปทา ธรรมดาและว่ิงเท่ยี วกลบั ถอยหลังกลบั 4 ครง้ั - วิ่งซิกแซกแบบยอเขาใหเทาขวานำหนาอยูเสมอ (ถนัดมือขวา) จำนวน 4 คร้งั - ว่ิงฟุตเวริ ค อยา งเรว็ ไปขางหนาและถอยหลังมาทา กระโดดตบ 8 ครัง้ 150 150 คูม ือผูฝกสอนกีฬาแบดมินตัน

คูม ือผูฝก สอนกีฬาแบดมินตัน การกีฬาแหง ประเทศไทย วันศุกร ใหน กั กฬี าซอ มตามหวั ขอ ตอไปน้แี ละใหห ยุดพัก 10 นาที ระหวางหัวขอ 1. ใหนกั กีฬาเลนเกมจับเวลาและนับคะแนนทัง้ สองสนาม ก VS ง และ ข VS ค 2. ใหนักกีฬาซอมตีลูกบุกและรับโดยใชนักกีฬา 1 : 2 นักกีฬาดานที่มีคนเดียว ซอมตีลูกบุก 20 นาที และรับ 20 นาที ในสนามที่ 1 (ใชเวลา 40 นาที) ก : ข - ค และ ใหน กั กฬี า ง ซอ มเสิรฟเดี่ยวคอรทละ 20 นาที ในสนามท่ี 2 (ใชเวลา 40 นาที) 3. ใหนักกีฬาซอมตีลูกบุกและรับ โดยใชนักกีฬา 1 : 2 เชนเดียวกับขอ 2 ในสนามที่ 1 ข : ค - ง และนักกีฬา ก ซอมเสิรฟเดี่ยวคอรทละ 20 นาที ในสนามที่ 2 (ใชเ วลา 40 นาที) 4. ใหนักกีฬาซอมกายบริหารและยกน้ำหนักทุกคนตามหัวขอตอไปนี้ (ใชเวลา 40 นาที) 4.1 กระโดดเชือก 10 นาที 2 ครง้ั พกั ครั้งละ 2 นาที 4.2 ยกน้ำหนกั ดรัมเบล 5 กโิ ลกรมั ดวยทาตา งๆ ดังนี้ - ยกชิดอก 20 ครั้ง 4 เที่ยว - ยกในทา แบกและยกชูขนึ้ เหนอื ศรี ษะ 20 คร้งั 4 เท่ยี ว - ยกชูขึ้นเหนอื ศรี ษะแลว สะบดั ไปดา นหลงั 10 ครง้ั 4 เทย่ี ว วันเสาร ใหนักกีฬาฝกซอมตามหัวขอตอไปนี้และใหหยุดพัก 10 นาที ระหวาง หัวขอ 1. ใหนักกีฬาซอมเลนเกมจับเวลาและนับคะแนนทั้งสองสนาม (ใชเวลา 40 นาท)ี ก VS ข และ ค VS ง 2. ใหนักกีฬาซอมเลนเกมตอจากขอ 1 จับเวลาและนับคะแนนทั้งสองสนาม (ใชเวลา 40 นาท)ี ผูชนะ VS ผูชนะ และ ผแู พ VS ผแู พ 3. ใหนักกีฬาทุกคนวิ่งเร็วสลับชาระยะทาง 1/4 กิโลเมตร 4 เที่ยว โดยเปลี่ยน ความเรว็ ทกุ ๆ ระยะทาง 100 เมตร (ใชเ วลา 30 นาที) 4. ใหนักกีฬายกน้ำหนักบารเบล 40 กิโลกรัม ดวยทาตางๆ ดังนี้ (ใชเวลา 40 นาที) คมู อื ผูฝก สอนกฬี าแบดมินตนั 151 151

คูมอื ผูฝก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน การกีฬาแหงประเทศไทย - แบกขึ้นบาในทายืนแยกเทาและเขยงปลายเทาแลวยอเขาเล็กนอย จับเวลาครั้งละ 2 นาที 5 เที่ยว โดยใหมีการวิ่งซอยเทาไปเปนระยะทาง 220 เมตร ทุกเที่ยว เพอื่ คลายกลามเน้ือ - แบกขึ้นบาในทายืนแยกเทาแลวยกชูขึ้นเหนือศีรษะ 10 ครั้ง 5 เที่ยว โดยใหมกี ารสะบัดแขนหลังการยกนำ้ หนักทกุ เที่ยว 2. วธิ ีการฝกนกั กฬี าแบดมนิ ตนั ประเภทคู นกั กีฬาแบดมินตนั ทดี่ ีนัน้ จะตองมคี ณุ สมบตั ิพิเศษดงั นี้ ดานสมรรถภาพทางกาย นักกีฬาแบดมินตันประเภทคูจะตองมีสมรรถภาพ ทางกายดานความเร็ว (Speed) ความวองไว (Agility) การประสานงานของประสาท และกลามเนื้อ (Coordination) ความเร็วในการตอบสนองตอสิ่งเร็ว (Fast Reaction Time) และคิดอยางรวดเร็ว (Quick Thinking) ทั้งนี้เพราะเกมของแบดมินตันประเภทคูนั้นตองใช ความรวดเร็วสูงกวาประเภทเดี่ยว การตีลูกบางครั้งตองใชความเร็วสูงกวาประเภทเดี่ยว ถึง 3 เทา จึงมีเวลานอยมากที่จะเตรียมตัวในทาที่จะตีลูก (Stance Position) ดังนั้น การเคลื่อนเทา (Foot Work) จะตองเร็วมากถึงแมลูกที่มานั้นจะไมไกลตัวเหมือนกับ ประเภทเดี่ยวก็ตามการที่ตองตีลูกทันทีทันใดจึงไมมีเวลาเตรียมตั้งทาทาง (Position) เพื่อใหตลี ูกไดแรงๆ ลูกท่ตี ีออกไปจึงตอ งใชแ รงจากขอ มือ (Wrist Action) และการกลบั สูส ภาพ ทพ่ี รอ มจะตี (Recovery) อกี ครง้ั จะตอ งกระทำอยา งรวดเรว็ เพอ่ื รบั ลกู ทจ่ี ะกลบั มาดว ยความเรว็ สูงเชนกนั การฝกนักกีฬาประเภทคูควรเนนที่การเพิ่มความเร็วของหัวไม ผูฝกสอนบางคน ใหนักกีฬาถือแร็กเกตที่หุมปลอก (Racket Cover) ในการฝกนี้เพื่อเพิ่มความแข็งแรงใหกับ ขอมือหรือบางครั้งก็ใชแร็กเกตกีฬาอื่นที่หนักกวา เชน แร็กเกตบอล การฝกการเคลื่อนไหว ทา ที่รวดเรว็ กระโดดอยางรวดเร็วในทุกทิศทางจะชว ยใหค ณุ ภาพในการเลนประเภทคดู ีขนึ้ เกมประเภทยุคใหมเปนเกมแหงความเร็ว ทั้งในดานการตี การเคลื่อนไหว การเคลื่อนที่ และการตัดสินใจ นอกจากนี้สมาธิ (Concentration) ก็มีสวนสำคัญยิ่งตอการ ปฏิบัตงิ าน หรอื การเลน ท่รี วดเรว็ ดวย ดังนน้ั นกั กฬี าจะตองมีความตืน่ ตวั ตลอดเวลา 152 152 คมู ือผูฝกสอนกีฬาแบดมินตนั

คมู อื ผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตัน การกีฬาแหง ประเทศไทย ทักษะการเลนเกมจะตองไดรับการฝก โดยฉพาะการฝกเพื่อเพิ่มความเร็ว ผูฝกสอน (Trainer) จะตอ งปอ นลกู (Feed) ไปยงั เปา หมายดวยความเรว็ ท่สี ูงกวา การเลน ปกติ การอบอุนรางกาย (Warm - Up) การยืดเหยียดกลามเนื้อ (Stretching) จึงมี ความจำเปนมากเพราะจะชวยเพิ่มความพรอมในการทำงานอยางรวดเร็ว โดยการบิดหมุนตัว (Twist) อยางรวดเร็วเพ่อื ใหเกิดพลัง (Power) ในการตีแตล ะลูก ทกั ษะการตลี กู (Racket Skills) - พัฒนาทกั ษะการตจี ะตองพฒั นาการตอี ยางรวดเรว็ ทง้ั ในขณะโจมตี (Attack) และขณะรบั (Defense) และการตีแบบหนาไมด า นเดยี ว (Flat or Tap) - พฒั นาแบบแผนการเคลื่อนทเี่ ขาและออก (Pacing) ดวยการผลักลูก (Push) ในรเิ วณดานหนา (Front Court) บริเวณกลางคอรท (Mid - Court) เพ่อื การตีลูกใหพุงเขา หา คตู อ สูใ นระดับตำ่ ซงึ่ จะทำใหคูตอ สตู องงัดลูกขึ้นมา - จะตองฝกเพื่อใหหัวไมมีความเร็วเพิ่มขึ้นในการตีแตละลูก เลือกเปาหมาย ในการวาง (Placement) และฝกพลังในการทำลายคูตอสูและการฝกตีไปยังจุดที่ทำใหคูตอสู ตอ งโตก ลับดว ยลูกทเี่ สยี เปรยี บ - จะตองฝกทักษะการตีลูกอัดไปยังลำตัวคูตอสู (Body Attack) หรือรับลูก ทอี่ ดั เขาหาตวั - พยายามฝกใหนักกฬี าตั้งหวั ไมใหส งู ตลอดเวลาไมวา จะเปนฝา ยรกุ หรอื รบั - พยายามฝก ใหน ักกีฬามงุ โจมตใี นขณะท่ีลกู อยใู นระดบั สูง - พัฒนาการหลอกลอหรือปรับหนาไม (Deceptive) ในการตีดวยความเร็วสูง (Hit at Speed) - พัฒนาพลังในการตีลูกแบ็คแฮนดในแนวต่ำ ซึ่งมักจะเปนเปาหมายสำคัญ ทีถ่ ูกโจมตี ทักษะประเภทคใู นสภาพการณตา งๆ การสงลูก (Servicing) การสงลูกประเภทคูสามารถใชไดทั้งโฟรแฮนดและ แบ็คแฮนดการฝกจะตองฝกการควบคุมลูกใหพุงในแนวต่ำ (Low Serve) จนเกิดความมั่นใจ นอกจากนี้จะตองฝกการสงลูกดาด และการสงลูกอยางชาๆ แลวกระตุก (Delayed Flick คูม อื ผฝู ก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน 153 153

คูมอื ผูฝก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกฬี าแหงประเทศไทย Serve) ตองฝกการสงลูกไปยังจุดตางๆ ของสนามฝก การสงลูกไปยังจุดออนของคูตอสู ที่ตีดวยมือซาย สังเกตคูตอสูขณะรับลูกเพราะบางทีเขาตั้งทาพรอมแลว แตสภาพจิตใจ ยงั ไมพ รอ ม เทคนิคการสง ลกู (Serving Tip) ก. ตองทำตัวใหสบายๆ (Relaxed) ข. ระลกึ ถงึ ทกั ษะในการสงท่ถี กู ตอง (Mentally rehearse the skills) ค. จงจำไวเ สมอวา ถา เราสง ลูกเรว็ กจ็ ะไดรบั การตอบโตอยา งรวดเร็วเชนกัน ง. ตอ งเตรียมพรอ มเพื่อรับลกู ตอ ไป เทคนิคการรับลกู สง (Receiving the serve) ก. ตสี วนกลบั ใหเ ร็วทสี่ ดุ ถาฆา ไดใ หร ีบฆา ข. พยายามโตล ูกกลบั มาใหคตู อ สูตอ งแกไ ขหรืองดั ขนึ้ ค. เมื่อตโี ตกลับไปแลว ตองพรอมทีจ่ ะตลี กู ตอไป ง. ตองทำตวั ใหเบาและผอ นคลาย (Be light and relaxed) การเลน ขณะอยูแดนหนา (Front of the court play) ก. ยกหัวไมใหต งั้ ขน้ึ ตลอดเวลา ข. อยาตั้งทามากเกินไป โดยเฉพาะอยาสวิงไปขางหลัง (do not use the back swing) ค. ตองรจู ักคาดคะเน หรอื เส่ยี งในบางครงั้ (Anticipate Gamble) การเลน ขณะอยกู ลางคอรท (Mid - court play) ก. จบั ไมหนา เดียว ข. ตีลกู ผลัก (Push) เปนสว นใหญ ค. อยา ตีลูกทะแยง (Cross Court) จนกวา จะเหน็ วาเกิดท่ีวางขนึ้ การเลน ขณะอยูแ ดนหลัง (Rear Curt Play) ก. พยายามโจมตดี วยการใชลกู พงุ ต่ำในลักษณะตา งๆ เชน ตบ ตดั หยอด ข. จงระวงั เกยี่ วกบั การตบลูกแบบตรงๆ 154 154 คูมือผูฝ ก สอนกฬี าแบดมินตัน

คมู ือผูฝ ก สอนกฬี าแบดมนิ ตนั การกฬี าแหงประเทศไทย กศุ โลบายการสอน (Reaching Tactics) ผูฝกสอนอาจฝกโดยเปนผูเลนคูกับนักกีฬาโดยใหผูเลนนั้นรวมกันวางแผน การเลน ในทำนองเดียวกันก็ใหผูเลนอื่นเลนเปนคูแขงขัน ฝกใหนักกีฬาสามารถฝกไดโดย ไมตอ งมผี ูฝก สอนคอยคมุ หรอื เลนดวย เปลี่ยนลำดับการสงลูก เพื่อใหทุกคนไดมีโอกาสสงลูก ตองฝกใหนักกีฬาไดฝก แกส ถานการณใ นแตล ะสภาพการณ และหลากหลายรูปแบบ กศุ โลบายข้ันพ้นื ฐาน (Basic Tactics) ก. พยายามเขาหาลูกตลอดเวลาที่มีโอกาส เลนลูกขณะที่อยูในระดับสูงและ ใกลตาขา ยใหมากท่ีสดุ ข. ตีใหลูกไปสูเปาหมายที่จุดเสนขางบริเวณครึ่งสนาม (to the side at half - court) ค. พยายามเบรคเกม โดยการโตลูกดวยการวางใหคูตอสูวิ่งเขาหนาเพื่องัดลูก แลวโตก ลับดวยการตบขณะทีค่ ูตอ สกู า วถอยเขาไปสูจดุ เตรยี ม (Base) ง. การเลนบริเวณแดนหนาใหไดดีนั้นจะพัฒนาไดชามากเพราะฉะนั้นผูฝกสอน ตองเนน จุดนีใ้ หมากเปนพเิ ศษ โดยการเลนในลกั ษณะรกุ หรือ โจมตี (Attacking Play) จ. โจมตบี ริเวณกลางคอรท หรอื ตบไปยงั จดุ ใกลต ัวทางดา นโฟรแฮนดข องคตู อสู คเู ลน (Partners) - การจบั คูของผูเลน ท่เี ลน มอื ซา ย และมอื ขวาไดเปรียบท่สี ุด - การจบั คขู องผเู ลน ทเ่ี ปน มอื วาง (Setter) กบั มอื บกุ (Hitter) จะไดเ ปรยี บกวา - พยายามหานักกีฬาทส่ี ามารถเขา คูกันไดดี และรูใจซึง่ กันและกนั การวิเคราะห 1. การเลนประเภทคูเปนเกมที่รวดเร็ว ทำใหยากตอการสังเกตพฤติกรรมของ ผูเลนไดท กุ ดาน ดงั นั้นจงึ ควรทำแบบฟอรม การวเิ คราะหเพ่อื จดบันทกึ 2. การตดั สนิ ใจวา ใครผดิ พลาดหรอื บกพรอ งลกู ใดจะตอ งพจิ ารณาในชว งทแ่ี สดง ทาทางการตไี มใ ชด ทู ีเ่ ปา หมายและควรดทู ี่การตชี วงแรกทเี่ ปน จดุ ออนนนั้ คมู ือผูฝกสอนกฬี าแบดมนิ ตัน 155 155

คูม อื ผูฝ กสอนกฬี าแบดมนิ ตัน การกฬี าแหงประเทศไทย การฝก ประจำวนั (Routines) สรางสถานการณฝกที่เปนเกมเลนที่คลายกับการเลนทั่วไปและฝกซ้ำๆ จนเกิด ความเคยชินสรางโปรแกรมการฝก ประจำใหเหน็ เดน ชัด สงั เกตจดุ ออนของผูเลน แลว พยายาม สรา งแบบฝกเพื่อจดุ ออ นดังกลาวและรกั ษาหรอื เพ่มิ จุดแข็ง การพัฒนา (Developments) 1. เกมการเลนประเภทคูมีการพัฒนาความเร็วขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะผูเลนแถบ เอเชียมกั จะโจมตีตลอดเวลา โดยการกระโดดตบ (Jump and Smash) 2. พัฒนาการตีขณะเปนฝายรับ และโตกลับอยางทันทีทันใด นักกีฬาที่พัฒนา การเลนแบบผสมผสานการตีลูกหลายๆ แบบกับการปรับหลอกหนาไมมักจะเปนผูชนะ ในท่ีสุด 3. พัฒนาทักษะการสงลูกทั้งโฟรแฮนดและแบ็คแฮนด รวมทั้งการหลอก (Deception) และการฆาดวยลกู สง 4. พฒั นาทักษะการโตเ สริ ฟ ใหช ดิ ตาขา ยดว ยแบ็คแฮนด 5. พฒั นาการเขาตีลูกอยางทันที แตหลากหลายวธิ ผี สมกัน 6. พัฒนาการควบคุมการตอบโตลูกขณะเปนฝายรับจนกวามีโอกาสเปนฝายรกุ และเขาทำเม่อื เขาใกลต าขา ย - ตบลูกแลว ตามเขาตาขายเพื่อพิชติ ดว ยดาบสอง - เปลี่ยนจากการตบอยางรุนแรงแลวมาสูการพักใหคูขาเขามารับหนาที่ ตบแทน - โจมตีท้ังสองดานสลบั บนหรือซำ้ ดานเดยี วของสนาม - ใชว ิธีการโจมตีโดยยืนอยูคนละคอรท (Side - Attack) - ผสมผสานวิธีการตั้งรับและตอบโตหลายรูปแบบ แตคูขาจะตองเขาใจ กันวาจะเปลี่ยนทีห่ รอื วธิ ีการอยางไร เม่อื ใด การเลน ประเภทหญิงคู การเลนประเภทหญิงคูจะมีความรุนแรงและชากวาประเภทชายคู ดังนั้นการฝก จงึ ตองเนน ดา นการวางจดุ และการหลอกลอมากกวา การโตไ ปมานานๆ 156 156 คมู ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตัน

กคาูมรือกผูฝีฬก สาอนแกหีฬงาแปบรดมะินเทตนัศไทย 3. การฝก นักกฬี าประเภทคผู สม การฝกนักกีฬาประเภทคูผสมมีวิธีการฝกเหมือนการเลนประเภทคูเกือบทั้งหมด มีความแตกตางในการเลนเกี่ยวกับการวางตำแหนงนักกีฬาหญิงใหอยูประจำที่แดนหนา ใกลตาขายรับผิดชอบพื้นที่ 1 ใน 3 ของคอรทเชนเดียวกับนักกีฬาที่ยืนอยูหนาตาขาย ในประเภทคู โดยมีเปาหมายในการตีลูกหยอด ตบ แย็บหรือผลักดาดมากกวาการตีงัดลูก ไปใหฝง ตรงขา มตีลกู บุกกลับมาดว ยลูกตบหรือดาดกลบั มาเรว็ ๆ กลยทุ ธใ นการตลี ูกบกุ รับในประเภทคูผ สม การตีลูกเปนฝายบุกในประเภทคูผสมดวยลูกตบ ตัดหยอดหรือสวนดาด ควรจะตีสงไปใหนักกีฬาหญิงเปนสวนใหญ เพราะนักกีฬาหญิงตีลูกไดแรงนอยกวา นกั กฬี าชาย ทำใหเ สยี เปรียบในการตลี ูกครัง้ ตอไป และสำหรับการตีลูกเปน ฝา ยรบั ในประเภท คูผสมควรจะฝกรับลูกตบใหเหนียวแนนและบางจังหวะตองฝกรับลูกตบเปนวางหยอด ใหค ตู อสตู องงัดขน้ึ มาเพ่อื เปล่ยี นเกมเปน ฝายบุกใหไดโดยเรว็ คณุ สมบตั ิท่ีเหมาะสมของนกั กีฬาประเภทคผู สม นักกฬี าชาย 1. ควรสูงเกนิ กวา 175 ซม. ข้ึนไป และมีรปู รางสันทดั 2. เปนนกั กฬี าทช่ี อบตีลูกบุกมากกวาเปน ฝายรับ 3. สามารถตลี กู พ้นื ฐานไดร ุนแรงและแมนยำทั้งฝา ยบกุ และรบั 4. ควบคมุ อารมณไดดี นกั กฬี าหญิง 1. ควรสงู ระหวาง 150 - 165 ซม. และมีรปู รางสันทดั 2. สามารถรบั ลูกตบไดอ ยา งเหนยี วแนน 3. สามารถตีลกู พื้นฐานไดดโี ดยเฉพาะการสวนดาด รับลูกตบ และหยอด 4. มจี ิตใจเปนนกั ตอสูท ่ีไมก ลัวการตลี กู รบั ลูกตบ คูมอื ผูฝก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน 157 157

คมู ือผูฝ ก สอนกีฬาแบดมนิ ตัน การกีฬาแหงประเทศไทย ประเดน็ สำคญั ในการฝก คูผ สม 1. สำหรับนักกีฬาชาย 1.1 ตองใชว ธิ ีการฝกใหม ีความอดทนเหมอื นเปน นกั กฬี าประเภทเด่ยี ว 1.2 ตองฝกลูกพื้นฐานการผลักดาดครึ่งคอรทหรือผลักดาดเขาตัวผูเลน ฝงตรงขามแบบการเลน ประเภทคู 1.3 ตองชวยเหลือตีลูกที่พนจากการตีของนักกีฬาหญิงที่เปนคูกันใหทุกลูก รวมทัง้ การชว ยรบั ลูกตบ 1.4 ตอ งฝก เสิรฟใหไดหลายๆ มุมตามที่คูแขง มีจดุ ออน 2. สำหรับนักกีฬาหญงิ 2.1 ตองใชวิธีการตีลูกในแดนหนาเปนหลักดวยลูกตบ แย็บ หยอด โดยใชก ารตลี ูกขน้ั สูง รวมทง้ั การหลอกลอ เม่อื มีโอกาส 2.2 ตองฝกรับลูกตบใหเหนียวแนน รวมทั้งการฝกรับลูกตบแบบสวนดาด กลับในระดับเหนือศรี ษะ 2.3 ตองตลี ูกที่จะผานพนมอื ไดม ากทสี่ ดุ เทา ทจี่ ะมากได 2.4 ตองฝก เสิรฟลงเสนเสิรฟหนา ตาขายใหเลยี ดตาขา ยทีส่ ดุ 2.5 ตองพยายามตีลูกหนาตาขายเปนผลักดาดแรงๆ ทุกลูก หากไมทัน ก็ตองสรางจิตสำนึกใหเปนการตีลูกหยอดเสมอพื่อใหคูแขงขันตอง งัดลูกโดงข้นึ ไป การฝกการเลน เกม ตองหมั่นฝกการเลนเกมใหไดทั้ง 2 ลักษณะ คือ การเลนเกมแบบนักกีฬาหญิง อยูประจำที่แดนหนา โดยมีนักกีฬาชายอยูแดนหลัง และการเลนเกมแบบรับผิดชอบคนละ คอรท ทั้งเกมรุก และเกมรบั 158 158 คูม ือผูฝก สอนกฬี าแบดมินตนั

คมู ือผูฝกสอนกฬี าแบดมินตัน ทปี่ รึกษา ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ นายสกล วรรณพงษ ผ้วู า่ การการกฬี าแหง่ ประเทศไทย นายมนตรี ไชยพันธุ รองผูว้ ่าการการกฬี าแหง่ ประเทศไทย (ฝายกฬี าเปน็ เลศิ และวทิ ยาศาสตรการกฬี า) นายสงั เวยี น บญุ โต รองผู้วา่ การการกีฬาแหง่ ประเทศไทย (ฝา ยบรหิ าร) นางสาวแจม่ จนั ทร เจยี มใจสวา่ งฤกษ ผอู้ าํ นวยการฝา ยสารสนเทศและวชิ าการกฬี า เรยี บเรยี งโดย รองศาสตราจารย ดร. นภพร ทศั นัยนา กองบรรณาธกิ าร ผู้อํานวยการกองวิชาการกีฬา หัวหน้างานพฒั นาองคค วามรู้ นางรุง่ ทวิ า รอดโพธ์ิทอง นักวิชาการ 6 นายวัชระ คาํ เพง็ นักวิชาการ 6 นางรววี รรณ อรรถอนิ ทรยี  ผูช้ ว่ ยปฏบิ ัตงิ านฯ นางสาวหนงึ่ ฤทัย แสงกาศนยี  ผชู้ ่วยปฏิบตั งิ านฯ นางสาวกรรณกิ า จีนพวด ผ้ชู ่วยปฏิบตั ิงานฯ นางสาวอรณุ วรรณ แพทยป รชี า ผู้ช่วยปฏิบตั ิงานฯ นายสวุ ิทย สุขเลิศ ผ้ชู ่วยปฏบิ ัติงานฯ นายปารยฐาเนกษ โศภิศภัทรพร ผู้ชว่ ยปฏิบัติงานฯ นายนรตุ ภเ ดชษ งามแสง นายศาตรา เอื้อเฟอ 159

เปน็ หน้าวา่ ง

เปน็ หน้าวา่ ง

เปน็ หน้าวา่ ง