โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๓ จงั หวดั ลพบรุ ี
เอกสารประกอบการพจิ ารณา เพอื่ รบั การประเมนิ ครดู ศี รรี าชประชานเุ คราะห์ ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ นางสาวพนดิ า นอ้ ยศรี ครโู รงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๓ จงั หวดั ลพบรุ ี สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คำนำ เอกสำรฉบับน้ี จัดทำข้ึนเพ่ือใช้ประกอบกำรพิจำรณำประเมินครูดีศรีรำชประชำนุเครำะห์ ประจำปีกำรศึกษำ 2560 ได้รวบรวมกำรประพฤติหน้ำที่ท่ีครู กำรปฏิบัติตนตำมระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม จรรยำบรรณครู กำรเปน็ พลเมอื งที่ดีของประเทศ กำรดำรงตนตำมหลกั ศำสนำ กำรเทิดทูนสถำบันพระมหำกษัตริย์ รวมท้ังผลกำรกำรปฏิบัติหน้ำที่ท่ีส่งผลดีต่อนักเรียน โรงเรียน สังคม และวชิ ำชพี ครู หวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำเอกสำรฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์และเป็นแนวทำงในกำรพัฒนำคุณภำพ กำรศึกษำของผู้สนใจในกำรพัฒนำวิชำชีพครูของตนเอง และขอขอบพระคุณ โรงเรียน รำชประชำนุเครำะห์ ๓๓ จังหวดั ลพบุรี ทีท่ ำใหข้ ้ำพเจ้ำได้ทำหน้ำท่ีของครูอยำ่ งเต็มศักยภำพ ได้เป็น ครูด้วยจิตและวญิ ญำณ เพรำะท่ีน้ที ำให้ข้ำพเจ้ำทำหน้ำท่มี ำกกว่ำคำว่ำ “คร”ู จนสำมำรถสรำ้ งเด็กๆ ให้พ้นคำว่ำ “ด้อยโอกำส” ส่งผลให้ข้ำพเจ้ำรักและภำคภูมิใจ ในคำว่ำ “ครูรำชประชำ” ขอบคุณ คณะกรรมกำรสถำนศึกษำ ผูบ้ ริหำรทีเ่ ปดิ โอกำส ใหโ้ อกำส และใหก้ ำรสนบั สนนุ ทง้ั งบประมำณ คำ ชแ้ี นะ ในกำรสร้ำงกิจกรรมท่จี ะพัฒนำนกั เรียนได้อย่ำงเต็มท่ี ขอบคณุ เพ่ือนครู บุคลำกรทุกท่ำน ท่ี ให้ควำมช่วยเหลือ ให้กำลังใจ ขอบคุณครอบครัวท่ีเป็นแรงใจในกำรทำหน้ำที่ “ครูรำชประชำ” ขอบใจนักเรียนทกุ คนท่ที ำให้ครูไดใ้ ชว้ ธิ ีกำรตำ่ งๆ เพือ่ ปรับเปลี่ยนพวกเรำเป็นคนใหม่ที่มีคุณคำ่ ออก สู่สังคม และที่สำคญั เหนือสิ่งอ่ืนใดคือพระบำทสมเดจ็ พระเจ้ำอยู่หวั ภมู ิพลอดลุ ยเดช ที่พระรำชทำน โรงเรยี นแห่งนี้เพื่อให้เด็กๆ ท่ีเขำ้ มำอยำ่ งคนมปี ัญหำ แตก่ ลับออกไปอย่ำงคนท่ีมีคณุ ค่ำ นำไปสู่กำร สร้ำงคุณค่ำให้ตัวเอง ครอบครัว สังคม ประเทศชำติ ซึ่งเป็นโจทย์ทีพ่ ระองค์ท่ำนให้ไว้ ทำใหข้ ้ำพเจ้ำ ตอ้ งหำวธิ ีกำรตำ่ งๆ แตว่ ธิ กี ำรในกำรแกไ้ ขปัญหำ ขำ้ พเจ้ำได้แนวทำงจำกพระองคท์ ำ่ นอีกเชน่ กัน ทุก คร้ังท่ีข้ำพเจำ้ มีปัญหำในกำรดูแลนักเรียน ขำ้ พเจ้ำจะกลบั ไปอ่ำนพระบรมรำโชวำท พระรำชดำรัสที่ องค์พระรำชทำนไว้ในโอกำสต่ำงๆ โดยเฉพำะเก่ียวกับครู และเยำวชน จนทำให้ข้ำพเจ้ำสำมำรถ นำมำใช้ในกำรแก้ไขปัญหำต่ำงๆ ได้สำเร็จ ส่งผลให้ข้ำพเจ้ำเป็นท่ีเคำรพ รัก ของนักเรียน เป็นที่ ศรัทธำของของเพ่ือนร่วมงำน เป็นที่ไว้วำงใจของผู้บริหำร ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงำนต่ำง โชคดที ่ีสดุ ทไ่ี ด้มำเป็น “ครูรำชประชำนุเครำะห์” พนดิ ำ นอ้ ยศรี ครโู รงเรียนรำชประชำนุเครำะห์ ๓๓ จังหวัดลพบรุ ี
สารบญั ตอนที่ 1 ประวตั ิผขู้ อรบั การประเมนิ 1 ตอนที่ 2 ข้อมลู ส่วนบคุ คล 1 ตอนที่ 3 ประวัตกิ ารศกึ ษา 2 ประวตั ิการรบั ราชการ 9 ความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรคใ์ นการปฏิบตั วิ ิชาชีพ การครองตน ครองคน ครองงาน 19 การครองตน 33 การครองคน 43 การครองงาน ลักษณะ พฤตกิ รรม การปฏิบตั ิตน 50 เสยี สละ ทุ่มเท เอาใจใสอ่ บรมสัง่ สอนศิษย์ 69 รักศษิ ยเ์ หมือนลูกหลานตนเอง 84 หว่ งใย ช่วยเหลือศิษย์สม่าเสมอ 88 ปรารถนาดตี อ่ ศิษย์ 94 95 รักศษิ ย์เท่าเทียมกนั 100 ดูแลเอาใจใส่ศษิ ยท์ ม่ี ีปัญหาเปน็ พเิ ศษ 103 ทา่ ตนเปน็ ตวั อยา่ งท่ดี ใี ห้แกศ่ ิษย์ 108 ตงั้ ใจถ่ายทอดความรโู้ ดยไมป่ ดิ บงั 110 ถ่ายทอดสิง่ ที่ดงี ามให้แก่ศิษย์ 114 แสวงหาความรูใ้ หม่มาให้ศิษย์อยเู่ สมอ 115 เตรียมการสอนเปน็ อยา่ งดีเป็นประจ่า 116 ใชว้ ธิ ีการสอนทเ่ี หมาะสม 121 สอนโดยให้เดก็ เรียนรูโ้ ดยการปฏิบตั จิ ริง 125 มีจิตวิญญาณความเป็นครู 130 ยดึ หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งในการด่ารงชีวติ 131 ไม่ยงุ่ เกยี่ วกับการพนนั อบายมขุ สงิ่ เสพตดิ ทง้ั ปวง 133 ไมก่ ่อหน้ีสินจนครอบครัวเดือดรอ้ น 147 ไมเ่ บียดบงั เวลาเวลาสอนเพื่อประโยชนส์ ่วนตน 148 แต่งกายเหมาะสมกบั ความเป็นครู ด่ารงตนเหมาะสมกบั ความเป็นครู
ตอนท่ี 3 ลักษณะ พฤตกิ รรม การปฏบิ ตั ิตน (ตอ่ ) 149 ตอนที่ 4 ยินดีเสยี สละเพื่อสว่ นรวม 150 รักและภูมิใจกบั การเป็นครโู รงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 158 มีจติ สาธารณะ 159 เล่ือมใสการปกครองในระบอบประชาธิปไตยท่มี พี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ พระประมขุ 160 เคารพ ศรทั ธา เช่อื มั่นในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ภาคผนวก เกียรติบัตรยอกยอ่ ง คา่ สงั่ ปฏิบตั หิ น้าท่ี แบบประเมินครูดศี รรี าชประชานเุ คราะห์ แบบสรุปคะแนนการประเมนิ ครูดีศรรี าชประชานเุ คราะห์
ตอนที่ 1 ประวัติสว่ นตวั .... 1 1. ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล นางสาวพนดิ า นอ้ ยศรี ชอื่ -นามสกลุ 48 ปี อายุ ครู ประเภทผปู้ ระกอบวชิ าชพี 16 กรกฎาคม 2544 บรรจเุ ขา้ รบั ราชการเมอื่ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จงั หวัดลพบรุ ี โรงเรยี นทบี่ รรจเุ ขา้ รบั ราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๓ จังหวดั ลพบรุ ี โรงเรยี นทที่ างานปจั จบุ นั 17 ปี ระยะเวลาทที่ างาน ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ปจั จบุ นั สอนระดบั 2. ประวตั กิ ารศกึ ษา ปที จี่ บ สถาบนั วฒุ กิ ารศกึ ษา การศกึ ษา ครุศาสตร์มหาบณั ฑิต 2549 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เทพสตรี สาขาวิชาบริหารการศึกษา จงั หวดั ลพบรุ ี วิทยาศาสตร์บณั ฑติ (วทบ.) เอกวิทยาการคอมพวิ เตอร์ 2539 สถาบนั ราชภัฎเทพสตรี ครศุ าสตรบ์ ณั ฑติ (คบ.) จังหวดั ลพบรุ ี เอกคอมพวิ เตอร์ศกึ ษา อนุปริญญาวิทยาศาสตร์ (อวท.) 2538 สถาบนั ราชภฎั เทพสตรี เอกวทิ ยาศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรป์ ระยุกต์ จังหวัดลพบรุ ี ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชน้ั สูง (ปวส.) ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) 2536 วทิ ยาลัยครูเทพสตรี มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สายวิทย-์ คณิต จังหวดั ลพบรุ ี มธั ยมศึกษาตอนต้น ประถมศกึ ษา 2533 โรงเรยี นบรหิ ารธุรกิจ จังหวัดสิงหบ์ รุ ี 2532 โรงเรียนพณิชยการสงิ หบ์ รุ ี 2531 โรงเรียนสิงห์บรุ ี จงั หวัดสงิ ห์บุรี 2528 โรงเรยี นสงิ ห์บรุ ี จงั หวัดสงิ หบ์ ุรี 2525 โรงเรยี นวัดพรหมสาคร จงั หวดั สงิ ห์บรุ ี
ตอนที่ 1 ประวตั สิ ่วนตัว.... 2 3. ประวตั กิ ารรบั ราชการ 3.1 3.2 3.3 3.4 ปที เี่ รม่ิ เขา้ สถานภาพ/ตาแหนง่ เงนิ เดอื น งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ปที ่ี 1-2544 อาจารย์ 1 ระดบั 3 6,360 1. ครูผสู้ อนวิชาคอมพวิ เตอร์ ขา้ ราชการ 2. ครปู ระจาชั้น 3. หวั หนา้ งานคอมพวิ เตอร์ 4. ครูหอนนอนดแู ลนกั เรยี นประจา ปีท่ี 2-2545 อาจารย์ 1 ระดบั 3 7,040 1. ครผู สู้ อนวชิ าคอมพิวเตอร์ ข้าราชการ 2. ครปู ระจาชน้ั 3. หัวหนา้ งานคอมพิวเตอร์ 4. ครูหอนนอนดแู ลนกั เรียนประจา 5. หวั หนา้ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 6. หัวหนา้ งานการเงิน ปีท่ี 3-2546 อาจารย์ 1 ระดบั 4 7,540 1. ครูผสู้ อนวชิ าคอมพิวเตอร์ ขา้ ราชการ 2. ครูประจาชน้ั 3. หวั หนา้ งานคอมพวิ เตอร์ 4. ครูหอนนอนดแู ลนกั เรยี นประจา 5. หัวหนา้ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 6. หัวหนา้ ระดบั ปวช. 7. หวั หนา้ งานการเงิน ปที ่ี 4-2547 ครู คศ.1 9,320 1. หัวหนา้ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ข้าราชการ 2. หวั หนา้ ระดับ ปวช. 3. หวั หนา้ งานการเงิน 4. หวั หนา้ งานคอมพิวเตอร์ 5. รบั ผดิ ชอบการจัดตงั้ คาขอ งบประมาณ 6. ครผู สู้ อนวิชาคอมพวิ เตอร์ 7. ครปู ระจาชั้น 8. ครูหอนนอนดูแลนกั เรยี นประจา
ตอนที่ 1 ประวัตสิ ่วนตัว.... 3 3.1 3.2 3.3 3.4 ปที เี่ รมิ่ เขา้ สถานภาพ/ตาแหนง่ เงนิ เดอื น งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ปีที่ 5-2548 ครู คศ.1 10,910 1. หวั หนา้ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ปีที่ 6-2549 ขา้ ราชการ 2. หวั หนา้ ระดับ ปวช. 3. หัวหนา้ งานการเงนิ ปที ี่ 7-2550 4. หัวหนา้ งานคอมพิวเตอร์ 5. รับผิดชอบการจดั ตั้งคาขอ งบประมาณ 6. ครผู ้สู อนวชิ าคอมพิวเตอร์ 7. ครปู ระจาช้นั 8. ครหู อนนอนดแู ลนกั เรยี นประจา 9. งานพธิ กี ร ครู คศ.1 11,750 1. หัวหนา้ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ข้าราชการ 2. หัวหนา้ ระดบั ปวช. 3. หวั หนา้ งานการเงนิ 4. หัวหนา้ งานคอมพวิ เตอร์ 5. รับผดิ ชอบการจัดตง้ั คาขอ งบประมาณ 6. ครูผู้สอนวชิ าคอมพิวเตอร์ 7. ครูประจาชัน้ 8. ครหู อนนอนดูแลนกั เรยี นประจา 9. งานพิธกี ร ครู คศ.1 13,610 1. หวั หนา้ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ขา้ ราชการ 2. หัวหนา้ ระดบั ปวช. 3. หวั หนา้ งานการเงิน 4. หัวหนา้ งานคอมพิวเตอร์ 5. รบั ผิดชอบการจดั ตั้งคาขอ งบประมาณ 6. ครผู สู้ อนวชิ าคอมพิวเตอร์ 7. ครปู ระจาชน้ั 8. ครหู อนนอนดูแลนกั เรยี นประจา 9. งานพธิ กี ร
ตอนที่ 1 ประวัติส่วนตัว.... 4 3.1 3.2 3.3 3.4 ปที เ่ี รมิ่ เขา้ สถานภาพ/ตาแหนง่ เงนิ เดอื น งานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ปที ่ี 8-2551 ครู คศ.1 14,690 1. หัวหนา้ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ปีที่ 9-2552 ข้าราชการ 2. หัวหนา้ ระดับ ปวช. 3. หวั หนา้ งานการเงิน ปีท่ี 10-2553 4. หวั หนา้ งานคอมพวิ เตอร์ 5. รบั ผิดชอบการจัดตัง้ คาขอ งบประมาณ 6. ครูผสู้ อนวิชาคอมพิวเตอร์ 7. ครูประจาช้นั 8. ครหู อนนอนดแู ลนกั เรียนประจา 9. งานพธิ กี ร ครู คศ.1 16,280 1. หวั หนา้ ระดบั ปวช. ขา้ ราชการ 2. หวั หนา้ งานการเงิน 3. หัวหนา้ งานคอมพิวเตอร์ 4. หวั หนา้ เวรประจาวนั 5. หัวหนา้ เวรชดุ พฒั นา 6. รับผิดชอบการจดั ตัง้ คาขอ งบประมาณ 7. ครูผู้สอนวิชาคอมพิวเตอร์ 8. ครูประจาชน้ั 9. ครูหอนนอนดแู ลนกั เรยี นประจา 10. งานพิธกี ร ครู คศ.2 17,590 1. หัวหนา้ ระดับ ปวช. ข้าราชการ 2. หวั หนา้ งานการเงนิ 3. หวั หนา้ งานคอมพิวเตอร์ 4. หัวหนา้ เวรประจาวนั 5. หัวหนา้ เวรชุดพัฒนา 6. รบั ผิดชอบการจดั ตงั้ คาขอ งบประมาณ 7. คณะกรรมการสถานศึกษา 8. ครูผู้สอนวชิ าคอมพวิ เตอร์
ตอนท่ี 1 ประวตั ิส่วนตัว.... 5 3.1 3.2 3.3 3.4 ปที เี่ รม่ิ เขา้ สถานภาพ/ตาแหนง่ เงนิ เดอื น งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ปีที่ 11-2554 9. ครปู ระจาช้นั ปที ่ี 12-2555 10. ครหู อนนอนดูแลนกั เรยี นประจา 11. งานพธิ กี ร ครู คศ.2 20,470 1. หัวหนา้ ระดับ ปวช. ข้าราชการ 2. หวั หนา้ งานการเงนิ 3. หัวหนา้ งานคอมพิวเตอร์ 4. หวั หนา้ เวรประจาวัน 5. หัวหนา้ เวรชดุ พฒั นา 6. รับผิดชอบการจัดตง้ั คาขอ งบประมาณ 7. คณะกรรมการสถานศกึ ษา 8. ครูผสู้ อนวชิ าคอมพิวเตอร์ 9. ครูประจาชัน้ 10. ครหู อนนอนดูแลนกั เรียนประจา 11. งานพธิ กี ร 12. วิทยากรให้ความรเู้ รื่องเศรษฐกิจ พอเพยี ง ครู คศ.2 23,450 1. หัวหนา้ ระดบั ปวช. ขา้ ราชการ 2. หวั หนา้ งานการเงนิ 3. หัวหนา้ งานคอมพวิ เตอร์ 4. หวั หนา้ เวรประจาวัน 5. หวั หนา้ เวรชดุ พฒั นา 6. รบั ผิดชอบการจัดตง้ั คาขอ งบประมาณ 7. คณะกรรมการสถานศกึ ษา 8. ครผู สู้ อนวชิ าคอมพวิ เตอร์ 9. ครปู ระจาช้นั 10. ครูหอนนอนดูแลนกั เรยี นประจา 11. งานพธิ กี ร
ตอนที่ 1 ประวัตสิ ว่ นตัว.... 6 3.1 3.2 3.3 3.4 ปที เ่ี รมิ่ เขา้ สถานภาพ/ตาแหนง่ เงนิ เดอื น งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ปที ่ี 13-2556 12. งานสง่ เสริมอาชีพอสิ ระเพอ่ื การมี ปีท่ี 14-2557 รายได้ระหวา่ งเรยี น ครู คศ.2 25,930 1. หัวหนา้ ระดบั ปวช. ขา้ ราชการ 2. หวั หนา้ งานคอมพวิ เตอร์ 3. หัวหนา้ เวรประจาวนั 4. หวั หนา้ เวรชดุ พัฒนา 5. รบั ผดิ ชอบการจดั ตงั้ คาขอ งบประมาณ 6. คณะกรรมการสถานศกึ ษา 7. ครูผู้สอนวชิ าคอมพวิ เตอร์ 8. ครปู ระจาชน้ั 9. ครูหอนนอนดูแลนกั เรียนประจา 10. งานพธิ กี ร 11. งานสง่ เสริมอาชพี อสิ ระเพอ่ื การมี รายได้ระหวา่ งเรียน ครู คศ.2 28,590 1. หัวหนา้ ระดบั ปวช. ขา้ ราชการ 2. หวั หนา้ งานคอมพวิ เตอร์ 3. หวั หนา้ เวรประจาวัน 4. หวั หนา้ เวรชดุ พฒั นา 5. รับผดิ ชอบการจดั ต้ังคาขอ งบประมาณ 6. คณะกรรมการสถานศกึ ษา 7. ครผู สู้ อนวชิ าคอมพวิ เตอร์ 8. ครูประจาช้นั 9. ครหู อนนอนดแู ลนกั เรยี นประจา 10. งานพธิ กี ร 11. งานส่งเสรมิ อาชพี อสิ ระเพอื่ การมี รายไดร้ ะหวา่ งเรียน
ตอนท่ี 1 ประวัตสิ ่วนตวั .... 7 3.1 3.2 3.3 3.4 ปที เ่ี รม่ิ เขา้ สถานภาพ/ตาแหนง่ เงนิ เดอื น งานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ปีท่ี 15-2558 ครู คศ.2 31,440 1. หวั หนา้ ระดบั ปวช. ปที ี่ 16-2559 ขา้ ราชการ 2. หวั หนา้ งานคอมพวิ เตอร์ 3. หวั หนา้ เวรประจาวนั 4. หัวหนา้ เวรชดุ พัฒนา 5. รบั ผดิ ชอบการจัดต้ังคาขอ งบประมาณ 6. คณะกรรมการสถานศกึ ษา 7. ครผู สู้ อนวชิ าคอมพิวเตอร์ 8. ครูประจาชน้ั 9. ครูหอนนอนดแู ลนกั เรียนประจา 10. งานพิธกี ร 11. งานสง่ เสริมอาชีพอสิ ระเพอ่ื การมี รายได้ระหวา่ งเรยี น 12. งานอาชีพกลุ่มเครือขา่ ยภาคกลาง ครู คศ.2 33,260 1. หวั หนา้ ระดับ ปวช. ขา้ ราชการ 2. หัวหนา้ งานคอมพิวเตอร์ 3. หัวหนา้ เวรประจาวนั 4. หวั หนา้ เวรชุดพัฒนา 5. รบั ผิดชอบการจดั ตั้งคาขอ งบประมาณ 6. ครูผ้สู อนวชิ าคอมพิวเตอร์ 7. ครูประจาช้นั 8. ครหู อนนอนดแู ลนกั เรียนประจา 9. งานพธิ กี ร 10. งานสง่ เสริมอาชพี อสิ ระเพอื่ การมี รายได้ระหวา่ งเรยี น 11. งานอาชีพกลุ่มเครือขา่ ยภาคกลาง
ตอนท่ี 1 ประวตั ิสว่ นตวั .... 8 3.1 3.2 3.3 3.4 ปที เี่ รม่ิ เขา้ สถานภาพ/ตาแหนง่ เงนิ เดอื น งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ปที ่ี 17-2560 ครู คศ.2 35,050 1. หวั หนา้ ระดบั ปวช. ข้าราชการ 2. หัวหนา้ งานคอมพิวเตอร์ 3. หัวหนา้ เวรประจาวัน 4. หวั หนา้ เวรชดุ พัฒนา 5. รบั ผิดชอบการจัดต้งั คาขอ งบประมาณ 6. หัวหนา้ งานครหู อนนอนดแู ล นักเรยี นประจา 7. ครูผสู้ อนวชิ าคอมพวิ เตอร์ 8. ครปู ระจาชั้น 9. งานพธิ กี ร 10. งานสง่ เสรมิ อาชพี อสิ ระเพอื่ การมี รายไดร้ ะหวา่ งเรียน 11. งานอาชีพกล่มุ เครอื ขา่ ยภาคกลาง
ตอนท่ี 1 ประวัตสิ ว่ นตัว 9 4. ความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรคใ์ นการปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี ปที เ่ี รม่ิ เขา้ ความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ ความสาเรจ็ หรอื การยกยอ่ งทไี่ ดร้ บั ในการปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี ปีที่ 1-2544 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๓ 1. เกยี รตบิ ตั รผคู้ วบคมุ และฝึกสอน จงั หวัดลพบรุ ี เป็นโรงเรยี นที่จัด นักเรยี นเข้าแข่งขนั การวาดภาพ Paint การศึกษาสาหรบั เดก็ ดอ้ ยโอกาสทาง Brush/Photoshop ได้รับรางวัลชนะเลศิ การศกึ ษา โดยเฉพาะเดก็ ท่ีได้รับ ในการแขง่ ขันทักษะวชิ าการและอาชพี ผลกระทบจากโรคเอดส์ ข้าพเจา้ ใช้การ จังหวัดลพบรุ ี เรียนคอมพิวเตอรเ์ พ่ือสรา้ งให้เดก็ เหน็ 2. เกยี รตบิ ตั รผคู้ วบคมุ และฝึกสอน คณุ คา่ ในตวั เองจนไดร้ บั รางวลั จากการ นักเรยี นเข้าแข่งขันการใช้โปรแกรม แขง่ ขนั และเป็นทย่ี อมรับของสงั คม Microsoft Access ไดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ การแขง่ ขนั ทักษะวชิ าการและอาชพี จงั หวดั ลพบรุ ี 3. เกยี รตบิ ตั รผคู้ วบคุมและฝึกสอน นักเรยี นเข้าแข่งขันการใช้โปรแกรม Microsoft Excel ได้รับรางวัลชนะเลิศการ แขง่ ขนั ทกั ษะวิชาการและอาชีพ จงั หวดั ลพบรุ ี 4. เกยี รตบิ ัตรผคู้ วบคมุ และฝึกสอน นักเรยี นเขา้ แขง่ ขันการใช้โปรแกรม Paint ได้รับรางวลั เหรยี ญทอง งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรยี นคร้งั ที่ 54 ภาค กลางและภาคตะวันออก 5. เป็นผู้ขยนั หมน่ั เพยี รในการปฏบิ ตั ิ หนา้ ที่ ท้ังดา้ นการเอาใจใส่ในการจดั การศกึ ษา สุขภาพอนามยั และอบรม ความประพฤตนิ กั เรยี นจนเกดิ ผลดอี ยา่ ง ต่อเนือ่ ง
ตอนท่ี 1 ประวัติส่วนตัว 10 ปที เี่ รม่ิ เขา้ ความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ ความสาเรจ็ หรอื การยกยอ่ งทไ่ี ดร้ บั ในการปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี ปที ่ี 2-2545 นาวิชาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเคร่ืองมือ 1. เกียรตบิ ตั รยกย่องวา่ เป็นผ้จู ัด ในการพัฒนาศักยภาพนักเรียนและ กจิ กรรมการเรยี นการสอนดเี ด่น เข้าถึงตัวนักเรียน เพราะคอมพิวเตอร์ 2. เกยี รตบิ ัตรยกยอ่ งให้เปน็ บคุ คลแกน เปน็ สงิ่ ที่นักเรียนให้ความสนใจ จึงทาให้ นาปฏริ ปู การเรยี น ครูกับนักเรียนได้มีโอกาสมีเรียนรู้ซ่ึงกัน 3. กรรมการงานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น และกันเพราะโรงเรียนราชประชานุ คร้งั ท่ี 54 ภาคกลางและภาคตะวนั ออก เคราะห์ ๓๓ จังหวัดลพบุรี เป็นโรงเรียน ในการตัดสิน การแขง่ ขนั Excel ม.ปลาย ประจา การ ดูแ ลนักเรีย นถือว่า มี 4. เป็นครูผูฝ้ กึ สอนการใชโ้ ปรแกรม ความสาคัญ ครูต้องทาหน้าที่แทนพ่อ Paint ระดับ ม. ปลาย แม่ ให้ความรกั ความอบอนุ่ ชดเชยสิง่ ที่ ขาดหายไปสาหรับเด็กๆ โดยเฉพาะเด็ก ที่ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์ เพราะ ข้าพเจ้าจะใช้เวลาหลังเลิกเรียนทุกวัน เปิดโอกาสให้นักเรียนมาเรยี นรเู้ พ่ิมเติม เก่ียวกับวิชาคอมพิวเตอร์ จนทาให้ นักเรียนลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ได้ ปีท่ี 3-2546 ผลักดันให้มีการเปิดหลักสูตร ปวช. 1. เกยี รตบิ ัตรยกย่องให้เป็นบคุ ลากร สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจเพราะจะ ตน้ แบบปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรู้ เป็นประโยชน์กับนักเรียนเน่ืองจาก นกั เรียนส่วนใหญ่ทม่ี าเรียนจะขาดทนุ ใน การ ศึก ษา ต่อ ก ารท างานจึงเป็น จุดมุ่งหมายแรก ในระยะเวลาดังกล่าว คอมพิวเตอร์เป็นสาขาท่ีหางานทาได้ ง่าย โดยเฉพาะนักเรียนที่ติดเช้ือเอดส์ เม่ือจบไปแล้วตลาดแรงงานบางแห่งไม่ ยอมรับ อาชีพบางอยา่ งก็ไม่สามารถทา ได้ คอมพิวเตอร์เป็นวิชาที่ทางานอยู่กับ อุปกรณ์ ไมเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั คนมากนกั และ สามารถทาเป็นอาชพี อสิ ระได้
ตอนท่ี 1 ประวัตสิ ่วนตวั 11 ปที เี่ รม่ิ เขา้ ความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ ความสาเรจ็ หรอื การยกยอ่ งทไ่ี ดร้ บั ในการปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี ปที ี่ 4-2547 ใช้กิจกรรมการทาขนมเข้ามาแก้ไข 1. ได้รับการคดั เลอื กเปน็ ครดู ใี นดวงใจ ปัญหาการขาดความสามัคคี การเห็น คุณค่าของเวลา คุณค่าของเงิน และฝึก ทักษะการทางานที่เป็น การสร้างภาวะ ผู้นา ผ้ตู าม ใหก้ บั นักเรยี น ปีท่ี 5-2548 จัดกิจกรรมคอมพิวเตอร์จากพ่ีเพื่อน้อง 1. ได้รับรางวัลกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ราชประชา ๓๓ โดยให้นักเรียนรุ่นพ่ีใช้ ประสบความสาเร็จเปน็ ทปี่ ระจกั ษ์ ระดบั ส อ น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ใ ห้ กั บ น้ อ ง ๆ คณุ ภาพเหรยี ญทองแดง จากสานกั งาน โดยเฉพาะการใช้ CAI ในการพัฒนา คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ทักษะการคดิ ใหก้ บั น้องๆ ระดับประถม 2. ได้รบั รางวลั ครดู ีในดวงใจ ของ อีกท้ังเป็นสร้างการเป็นผู้รู้จักให้ รู้จัก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั ดแู ลคนอืน่ พื้นฐาน ปีท่ี 6-2549 จัดกิจกรรมปิดทองหลังพระ สร้างให้ 1. ได้รับการยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติผทู้ า นักเรียนมีจิตสานึกที่ดีในการทาความดี คุณประโยชนเ์ พอ่ื แผน่ ดนิ ประจาปี รักในการทาความดี ทาความดีเพื่อ การศึกษา 2549 ดา้ นการศกึ ษา จาก ความดี และจัดทาแผนการเรียนรู้ใน หนงั สือพมิ พ์สอ่ื สารธุรกิจ การนาคุณธรรมนาความรู้ 2. แผนการจดั การเรียนรู้ ดีเยยี่ ม 3. ผลงานนกั เรียน ดีเยย่ี ม 4. รบั เลอื กเป็นขา้ ราชการครดู เี ดน่ ระดบั กลุ่มโรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ ปีที่ 7-2550 จัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมการแสดงออก 1. สาเรจ็ การศกึ ษาระดับปรญิ ญาโท ได้คุณธรรม เพ่ือให้นักเรียนเรียนรู้การ เป็นผู้ให้ ปีท่ี 8-2551 มกี ารจัดการเรยี นการสอนในสายอาชีพ 1. ครูผู้สอนอาชวี ศกึ ษาดเี ดน่ โดยร่วมมือกับวิทยาลัยอาชีวศึกษา ลพบุรี ปีที่ 9-2552 มีการนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มาแก้ไข 1. ครูผ้ฝู กึ สอนการทาหนงั สอื ปัญหาการสิ้นเปลืองกระดาษในการทา อเิ ลค็ ทรอนกิ ส์ รางวลั เหรยี ญทอง รายงานของนักเรยี น ระดบั ประเทศ
ตอนที่ 1 ประวตั สิ ว่ นตวั 12 ปที เ่ี รมิ่ เขา้ ความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ ความสาเรจ็ หรอื การยกยอ่ งทไ่ี ดร้ บั ในการปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี ปที ่ี 10- ก า ร ใ ช้ กิ จ ก ร ร ม ก ลุ่ ม เ พื่ อ ส ร้ า ง 1. นกั เรียนในบา้ นพกั ท่ีดแู ลไดร้ ับรางวัล 2553 ความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างนักเรียน ลด ชนะเลศิ อนั ดบั 1 การประกวดระเบียบ ปัญหาความขัดแย้ง การทะเลาะ ฝึก แถว ในโครงการพฒั นาศกั ยภาพ ความมีระเบียบวินัย และสร้างภาวะ นกั เรยี น ผนู้ าใหก้ ับนกั เรยี น ปที ี่ 11- ใ ห้ วิ ธี ก า ร ดู แ ล นั ก เ รี ย น แ บ บ 1. ได้รบั คัดเลอื กเปน็ ครูดใี นดวงใจ 2554 ความสมั พนั ธแ์ บบ “ครอบครวั ” ปีที่ 12- การทาหลกั สตู รวชิ าชีพสาหรบั โรงเรียน 1. คณะทางานการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร 2555 ศกึ ษาสงเคราะห์ “การทาหลกั สตู รวชิ าชพี สาหรบั โรงเรยี น การอบรมคอมพวิ เตอร์เพอื่ งานอาชพี ศกึ ษาสงเคราะห์” การทาโครงงานอาชีพ 2. รางวลั ครูผสู้ อนนกั เรยี นการทา การใช้ ICT สาหรบั ครู โครงงานอาชพี จนได้รบั รางวลั เหรยี ญ ทอง ระดบั ชาติ 3. ได้รับการคัดเลอื กไปอบรมการใช้ ICT สาหรับครทู ่ีประเทศสงิ คโปร์ ปีที่ 13- จดั กจิ กรรมเดก็ ดี ดูหนงั ปลกู ฝัง 1. สถานศกึ ษาท่ีมวี ิธปี ฏบิ ตั ิทีเ่ ป็นเลศิ ใน 2556 คุณธรรม เพื่อใชใ้ นการพฒั นา การดาเนนิ งานโครงการเครอื ข่าย สขุ ภาพจติ นกั เรียน โรงเรยี นสขุ ภาวะ ปที ี่ 14- การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 1. รางวลั “ยอดครผู ู้มอี ุดมการณ์” 2557 พอเพียงมาใช้ในการจัดการเรียนการ 2. รางวัล “ครดู ี ศรรี าชประชา ๓๓” สอน 3. รางวลั ครูผู้ฝกึ สอนนกั เรยี นการแขง่ ขนั การสรา้ งหนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ระดบั เหรยี ญเงนิ 4. วิทยากร “อบรมวทิ ยากรแกนนา ศนู ย์ การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง”
ตอนที่ 1 ประวตั สิ ว่ นตวั 13 ปที เี่ รม่ิ เขา้ ความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ ความสาเรจ็ หรอื การยกยอ่ งทไ่ี ดร้ บั ในการปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี ปีท่ี 15- นาความรู้ด้านวชิ าการในหอ้ งเรยี นมา 1. เปน็ ตวั แทนโรงเรยี นร่วมสาธิตและจัด 2558 เปลยี่ นเปน็ งานอาชพี จาหนา่ ยผลผลิตนกั เรยี นในงาน ศิลปหัตถกรรมนกั เรยี นระดบั ชาติ 2. ครผู ู้ฝึกสอนนักเรยี นในการแขง่ ขัน ทาอาหารคาวจานเดยี ว และอาหาร หวาน จนไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทอง ปีที่ 16- นากิจกรรมดา้ นงานอาชีพมาใชใ้ นการ 1. ไดร้ บั พระราชทาน 2559 ปรับพฤติกรรมนักเรยี น เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์ “ทวีติยาภรณ์ มงกุฎไทย” 2. ไดร้ บั การเชดิ ชูเกยี รติ ประเภท ข้าราชการครดู เี ดน่ 3. ไดร้ บั รางวลั ครูผ้สู อนดเี ดน่ 4. วิทยากรการอบรมตามโครงการ พัฒนาศักยภาพข้าราชการครู ปที ี่ 17- สง่ เสริมให้นกั เรยี นพัฒนางานอาชพี โดย 1. ผู้รับผดิ ชอบในการพฒั นางานอาชพี 2560 การใช้เทคโนโลยีเพ่ือส่งเสริมการขาย กล่มุ เครอื ขา่ ยสง่ เสริมประสิทธภิ าพภาค เปน็ แบบฝึกปฏิบตั จิ รงิ กลาง
ตอนที่ 1 ประวตั สิ ่วนตวั .... 14 5. การพฒั นาตนเองในดา้ นวชิ าชพี ปที เี่ รมิ่ เขา้ การศกึ ษา/ฝกึ อบรม/ประชมุ สมั มนาฯลฯ คณุ วฒุ /ิ ใบรบั รองผล ปที ี่ 1-2544 1. เข้ารับการอบรมการผลติ ส่อื คอมพวิ เตอร์บนระบบ เกยี รตบิ ตั ร เครอื ข่ายและการพฒั นาครเู ครอื ข่ายวิชา คอมพวิ เตอร์ เกียรตบิ ัตร 2. เข้ารว่ มการเรียนร้แู ละรว่ มสารพลังในการปฏริ ูป การศกึ ษา เกยี รติบตั ร 3. ผ่านการทดสอบความรู้ เรือ่ งการปฏริ ูปการศกึ ษา ปีที่ 2-2545 1. ประชุมปฏิบัตกิ ารการจัดทา GPA&PR ปีการศกึ ษา เกยี รตบิ ัตร 2544 และการพฒั นาผลิตสื่อประกอบการจดั ทาและ ตรวจสอบการใชป้ ระโยชนจ์ ากข้อมลู นกั เรียน สงั กดั กรมสามญั ศกึ ษา จงั หวดั ลพบุรี 2. การวางแผนกลยทุ ธแ์ ละการบริหารงบประมาณแบบ เกียรติบัตร มงุ่ เน้นผลงาน (PBB) 3. ครกู ับการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาประยกุ ต์ใช้กบั เกยี รติบัตร การศกึ ษาและบทบาทของครยู ุคปฏริ ูปการศกึ ษา 4. การกาหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 เกียรติบัตร ตามระเบยี บคณะกรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ 5. การจดั ทาหลกั สตู รสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน เกียรติบตั ร พุทธศกั ราช 2544 6. บคุ ลากรเพอื่ การเตรยี มความพรอ้ มการใช้หลักสตู ร เกียรตบิ ตั ร สถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 7. การพัฒนาบคุ ลากรการเพมิ่ ประสิทธิภาพระบบการ เกยี รตบิ ัตร ดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นและการพฒั นานกั เรยี นไปสู่ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องโรงเรยี น 8. การจัดการเรียนรู้การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เกยี รตบิ ัตร 9. การพฒั นาครูผูป้ ฏิบตั หิ นา้ ท่กี ารเงนิ และพัสดุ เกียรติบตั ร โรงเรยี นสังกดั กรมสามญั ศึกษา จงั หวัดลพบรุ ี 10. การตกแตง่ ภาพบนโฮมเพจ เกียรตบิ ตั ร 11. การพฒั นาบคุ ลากรจดั ทาส่อื คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน เกียรตบิ ัตร (CAI)
ตอนที่ 1 ประวัตสิ ่วนตวั .... 15 ปที เี่ รมิ่ เขา้ การศกึ ษา/ฝกึ อบรม/ประชมุ สมั มนาฯลฯ คณุ วฒุ /ิ ใบรบั รองผล ปีที่ 3-2546 1. การบรหิ ารการศึกษาตามพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษา เกยี รตบิ ตั ร ปีที่ 4-2547 ภาคบังคับ พ.ศ. 2545 2. การเป็นวทิ ยากรการปรบั กระบวนทัศนห์ ลกั สตู ร เกียรตบิ ตั ร การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 3. การจดั วางระบบควบคุมภายใน ระเบยี บ เกยี รติบตั ร คณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดินวา่ ดว้ ย การกาหนด มาตรฐานการควบคมุ ภายใน 4. แนวโนม้ การจดั การศกึ ษาขององคก์ รปกครองส่วน เกียรติบัตร ทอ้ งถิ่น 5. การจัดทาแผนการเรยี นรมู้ ่งุ เน้นสมรรถนะอาชพี เกียรติบัตร เทคนคิ การสอนงาน การวดั และประเมินผลในระบบ ทวิภาคี 6. การพัฒนาระบบงานทะเบยี นและวดั ผลดว้ ย เกยี รติบตั ร เทคโนโลยีสารสนเทศโปรแกรมศธ.01 (Term 2544) หลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2544 7. การจัดทาระบบการตดิ ตามประเมินผลและรายงาน เกยี รตบิ ัตร ผลการดาเนินงาน (Hurdle ท่ี 5) ตามระบบ งบประมาณแบบม่งุ เนน้ ผลงานตามยทุ ธศาสตร์ (SPBB) ภายใตก้ รอบของ Balanced Scoecard:BSC 8. การพัฒนาหอ้ งสมุดใหเ้ ปน็ ห้องสมดุ สมบรู ณ์แบบ เกยี รตบิ ัตร 9. การใช้ชุดศกึ ษาดว้ ยตนเอง : การแนะแนวกับ เกียรติบัตร การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน 1. การใช้ระบบ E-Office เกียรตบิ ตั ร 2. การจัดการเรยี นรใู้ นโรงเรยี นวถิ พี ุทธ เกียรตบิ ัตร 3. การบรหิ ารงานการเงนิ พสั ดุ และควบคมุ ภายใน เกียรตบิ ตั ร 4. การตดิ ต้ังระบบเครือขา่ ยโดยใช้โปรแกรมลีนุกสแ์ ละ เกยี รติบตั ร การเขียนโปรแกรมควบคมุ หนุ่ ยนต์
ตอนที่ 1 ประวัตสิ ว่ นตวั .... 16 ปที เ่ี รม่ิ เขา้ การศกึ ษา/ฝกึ อบรม/ประชมุ สมั มนาฯลฯ คณุ วฒุ /ิ ใบรบั รองผล ปีท่ี 5-2548 ปีที่ 6-2549 1. หลักสูตรการบรู ณาการการมาตรฐานสู่การดารงชวี ติ เกียรตบิ ตั ร ปีท่ี 7-2550 อาชพี และเทคโนโลยี 2. การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาเชิงระบบ เกียรตบิ ัตร ปที ี่ 8-2551 3. การบรหิ ารงานการเงนิ พสั ดุ และควบคมุ ภายใน เกยี รตบิ ัตร ปที ่ี 9-2552 4. หลักสตู ร Web Programming เกยี รตบิ ัตร ปีที่ 10-2553 1. การเงิน การบญั ชแี ละพสั ดุ เกยี รติบัตร 2. การสรา้ งสอื่ การสอน เกียรตบิ ัตร 3. การทาวิจยั ควบคู่กับการทางาน เกียรติบัตร 1. พฒั นาบุคลากรเพอ่ื พฒั นาวชิ าชีพรองผบู้ รหิ าร เกยี รติบัตร สถานศกึ ษาและหวั หนา้ กลุ่มงานของกลุ่มสถานศกึ ษา ที่จัดการศึกษาสาหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาส กลุม่ ที่ 2 2. การขยายผลหลกั สตู รพฒั นาผูน้ าการเปล่ยี นแปลง เกยี รติบัตร เพอ่ื รองรบั การกระจายอานาจส่สู ถานศกึ ษา 3. การพัฒนาประสทิ ธภิ าพการตรวจสอบภายใน เกยี รตบิ ัตร 4. หลกั สตู รพฒั นาผูน้ าการเปลีย่ นแปลงเพอื่ รองรบั การ เกียรตบิ ัตร กระจายอานาจสาหรบั ผบู้ รหิ ารการศกึ ษาและ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา 5. การพัฒนาการสอน “อา่ น เขียน คิดวเิ คราะห์” เกียรตบิ ัตร 1. การใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรผ์ ลิตหนังสอื เกยี รตบิ ัตร อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 2. พฒั นาสมรรถนะวิชาชพี ครูกลุ่มธรรมรกั ษส์ ัมพนั ธส์ ู่ เกียรติบัตร คุณภาพนกั เรยี น 1. การจดั ทาหลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช เกยี รตบิ ตั ร 2550 สาหรบั โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ 1. การวิจยั เพ่ือพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาตาม เกยี รตบิ ตั ร หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 2. หลักสตู รบรู ณาการการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ เกยี รติบัตร เพอ่ื ยกระดับการเรยี นการสอน 3. การจัดการเรียนการสอนดว้ ยโครงงานอาชพี เกยี รตบิ ัตร
ตอนท่ี 1 ประวัติส่วนตวั .... 17 ปที เี่ รมิ่ เขา้ การศกึ ษา/ฝกึ อบรม/ประชมุ สมั มนาฯลฯ คณุ วฒุ /ิ ใบรบั รองผล ปที ่ี 11-2554 1. พฒั นาบุคลากรเพ่ือปฏริ ปู การศกึ ษาในทศวรรษที่ 2 เกียรติบัตร 2. New Model การจดั ทาและพัฒนาผลงานทาง เกียรตบิ ตั ร ปที ี่ 12-2555 ปีที่ 13-2556 วชิ าการ เชิงประจกั ษ์แนวใหม่ และแบบปกติ เพอื่ เกียรตบิ ัตร ปที ่ี 14-2557 พฒั นาการเรยี นร้ผู ้เู รยี น ปีท่ี 15-2558 3. พฒั นาแนวทางการดูแลนกั เรยี นประจาในโรงเรยี น เกียรตบิ ัตร ศกึ ษาสงเคราะห์ 4. พัฒนาครทู ้ังระบบ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ เกียรตบิ ัตร วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ระดบั เกียรติบตั ร มธั ยมศึกษาตอนปลาย 5. การสอนการเขียน:สอนเขยี นเรยี นสนุก เกียรติบตั ร 1. เข้ารบั การอบรมพฒั นาการสอนคอมพิวเตอร์ ณ ประเทศสิงคโปร์ เกียรติบัตร 2. อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารการพฒั นาหลกั สูตรวิชาชพี เกยี รติบัตร สาหรบั โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ 3. อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร คอมพวิ เตอร์ส่งู านอาชพี เกยี รติบตั ร 1. อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารการผลติ ส่ือและนวตั กรรมทาง เกยี รตบิ ตั ร การศึกษา เกียรติบัตร 2. อบรมพ้นื ฐานการใช้ Internet 3. นาเสนอผลงาน โครงงานเครอื ขา่ ยโรงเรยี นสขุ ภาวะ เกยี รตบิ ัตร 1. อบรมวิทยากรแกนนาศูนยก์ ารเรียนร้ปู รัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง เกียรติบัตร 2. อบรมโครงการพฒั นาการจัดทาข้อสอบดว้ ย เกียรตบิ ัตร โปรแกรม Adobe Captivate เกยี รตบิ ตั ร 3. อบรมการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ 4. อบรมพฒั นาคุณภาพดว้ ยระบบ e-Training เกยี รตบิ ัตร 1. คา่ ยแนะแนวสานฝนั การศึกษาต่อและการมงี านทา เกียรติบตั ร สาหรับเดก็ พกิ ารและเดก็ ดอ้ ยโอกาส 2. วิทยากรแกนนา หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. โครงการ เยาวชนราชประชา รคู้ ่า รคู้ ณุ ธรรม ระหวา่ งค่านิยม 12 ประการ
ตอนท่ี 1 ประวัตสิ ว่ นตัว.... 18 ปที เ่ี รม่ิ เขา้ การศกึ ษา/ฝกึ อบรม/ประชมุ สมั มนาฯลฯ คณุ วฒุ /ิ ใบรบั รองผล ปที ี่ 15-2558 4. ยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น เกยี รตบิ ตั ร ปที ี่ 16-2559 5. ผู้ดาเนินการคดั กรองตามหลกั สูตร “ผนู้ าการคดั เกยี รติบัตร เกียรติบัตร ปที ี่ 17-2560 กรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา” เกยี รติบัตร 6. พฒั นาประสทิ ธภิ าพการจดั การศึกษาเรยี นรว่ ม เกยี รตบิ ตั ร 1. อบรมพัฒนาศกั ยภาพข้าราชการครูและบคุ ลากร เกียรตบิ ัตร ทางการศกึ ษา เกยี รติบัตร เกยี รติบัตร 2. อบรมงานสวนพฤษศาสตร์โรงเรียน เกียรติบัตร 3. ประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื สรุปผลการดาเนินงานการ เกยี รติบัตร เกยี รตบิ ัตร จัดการเรยี นรสู้ ่เู ส้นทางงานอาชีพของเดก็ พกิ ารและ เดก็ ด้อยโอกาส เกียรตบิ ตั ร 4. อบรมตามโครงการสรา้ งเสรมิ จิตวิญญาณความเป็น เกยี รติบตั ร ครตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เกียรติบัตร 5. อบรมทาผลงานทางวชิ าการเพอื่ เล่ือนวทิ ยฐานะ ชานาญการพิเศษและเช่ยี วชาญ 1. อบรมพัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษเพือ่ ชีวติ และการ สื่อสาร 2. อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารนาผลการประเมินผลการวิจยั และสารสนเทศไปวางแผนพัฒนาการศกึ ษา 3. อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการจัดทาบัญชีและคิดต้นทุนธุรกจิ 4. อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการยกระดบั คุณภาพผเู้ รยี นด้วย นวตั กรรมบริหารจดั การเรยี นการสอนทีม่ ี ประสทิ ธิภาพ 5. อบรมโครงการเสริมสร้างการมวี นิ ยั ข้าราชการไทย 6. อบรมเพ่ือพฒั นาครูประจาการ หลกั สตู ร Python เบ้อื งตน้ ดว้ ยโปรแกรม PyCharm Edu 7. อบรมการบรหิ ารจดั การความเสย่ี งจากภยั พบิ ัตใิ น สถานศกึ ษา
ตอนที่ 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 19 หลกั ทใ่ี ชใ้ นการครองตนในฐานะทปี่ ระกอบอาชพี “คร”ู “ . . . . ค รู จ ะ ต้ อ ง ตั้ ง ใ จ ใ น ค ว า ม ดี อยู่ตลอดเวลา แม้จะเหนด็ เหน่ือยเท่าไรก็ จะต้องอดทน เพื่อพิสูจน์ว่าครูนี้เป็นที่ เคารพสักการะได้ แต่ถ้าครูไม่ตั้งตัวใน ศีลธรรม ถ้าครูไมท่ าตวั เปน็ ผู้ใหญ่ เดก็ จะ เคารพได้อย่างไร...” พระบรมราโชวาท พระราชทานแกค่ ณะครู โรงเรียนราษฎร์ท่ัวราชอาณาจักร ณ ศาลาผกาภิรมย์ 8 พฤษภาคม 2513
ตอนท่ี 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 20 การครองตน ประการท่ี 1 รจู้ กั เหตุ (ธมั มญั ญตา) เกดิ เป็นครูต้องรู้หลัก รจู้ กั เหตุ อยา่ ส่งเดชเร่อื งราวทุกเช้าค่า อยา่ ใฝต่ า่ จนเสียศกั ดิเ์ สยี หลักการ เหตอุ ะไร ผลอยา่ งไรใฝจ่ ดจา ดว้ ยความคดิ เชิงสรรค์สร้างอยา่ งแตกฉาน รหู้ น้าทีร่ ับผดิ ชอบประกอบกจิ ไมฟ่ ุง้ ซ่านเฝา้ แต่ฝันอันเลอื นราง ใช้เหตผุ ลดว้ ยปญั ญาวิชาการ การครองตน ประการที่ 2 รจู้ กั ผล (อตั ถญั ญตุ า) เกิดเป็นครู รดู้ ผี ลทไี่ ด้ ตามจดุ หมายในข้อใด อย่างไรบา้ ง ชว่ ยเสริมสรา้ งสนบั สนุนคุณความดี ผลจะดีเพราะทาดีมีทิศทาง จะดงึ ชักจนเสยี หายไรศ้ กั ดศ์ิ รี แต่ผลเสียถ้าทาไปไม่มหี ลกั เพราะผลท่ไี ดร้ บั น่าช่นื ใจ ฉะน้นั ครูพงึ ขยนั หมั่นทาดี การครองตน ประการท่ี 3 รจู้ กั ตน (อตั ตญั ญตุ า) เกิดเป็นครรู ้วู ่ามี \"ซ\"ี ต่างๆ บา้ งก็วางทีท่าว่าขา้ ใหญ่ ไม่ รจู้ กั ตน ดวี ่าข้าคอื ใคร จงึ หลงใหลแต่ซไี ซรแ้ ทบวายวาง เปน็ ครูดีต้องรู้บา้ งอยา่ งถ้วนถี่ วา่ เรานีม้ อี ะไรในตัวบ้าง แม้นพัฒนาท้ังกายจติ ถูกทิศทาง จะเสรมิ สร้างให้ยง่ิ ใหญ่ไมล่ ืมตน ขอขอบพระคณุ สวัสดี สุวรรณอกั ษร
ตอนที่ 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 21 การครองตน คือความสามารถในการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน นกั เรียน และผู้มาตดิ ตอ่ ราชการ การติดต่อสัมพันธ์กับบุคคลในหน่วยงานหรือระหว่างหน่วยงานน้ันเป็นส่ิงสาคัญยิ่งการ ปฏิบัติหน้าที่ราชการหรอื ปฏิบัตหิ น้าที่ใดๆ จะสง่ ผลให้สาเรจ็ โดยสมบรู ณแ์ ละมีผลอย่างต่อเนื่อง นั้นจะต้องทางานร่วมกันเป็นคณะหลายคน ซง่ึ งานแต่ละประเภทมีความยากง่ายไม่เหมือนกันจึง จาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องมีผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้านเป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษาหรือคณะทางาน ด้วยกัน ดังนั้นการทางานของข้าพเจ้าจงึ ให้เกียรติและเชื่อฟงั ผู้บังคับบัญชาทกุ คร้ังเพราะเปน็ การ รับทราบระดับนโยบายและให้เกียรติพร้อมท้ังเคารพความคิดเห็นของเพื่อร่วมงานด้วยเช่นกัน ทั้งน้ีเน่ืองจากคณะผู้ร่วมงานเป็นผู้ท่ีคอยให้ความช่วยเหลือข้าพเจ้าจนทาให้กิจกรรมทุกอย่าง สาเร็จตรงตามวัตถุประสงคแ์ ละทันกาหนดทกุ ครง้ั เป็นทีไ่ วว้ างใจตอ่ ผบู้ งั คับบัญชา มีบางคร้ังที่การทางานมีปัญหาและอุปสรรคจนทาให้กิจกรรมหรือการทางานไม่ ราบรื่นข้าพเจ้าก็อาศัยความมานะ เพียรพยายามและใช้สติควบคุมอารมณ์เพื่อพินิจวิเคราะห์ สถานการณ์ สภาพการณ์ และหาแนวทางแก้ปัญหาด้วยความสุขุมรอบครอบจนทาให้อุปสรรค ตา่ งๆ ผ่านพ้นไปด้วยดเี สมอมา ความสามารถในการร่วมทางานเป็นกลุ่มหรือหมู่คณะความสามารถจูงใจให้เกิดการ ยอมรับและให้ความร่วมมอื การทางานแตล่ ะอย่างน้นั ต้องประกอบด้วยความร่วมมือแต่ละฝ่าย เพ่ือให้ผลการดาเนินงานดาเนินไปอย่างราบรื่น โดยตั้งม่ันอยู่ในกฏข้อบังคับของกลุ่มท่ีเรา ร่วมกันต้ังขึ้นมาเพ่ือยึดถือเป็นบรรทัดฐานในการทางาน การพิจารณาในการตัดสินใจส่ิงใด ข้าพเจ้าจะยึดถือมติในที่ประชุมของกลุ่มเป็นหลัก และยึดม่ันการออกเสียงตามรูปแบบการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตย ซึ่งทุกคนมีสิทธิเสมอภาคและเท่าเทียมกัน ทุกคนมีสิทธิใน การออกเสียงหรือแสดงความคิดเห็นส่วนตัว ซ่ึงข้าพเจ้าได้ให้ความสนใจและความสาคัญกับ ความคดิ ของทุกๆ คน เพราะข้าพเจ้าถือว่าทกุ คนมีวิจารณญาณมีเหตุผลเป็นของตนเองในอันท่ซี ่ึง จะมุ่งม่ันให้ผลงานออกมาได้ดี เต็มรูปแบบและเต็มตามศักยภาพของแต่ละคนเมื่อใดที่การ ตัดสินใจไม่ลงตัวหรือมีปัญหาทีไม่สามารถแก้ไขได้ ข้าพเจ้าจะช่วยกันคิดและร่วมกันช่วยแก้ไข โดยให้ความหวังกับทุกคนว่าปัญหาทุกอย่างย่อมมีทางแก้ไขเสมอ ถ้าพวกเราร่วมแรงร่วมใจ ช่วยกันทาหากวันใดไรค้ วามสามัคคยี อ่ มมีปญั หาแนน่ อน
ตอนที่ 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 22 ในการครองตนของขา้ พเจา้ มคี วามยตุ ิธรรม ไมเ่ คยถกู ว่ากลา่ วตกั เตอื น หรอื ลงโทษทาง วนิ ยั ใด ตลอดอายรุ าชการ 17 ปี ทปี่ ฏิบตั ริ าชการมา ซึ่งข้าพเจ้ามหี ลกั ในการครองตน ดงั น้ี 1. การพงึ่ ตนเองขยนั มน่ั เพยี รในงานทรี่ บั ผดิ ชอบ 1.1ความวิริยะ อุตสาหะในหน้าทีค่ วามรบั ผดิ ชอบ ถงึ แมว้ า่ งานทร่ี บั ผิดชอบจะเป็นงานท่ไี ม่มี ความรู้มาก่อน ข้าพเจ้าจะศึกษาหาความรู้และเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนางานของตนเอง เช่น งานหัวหน้าระดับ ปวช. งานหลักสูตร งานวัดประเมินผล งานฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ของ นักเรียน ปวช. งานอาชีพ (การทาขนม การพิมพ์ภาพลงในวัสดุ) งานระบบเครือข่ายและ สารสนเทศ 1.2มีความต้งั ใจท่ีจะทางานในหนา้ ที่ทไี่ ดร้ ับมอบหมายใหไ้ ดร้ ับความสาเรจ็ 1.3มีความอดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรค สามารถจัดปัญหาได้ด้วยความเพียร พยายามต่อทุกสถานการณ์ เช่น ด้านการสอน ข้าพเจ้ามีความอดทนในการสอนนักเรียนที่มี ความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่งนักเรียนบางคนมีอาจจะเรียนรู้ช้ากว่า คนอื่นๆ การจัดกิจกรรม เพ่ือให้นักเรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้และปฏิบัติงานได้ตามจุดประสงค์ ด้านการปฏิบัติงาน พเิ ศษ งานครบู ้านพกั หอนอน งานสง่ เสริมอาชพี อสิ ระเพอื่ การมีรายไดข้ องนกั เรยี น 1.4มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง ครอบครวั และผู้อ่ืนด้วยความเอาใจใส่ นอกจากดูแลนกั เรยี น แล้วข้าพเจ้าใช้เวลาหลังเลิกเรียน หรือในช่วง เสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดราชการ ข้าพเจ้าจะแบ่ง เวลาในการดูแม่ ครอบครวั โดยไม่บกพรอ่ งในหน้าทีท่ งั้ หนา้ ทง่ี าน และครอบครัว 1.5ประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีท้ังกาย วาจา ใจ ขยันมั่นเพียร เสียสละ เช่นการข้าพเจ้า แต่งกายได้ถูกระเบียบของทางราชการ ใช้วาจาสุภาพ กับทุกคน มาปฏิบัติหน้าที่ ข้าพเจ้ามาถึง โรงเรียนก่อนเวลา 8.00 น. และกลับถึงที่พักประเวลา 19.30 น. เป็นประจาเนื่องจากต้องปฏิบัติ หนา้ ที่หวั หน้าระดบั ปวช. และฝกึ งานอาชพี ใหก้ ับนกั เรยี น 1.6การมวี ินัยในตนเอง สารวม ระวังความประพฤติ ละเว้นอบายมุข ไม่พดู หยาบคายใหก้ าร ดแู ละศษิ ยเ์ สมือนลกู ของตนเอง ให้ความช่วยเหลอื กิจของเพอ่ื นร่วมงานอย่างสม่าเสมอ 2. การประหยดั และอดออม 2.1รู้จักใช้จ่ายตามควรแห่งฐานะ ข้าพเจ้ารู้จักการใช้จ่ายตามแก่ฐานะโดยยึดหลักตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความพอประมาณ คือความพอดี ไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกิดไป คือ ใช้จ่ายให้น้อยกว่าที่หาได้ในปัจจุบัน เพ่ือให้มีเงินออมไว้ใช้จ่าย โดยการฝากเงินออมทรัพย์ กับสหกรณ์ออมทรพั ยค์ รู
ตอนท่ี 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 23 2.2เป็นผู้รู้จักใช้ทรัพย์สินของทางราชการให้เป็นประโยชน์และประหยัด เมื่อได้รับจัดสรร วัสดุอุปกรณ์ใดๆ จากทางราชการ จะรับผิดชอบในการใช้สอย การเก็บรักษามิให้สูญหายโดย การจดั ทาทะเบยี น หมั่นตรวจสอบสภาพใหค้ งทนและใช้ไดน้ านๆ ตลอดทงั้ กากับดูแลการใช้ 2.3รูจ้ ักมธั ยัสถแ์ ละเกบ็ ออม เพื่อสรา้ งฐานะตนเองและครอบครัว ขา้ พเจา้ เปน็ ผูม้ ัธยสั ถ์และ เกบ็ อออมจากเงินเดือนท่ีไดร้ บั เปน็ ประจาทกุ เดอื น สหกรณอ์ อมทรพั ย์ครู และธนาคารโรงเรียน 2.4รจู้ ักดูแล บารุงและรักษาทรัพย์สินของตนเองและสว่ นรวม เป็นผู้ที่รักและหวงแหนและ คอยดูแลทรัพย์สินส่วนตัวและทรัพย์สินของทางราชการหรือส่วนรวมอยู่เสมอ เช่นดูแลซ่อม บารงุ คอมพวิ เตอร์ ทาหนา้ ที่ครเู วรในการดแู ลเฝา้ ระวังรักษาความปลอดภยั ต่อทรัพยส์ นิ ของทาง ราชการ โดยทาหนา้ ทีด่ ูแล ตรวจตราบรเิ วณโรงเรยี น บา้ นพัก หอนอนนกั เรียน 3. การรกั ษาระเบยี บวนิ ยั และเคารพกฎหมาย 3.1เป็นผู้รักและปฏิบัติตนตามระเบียบและกฎหมายท่ีกาหนดไว้ ไดป้ ฏิบัติตามระเบียบวินัย จรรยาบรรณวิชาชีพครูอยา่ งเคร่งครดั ไม่เคยถูกลงโทษทางวินยั และเคารพกฎหมายซ่งึ ขา้ พเจา้ มิเลยตอ้ งโทษทางกฎหมาย 3.2ประพฤตแิ ละปฏิบตั ิตน เปน็ ตัวอย่างแกบ่ คุ คลทวั่ ไป มีความม่งุ ม่ันตอ่ การปฏบิ ตั งิ าน เมอ่ื ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติใดก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นงานในหน้าท่ีสอนหรืองานที่ได้รับหมอบหมาย พิเศษ ก็จะยินดีปฏิบัติด้วยความตั้งใจและมุ่งม่ันท่ีจะทางานน้ันๆ จนสาเร็จตามบรรลุ วตั ถุประสงค์ 3.3เชื่อฟังและให้ความเคารพต่อผู้บังคับบัญชา โดยทุกเช้าเมื่อพบเจอผู้บังคับบัญชาจะ ทักทายด้วยการยกมือไหว้ และเมื่อได้รับมอบหมายงานให้ปฏิบัติงานใดก็ตาม จะปฏิบัติด้วย ความเต็มใจและเต็มความสามารถ สง่ ผลให้งานนั้นสาเร็จเสร็จส้ินทนั ตามกาหนดเวลาและเป็น ประโยชน์ของทางราชการ เป็นผู้ปฏิบตั ิตามคาส่งั ของผู้บงั คบั บัญชาอย่างเคร่งครดั 3.4เป็นผู้ตรงต่อเวลา เป็นผู้ปฏิบัติงานตรงตามกาหนดเวลา เช่นการมาให้ทันเวลาปฏิบัติ ราชการ ทางานเวลาประมาณ 07.30 น. และกลับเวลา 17.30 น. เป็นประจา เข้าและออกห้อง สอนตรงเวลาเสมอ ร่วมประชุมปรึกษาหารือข้อราชการต่างๆ ไม่ทาให้ผู้อ่ืนต้องเสียเวลา หากมี การนัดหมายก็จะปฏิบัติภารกิจนั้นตรงต่อเวลาท่ีนัดหมายเสมอ จึงเป็นบุคคลทไี่ ด้รบั การยกย่อง จากเพ่อื นร่วมงานเสมอ และได้รางวลั ครดู ไี มม่ วี ันลา 2 ปีติดตอ่ กัน 3.5การปฏบิ ตั ติ ามคุณธรรมของศาสนา
ตอนที่ 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 24 3.5.1 ละเว้นต่อการประพฤติช่ัวและไม่ลุ่มหลงอบายมุข ไม่เป็นผู้ประพฤติช่ัว ประพฤติ ตนแต่ความดี ทางกาย วาจา ใจ เป็นผู้มีคุณธรรมมีเมตตา กรุณา ไม่ยุ่งเก่ียวและไม่ ลุ่มหลงในอบายมุข ไม่เล่นการพนันทุกชนิด ยึดม่ันในการประพฤติตนอยู่ในศีลห้าซึ่ง ปฏบิ ัตไิ ด้ครบทุกข้อและเปน็ จริง 3.5.2 เอ้ือเฟ้ือเผ่อื แผ่ เสียสละ เห็นแก่ประโยชนส์ ่วนรวม เปน็ ผู้มคี วามเอื้อเฟ้อื เผอ่ื แผ่ และมีน้าใจ โดยยอมรับความคิดเห็นผู้อ่ืนและแนะนาส่ิงที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นโดยไม่ หวงแหนเสียสละท้ังเวลา แรงการและทรัพย์สินส่วนตน เพื่อยังประโยชน์ของ ส่วนรวม สังคม เช่นการร่วมกิจกรรมต่างๆของโรงเรียน เช่นเป็นวิทยากร การเป็น พธิ ีกร จดั สถานที่ เต็มความสามารถโดยไม่หวังผลตอบแทน 3.5.3 มีความส่ือสัตย์ สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น เป็นผู้ท่ีมีความซ่ือสัตย์ สุจริตทั้งต่อ ตนเอง และผู้อื่น ไม่เคยปฏิบัติตนให้เป็นไปในทางเสื่อมเสีย เป็นผู้ท่ีรักเกียรติและ ศกั ด์ศิ รี เชดิ ชูคนทที่ าความดี ความซอื่ สตั ย์ 3.5.4 มคี วามเมตตา กรณุ า โอบออ้ มอารีต่อผอู้ ่ืน ข้าพเจา้ เปน็ ผ้เู มตตา กรณุ า โอบออ้ ม อารีต่อผู้อื่น โดยเห็นได้จาก ข้าพเจ้าให้ความรักและเมตตา นักเรียนทุกคนโดยให้การ ช่วยเหลือนักเรียนทุกคนถึงแม้จะไม่ได้สอนก็ตาม เช่นการเปิดให้นักเรียนได้มาใช้ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในช่วงเวลาหลังเลิกเรียน วันหยุด เพ่ือให้นักเรียนได้ฝึกฝน ทกั ษะ ทางาน สบื ค้น ทาการบ้าน 4. การมคี วามจงรกั ภกั ดตี อ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ 4.1ส่งเสริม สนับสนุนระบบประชาธิปไตย และปฏิบัติตามนโยบายของทางราชการและ รัฐบาล มีใจยึดม่ันในหลักการปกครองระบบประชาธิปไตย ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีใน วิถชี ีวติ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเ์ ปน็ พระประมุข มีคณุ ลักษณะท่สี าคัญ คือ เป็นผู้ทยี่ ึด ม่ันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ มีหลักการทางประชาธิปไตยในการดารงชาติ เช่น การ ปฏิบัติตนตามกฎหมาย ดารงตนเป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยช่วยเหลือเก้ือกูลเพื่อนร่วมงานและ ผู้บังคับบัญชา มีมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดี ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน กล้าและรับผิดชอบในส่ิงท่ี กระทา มีน้าใจ ช่วยเหลือและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน เสนอแนะข้อคิดเห็นท่ีเป็น ประโยชน์ต่องาน ให้ความสาคัญ ยกย่องหรือให้เกียรติผู้ร่วมงาน ได้รับการยอมรับจาก ผบู้ งั คับบญั ชา หรอื ผู้ร่วมงาน ส่งเสรมิ ประชาธิปไตยในโรงเรยี น มคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคต์ อ่ สังคม รจู้ กั บทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง เปน็ สมาชกิ ท่ีดขี องสังคม อนั เป็นการสง่ เสริมและสนบั สนนุ
ตอนที่ 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 25 การปกครองระบบประชาธปิ ไตย เพื่อความสมบรู ณข์ องงานสง่ เสริมประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น จึง จัดใหม้ ีการเลือกตง้ั ประธานนกั เรยี น สภานักเรียนเปน็ ประจาทุกปี 4.2เข้าร่วมในศาสนกจิ และบารงุ ศาสนา ข้าพเจ้าปฏิบัตติ นตามหลกั หนา้ ที่ของชาวพทุ ธ รว่ ม ทาบุญเพอื่ ทะนุบารงุ ศาสนาตลอดทกุ ครัง้ เม่ือมีโอกาส เช่นวันสาคัญทางศาสนา ร่วมกิจกรรมพา ลูกเข้าวัด และร่วมกับนักเรียน ทาบุญทอดผ้าป่า ถวายเทียนจานาพรรษา ร่วมงานทอดกฐินวัด พระบาทน้าพุ วัดธรรมรกั ษน์ เิ วศ 4.3ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี ข้าพเจ้าให้ความเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายเป็นผู้ปฏิบัติตน อยู่ในระเบยี บแบบแผนของทางราชการ เช่น การเสียภาษี การใชส้ ทิ ธใ์ิ นการเลอื กตั้ง การปฏิบัติ ตามกฏหมาย กฏจราจร การให้ความรว่ มมือกบั ชมุ ชน สว่ นราชการทุกภาคสว่ น 4.4มคี วามจงรักภกั ดีและเทิดทูนในสถาบันพระมหากษตั ริย์ โดยการศกึ ษาประวัติ พระราช กรณยี กิจ พระบรมราโชวาท พระราชดารสั แลว้ นามาเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติตนโดยเฉพาะ ในการอบรมส่ังสอนนักเรียน ข้าพเจ้าจะนาพระราชดารัส พระบรมราโชวาทที่พระราชทานไว้ใน เร่ืองเกี่ยวกับเดก็ และเยาวชน ความเป็นครู หลักในการสอน มาเปน็ หลักในทาหน้าทค่ี วามเปน็ ครู ขา้ พเจ้าจะเข้าร่วมพิธีเก่ียวกับสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างสม่าเสมอ ถือเป็นกิจท่ีควรทาอย่าง ย่ิง ข้าพเจ้าจะนาเรื่องราวเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์มาถ่ายทอดให้นักเรียนได้รับรู้ นา พระราชดารัส พระบรมราโชวาทมาจัดป้ายนิเทศ รวมทั้งให้นักเรียนจดบันทึกคาสอนของพระ เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 แล้วมาอธิบายความเข้าใจในการตีความคาสอน เพ่ือครูจะได้ปลูกฝั่งแนว ทางการใช้ชีวิตท่ีดีงามให้กับนักเรียน โดยเฉพาะในเร่ืองการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิต พร้อมกันน้ีจัดให้มีพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยหู่ ัวในหอ้ งเรียน ทบี่ ้านพัก หอนนอน ไว้ในที่อนั สมควร
ตอนที่ 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 26 จากเหตุผลดังกล่าวทาให้ข้าพเจ้าสามารถเข้าร่วมทางานเป็นกลุ่มกับคณะครู เพื่อน ร่วมงานผู้บังคับบัญชาและบุคคลอื่นๆ ได้อย่างราบร่ืนและผลงานท่ีออกมาก็ได้ดีและตรงตาม วัตถุประสงคท์ ่ีวางไว้ การครองตนข้าพเจ้ายึดหลักความถูกต้อง จริงใจ และมีความ ปรารถนาดีต่อผู้อ่ืน ช่วยเหลือทุกคนเท่าที่ข้าพเจ้าจะช่วยได้ ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงได้รับส่ิงดีๆ เป็นการตอบแทน สิ่งดีๆ สาหรับข้าพเจ้าคือ ความรัก ความศรัทธา ที่ลูกศิษย์มีให้ การเป็นที่เชื่อถือต่อบุคคล ท่ัวๆ ไป ข้าพเจ้าจะประพฤติสิ่งที่ถูกต้องดีงามไว้ว่าจะอยู่ใน สภาวะการณ์เช่นใด ผลการกระทาเช่นนี้ทาให้ข้าพเจ้าได้รับรางวัล จากหนว่ ยงานท้งั ภายในและภายนอก รวมทัง้ รางวัลระดับประเทศ
ตอนท่ี 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 27 ไดร้ บั การยกยอ่ งจากหนว่ ยงานภายใน ภายนอก และรางวลั ระดบั ประเทศ เป็นผู้ขยนั หมัน่ เพียรในการปฏบิ ตั ิหน้าที่ ท้ังด้านการเอาใจใสก่ ารจดั การศกึ ษา สุขภาพอนามัย และอบรมความประพฤตนิ กั เรยี นจนเกิดผลดอี ย่างตอ่ เนอ่ื ง บคุ ลากรดเี ด่นดา้ นการพัฒนาระบบเทคโนโลยี
ตอนท่ี 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 28 ครูดีในดวงใจ ของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ผ้ทู าคณุ ประโยชนเ์ พอื่ แผ่นดิน ดา้ นการศกึ ษา
ตอนท่ี 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 29 การเปน็ แบบอยา่ งใหผ้ อู้ น่ื ปฏบิ ตั ติ าม สาคัญนักเรียนท่ขี ้าพเจ้าดแู ล หรอื สั่งสอนเหน็ สง่ิ ท่ีขา้ พเจา้ ตัง้ ใจทาดว้ ยความจริงใจเปน็ สงิ่ ท่ีมีค่าไม่เห็นเป็นส่ิงท่ีน่าเบ่ือหน่าย แล้วคาสั่งสอนของข้าพเจ้าทาให้ชีวิตของเด็กเหล่าน้ี เปลี่ยนแปลงไปในทางทดี่ ขี นึ้ และยังเป็นแบบอย่างให้กบั เพอื่ นครู จรพี ร เชอื้ สวย ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นหนองสาราญ คณุ ครเู กง่ มาก ทาไดท้ กุ อยา่ งเพอื่ ความสขุ ของลกู ศษิ ย์ นอ้ งดานา่ รกั มากๆ คะ (คณุ ครู ตวั กลม๊ กลม) คณุ ครพู ณั ชติ า เชเดช คณุ ครโู รงเรยี นบา้ นปางสดุ บอ่ ยครงั้ ทเ่ี หน็ สง่ิ ดๆี ทพ่ี ด่ี าทาใหก้ บั คณุ แม่ และรสู้ กึ อบอนุ่ ใจทกุ ครงั้ เชน่ กนั
ตอนท่ี 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 30 ปารฉิ ตั ร เหงา้ พรมมนิ ทร์ นกั เรียน ปวช. รนุ่ ท่ี 1 ม.6 รุ่นท่ี 5 จบการศกึ ษาปกี ารศกึ ษา 2548 ประวตั กิ ารทางาน พ.ศ. ตาแหนง่ บรษิ ทั 2549 IT Support เอสวโี อเอ จากดั (มหาชน) 2552 IT Support แพนสยาม เอน็ จเิ นียรงิ่ จากัด 2554 System Administrator แอดวานซ์ อินเทลลเิ จนซ์ บิสสเิ นส ซสิ เต็มส์ จากัด 2556 Network Engineer ออพติไมซ์ โซลชู ่ัน จากัด ผ้ผู ลักดนั สคู่ วามสาปเัจรจจ็บุ นั ประคกออบมพอาิวชผเตีพู้ทอสี่ใรว่ห์คน้โนตอแวักรากสแคลือะคสรอูพนนใิดหา้ฉนัน้อไดย้เศรรียี นทร่าู้เนกเี่ยปว็นกคับรู สอนคอมพิวเตอร์ที่โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จังหวัดลพบุรี และเป็นผู้สร้างคนให้เป็นคนดีและคน เก่ง เรามักจะเรยี กท่านว่าครูดา หรือครพู นดิ า ท่านเป็นผู้ท่ีให้โอกาสฉันให้เรียนรู้คอมพิวเตอร์ ต้ังแต่ซ่อมประกอบคอมฯ ไปจนถึงทางานต่างๆ ทาให้ ฉันมีความรู้เก่ียวกับคอมพิวเตอร์เพ่ิมมากขึ้น เมื่อฉันมี ความสนใจท่านก็ให้โอกาสมาเรียนรู้ จนได้มีโอกาสมา ทางานกับครดู า ฉันก็เริ่มสนิทกับท่านทาให้เวลาฉันจะทาอะไร ท่านก็มักจะคอยบอกคอยสอนอยู่เร่ือยๆ ครูให้โอกาสเป็นผชู้ ว่ ยอบรมคณะครูจากเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาลพบุรเี ขต 2 อีกหนึง่ เหตกุ ารณ์ที่ครูสร้างความเชื่อม่นั และเป็นแรงผลักดนั
ตอนท่ี 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 31 หากเราทาผดิ หรือทาในส่งิ ท่ไี ม่ควร ทาครูดาก็จะบอกและแนะนา แต่ท่าน มักจะไม่ค่อยชอบบอกหลายคร้ัง ท่านก็จะ บอกแคค่ ร้งั หรือสองคร้ังเทา่ นนั้ ฉันก็จะรู้เลยว่าส่ิงน้ันฉันไม่ควรทา อีก น้ันอาจจะเป็นสิ่งหน่ึงท่ีฉันได้รับความ ไวว้ างใจจากครูดา ฉันเปน็ คนท่ีเรยี นปานกลางแต่ชอบ งานท่ีเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มาก จึงมักจะ อาสาครูดาทางานบ่อยๆ แม้จะตอ้ งทางาน ถงึ ตีหนึ่ง ตีสองก็ตามแตฉ่ ันก็ทาด้วยความ เต็มใจ หา ก ช่ว งท่ีครูดา ไม่ได้ท า งา น กลางคืน ท่านก็มักจะเรียกทุกคนท่ีอยู่ บ้ า น พั ก ที่ ท่ า น ดู แ ล ม า ร ว ม ตั ว กั น แ ล ะ สอบถามปัญหาว่าใครเป็นอะไรอยู่กัน อย่างไร แบ่งหน้าท่ีกันรับผิดชอบบ้านแบบ ไหน แล้วอยากจะทากิจกรรมอะไรเพ่ือ บ้านพักโซนของตัวเองบา้ ง หากพวกเราทางานร่วมกันดีหรือไม่มีปัญหาอะไรท่านก็จะให้รางวัลด้วยการซื้อขนมมา ฝากทกุ บา้ น น้นั เป็นส่ิงที่ทาใหท้ กุ คนรวู้ ่าหากทาตวั ดีๆ แลว้ จะไดร้ ับรางวัลเปน็ การตอบแทน ทา ใหพ้ วกเราไมค่ ่อยมีปญั หาอะไรหากมกี ไ็ มไ่ ดห้ นกั หนาอะไร
ตอนท่ี 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 32 หลังจากท่ีฉันจบชั้นมัธยมและ ปวช. แล้วก็มาเรียนต่อท่ีมหาวิทยาลัยสยาม ฉันก็ ยังคงชอบด้านคอมพิวเตอร์อยู่ก็เลยเลือก เ รี ย น ค ณ ะ วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ ส า ข า คอมพิวเตอร์ โดยเลือกลงเรียนเฉพาะด้าน เน็ตเวิร์ค การเรียนอยู่ในระดับปานกลางแต่ ด้วยความชอบด้านเน็ตเวิร์คจึงได้คะแนนดี เฉพาะวชิ าที่เก่ียวกับวชิ าหลกั ที่เลอื ก ช่วงนั้นฉันค่อนข้างท้อจึงโทรกลับไป หาครูดา แต่ก็ไม่ได้บอกว่าท้อเรื่องเรียนแต่ก็ แค่เล่าให้ฟังนิดหน่อยว่าคะแนนก็ไม่ค่อยดี เท่าไหร่ ท่านก็พูดเชิงใหก้ าลังใจแต่คาทีฉ่ ันจา ได้ข้ึนใจที่ท่านพูดคือ คนเราไม่ต้องทา เป็นทุกอย่างถ้าจะเก่งด้านไหนก็ให้ทา ให้ดีที่สุด ด้วยเหตุผลน้ีจึงทาให้ฉันศึกษา ด้านเน็ตเวิร์กอย่างจริงจัง และทาให้ฉันรู้ตัว ว่าตอนนี้ฉันควรจะทาอะไร ด้วยคาสอน และส่ิงท่ีครูดาทาให้พวกเราทุกคน เพื่อนๆ รุ่นของฉันทุกคนทั้งที่เรียน เก่งและเรียนไม่เก่งทุกคนพอจบมา ส่วนมากจะไดง้ านทาที่ดๆี
ตอนที่ 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 33 หลกั ทใ่ี ชใ้ นการครองคนในฐานะทปี่ ระกอบอาชพี “คร”ู “....ความจรงิ ใจตอ่ ผู้อ่ืนเปน็ คุณธรรมสาคญั มาก สาหรบั ผทู้ ตี่ อ้ งการความสาเรจ็ และความเจรญิ เพราะชว่ ยใหส้ ามารถขจัดปดั เปา่ ปัญหาไดม้ ากมาย โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ปัญหาอันเกดิ จากความกินแหนงแคลงใจ และเอารัดเอาเปรียบกัน นอกจากนั้น ยังทาให้ไดร้ บั ความเชอื่ ถอื ไว้วางใจ และความรว่ มมือสนับสนนุ จากทกุ คนทกุ ฝา่ ย ทีถ่ อื มัน่ ในเหตุผลและความดี ผ้มู ีความจรงิ ใจจะทาการส่งิ ใดกม็ ักสาเรจ็ ไดโ้ ดยราบรน่ื ....” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ในพิธพี ระราชทานปรญิ ญาบตั รของจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 11 กรกฎาคม 2535
ตอนท่ี 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 34 การครองคน ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อหน้าที่ เอาใจใส่ดูแล และสนับสนุนการปฏิบัติงานของนักเรียน เพื่อนร่วมงาน ให้เกียรติผู้อื่น สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ มีความเป็นประชาธิปไตย รับฟัง ความคิดเห็นของผู้อ่ืน เล่ือมใสการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข ให้โอกาส และสนับสนุนลูกน้องให้มีความเจริญในหน้าท่ีการงาน ไม่ใช้อานาจ หน้าที่ในการแสวงหาประโยชน์ส่วนตน มีมนุษย์สัมพนั ธ์ มีจติ สานกึ สาธารณะ ปฏบิ ัตหิ นา้ ทโ่ี ดย ยึดหลักธรรมาภิบาล คานึงถึงผลประโยชน์ต่อส่วนรวมเป็นท่ีตั้ง มีความเมตตา เสียสละ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ผู้อ่ืนอยู่เสมอ ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม เป็นท่ีรักและเชื่อถือศรัทธา ของเพือ่ นรว่ มงานและผ้ใู ตบ้ งั คบั บญั ชา ผู้บงั คบั บญั ชาใหค้ วามเชอื่ ถอื และไวว้ างใจ เม่ือใดก็ตามที่ครู นักเรียน และบุคลากรภายในโรงเรียน ประชาชน หรือผู้ปกครองมี ปัญหาอนั เกดิ จากการงาน การเรยี น การสอน ปญั หาส่วนตัว หรอื เข้ามาตดิ ตอ่ ราชการข้าพเจ้าจะ ให้ความช่วยเหลือรับฟังสภาพปัญหาและให้คาแนะนาที่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม ถูกต้อง ให้เกียรติและให้ความสาคัญต่อทุกๆ คน โดยไม่มุ่งหวังผลตอบแทนใดๆ ข้าพเจ้าได้ ปฏิบัติเช่นนี้มาโดยตลอดจนทาให้เป็นท่ีรักใคร่ของคณะครู นักเรียน บุคลากรภายในโรงเรียน เป็นแบบอย่างของเพ่ือร่วมงานและเป็นที่พ่ึงของผู้เกี่ยวข้อง การตัดสินใจหรือวินิจฉัยเพ่ือ แก้ปัญหาต่างๆ จะใช้หลักเหตุผลและยึดหลักประโยชน์สูงสุดต่อราชการ และต้ังอยู่บน พืน้ ฐานแหง่ การมีเจตนาท่บี รสิ ทุ ธยิ์ ุตธิ รรมทกุ คร้ัง ในการทางานแต่ละอย่างน้ันต้องประกอบด้วยความร่วมมือแต่ละฝ่ายเพื่อให้ผลการ ดาเนินงานดาเนนิ ไปอย่างราบรื่น โดยต้งั มน่ั อยู่ในกฎข้อบังคับของกลมุ่ ท่เี ราร่วมกันตั้งขึ้นมาเพื่อ ยึดถือเป็นบรรทัดฐานในการทางาน การพิจารณาในการตัดสินใจสิ่งใดข้าพเจ้าจะยึดถือมติในที่ ประชุมของกลุ่มเป็นหลัก และยึดม่ันการออกเสียงตามรูปแบบการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตย ซ่ึงทกุ คนมสี ิทธิเสมอภาคและเทา่ เทียมกนั ทุกคนมสี ทิ ธใิ นการออกเสียงหรอื แสดง ความคิดเหน็ ส่วนตัว ซง่ึ ข้าพเจ้าได้ให้ความสนใจและความสาคัญกบั ความคดิ ของทกุ ๆ คน เพราะ ขา้ พเจ้าถอื ว่าทุกคนมีวิจารณญาณมีเหตผุ ลเปน็ ของตนเองในอันที่ซ่งึ จะมงุ่ ม่นั ให้ผลงานออกมาได้ ดี เตม็ รูปแบบและเตม็ ตามศักยภาพของแต่ละคนเม่ือใดทก่ี ารตัดสินใจไม่ลงตวั หรือมีปัญหาทีไม่ สามารถแก้ไขได้ ข้าพเจ้าจะช่วยกันคิดและร่วมกันช่วยแก้ไขโดยให้ความหวังกับทุกคนว่าปัญหา ทุกอยา่ งยอ่ มมีทางแก้ไขเสมอ ถา้ พวกเรารว่ มแรงรว่ มใจช่วยกันทาหากวันใดไร้ความสามคั คียอ่ ม มปี ัญหาแน่นอน จากเหตุผลดังกล่าวทาให้ข้าพเจ้าสามารถเข้าร่วมทางานเป็นกลุ่มกับคณะครู เพื่อน ร่วมงานผู้บังคับบัญชาและบุคคลอื่นๆ ได้อย่างราบร่ืนและผลงานที่ออกมาก็ได้ดีและตรงตาม วตั ถุประสงค์ท่ีวางไว้
ตอนที่ 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 35 ข้าพเจ้าจะให้คาแนะนาและบอกกล่าวในเร่ืองของการทางานที่ดี เช่นการนาระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยในการสร้างส่ือ และยังแนะนาวิทยาการใหม่ๆ ให้เพื่อนครูได้รู้และได้ใช้งานเพ่ือเป็นการ พัฒนาศักยภาพของเพ่ือนครู รวมท้ังแลกเปล่ยี นเรียนรู้วิธกี ารแก้ไขปญั หานักเรียนอยู่ตลอดเวลา และรับฟงั ปัญหา ให้กาลงั ใจกบั เพ่อื นครู ให้ความร้เู ก่ียวกบั การใช้คอมพิวเตอร์เพอื่ ตัดสนิ ผลการเรียน คณุ ครอู สุ ณี ภกู องไชย โรงเรยี นบา้ นหนองโก หนโู ชคดมี ากๆ คะ ทมี่ าเจอพด่ี า คนทมี่ ี จติ ใจดี คนดี คดิ ดี ทาดี ขอบคณุ นะคะ เพราะทห่ี นมู ที กุ วนั นไ้ี ดก้ เ็ พราะคาสอน ของพดี่ า กาลงั ใจทใ่ี หเ้ สมอมา แมย้ าม ทอ้ เพราะไดก้ าลงั ใจทดี่ ขี องพส่ี าวคนนี้ ตลอดมา คณุ ครไู พรสั ชมวนา การครองคน ถือได้ว่า “พ่ีดา” เขา้ ไปอยใู่ นหวั ใจของเพอื่ นครแู ละนกั เรยี นในปกครอง ตลอดจนนักเรียนท่ีได้มีโอกาสได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ “พี่ดา” ได้จัดขึ้น นอกจาก “พี่ดา” จะ ชว่ ยเหลอื งานภายในโรงเรยี นทกุ อยา่ งแลว้ ตามความสามารถแลว้ “พด่ี า” ไมเ่ คยปฏเิ สธการ รอ้ งขอใหค้ วามชว่ ยเหลอื แมแ้ ตส่ กั ครงั้ เปน็ ทป่ี รกึ ษาสาหรบั เพอ่ื ครแู ละนกั เรยี นทด่ี มี คี วามคดิ และวสิ ัยทศั นท์ ีก่ ว้างไกลในการแก้ไขปัญหา
ตอนที่ 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 36 ฐติ พิ ร ทง่ั จนั ทรแ์ ดง นกั เรียน ปวช. รุน่ ท่ี 3 จบการศกึ ษาปกี ารศกึ ษา 2552 จากวนั แรกทหี่ นไู ด้เข้าโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จงั หวดั ลพบรุ ี วันนัน้ หนูเปน็ เดก็ นสิ ยั ไมด่ ี ดอื้ ไมเ่ ชอ่ื ฟงั พอ่ แม่ เรยี นหนงั สอื ไมเ่ กง่ แยม่ ากในแทบจะทกุ ๆ เรอ่ื ง ตอนแรกๆ ที่หนูได้เร่ิมใช้ชีวิตอยู่ในโรงเรียนนี้ ต้องปรับตวั ต้องทาใน ส่ิงท่ีไม่เคยทา อย่างเช่นการตื่นเช้า ออกกาลังกาย ทานข้าวตรงเวลา และต้องรอทานพร้อมกับคนอ่ืนดว้ ย กฎระเบยี บมากมายท่มี ่ันเร่ิมเข้า มามีบทบาทกับเรามากข้ึน หนูรู้สึกว่ามันไม่ใช่เลยการที่หนูต้องมาทา อะไรแบบน้ี อยากกลับบ้านทุกวันเลย แต่พอเวลามันผ่านไป เร่ือยๆ หนูก็เริ่มท่ีจะปรับปรุงตัวเองให้ดีข้ึน ทาตามกฎระเบียบต่างๆ ท่เี ขามีไว้ สนใจเร่ืองเรียนและคนรอบข้างมากขึ้น มันก็เริ่มทาให้หนไู ด้ เรยี นรู้ในเรอื่ งทีไ่ ม่เคยเขา้ ใจ เรอื่ งทเี่ คยมองขา้ ม วนั แรกทเ่ี ขา้ มากับกิจกรรมรับนอ้ ง เพอื่ นใหม่ กบั ครทู ีป่ รกึ ษาคนใหม่
ตอนที่ 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 37 หนูรู้สึกว่าพอเรม่ิ อยู่ท่นี ี่ไดห้ นึ่งปีกว่าๆ หนกู ็เร่ิม โตข้นึ รบั ผดิ ชอบมากขน้ึ เช่น - ตอนเช้าๆ ต้องปลุกน้องๆ ท่ีบ้านให้ ตื่นมารวมกันเตรียมออกกาลงั กาย - ได้ทาความสะอาดบ้านทั้งๆ ที่อยู่ บ้านไม่เคยทาเลย - ได้ลงไปในแปลงเกษตรเก็บฟักทอง บ้าง เก็บพรกิ บา้ ง รดนา้ ตน้ ไม้ เยอะมากๆ คะ กับส่ิงที่หนูได้เรียนรู้จาก โรงเรียนน้ี แต่ปัจจบุ ันนหี้ นกู ็จบจากโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๓ จังหวัดลพบรุ ี มาจะแปดปี แลว้ หนอู ยากจะบอกจากความร้สู กึ ท่ีมจี ากใจเลยวา่ รักโรงเรยี นนม้ี ากคะ และก็ ไมเ่ คยคดิ ทจี่ ะลมื บญุ คณุ ของโรงเรยี นนเ้ี ลยทม่ี อบโอกาสใหห้ นไู ดโ้ ตเปน็ ผใู้ หญท่ ี่ ดี มคี วามคดิ มกี ารศกึ ษาทดี่ ใี นวนั นี้
ครผู ้เู ปล่ยี นชีวติ ตอนท่ี 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 38 เกือบจะสิบปแี ล้วนะคะสาหรบั หนูก็ยังไม่เข้าใจว่าทาไมต้องคิดถึง ร ะ ย ะ เ ว ล า ที่ ห นู ไ ด้ รู้ จั ก กั บ ครูในทกุ ๆ คร้ัง แล้วหนูก็เลือกที่จะ คุณครูหนูก็ไม่รู้ว่าหนูรักครูแค่ ไหนนะคะรู้แต่เพียงแค่ว่าทุก ไม่ทาในส่ิงที่มันไม่ดี หนูอยาก วนั น้ถี ึงแม้ว่าหนจู ะไม่ได้อยู่กับ เ ป็ น ลู ก ศิ ษ ย์ ท่ี ดี ใ น ส า ย ต า ครูดา แต่เวลาที่หนูคิดจะทา คุณครูไปตลอดไม่ว่าหนูจะ เร่ืองอะไรสักเร่ืองที่มันไม่ค่อย อายเุ ท่าไหร่ หนูบอกได้เลยนะคะว่าถ้าไม่ ดี หนูจะคิดเสมอว่าถ้าครู มีครูดาหนูก็คงไม่มีอนาคตที่ ดารู้ คุณครูจะผิดหวังใน ดใี นวันนี้ ตวั หนูรเึ ปลา่ คงจะเป็นเด็กทีแ่ ย่ อารมณร์ อ้ น ไม่สนใจเรียน ไมส่ นใจใครด้วย
ตอนท่ี 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 39 ค รู ส อ น ใ ห้ ห นู ไ ด้ เ รี ย น รู้ อะไรหลายๆ อย่างไม่ว่าจะ เป็นเรื่องเรียน ท่ีเม่ือก่อน หนูไม่เคยสนใจเรียนเลย ชอบโดดเรียน พิมพ์ดีดก็ ไม่ได้ เรียนคอมกไ็ มเ่ กง่ แตค่ รกู ส็ ามารถสอนจนหนูสามารถทาไดท้ ุกอยา่ งและทาไดด้ ดี ว้ ย เมื่อก่อนหลังจากเลิก เรียนตอนกลางคืนหนูก็ มั ก จ ะ เ ดิ น ก ลั บ บ้ า น พรอ้ มกบั คณุ ครเู สมอ จ น ห นู ซึ ม ซั บ นิ สั ย คณุ ครู มาได้เยอะเลย นะคะ จา กคนที่เคย อารมณ์ร้อนมากๆ ใคร พูดจาอะไรใส่นิดหน่อย ก็ไม่ได้ต้องทะเลาะกับ เขาไปหมด ปัจจุบันใครพูดอะไรมาถ้าไม่เดือดร้อนตัวเรามากๆ ก็จะไม่สนใจเลย ใครจะพูดก็ปล่อย เขาพูดไปถ้าตัวเราคิดว่าเราทาดีที่สุดแล้ว หนูดูโตข้ึนมาก คิดในมุมมองผู้ใหญ่ ไดใ้ นหลายๆ เรื่อง
ตอนท่ี 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 40 ครูสอนให้หนูมีระเบียบมากข้ึน จนหนูทาหน้าที่ปกครองน้องๆ หลายคนยังแอบเกลียดหนูเลย เพราะหนูดุและเข้มมากกับการท่ี น้องๆ จะทาผิดกฏระเบียบของ ปวช. เมื่อก่อนหนูไม่กล้าแสดงออกไม่ เคยทาอะไรได้ดีสักอย่างเลย ครู ดาก็สอนจนหนูกล้าแสดงออก กล้าท่ีจะเป็นผู้นา กล้าที่จะดูแล คนอืน่ โดยท่ีวิธีสอนของครูไม่ใช่เพียงแค่ บอกอย่างเดียวแต่คุณครูมักจะให้ ทาอะไรที่บางทีหนูก็ไม่รู้ว่าครู กาลังสอนอะไรหนูอยู่ ครูไม่ได้ เป็นเพียงแค่ครูท่ีสอนแต่ หนังสือ แต่ในบางเวลาครูก็ เ ห มื อ น แ ม่ ข อ ง ห นู อี ก ค น หน่ึงที่หนูสามารถปรึกษาได้ใน ทุกๆเร่ืองเวลาท่ีหนูเครียด ไม่ว่า จะเป็นเรื่องครอบครัว เร่ืองเพื่อน หรือเรื่องที่มันค่อนข้างจะไร้สาระ คุณครูก็ยังให้คาปรึกษาหนูได้ หนู ไม่เคยคิดเลยว่ามันจะมีโอกาสท่ี ห นูจ ะ ได้ ท า ป ร ะ โ ยชน์ ให้ กั บ โรงเรียนหรือใหก้ ับคนอ่ืนๆบ้าง
ตอนที่ 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 41 เพราะว่าคุณครูสอนหนูทุกอย่าง ดูแลใส่ใจหนูในทุกๆ เรื่อง จนหนูปรับปรุงตัวเอง และดีขนึ้ ได้ หนูสามารถที่จะไปแข่งขันคอมพวิ เตอร์ระดบั ประเทศได้ถงึ สองปี ซ้อน ก็เพราะคุณครูเปน็ คนสอนให้ อยูฝ่ ึกซอ้ มหนจู นดึกมาก เกนิ เวลานอนของครดู ้วยซ้า หนู รู้ว่าส่ิงเดียวท่ีทาให้ครูยอมเหนื่อย ยอมไม่ได้นอน ยอมทานข้าวไม่ตรงเวลาในบางคร้ัง ก็ เพราะครูอยากให้ลูกศิษย์ของครูทุกคนได้ดี หนูรักครูนะคะ และก็ไม่เคยคิดที่จะลืมบุญคุณ ของคณุ ครูเลย เพราะถ้าชีวิตหนูไม่เจอครูดา หนูคง ไม่ได้มีอนาคตที่ดีในวันนี้หรอกคะ ครูทาให้หนูไม่ได้ด้อยไปกว่า ใคร ถึงแม้ว่าหนูอาจจะเรียนจบมา จากโรงเรียนที่ใครๆ บอกว่ามีไว้ สาหรับเด็กดอ้ ยโอกาส ครูทาให้หนูเก่งมีโอกาสดีๆ หลายอย่างและก็ได้เรียนรู้ การใช้ชีวิต คิดได้มากกวา่ คน หลายๆ คนอกี หนูดีใจนะคะที่ชีวิตของหนูยังโชคดีท่ีมีโอกาสได้เจอคุณครูดีๆ แบบครูดา รักครูนะคะ และหนูก็ไม่เคยโกรธคุณครูเลยท่ีเมื่อก่อนครูดาเคยตีหนู เคยดุหนูบ่อยๆ เคยไม่คุยกับหนู เพราะอยากจะให้บทเรียนกับความผิดท่ีหนูทาลงไป วันท่ีครูดาไม่คุยกับหนู หนูรู้สึกแย่ โกรธ ตัวเองมากๆเลยคะไมร่ ู้ว่าจะทาแบบไหนครูดาถึงจะหายโกรธ เพราะเวลาที่หนูไม่ได้คุยกับ ครเู หมอื นชวี ติ หนูมนั กดดนั มนั เครียดมากเลยคะ
ตอนที่ 2 ครองตน ครองคน ครองงาน.... 42 ครูทาให้ชีวิตหนูดีข้ึน ครอบครัวกลับมาอบอุ่น พ่อแม่ ย้ิมได้ด้วยความภูมิใจในตัวหนู หลังจากท่ี ท่านต้องเสียน้าตากับความเกเร หนูได้มีโอกาสได้รับทุนพระราชทานฯ มีโอกาสศึกษาต่อระดับ ปริญญาตรี ต่อด้วยปริญญาโท มีโอกาสพบเพ่ือนใหม่ มีสังคมใหม่ เดินทางไปเที่ยวต่างประเทศ มีงานทาท่ีดี ขอบคุณครูดาอีกคร้ังนะคะที่ดูแลหนูมาตลอด ปัจจุบันน้ีหนูรู้แล้วว่าทุกส่ิง ทุกอย่างท่ีครูสอนมันก็คือกาแพงท่ีแน่นหนาและแข็งแรงที่สุดท่ี มีไว้สาหรับ ป้องกันดูแลตัวหนูเอง เร่ืองของการใช้ชีวิตในปัจจุบันที่ทาให้หนูคิดได้อย่าง รอบคอบและมสี ติกบั ทุกสง่ิ ทุกอย่างที่เรากาลงั ทาอยู่ รกั ครคู ะ
ตอนท่ี 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏบิ ัตติ น.....50 1. เสยี สละ ทมุ่ เท เอาใจใส่อบรมสง่ั สอนศษิ ย์ 2. รักศษิ ยเ์ หมอื นลกู หลานตนเอง 3. หว่ งใย ช่วยเหลือศิษย์สมา่ เสมอ 4. ปรารถนาดีตอ่ ศิษย์ 5. รกั ศิษย์เทา่ เทียมกนั 6. ดแู ลเอาใจใสศ่ ษิ ย์ท่มี ปี ัญหาเป็นพิเศษ 7. ทา่ ตนเป็นตัวอย่างทด่ี ีใหแ้ กศ่ ษิ ย์ 8. ต้ังใจถา่ ยทอดความรู้โดยไม่ปดิ บัง 9. ถ่ายทอดสงิ่ ทีด่ งี ามใหแ้ กศ่ ษิ ย์ 10. แสวงหาความรู้ใหมม่ าให้ศิษย์อยเู่ สมอ 11. เตรียมการสอนเป็นอย่างดเี ปน็ ประจา่ 12. ใช้วิธกี ารสอนทเ่ี หมาะสม 13. สอนโดยให้เด็กเรยี นรูโ้ ดยการปฏบิ ัตจิ ริง 14. มีจิตวญิ ญาณความเปน็ ครู 15. ยดึ หลกั เศรษฐกิจพอเพยี งในการดา่ รงชีวิต 16. ไม่ยุง่ เกย่ี วกับการพนัน อบายมขุ สิ่งเสพติดทงั้ ปวง 17. ไมก่ อ่ หนส้ี ินจนครอบครวั เดอื ดรอ้ น 18. ไมเ่ บยี ดบงั เวลาเวลาสอนเพอ่ื ประโยชนส์ ว่ นตน 19. แต่งกายเหมาะสมกบั ความเป็นครู 20. ด่ารงตนเหมาะสมกับความเป็นครู 21. ยินดีเสียสละเพื่อสว่ นรวม 22. รกั และภมู ิใจกบั การเป็นครโู รงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 23. มีจติ สาธารณะ 24. เลื่อมใสการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยท่ีมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นพระประมุข 25. เคารพ ศรทั ธา เชื่อมน่ั ในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
ตอนท่ี 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏิบตั ิตน.....51 หน้าทห่ี ลกั ของครคู ือการสอนศิลปวทิ ยา รวมทง้ั การอบรมสงั่ สอน ในการท่ีไดม้ าเป็น ครูโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๓ จังหวดั ลพบรุ ี หรือ “ครรู าชประชา” ข้าพเจา้ ได้กา่ หนด ทศิ ทางในการสอนนกั เรียนไว้ 3 วชิ าหลกั คือ วิชาการ วชิ าชีพ วิชาชวี ติ ซึ่งในการท่าหน้าท่ีครูผู้สอนแล้ว ข้าพเจ้ายังมุ่งม่ันท่ีจะพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กๆ เหล่านี้ให้พ้นจากค่าว่าด้อยโอกาส ข้าพเจ้าจะบอกเด็กๆ เสมอว่า “คำว่ำด้อยโอกำสไม่ได้ แปะไว้ท่ีหน้ำผำก” น้ันคือความเป็นคนเรามีเท่ากัน สิ่งท่ีจะท่าให้เด็กๆ เหล่านี้พ้นจากค่าว่า ดอ้ ยโอกาสคอื การศกึ ษา ซงึ่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานโรงเรียนแห่งนมี้ าเพื่อ ช่วยให้พวกเขาเหล่าน้ันมโี อกาสเทา่ กับเดก็ ๆ คนอน่ื ๆ เรอื่ งแรกทขี่ า้ พเจ้าใหค้ วามสา่ คัญ คือเร่อื งวิชาชวี ิต สอนใหพ้ วกเขาอยรู่ ว่ มกับผอู้ นื่ ได้ ไม่ เปน็ ภาระกับใคร พฒั นาตนเองใหด้ ีขน้ึ รจู้ กั การเปน็ ผู้รับท่ีดี และเป็นผใู้ ห้ เร่ืองสองทข่ี า้ พเจ้าได้ทา่ คอื เรอ่ื งวิชาการ การทา่ ใหเ้ ดก็ ๆ เชอ่ื มนั่ ว่าการศึกษาทา่ ให้เรามี โอกาสเทา่ เทียมกับคนอ่ืน ข้าพเจ้าจึงมุ่งมน่ั ในการสอนโดยเฉพาะในวิชาคอมพิวเตอรท์ ี่เป็นวิชา หลักท่ีข้าพเจา้ สอน พรอ้ มสง่ เดก็ ๆ เหลา่ น้ีเข้าแข่งขนั เพอื่ ตอ่ ส่ใู นเรือ่ งวิชาการ
ตอนที่ 3 ลักษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ตั ติ น.....52 เร่ืองที่สาม คือเร่ืองวิชาชีพ เด็กๆ เหล่าน้ีมาจากครอบครัวที่ขาดความพร้อมทางด้าน เศรษฐกิจ การศึกษาตอ่ ในระดับสูงจะมีโอกาสน้อยมาก การมีวิชาชพี ตดิ ตัวจะท่าให้เขาสามารถ ประกอบอาชีพได้ มีรายได้ น่าไปส่กู ารพึ่งพาตนเอง การท่ีจะท่าใหเ้ ดก็ ๆ ได้เรียนรู้ท้งั 3 วชิ า นี้ ขา้ พเจ้าได้ทุ่มเทมาตลอดเวลาตัง้ แตไ่ ดเ้ รมิ่ มา ท่างานท่โี รงเรยี นแหง่ น้ี ขา้ พเจ้าได้จดั กจิ กรรมสอนเสรมิ กจิ กรรมเสรมิ ทักษะชีวติ กิจกรรมด้าน งานอาชีพ ขา้ พเจ้าจะใช้เวลาในช่วงเย็นเวลา 18.30-20.30 น. และเวลาชว่ งวันหยุด ในการพัฒนา นกั เรยี นอยู่เปน็ ประจ่า เพราะความสา่ เร็จของข้าพเจ้าคอื ท่าให้พวกเขาเหล่าน้ีพ้นจากคา่ ว่าด้อยโอกาส ยืนด้วย ล่าแขง้ ของตนเอง ไมเ่ ปน็ ภาระของสงั คมต่อไป เพราะเด็กกเ็ หมอื นกับเมลด็ พนั ธต์ น้ ไม้ท่เี ราต้อง เติมปุ๋ย ปุ๋ยของเราคือความรู้ ความรัก ความเมตตา เพื่อให้เหล่าน้ีเจริญเติบโตเป็นต้นไม้ท่ีแผ่ ก่ิงกา้ นใหร้ ่มเงา ครูเมื่อเหน็ เขาเติบโตขน้ึ เป็นคนดีในสังคมครกู ็มีความสุขแลว้ ” หนงึ่ ในเมลด็ พนั ธห์ ลายๆ เมลด็ พนั ธท์ ค่ี อยดู เอาใจใส่ จนวนั นกี้ ลายเปน็ ตน้ ไมใ้ หญท่ แ่ี ขง็ แกรง่
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187