Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาแบดมินตัน

คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาแบดมินตัน

Description: คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาแบดมินตัน.

Search

Read the Text Version

คูม ือผูฝก สอนกฬี าแบดมินตนั การกีฬาแหงประเทศไทย การฝกผอนคลายกลามเนื้อแบบกาวหนานี้นิยมใชเทปบันทึกเสียงวิธีการเกร็ง และคลายกลามเนื้อแตละขั้นตอนไวกอน โดยหาผูที่มีเสียงนุมนวลบันทึกคลอดวยเสียง ดนตรีเย็นๆ เวลาฝกก็นั่งหลับตาแลวปฏิบัติตามไปเรื่อยๆ จะไดผลดี (แถบบันทึกการฝก หาไดจ ากกองสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข) การฝกทางจิตวิทยาการกีฬาผูฝกสอนตองใหนักกีฬาไดฝกควบคูไปกับการฝก ทักษะกีฬาและอาจใหนำไปใชในชวงกอนนอนหรือขณะที่นั่งพักผอน นอกจากการฝก จินตภาพและการผอนคลายลามเนื้อแบบกาวหนาขางตน การฝกสมาธิแบบอื่นๆ ก็ไดผล เชนเดียวกัน เชน การฝกอาฌาปานสติ การฝกแบบธรรมกาย การฝกแบบสติปฏฏฐานสี่ ซึ่งเปนการฝกสมาธิ ที่ชวยเพิ่มใหเราสามารถควบคุมจิตใจใหสงบ หลีกเลี่ยงความหมกมุน ทไ่ี มพ งึ ปรารถนาในจติ ใจ ทส่ี ำคญั คอื การผอ นคลาย ทำใหจ ติ ใจไดพ กั ผอ นชว่ั ขณะ ความสนใจ ยาวขึน้ ซึ่งจะมีผลดีตอ การเลน กีฬา คูม อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมินตนั 43 43

คมู ือผูฝกสอนกฬี าแบดมนิ ตนั การกฬี าแหงประเทศไทย วทิ ยาศาสตรก ารกฬี าสำหรบั ผูฝ ก สอน 1. เปา หมาย ใหมีความรูเกี่ยวกับหลักการออกกำลังกาย ปจจัยที่มีผลตอความสามารถ ของนักกีฬา การเปลี่ยนแปลงของรางกายอันเนื่องจากการออกกำลังกายระบบตางๆ ของรางกาย ระบบพลงั งาน อาหาร และเคร่อื งด่มื สำหรับนกั กฬี า 2. ประกอบดวย 2.1 สรีรวิทยาการออกกำลงั กาย 2.1.1 ผลการออกกำลังกายท่ีมีตอระบบตางๆ ของรางกาย 2.1.2 กระบวนการพลังงานแบบอากาศนยิ ม และอนากาศนยิ ม 2.1.3 ปจจัยที่มีผลตอความสามารถของนักกีฬา เชน สี แสง เสียง อุณหภูมิ ความชื้น ความสูง สภาพอารมณ ความวิตกกังวล อาหารและพลงั งานเสริม สภาพจติ ใจ ฯลฯ 2.2 โภชนาการสำหรับนกั กฬี า 2.2.1 คุณคาและประโยชนของอาหาร 2.2.2 อาหารทจ่ี ำเปนสำหรับนกั กีฬา 2.2.3 หลักการจัดเมนอู าหารสำหรบั นักกฬี า 44 44 คูมือผฝู กสอนกฬี าแบดมนิ ตัน

คมู อื ผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตัน การกีฬาแหง ประเทศไทย รายละเอียดเนอื้ หา 1. สรีรวิทยาการออกกำลงั กาย ในการออกกำลังกายหรือการเคลื่อนไหวรางกาย ระบบตางๆ ของรางกาย เกือบทุกระบบจะเขามามีสวนเกี่ยวของเสมอ แตที่มีผลโดยตรงที่เดนชัด ประกอบดวย ระบบตางๆ ดงั นี้ 1.1 ระบบกลามเนื้อ (Muscle) กลามเนื้อเปนมวลสารที่มีอยูในรางกาย ถึงรอยละ 40 โดยนำ้ หนักจำแนกเปน 3 ชนิด คอื ก. กลามเนื้อเรียบ (Smooth Muscle) เปนกลามเนื้อที่ประกอบเปน อวัยวะภายในซึ่งอยูน อกอำนาจการควบคุมของจิตใจ เชน หลอดเลอื ด หลอดอาหาร ปอด เปนตน ลักษณะเซลลจะยาวเปนรูปกระสวย เซลลจ ะเกาะติดกันหลวม ไมม ีลาย มสี ซี ีด ข. กลามเนอ้ื หัวใจ (Cardiac Muscle) เปนกลา มเนือ้ ทปี่ ระกอบเปนหัวใจ อยูนอกอำนาจการควบคุมของจิตใจมีลักษณะเปนทรงกระบอก หดตวั ไดโดยไมต องมกี ารกระตนุ จากภายนอก ค. กลามเนื้อลาย (Striated Muscle) เปนกลามเนื้อที่ประกอบเปน โครงรางสวนใหญของรางกายจนถูกเรียกวา กลามเนื้อโครงราง (Skeleetal Muscle) มีทั้งหมดประมาณ 792 มัด อยูภายใตอำนาจ การควบคุมของจิตใจ โดยจะหดตัวเมื่อถูกสั่งการใหทำงาน เสนใย ของกลามเนื้อลายจะมีลักษณะเปนกระบอกยาวและสั้นแตกตางกัน ในแตละมัด ในการออกกำลังกายและเคลื่อนไหวรางกาย กลามเนื้อลายหรือกลามเนื้อ โครงรางมีบทบาทสำคัญที่สุดเนื่องจากเปนตัวทำใหอวัยวะตางๆ เคลื่อนไหวดวยการหด และคลายตัว ดังนั้นผูฝกสอนกีฬาจึงควรศึกษาและทำความเขาใจถึงโครงสราง การทำงาน และผลของการทำงานของกลามเนอื้ ชนิดนี้ใหม าก ดังน้ี คมู อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตัน 45 45

คมู ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตนั การกีฬาแหงประเทศไทย 1.1.1 องคป ระกอบของกลา มเนอ้ื กลา มเนอ้ื ประกอบดว ยเสน ใยกลา มเนอ้ื (Muscle Fiber) จำนวนมากมารวมตัวเปนมัดกลามเนื้อ (Muscle Bundle) ภายในเสนใยกลามเนื้อจะประกอบดวย Myofibri ซึ่งถูกลอมดวยของเหลว Sarcoplasma โดยมีปลอกหุม ทำหนาที่คลายฉนวนโดยรอบ ซึ่งเรียกวา Sarcolemna ภายใน เสนใยกลามเนื้อจะมีเซลลที่เล็กที่สุด 2 ชนิด ที่มีสวนอยางมาก ในการทำหนาที่หดตัว คือ Actin และ Myosin ซึ่งเปนการรวมตัว ของโปรตนี ทีท่ ำใหเ กิดกระบวนการสันดาปเปนพลงั งาน 1.1.2 ชนิดของกลามเนื้อลาย (Muscle Fiber Type) ในกลามเนื้อ แตละมัดประกอบดวยเสนใยกลามเนื้อ 2 ชนิด ในปริมาณ ทแ่ี ตกตา งกันตามลักษณะของการหดตัว คอื 1.1.2.1 กลามเนื้อบิดตัวชา (Slow Twist) เปนกลามเนื้อที่มี ความเร็วในการหดตัวชา มีเสนใยเปนสีแดง มีความ ทนทานในการทำงานตอเนื่องนาน มีศักยภาพการ ทำงานแบบอากาศนยิ มไดดี 1.1.2.2 กลามเนื้อบิดตัวเร็ว (Fast Twist) เปนกลามเนื้อที่มี การหดตัวไดเร็วและรุนแรง มีเสนใยเปนสีขาวหรือ แดงจางๆ มีศักยภาพในการทำงานแบบอนากาศนิยม และอากาศนิยมไดดี กลา มเนื้อทัง้ 2 ชนิดนี้มคี ณุ สมบัติเฉพาะตัวแตกตางกนั ดังตาราง (ประทมุ มวงมี 2527 : 66) 46 46 คมู อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตนั

คมู ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตนั การกฬี าแหง ประเทศไทย ตารางเปรียบเทยี บคุณสมบตั ิของเสนใยกลามเนื้อแดง (ST) และเสน ใยกลามเนื้อขาว (FT) รายการเปรียบเทียบ Show Twist Fast Twist 1. ขนาดของเสน ประสาททีไ่ ปหลอ เลี้ยง เลก็ ใหญ 2. จำนวนเสนใยกลา มเนอื้ ใน 1 หนวย 3. ความเร็วในการหดตวั เพอื่ สนองตอบสง่ิ เรา นอยกวา มากกวา 4. การรบั บทบาทของแคลเซ่ยี มไอออน ชากวา เร็วกวา 5. ปรมิ าณ Myoglobin ชา กวา เรว็ กวา 6. ปรมิ าณ Myochondria มากกวา นอยกวา 7. ปรมิ าณการไหลเวียนเลือด มาก นอ ย 8. อัตราการเผาผลาญพลงั งานขณะพัก สูงกวา ตำ่ กวา 9. ความสามารถในการสรางพลงั งานแบบแอโรบคิ 10. ความสามารถในการสรา งพลังงานแบบอนาโรบคิ สงู ต่ำ 11. ความลา สูงกวา ต่ำกวา 12. ปริมาณไกลโคเจนสะสม ต่ำกวา สงู กวา 13. ปริมาณไขมันท่สี ะสมในเสน ใย เกิดข้ึนชา กวา เกิดขึ้นเรว็ กวา นอยกวา มากกวา มากกวา นอยกวา คูม อื ผูฝ ก สอนกฬี าแบดมินตัน 47 47

คมู ือผฝู กสอนกฬี าแบดมินตนั การกีฬาแหง ประเทศไทย 1.1.3 ขั้นตอนในการทำงานของกลามเนื้อ กระบวนการทำงานของ กลา มเนอ้ื มคี วามสลบั ซบั ซอน ซ่ึงเกิดจากการประสานกันระหวา ง ระบบประสาทและกลามเนื้อ โดยสรุปสามารถแบงเปนขั้นตอน ได 3 ขัน้ ตอนดงั น้ี 1.1.3.1 การรับสิ่งเรา โดยเมื่อรางกายรับรูสิ่งเราและสั่งให กลามเนื้อทำงานชวงนี้จะทำใหเกิดความตางศักย ทเ่ี สนใยประสาทที่เกาะอยูก ับกลามเนือ้ 1.1.3.2 การถายทอดกระแสประสาทมายังกลามเนื้อ กระแส ประสาทเมื่อถกู สัง่ การจะเคลือ่ นมายงั กลา มเน้อื 1.1.3.3 การกระตุนใหทำงานหดตัว กระแสประสาทจะ กระตุนใหกลามเนื้อสรางปฏิกิริยาไฟฟา (ประจุบวก และประจุลบ) และปฏิกิริยาเคมี (โซเดียมและ โปแตสเซียม) ระหวาง ภายในเซลลและนอกเซลล กลามเนื้อ 1.1.4 สง่ิ ทม่ี อิี ทิ ธพิ ลตอ การทำงานของกลา มเนอ้ื การทำงานของกลา มเนอ้ื จะมากหรือนอ ย ขึ้นอยูก บั อิทธิพลของส่ิงตอไปนี้ 1.1.4.1 ความเขมของสิง่ เรา ในการหดตัวของกลา มเนือ้ แตละมดั จะทำเปนทีม กลาวคือ เมื่อมีสิ่งเรามากระตุน เสนใย ทุกเสนในมัดกลามเนื้อจะทำงานพรอมกันทั้งหมด ตามหลักการ all or none principle ในการทำงาน ของกลามเนื้อจะประเมินความเขมของสิ่งเรากอน แลวจึงจะหดตัว หากสิ่งเรามีความเขมมาก หนวยกล ในกลามเนื้อ (Motor Unit) จะถูกกระตุนจำนวนหนวย มากขึ้น และจะเกิดการรวมตัวกันทำงานใหมีกำลัง มากขึ้นตามไปดวย 48 48 คูมือผูฝ กสอนกีฬาแบดมนิ ตนั

คมู ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตัน การกีฬาแหง ประเทศไทย 1.1.4.2 ความไวในการตอบสนองของสงิ่ เรา กลา มเนอ้ื จะทำงาน ตอบสนองความไวของสิ่งเราที่ประสาทรับรูและสั่งการ มายังกลามเนื้อ ซึ่งกลามเนื้อแตละมัดจะใหการ ตอบสนองที่แตกตางกัน เชน กลามเนื้อเปลือกตา จะตอบสนองไดไวมากเมื่อมีสิ่งเราเขามาเราจะ กระพริบตาไดทันที แตกลามเนื้อแขนเวลาเห็นลูกบอล สงมาบางครั้งเรายังจับไดไมทัน เปนตน นอกจากนี้ การกระตุนเร็วตอเนื่องนาน กลามเนื้อจะเกิดความลา การตอบสนองกจ็ ะชาลง 1.1.4.3 ระยะเวลาที่ถูกกระตุน กลามเนื้อจะทำงานเมื่อไดรับ การกระตุน ดังนั้นหากมีการกระตุนอยางตอเนื่อง กลา มเนอ้ื กจ็ ะหดตวั ทำงานตดิ ตอ กนั ตามกระแสประสาท ที่กระตุน ทายสุดจะเกิดความลา (Fatigue) และเมื่อถูก กระตุนตอไปกลามเนื้อก็จะทำงานตอไปแตออนแรง และชาลงจนเมื่อถูกจุดลาสมบูรณ ก็จะไมตอบสนอง หรอื เกดิ การหมดแรง (Exhaustion) ในที่สดุ 1.1.4.4 อุณหภูมิในกลามเนื้อ กลามเนื้อที่ถูกกระตุนดวยการ อบอุนรางกาย (Warm Up) ใหม ีอุณหภมู สิ ูงขึน้ อยา งนอ ย 1 องศาเซลเซยี ส จากอณุ หภมู ปิ กติ (37.5 องศาเซลเซยี ส) กลา มเนือ้ นัน้ จะมปี ระสิทธภิ าพในการทำงานเพ่มิ ขึ้น 1.1.4.5 พลังงานที่สะสมในกลามเนื้อ โดยปกติรางกายจะเก็บ เอทีพี (ATP) เพื่อเปนพลังงานสำรองในกรณีที่ตอง ทำงานทันทีทันใด หรือทำงานในชวงแรก หากมีสะสม ไวมาก กลามเนื้อก็จะทำงานแบบไมใชออกซิเจน ไดมากหรือนาน แตถาสะสมไวนอยกลามเนื้อจะทำงาน ไดส้นั ลง คมู อื ผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตนั 49 49

คูมือผฝู กสอนกีฬาแบดมินตนั การกีฬาแหงประเทศไทย 1.1.5 ชนิดการหดตวั ของกลามเนอ้ื กลา มเนื้อมกี ารหดตัวใน 2 ลักษณะ เมื่อพจิ ารณาการเคลื่อนไหวของกลา มเนื้อ คอื 1.1.5.1 การหดตัวแบบคงที่ (Static Contraction or Isometric Contraction) เปนการเกร็งใหกลามเนื้อหดตัวคงที่ โดยความยาวของกลามเนื้อไมเปลี่ยนแปลง เชน การออกแรงดันฝาผนัง การงอแขนโหนตัวบนบารเดี่ยว เปน ตน 1.1.5.2 การหดตัวแบบเคลื่อนที่ (Dynamic Contraction or Isotonic Contraction) เปนการออกแรงทำงาน แบบเคลื่อนไหว กลา มเนอ้ื จะหดตวั และคลายตัวสลับกัน เชน การยกดรัมเบลขึ้น - ลง การวิ่ง การตีลูกขนไก เปน ตน 1.1.6 หลักการสำคัญเกี่ยวกับระบบกลามเนื้อ ผูฝกสอนควรจดจำ หลักการตางๆ เกี่ยวกับกลามเนื้อเพื่อจะไดนำไปประยุกตในการ พัฒนาความสามารถของนกั กีฬา 1.1.6.1 กลามเนื้อที่มีขนาดใหญกวาจะทำงานไดหนักกวา กลามเนื้อที่มีขนาดเล็กกวา หลักสำคัญขอนี้พิจารณา จากพืน้ ท่ีหนา ตัดของมัดกลา มเน้อื มดั กลา มเน้ือทีม่ ีพื้นที่ หนา ตดั มาก คอื มดั กลา มใหญก วา จะมคี วามแขง็ แรงกวา มัดกลามเนื้อท่ีมหี นา ตัดเล็กกวา 1.1.6.2 ปริมาณเสนใยสีขาว และเสนใยสีแดงที่ประกอบเปน กลามเนื้อ สามารถแสดงถึงความสามารถในการทำงาน ของกลามเนื้อนั้นๆ กลาวคือ ถามีเสนใยสีแดงมากจะ ทำงานแบบหดตัวตอเนื่องนานๆ ไดดีกวากลามเนื้อ ทมี่ สี ขี าวมากกวา เปนตน 50 50 คูมือผูฝก สอนกฬี าแบดมินตนั

คูม ือผฝู กสอนกฬี าแบดมินตัน การกีฬาแหงประเทศไทย 1.1.6.3 การอบอุนกลามเนื้อกอนใชงาน จะทำใหกลามเนื้อ ทำงานไดดีกวากลามเนื้อที่มีอุณหภูมิสูงขึ้นกวา ภาวะปกติจะทำงานไดดีกวา ดังนั้นกอนออกกำลังกาย ควรจะอบอุนรางกายใหอุณหภูมิสูงขึ้นอยางนอย 1 องศาเซลเซยี ส 1.1.6.4 การตอบสนองจะเร็วและเปนอัตโนมัติ หากมีการฝกให ระบบประสาทและกลามเนื้อทำงานประสานกันจนเกิด ความชำนาญ หรือทำงานโดยไมตองคิดกอน นักกีฬา จะตองฝกทักษะทุกทักษะจนสามารถเคลื่อนไหวหรือ แสดงออกไดทันทีคลายกับเปนสัญชาตญาณ หรือเปน ปฏกิ ิรยิ าตอบสนอง 1.1.6.5 การทำใหกลามเนอ้ื มขี นาดโตขึ้น จะตองฝก ใหก ลา มเนื้อ มีเสนใยโตขึ้นและมีเสนโลหิตไปเลี้ยงมากขึ้น ดังนั้น การฝกจะตองผสมผสานระหวางเปาหมายการฝกความ แข็งแรง โดยใหกลามเนื้อออกแรงตานมากเพื่อสราง เสนใยกลามเนื้อใหโตขึ้นและฝกความอดทน เพื่อให รา งกายพฒั นาระบบการสง เลอื ดไปเลย้ี งเพม่ิ ขน้ึ เพอ่ื ใหไ ด ออกซเิ จนและพลังงานเพ่ิมขน้ึ 1.1.6.6 กลามเนื้อที่ทำงานหนักและตอเนื่องนานๆ จะเกิด ความลา และปวดเมื่อย ทั้งนี้เพราะในการทำงานของ กลามเนื้อตองอาศัยสารอาหารเปนเชื้อเพลิงและ ออกซิเจนมาชวยสันดาปสารอาหารเพื่อเปนพลังงาน เคลื่อนไหวการทำงานตอเนื่องนานๆ ทำใหการระบาย ของเสียที่เกิดจากการสันดาปพลังงานไมสมบูรณ สะสมเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะกรดแลคติค ประกอบกับ ออกซิเจนมาเลี้ยงไมพอทำใหเปนหนี้ออกซิเจน คูม อื ผูฝกสอนกีฬาแบดมนิ ตัน 51 51

คูมอื ผูฝกสอนกฬี าแบดมินตนั การกฬี าแหง ประเทศไทย (Oxygen Debt) จึงทำใหกลามเนื้อลา และหากใชงาน ตอไปกลามเนื้อสูภาวะลาสมบูรณ (Completed Exhaust) จะมีอาการปวด (Soreness)กลามเนื้อมัดนั้น ตามมา 1.1.6.7 ตะคริวท่กี ลามเน้อื (Muscle Cramp) เกดิ จากกลา มเนือ้ ถูกใชงานหนักตอเนื่องนานๆ จนเกิดการสะสมของเสีย มากเกินไป ประกอบกับการขาดเกลือโปแตสเซียม จึงทำใหกลามเนื้อเกร็งคางโดยไมคลายตัว ดังนั้น เมื่อรูสึกวากลามเนื้อลาควรลดความเขมในการออก กำลังกายลงเพื่อใหกลามเนื้อชดเชยเกลือและระบาย ของเสยี ออกกอ น 1.2 ระบบหัวใจและหลอดเลอื ด (Cardiovascular System) เปนระบบ ที่มีบทบาทมากตอการออกกำลังกาย เพราะการลำเลียงสารอาหารและออกซิเจนไปสราง พลังงานในกลามเนื้อลวนเปนบทบาทของระบบนี้ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ประกอบดวย หัวใจ (Heart) หลอดเลือด (Bload Vessel) เลอื ด (Blood) น้ำเหลอื งหรือพลาสมา (Plasma) 1.2.1 หวั ใจ (Heart) เปน อวยั วะทท่ี ำหนา ทส่ี บู ฉดี เลอื ดไปหลอ เลย้ี งรา งกาย หวั ใจ ประกอบดว ยกลา มเน้อื หวั ใจ ระบบประสาทและหลอดเลอื ด มีน้ำหนักประมาณ 350 กรัม โดยขนาดกำปนของแตละคน มี 4 หอง คือ หองซายบน หองซายลาง หองขวาบนและ หองขวาลาง หองบนทำหนาที่รับเลือดคืนจากรางกาย ในขณะที่ หองลางทำหนาที่ฉีดเลือดไปเลี้ยงรางกาย กลาวคือ เลือดจาก รางกายจะเขาสูหัวใจทางหองบนขวา แลวไหลสูหองลางขวา ตอจากนั้นจะถูกฉีดไปที่ปอดเพื่อรับออกซิเจน แลวจะถูกสูบ เขาหองบนซาย ไหลสูหองลางซายฉีดออกจากหองลางซาย ไปหลอ เล้ยี งรา งกายตอ ไป 52 52 คมู อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมินตัน

คมู อื ผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตัน การกฬี าแหง ประเทศไทย 1.2.2 ความดนั เลอื ด (Blood Pressure) เปน แรงดนั ทห่ี วั ใจบบี ตวั สง เลอื ด ไปทางหลอดเลือดแดง ซึ่งเรียกวา Arterial Blood Pressure เวลาวัดความดันเลือดเราจะวัดที่เสนเลือดแดง ซึ่งจะปรากฏ เปน 2 คา คาตัวบนเปนซิสโตลิค คือ แรงดันชวงหัวใจบีบตัว และคาตัวลางเปนไดแอสโตลิค คือแรงดันชวงหัวใจคลายตัว เชน 120/80 เปนตน ความดันเลือดจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับ ขนาดของหัวใจ ความแข็งแรงของหัวใจ ปริมาณเลือด อายุ กิจกรรมหรือความเขมของการออกกำลังกายและความยืดหยุน ของผนงั หลอดเลือด ในขณะออกกำลังกายแรงดันซิสโตลิคจะเปลี่ยนแปลงมากแตแรงดัน ไดแอสโตลิคจะเปลี่ยนแปลงคอนขางนอย ทั้งนี้เพราะขณะออกกำลังกายหัวใจจะทำงาน เพมิ่ ขึน้ เพอ่ื ฉีดเลือดออกไปเลี้ยงกลา มเนอ้ื ใหเ พียงพอ 1.2.3 การเตนของหัวใจ (Heart Beat) มักจะวัดจากชีพจร (Pulse) ซึ่งเปนคลื่นการไหลเวียนเลือดในหลอดเลือดตามจังหวะการเตน ของหัวใจ มีคาเปนครั้งตอนาที เชน 76 ครั้ง/นาที การวัดชีพจร คูมือผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตัน 53 53

หรือบรเิ วณซอกคอ (Carotid Arte อัตราชีพจรจะสูงข้ึนกรณ คมู ือผฝู กสอนกฬี าแบดมินตัน ของอารมณ เชน ตื่นเตน ตกใจ อัตราชีพจรขณะพักจะประมา การกฬี าแหง ประเทศไทย จะต่ำกวาคนทั่วไปเล็กนอยขึ้นอ สามารถสมั ผัสไดท ่บี ริเวณขอ มือดา นน้วิ หวั แมมแือล(ะRจaติ dใiจal Artery) หรือบริเวณซอกคอ (Carotid Artery) 1.2.4 ขนาดของหัวใจ (Size of Hear อตั ราชพี จรจะสงู ขึ้นกรณีออกกำลงั กาเยทาแกลำะปกนารขผอันงแคปนรนั้น แตจะมีผ ของอารมณ เชน ตื่นเตน ตกใจ เราใจ โดยปกตจิคหนรือทไั่วมไขปึ้นจอะยมูกี ับการออกก อัตราชีพจรขณะพักจะประมาณ 72 ครั้ง/นแาบทบี อสาวกนานศักนกิยีฬมาสม่ำเสมอผนัง จะต่ำกวาคนทั่วไปเล็กนอยขึ้นอยูกับความสมโตบขูรณึ้น ขซอึ่งงเราียงกกวาายหัวใจนักกีฬา และจติ ใจ เพื่อใหหัวใจมีประสิทธิภาพใน 1.2.4 ขนาดของหัวใจ (Size of Heart) หัวใจของแใตหลเะพคียนงจพะอมีขโนดายดการเพิ่มปริม เทากำปนของคนนั้น แตจะมีผนังหนาขึ้นหรแือตขล นะาคดรโ้ังต(ขSึt้นroกkวeาVolume) ใหม ปกติหรือไมขึ้นอยูกับการออกกำลังก1า.2ย.5ถาหกาากรใอชออกอกกำซลิเจังกนา(ยOxygen Con แบบอากาศนิยมสม่ำเสมอผนังหัวใจก็จะหนไปาขใชึ้นใแนลกะามรีสขรนาางดพลังงานของร โตขึ้น ซึ่งเรียกวา หัวใจนักกีฬา เนื่องจากรารงากงากยาตยอไดงปรับรับอตอัวกซิเจนแลวผา เพื่อใหหัวใจมีประสิทธิภาพในการฉีดเลือดไูดปซเึมลไี้ยปงใรชาปงรกะาโยยชนมากนอยเพ ใหเพียงพอ โดยการเพิ่มปริมาณเลือดที่ฉนีด้ำอหอนกักจตาัวกคหนัวไใหจนมีความสาม แตล ะครง้ั (Stroke Volume) ใหมากข้นึ เหนื่อยชา เพราะรางกายจะชะล 1.2.5 การใชออกซิเจน (Oxygen Consumption) เปกนากราทรนดำสอออบกกซิาเจรนใชออกซิเจน ไปใชในการสรางพลังงานของรางกาย โดยพCิจoาnรsณuาmจpาtกioกnารหทรี่ือ VO 2 Ma รางกายไดรับออกซิเจนแลวผานเขาไปยังกรระะแยสะไเลกืลอดทแดลสวอถบูกดว ยลกู ล ทดสอ ดูดซึมไปใชประโยชนมากนอยเพียงใด ใน 1 นาที เมื่อเทียบกับ น้ำหนักตัว คนไหนมีความสามารถในการใชออกซิเจนสูงก็จะ เหนื่อยชา เพราะรางกายจะชะลอการเปนหนี้ออกซิเจนไดนานขึ้น Cกาoรnทsuดmสpอtบioกnาหรรใือชอ5Vอ4Oกซ2ิเMจนaxส)ูงสสุดาม(าMรถaทxiดmสuอmบดวOยxกyาgรeวnิ่ง ค ระยะไกล ทดสอบดว ยลูกล ทดสอบดวยจกั รยานวดั งาน 54 54 คมู ือผูฝ ก สอนกฬี าแบดมินตนั

คูม ือผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกีฬาแหง ประเทศไทย หลักการสำคัญที่สมั พนั ธกับความสามารถในการใชอ อกซเิ จนสูงสุด ก. คนตัวเล็กและมีไขมันนอยกวาจะมีความสามารถในการจับออกซิเจน สงู สุดดีกวา คนตวั ใหญ มีไขมนั มาก ข. ปริมาตรของปอดมีสวนเสริมใหมีความสามารถในการใชออกซิเจน สูงสุดเพ่มิ ขึน้ ค. ผูที่มีอายุนอยกวามีความสามารถในการใชออกซิเจนสูงสุดดีกวา ผใู หญ ง. เพศชายมคี วามสามารถในการใชออกซเิ จนสูงสดุ สูงกวาเพศหญงิ จ. นักกีฬาที่ออกกำลังกายแบบอากาศนิยมสม่ำเสมอมีความสามารถ ในการใชออกซิเจนสูงสดุ และสงู กวานกั กฬี าท่ไี มไดอ อกกำลังกายแบบอากาศนิยม ฉ. การฝกในที่ที่มีอากาศเบาบาง หรือที่สูงกวาระดับน้ำทะเลมากๆ สามารถพฒั นาความสามารถในการใชอ อกซเิ จนสงู สุดได 1.3 ระบบพลงั าน (Energy System) การสนั ดาปสารอาหารใหเ ปน พลงั งาน ของรางกายจะมีเอทีพี (ATP = Adenosine Tri Phosphate) เปนตัวหลักในการสลาย เปนพลังงานข้ันสดุ ทาย การสลายอาหารใหเ ปนพลังงานมี 2 ระบบ คือ 1.3.1 ระบบอนากาศนยิ ม (Anaerobic Metabolism) เปน การนำเอา เชื้อเพลิงที่สะสมในกลามเนื้อ คือ เอทีพี (ATP = Adenosine Tri Phosphate) มาใชอยางทันทีเพื่อใหเกิดพลังงานโดยไมตอง มีออกซิเจนมาชวย การใชพลังงานระบบนี้จะเกิดขึ้นในชวงแรก ของการออกกำลงั กายหรอื ประมาณ 1 - 90 วินาที 1.3.2 ระบบอากาศนิยม (Aerobic Metabolism) เปนการนำเอา เชื้อเพลิงจากนอกกลามเนื้อมาใชใหเกิดพลังงานระบบนี้จะเกิดขึ้น หลังจากเชื้อเพลิงในกลามเนื้อลดนอยลงโดยจะเขามาเสริม เรื่อยๆ และใชแบบสมบูรณเมื่อเชื้อเพลิงในกลามเนื้อหมดแลว ประมาณวาหลังจากออกกำลังกายแลว 2 นาที และจะเพิ่มขึ้น เรอื่ ยๆ จนสมบรู ณเ มือ่ หลังออกกำลงั กายแลว 30 นาที คูมือผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั 55 55

คูมอื ผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตัน การกฬี าแหง ประเทศไทย ในการสรางพลังงานเพื่อใหรางกายเคลื่อนไหวดังกลาว จำแนกเปน 3 ขัน้ ตอน คือ ขน้ั ท่ี 1 ระบบฟอสฟาเจน (Phosphagen System) จะอยูในชวงแรก ของการเคล่ือนไหวประมาณวา ไมเ กิน 10 วนิ าที 1. ATP + H2O ∧ ADP + P 2. ADP + CP ∧ ATP + C 3. ADP + ADP ∧ ATP + AMP ขั้นท่ี 2 ระบบแลคตาซิค (Lactacid System) จะอยูในชวงที่ เอทีพี ในกลามเนื้อถูกใชหมดแลว ไกลโคเจนในกลามเนื้อถูกนำมาใชทันที แลวจะเกิดการสะสม กรดแลคติค และเมื่อไดปริมาณพอสมควรกรดแลคติคจะรวมกับเอทีพีเกิดเปนพลังงาน ไดช ว งหนึง่ และจะอยไู ดน านประมาณ 2.30 นาที GLUCOSE ∧ATP + LACTATE ขน้ั ที่ 3 ระบบอากาศนิยม (Aerobic System) เมื่อพลังงานที่สะสม ในกลามเนื้อลดลงรางกายจะนำพลังงานที่สะสมในสวนอื่น เชน ในตับ ในกระแสเลือด มาใชโดยตองมีออกซิเจนมาชวยในการสันดาป โดยหลังจากออกกำลังกายแลวประมาณ 2.40 นาที รางกายจะใชพลังงานทั้งระบบอนากาศนิยมและอากาศนิยมในปริมาณ ที่ใกลเคียงกันและจะเพิ่มเปนระบบอากาศนิยมขึ้นไปเรื่อยๆ ประมาณวารางกายจะใช พลังงานระบบอากาศนิยมเต็มที่เมื่อออกกำลังกายไปแลวประมาณ 30 นาที ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ ความหนกั ของการออกกำลังกาย GLUCOSE + O2 36 ∧ATP + CO2 56 56 คูมือผฝู ก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน

คูมือผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกฬี าแหงประเทศไทย สรปุ การใชแ หลง เชือ้ เพลิงตามกระบวนการสนั ดาปอาหาร มีตามผังดงั น้ี อันดบั 4 ไขมนั โปรตนี (ประมาณ 2 - 3 ชั่วโมง) อันดบั 3 แปง น้ำตาลท่สี ะสม ในตบั (ประมาณ 1 - 2 ช่ัวโมง) อันดับ 2 ไกลโคเจนในน้ำเลอื ด (ประมาณ 90 วินาที) อันดับ 1 เอทีพที สี่ ะสมในกลามเน้อื (ปะมาณ 10 วินาท)ี ออกกำลังกายเลน กีฬา/เคลื่อนไหว ระยะเวลาการทำงานและระบบพลังงานท่ใี ชโ ดยท่ัวไป ระยะเวลา ระบบพลังงาน พลังงานทใ่ี ช 1 - 4 วินาที อนากาศนิยม ATP ในกลามเนอ้ื 4 - 20 วนิ าที อนากาศนิยม ATP + PC 20 - 45 วนิ าที อนากาศนยิ ม ATP + PC + ไกลโคเจนในกลา มเนอื้ 45 - 120 วินาที อนากาศนิยม, แลคตคิ ไกลโคเจนในกลามเนื้อ 120 - 240 วินาที อากาศนยิ ม + อนากาศนิยม ไกลโคเจนในกลา มเน้อื + กรดแลคติค แปลจาก Brian Mackenzie htpp://brianmac.demon.co.uk คมู ือผูฝก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน 57 57

คูมอื ผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตนั การกฬี าแหงประเทศไทย การออกกำลังกายตอเนื่องนานๆ จะเกิดการสะสมกรดแลคติค เนื่องจาก การสันดาปที่ไมสมบูรณของ เอทีพี ทำใหกลามเนื้อเกิดความลา และขณะเดียวกันรางกาย ตองการออกซิเจนเขาไปชวยในการสันดาปพลังงาน หากปริมาณออกซิเจนที่ไดรับไมเพียงพอ กับปริมาณรางกายตองการก็จะเกิดภาวะเปนหนี้ออกซิเจน (Oxygen Debt) การเปนหนี้ ออกซิเจนจะเพิ่มขึ้นเรื่อยถายังออกกำลังกายตอไป จนถึงขีดที่รางกายทนไมไดก็จะเกิด ภาวะลาสมบูรณ (Completed Exhaust) ซึ่งเปนปรากฏการณปกติในการออกกำลังกาย วิธีการชะลอความลาและการเปนหนี้ออกซิเจนใหชาลง นักกีฬาจะตองฝกรางกายใหพรอม เพื่อรับภาระงานนั้นใหมากขึ้น ซึ่งการฝกจะชวยพัฒนาระบบการใชออกซิเจน การสะสม เอทพี ีสำรองในกลามเน้อื และการสนั ดาปพลังงานใหม ปี ระสทิ ธิภาพสงู ขน้ึ ได 2. โภชนาการกับการกีฬา รางกายจะเคลื่อนไหวและดำรงชีวิตอยูไดจำเปนตองไดรับอาหารเพื่อเปน เชื้อเพลิงในการผลิตพลังงานเพื่อใชเสริมสรางและซอมแซมรางกายใหเจริญเติบโตมีสุขภาพ พลานามัยสมบูรณ รางกายมีความตองการอาหารทั้งในดานปริมาณและคุณภาพ กลาวคือ ปริมาณที่ไดรับตองมีมากพอที่จะรักษาสมดุลในการเผาผลาญเพื่อใหเกิดพลังงาน และมีสารอาหารครบ 5 หมู สะอาด และถูกสุขอนามัย ปริมาณที่รางกายตองการนั้น จะแตกตางกันตามเพศ วยั สภาพแวดลอ ม พนั ธุกรรมและกิจกรรมที่กระทำ อาหารตามคำจำกัดความของพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 หมายถึง วัตถุตางๆ ที่นำเขาสูรางกายดวยลักษณะหรือวิธีการใดๆ ก็ตามแลวทำใหเกิดความ เจริญเติบโตและรักษาค้ำจุนใหรางกายมีชีวิตอยู แตไมไดหมายรวมถึงยาและสารเสพติด ใหโทษตามกฎหมายหรือวัสดุออกฤทธ์ิตอจิตและประสาท โภชนาการเปนวิทยาศาสตรที่มุงศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการของอาหาร อันประกอบดวยการบริโภค การยอยสลาย การดูดซึม การลำเลียง การสรางพลังงาน การบำรงุ รกั ษา คุณคา และคุณประโยชนข องอาหาร 58 58 คมู อื ผูฝ ก สอนกีฬาแบดมนิ ตัน

คมู อื ผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตัน การกฬี าแหงประเทศไทย สารอาหาร หมายถึง สารเคมีที่มีอยูในอาหาร ซึ่งถูกจำแนกเปนหมวดหมูได 6 ประเภท คือ คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร วิตามิน และน้ำ สารอาหาร เกิดจากการรวมตัวกันของอะตอม แรธาตุ โดยมีไฮโดรเจน ออกซิเจน และคารบอน เปนองคประกอบหลักสัดสวนที่แตกตางกันของสิ่งเหลานี้ทำใหเกิดโครงสรางทางชีววิทยา และเคมีทีต่ า งกันกลายเปนสารอาหาร 2.1 จำแนกหมูอาหารและประโยชน ดังที่กลาวแลว กองโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ ไดจำแนกอาหารหลกั เปน 5 หมู คอื 2.1.1 อาหารหลักหมูที่ 1 ประกอบดวย อาหารประเภท เนื้อสัตว ถั่วเมล็ดแหง น้ำนม ใหคุณคาดานการสรางความเจริญเติบโต ซอ มแซมสว นทีส่ ึกหรอ ใหความอบอนุ และใชเปน พลงั งาน 2.1.2 อาหารหลักหมูที่ 2 ประกอบดวย อาหารประเภท แปง น้ำตาล ใหคณุ คาในการสรางพลงั งานและความอบอุน 2.1.3 อาหารหลักหมูที่ 3 ประกอบดวย อาหารประเภทผักตางๆ ใหคุณคาในการควบคุมการทำงานของอวัยวะตางๆ ของรางกาย สรางและบำรงุ เลือด 2.1.4 อาหารหลักหมูที่ 4 ประกอบดวย อาหารประเภทผลไม ใหคุณคา ในการควบคุมการทำงานของรา งกาย 2.1.5 อาหารหลักหมูที่ 5 ประกอบดวย อาหารประเภทไขมัน ซึ่งไดจาก พืชและสตั วม ีคณุ คา ในการชว ยละลายวติ ามนิ และใหพ ลังงาน 2.2 พลังงานท่ีไดจ ากอาหารประเภทตา งๆ อาหารแตละชนิดจะใหพลังงานที่แตกตางกันขึ้นอยูกับสวนผสมของ อาหารและปริมาณของอาหารที่ประกอบขึ้นมาโดยทั่วไปแลว อาหารหลักที่ใชพลังงานคือ ไขมัน คารโบไฮเดรต และโปรตีน โดยจะใหพ ลังงานดงั น้ี คมู อื ผฝู กสอนกฬี าแบดมินตนั 59 59

คูม ือผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตัน การกีฬาแหง ประเทศไทย ไขมนั 9 แคลอร่ีตอนำ้ หนัก 1 กรัม คารโบไฮเดรต 4 แคลอรต่ี อน้ำหนกั 1 กรัม โปรตนี 4 แคลอรต่ี อน้ำหนัก 1 กรัม จะสังเกตเห็นวาไขมันจะใหพลังงานตอ 1 กรัมมากกวาคารโบไฮเดรต แตเวลานำมาสันดาปเปนพลังงานจะตองใชออกซิเจนในการสันดาปมากกวาคารโบไฮเดรต ซง่ึ เปน การไมประหยัด การพิจารณาอาหารที่จำหนายทั่วไปวานาจะมีพลังงานอาหารมากนอย เพียงใดใหพิจารณาวามีสวนประกอบอะไรอยูบาง โดยยึดหลักไขมัน 9 แคลอรี่/กรัม แปง น้ำตาล 4 แคลอรี่/กรัม และโปรตีน 4 แคลอรี่/กรัม ดังตารางตอไปนี้ (กองโภชนาการ กองอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ ตำรับอาหารจานเดยี วกบั คณุ คา ทางโภชนาการ 2534 : 55) 60 60 คมู อื ผูฝก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน

คมู อื ผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตนั การกีฬาแหง ประเทศไทย ตารางแสดงคาประมาณของพลงั งานทีไ่ ดจากอาหาร 1 จานทขี่ ายท่ัวไป อาหาร น้ำหนัก (กรมั ) พลงั งาน (kcal) 1. เสนหมล่ี กู ชิ้นเนอื้ ววั 447 226 2. เย็นตาโฟ 490 352 3. กระเพาะปลา 392 235 4. ขนมจนี นำ้ เงยี้ ว 323 243 5. ขา วยำปกษใต 189 248 6. ขนมจีนน้ำยาปกษใ ต 305 256 7. ขนมจนี นำ้ ยา 435 332 8. กวยเตีย๋ วเสนใหญร าดหนาไก 359 385 9. กวยเตย๋ี วเนือ้ สัน 381 417 10. กว ยเต๋ียวแกง 350 454 11. หอยทอดใสไ ข 197 428 12. ขาวขาหมู 289 438 13. ขาวแกงเขียวหวานไก 318 483 14. กวยเตี๋ยวเสนเลก็ หมู (แหง ) 235 540 15. ขาวหมกไก 316 534 16. ขาวหมแู ดง 320 540 17. ขา วมนั ไก 300 596 18. ผดั ไทใสไข 245 577 19. ขาวคลุกะป 296 614 20. เสน ใหญผัดซอี ว๊ิ ใสไ ข 350 679 21. ขาวผัดกระเพราไก 293 554 คมู อื ผูฝก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน 61 61

คมู อื ผูฝกสอนกีฬาแบดมินตนั การกฬี าแหง ประเทศไทย ตารางแสดงคา ประมาณของพลังงานอาหารทไี่ ดจากอาหารหวาน และเครอ่ื ดม่ื อาหาร พลังงาน (kcal) 1. วุนน้ำเชอื่ ม 100 2. กลวยบวดชี 129 3. ลอดชองนำ้ กะทิ 166 4. ไอศกรมี 193 5. นำ้ อัดลม 1 ลิตร 400 6. ขนมปง ทาเนย 1 แผน 75 7. ไขดาว 1 ฟอง 110 8. แอปเปล 1 ลกู 60 9. นมสด 1 กลอ ง 160 10. เผือกเช่อื ม 220 11. กลว ยไขเช่ือม 2 ลูก 177 12. ขาวเหนยี วนำ้ กะทิ 325 13. ขา วเหนียวเปยก 205 14. บัวลอยใสไ ข 223 15. ทองหยิบ 2 ชนิ้ 210 16. ขา วโพดคลุกนำ้ ตาล 156 1.3 ความตอ งการพลังงานอาหารของมนุษย โดยปกติคนทุกคนแมไมไดออกกำลังกายรางกายจะมีกระบวนการ เผาผลาญอาหารเพื่อใหเกิดพลังงาน เชน การควบคุมอุณหภูมิ การทำงานของอวัยวะตางๆ เปนตน ความตองการพลังงานเพื่อการดำรงชีวิตอยูดังกลาวแลวของแตละคนจะแตกตางกัน ตามขนาดพื้นที่โดยรอบของผิวกายของแตละคน (Body Surface Area) ซึ่งคำนวณจาก 62 62 คมู อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมินตัน

คูมือผูฝ กสอนกฬี าแบดมนิ ตนั การกีฬาแหง ประเทศไทย น้ำหนักและสวนสูงเปนเกณฑ โดยปกติแลวอัตราการเผาผลาญพลังงานปกติ (Basal Metabolic Rate หรือ BMR) จะประมาณ 36 กิโลแคลอรี่ตอตารางเมตรตอชั่วโมง (36 keal/m2/hour) อยางไรก็ตามอัตราดังกลาวจะแตกตางกันตามลักษณะเพศ วัย รูปราง กิจกรรมและสภาพแวดลอ ม โดยธรรมชาตขิ ณะทร่ี า งกายพกั ผอ นเพศชายจะมกี ารเผาผลาญพลงั งานเพอ่ื รกั ษา การดำรงชีวิตอยูประมาณ 1 แคลอรี่/กก./ชม. สวนเพศหญิงประมาณ 0.9 แคลอรี่/กก./ชม. ดงนั้น หากคนที่มีน้ำหนักตัว 50 กิโลกรัมเทากับใน 24 ชั่วโมง เพศชายตองการพลังงาน 1,200 กิโลแคลอรี่ สวนเพศหญิงตองการ 1,080 กิโลแคลอรี่ อยางไรก็ตามคนเราตอง เคลื่อนไหว ตองทำงาน ดังนั้น พลังงานที่ตองการจึงตองเพิ่มมากขึ้น ในการคำนวณหา พลงั งานท่ีใชแ ตละวนั ประกอบดวยการรวมคา พลงั งานทใ่ี ชแตละสวนเขา ดว ยกนั ดังน้ี ก. พลงั งานท่ใี ชขณะพัก (Basal Metabolic Rate) ข. พลังงานท่ใี ชใ นการกระทำกจิ กรรม ค. การสูญเสียระหวางกระบวนการการผลิตพลังงาน รอ ยละ 10 ตัวอยา ง เพศชายท่มี นี ำ้ หนกั 50 กโิ ลกรมั ตองใชพ ลงั งานดังน้ี ก. พลังงานขณะพัก = 1 แคลอร่ี x 50 กโิ ลกรมั x 24 ชม. = 1,200 kcal ข. พลงั งานท่ใี ชใ นกิจกรรมโดยปกติ ประมาณ รอ ยละ 50 = 1,200 x 15000 = 600 kcal ค. การสญู เสียระหวา งกระบวนการ รอ ยละ 10 = (1,200 = 600) x .10 = 180 kcak ∴ พลงั งานตองการ = (1,200 = 600 = 180) = 1,980 kcal ในกรณีเปนนักกีฬาแบดมินตันที่ตองฝกวันละ 2 ชั่วโมง นักกีฬาน้ำหนักตัว 50 กิโลกรัม จะใชพลังงานในการเลนกีฬาแบดมินตันประมาณ 450 แคลอรี่/ชั่วโมง ดังนั้น ชายผนู ้ีตองการพลังงานเพิม่ จากปกติอีก 900 แคลอร่ี รวมเปน 1,980 + 900 = 2,780 แคลอร่ี คมู ือผูฝกสอนกฬี าแบดมินตัน 63 63

คูม อื ผฝู กสอนกฬี าแบดมนิ ตนั การกฬี าแหงประเทศไทย ตารางแสดงปรมิ าณพลงั งานอาหารทต่ี องการ (แคลอร่/ี กก./วนั ) จำแนกตามอายุ และเพศ อายุ เพศชาย เพศหญิง 1 - 12 เดือน 100 - 110 100 - 110 90 - 100 90 -100 1 - 2 ป 80 - 90 80 - 90 2 - 5 ป 70 - 90 70 - 90 6 - 9 ป 76 - 95 60 - 90 10 - 13 ป 40 - 90 76 - 95 14 - 17 ป 35 - 70 30 - 60 18 - 25 ป โดยปกตินอกจากคำนึงถึงตองการปริมาณพลังงานแลวเราตองคำนึงถึงสัดสวน ของประเภทอาหารดวย ทั้งนี้เพราะสารอาหารแตละกลุมใหประโยชนที่แตกตางกันอาหาร กลุมใหพลังงานอันประกอบดวย คารโบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน รางกายตองการพลังงาน ในแตละวันในสดั สวนคารโบไฮเดรต : ไขมัน : โปรตนี = 55 : 30 : 15 ดังนนั้ ในการรับประทาน อาหารแตละม้อื จงึ ควรพจิ ารณาสดั สวนอาหารดวย ในนกั กฬี ากเ็ ชน กนั ความตอ งการสารอาหารไมไ ดแ ตกตา งจากคนปกตแิ ตอ ยา งใด หากแตตองการปริมาณมากขึ้นตามกิจกรรมกีฬาที่เลน ซึ่งกิจกรรมแตละชนิดตองใชพลังงาน ตา งกนั ปริมาณพลังงานที่ใชในการเลนกีฬาแตละชนิดจะแตกตางกันตามลักษณะ การออกกำลังกายความหนักของงาน น้ำหนักตัวและระยะเวลาในการออกกำลังกาย ดังตารางตอไปน้ี 64 64 คมู อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตนั

คูมอื ผฝู กสอนกฬี าแบดมนิ ตัน การกฬี าแหงประเทศไทย ตารางแสดงปรมิ าณพลังงานท่ีใช จำแนกตามชนิดกีฬา และน้ำหนักตัว กจิ กรรม นำ้ หนักตัว (กิโลกรมั ) 40 45 49 53 56 60 65 69 73 77 1. ยิงธนู 93 102 111 120 135 138 147 156 165 174 2. แบดมินตนั เพ่ือสุขภาพ 102 114 123 132 144 153 162 168 83 192 3. แบดมินตันแขง ขัน 177 192 210 228 243 261 279 297 312 330 4. บาสเกตบอลเพ่อื สุขภาพ 126 138 150 165 177 189 191 213 225 247 5. บาสเกตบอลแขงขัน 177 195 213 231 246 264 282 300 318 333 6. จักรยาน 9 กม./ชม. 90 99 108 117 126 135 144 153 162 168 7. จกั รยาน 21 กม./ชม. 192 213 231 249 267 288 306 324 342 363 8. โบวล่งิ 120 132 144 156 168 177 189 201 213 225 9. กายบริหาร 90 99 108 117 126 135 144 153 162 168 10. ลลี าศ 126 138 150 162 174 186 198 210 132 154 11. ฟน ดาบแขงขัน 186 204 222 240 258 276 304 315 330 348 12. ฟตุ บอล 162 178 192 207 225 240 255 270 288 303 13. กอลฟ 4 คน 72 81 87 96 102 108 117 123 132 138 14. ยูโด/คาราเตโ ด 231 255 276 300 321 345 366 390 417 435 15. บิลเลียด 33 36 39 42 45 48 51 54 57 60 16. จอกก้ิง 9 กม./ชม. 192 216 231 249 270 288 306 324 345 363 17. ว่งิ 279 306 333 387 393 417 444 471 498 525 18. วิ่งเรว็ 414 456 498 537 576 615 657 699 741 783 19. วายนำ้ ฟรีสไตลเร็ว 192 210 228 249 267 285 303 321 342 360 20. เทเบิลเทนนสิ 69 78 84 90 96 105 111 117 123 126 21. เทนนิสเพ่ือสุขภาพ 126 138 150 162 174 186 198 210 222 231 22. วอลเลยบ อลเพอ่ื สขุ ภาพ 102 114 120 132 144 153 162 174 183 192 23. วอลเลยบอลแขงขัน 177 192 210 228 243 243 279 297 321 330 24. เดินเร็ว 120 132 141 153 165 177 189 201 213 225 คมู อื ผูฝก สอนกฬี าแบดมนิ ตนั 65 65

คมู ือผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกฬี าแหงประเทศไทย ขอ ควรจำ 1. การเผาผลาญพลังงานมี 2 ระบบ คือ ระบบอนากาศนิยม (Anaerobic) เปนการใชพลังงานในชวงแรกของการออกกำลังกายโดยใชพลังงานที่สะสมในกลามเนื้อ และกระแสเลอื ด ชวงน้ไี มตอ งมีออกซิเจนเปน ตวั ชวย และอากาศนยิ ม (Aerobic) เปน การใช พลังงานภายหลังพลังงานสำรองถูกใชไปแลวไมเพียงพอที่จะทำงานตอไป รางกายจะดึง พลงั งานทีส่ ะสมในตับและสว นอืน่ มาใชโดยตอ งมีออกซเิ จนเปนตวั ชวยในการสันดาป 2. อาหารจำพวกแปงและน้ำตาลเปน อาหารหลกั ที่ใหพลังงานในการเคลื่อนไหว รางกายตองการมากท่ีสุดถึงรอ ยละ 50 - 55 ของแตล ะมือ้ 3. กระบวนการยอยอาหารจะใชเ วลาประมาณ 3 - 4 ชั่วโมง หลังจากรับประทาน เขาไปจนถึงชวงที่นำมาใชเปนพลังงานได ดังนั้น นักกีฬาจะตองรับประทานอาหารมื้อหลัก กอ นการแขง ขนั อยา งนอย 2.30 ช่ัวโมง 4. ชวงรอการแขงขันนักกีฬาสามารถรับประทานอาหารจำพวกแปง เชน ขนมปงจืด หมั่นโถ โดยแบง กินเปน ชว งทีละนอย 5. ระหวางแขงขันหากรูสึกหิวนักกีฬาสามารถกินกลวยหอมไดบางแตอยามาก เกินไป 6. หลังแขงขันหากใชเวลาแขงขันนานควรกินแปงชดเชยหรือน้ำผสมเกลือ เจือจาง 7. ในการรับประทานอาหารแตละวันตองคำนึงถึงปริมาณพลังงานที่ใชไปและ ความตองการพลงั งานพน้ื ฐาน 8. ชวงกอนแขงขัน 7 วัน ควรฝกรับประทานอาหารที่มีปริมาณแปงมากขึ้น เพื่อเก็บไวเ ปน พลังงาน 66 66 คมู ือผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตนั

คูม ือผฝู กสอนกีฬาแบดมินตัน การกฬี าแหงประเทศไทย การปอ งกนั และแกไขการบาดเจบ็ จากการเลนกฬี า 1. เปาหมาย ใหมีความรูเกี่ยวกับการปองภัยอันตราย และอุบัติเหตุจากการเลนกีฬา ปจจัยที่เปนสาเหตุของการบาดเจ็บที่พบบอยในแบดมินตัน การปลูกจิตสำนึกในการปองกัน การปอ งกันการบาดเจบ็ การปฐมพยาบาลทัว่ ไป และการปฐมพยาบาลเฉพาะกรณี 2. ประกอบดวย 2.1 สาเหตแุ ละปจ จัยการบาดเจบ็ จากการกีฬาและการออกกำลังกาย 2.2 การปอ งกันการบาดเจบ็ จากการกฬี าและการออกกำลังกาย เชน 2.2.1 การเลือกเส้ือผา รองเทา อุปกรณ 2.2.2 การเตรียมความพรอมดานอาหารและน้ำ 2.2.3 ทาทางการเคลือ่ นไหวท่ีอาจทำใหบาดเจบ็ 2.2.4 พฤติกรรมและนสิ ยั การออกกำลงั กาย 2.2.5 หลักการรักษาพยาบาลเบ้อื งตน 2.2.6 การชวยหายใจและกระตนุ หวั ใจ 2.2.7 วิธีการปฐมพยาบาลเฉพาะกรณี 2.2.8 การบาดเจ็บของกลา มเนื้อ เอน็ และขอตอ 2.2.9 การปองกนั และรกั ษาอาการตะครวิ 2.2.10 การรักษาอาการลมรอนและลมแดด 2.2.11 การรกั ษาอาการบาดเจบ็ กรณีผิวหนังพองนำ้ คูมอื ผูฝกสอนกฬี าแบดมนิ ตนั 67 67

คูมือผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตนั การกฬี าแหง ประเทศไทย รายละเอยี ดเนอ้ื หา 1. สาเหตสุ ำคัญของการบาดเจบ็ จากการเลน กฬี า การบาดเจ็บจากการเลนกีฬาเปนอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นไดตลอดเวลา ซึ่งมีสาเหตุ มาจากสง่ิ แวดลอ มและสาเหตจุ ากตวั ผเู ลน กฬี าเอง การรบั รถู งึ สาเหตตุ า งๆ จะชว ยใหผ เู ลน กฬี า และผูเกี่ยวของไดเตือนสติใหรอบคอบระวังและหาแนวทางปองกันเพื่อไมใหอุบัติเหตุนั้น เกิดขึ้น 1.1 สาเหตจุ ากตวั ผเู ลนกีฬา ประกอบดวย 1.1.1 ความเหมาะสมของประเภทกีฬากับลักษณะเฉพาะตัวของผูเลน กฬี าแตล ะประเภทตอ งการทกั ษะเฉพาะตวั และโครงสรา งรา งกาย ที่เหมาะสม หากผูเลนมีโครงสรางรางกายที่ไมเอื้อตอทักษะกีฬา นั้นยอมกอใหเกิดความผิดพลาดหรืออุบัติเหตุไดงาย เชน ผูที่มี รูปรางเล็กไปเลนทุมน้ำหนัก กลามเนื้อยอมไมสามารถออกแรง กระแทกลูกน้ำหนักใหลอยไปไกลได อาจจะเกิดการฉีกขาดของ กลามเนื้อหรือคนอวนแตไปเลนกระโดดสูง ซึ่งตองใชแรงอยาง มากในการทำใหลำตัวลอยขามไมพาดและเวลาลงสูพื้นน้ำหนัก ทม่ี ากอยูแ ลวจะเพิม่ แรงกระแทกมากขนึ้ เปน ตน 1.1.2 ความสมบูรณของรางกายและสมรรถภาพทางกาย เปนปจจัย ทส่ี ำคญั มากทจ่ี ะสง เสรมิ การแสดงออกในทกั ษะกฬี าและควบคมุ ไมใ หร า งกายเกดิ ความผดิ พลาดหรอื แกไ ขเหตกุ ารณเ ฉพาะหนา ได ความสมบูรณของรางกายจะชวยใหการทำงานของประสาท และกลามเนื้อประสานกันอยางมีประสิทธิภาพสามารถควบคุม ขนาดของแรง ทศิ ทางและความเรว็ ในการเคลอ่ื นไหวไดพ อเหมาะ ทั้งในการเลนกีฬาและหลบหลีกใหรอดพนจากอุบัติเหตุได และ การมสี มรรถภาพทางกายทด่ี ไี ดน น้ั เกดิ จากการเตรยี มการฝก ซอ ม อยางเพียงพอและการฝกกลามเนื้อเพื่อใหสามารถยึดขอตอให 68 68 คูม ือผฝู กสอนกีฬาแบดมินตัน

คูม อื ผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตนั การกีฬาแหง ประเทศไทย มั่นคง ชวยใหรางกายทำงานไดดีและลดอัตราการเสี่ยงที่เกิด อบุ ตั เิ หตุขณะออกกำลงั กาย 1.1.3 พยาธิสภาพ ซึ่งอาจจะเกิดจากการบาดเจ็บในอดีต ความจำกัด ในการเคลื่นไหวอวัยวะหรือโรคประจำตัว เพราะสิ่งเหลานี้เปน อุปสรรคอยางยิ่งตอการควบคุมการเคลื่อนไหวและประสิทธิภาพ การออกกำลังกาย การบาดเจ็บในอดีตหากไมไดรับการบำบัด อยางถูกวิธีจะเปนผลใหมีอาการบเจ็บเรื้อรังหรือมีความตานทาน นอยลง เมื่อออกกำลังกายสวนนั้นก็จะเกิดบาดเจ็บขึ้นอีก โรคประจำตัวบางชนิดจะเกิดอาการขึ้นทันทีทันใดเมื่อรางกาย ออกกำลังกายไปถึงจุดวิกฤตที่จะทนทานได เชน หอบ ลมชัก โรคหวั ใจ เปน ตน 1.1.4 ขาดความตระหนักในดานความปลอดภัย นักกีฬาจำนวนมาก ทต่ี อ งพบกบั อบุ ตั เิ หตดุ ว ยนเองหรอื ทำใหผ อู น่ื บาดเจบ็ เพราะนสิ ยั มักงายขาดความสำนึกในการปองกัน เมื่อเห็นอะไรที่ลอแหลม ตอการเกิดอุบัติเหตุก็ปลอยเลยตามเลยไมกำจัดหรือหาทาง ปอ งกนั ไวกอ น 1.1.5 ขาดความสามารถหรือนิสัยในการควบคุมอารมณ นักกีฬา ทข่ี าดการควบคมุ อารมณไ มว า จะเปน อารมโ กรธแคน อารมณก ลวั อารมณว ติ กกงั วล ขาดสมาธิมักจะเกิดอบุ ัตเิ หตุไดงาย โดยเฉพาะ พวกอารมณรอน มุทะลุ บาบิ่น กาวราว ซึ่งมักจะกออุบัติเหตุ บอยๆ เชนเดียวกับพวกที่กลัวหรือวิตกกังวลเพราะสิ่งเหลานี้ จะมีผลใหการควบคุมการรับสัมผัสและการเคลื่อนไหวรางกาย ดอยประสิทธิภาพลง คมู อื ผูฝก สอนกีฬาแบดมนิ ตัน 69 69

คูมือผูฝก สอนกีฬาแบดมินตนั การกฬี าแหง ประเทศไทย 1.1.6 ขาดการเตรียมตัวที่ดี ซึ่งในหลักการออกกำลังกายผูเลนจะตอง เริ่มจากการยืดเหยียด อบอุนรางกายกอนออกกำลังกายทุกครั้ง เพื่อกระตุนใหเอ็นขอตอกลามเนื้อและหัวใจพรอมจะรับงานหนัก เมอ่ื นกั กฬี าไมไ ดป ฏบิ ตั จิ ะเกดิ การบาดเจบ็ เหนอ่ื ยเรว็ การเตรยี มตวั ในเรอื่ งการแตง กาย การเวน อาหารหนักกอนลงเลน กฬี า 2 - 2.30 ชว่ั โมง การดม่ื นำ้ เพอ่ื เกบ็ สำรองไวใ นรา งกายกอ นเลน กฬี ากม็ สี ว น สำคัญยิง่ ในการลดอตั ราเสี่ยงตอการบาดเจ็บในการเลน กฬี า 1.1.7 ขาดทักษะในกีฬานั้นๆ นักกีฬาที่ไมฝกฝนเฉพาะกีฬานั้น หรือ มที กั ษะไมด พี อจะเกดิ อบุ ตั เิ หตไุ ดง า ย เนอ่ื งจากขาดประสบการณ ในการแกไขหรือปองกัน เชน นักกีฬาฟุตบอล เมื่อลงเลนรักบี้ ฟุตบอล อาจมีการปะทะกันรุนแรงเนื่องจากขาดประสบการณ การหลบหลกี และติดนสิ ยั การใชเทามากกวา มือ เปน ตน 1.1.8 ขาดคุณธรรมในการเลน นักกีฬาที่ลงเลนและแขงขันสวนใหญ เลน ตามกฎ กตกิ า และเชอ่ื วาทกุ คนจะมีคณุ ธรรมในการเลน กีฬา โดยเลนตามกฎ กติกา ดังนั้น จึงไมคอยระวังตัวเมื่อมีคนเลน นอกเกมจงึ มกั เกดิ อบุ ตั เิ หตไุ ดง า ย โดยเฉพาะกฬี าทม่ี กี ารปะทะกนั เพ่ือหลีกเลย่ี งอุบตั ิเหตอุ นั เกิดจากสาเหตนุ ี้ผูเลน ทกุ คนจะตองเลน โดยปราศจากการเห็นแกตัว และเคารพกฎ กติกาการเลน อยา งเครงครัด 1.1.9 การเลนเกินกำลังหรือฝกเกินขนาด (Over Training) รางกาย ของเรามีขีดความสามารถของมันเอง การฝกซอมหากหนักหรือ นานเกินกวาที่รางกายจะรับไดก็จะเกิดความเหนื่อย เมื่อยลา เบื่อหนาย หงุดหงิด ไมสามารถควบคุมได ซึ่งจะกอใหเกิด การบาดเจ็บและอุบัติเหตุไดงาย ดังนั้นหากสังเกตพบวานักกีฬา หรือตนเองมีความลามากๆ เบ่ือหนา ย น้ำหนกั ตวั ลด นอนไมห ลับ เบื่ออาหาร สถติ ิลดลง ควรหยดุ การฝก ซอ มสกั ระยะหนึง่ เพ่ือใหได พกั ผอ น 70 70 คูมือผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตัน

คูม ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกีฬาแหง ประเทศไทย 1.1.10 เลนโดยลำพัง การเลนตามลำพัง โดยเฉพาะในบุคคลที่ไมมี ประสบการณเพียงพออาจจะเกิดอบุ ัติเหตไุ ดง า ย เชน การวา ยน้ำ การเลนยมิ นาสติก เปน ตน 1.2 สาเหตจุ ากส่ิงแวดลอมนอกตัวผเู ลน ประกอบดว ย 1.2.1 ความบกพรองของอุปกรณ อุปกรณที่ไมไดมาตรฐานหรือชำรุด มาใชใ นการเลน หรอื แขง ขนั จะเกดิ อบุ ตั เิ หตไุ ดง า ย เพราะเวลาเลน และแขงขันผูเลนจะแสดงออกเต็มที่โดยลืมนึกถึงความชำรุด หรือความบกพรองของอุปกรณ นอกจากนี้อุปกรณที่ไมได มาตรฐานก็เปนสาเหตุสำคัญยิ่ง เชน นวมชกมวย เครื่องปองกัน ศีรษะ กระจับ เปนตน 1.2.2 เครื่องแตงกายไมเหมาะกับชนิดกีฬา การเลนกีฬาแตละชนิด ควรใชเครื่องแตงกายและเครื่องปองกันที่เหมาะสมเพื่อใหการ แสดงออกไดดีที่สุดและปลอดภัย ดังนั้น ผูเลนควรเลือกเครื่อง แตงกายที่เหมาะสมกับชนิดกีฬาและหลีกเลี่ยงการเสริมแตง ดว ยเครอื่ งประดบั ที่อาจกอ ใหเกดิ อันตรายตอ ตนเองและผูเลนอืน่ 1.2.3 ความบกพรองของสนาม ทั้งในดานมาตรฐานของขนาดหรือ การชำรดุ ของผิวพ้ืน ผวิ พน้ื ไมยดึ เกาะกบั รองเทา การไมพรอมใช ของสนาม เชน สนามที่มีพื้นที่วางโดยรอบนอยกวามาตรฐาน กำหนดสนามที่ไมมีเครื่องปองกันการกระแทก ผิวสนามลื่น พื้นเปนหลุมเปนบอ เปนตน สิ่งเหลานี้เปนเหตุแหงอุบัติเหตุและ การบาดเจ็บทงั้ สน้ิ 1.2.4 ลกั ษณะธรรมชาตขิ องประเภทกฬี าโดยเฉพาะกฬี าทต่ี อ งปะทะกนั หรอื กฬี าทต่ี อ งเคลอ่ื นไหวในทส่ี งู จะเกดิ การบาดเจบ็ และอบุ ตั เิ หตุ ไดง า ย เชน มวย บารเ ดย่ี ว บารค ู กระโดดคำ้ ฟตุ บอล บาสเกตบอล รกั บี้ฟุตบอล เปนตน คูมอื ผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตัน 71 71

คมู ือผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตัน การกีฬาแหง ประเทศไทย 1.2.5 ความสามารถของคูแขงขันที่ตางกัน การจัดคูแขงขันที่มีทัษะ ความสามารถตา งกนั มากจะเกดิ อบุ ตั เิ หตไุ ดง า ย เชน รกั บฟ้ี ตุ บอล เด็กกบั ผูใ หญ มวยระดับอาชพี กับมวยสมคั รเลน เปนตน 1.2.6 ความสามารถของผูตัดสิน ผูตัดสินมีสวนสำคัญตอการควบคุม การเลน ใหอ ยใู นกรอบกตกิ าและระเบยี บการหากผตู ดั สนิ ไมท นั เกม ไมเขาใจกติกา หรือตัดสินดวยความลำเอียง ก็จะกอใหเกิดการ เอารัดเอาเปรียบกัน และละเมิดกติกา ซึ่งจะนำไปสูความรุนแรง ในการเลนและกอการทะเลาะววิ าทกนั ได 1.2.7 ความรูของผูฝกสอน นักกีฬาจำนวนไมนอยที่ตองพบกับการ บาดเจ็บเรื้อรังเนื่องจากฝกดวยวิธีการที่ผิดจากผูฝกสอน โดยเฉพาะการใชน ำ้ หนกั ทม่ี ากเกนิ ไปในการฝก หรอื การเคลอ่ื นไหว ที่ฝนธรรมชาติของขอตอ การใหตีแรงๆ ในชวงการฝกซอมใหมๆ ทั้งที่กลามเนื้อยังไมแข็งแรงพอ ทั้งนี้เพราะผูฝกสอนบางราย ไมไดคำนึงถึงพัฒนาการของนักกีฬา หรือไมเคยศึกษาในเรื่อง วิทยาศาสตรการกีฬาใหเขาใจอยางถองแท จึงมักจะสอนหรือ ฝกตามความเขาใจ และความรูสึกของตนเอง นักกีฬาที่ฝกดวย จงึ มกั จะบาดเจบ็ 1.2.8 ผูดู ผูสนับสนุน และกองเชียร บุคคลเหลานี้มีสวนกระตุนให นกั กีฬาขาดสตจิ นลืม กฎ กติกาการเลน ลืมคณุ ธรรมของนกั กฬี า อันนำไปสูการเกิดอุบัติเหตุจากการทะเลาะวิวาทกันของนักกีฬา และอีกประการหนึ่งความพลุกพลานของผูดู ผูสนับสนุนที่ไมรู บทบาทหนาที่ของตนเอง ทำใหเปนอุปสรรคตอการเลนของ นกั กีฬา ซึ่งกอใหเกดิ อบุ ัติเหตไุ ดเ ชนกนั 72 72 คมู อื ผูฝกสอนกีฬาแบดมินตัน

คูมอื ผฝู กสอนกฬี าแบดมนิ ตัน การกฬี าแหงประเทศไทย 1.2.9 อาหาร เครื่องดื่ม และสารตอ งหา ม กอใหเกิดอันตรายท้งั ระยะสั้น และระยะยาว นักกีฬควรระมัดระวังเรื่องอาหารและเครื่องดื่ม กอ นทจ่ี ะลงแขง ขนั วา ควรรบั ประทานมากนอ ยเพยี งใด ควรทง้ิ ชว ง กอนแขงขันนานเทาใด และสารตองหามตางๆ ซึ่งมีผลเสียตอ รา งกายอยางยง่ิ ท้งั แบบเฉยี บพลันและเรอ้ื รงั 2. การปอ งกันการบาดเจ็บ และอุบัติเหตุจากการเลน กฬี า การปอ งกนั เปนสิง่ ที่ดีทีส่ ดุ ซงึ่ ไดผ ลและประหยดั กวา การรกั ษา (Prevent is better than cure) ดงั นั้นนกั กฬี า ผฝู ก สอน ผสู นับสนนุ ผจู ัดการ ผดู แู ลสนามและอุปกรณ และผชู ม จึงตองรวมมือกันดำเนินการตางๆ เพื่อปองกันไมใหมีอุบัติเหตุและการบาดเจ็บเกิดขึ้น โดยมี มาตรการตา งๆ ท่ีขจดั สาเหตุตางๆ ดงั กลา วแลว ดงั น้ี 2.1 การปอ งกนั สาเหตุอันเกดิ จากตัวนกั กีฬา ควรกระทำดังนี้ 2.1.1 ปลูกฝงนิสัยและความตระหนักในเรื่องความปลอดภัย โดยให ถือเปนความสำคญั อนั ดับแรก (Safety First) 2.1.2 ฝกการยับยั้งชั่งใจ และการควบคุมอารมณ โดยการฝกใหมีสติ มเี หตผุ ล ไมบ า บนิ่ มทุ ะลุ กาวรา ว และลดความวิตกกังวลไดทุก โอกาส 2.1.3 รูจักประมาณตน ไมฝ นสงั ขาร และความสามารถของตน 2.1.4 ศึกษาและปฏิบัติตามหลักการในการออกกำลังกายโดยการ กระทำตามข้ันตอนในการออกกำลงั กาย 2.1.5 เตรียมฝกซอ มใหรางกายพรอ มทีจ่ ะลงแขงขันหรอื เลน กีฬา 2.1.6 สวมใสเครื่องแตงกายที่เหมาะสมกับการเคลื่อนไหวในกีฬานั้นๆ และสภาพแวดลอม 2.1.7 เรียนรวู ธิ ีการเคลื่อนไหวอยางถกู ตอ ง และฝก จนชำนาญ 2.1.8 ปฏบิ ตั ติ ามกฎ กตกิ า และระเบยี บการเลน อยางเครงครัด 2.1.9 หลกี เลีย่ งสารกระตนุ หรอื สงิ่ มึนเมาทุกชนิด คูม อื ผฝู ก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน 73 73

คมู อื ผูฝก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกฬี าแหงประเทศไทย 2.2 การปองกนั สาเหตอุ ันเกดิ จากสภาพแวดลอม 2.2.1 วางระบบ และจัดระเบียบของสนามและอุปกรณใ หป ลอดภัย 2.2.2 ตรวจสอบ ซอมบำรุงใหสนามและอุปกรณอยูในสภาพปลอดภัย พรอ มใชงาน 2.2.3 จดั เจา หนาที่ ครูฝก คอยดูแล อำนวยความปลอดภยั แกผใู ชส นาม กีฬา และสระวา ยน้ำ 2.2.4 จัดหาอุปกรณปองกันอุบัติเหตุในแตละชนิดกีฬาไวบริการอยาง เพียงพอ 2.2.5 ผูจัดการแขงขันควรจัดคูแขงขันใหเหมาะสมกันทั้งรูปราง เพศ และระดับความสามารถ 2.2.6 เลือกสรรผูตัดสินที่มีความสามารถ ทันเกมและยุติธรรมทำหนาที่ ตดั สนิ 2.2.7 ระงับการเชยี รยัว่ ยุใหเกิดทะเลาะววิ าท หรอื ละเมิดกตกิ าการเลน 2.2.8 จัดเตรียมเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย แพทย และพยาบาล เพอื่ ปองกันและลดความรนุ แรงที่อาจจะเกดิ ข้ึน 2.2.9 แนะนำ เผยแพรใ หท กุ คนเขาใจกฎ กตกิ าการเลนที่ถกู ตอง 3. ลำดับข้นั ในการปฐมพยาบาล การปฐมพยาบาลเปน กระบวนการรกั ษาผปู ว ยเบอ้ื งตน อยา งรวดเรว็ เมอ่ื แรกพบเหน็ ผูปวยเพื่อใหผูปวยมีชีวิตรอด ลดความเลวรายหรือปองกันอันตรายรายแรงที่อาจจะตามมา แกผูปวย โดยมีขั้นตอนสำคญั ดังนี้ 3.1 ชวยใหมีชีวิตรอด เมื่อพบผูปวยอุบัติเหตุ ตองชวยการหายใจและการเตน ของหวั ใจ เปนอนั ดับแรก ทง้ั น้ีเพอ่ื ใหผ ปู วยมีชวี ติ อยู โดยยึดหลัก A B C คือ 74 74 คูมอื ผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตัน

คูมือผฝู กสอนกีฬาแบดมินตนั การกฬี าแหงประเทศไทย 3.1.1 เปดทางลมหายใจ (A = Airway Opened) 3.1.2 ชว ยกระตนุ การหายใจ (B = Breathing Restored) 3.1.3 ชว ยกระตนุ ใหห วั ใจและการไหลเวยี นเลอื ดทำงาน (C=Circulation Restroed) 3.2 ปองกันไมใหสภาพการณเลวลง เพื่อลดอันตรายที่จะตามมา การปฐมพยาบาลจะตอ งดำเนนิ การดังน้ี 3.2.1 หยุดการไหลของเลอื ด 3.2.2 ปด บาดแผลและใสย ากันเช้อื โรค 3.2.3 ตรวจดูการหักของกระดูก หากมี ใหเขาเฝอก และเคลื่อนยาย ดว ยความระมัดระวงั โดยเฉพาะสว นกระดูกสนั หลัง 3.2.4 ใหผูปวยนอนในทาที่เหมาะสม สบาย และในสถานที่ที่มีอากาศ ถา ยเทไดดี 3.3 ชวยใหฟนสภาพไดเร็วขึ้น เพื่อใหผูปวยกลับสูสภาพปกติอยางรวดเร็ว ควรกระทำดงั น้ี 3.3.1 ใหกำลงั ใจและความอบอนุ 3.3.2 ใหย าแกปวดหรอื ลดการบาดเจ็บ 3.3.3 พบแพทยห รือเคลอ่ื นยายไปยังสถานพยาบาลเพ่อื รักษาตอ ไป 4. การปฐมพยาบาลนักกฬี าแบดมินตนั การบาดเจบ็ ในการเลน แบดมนิ ตนั ทพ่ี บบอ ย มกั จะเกย่ี วกบั การบาดเจบ็ กลา มเนอ้ื ขอ ตอ และการเลนหนกั เกินไป ผฝู ก สอนจงึ ควรศึกษาและเรียนรวู ิธีการปฐมพยาบาลดังนี้ 4.1 กรณีบาดเจบ็ จากขอและกลามเนือ้ จะตองควบคุมการคั่งของเลือด ลดความรอนบริเวณที่บาดเจ็บและ ลดการเคล่อื นไหวบรเิ วณท่บี าดเจบ็ ในชว ง 48 ชว่ั โมงแรก หลงั จากน้ันใหใ ชวธิ ีการชว ยละลาย ของเสียที่คั่งอยูบริเวณที่บาดเจ็บและฟนฟูการทำงานของกลามเนื้อหรืออวัยวะสวนนั้น โดยหลกั การ RICED - HEAT คูม ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตนั 75 75

คมู อื ผฝู ก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน การกฬี าแหงประเทศไทย 4.1.1 Rest หมายถึง การใหผูปวยไดพักผอนใหอยูในทานอนที่สบาย เหมาะสมกบั สภาพบาดแผล และอาการของโรค 4.1.2 Ice หมายถึง การใชความเย็นประคบตรงสวนที่ไดรับบาดเจ็บ เพ่ือลดการบวม และความเจบ็ ปวด 4.1.3 Compression หมายถึง การพันรัด หรือเขาเฝอกเพื่อไมให สวนนน้ั เคล่อื นไหว 4.1.4 Elevation หมายถงึ การยกใหส ว นทบ่ี าดเจบ็ อยสู งู กวา ระดบั หวั ใจ เพอ่ื ใหเ ลอื ดไหลไปสูสว นท่ีบาดเจ็บนอ ยลงและลดอาการบวม 4.1.5 Diagnosis หมายถงึ การวนิ จิ ฉยั หาสาเหตแุ ละเลอื กวธิ กี ารบำบดั รกั ษาที่เหมาะสมตอไป 4.1.6 Hot หมายถึง การใชความรอนประคบเพื่อเรงระบายของเสีย จากสว นทไ่ี ดร ับบาดเจ็บ 4.1.7 Exercise หมายถงึ การเคลอื่ นไหว หรือบีบนวดเบาๆ 4.1.8 Advanced Exercise หมายถงึ การบริหาร หรอื ออกกำลงั กาย เฉพาะท่ี ซง่ึ อาจใชเครือ่ งมือ หรอื สว นอ่นื มาทำใหเ คล่ือนไหว 4.1.9 Training for Rehabilitation หมายถึง การฝกเพื่อฟนฟู สภาพอวยั วะนั้นใหก ลบั สูสภาพเดมิ 4.2 การปฐมพยาบาลกรณเี ปนลมหรอื หมดแรง การเปนลม ออนเพลีย และหมดแรง เกิดจากเลือดไหลไปเลี้ยงสวนสมอง ไมทัน รางกายระบายความรอนไมทัน ภาวะน้ำตาลในเลือดนอย หรืออาจจะเกิดจากภาวะ จติ ใจ เชน ตกใจ เครยี ด ความหวิ ดใี จ หรอื เกดิ จากการหกั โหมในการเลน หรอื ทำงานมากเกนิ ไป ซึ่งจะตองพิจารณาถึงสาเหตุของอาการกอนเสมอ อาการและวิธีปฐมพยาบาลควรดำเนินการ ดังน้ี 76 76 คูมอื ผูฝกสอนกฬี าแบดมินตนั

คมู อื ผูฝกสอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกีฬาแหงประเทศไทย 4.2.1 การเปนลมธรรมดา จะมอี าการ ใจสั่น หนา มดื คล่นื ไส เหงือ่ ซึม ตัวเย็น หัวใจเตนเร็วแตเบา สาเหตุเกิดจากเลือดและออกซิเจน ไปเลย้ี งสมองไมเพยี งพอ การรักษา ใหนอนราบ ศีรษะต่ำ คลายเสื้อผาออก ใหอากาศ ถายเทสะดวก บบี นวด หากมแี อมโมเนียใหผ ูปวยดมได 4.2.2 ลมแดด (Heat Stroke) เกิดจากการออกกำลังกายในที่ อากาศรอนและมีความชื้นสูงเปนเวลานาน ทำใหรางกายขาดน้ำ และขจัดความรอนออกจากรางกายไมทันผูปวยจะมีอาการ เวียนศรี ษะ ตาพรามวั อาเจียน ควบคุมสตไิ มไ ดแ ละอาจหมดสติ ควรรีบลดความรอนดวยการเช็ดดวยผาชุบน้ำเย็น จิบน้ำผสม เกลือแกงเจือจางหรืออิเล็คโตรไลท และน้ำเพื่อชดเชยการเสียน้ำ หากภายใน 5 นาที ไมฟน ตองรบี สงแพทย 4.3 การปฐมพยาบาลการบาดเจ็บอน่ื ๆ การบาดเจ็บที่ผิวหนัง และชั้นไขมันใตผิวหนัง เปนการบาดเจ็บที่พบบอย ท่สี ุดซ่งึ จะประกอบดว ย 4.3.1 ผิวหนังถลอก (Abrasion) มีสาเหตุจากการที่ผิวหนังถูก เสียดสีกับพื้นผิวของแข็ง เชน การลื่นไถลจนทำใหผิวหนัง ถูกเฉือนออกไปแตไมลึกมาก มีรอยถลอกและอาจจะมีเลือด ไหลซมึ ออกมาบางเล็กนอย อาการ จะรูสึกแสบเมื่อถูกเหงื่อ หรือน้ำ ปวดแสบปวดรอน หากไมม อี าการตดิ เชอ้ื แผลจะตกสะเกด็ และแหง ภายใน 2 - 3 วนั แลวจะคอยหลุดไปประมาณ 7 - 10 วัน แลวจะหาย หากมีการ ติดเชอื้ จะบวม และขยายวงกวา งขึน้ แผลจะแฉะและมหี นอง การรกั ษา ตองปอ งกนั การติดเชอ้ื โดยลา งดว ยน้ำอุน ชำระเศษผง หรือวัสุดออกใหหมด แลวซับน้ำใหแหง ทาดวยยาฆาเชื้อ เชน ทงิ เจอรไ อโอดนิ หรอื เบทาดนี และชำระลา งแผลตดิ ตอ กนั 2 - 3 วนั หรอื จนกวา จะตกสะเก็ด คมู ือผูฝก สอนกีฬาแบดมินตัน 77 77

คมู อื ผูฝกสอนกฬี าแบดมินตัน การกฬี าแหง ประเทศไทย 4.3.2 ผิวหนังพอง (Blister) เกิดจากการเสยี ดสีของผวิ หนงั กับวัตถุ ภายนอกซ้ำๆ กันจนทำใหชั้นของผิวหนังกำพราแยกออกจาก หนังแททำใหมีน้ำเหลืองคั่งอยูภายใน มักพบที่บริเวณสนเทา ฝา เทา หวั แมม อื และองุ มอื ในกลมุ นกั กฬี าทต่ี อ งใชม อื จบั อปุ กรณ เชน ฮอกกี้ แบดมินตัน เทนนสิ กอลฟ อาการ เจ็บและเห็นตุมใสขน้ึ บริเวณนนั้ การรักษา ทำความสะอาดดวยสบูลางแลวเช็ดดวยแอลกอฮอล เพื่อฆาเชื้อหลังจากหยุดเลนในวันนั้นแลว เจาะดวยเข็มที่สะอาด จนน้ำเหลืองที่ขังอยูใตผิวหนังหมดไป ทาดวยทิงเจอรไอโอดีน แลวปดแผลดว ยผา พลาสเตอร ขอควรปฏิบัติ อยาเปดหรือลอกผิวหนังออกจนกวาผิวหนังนั้น ตายแลว เพราะจะเจ็บและเชอื้ โรคเขาไดง า ย 4.3.3 ผิวหนังฟกช้ำ (Contusion) เกิดจากของแข็งที่ไมมีคม กระแทก กระทบหรือ ถูกตี ถูกตอยอยางแรง ทำใหเนื้อเยื่อ ใตผ ิวหนังแตกและเปน แผล มีเลือดคัง่ อยภู ายใน อาการ เจ็บหรืออาจจะชาและปวด บวม สีของผิวหนังจะเปน สีเขมคลำ้ กดดจู ะนุม และรูสกึ อนุ การรกั ษา ประคบดว ยความเยน็ ทนั ทที ไ่ี ดร บั บาดเจบ็ จนแนใ จวา เลือดหยุดภายหลัง 48 ชั่วโมง ประคบดวยความรอนเพื่อชวยรัด กระจายกอ นเลือดที่คงั่ อยู 4.3.4 ผิวหนังฉีกขาด (Laceration) เกิดจากการกระแทก ทิ่ม ตำ จากของแข็งทที่ ู เชน ศอก หมัด กระแทกทบี่ ริเวณซึ่งมีไขมันนอ ย ทำใหเ กดิ บาดแผลชนิดทช่ี ้ำหรือกะรงุ กะร่ิงทข่ี อบบาดแผล อาการ ผิวหนังแยกจากกันและมีเลือดออก อันตรายพิจารณา จากความลึกของบาดแผลและคมยาวของบาดแผล 78 78 คมู อื ผูฝกสอนกีฬาแบดมนิ ตนั

คมู อื ผูฝกสอนกีฬาแบดมินตัน การกีฬาแหงประเทศไทย การรักษา หามเลือดใหหยุด ทำความสะอาด ทายาฆาเชื้อ และปดบาดแผลดวยผาสะอาด หากมีอาการปวดมากใหทานยา แกป วด แลว นำสงแพทย ขอ ควรจำ ควรใชยาแกอกั เสบ และฉดี วัคซีนปองกนั บาดทะยกั 4.3.5 ตะครวิ (Cramp)เกดิ จากการหดตวั ของกลา มเนอ้ื แลว เกรง็ คา งไว สาเหตุเกิดจากการฟตซอมไมเพียงพอ อุณหภูมิต่ำ รางกาย ขาดเกลือหรือการผูกรัดจนกลามเนื้อไมสามารถขยายตัวไดและ เลือดมาเลี้ยงนอยเกินไป อาการ กลามเนื้อหดเกร็งเปนกอนปวดอยางรุนแรง กะทันหัน ไมสามารถเคลือ่ นไหวสว นน้ันได การรักษา พยายามเหยียดกลามเนื้อสวนนั้นใหคลายตัว และ หยดุ พกั การใชก ลา มเนอ้ื มดั นน้ั ประคบดว ยความรอ นและนวดเบา เพอื่ กระตนุ การไหลเวยี นเลือด 4.3.6 กลามเนื้อบวม (Soreness) เกดิ จากการคลงั่ ของนำ้ นอกเซลล กลามเนื้อมักจะเกิดกับคนที่เริ่มออกกำลังกายในระยะแรก เพราะกลา มเนอ้ื บวมมกั เกดิ กบั คนทเ่ี รม่ิ ออกกำลงั กายในระยะแรก กลามเนื้อมักยังไมคุนเคยและไมสามารถขจัดของเสียออกจาก กลามเนอื้ ได อาการ ปวด เมอ่ื ยบรเิ วณกลา มเน้ือทถ่ี กู ใชง าน เชน นอง ตนขา การรักษา ใชหลัก RICE ภายใน 24 - 48 ชั่วโมง และ HEAT ภายหลงั 48 ชว่ั โมง 4.3.7 กลามเนื้อฉีกขาด เกิดจากการฝกซอมไมเพียงพอ กลามเนื้อ จึงไมสามารถรับภาระงานหนักได เมื่อตองออกแรงหดตัว อยางแรงและทันทีทันใดทำใหเกิดการฉีกขาดของกลามเนื้อ ซึ่งแบงเปน 3 ระดับ คือ ฉีกขาดเล็กนอย ฉีกขาดปานกลาง ฉีกขาดสมบรู ณ คมู ือผูฝ กสอนกฬี าแบดมนิ ตนั 79 79

คูมือผฝู กสอนกฬี าแบดมินตนั การกฬี าแหง ประเทศไทย อาการ ปวดมาก และตอ เนอ่ื งมีอาการบวม หากฉีกขาดสมบรู ณ จะคลำพบรอยฉีกขาดนั้น สีผิวหนังจะคล้ำลงเหมือนกับผิวหนัง ฟกช้ำ กลามเนื้อนั้นจะใชงานไมได หากฝนจะเจ็บปวดมาก กลุมกลามเนื้อที่พบวามีการฉีกขาดบอย ไดแก ตนแขน ตนขา ดานหลงั กลามเนอ้ื ตงึ ตนขาดานใน การรักษา พักการใชงาน (Rest) ประคบดวยน้ำแข็ง (Ice) พันไมใหเคลื่อนไหว (Compression) และยกใหสูง (Elevation) ภายหลัง 48 ชั่วโมง ใหใชความรอนประคบและนวดเบา เมอ่ื หายเจบ็ ใหบ รหิ ารโดยการเกรง็ กลา มเนอ้ื แบบคอ ยเปน คอ ยไป กลามเนื้อฉีกขาดอาจเกิดแรงกระแทกจากแรงกระแทกจาก ภายนอกมีอาการและวธิ รี ักษาพยาบาลเชนเดียวกนั 4.3.8 การบาดเจบ็ ทเ่ี อน็ กลา มเนอ้ื เกดิ จากการอกั เสบทเ่ี ยอ่ื หมุ รวมเอน็ กลามเนื้อเปนสวนใหญ ซึ่งเกิดจากการใชงานมากเกินไป (Overuses) มักพบบอยที่บริเวณขอเทา ขอเขา ขอมือและ เอ็นรอยหวาย อาการ เคลื่อนไหวสวนนั้นลำบาก เจ็บและปวดเมื่อเคลื่อนไหว อาจมีเสียงดังและบวม มักจะทุเลาเมื่อหยุดใชงานและอาจจะ เปน อีก เมอื่ กลบั มาใชง านเพราะเกิดพงั ผืดรอบเอ็น การรกั ษา ใชห ลัก RICE และใหพบแพทยเพ่ือวนิ จิ ฉัยตอ ไป 4.3.9 เอ็นกลามเนื้ออักเสบ เกิดจากการใชงานหนักเกินไปและ ทำอยูประจำมักเปนเรื้อรัง สาเหตุสำคัญ คือ การเคลื่อนไหว ที่ผิดวิธี การใชอุปกรณที่ไมเหมาะสม และพื้นผิวของสนาม แข็งเกินไป สวนมากจะเปนที่เอ็นรอยหวายเนื่องจากมีแรง กระแทกจากการทิ้งน้ำหนักตัวกับผิวพื้นที่ไมมีความหยุน เชน ปูนซีเมนต เอ็นที่หัวไหล และขอมือ ซึ่งมักเปนกับนักกีฬา สควอ ช เทนนนิ แบดมนิ ตัน 80 80 คูมือผูฝก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั

คมู อื ผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตัน การกีฬาแหง ประเทศไทย อาการ ปวดมากและตอเนื่องโดยเฉพาะเวลาเคลื่อนไหวสวนนั้น แตหากอบอุนรางกายสักพักความเจ็บปวดจะทุเลาลงและจะ ปวดมากอีกในวนั รุงข้ึน และจะปวดมากอีกในวันรงุ ข้ึน การรักษา ใชห ลกั RICE 4.3.10 เอ็นฉีกขาด เกิดจากเคลื่อนที่ที่ผิดวิธีหรือเปลี่ยนทิศทางอยาง ทันทีทันใดทำใหเอ็นที่ยึดติดกับกระดูกเกิดการฉีกขาด เชน บริเวณเอ็นขอศอก ซึ่งเรียกวา Tennis Elbow ขอนิ้วมือของ นกั บาสเกตบอล เอ็นรอยหวาย และหนาแขง ของนกั วิ่ง อาการ เจ็บปวดอยางเฉียบพลัน บวมและเมื่อออกแรง เคลอื่ นไหวจะเจ็บมาก การรกั ษา ใชห ลกั RICE และพบแพทย เพื่อวินจิ ฉยั เพราะหาก ปลอยไวจ ะกลายเปนอาการเรือ้ รังได 4.3.11 ขอแพลง เกิดจากการเคลื่อนไหวขอตอเปนมุมมากกวาปกติ หรือผดิ ธรรมชาตทิ ำใหเ อน็ ยดึ ขอ ตอ นน้ั ฉกี ขาดมักเปน ท่ีขอเทา อาการ ปวดอยางเฉียบพลัน ตอมาจะบวม แดง หรือรอน บริเวณน้ัน การรักษา ใชห ลกั RICE ในชว งแรก และ HEAT ในชว งตอมา 4.3.12 ขอ เคลอื่ น เกดิ จากเอน็ และกลา มเนอ้ื ยดึ รอบขอตอไมแ ข็งแรงพอ ขาดความยืดหยุน เมื่อออกแรงหรือกระแทกแรงๆ ทำใหสวน ปลายของกระดูกหลุดจากที่เดิม พบมากที่หัวไหล หัวเขาและ ขอนิว้ อาการ ปวดอยา งเฉียบพลัน บวมและพบลายกระดกู นูนออกมาก หรือมรี อ งระหวา งขอ ตอเคลอ่ื นไหวไมไ ด และอาจจะมอี าการชอ็ ก การรักษา แกอาการช็อก ถามีประคบดวยน้ำแข็งและใหแพทย จับเขาที่อยาพยายามทำเองเพราะอาจเปนอันตรายได พักการ ใชง านบริเวณนน้ั แลว พันผา ใหห ยุดการเคล่อื นไหว คมู อื ผูฝ ก สอนกีฬาแบดมนิ ตัน 81 81

คมู อื ผูฝกสอนกฬี าแบดมนิ ตนั การกฬี าแหงประเทศไทย 4.3.13 การบาดเจ็บจากกระดูกหกั เกิดจากมีแรงมากระแทกอยางแรง ซึ่งอาจเกิดจากการหดตัวของกลามเนื้อหรือแรงภายนอกทำให กระดกู แยกจากกนั บางครง้ั อาจจะเปน อนั ตรายถงึ ชวี ติ หากกระดกู ไปทำอันตรายอวัยวะภายใน อาการ เจ็บปวดมาก อาจมีอาการช็อก มีไข และตกเลือด อาจมีบาดแผลถา กระดกู หกั แลว ทะลุออกนอกผวิ หนงั การรักษา แกอาการช็อกและหามเลือดดวยไมหรือเฝอก นำสง แพทยด ว ยความระมัดระวงั 82 82 คมู อื ผูฝก สอนกีฬาแบดมินตนั

คมู ือผูฝ ก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกฬี าแหงประเทศไทย คุณสมบตั ขิ องผฝู ก สอนกฬี าแบดมินตัน 1. เปา หมาย ใหมคี วามรูแ ละเจตคติตอ การเปนผูฝก สอน บทบาทหนา ท่ี ความรบั ผดิ ชอบ ของผูฝ กสอน คณุ สมบัติอันพงึ ปรารถนาของผูฝก สอน หลักการ และเทคนิควิธกี ารฝก สอน 2. ประกอบดวย 2.1 คณุ สมบัติของผูฝ กสอนกีฬาแบดมนิ ตัน 2.2 บทบาท และหนาทใี่ นการฝก สอนแบดมินตัน 2.3 หนาทีอ่ นื่ ๆ ท่ีไดรบั มอบหมาย รายละเอยี ดเนื้อหา คณุ สมบตั ผิ ูฝ กสอนกฬี าแบดมินตนั 1. คณุ สมบตั ขิ องผฝู ก สอนกฬี าแบดมนิ ตนั ตอ งเปน ผมู คี วามรแู ละความสามารถ ในการถายทอดความรูไดทั้งการบรรยาย สาธิต และฝกสอนใหนักกีฬาเขาใจและยอมรับ ที่จะทำการฝกซอมทักษะตอไปดวยตนเองอยางตอเนื่อง และยังติดตามและชี้นำการฝกซอม ของนักกีฬาใหมีวิธีการฝกซอมที่ถูกตองเพื่อพัฒนาศักยภาพสูเปาหมายของความเปนเลิศ ตอไป โดยผฝู ก สอนจะตอ งมีคณุ สมลกั ษณะดงั นี้ 1.1 บุคลิกภาพ ตองหมั่นฝกซอมและรักษารางกายของตนเองใหมี ความแข็งแรงและจิตใจเขมแข็งมั่นคงอยางเสมอตนเสมอปลาย รวมทั้งแตงกายใหมีบุคลิกภาพดีอยูเสมอ เพื่อเปนตัวอยางและ ความเชือ่ ทดี่ ใี หน กั กฬี าไดนำไปเปน ตัวอยาง 1.2 พฤติกรรม ตองเลือกพฤติกรรมที่เปนตัวอยางที่ดีและไมเปนอุปสรรค ในการฝกซอม และแสดงพฤติกรรมที่ดีใหเปนตัวอยางของนักกีฬา แบบบุคคลสาธารณะ คมู ือผฝู กสอนกีฬาแบดมนิ ตนั 83 83

คูมอื ผูฝกสอนกฬี าแบดมินตนั การกฬี าแหง ประเทศไทย 1.3 ความรูและทักษะกีฬาแบดมินตัน ตองหมั่นศึกษาเรียนรูการพัฒนา ทักษะกฬี าแบดมนิ ตันทมี่ กี ารเปล่ยี นแปลงอยตู ลอดเวลาอยา งตอเน่อื ง และสม่ำเสมอ เพื่อวิเคราะหและคัดเลือกทักษะกีฬาแบดมินตัน ที่ถูกตองนำไปถายทอดใหนักกีฬาเขาใจและยอมรับที่จะนำไปฝกซอม ตอ ไป 2. บทบาทและหนา ทใ่ี นการฝก สอนกฬี าแบดมนิ ตนั ผฝู ก สอนตอ งมบี ทบาทเปน ผูนำนักกีฬาใหความกาวหนาในการฝกซอมทักษะกีฬาแบดมินตันตลอดไป โดยใชทักษะกีฬา แบดมินตัน วิทยาศาสตรการกีฬา และการบริหารจัดการที่ประสบผลสำเร็จเปนเครื่งมือ ในการนำนกั กฬี าสูความเปนเลศิ โดยมีประเด็นสำคญั ในบทบาทและหนาทีด่ งั ตอ ไปนี้ 2.1 ทกั ษะกฬี าแบดมนิ ตนั ผฝู ก สอนตอ งมหี นา ทเ่ี ลอื กทกั ษะกฬี าแบดมนิ ตนั ที่ถูกตองและทันสมัยสอนใหนักกีฬาเรียนรูและฝกซอมพรอมติดตาม สังเกตและประเมินผลการฝกซอมของนักกีฬาใหมีวิธีการฝกซอม ทกั ษะกฬี าแบดมินตันที่ถูกตองอยเู สมอ 2.2 วทิ ยาศาสตรก ารกฬี า ผฝู ก สอนตอ งเปน ผนู ำนกั กฬี าในเรอ่ื งโภชนาการ ที่เหมาะสมกับกีฬาแบดมินตัน การเสริมสรางสมรรถภาพรางกาย ของนกั กฬี าเพอ่ื กฬี าแบดมนิ ตนั สมาธติ และจติ วทิ ยาทใ่ี ชใ นการฝก ซอ ม กีฬาแบดมินตัน รวมถึงการปองกันการบาดเจ็บในการฝกซอมและ วิธีการแกไขการบาดเจ็บท่อี าจเกิดขนึ้ ไดอ ยางทันทที ันใด 2.3 การบริหารการจัดการ ผูฝกสอนตองวางแผนการฝกซอมและศึกษา พฤติกรรมการฝกซอม และเรื่องราวตางๆ ที่เกี่ยวของของนักกีฬา อยางตอเนื่องตลอดเวลา พรอมที่จะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแผนการ ฝกซอมใหมีประสิทธิผลในการฝกซอมอยูเสมอ โดยจดบันทึกผล การฝกซอมที่มีประสิทธิผลดี และขอบกพรองในแผนการฝกซอม รวมถึงแผนการฝกซอมท่ีปรบั ปรงุ ใหม 3. หนาที่อื่นที่ไดรับมอบหมาย ผูฝกสอนตองศึกษาและเรียนรูพฤติกรรมของ นักกีฬาในทุกดาน โดยเฉพาะดานการศึกษา ดานการงานเพื่อคอยชวยเหลือใหนักกีฬา ดำเนินการใหป ระสบผลสำเรจ็ เพื่อไมใ หเ ปน อปุ สรรคในการฝก ซอ มกีฬาแบดมนิ ตัน 84 84 คูมือผูฝ กสอนกีฬาแบดมนิ ตนั

คมู ือผูฝก สอนกีฬาแบดมินตัน การกีฬาแหงประเทศไทย หลักการและวธิ ีการฝกสอนกฬี าแบดมนิ ตัน 1. เปาหมาย ใหมีความรูและทักษะ การเปนผูฝกสอนโดยเฉพาะการสรางแรงจูงใจ ในการฝก หลักและวิธีการสอนทักษะกีฬา การออกแบบ สรางและใชอุปกรณหรือเกม ในการฝก 2. ประกอบดว ย 2.1 หลักการและวธิ กี ารสอนทกั ษะ 2.2 จติ วทิ ยาการเปน ผูฝก สอน 2.3 รปู แบบการสอน เชน การสอนแบบแยกสว น การสอบแบบกา วหนา 2.4 การทำแผนการสอน การฝก และประเมนิ ผล 2.5 การออกแบบฝก การผลิต และใชอปุ กรณห รือเกมชวยสอน รายละเอียดเน้อื หา หลักการและวิธีการสอนทักษะ การศึกษาเปนการชวยใหบุคคลเกิดทัศนคติที่ถูกตอง คือ รูจักมองสิ่งทั้งหลาย ทั้งปวงตามที่มันเปน และสามารถจัดการกับสิ่งเหลานั้นไดตามที่ควรจะเปน ใหเกิดประโยชน ทั้งแกต นเอง และสังคม ผูสอนตองเปนกัลยาณมติ รของผูเรยี นดว ยการชแี้ นะ จดั กระบวนการ ใหผูเรียนเกิดปญญา สามารถนำไปใชและแกไขปญหาตางๆ ได การที่ผูเรียนจะเกิด ปญญาได ผูนั้นจะตองเปนอิสระจากการครอบงำหรือการถูกบังคับ นั่นคือ ผูสอนจะตอง สรรหาอุบาย กลวิธี และสื่อตางๆ มาชวยใหผูเรียนรูสึกวาสมัครใจที่จะเรียน ซึ่งจะทำใหมี ทศั นคตทิ ี่ดี มคี วามเขาใจและเกิดปญ ญาอยางแทจรงิ (ประยทุ ธ ปยตุ โต 2531) คมู อื ผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั 85 85

คูมือผูฝก สอนกฬี าแบดมนิ ตนั การกฬี าแหงประเทศไทย การเรียนการสอนกฬี า ซง่ึ เปนการเรยี นการสอนท่ใี หผ เู รยี นรูเชิงปญ ญา (Cognitiv Domain) และทักษะ (Psychomotor Domain) ผูสอนจึงตองมีความสามารถในการสอน ทงั้ การใหความรูแ ละทักษะในการปฏิบตั ใิ นเวลาเดียวกัน ในการสอนทักษะกีฬา ควรมีข้นั ตอนดงั น้ี 1. สอนใหเ กดิ ปญ ญากอ นหรอื ใหร แู ละเขา ใจภาพโดยรวม ในการสอนทกั ษะใด ทักษะหนึ่งผูสอนจะตองอธิบาย สาธิต ทาทางการเคลื่อนไหวที่ถูกตอง โดยนำความรู ทางดานกายวิภาค เพื่อใหรูวาตองใชกลามเนื้อและขอตอสวนใดมาเคลื่อนไหว สอดผสาน กบั ชวี กล ศาสาตรเ พอ่ื ใหร วู า การเคลอ่ื นไหวลกั ษณะใดทำใหไ ดผ ลการกระทำทด่ี ที ส่ี ดุ ประหยดั แรงงานที่สุด เชน การตลี ูกเซฟเหนอื ศีรษะ ตอ งใชก ลามเน้ือไหล แขน ขอมือ โดยมีกลา มเนอื้ สวนลำตัว และขาชวยเสริม การเคลื่อนไหว ตองวางเทาขางเดียวกับมือที่ถนัดไวหลังใหชวย เสริมแรงและทรงตัวเมื่อตองเคลื่อนไหวไปขางหนา เริ่มดวยการเคลื่อนไหวในลักษณะดันไหล ศอกมาขางหนากอนแลวสะบัดขอมือตีลูก ขณะถูกลูกแขนเหยียดเกือบชิดหูเพื่อใหแนวแรง อยูใกลเสนกึ่งกลางของลำตัวเพื่อจะไดแรงที่ดีที่สุด ขณะสัมผัสลูกปลายของแร็กเกตจะล้ำมา ขางหลังมากกวาขอมือ ทำใหแขน ขอมือ และแร็กเกตเปนมุมปานผูสอนตองสาธิตใหเห็น ลำดับการเคลื่อนไหว หากมีรปู หรอื ภาพนิง่ ใหด ูผเู รยี นจะเขาใจงายข้นึ เปนตน 2. สอนใหมีทักษะหรือกระทำอยางถูกตอง ผูสอนควรใหผูเรียนทดลองทำ โดยใชวิธกี ารสอนแบบตา งๆ คอื 2.1 สอนแบบแยกสวน โดยแบงทกั ษะการเซฟท้ังหมดออกมาเปนข้ันตอน เชน จับไม วางเทา ถายน้ำหนักตัว ตะวัดแขนและขอมือ เหยียดแขนใหหนาไมกระทบลูก ปลอยไมตามพรอมกาวเทาตามเพื่อทรงตัวและเคลื่อนตัวไปขางหนา การสอนแบบแยกสวน ผสู อนตองใหผูเรยี นกระทำทีละขัน้ ในลักษณะปดจังหวะ 2.2 สอนแบบกาวหนา โดยแบงทักษะเปนขั้นตอนเชนเดียวกับการสอน แบบแยกสวนแตเวลาสอบผูสอนจะใหผูเรียนเริ่มจากขั้นตอนเดิม บวกกับขั้นตอนที่เพิ่มขึ้น เชน 86 86 คมู อื ผูฝกสอนกฬี าแบดมินตัน

คมู ือผฝู ก สอนกฬี าแบดมนิ ตนั การกฬี าแหงประเทศไทย ครั้งท่ี 1 จบั ไม คร้ังท่ี 2 จบั ไม และวางเทา ขวา ครง้ั ท่ี 3 จับไม วางเทา ขวา และถา ยน้ำหนกั ตวั ครง้ั ท่ี 4 จับไม วางเทาขวา และถายนำ้ หนกั ตัว และเหว่ียงแขนข้นึ ตลี ูก ครัง้ ท่ี 5 จับไม วางเทา ขวา และถา ยนำ้ หนกั ตวั เหวย่ี งแขนขึ้นตีลูก และปลอยไมตาม คร้งั ท่ี 6 จับไม วางเทาขวา และถา ยน้ำหนักตวั เหวย่ี งแขนขน้ึ ตลี กู ปลอยไมต าม และกาวเทา ขวาตามไปขางหนา เปน ตน 2.3 สอนแบบรวม โดยใหผูเรียนกระทำแบบครบวงการเคลื่อนไหว ตงั้ แตตนจนจบ 2.4 สอนแบบผสมผสาน โดยนำแบบการสอนท้ัง 3 แบบมาผสมผสานกนั เชน ใหแบบรวมกอ น แลวทำแบบแยกสว น ตามดว ยทำแบบรวมอกี คร้งั เปนตน 3. ฝกใหเกิดความชำนาญ หลงั จากผูเรยี นไดร ู เขาใจและทดลองทำจนถูกตอง แลว ผสู อนตอ งใหผ เู รยี นทำซำ้ จนสามารถทำไดถ กู ตอ ง รวดเรว็ และแมน ยำทกุ ครง้ั โดยไมต อ งคดิ หรอื อกี นยั หนง่ึ กค็ อื เกดิ ความชำนาญ เชน การปลอ ยลกู ใหต เี ซฟอยกู บั ท่ี 40 - 50 ครง้ั หรอื จนกวา ผูเรียนเคลื่อนไหวทาทางถูกตองและวิถีลูกไปตามที่ตองการและตกตามเปาหมายที่กำหนด ทุกลูก ตอ จากนน้ั จึงเร่มิ ฝกเคลอ่ื นท่ีตลี ูกเซฟ เปนตน 4. ฝกกลยุทธหรือแกปญหา การฝกขั้นนี้มุงเนนการนำทักษะมาใชใหทัน ตอสถานการณ กลาวคือ เมื่อผูเรียนฝกทักษะจนชำนาญแลวผูสอนตองสรางสถานการณ เพื่อใหผูเรียนรูจักนำทักษะที่เรียนมาแลวมาใชโดยอาจจะผสมผสานทักษะตางๆ เขาดวยกัน การจำลองยทุ ธวิธกี ารเลนของคตู อสู เชน เมอ่ื สอนและฝก ลูกหยอด ลกู เซฟ จนชำนาญไปแลว ผสู อนอาจปลอ ยลกู ผเู รยี นถอยไปตลี กู เซฟแลว วง่ิ เขา หยอดหนา ตาขา ยหลายเทย่ี วแลว ประเมนิ วาผูเรียนทำไดถูกตองหรือไม หากยังไมถูกตองหรือทำไมไดทุกลูกผูสอนตองกลับมาใหฝก ทบทวนทกั ษะนน้ั ใหมอกี ครง้ั เปนตน คมู ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตัน 87 87

คูม อื ผูฝกสอนกฬี าแบดมนิ ตัน การกฬี าแหง ประเทศไทย จิตวิทยาการสอน การสอนทกั ษะหรอื เนอ้ื หาวชิ าใดกต็ าม ผูสอนควรคำนึงถึงหลักการดงั น้ี 1. สอนจากงา ยไปหายาก หรือสอนในสิง่ ท่ไี มซ ับซอ นไปสสู ง่ิ ทซ่ี บั ซอน 2. สอนจากสิ่งทรี่ อู ยูแลวไปสสู ่ิงที่ยังไมรู 3. การนำสิ่งที่เคยเรียนมาแลวมาใหทบทวนหรือจัดเปนสวนหนึ่งในการเรียนรู ใหมๆ จะทำใหผูเ รยี นเขาใจและเห็นคณุ คายิ่งขึ้น 4. สอนเทา ทจ่ี ำเปน ตอ งนำไปใช หรอื พอเหมาะกบั ผเู รยี น ไมใ ชส อนเทา ทต่ี นเองรู 5. สอนใหตรงตามเน้อื หา โดยไมวกวนหรอื นอกเรอื่ ง 6. สอนสิง่ ทม่ี ปี ระโยชน มีความหมาย นำไปใชไดจ รงิ 7. คำนงึ ถึงความแตกตางระหวางบคุ คลเสมอ และจงั หวะเวลาหรือความพรอม 8. การเรียนรเู กิดจากความสมัครใจ ผูส อนตอ งมีอบุ ายหลอกหลอใหอยากเรยี น 9. ชว ยเหลอื เอาใจใสผเู รียนทดี่ อ ยกวาใหม าก 10. สรา งบรรยากาศใหป ลอดโปรง เพลดิ เพลนิ และใหเกียรติผูเรียนเสมอ 11. ผูสอนเปนแบบอยางของผูเรียน บุคลิกภาพและความมีวินัยของผูฝกสอน เปนส่ิงสำคญั ยง่ิ 12. การใหร างวลั และลงโทษ ทถ่ี กู ตอ งตามโอกาสและสถานการณจ ะชว ยใหผ เู รยี น ประสบผลสำเร็จในการเรียน 13. พยายามใหผูเรียนไดใชประสาทสัมผัสหลายดานในการเรียนแตละครั้ง กลาวคือ ผูสอนตองใชสื่อโสดตางๆ เพื่อใหผูเรียน ไดยิน ไดเห็น ไดสัมผัส ไดทดลองทำ และไดคิด นน่ั เอง 14. กระตนุ ผเู รยี นใหอ ยากเรียนดวยความหลากหลายของวธิ กี ารสอน 14.1 การใชเกา อ้ี หรือกลองเปน จุดแตะกอ นตลี ูกอน่ื (Chai Tagging) 14.2 การตีลม (Shadow Techniques) 14.3 ผลัดกนั ตี (Relay Techniques) 14.4 การผสมผสานหลายแบบการตี (Miscellaneous Techniques) 14.5 ผสมการเคล่อื นไหวและการตลี ูก (Exercise and Strokes) 88 88 คูมือผูฝ กสอนกีฬาแบดมินตนั

คูมอื ผฝู กสอนกีฬาแบดมินตนั การกีฬาแหงประเทศไทย 14.6 จัดเปนเกมแขงขนั ทีไ่ มใชเ กมแบดมนิ ตัน 14.7 ใหแขงขนั กนั ในกลุม เชน ใครตีเสียนอยทีส่ ุดถือวาชนะ เปนตน 14.8 กำหนดเปาหมายการตี เชน วางกลองเปนเปาหมายใหตบ ขีดบริเวณ ใหต ีลูกไปตก เปนตน 15. สรางสถานการณเสมือนจริงจะชวยในการเรียนรูและแกปญหาทำใหเกิด ความเคยชนิ และสรางแบบแผนการเลนไดดี 16. เปลี่ยนบรรยากาศการฝก เชน ใหฝกกับผูฝกสอนคนอื่น การพาไปฝก นอกสถานท่ี การจัดเลี้ยงยอ ยๆ หลังการฝก การพาไปวงิ่ ชายทะเล เปน ตน 17. ใชก ารทดสอบและประเมนิ ผลในเครอ่ื งมือกระตนุ 18. พาไปดกู ารแขง ขนั จรงิ แลวนำมาวพิ ากษวจิ ารณแ ละกำหนดวธิ ีการฝก สง่ิ เหลา นผ้ี ฝู ก สอนตอ งพจิ ารณาและเลอื กนำสลบั สบั เปลย่ี นกนั ใชต ามโอกาส แตไมอาจจะชวยกระตนุ ใหผูเ รียนอยากเรียนและอยากฝก ย่ิงข้ึน คูม ือผูฝก สอนกฬี าแบดมนิ ตัน 89 89

คมู ือผูฝก สอนกีฬาแบดมินตนั การกฬี าแหงประเทศไทย เทคนคิ และทักษะแบดมนิ ตนั ข้ันสงู และการฝก นกั กฬี า 1. เปาหมาย ใหมีทักษะพื้นฐาน และขั้นสูงของแบดมินตันที่ถูกตองสามารถวิเคราะห และแกไขขอบกพรองของนักกีฬาได มีความคิดสรางสรรคในการออกแบบฝกที่จูงใจให นกั กฬี าสนใจฝกเพอ่ื ใหบรรลเุ ปาหมาย 2. ประกอบดว ย 2.1 การใชเทาและการเคล่อื นที่ 2.2 ทักษะการตีลูกขน้ั สูง การพลิกแพลง และการหลอกลอ 2.3 ทกั ษะการโยนลกู ดว ยมือ การปลอยลูกดวยไมเ พื่อฝก ทกั ษะตาง ๆ แกน ักกีฬา รายละเอยี ดเนอ้ื หา เทคนิคและทักษะแบดมนิ ตันขนั้ สงู และการฝก นกั กฬี า การเรียนรูทักษะพื้นฐานของการเลนแบดมินตันตั้งแตการวิ่งฟุตเวิรค การตีลูก 9 ลักษณะ ไดแก เสิรฟ หยอด งัด แยบ็ รับลกู ตบ สวนดาด ตบ เซฟ และตดั หยอด แลว ยังตอง รูจกั ทักษะขน้ั สูงเพื่อใหเกดิ ความไดเ ปรยี บในเกมการแขงขนั ตอไป ตามหวั ขอตอไปน้ี 1. การใชเ ทา และการเคลอื่ นที่ กีฬาแบดมินตันมีการใชเทามากกวาการใชแขนและขอมือ จึงตองฝก การใชเทามีความรวดเร็ว และอดทนในการตองวิ่งในคอรทนาน ๆ ตั้งแต 20 นาที จนถึง 120 นาที จึงจำเปนตองสรางสมรรถภาพความแข็งแรงของกลามเนื้อเทา โดยวิธีการ เสริมสรางสมรรถภาพทางเทาดวยวิธีการวิ่งระยะทางไกล วิ่งเร็วระยะสั้นหรือกระโดดเชือก และวิ่งฟุตเวิรคดวยความเร็วที่สุด 20 - 40 จุด 4 - 6 ครั้งของการฝกทุกครั้ง การวิ่งคอรท 90 90 คมู ือผูฝ กสอนกฬี าแบดมนิ ตนั

คมู ือผฝู ก สอนกีฬาแบดมินตัน การกฬี าแหงประเทศไทย โดยบังคับใหมีการวิ่งแบบกระโดดก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่ทำใหการเคลื่อนที่เร็วขึ้นการกระโดด วิ่งฟุตเวิรคบางจังหวะตองใชความเร็วมากก็ตองกระโดด แตใหระวังการลงกาวสุดทาย ใหเนนการลงสน เทาเพือ่ การทรงตัวที่ดแี ละปอ งกันการบาดเจบ็ ได 2. ทักษะการตีลกู ข้นั สูง การพลิกแพลง และการหลอกลอ การตีลูกขั้นสูง หมายถึง การนำทักษะการตีลูกขั้นพื้นฐานมาเพิ่มใหเปนการ ตีลูกแตละลักษณะดวยความเร็ว ความรุนแรง และหลอกจังหวะการสะบัดขอมือกอนการ ตีลูกตามลกั ษณะตา งๆ ดังนี้ การตีลูกเสิรฟ มีการตีลูกขั้นกา วหนาดงั น้ี 1) การเสิรฟลูกใหเร็ว และรุนแรงโดยการปลี่ยนเวลาการตีลูกทุกครั้งภายใน เวลากำหนดของกตกิ าแบดมนิ ตนั 2) การเสิรฟลูกหลอกจังหวะการสะบัดขอมือจากลูกเลียดแดนหนาใกลตาขาย โดง ไปตกลงหลงั คอรทแทน 3) การเสริ ฟ ลกู หลงั จงั หวะการสะบดั ขอ มอื จากการสง สง ลกู โดง ไปแดนหลงั คอรท เปล่ยี นเปน การเสิรฟ ลูกเลยี ดตาขา ยลงแดนหนา ใกลต าขา ยแทน 4) การเสิรฟลูกเลียดตาขายอยางเร็วและรุนแรงเฉียงเขาดานแบ็คแฮนดและ โฟรแฮนดข องคูแ ขง ขนั การตีลกู หยอด มีการตลี ูกขัน้ สูงดังน้ี 1) การตีลูกหยอดโดงแบบทง้ิ ด่งิ ลงใกลตาขา ยมากทีส่ ุดเทา ที่จะทำได 2) การตีลกู หยอดท้งั ดา นโฟรแฮนดแ ละแบ็คแฮนดใหลูกหมุนปนตกใกลตาขา ย 3) การหลอกจังหวะสะบัดขอมือตบลูกหยอดใหลูกหมุนปน กลายเปนตีลูก เลย้ี วออกทางดา นโฟรแฮนดและแบ็คแฮนด 4) การตีลูกหยอดเล้ยี วอยางเร็วทั้งดานโฟรแ ฮนดแ ละแบค็ แฮนด 5) การตีลูกหยอดทั้งดานโฟรแฮนดและแบ็คแฮนดใหลูกหมุนปนพลิกตาขาย เปน ประจำ 6) การหลอกสะบดั ขอมือจะตลี ูกงดั เปลยี่ นเปน ตลี ูกหยอดแทน คมู ือผฝู กสอนกีฬาแบดมินตนั 91 91

คูมือผูฝกสอนกีฬาแบดมนิ ตนั การกฬี าแหงประเทศไทย การตลี กู งัด มีการตีลกู ขน้ั กาวหนา ดังน้ี 1) การตลี ูกงดั ดาดอยา งเรว็ ใหลูกตกทา ยคอรท 2) การสะบัดขอ มือตีลกู งดั เปลยี่ นทิศทางจากซา ยไปขวาหรอื ขวาไปซาย 3) การตลี ูกงดั ใหโ ดง ตัง้ ฉากกบั พน้ื สูงเทาที่ออกแรงสะบัดขอมือได 4) การหลอกสะบดั ขอมือจะตีลกู หยอดแตสะบดั ตลี ูกงดั ไปดา นหลังแทน 5) การหลอกสะบดั ขอ มอื ตลี กู งดั เตม็ แรง แตก ลายเปน งดั เบาๆ ขา มศรี ษะนกั กฬี า ทย่ี นื อยูดา นหนาใกลตาขาย การตลี ูกแย็บ มกี ารตีลูกขน้ั กาวหนา ดงั นี้ 1) การตีลูกแยบ็ อยางแรงทง้ั ดา นโฟรแ ฮนดและแบ็คแฮนด 2) การตลี ูกแยบ็ เขาตวั นกั กีฬาฝง ตรงกนั ขา ม การตีลกู รับลกู ตบ มกี ารตีลูกขน้ั กาวหนาดงั นี้ 1) การตีลูกรับลูกตบดานหนาลำตัวใหแรงที่สุดใหลูกเลียดตาขายกลับไป หลังคอรท หรอื กลบั ไปหานกั กฬี าที่ตบลกู ลงมาทันที 2) การตีลูกรับลูกตบเปลี่ยนทิศทางโดยใชการหลอกสะบัดขอมือทั้งดาน โฟรแฮนดและแบค็ แฮนดใ หล ูกไปตกทายคอรทหรือหนาตาขายทัง้ สองขาง 3) การหลอกสะบัดขอมือตีลูกรับลูกตบอยางแรงแลวเปลี่ยนเปนตีลูกรับลูกตบ เบาๆ ลงหนา ตาขา ย การตีลูกสวนดาด มกี ารตีลกู ขน้ั กาวหนา ดงั น้ี 1) การตีลูกสวนดาดทั้งดานโฟรแฮนดและแบ็คแฮนด ใหมีความเร็วมากที่สุด ที่สามารถทำได 2) การตีลกู สวนดาดเปล่ยี นทศิ ทางอยางเร็วทัง้ ดานโฟรแฮนดแ ละแบค็ แฮนด 3) การตลี กู สวนดาดเหนือศีรษะแบบรกุ คืบจนเปนการตบลกู หนาตาขา ย 4) การหลอกสะบัดขอมือจะตีสวนดาดตอบโตอยางแรงเปนแตะเบาๆ เปนการ หยอดลกู ลงทด่ี านหนาใกลตาขาย 5) การหลอกเหวี่ยงไมแบดมินตันตีลูกสวนดาดเปลี่ยนทิศทางจากซายไปขวา หรือจากขวาไปซาย 92 92 คูมอื ผฝู ก สอนกีฬาแบดมนิ ตนั