Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียน การบัญชีชั้นกลาง 1

เอกสารประกอบการเรียน การบัญชีชั้นกลาง 1

Published by sr.khamporn, 2020-06-22 00:30:37

Description: เอกสารประกอบการเรียน การบัญชีชั้นกลาง 1

Search

Read the Text Version

278 ตารางที่ 5.2 สรปุ การเปรยี บเทียบการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสนิ ค้าคงเหลือทงั้ 2 วิธี การบันทกึ บญั ชสี นิ ค้าอย่างต่อเนือ่ ง การบนั ทกึ บัญชีสนิ ค้าเม่อื ถึงวันสิ้นงวด 1. การบันทึกบัญชีมีความละเอียด มีข้อมูล 1. การบันทึกบัญชีเป็นไปเพ่ือความสะดวก ครบถว้ น ทาให้ต้องรวบรวมรายการท่ีเก่ียวข้องอีก ครั้งหนงึ่ ในวันสน้ิ งวด 2. ต้องตรวจนับจานวนสินค้าคงเหลือปลาย 2. ตอ้ งตรวจนับจานวนสนิ ค้าคงเหลือปลาย งวดในวนั สน้ิ งวด พบว่ามีสินค้าคงเหลือที่ยัง งวดในวันส้ินงวด พบว่ามีสินค้าคงเหลือท่ี ไม่ได้ขาย = 4 ช้ิน ตรวจนับเพื่อตรวจสอบ ยงั ไมไ่ ดข้ าย = 4 ช้ิน ความถกู ต้องของจานวนสินค้าท่ีมีอยู่จริงกับ จานวนสินค้าท่ีถกู บันทึกบญั ชีไว้ 3. จากน้ันต้องวัดมูลค่าของสินค้าคงเหลือ 3. จากนั้นต้องวัดมูลค่าของสินค้าคงเหลือ คือการเปลย่ี นจากหนว่ ย (ชน้ิ ) เปน็ บาท คือการเปล่ียนจากหนว่ ย (ช้นิ ) เป็นบาท ชิน้ ละ 2.5 บาท ชิ้นละ 2.5 บาท ดงั นัน้ 4 x 2.50 = 10 บาท ดงั น้ัน 4 x 2.50 = 10 บาท 4. ได้บันทึกต้นทุนขายแล้วในขณะที่ขายทา 4. บัญชีตน้ ทุนขายตอ้ งคานวณจาก ให้ทราบจานวนเงินของต้นทุนขายได้จาก สตู รตน้ ทนุ ขาย = 0 + (24 + 30 ) – 10 บญั ชีแยกประเภท คอื 44 บาท = 44 บาท จากความแตกต่างระหว่างการบันทึกบัญชีท้ัง 2 แบบหากได้บันทึกบัญชีอย่างละเอียด ตามวิธีการบันทึกบัญชีสินค้าอย่างต่อเน่ือง เม่ือถึงวันส้ินงวดกิจการเพียงตรวจนับจานวนสินค้า คงเหลอื ใหต้ รงกนั ระหว่างสมุดบัญชีกับจานวนท่ีมีอยู่จริงเท่าน้ัน แต่ถ้าหากกิจการใช้วิธีการบันทึก บัญชีสินค้าเม่ือถึงวันสิ้นงวด ในวันสิ้นงวด กิจการต้องตรวจนับสินค้าคงเหลือท่ีเป็นจานวนหน่วย และวดั มูลค่าสนิ ค้าคงเหลอื คอื ทาจานวนหน่วยใหเ้ ป็นบาท แบ่งเปน็ ขน้ั ตอนได้ ดงั นี้ 1. การตรวจนับสินคา้ คงเหลอื เปน็ จานวนหน่วย 2. การวดั มูลค่าสนิ ค้าคงเหลอื ให้เปน็ บาท

279 การตรวจนับสนิ คา้ คงเหลือเป็นจานวนหน่วย การตรวจนับสินค้าคงเหลือของกิจการ มีประเด็นท่ีต้องพิจารณาในเรื่องของกรรมสิทธ์ิใน ตวั สนิ คา้ วา่ กจิ การต้องตรวจนบั สินค้าคงเหลอื นนั้ รวมเปน็ สินทรัพย์ของกจิ การหรือไม่ ซ่ึงหากตรวจ นับไมค่ รบหรือเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดจะส่งผลกระทบต่องบการเงินท้ังสองงบตามที่กล่าวมาแลว้ ดังน้ี 1. สินค้าระหว่างทาง (Goods In Transit) คือสินค้าท่ีกิจการซ้ือแล้วและยังอยู่ใน ระหว่างการขนส่ง โดยท่ีเหตุการณ์น้ีเกิดข้ึนภายในวันส้ินงวดบัญชี ในการสั่งซ้ือสินค้ามาเพื่อขาย จะต้องมีการตกลงกันระหว่างผู้ซ้ือและผู้ขายว่าผู้ใดจะเป็นผู้รับผิดชอบค่าขนส่งท่ีเกิดข้ึน ซ่ึงความ รับผิดชอบในการขนส่งจะมีเรื่องของกรรมสิทธิ์เข้ามาเก่ียวข้องด้วย ได้แก่ (กอบแก้ว รัตนอุบล, 2555: 4-7) 1.1 ผซู้ อ้ื เปน็ ผู้รับผดิ ชอบคา่ ขนส่งเอง หมายถึง ค่าขนส่งเข้า ดังนั้น ในวันสิ้นงวดและ สินค้ากาลังเดินทางมายังกิจการของผู้ซ้ือ ผู้ซื้อสินค้าต้องตรวจนับสินค้าคงเหลือด้วย ถือว่า กรรมสิทธิใ์ นสนิ คา้ ตกเปน็ ของผซู้ อ้ื สินค้า เชน่ ผซู้ ื้อ ( อุดรธานี) สั่งซื้อสนิ คา้ 5,000 บาท ผ้ขู าย ( กรุงเทพ) กจิ การต้องตรวจนบั สนิ คา้ คงเหลือ ทกี่ าลงั เดนิ ทางมาจานวน 5,000 บาท น้ีรวม เปน็ สนิ คา้ คงเหลอื ของกจิ การที่มีอยแู่ ล้วที่ อดุ รธานี ด้วย 1.2 ผู้ขายเป็นผู้รับผิดชอบค่าขนส่ง หมายถึง ค่าขนส่งออก ดังนั้น ในวันสิ้นงวดและ สินค้ากาลังเดินทางมายังกิจการของผู้ซ้ือ ผู้ซ้ือไม่ต้องตรวจนับสินค้าคงเหลือด้วย ถือว่ากรรมสิทธิ์ ในสนิ ค้ายงั เป็นของผขู้ ายสินค้า เช่น ผซู้ อื้ ( อุดรธาน)ี สัง่ ซื้อสินค้า 5,000 บาท ผูข้ าย ( กรงุ เทพ) กิจการไม่ต้องตรวจนับสินค้าคงเหลือ ท่ีกาลังเดินทางมาจานวน 5,000 บาท น้ี รวมเป็นสินคา้ คงเหลือของกิจการท่มี ีอยู่แล้วที่ อดุ รธานี 2. สนิ คา้ ฝากขาย (Consigned Goods) กรณนี ีจ้ ะตอ้ งมกี ารตกลงกันระหว่างผูฝ้ ากขาย สินค้าและผู้รับฝากขายสินค้า โดยที่สินค้ายังคงเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ฝากขายสินค้า ได้แก่ (กอบ แกว้ รัตนอบุ ล, 2555: 4-8) 2.1 ด้านผู้ฝากขาย ผู้ฝากขายจะเป็นเจ้าของสินค้าโดยตรงมีกรรมสิทธ์ในสินค้าทุก ประการ ผู้ฝากขายเพียงแค่นาสินค้าไปฝากขาย ดังนั้น รายได้ที่เกิดขึ้นจากการขายสินค้าจะเป็น ของผู้ฝากขาย เมอื่ ผู้ฝากขายตรวจนบั สนิ ค้าคงเหลือจะต้องตรวจตรวจนับสินค้าคงเหลือท่ีถูกส่งไป ฝากขายดว้ ย

280 2.2 ด้านผู้รับฝากขาย ผู้รับฝากขายมีหน้าที่เพียงขายสินค้าและมีรายได้ค่า นายหนา้ จากการขายสินค้าเท่าน้ัน ไม่ต้องตรวจนับสินค้าคงเหลือรวมเป็นสินค้าคงเหลือของผู้รับ ฝากขาย เช่น ผู้ฝากขาย ส่งสินคา้ ไปฝากขาย ผู้รบั ฝากขาย รบั สนิ ค้ามาฝากขาย 5,000 บาท 5,000 บาท ผู้รบั ฝากขาย ขายสนิ ค้าท่รี ับมา ฝากขาย 4,000 บาท กรรมสิทธ์ิในสินค้ายังคงเป็นของผู้ฝากขาย ดังน้ันในวันสิ้นงวด ผู้ฝากขายต้องนับรวม สินค้าท่ีส่งไปฝากขายด้วย เช่น สินค้าท่ีส่งไปฝากขาย ถูกขายไปแล้ว 4,000 บาท ผู้ฝากขายต้อง นบั รวมสนิ คา้ ทีส่ ง่ ไปฝากขายด้วย = 5,000 – 4,000 = 1,000 บาท 3. ข้อตกลงการขายเป็นกรณีพเิ ศษ 3.1 สินค้าท่ีมีข้อตกลงการส่งคืนสินค้าได้หากผู้ซื้อไม่สามารถขายสินค้าได้ (กอบ แก้ว รัตนอุบล, 2555: 4-8)) เม่ือผู้ขายสินค้าได้ตกลงกับผู้ซ้ือว่า หากผู้ซื้อไม่สามารถขายสินค้าได้ ทั้งหมด ผู้ซ้ือสามารถนาสินค้ามาคืนให้ผู้ขายได้ แบง่ เป็น 2 กรณี 3.1.1 หาก “ผขู้ ายสามารถประมาณยอดสินค้าท่ีจะได้รับคืนได้อย่างน่าเช่ือถือ หรือเมอ่ื พน้ กาหนดการส่งคืนสินค้าแล้ว” ผู้ขายสินค้าไม่ต้องตรวจนับสินค้าท่ีถูกขายไปแล้ว ผู้ขาย สามารถรับรู้รายได้จากการขายสินค้าได้เลย หมายความว่าเม่ือขายสินค้าสามารถบันทึกบัญชีได้ เลย 3.1.2 หาก “ผู้ขายสินค้าไม่สามารถประมาณยอดสินค้าท่ีจะได้รับคืนได้อย่าง นา่ เช่อื ถอื หรือเม่อื พน้ กาหนดการสง่ คืนสินค้าแล้ว” ผู้ขายสินค้าต้องตรวจนับสินค้าท่ีถูกขายไปแล้ว ด้วย หมายความว่าเมื่อขายสินค้ากิจการจะยังไม่บันทึกบัญชีขายสินค้าจนกระท่ังลูกค้าได้นา สินค้ามาคืน กจิ การจงึ จะทราบจานวนที่ถูกขายไป จงึ บนั ทกึ บัญชกี ารขายสนิ คา้ 3.2 สินค้าท่ีได้ขายแล้ว แต่ผู้ซ้ือยังไม่รับมอบสินค้า (มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง สินค้าคงเหลือ ) กาหนดว่า “โดยท่ัวไปการโอนความเส่ียงและผลตอบแทน ของความเป็นเจ้าของเกิดขึ้นเมื่อกิจการโอนกรรมสิทธ์ิหรือโอนการครอบครองสินค้าให้กับผู้ซ้ือ กรณนี ีม้ ักเกิดข้นึ กบั ธรุ กิจค้าปลีก แตใ่ นบางกรณกี ารโอนความเส่ียงและผลตอบแทนของความเป็น เจ้าของสามารถเกิดข้ึน ณ เวลาท่ีตา่ งจากเวลาในการโอน กรรมสิทธิ์หรือโอนการครอบครองสินค้า ให้กบั ผซู้ ้ือ” ตามกรณีนี้ หากผู้ขายสินค้าได้ขายสินค้าแล้วแต่ผู้ซื้อยังไม่ได้นาสินค้าไป เช่น ผู้ซ้ือซ้ือ

281 สินคา้ และชาระเงินแล้วแต่ขอฝากสินค้าไว้กับกิจการก่อน เป็นต้น จะมีลักษณะคล้ายกับว่า สินค้า ยังคงเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ขายอยู่ แต่ในความเป็นจริงแล้วผู้ขายไม่ต้องนับรวมสินค้าที่ถูกขายไป แลว้ เน่อื งจากการโอนความเส่ยี งและผลตอบแทนไดเ้ กิดขึน้ แก่ผซู้ ื้อแล้ว การวดั มูลคา่ สินค้าคงเหลือใหเ้ ป็นบาท ในการวัดมูลคา่ สนิ คา้ คงเหลอื จะต้องใชร้ าคาทุนของสินค้าคงเหลือมาพจิ ารณา เนื่องจาก เป็นสนิ ค้าที่ยังไม่ถูกขายออกไป จงึ ตอ้ งใชร้ าคาทนุ กจิ การตอ้ งหาวิธีการต่างๆ ท่ีเหมาะกับลักษณะ ของสินคา้ ที่กิจการซอ้ื มาขาย มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) เร่ือง สินค้าคงเหลือ ได้กล่าวถึง วิธีท่ีนิยม ใช้ ได้แก่ วธิ รี าคาเจาะจง วธิ ีตน้ ทุนถวั เฉลีย่ ถว่ งนา้ หนัก และวธิ เี ขา้ ก่อนออกก่อน อธบิ ายได้ ดงั น้ี 1. วธิ รี าคาเจาะจง (Specific Identification Method) มาตรฐานการบญั ชี กาหนดว่า 23 ตน้ ทุนตามวิธรี าคาเจาะจงเปน็ วิธกี ารบนั ทึกต้นทุนที่เจาะจงได้ในสนิ คา้ คงเหลือ แต่ละรายการ วิธีน้ีจึงเหมาะท่ีจะใช้สาหรับสินค้าที่แยกไว้สาหรับโครงการหนึ่ง โครงการใดโดยเฉพาะ โดยไม่คานึงว่าสนิ ค้าคงเหลอื ดังกลา่ วจะซ้ือมาหรือผลิตข้ึน เอง อย่างไรก็ดีการบันทึกต้นทุนตามวิธีราคาเจาะจงจะไม่เหมาะสมหากสินค้า คงเหลือมรี ายการจานวนมาก ตามที่มาตรฐานกาหนด วิธีราคาเจาะจง นน้ี ามาใช้กับกิจการทม่ี ีสินค้าเฉพาะแลว้ หรอื กิจการท่ีมีสินค้าคงเหลือที่จาเป็นต้องระบุรายการของสินค้า รุ่นของสินค้าและราคาของสินค้า คงเหลือได้อย่างถูกต้อง หากกิจการใช้วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงต้องใช้ความ ละเอียดในการบันทึกข้อมูลวิธีราคาเจาะจงนี้เหมาะสมมาก แต่หากกิจการใช้วิธีการบันทึกบัญชี สินค้าเม่ือถึงวันสน้ิ งวด ซึ่งต้องใชค้ วามสะดวกในการบันทกึ บญั ชี เนอื่ งจากมีสินค้าเป็นจานวนมาก อาจไม่เหมาะทจ่ี ะใช้วธิ ีราคาเจาะจงนี้

282 ตัวอยา่ งที่ 5-1 บรษิ ัท UD จากดั จาหน่ายพดั ลมไอเย็น เป็นพัดลมท่ีใช้หลักการของน้า ในรูปแบบ Evaporation ซ่ึงจะสามารถลดอุณหภูมิได้ 2-8 องศา พัดลมไอเย็นจะมีความช้ืนออกมาน้อยกว่า พัดลมไอหมอก ทาให้ลดปัญหาโรคเก่ียวกับระบบทางเดินหายใจได้ พัดลมไอเย็นใช้พลังงานน้อย กว่าเครื่องปรับอากาศเกือบ 10 เท่า (ข้ึนกับขนาด) ต้องใช้ในห้องระบบเปิด คือต้องเปิดประตูหรือ หนา้ ต่าง พัดลมไอเยน็ เคล่อื นที่ไดส้ ะดวก ซอ่ มบารงุ งา่ ยกวา่ เครอื่ งปรับอากาศ มีรายละเอยี ดเกี่ยวกบั สนิ คา้ คงเหลือในเดือน ธันวาคม 2557 ดังนี้ - รุ่น HT 105 มีไว้เพ่ือขายจานวน 20 เครื่อง ราคาทุนเครื่องละ 3,000 บาท ราคาขาย เครื่องละ 4,500 บาท ขายไปในระหว่างเดอื นธนั วาคม 15 เครอื่ ง - รุ่น SS 100 มีไว้เพื่อขายจานวน 15 เคร่ือง ราคาทุนเครื่องละ 2,000 บาท ราคาขาย เคร่ืองละ 2,500 บาท ขายไปในระหวา่ งเดือนธนั วาคม 10 เครื่อง การคานวณหาตน้ ทุนของสินคา้ คงเหลือปลายงวดและต้นทนุ ของสนิ ค้าท่ขี ายไปแล้ว ดงั นี้ สินคา้ (ร่นุ ) จานวนท่ีมเี พ่อื ขาย ต้นทนุ ขายหรอื ต้นทนุ ต้นทุนสินคา้ (เครอื่ ง) สินค้าที่ขายไปแล้วเคร่ือง คงเหลือ (เครื่อง) HT 105 20 15 5 SS 100 15 10 5 รวม 35 25 10 สนิ ค้า จานวนสนิ คา้ ราคาทนุ ต้นทุนขายหรือต้นทนุ ต้นทุนสินค้า (รุน่ ) ท่มี ีเพ่อื ขาย (บาท) สินค้าทขี่ ายไปแลว้ คงเหลือ (บาท) HP 105 (เครอื่ ง) (บาท) 5 x 3,000 = 15,000 CN 100 15 x 3,000= 45,000 5 x 2,000 = 10,000 รวม 20 3,000 10 x 2,000 = 20,000 = 25,000 15 2,000 = 65,000 สรุปวา่ 1. ต้นทุนสนิ ค้าคงเหลือรวมทั้งสิน้ จานวน 10 เคร่ือง คิดเปน็ เงนิ = 25,000 บาท (ราคาทุน) 2. ต้นทุนสินคา้ ทขี่ ายไปแล้ว (ตน้ ทนุ ขาย) จานวน 25 เครอ่ื ง คดิ เปน็ เงิน = 65,000 บาท (ราคาทุน)

283 2. วิธเี ข้ากอ่ น-ออกก่อน (First –in First – out Method) มาตรฐานการบัญชี ฉบบั ท่ี (ปรบั ปรงุ 2557) กาหนดวา่ วิธีเข้าก่อนออกก่อนมีข้อสมมติว่า สินค้าคงเหลือรายการท่ีซื้อมาหรือผลิตขึ้นก่อนจะขาย ออกไปกอ่ น จงึ เปน็ ผลให้รายการสนิ คา้ คงเหลือที่เหลืออยู่ ณ วันส้ินงวดเป็นสินค้าท่ีซื้อมาหรือผลิต ข้นึ ในคร้งั หลังสุด ตามที่มาตรฐานการบัญชีกาหนด วิธีเข้าก่อนออกก่อนคือ “การให้ราคาทุนกับสินค้าที่ ยงั ไม่ถูกขายออกไป โดยกจิ การตอ้ งขายสนิ ค้าทซี่ ้อื เข้ามาก่อนและหลังตามลาดับ จะทาให้สินค้าท่ี ยังคงเหลืออยู่เป็นสินค้าท่ีถูกซื้อมาครั้งล่าสุด เป็นสินค้าท่ีใหม่ท่ีสุด” วิธีน้ีนามาใช้กับกิจการที่ ต้องการให้สินค้าคงเหลือเป็นสินค้าใหม่ อาจเป็นสินค้าที่มีอายุส้ันหรือสินค้าที่เป็นอาหาร ซ่ึงวิธีน้ี เป็นวธิ ีทเี่ ป็นไปตามการไหลเวยี นของสนิ ค้ามากที่สุด คือ สินค้ารายการไหนที่ถูกซ้ือมาก่อนก็จะถูก นาไปขายก่อนทาให้สินค้าคงเหลือเป็นสินค้าท่ีถูกซื้อมาคร้ังหลังสุด มีความใหม่ท่ีสุด ทาให้มูลค่า ของสินค้าคงเหลือเป็นมูลค่าล่าสุด ส่งผลให้งบการเงินนาเสนอข้อมูลท่ีใกล้เคียงมูลค่าจริง ณ ขณะนน้ั 3. วิธีต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก (Weighted Average Method) มาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 2 (ปรบั ปรงุ 2557) เรื่อง สินค้าคงเหลอื กาหนดวา่ สาหรับวิธตี น้ ทนุ ถัวเฉลี่ยถว่ งนา้ หนัก ต้นทนุ สินคา้ คงเหลือแตล่ ะรายการจะกาหนดจาก การถวั เฉล่ียต้นทุนของสินค้าที่คล้ายคลึงกัน ณ วันต้นงวดกับต้นทุนของสินค้าที่คล้ายคลึงกันท่ีซื้อ มาหรือผลิตขึ้นในระหว่างงวด ซึ่งวิธีการคานวณต้นทุนถัวเฉลี่ยอาจคานวณเป็นงวดๆ ไปหรือ คานวณทุกครัง้ ท่ไี ดร้ ับสินค้า ทงั้ น้ขี น้ึ อยู่กับสถานการณข์ องกจิ การ” ตามที่มาตรฐานการบัญชีกาหนด วิธีต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก คือ “การให้ราคาทุน กับสินค้าที่ยังไม่ถูกขายออกไป โดยกิจการได้นาสินค้าที่ซ้ือมาปนกันแล้ว ทาให้สินค้าท่ียังคง เหลืออยู่ไม่ทราบว่าถูกซื้อมาในครั้งใด ต้องคานวณหารา คาทุนท่ีเป็นราคากลาง โดยให้ ความสาคัญกับปริมาณทีซ่ ้ือมาในแตล่ ะคร้ังดว้ ย” ตามวธิ นี น้ี ามาใช้กับกิจการท่ีมีสินค้าเป็นจานวน มากและสนิ ค้ามีลักษณะคล้ายกนั ราคาใกล้เคียงกัน มีการซ้ือเขา้ มาหลายครัง้ อาจไม่สามารถระบุ ไดว้ ่าสนิ ค้ารายการใดเป็นรายการที่ถูกซ้อื มาในครงั้ ใด ไมเ่ หมาะกบั กิจการที่ขายสินค้าราคาสูงและ มีสินค้าจานวนน้อย เพราะวิธีนี้มีหลักการว่าสินค้ามีหลายราคา มีจานวนไม่เท่ากัน ต้องหาราคา ใหม่ให้กับสินค้า ซึ่งราคาใหม่นี้คือ ราคาที่เป็นกลางๆ ราคาท่ีถัวเฉล่ียแล้ว จากจานวนสินค้าที่ซื้อ มาแตล่ ะครัง้ ก็ไมก่ เ็ ท่ากนั ทั้งราคาทุนและปรมิ าณ

284 ตัวอย่างที่ 5-2 บริษัท บ่ายน้ี จากัด มีรายละเอียดเก่ียวกับสินค้าคงเหลือ ดังน้ี ในวันต้นงวด คือ วันที่ 1 มกราคม 2557 มีสินค้าคงเหลือยกมาจากสิ้นปี 2556 จานวน 10,000 หน่วย ราคาทุน หน่วยละ 40 บาท และมรี ายการซือ้ -ขายระหวา่ งปี ดงั น้ี พ.ศ. รายการซื้อ-ขาย ปริมาณ(หนว่ ย) ตน้ ทุนตอ่ หนว่ ย ตน้ ทุนรวม(บาท) 2557 (บาท) ยอดยกมา 10,000 40 400,000 ม.ค. ซือ้ ครัง้ ท่ี 1 4,000 45 180,000 ขายครัง้ ที่ 1 4,000 ก.ค. ซ้ือคร้ังท่ี 2 5,000 50 250,000 ขายครัง้ ที่ 2 9,000 ต.ค. ซื้อคร้งั ท่ี 3 3,000 55 165,000 ขายครง้ั ที่ 3 6,000 วนั สนิ้ งวด คือวันที่ 31 ธ.ค. 2557 กิจการตรวจนับสนิ ค้าคงเหลือปลายงวดได้ = 3,000 หน่วย การคานวณมลู ค่าสินคา้ คงเหลอื ปลายงวด ตามวธิ ตี า่ งๆ ดังนี้ พิจารณาโจทย์ - วิธเี ขา้ กอ่ น ออกก่อน กรณกี ิจการบันทึกบัญชสี นิ ค้าเมอ่ื ถึงวนั ส้นิ งวด พ.ศ. รายการซ้อื -ขาย ปริมาณ(หน่วย) ต้นทนุ ต่อหนว่ ย ตน้ ทนุ รวม(บาท) 2557 (บาท) ยอดยกมา 10,000 40 400,000 ม.ค. ซื้อครง้ั ที่ 1 4,000 45 180,000 ก.ค. ซื้อครงั้ ท่ี 2 5,000 50 250,000 ต.ค. ซื้อครั้งที่ 3 3,000 55 165,000 กิจการตรวจนับสินค้าคงเหลือปลายงวดได้จานวน = 3,000 หน่วย การซื้อคร้ังที่ 3 เป็น การซอื้ มาครง้ั หลงั สุดจานวน 3,000 หน่วย ตามวิธีนี้ถือว่าสินค้ายังไม่ถูกขายออกไป เนื่องจากเป็น สินคา้ ทซ่ี ือ้ เข้ามาใหม่ล่าสดุ สรุปวา่ 1. ต้นทนุ ของสนิ ค้าคงเหลอื จานวน 3,000 หน่วย x 55 บาท = 165,000 บาท 2. ต้นทนุ ของสนิ คา้ ทข่ี ายไปแลว้ คานวณได้ ดงั นี้

285 พ.ศ. รายการซือ้ -ขาย ปรมิ าณ(หน่วย) ต้นทุนตอ่ หน่วย ตน้ ทนุ รวม(บาท) 2557 (บาท) ยอดยกมา 10,000 40 400,000 ม.ค. ซื้อคร้ังท่ี 1 4,000 45 180,000 ก.ค. ซือ้ ครง้ั ท่ี 2 5,000 50 250,000 ต.ค. ซ้ือครั้งท่ี 3 3,000 55 165,000 รวมสินคา้ มเี พอ่ื ขาย 22,000 995,000 ต้นทนุ ขาย = ต้นทนุ สนิ ค้าทม่ี ที ง้ั หมดเพื่อขาย (ต้นทนุ รวม) – ต้นทุนสนิ ค้าคงเหลือปลายงวด = 995,000 - 165,000 = 830,000 บาท - วิธีเข้าก่อน ออกก่อน กรณีกิจการบันทึกบัญชีสินค้าอย่างต่อเนื่อง กิจการที่ใช้วิธีการ บันทกึ บัญชวี ธิ ีน้ี จะต้องบันทึกขอ้ มูลของสินค้าคงเหลือลงใน บัตรสินคา้ (Stock card) ดังนี้ รหสั สินคา้ ........... บตั รบัญชสี นิ คา้ รายการสนิ ค้า...................................รนุ่ ....................................ย่ีหอ้ ............................... พ.ศ. รายการ รบั (ซือ้ ) จา่ ย (ขาย) คงเหลือ อธบิ ายชอ่ ง 2557 คงเหลือ ม.ค. 1 ยอดยกมา 10,000 x 40 = 400,000 ซอ้ื สนิ คา้ 4,000 x45 10,000x40 = 400,000 สนิ ค้าเกา่ =180,000 ขายสินค้า 4,000 x 40 = 4,000 x 45 = 180,000 สินค้าซ้อื ม.ค. 6,000 x 40 = 240,000 สนิ คา้ เก่า 160,000 4,000 x 45 = 180,000 สนิ คา้ ซ้อื ม.ค. พ.ค. ซ้ือสินคา้ 5,000x50 = 6,000 x 40 = 240,000 สินคา้ เกา่ 250,000 4,000 x 45 = 180,000 สนิ ค้าซื้อ ม.ค. พ.ค. ขายสินคา้ 5,000 x 50 = 250,000 สินค้าซื้อ พ.ค. 6,000 x 40 = 240,000 3,000 x 45 = 1,000 x 45 = 45,000 สนิ ค้าซื้อ ม.ค. 135,000 5,000 x 50 = 250,000 สนิ ค้าซ้อื พ.ค.

286 พ.ศ. รายการ รับ (ซ้อื ) จา่ ย (ขาย) คงเหลอื อธิบายช่อง 2557 1,000 x 45 = 45,000 คงเหลือ สินค้าซ้อื ม.ค. ต.ค. ซือ้ สนิ ค้า 3,000x55= 165,000 5,000 x 50 = 250,000 สินคา้ ซื้อ พ.ค. ขายสนิ คา้ 3,000 x 55= 165,000 สินค้าซ้อื ต.ค. 1,000 x 45 = 45,000 5,000 x 50 = 3,000 x 55= 165,000 สนิ คา้ ซื้อ ต.ค. 250,000 ดดั แปลงจาก สมนึก เออื้ จิระพงษพ์ ันธ์ และ สมเดช โรจน์คุรเี สถยี ร (2552: 361) สรุป 1. ตน้ ทุนของสินคา้ คงเหลอื 3,000 หนว่ ย x 55 บาท = 165,000 บาท (จากช่องคงเหลอื ) 2. ตน้ ทนุ ของสินค้าทีข่ ายไปแลว้ คานวณได้จากชอ่ งจ่ายหรอื ขาย ดังน้ี = (4,000 x 40) + (6,000 x 40) + (3,000 x 45) + (1,000 x 45) + (5,000 x 50) = 160,000 + 240,000 + 135,000 + 45,000 + 250,000 = 830,000 บาท วิธีถัวเฉล่ยี ถว่ งน้าหนัก กรณีกจิ การบันทึกบญั ชีสินคา้ เมอ่ื ถึงวันสน้ิ งวด ราคาทนุ ถวั เฉลี่ยถ่วงน้าหนกั = ราคาทุนรวมทัง้ หมดของสินค้า (สินค้าเก่าหรอื ยอดยกมา+สินค้าซอื้ มาในระหวา่ งงวด) จานวนหนว่ ยทั้งหมดของสินคา้ ที่มเี พือ่ ขาย (ดัดแปลงจากสมนกึ เออื้ จิระพงษ์พนั ธ์ และ สมเดช โรจน์ครุ ีเสถียร (2552: 347)) แทนคา่ = (10,000 x 40) + (4,000 x 45) + (5,000 x 50) + (3,000 x 55) 10,000 + 4,000 + 5,000 + 3,000 = 400,000 + 180,000 +250,000 + 165,000 22,000 = 995,000 = 45.23 บาทต่อหน่วย 22,000

287 สรุป 1. ตน้ ทุนสนิ คา้ คงเหลอื ปลายงวดจานวน 3,000 หนว่ ย x 45.23 บาท รวมเป็นเงิน 135,690 บาท 2. ต้นทุนสินคา้ ทีข่ ายไปแล้วมจี านวน = ต้นทนุ รวมของสินคา้ ท้ังหมดท่ีมเี พื่อขาย – ต้นทุนสินค้าคงเหลือปลายงวด = 995,000 - 135,690 = 859,310 บาท ในการเลอื กใช้วธิ ีการวดั มูลค่าสินค้าคงเหลือตามที่มาตรฐานการบัญชีอนุญาตน้ัน เพ่ือให้ กิจการนาวิธีที่เหมาะกับลักษณะของสินค้ามากที่สุดมาใช้ ซึ่งจะส่งผลต่อทั้งต้นทุนขายและกาไร ขั้นต้นต่อไปอีกด้วย เป็นผลดีต่อกิจการเม่ือนาสินค้าคงเหลือมาแสดงในงบกาไรขาดทุนและงบ แสดงฐานะการเงินซ่ึงจะต้องนาข้อมูลจากงบการเงินน้ีไปใช้ในการวางแผนเร่ืองสินค้าคงเหลือ ต่อไป นอกจากน้ีแล้วการวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือตามราคาทุน ยังมีวิธีที่ใช้กันท่ัวไป ดังน้ี (บุญ เสริม วมิ ุกตะนนั ท์ และคณะ, 2555: 183) วธิ เี ข้าหลงั –ออกกอ่ น เปน็ ตน้ 4. วิธเี ขา้ หลงั –ออกกอ่ น (Last In First Out) ในปัจจุบัน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) ไม่อนุญาตให้ใช้วิธีน้ีแล้ว เนอื่ งจากว่าวธิ ีนไ้ี มเ่ ปน็ ไปตามการหมนุ เวียนของสนิ ค้า บุญเสริม วิมุกตะนันท์ และคณะ (2556: 187) กล่าวว่า “วิธีนี้ยึดข้อสมมติว่าสินค้าที่ซื้อ หรือผลิตได้หลังสุดจะขายออกไปก่อน ดังน้ัน ต้นทุนของสินค้าท่ีซื้อมาหลังสุดจะนามาคิดเป็น ตน้ ทุนสินค้าขาย สินคา้ คงเหลอื ปลายงวดเปน็ สนิ ค้าท่ีซื้อหรอื ผลิตขน้ึ ในครั้งแรกๆ” ตามความหมายข้างต้น วิธีเข้าหลังออกก่อน มีวิธีคือ สินค้าที่ซื้อเข้ามาทีหลังจะถูกนาไป ขายก่อน ทาให้สินค้าคงเหลือเป็นสินค้าท่ีซื้อมาคร้ังแรกๆ เป็นของเก่า วิธีน้ีจะทาให้กิจการมีบัญชี ตน้ ทุนขายดว้ ยมลู ค่าทเี่ ป็นปจั จุบัน เพราะสนิ ค้าท่ีถกู ขายออกไปเป็นสนิ ค้าใหม่

288 ตัวอย่างท่ี 5-3 บริษัท บ่ายน้ี จากัด มีรายละเอียดเก่ียวกับสินค้าคงเหลือ ดังนี้ ในวันต้นงวด คือ วันที่ 1 มกราคม 2557 มีสินค้าคงเหลือยกมาจากสิ้นปี 2556 จานวน 10,000 หน่วย ราคาทุน หน่วยละ 40 บาท พ.ศ. รายการซ้อื -ขาย ปริมาณ(หน่วย) ต้นทุนต่อหนว่ ย ตน้ ทนุ รวม(บาท) 2557 (บาท) ยอดยกมา 10,000 40 400,000 ม.ค. ซอ้ื ครง้ั ที่ 1 4,000 45 180,000 ขายคร้งั ที่ 1 4,000 ก.ค. ซ้ือคร้ังท่ี 2 5,000 50 250,000 ขายครั้งที่ 2 9,000 ต.ค. ซ้อื ครง้ั ท่ี 3 3,000 55 165,000 ขายครั้งท่ี 3 6,000 วันสิ้นงวด คือวันท่ี 31 ธ.ค. 2557 กิจการตรวจนับสินค้าคงเหลือปลายงวดได้จานวน = 3,000 หน่วย พ.ศ. รายการซ้อื -ขาย ปรมิ าณ(หน่วย) ตน้ ทุนตอ่ หนว่ ย ตน้ ทนุ รวม(บาท) 2557 (บาท) ยอดยกมา 10,000 40 400,000 ม.ค. ซือ้ ครง้ั ที่ 1 4,000 45 180,000 ก.ค. ซื้อคร้งั ที่ 2 5,000 50 250,000 ต.ค. ซอ้ื ครัง้ ที่ 3 3,000 55 165,000 รวมสนิ ค้ามเี พอ่ื ขาย 22,000 995,000 การคานวณมูลคา่ สนิ ค้าคงเหลอื ปลายงวด มดี งั นี้ - วิธีเข้าหลัง-ออกกอ่ น กรณีกจิ การบันทึกบัญชีสนิ คา้ เม่ือถึงวนั ส้นิ งวด กิจการตรวจนับสินค้าคงเหลือปลายงวดได้จานวน = 3,000 หน่วย เป็นของยอดยกมาก จานวน 3,000 หน่วย ตามวิธีนี้ถือว่าสินค้ายังไม่ถูกขายออกไปเน่ืองจากเป็นสินค้าที่ซื้อเข้ามาก่อน ส่วนสินค้าท่ีซ้อื มาครัง้ ท่ี 1 2 และ 3 ถอื วา่ ไดถ้ ูกขายไปแล้ว สรุปวา่ 1. ตน้ ทนุ ของสนิ ค้าคงเหลือจานวน 3,000 หน่วย x 40 บาท = 120,000 บาท 2. ตน้ ทนุ ของสินค้าท่ีขายไปแลว้ คานวณได้ ดงั นี้

289 ตน้ ทนุ ขาย = ตน้ ทนุ สนิ ค้าที่มที งั้ หมดเพ่ือขาย (ต้นทนุ รวม) – ตน้ ทุนสินคา้ คงเหลอื ปลายงวด = 995,000 - 120,000 = 875,000 บาท - วธิ ีเข้าหลงั ออกก่อน กรณกี จิ การบันทกึ บญั ชสี ินค้าอยา่ งต่อเนื่อง มดี ังนี้ รหัสสนิ ค้า........... บตั รบัญชีสนิ คา้ รายการสินค้า...................................รนุ่ ....................................ย่หี ้อ............................... พ . ศ . รายการ รับ (ซ้ือ) จา่ ย (ขาย) คงเหลอื อธบิ ายชอ่ ง 2557 คงเหลอื ม.ค. 1 ยอดยกมา 10,000 x 40 = 400,000 ซอ้ื สนิ คา้ 4,000 x45 10,000x40 = 400,000 สินคา้ เก่า =180,000 ขายสินคา้ 4,000 x 45 = 180,000 สนิ ค้าซ้ือ ม.ค. 4,000 x 10,000 x 40 = 400,000 สินคา้ เก่า 45=180,000 พ.ค. ซ้ือสินคา้ 5,000x50 = 10,000 x 40 = 400,000 สินคา้ เก่า 250,000 ขายสินคา้ 5,000 x 50 = 250,000 สินค้าซือ้ พ.ค. 5,000 x 50 = 250,000 4,000 x 40 = 6,000 x 40 = 240,000 สนิ ค้าเก่า 160,000 ต.ค. ซื้อสนิ คา้ 3,000x55= 3,000 x 55= 165,000 สินคา้ ซือ้ ต.ค. 165,000 ขายสินคา้ 6,000 x 40 = 240,000 สินคา้ เก่า 3,000 x 55= 165,000 3,000 x 40= 3,000 x 40= 120,000 สินคา้ เก่า 120,000 สรปุ 1. ตน้ ทนุ ของสนิ คา้ คงเหลอื 3,000 หนว่ ย x 40 บาท = 120,000 บาท (จากช่องคงเหลือ) 2. ตน้ ทุนของสนิ ค้าท่ีขายไปแลว้ คานวณได้จากช่องจา่ ยหรือขาย ดังนี้ = (4,000 x 45) + (5,000 x 50) + (4,000 x 40) + (3,000 x 55) + (3,000 x 40) = 180,000 + 250,000 + +160,000+ 165,000+120,000 = 875,000 บาท

290 วิธีเข้าหลัง-ออกก่อน มีข้อดีคือ สินค้าคงเหลือปลายงวดเป็นสินค้าเก่าต้ังแต่วันต้นงวด ดังน้ันต้นทุนขายของกิจการคือสินค้าที่ขายไปแล้วเป็นสินค้าใหม่ เม่ือต้นทุนขายคือค่าใช้จ่ายของ กจิ การ การที่กิจการมีค่าใช้จ่ายซึ่งเป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับปัจจุบันในขณะน้ัน ส่งผลให้งบการเงิน แสดงผลการดาเนินงานและฐานะการเงนิ ใกล้เคยี งความจริง การคานวณหาสนิ ค้าคงเหลือโดยประมาณ ในการจัดเก็บสนิ ค้ากิจการอาจต้องเผชิญกับเหตุการณ์ท่ีทาให้กิจการไม่สามารถตรวจนับ จานวนสินค้าคงเหลือได้ซ่ึงปัญหาอาจเป็นภัยธรรมชาติทาให้สินค้าสูญหายหรือสินค้าถูกขโมย หากเป็นเช่นน้ีนักบัญชีจึงหาวิธีการอ่ืนเพ่ือตรวจนับจานวนและวัดมูลค่าของสินค้าคงเหลือปลาย งวด แต่วิธีการน้ีไม่สามารถให้ข้อมูลท่ีถูกต้องท้ังหมดจึงเป็นวิธีการคานวณต้นทุนของสินค้า คงเหลอื โดยประมาณมี 2 วิธี คือ (กอบแก้ว รัตนอบุ ล, 2555: 5-1) 1. วธิ รี าคาขายปลกี (Retail Inventory Method) 2. วิธกี าไรขน้ั ต้น (Gross Profit Method) วธิ ีราคาขายปลีก (Retail Inventory Method) มาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 2 (ปรับปรงุ 2557) เรอ่ื ง สินค้าคงเหลือ กาหนดว่า 22 วธิ รี าคาขายปลีกมักจะใช้กบั อุตสาหกรรมค้าปลีก เพ่ือวดั มูลค่าตน้ ทุนสินค้า คงเหลือประเภทท่ีมีกาไรใกล้เคียงกันและมีการเปลี่ยนแปลงชนิดสินค้าเป็น จานวนมากอย่างรวดเร็วซึ่งในทางปฏิบัติ ไม่อาจใช้วิธีต้นทุนอ่ืนได้ต้นทุนของ สินค้าคงเหลือนี้สามารถคานวณหาได้โดยใช้มูลค่าขายของสินค้าหักด้วยอัตรา รอ้ ยละของกาไรขั้นตน้ ทเ่ี หมาะสม อัตรากาไรข้ันต้นน้ี ต้องคานึงถึงสินค้าคงเหลือ ท่มี กี ารลดราคาให้ต่าลงกว่าราคาขายเดิม โดยปกติมักจะใช้อัตราร้อยละถัวเฉล่ีย ของแผนกขายปลกี แต่ละแผนก ตามที่มาตรฐานการบัญชีกาหนดไว้ ในการตรวจนับและวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือ โดยประมาณสาหรบั กิจการที่ขายปลีก กจิ การที่จะนาวธิ ีนี้มาใช้ไดจ้ ะต้อง 1. ตอ้ งเป็นสนิ ค้าคงเหลือประเภททม่ี กี าไรใกลเ้ คียงกัน 2. ต้องเป็นสินค้าคงเหลือท่ีมีการเปล่ียนแปลงชนิดของสินค้าเป็นจานวนมากอย่าง รวดเร็ว เพราะการขายปลกี คอื การหมุนเวียนของสินค้าเขา้ ๆ ออกๆ อยา่ งรวดเร็ว 3. กิจการไมส่ ามารถใช้วิธีการตรวจนบั และวดั มลู ค่าด้วยวิธีอ่ืนตามที่มาตรฐานการบัญชี กาหนดได้

291 วิธีราคาขายปลีก หมายความว่า กิจการต้องการคานวณหามูลค่าของสินค้าคงเหลือ ปลายงวดในราคาทุน แต่ไม่สามารถใช้วิธีตามปกติได้ จึงต้องนาวิธีราคาขายปลีกน้ีมาใช้ โดยการ คานวณสินค้าที่มีเพื่อขายในราคาขายปลีกหักด้วยสินค้าท่ีขายในราคาขายปลีกจะได้สินค้า คงเหลือปลายงวดในราคาขายปลีก ซึ่งต้องคานวณก่อนว่า อัตราส่วนต้นทุนต่อราคาขายเป็น เท่าใด เพอื่ นามาคานวณสนิ ค้าคงเหลือปลายงวดในราคาทุน ข้อมูลท่ีใช้ในการคานวณหาต้นทุนของสินค้าคงเหลือด้วยวิธีราคาขายปลีกน้ี ได้แก่ (กอบ แก้ว รตั นอบุ ล, 2555: 5-2) 1. ราคาทนุ และราคาขายของสินค้าคงเหลือต้นงวด 2. ราคาทนุ และราคาขายของสนิ ค้าทซ่ี ื้อในงวดปัจจุบัน 3. มลู ค่าการเปลย่ี นแปลงของราคาขายปลีกจากราคาทีก่ าหนดไว้เดิม 4. อตั ราส่วนตน้ ทุนต่อราคาขาย 5. บญั ชีขายสนิ คา้ ท้งั สน้ิ สาหรบั งวดปจั จุบัน การคานวณหาตน้ ทนุ ของสนิ ค้าคงเหลอื ตามวธิ ีราคาขายปลีก แสดงได้ดังนี้ สินคา้ คงเหลือตน้ งวดในราคาขายปลกี xxx บวก สินค้าทซี่ ื้อในงวดปจั จบุ นั ในราคาขายปลีก xxx สนิ คา้ ทีม่ เี พือ่ ขายในราคาขายปลกี xxx หัก บัญชีขายสนิ คา้ สาหรับงวดปจั จุบัน xxx สินคา้ คงเหลือปลายงวดในราคาขายปลีก xxx คูณ อัตราส่วนต้นทนุ ตอ่ ราคาขาย (Cost-To-Retail Ratio) xxx สินค้าคงเหลอื ในราคาทนุ xxx การคานวณหาอตั ราส่วนต้นทุนต่อราคาขาย (กอบแก้ว รตั นอบุ ล, 2555: 5-2) 1. วธิ เี ข้ากอ่ น-ออกกอ่ น 2. วิธีราคาทุนถวั เฉล่ีย หมายความว่าในราคาขายสนิ คา้ จะประกอบด้วย ราคาทุนและราคาขาย หากทราบราคา ทนุ ก็สามารถคานวณหาราคาขายได้ หรอื หากทราบราคาขายกส็ ามารถคานวณราคาทนุ ได้ เช่นกนั 1. วธิ ีเขา้ กอ่ น – ออกก่อน (FIFO) = ราคาของสินคา้ ท่ีซ้ือในราคาทนุ สินคา้ ที่ซือ้ ในราคาขายปลกี + การเปล่ยี นแปลงในราคาขายปลกี

292 2. วิธีตน้ ทนุ ถัวเฉลีย่ (Average Cost) = สนิ ค้าที่มีเพื่อขายในราคาทุน สนิ ค้าทีม่ เี พ่ือขายในราคาขายปลกี + การเปลีย่ นแปลงในราคาขาย ตัวอย่างที่ 5-4 การคานวณหาต้นทุนของสินค้าคงเหลือปลายงวดในราคาทุนตามวิธีราคาขาย ปลีกโดยกิจการใช้วิธีการวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือด้วยวิธีต้นทุนถัวเฉล่ีย ในกรณีที่ราคาขายของ สนิ ค้าไมม่ ีการเปลีย่ นแปลงในระหวา่ งงวด โดยมีขอ้ มูลดังนี้ จานวน (หน่วย) ราคาทนุ ต่อหนว่ ย(บาท) ตน้ ทนุ รวม(บาท) สินค้าคงเหลอื ต้นงวด 50,000 10.50 525,000 ซ้อื ครั้งท่ี 1 25,000 11.00 275,000 คร้งั ที่ 2 60,000 ซ้ือ 11.50 690,000 ครง้ั ท่ี 3 35,000 230,000 12.00 420,000 ครั้งท่ี 4 110,000 หนว่ ย 12.75 1,402,500 รวมสินคา้ ทมี่ เี พอื่ ขาย 280,000 3,312,500 กิจการขายสินค้าในระหว่างปีได้จานวน 3,600,000 บาท โดยกาหนดราคาขายของสินค้า ราคาไวห้ นว่ ยละ 20 บาท การคานวณหาตน้ ทนุ สนิ คา้ คงเหลือด้วยวธิ รี าคาขายปลีก ดังนี้ สินคา้ ที่มีเพือ่ ขายในราคาขายปลีก ประกอบด้วย สนิ ค้าคงเหลอื ตน้ งวดในราคาขายปลกี (50,000 x 20) 1,000,000 บวก สินคา้ ท่ีซ้ือในงวดปจั จบุ ันในราคาขายปลีก (230,000 x 20) 4,600,000 5,600,000 หัก ขายสินคา้ 3,600,000 สินค้าคงเหลอื ปลายงวดในราคาขายปลีก 2,000,000 คูณ อัตราส่วนต้นทนุ ตอ่ ราคาขาย ( 33,125/ 56,000) 59.15% สินคา้ คงเหลอื ปลายงวดในราคาทุน 1,183,000

293 การคานวณอัตราสว่ นตน้ ทนุ ตอ่ กบั ราคาขาย = สนิ ค้าทีม่ เี พอื่ ขายในราคาทนุ สินค้าที่มเี พื่อขายในราคาขายปลกี + การเปลีย่ นแปลงในราคาขาย = 3,312,500 = 59.15 % 5,600,000 หมายความว่า ราคาขาย 100 ตน้ ทนุ 59.15 น่ันเอง การเปล่ียนแปลงในราคาขายปลีกจากราคาทตี่ ้ังไวเ้ ดมิ การขายปลกี คอื การขายสินค้าเป็นหนว่ ยย่อย เช่น 1 ชิ้น 2 ชิ้น เป็นต้น แล้วแต่ความต้องการ ของลูกค้า กจิ การซ้อื สินคา้ มาใน “ราคาทนุ ” กจิ การต้องกาหนดราคาขาย เรียกว่า “ราคาขายปลีก” ซึง่ ในระหว่างงวดราคาขายปลีกอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงข้ึนหรือลงขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ในขณะนั้น อาจเป็นเพราะการแข่งขันสูงกิจการต้องจัดรายการส่งเสริมการขายเพ่ือเพิ่มยอดขาย เป็นต้น เมื่อ เป็นเช่นนีจ้ ึงตอ้ งศึกษาความหมายของศัพท์ทใี่ ช้ในการกาหนดและการเปลี่ยนแปลงราคาขายปลีก มีดังตอ่ ไปนี้ (กอบแก้ว รตั นอบุ ล, 2555: 5-4) 1. ราคาเดิม (Original Sales Price) คือ การเพ่ิมราคาขึ้นจาก “ราคาทุน” เป็น “ราคา เดิม” เปน็ ราคาขายที่ต้งั ข้นึ เป็นครง้ั แรก 2. ส่วนเพ่ิม (Mark on หรือ Markup) คือ การเพ่ิมราคาขึ้นจาก “ราคาเดิม” ไปเป็น “ราคาใหม่” ทาให้ “ราคาเดมิ ” เพิ่มข้ึน 3. สว่ นเพิ่มข้ึน (Additional Markup) คือ การเพิ่มราคาขึ้นจาก “ราคาใหม่” ไปเป็นราคา ท่ีสูงขน้ึ เพือ่ กาหนดราคาขายใหมใ่ หส้ ูงขึ้น 4. การยกเลิกส่วนเพ่ิม (Markup Cancellation) คือ การยกเลิกการเพ่ิมราคาขึ้นจาก “ราคาใหม่” (Additional Markup) อาจยกเลกิ ทั้งหมดหรือยกเลิกเพยี งบางสว่ น เพื่อให้ “ราคาใหม่” ลดลง 5. ส่วนเพ่ิมสทุ ธิ (Net Markup) คอื การสรุปการเพิ่มราคาข้ึนจากเดิมและการยกเลิกการ ขนึ้ ราคา ว่าในการขึ้นราคาทั้งหมดเปน็ จานวนเท่าใด 6. ส่วนลบ (Markdown) คือ การลดราคาลงจาก “ราคาเดิม” ไปเป็น “ราคาใหม่” ทาให้ “ราคาเดิม” ลดลง

294 7. การยกเลิกส่วนลบ (Markdown Cancellation) คือ การยกเลิกการลดราคาลงจาก “ราคาใหม่” (Additional Markup) อาจยกเลิกทง้ั หมดหรือยกเลิกเพยี งบางส่วน เพ่ือให้ “ราคาใหม่” ลดลง เพ่ือปรับใหร้ าคาขายเพมิ่ ขึน้ 8. ส่วนลบสุทธิ (Net Markdown) คือ การสรุปการลดราคาลงจากเดิมและการยกเลิก การลดราคาวา่ ในการลดราคาท้งั หมดเปน็ จานวนเท่าใด ตัวอย่างที่ 5-5 ตอ่ ไปนีเ้ ป็นขอ้ มูลในการตงั้ ราคาขายปลีกของบริษทั เซฟไรด์ จากัด ดังนี้ 560 550 ส่วนเพม่ิ 20 540 ราคาเดมิ 530 520 ส่วนลด 40 510 500 บริษัท เซฟไรด์ จากัด ขายอุปกรณ์กีฬาสาหรับป่ันจักรยาน ซึ่งมีท้ัง เสื้อ กางเกง สนับเข่า สนบั ศอก หมวก เปน็ ต้น ขอยกตัวอยา่ ง สนับศอก สวมใส่เพื่อป้องกันการกระแทก ซ้ือมาราคาคู่ละ 450 บาท ต้ังราคาขายครั้งแรกคือ 540 บาท เรียกว่า “ราคาเดิม” การปั่นจักรยานกาลังเป็นที่นิยม ทาให้ขายดีมาก กิจการจึงข้ึนราคาอีกคู่ละ 20 บาท ซึ่งทาให้เกิดส่วนเพ่ิมราคาต้นทุน (Mark on หรือ Markup) คือ การเพมิ่ ราคาข้นึ จาก “ราคาเดิม” ไปเป็น “ราคาใหม่” ทาให้ “ราคาเดิม” เพิ่มข้ึน เป็น 560 บาท และ 20 บาท น้ีคือ “ส่วนเพ่ิม” นั่นเอง เนื่องจากในช่วงเวลาเช่นนี้มีการแข่งขันสูง กิจการจึงต้องลดราคาขายให้ต่าลงเหลือคู่ละ 550 บาท ทาให้เกิดการยกเลิก “ส่วนเพ่ิม” จานวน 10 บาท และต่อมารฐั บาลยงั ไม่สามารถจัดการเลือกตั้งได้ทาให้เศรษฐกิจซบเซา กิจการจึงต้องลด ราคาขายให้เหลือคู่ละ 500 บาท ทาให้เกิดการยกเลิก “ส่วนเพ่ิม” จานวน 10 บาท และเกิด “ส่วน ลบ” 40 บาท เม่ือรัฐบาลประกาศว่าจะมีการเลือกต้ัง ทาให้เศรษฐกิจกระเต้ืองเล็กน้อย กิจการจึง เพ่ิมราคาขายข้ึนเป็นคู่ละ 510 บาท ทาให้เกิดการยกเลิก “ส่วนลบ” จานวน 10 บาท สรุปว่า กจิ การมี “ส่วนเพิม่ สุทธิ” จานวน 0บาท และ “ส่วนลบสทุ ธิ” จานวน 30 บาท

295 ตัวอย่างท่ี 5-6 บริษัท เป็นคนดี จากัด ใช้วิธีการตรวจนับและตีราคาสินค้าคงเหลือด้วยวิธีเข้าก่อน ออกก่อน ซึ่งกิจการมีข้อมูลที่เกี่ยวช้องกับราคาขายปลีกคือการเพ่ิมราคาขายปลีก การลดราคา ขายปลีก กิจการจึงใช้วิธีราคาขายปลีกเพ่ือคานวณหาสินค้าคงเหลือปลายงวด โดยมีข้อมูลในปี 2557 ดงั น้ี ราคาทนุ (บาท) ราคาขายปลีก(บาท) สนิ คา้ คงเหลือต้นงวด 1,100 1,800 ซ้ือสทุ ธิ 12,580 17,800 สว่ นเพ่มิ (Additional Markup) 450 การยกเลิกสว่ นเพม่ิ (Markup Cancellation) 50 ส่วนลบ (Markdown) 1,200 การยกเลกิ สว่ นลบ (Markdown Cancellation) 200 ขายสนิ ค้า 17,000 การคานวณการพิจารณาส่วนเพม่ิ สุทธแิ ละสว่ นลบสทุ ธิ ซื้อสทุ ธิ (กอ่ นพิจารณาส่วนเพิ่มสทุ ธิและส่วนลบสุทธิ) ราคาทนุ (บาท) ราคาขายปลกี (บาท) 12,580 17,800 บวก ส่วนเพ่ิมสุทธิ 450 บวก สว่ นเพม่ิ หกั ยกเลิกส่วนเพิ่ม 50 400 หกั สว่ นลบสทุ ธิ สว่ นลบราคาขาย 1,200 หกั ยกเลิกส่วนลบ 200 1,000 17,200 12,580

296 คานวณราคาทุนของสินคา้ คงเหลอื ปลายงวดด้วยวธิ รี าคาขายปลกี ราคาทุน (บาท) ราคาขายปลกี (บาท) สินค้าคงเหลอื ต้นงวด 1,100 1,800 บวก ซอื้ สทุ ธิ (หลงั พิจารณาส่วนเพิม่ สุทธแิ ละส่วนลบสทุ ธิ) 12,580 17,200 สินค้าทม่ี เี พอื่ ขาย 13,680 19,000 หัก ขายสนิ คา้ 17,000 สินคา้ คงเหลอื ปลายงวดตามราคาขายปลีก 2,000 อธบิ ายการคานวณอัตราสว่ นต้นทนุ ตอ่ ราคาขาย - กจิ การใชว้ ิธีการตรวจนบั และตรี าคาสนิ ค้าคงเหลือด้วยวิธีเข้ากอ่ นออกก่อน = ราคาของสินคา้ ทซ่ี อ้ื ในราคาทุน สนิ ค้าที่ซ้ือในราคาขายปลกี + การเปลี่ยนแปลงในราคาขายปลกี = 12,580 x 100 = 73.13 % 17,200 ดังนน้ั สินค้าคงเหลือปลายงวดในราคาทนุ วิธเี ข้าก่อน-ออกก่อน = 2,000 x 73.13 % = 1,463 บาท - หากกจิ การตรวจนับและตรี าคาสนิ ค้าคงเหลือดว้ ยวธิ ตี ้นทุนถัวเฉลยี่ จะคานวณดงั นี้ = สนิ ค้าที่มเี พอื่ ขายในราคาทนุ สนิ คา้ ทม่ี เี พอื่ ขายในราคาขายปลีก + การเปลย่ี นแปลงในราคาขาย = 13,680 x 100 = 72 % 19,000 ดงั นั้น สินคา้ คงเหลือปลายงวดในราทนุ ตามวิธถี วั เฉล่ีย = 2,000 x 72 % = 1,440 บาท ในกรณที ีก่ จิ การต้องการคานวณหาสินค้าคงเหลือปลายงวดตามราคาทุนท่ีคานวณจากวิธี ราคาขายปลีกนคี้ าตอบที่ได้จะเป็นเพียงการประมาณไม่สามารถนาไปบันทึกบัญชีได้ ข้อดีของวิธี นี้คือเป็นคานวณจากข้อมูลในงวดปัจจุบันซึ่งเป็นข้อมูลเฉพาะของปีนี้ ซ่ึงให้ข้อมูลที่ใกล้เคียงกับ ปัจจบุ นั มากที่สดุ

297 วิธีกาไรขน้ั ตน้ (Gross Profit Method) กรณีที่กิจการไม่สามารถตรวจนับและวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือได้จากวิธีปกติที่มาตรฐาน การบัญชีกาหนดไว้ ทาให้กิจการไม่สามารถคานวณหามูลค่าท่ีแท้จริงของสินค้าคงเหลือได้ วิธี กาไรข้ันต้นนี้เป็นวิธีการคานวณโดยประมาณ ซึ่งเป็นอีกวิธีหนึ่งที่กิจการจะได้คาตอบเพื่อไปใช้ใน การตัดสินใจ ณ ขณะนั้น เช่น เกิดน้าท่วม สินค้าเสียหาย กิจการต้องการทราบความเสียหายใน เบื้องต้น เป็นต้น กิจการไม่สามารถนาคาตอบจากวิธีนี้ไปแสดงเป็นจานวนเงินของสินค้าคงเหลือ ในงบการเงนิ ได้ กาไรข้ันต้น (ศัพท์บัญชี: 54) คือ “ส่วนของรายได้จากการขายสุทธิที่สูงกว่าต้นทุนขาย” หรือขายสุทธิหักด้วยต้นทุนขาย สมมติว่า สินค้าราคาทุน 50 บาท ราคาขาย 80 บาท กาไรข้ันต้น 30 บาท ดงั น้ี ขายสุทธิ 80 หัก ตน้ ทนุ ขาย 50 กาไรขั้นต้น 30 กจิ การต้องคานวณอัตรากาไรขน้ั ตน้ สาหรับสินค้าแต่ละชนิดและอัตรากาไรข้ันต้นถัวเฉล่ีย สาหรับสินค้าทุกชนิดในกิจการ เพื่อท่ีกิจการจะได้ทราบว่า กิจการจะมีกาไรขั้นต้นถัวเฉลี่ยสาหรับ สินค้าทุกชนิดอยู่ท่ีเท่าใด วิธีนี้กิจการจะต้องมีข้อมูลของงวดที่แล้วเพื่อคานวณอัตรากาไรขั้นต้น ของงวดที่แล้วจากน้ันจึงนามาคานวณเพื่อหาคาตอบของงวดนี้ สามารถคานวณได้ 2 แบบ คือ อัตรากาไรข้ันต้นเทียบกับราคาขายและอัตรากาไรขั้นต้นเทียบกับราคาทุน สามารถคานวณได้ ดังน้ี (กอบแก้ว รัตนอุบล, 2555: 5-8) - อัตรากาไรขัน้ ตน้ เทียบกับราคาขาย = กาไรข้ันต้น x 100 = 30 x 100 = 37.5 % ราคาขาย 80

298 ราคาขาย 80 ต้นทุนขาย 50 กาไรขัน้ ต้น 30 ถ้าสมมตใิ ห้ ตน้ ทนุ ขาย ? ราคาขายเป็น 100 กาไรข้นั ต้น ? จากสูตรในการคานวณ ได้คาตอบ = 37.5 % ดงั น้ัน สรุปวา่ ตน้ ทุนขาย ? ราคาขายเป็น 100 กาไรข้ันต้น 37.50 คานวณต่อวา่ ราคาขาย 100 – กาไรขนั้ ต้น 37.50 = ต้นทุนขาย 62.50 นั่นเอง - อตั รากาไรขน้ั ต้นเทียบกบั ราคาทนุ = กาไรขนั้ ต้น x 100 = 30 x 100 = 60 % ราคาทนุ 50 ราคาขาย 80 ตน้ ทุนขาย 50 กาไรขัน้ ต้น 30 ถา้ สมมติให้ ต้นทนุ ขาย เป็น 100 ราคาขาย ? กาไรข้นั ต้น ?

299 จากสูตรในการคานวณ ได้คาตอบ = 60 % ดังน้ัน สรปุ วา่ ตน้ ทนุ ขาย เปน็ 100 ราคาขาย เป็น ? กาไรขนั้ ต้น 60 คานวณตอ่ วา่ ต้นทนุ ขาย 100 + กาไรข้นั ต้น 60 = ราคาขาย 160 น่ันเอง ดงั น้ันในการคานวณอตั รากาไรขั้นต้นจะต้องระบุให้ชัดเวนว่าเป็น “อัตรากาไรข้ันต้นเทียบ กบั ราคาขาย” หรอื “อัตรากาไรขน้ั ต้นเทยี บกับราคาทุน” ตวั อย่างท่ี 5-7 บริษัท ทองคาอุทิศ จากัด มีอัตรากาไรข้ันต้นของสินค้าทุกชนิดถัวเฉลี่ยเทียบกับ ราคาขาย 30 % หมายความวา่ ขายสทุ ธิ 100 -ต้นทุนขาย ……… กาไรขน้ั ต้น 30 สามารถคานวณ ตน้ ทุนขายได้ = 100 – 30 = 70 หากกจิ การมีบญั ชีขายสุทธิ 80,000 บาท สามารถคานวณไดด้ งั นี้ ต้นทุนขาย = 80,000 x 70 % = 56,000 บาท หมายความว่า ขายสุทธิคือ 100 % มี ต้นทุนขาย คือ 70 % ท่ีเหลือ 30 % คือ กาไรข้ันต้น ดังน้ัน ถ้ามีขายสุทธิ 80,000 บาท ถ้าอยาก ทราบต้นทุนขาย ให้นา 70 % x 80,000 จะได้ ต้นทุนขาย = 56,000 บาท น่ันเอง และการคานวณ กาไรขนั้ ต้นก็เช่นเดียวกนั = 80,000 x 30 % = 24,000 บาท สรปุ จานวนทเ่ี กดิ ข้นึ จริง ขายสุทธิ 100 80,000 หัก ต้นทุนขาย 70 56,000 กาไรขัน้ ต้น 30 24,000

300 ตัวอย่างท่ี 5-8 บริษัท ประชาสันติ จากัด ต้องการคานวณหาสินค้าคงเหลือปลายงวด โดยประมาณ กิจการนาอัตรากาไรขน้ั ตน้ ของปที ่แี ลว้ คอื ปี 2556 มาพิจารณาร่วมดว้ ย มขี ้อมลู ดงั นี้ รายการ ปี 2556 ปี 2557 ขายสินค้า (บาท) 30,000 42,000 ตน้ ทุนขาย (บาท) 30,000 กาไรขนั้ ต้น (บาท) 6,000 สนิ ค้าตน้ งวด (บาท) 12,000 ซ้ือสทุ ธิ (บาท) 28,000 ให้คานวณหามูลค่าสนิ คา้ คงเหลอื ปลายงวด ปี 2557 โดยใช้วธิ อี ตั รากาไรขั้นตน้ เทยี บจากยอดขาย อตั รากาไรขน้ั ตน้ เทียบจากยอดขายสินค้าปี 2556 = กาไรข้นั ตน้ x100 ขายสินคา้ ขายสทุ ธิ 100 = 6,000 x 100 = 20% -ต้นทนุ ขาย 80 กาไรขั้นตน้ 20 30,000 การคานวณสินคา้ คงเหลือในปี 2557 ตน้ ทุนขาย = สินค้าคงเหลือตน้ งวด + ซ้ือสทุ ธิ – สินคา้ คงเหลอื ปลายงวด 42,000 x 80 % = 12,000 +28,000 - สนิ คา้ คงเหลอื ปลายงวด 33,600 = 40,000 - สินค้าคงเหลือปลายงวด สนิ คา้ คงเหลือปลายงวด = 40,000 – 33,600 = 6,400 บาท หรือ การคานวณสนิ คา้ คงเหลอื ในปี 2557 12,000 สินค้าคงเหลอื ตน้ งวด บวก ซื้อสทุ ธิ 28,000 สนิ คา้ ท่ีมีเพือ่ ขาย 40,000 หกั ตน้ ทนุ ขาย ขายสินค้า 42,000 คูณ อตั รากาไรขน้ั ตน้ (ปี 2556) 20 % กาไรขั้นตน้ 8,400 ตน้ ทนุ ขาย (42,000 - 8,400) 33,600 สนิ ค้าคงเหลอื ปลายงวด 6,400 สินคา้ คงเหลอื ปลายงวดโดยประมาณปี 2557 เทา่ กบั 6,400 บาท

301 การทจี่ ะนาวธิ ีอตั รากาไรข้ันต้นน้ีมาใช้ ต้องระมัดระวังว่าเป็นการนาอัตรากาไรข้ันต้นของ งวดที่แล้วมาใช้เพ่ือหาคาตอบของสินค้าคงเหลือในปีปัจจุบัน ถ้าอัตรากาไรขั้นต้นในงวดที่แล้วมี การเปล่ียนแปลงมากจะส่งผลให้สินค้าคงเหลือปลายงวดของปีน้ีคลาดเคลื่อนมาก มูลค่าสินค้า คงเหลือปลายงวดท่ีคานวณได้จะไม่ใกล้เคียงความจริงเท่าใดนัก ไม่ถูกต้องตามหลักการบัญชีที่ รับรองทว่ั ไป แตเ่ ปน็ วธิ ที นี่ ิยมนามาใช้เพราะคานวณได้ไมซ่ บั ซ้อน จากที่กล่าวมาแล้ว หากเป็นการดาเนินงานตามปกติ กิจการต้องตรวจนับและตีราคา สนิ คา้ คงเหลือปลายงวดเพอื่ นาไปบันทึกบัญชีหรือเพ่ือตรวจสอบความถูกต้อง โดยใช้วิธีการตามที่ มาตรฐานการบัญชีได้กาหนดไว้คือ 1. วิธรี าคาเจาะจง 2. วิธีถัวเฉลี่ย 3. วิธีเข้าก่อน-ออกก่อน เม่ือ ได้คาตอบแล้วกจิ การสามารถจานวนเงนิ ไปบนั ทึกบัญชีได้ แต่ถ้าหากมีข้อผิดพลาดหรือเกิดปัญหา ใดๆ ขึ้นทาให้มีข้อมูลไม่ครบหรือเกิดความเสียหายกับสินค้าคงเหลือ กิจการสามารถใช้วิธีการ ตรวจนับและวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือโดยประมาณได้ คือ 1. วิธีราคาขายปลีก และ 2. วิธีกาไร ขั้นตน้ ซึ่งเปน็ คาตอบท่ีไมถ่ ูกต้องตามหลักการบัญชีนัก แต่กส็ ามารถนามาใชไ้ ด้ การคานวณสินคา้ คงเหลือวธิ รี าคาทุนหรือมลู ค่าสุทธทิ ี่จะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะต่ากวา่ (Lower of Cost or Net Realizable Value (NRV) Method) สินค้าคงเหลือเปน็ สนิ ทรัพยข์ องกจิ การซง่ึ หากสามารถขายได้ตามปกติ ก็ไม่มีความจาเป็น อะไรท่ีต้องพิจารณา แต่ถ้าหากกิจการขายสินค้าที่ล้าสมัยได้ สินค้าที่อายุสั้นหรือสินค้าท่ีชารุด หมายความว่า ทาให้ไม่สามารถขายสินค้าน้ันได้ตามปกติ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง สินคา้ คงเหลอื กาหนดวา่ 28 ต้นทนุ ของสนิ คา้ คงเหลอื อาจจะไม่ได้รับคนื ถ้าสนิ ค้าคงเหลอื เหลา่ นั้นเกิดความ เสียหาย หรือเกิด ความล้าสมัยบางส่วนหรือท้ังหมดหรือราคาขายลดลง ต้นทุน ของสินค้าคงเหลอื อาจจะไมไ่ ด้รบั คนื หากประมาณการต้นทุนในการทาต่อให้เสร็จ หรือประมาณการต้นทุนที่เกิดข้ึนเพื่อทาให้สินค้าขายได้เพ่ิมขึ้น การตีราคาสินค้า ค ง เ ห ลื อ ล ด ล ง จ า ก ร า ค า ทุ น ใ ห้ เ ท่ า กั บ มู ล ค่ า สุ ท ธิ ที่ จ ะ ไ ด้ รั บ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แนวความคิดที่ว่าสินทรัพย์ไม่ควรแสดงมูลค่าตามบัญชีที่สูงกว่ามูลค่าท่ีคาดว่า จะได้รบั จากการขายหรือประโยชนท์ ่ีจะได้รับจากการใช้” ตามที่มาตรฐานการบัญชีกาหนดไว้หากเกิดปัญหาดังกล่าวกับสินค้าคงเหลือ ผลก็คือจะ ทาให้สนิ คา้ ขายไมไ่ ด้ เกิดเปน็ ผลขาดทุน แต่อย่างน้อยหากกิจการสามารถขายสินค้าได้เพ่ือให้เกิด ความเสียหายน้อยท่ีสุดกิจการก็ต้องทา (มูลค่าสุทธิท่ีจะได้รับ) เม่ือถึงวันสิ้นงวดกิจการต้อง

302 คาดการณ์ผลขาดทุนท่ีอาจเกิดขึ้นจากการขายสินค้าไม่ได้หรือขายได้น้อย ดังน้ันก่อนท่ีจะเกิดผล ขาดทุนจริงกิจการควรคาดการณ์ระหว่างราคาทุนของสินค้าคงเหลือกับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้ว เลือกจานวนท่ีต่ากว่า เพราะว่า มาตรฐานการบัญชีกาหนดว่า “สินทรัพย์ไม่ควรแสดงมูลค่าตาม บัญชที ส่ี ูงกวา่ มลู ค่าที่คาดว่าจะได้รบั จากการขายหรือประโยชนท์ ี่จะไดร้ ับจากการใช้” มาตรฐานการบัญชี ฉบบั ที่ 2 (ปรบั ปรงุ 2557) เร่อื ง สินคา้ คงเหลือ ไดใ้ ห้ความหมายของ มลู คา่ สทุ ธทิ ี่จะได้รบั หมายถงึ ราคาโดยประมาณทค่ี าดวา่ จะขายได้ตามลกั ษณะการ ประกอบธุรกิจตามปกติหักด้วยประมาณการต้นทุนในการผลิตสินค้านั้น ใหเ้ สร็จและต้นทุนทจี่ าเปน็ ตอ้ งจ่ายไปเพ่ือใหข้ ายสินคา้ น้ันได้ ดังน้ัน มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ หมายถึง ราคาที่คาดว่าจะขายสินค้าน้ันได้ตามปกติหัก ดว้ ยค่าใชจ้ า่ ยทเี่ กดิ ข้นึ เพือ่ ให้สินคา้ น้ันขายได้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 2 (ปรับปรงุ 2557) เรือ่ ง สินคา้ คงเหลือ กาหนดว่า 34 เม่อื มกี ารขายสินค้าคงเหลอื ออกไป มูลค่าตามบัญชขี องสนิ คา้ คงเหลอื นน้ั ตอ้ ง รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่มีการรับรู้รายได้ที่เก่ียวข้อง มูลค่าท่ีลดลงของสินค้า คงเหลอื เน่ืองจากการปรับมลู คา่ สนิ ค้าคงเหลือให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับและ ผลขาดทุนท้ังหมดท่ีเก่ียวกับสินค้าคงเหลือต้องรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่ปรับ มูลค่าสินค้าคงเหลือให้ลดลงหรือมีผลขาดทุนเกิดข้ึน จานวนที่เกิดจากการกลับ รายการปรับลดมูลค่าสินค้าคงเหลือที่เกิดจากการเพิ่มข้ึนของมูลค่าสุทธิที่จะ ได้รบั ต้องรบั รูโ้ ดยนาไปหกั จากมลู ค่าของสนิ ค้าคงเหลือท่รี บั รู้เป็นค่าใช้จ่ายในงวด บัญชี ท่มี กี ารกลับรายการดงั กล่าว ตามท่ีมาตรฐานการบัญชีกาหนด เมื่อกิจการได้คาดการณ์ผลขาดทุนท่ีอาจเกิดข้ึน โดย เปรียบเทียบระหว่าง “ราคาทุน” กับ “มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ” แล้วกิจการต้องเลือกรายการท่ีต่ากว่า ซ่ึงวธิ ีการเลอื กมี 2 วธิ ี คอื (กอบแก้ว รตั นอุบล, 2555: 5-11) วิธีที่ 1. การเปรียบเทียบสินค้าจากยอดรวมของสินค้าทุกชนิด คือนารวมยอดของราคา ทุนและรวมยอดของมูลค่าสุทธิที่จะได้รับมาเปรียบเทียบกันแล้วเลือกยอดรวมที่ต่ากว่า หากมี ผลต่างใหน้ าไปบนั ทึกบัญชี วิธีที่ 2. การเปรียบเทียบสินค้าทีละรายการ คือการเปรียบเทียบสินค้าทีละชนิดระหว่าง ราคาทุนและมูลคา่ สทุ ธทิ ่ีจะไดร้ บั แลว้ เลือกยอดรวมที่ต่ากว่า จากน้ันจึงรวมยอดของสินค้าทุกชนิด ท่ถี ูกเลอื กแลว้ เข้าดว้ ยกนั หากมผี ลตา่ งใหน้ าไปบันทกึ บญั ชี

303 หากกจิ การเลอื กใชว้ ิธใี ดระหว่างวิธที ่ี 1 กับวิธีที่ 2 กใ็ ห้ปฏบิ ัติโดยสมา่ เสมอตลอดไป เม่อื สนิ ค้าคงเหลอื ต้องถูกปรบั ลดใหเ้ ปน็ มลู ค่าสทุ ธิท่ีจะได้รับ กิจการต้องแสดงบัญชีสินค้า คงเหลือด้วยราคาทนุ ตามปกตแิ ตใ่ ห้มบี ญั ชีอีกหนึง่ บัญชีเพอื่ ทาให้ สนิ ค้าคงเหลอื ลดลง ดงั น้ี เดบติ ขาดทนุ จากการตีราคาสนิ คา้ ลดลง ** เครดติ ค่าเผ่อื มลู ค่าสินคา้ ลดลง ** บญั ชีขาดทนุ จากการตีราคาสนิ คา้ ลดลง เป็นบญั ชคี ่าใชจ้ า่ ยแสดงในงบกาไรขาดทุน บัญชคี ่าเผื่อมูลคา่ สินค้าลดลง เป็นบัญชีปรับบัญชีสินค้าให้บัญชีสินค้ามีจานวนเงินลดลง เท่ากบั มลู ค่าสทุ ธิท่จี ะได้รับ ตัวอย่างที่ 5-9 บริษัท มนุษยธรรม จากัด มีรายละเอียดเก่ียวกับสินค้าคงเหลือ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2557 ดงั นี้ ชนดิ ของสนิ ค้า ไสก้ รอก ไสก้ รอก ไส้กรอก เบคอน ไสก้ รอก ไก่ หมู รมควนั อีสาน ราคาทุน (บาท) 70 90 100 120 96 ราคาทคี่ าดว่าจะขายได้ (บาท) 76 106 118 136 110 ต้นทนุ ทาตอ่ จนเสรจ็ และจาหนา่ ย 7 15 19 15 13 การคานวณสินค้าคงเหลอื ปลายงวดวธิ ีราคาทุนหรอื มลู คา่ สุทธทิ จี่ ะได้รับท่ีต่ากว่า ทงั้ 2 วธิ ี ไดด้ ังนี้ 1 23 4 5 6 ชนดิ ของสินค้า ร า ค า ราคาทคี่ าดว่า ต้นทุ นท าต่ อ มูลค่าสุทธิท่ีจะ ร า ค า ทุ น ห รื อ ทุน จะขายได้ จนเสร็จและ ได้รบั มูลค่าสุทธิที่จะ ไสก้ รอกไก่ ไสก้ รอกหมู (บาท) (บาท) จาหน่าย(บาท) (บาท) ไ ด้ รั บ ที่ ต่ า ก ว่ า ไส้กรอกรมควนั (ชอ่ ง 3 – ช่อง 4) (บาท) เบคอน ไส้กรอกอีสาน 70 76 7 69 69 รวม 90 106 15 91 90 100 118 19 99 99 120 136 15 121 120 96 110 13 97 96 476 477 474 ดดั แปลงจาก บญุ เสริม วมิ ุกตะนันท์ และคณะ (2557:198)

304 เมื่อกิจการได้คาดการณ์ผลขาดทุนท่ีอาจเกิดขึ้น โดยเปรียบเทียบระหว่าง “ราคาทุน” กับ “มูลค่าสุทธิที่จะไดร้ บั ” แล้วกจิ การต้องเลือกรายการที่ตา่ กว่า ซง่ึ วธิ ีการเลือกมี 2 วิธี คอื วิธีที่ 1. การเปรียบเทียบสินค้าจากยอดรวม คือนาช่องท่ี 2 ไปเปรียบเทียบกับช่องท่ี 5 จะ ได้ราคาทุน = 476 บาท และ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ = 477 บาท ซึ่งการเปรียบเทียบจะทาในคร้ัง เดียวโดยพิจารณาจานวนเงินจากยอดรวมได้เลย ต้องเลือก ราคาท่ีต่ากว่า คือ ราคาทุน = 476 บาท ไมต่ ้องบันทกึ บัญชเี พราะไมม่ ีผลตา่ งเกดิ ขึน้ กจิ การต้องใชร้ าคาทุนของสินค้าคงเหลืออยู่แล้ว การแสดงรายการในงบการเงิน มีดังน้ี งบกาไรขาดทุน (บางสว่ น) ส้ินสุดวนั ที่ 31 ม.ค. 2557 รายได้ ค่าใช้จ่าย ขาดทุนจากการตรี าคาสินค้าลดลง - งบแสดงฐานะการเงนิ (บางส่วน) ณ 31 ธ.ค. 2557 สินทรัพยห์ มนุ เวียน 476 สินคา้ คงเหลอื (ราคาทุน) - หกั ค่าเผอื่ มลู คา่ สนิ คา้ ลดลง สนิ ค้า-สุทธิ 476 วิธีที่ 2. การเปรียบเทียบสินค้าทีละรายการ คือนาช่องท่ี 2 ไปเปรียบเทียบกับช่องที่ 6 จะ ได้ราคาทนุ = 476 บาท และ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ = 474 บาท ต้องเลือก ราคาที่ต่ากว่า คือ มูลค่า สุทธิท่ีจะได้รับ = 474 บาท ซึ่งการเปรียบเทียบทีละรายการ เช่น ไส้กรอกไก่ ราคาทุนคือ 70 บาท มูลค่าสุทธิท่ีจะได้รับคือ 69 บาท จะต้องเลือกตัวที่ต่ากว่า คือ 69 บาท พิจารณาเช่นน้ีจนครบทุก รายการกอ่ นแลว้ จึงรวมสินค้าทกุ ชนิด การบนั ทึกบญั ชใี นวนั สิ้นงวด มดี ังนี้ เดบติ ขาดทุนจากการรตีราคาสนิ คา้ ลดลง 2 เครดติ ค่าเผ่ือมลู คา่ สนิ ค้าลดลง 2 การแสดงรายการในงบการเงิน มดี ังนี้ งบกาไรขาดทุน (บางส่วน) ส้ินสดุ วนั ที่ 31 ม.ค. 2557 รายได้ ค่าใชจ้ า่ ย ขาดทุนจากการตรี าคาสนิ ค้าลดลง 2

305 งบแสดงฐานะการเงนิ (บางส่วน) ณ 31 ธ.ค. 2557 สนิ ทรัพยห์ มุนเวยี น สินคา้ คงเหลอื (ราคาทุน) 476 หกั ค่าเผ่ือมูลคา่ สินคา้ ลดลง 2 สนิ ค้า-สุทธิ 474 การแสดงรายการในงบการเงินนั้นสินค้าคงเหลือจะต้องแสดงด้วยราคาทุน บัญชีค่าเผ่ือ มูลค่าสินค้าลดลงเป็นบัญชีปรับมูลค่าสินค้าคงเหลือจะนาไปแสดงเป็นรายการหักจากสินค้า คงเหลือในงบแสดงฐานะการเงิน ส่วนบัญชีขาดทุนจากการตีราคาสินค้าลดลงจะแสดงเป็น ค่าใชจ้ ่ายในการดาเนนิ งานในงบกาไรขาดทุน ยังมีกิจการที่มีสินค้าคงเหลือที่มีความแตกต่างกันในราคาขายแต่ราคาทุนเท่ากัน เช่น ธรุ กิจอสังหาริมทรพั ย์ การตรวจนบั และวัดมูลค่าสนิ ค้าคงเหลือของกิจการประเภทน้ี สามารถใช้วิธี สัดส่วนของราคาขาย เนื่องจากธุรกิจประเภทน้ี ได้แก่ ท่ีดิน จะมีราคาขายที่แตกต่างกัน เพราะมี ความแตกตา่ งในเรือ่ งของขนาด ทาเลท่ีต้งั ในขณะทก่ี ิจการซือ้ ที่ดนิ มาขายในราคาทุนซ่ึงราคาทุนมี ราคาเท่ากนั ธุกจิ ประเภทน้จี งึ ต้องคานวณหาราคาทุนใหม่ท่ีได้สัดสว่ นเดยี วกับราคาขาย ดังน้ี การคานวณสินคา้ คงเหลือวิธีอื่น วิธีสดั สว่ นของราคาทุนที่เทา่ กับราคาขาย วิธีการนี้จะนามาใช้กับกิจการสินค้ามีลักษณะแตกต่างกันแต่ซื้อมาในราคาทุนท่ีเท่ากัน กิจการจึงกาหนดราคาขายทแี่ ตกตา่ งกนั มีวิธีการว่า กิจการต้องคานวณราคาขายใหม่โดยใช้ราคา ทนุ เปน็ ตัวกาหนด จะไมใ่ ชร้ าคาทุนเดมิ มาใช้ เพอ่ื ความเหมาะสมของราคาขายและราคาทุน ตัวอย่างที่ 5-10 บริษัท ยูดีแลนด์ จากัด ซื้อที่ดินไว้เพื่อนามาจัดสรรเป็นท่ีดินจัดสรรเพ่ือขาย จานวน 5 ไร่ ราคาซือ้ 5 ล้านบาท และแบ่งทด่ี ินออกเปน็ แปลงและตง้ั ราคาขายไว้ ดังนี้ ชดุ ท่ี 1 จานวน 10 แปลง ราคาขายแปลงละ 500,000 บาท ชดุ ที่ 2 จานวน 10 แปลง ราคาขายแปลงละ 300,000 บาท ในระหวา่ งงวด กิจการขายทด่ี นิ กลมุ่ ที่ 1 ได้ 8 แปลง กลุม่ ท่ี 2 ขายได้ 7 แปลง การคานวณราคาทุนต่อแปลง ตน้ ทุนสินค้าท่ขี าย และสินคา้ คงเหลือ ไดด้ ังน้ี

306 ชุดท่ี จานวน ราคาขาย ราคาขาย สดั สว่ น ต้นทนุ ตน้ ทนุ ต้นทนุ แปลง ตอ่ แปลง รวม ราคา ในการซื้อ ในการซ้อื ในการซ้อื ต่อ ขาย จดั สรร แปลง 1 10 500,000 5,000,000 5/8 5,000,000 3,125,000 312,500 2 10 300,000 3,000,000 3/8 5,000,000 1,875,000 187,500 8,000,000 5,000,000 ดัดแปลงจาก บุญเสรมิ วมิ ุกตะนนั ท์ และคณะ (2557:203) ชดุ ที่ ขาย ต้นทนุ ขาย คงเหลอื ตน้ ทนุ สินค้าคงเหลือ (แปลง) (บาท) (แปลง) (บาท) 1 8 312,500 x 8 = 2,500,000 2 312,500 x 2 = 625,000 2 7 187,500 x 7 = 1,312,500 3 187,500 x 3 = 562,500 3,812,500 1,187,500 สรปุ วา่ 1. ตน้ ทนุ สินคา้ คงเหลอื ปลายงวด 1,187,500 บาท 2. ต้นทุนสนิ คา้ ทข่ี ายไปแล้วมจี านวน 3,812,500 บาท การแสดงรายการในงบการเงินและการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบ การเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) เร่ือง สินค้าคงเหลือ กาหนดให้กิจการต้อง เปิดเผยขอ้ มลู ตอ่ ไปน้ใี นงบการเงนิ 36 กจิ การต้องเปิดเผยข้อมูลทกุ ข้อต่อไปนีใ้ นบการเงนิ 36.1 นโยบายการบญั ชีท่ีใช้ในการวดั มูลค่าสินคา้ คงเหลอื รวมถงึ วิธีที่ใชค้ านวณ ต้นทุน 36.2 มลู ค่าตามบญั ชีรวมของสินคา้ คงเหลือและมลู ค่าตามบญั ชีของสนิ คา้ คงเหลอื แต่ละ ประเภทจาแนกตามความเหมาะสมของแต่ละกิจการ 36.3 มลู ค่าตามบัญชขี องสนิ คา้ คงเหลือทแ่ี สดงดว้ ยมลู ค่ายุตธิ รรมหักต้นทุนในการ ขาย

307 36.4 มลู ค่าของสนิ ค้าคงเหลือที่รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในระหวา่ งงวดบญั ชีน้นั 36.5 มูลคา่ ของสนิ ค้าคงเหลือท่ปี รบั ลดลงท่ีรับรู้เป็นค่าใชจ้ ่ายในงวดบัญชีนนั้ ตาม ข้อกาหนดในย่อหน้าท่ี 34 36.6 มูลคา่ การกลบั รายการปรับลดมลู ค่าสินค้าคงเหลือ ซึ่งกิจการรบั รโู้ ดยนาไปหัก จากมลู ค่าของสินค้าคงเหลอื ทรี่ ับรเู้ ป็นค่าใช้จา่ ยในงวดบญั ชีตามข้อกาหนดใน ยอ่ หน้าท่ี 34 36.7 สถานการณห์ รือเหตุการณท์ ี่ทาใหม้ กี ารกลับรายการปรับลดมูลคา่ สนิ คา้ คงเหลอื ตามย่อหน้าท่ี 34 และ 36.8 มลู ค่าตามบัญชีของสินคา้ คงเหลือทใ่ี ช้เป็นหลักประกันหนส้ี นิ ตามท่ีมาตรฐานการบัญชีกาหนด สินค้าคงเหลือเป็นรายการที่ถูกนาเสนอเป็นส่วนหนึ่ง ของค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุนและเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงิน ตามท่ี มาตรฐานการบัญชีกาหนด ตามปกติแลว้ สนิ ค้าคงเหลือต้องแสดงในราคาทุน แต่หากกิจการอยู่ใน สภาวะท่ีไม่แน่นอนสินค้าคงเหลือจะแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิท่ีจะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะ ต่ากว่า โดยกิจการซื้อขายสินค้าจะแสดงรายการ “สินค้าคงเหลือ” เพียงรายการเดียว แต่กิจการท่ี ผลิตสินค้าเพ่ือขายจะต้องแสดงรายการ “สินค้าคงเหลือ” เป็น 3 รายการ ได้แก่ วัตถุดิบ งาน ระหว่างทาและสินค้าสาเร็จรูป การเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน กิจการต้องเปิดเผย นโยบายการบัญชีที่ใช้ในการวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือ รวมท้ังรายการทุกรายการที่กิจการได้ปฏิบัติ ตามทีม่ าตรฐานการบัญชกี าหนด เพอ่ื ให้ผใู้ ชง้ บการเงินเข้าใจมากข้นึ มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรบั กจิ การที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาหรับกิจการที่ไม่มสี ่วนได้เสยี สาธารณะ มีข้อกาหนดท่ี แตกต่างจากมาตรฐานการบญั ชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรงุ 2557) เรื่อง สินคา้ คงเหลอื คอื - ผลขาดทุนทีเ่ กิดจากการวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือให้เท่ากับมูลค่าสุทธิท่ีจะได้รับ และผล กาไรที่เกิดจากการกลับรายการปรับลดมูลค่าสินค้าคงเหลือท่ีเกิดจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าสุ ทธิท่ี จะได้รับใหแ้ สดงเปน็ สว่ นหนึ่งของตน้ ทุนขาย ซง่ึ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) เร่ือง สนิ คา้ คงเหลือ ได้กาหนดวา่ - ผลขาดทุนนั้นให้ถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิดขึ้น ส่วนผลกาไรให้นาไปหักจากมูลค่า สินค้าคงเหลือทรี่ ับรู้เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย

308 สรปุ สินค้าคงเหลือเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนท่ีกิจการมีไว้เพื่อขาย กิจการต้องใช้วิธีการบันทึก บัญชีที่เหมาะสมกับลักษณะของกิจการและลักษณะของสินค้าด้วยได้แก่ การบันทึกบัญชีสินค้า เม่ือถึงวันสิ้นงวดและการบันทึกบัญชีสินค้าอย่างต่อเนื่อง และไม่ว่าจะบันทึกบัญชีด้วยวิธีใดเมื่อ ถึงงวันส้ินงวด กิจการต้องตรวจนับสินค้าคงเหลือปลายงวดเพ่ือตรวจสอบจานวนท่ีมีอยู่จริง การ ตรวจนับและการวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือปลายงวดโดยใช้ราคาทุนมีวิธีปฏิบัติตามที่มาตรฐานการ บญั ชกี าหนด วธิ ีราคาเจาะจง วธิ ีเข้ากอ่ น ออกกอ่ น และวิธีถัวเฉล่ยี ถว่ งน้าหนัก กิจการจะใช้ 3 วิธีนี้ ในกรณีน้ีที่กิจการสามารถขายสินค้าได้ตามปกติ แต่ถ้าหากกิจการอยู่ในสภาวะท่ีมีความเส่ียงท่ี อาจเกิดจากสินค้าใกล้หมดอายุ สินค้าเกิดความเสียหายหรือสินค้าล้าสมัย กิจการต้องวัดมูลค่า ของสินค้าคงเหลือโดยใช้ราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ากว่า นอกจากนี้ แล้ว กิจการที่สินค้าคงเหลือมีลักษณะเฉพาะเช่น ธรุกิจอสังหาริมทรัพย์ สามารถใช้วิธีสัดส่วนของ ราคาทุนท่ีเท่ากับราคาขาย ส่วนวิธีอื่นๆ ที่มาตรฐานการบัญชีไม่ได้กาหนดไว้ แต่มีข้อดีหากนามา ปฏิบัติได้แก่ วิธีเข้าหลัง-ออกก่อน เป็นต้น หากกิจการประสบเหตุสุดวิสัยทาให้ข้อมูลที่มีอยู่ไม่ สามารถคานวณสนิ ค้าคงเหลือปลายงวดได้ กิจการต้องใช้วิธีการโดยประมาณ ได้แก่ วิธีราคาขาย ปลกี และวิธีอัตรากาไรขั้นต้น มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะกล่าวถึงวิธี ปฏิบัติที่แตกต่างจากมาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 2 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง สินค้าคงเหลือ คือ ผลขาดทุนท่ีเกิดจากการวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือให้เท่ากับมูลค่าสุทธิท่ีจะได้รับ และผลกาไรที่เกิด จากการกลับรายการปรับลดมูลค่าสินค้าคงเหลือที่เกิดจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าสุทธิท่ีจะได้รับให้ แสดงเป็นส่วนหนึง่ ของตน้ ทนุ ขาย

309 แบบฝกึ หัด บทท่ี 5 คาถามปรนยั จากข้อมูลต่อไปน้ี ตอบคาถามขอ้ 1.ถงึ ขอ้ 5. สนิ ค้าคงเหลอื (1 ม.ค.2557) 35,000 สนิ ค้าคงเหลอื (31 ธ.ค.2557) 12,000 ซ้ือสนิ คา้ 180,000 ขายสินคา้ 315,000 สง่ คืนและส่วนลด 4,000 ค่าขนสง่ เขา้ 1,500 สว่ นลดรบั 2,000 รบั คืนและส่วนลด 3,000 สว่ นลดจา่ ย 5,000 ข้อ 1. ซือ้ สทุ ธิ คือข้อใด ข. 174,500 บาท ค. 175,500 บาท ก. 173,500 บาท จ. 177,500 บาท ค. 197,500 บาท ง. 176,500 บาท ค. 307,000 บาท ข.196,500 บาท ค. 109,500 บาท ข้อ 2. ตน้ ทนุ ขาย คอื ข้อใด จ. 199,500 บาท ก. 195,500 บาท ข. 306,000 บาท จ. 309,000 บาท ง. 198,500 บาท ขอ้ 3. ขายสทุ ธิ คอื ขอ้ ใด ข. 108,500 บาท จ. 111,500 บาท ก. 305,000 บาท ง. 308,000 บาท ขอ้ 4. กาไรข้ันต้น คอื ขอ้ ใด ก. 107,500 บาท ง. 110,500 บาท

310 จากข้อมลู ตอ่ ไปนีใ้ หต้ อบคาถามข้อ. 5 ถึงข้อ 9. บริษทั ดาวบนฟา้ จากดั ขายเครือ่ งประดบั ราคาถกู ขอ้ มลู ระหว่างเดือนธนั วาคม 2557 มีดงั น้ี 2557 ธ.ค. 1 ยอดยกมา 100 อันๆ ละ 5 บาท 8 ขายสนิ คา้ 50 อนั ๆ ละ 10 บาท 10 ซ้ือสนิ คา้ 300 อันๆ ละ 6 บาท 18 ขายสินคา้ 200 อนั ๆ ละ 10 บาท 20 ซือ้ สินคา้ 400 อันๆ ละ 7 บาท 28 ขายสนิ คา้ 400 อนั ๆ ละ 10 บาท ข้อ 5. คานวณหาจานวนสินค้าคงเหลือ ก. 150 อนั ข. 200 อัน ค. 250 อัน ง. 100 อนั จ. 50 อนั ข้อ 6. คานวณหามลู ค่าสนิ คา้ คงเหลอื ตามวธิ ถี ัวเฉล่ยี ถ่วงน้าหนกั ก. 957 บาท ข. 900 บาท ค. 1,050 บาท ง. 750 บาท จ. 956 บาท ขอ้ 7. คานวณหามูลคา่ ต้นทุนขาย ตามวิธถี ัวเฉลีย่ ถ่วงน้าหนัก ก. 5,100 บาท ข. 2,800 บาท ค. 4,144 บาท ง. 1,800 บาท จ. 4,200 บาท ขอ้ 8. คานวณหามูลคา่ สินคา้ คงเหลือตามวธิ ีเขา้ ก่อน ออกก่อน กจิ การบนั ทกึ บัญชีแบบสิน้ งวด ก. 900 บาท ข. 1,750 บาท ค. 1,050 บาท ง. 2,650 บาท จ. 2,800 บาท ขอ้ 9. คานวณหามูลคา่ ตน้ ทนุ ขาย ตามวธิ เี ขา้ ก่อน ออกกอ่ น ก. 5,100 บาท ข. 2,800 บาท ค. 4,200 บาท ง. 1,800 บาท จ. 4,050 บาท ขอ้ 10. ข้อใดคอื วธิ กี ารคานวณหาสินค้าคงเหลือโดยประมาณ ทีไ่ ม่สามารถนามาบันมกึ บัญชีได้ ก. วธิ เี ข้าก่อน ออกก่อน ข. วธิ สี ดั สว่ นของราคาขาย ค. วิธีถวั เฉล่ยี ถว่ งนา้ หนัก ง. วิธีอัตรากาไรขนั้ ต้น จ. วิธรี าคาทุนเจาะจง

311 คาถามอัตนัย ข้อ 1. ให้คานวณหาต้นทุนของสินค้าคงเหลือปลายงวดในราคาทุนตามวิธีราคาขายปลีกโดย กิจการใช้วธิ ีการวัดมลู ค่าสินค้าคงเหลือด้วยวิธีต้นทุนถัวเฉลี่ย ในกรณีที่ราคาขายของสินค้าไม่ มกี ารเปล่ยี นแปลงในระหว่างงวด โดยมีขอ้ มลู ดังนี้ จานวน (หน่วย) ราคาทุนตอ่ หนว่ ย(บาท) ต้นทนุ รวม(บาท) สนิ ค้าคงเหลอื ตน้ งวด 200,000 13.50 2,700,000 ซือ้ คร้งั ท่ี 1 100,000 13.00 1,300,000 ครง้ั ที่ 2 240,000 12.50 3,000,000 ครั้งที่ 3 140,000 12.75 1,785,000 ครงั้ ที่ 4 440,000 13.75 6,050,000 สนิ คา้ ทมี่ เี พ่ือขาย 1,120,000 14,835,000 ในระหว่างปีกิจการขายสินค้าจานวน 10,000,000 บาท ราคาขายของสินค้าราคาหน่วย ละ 20 บาท ข้อ 2. ต่อไปน้เี ป็นข้อมูลในการตั้งราคาขายปลกี ของ บริษทั เดินปา่ จากัด ในการต้ังราคาขายปลีก การเพม่ิ ราคา การลดราคา ดงั น้ี บริษทั เดนิ ป่า จากัด ขายอุปกรณ์สาหรบั เดินป่าเพ่อื คนรักธรรมชาติ ซงึ่ มีท้งั ไฟฉาย เป้ เต๊นท์ ถุงนอนเป็นต้น เป็นต้น ขอยกตัวอย่าง ถุงนอน (Sleeping Bag) ที่เบา ไม่เทอะทะ ดูแลง่าย ซ้อื มาราคา 450 บาท ต้ังราคาขายคร้ังแรกคือ 540 บาท เรียกว่า “ราคาเดิม” ขายดีมาก กิจการจึง ขึ้นราคาอีก 30 บาท ซึ่งทาให้เกิดส่วนเพ่ิมราคาต้นทุน (Mark on หรือ Markup) คือ การเพิ่มราคา ข้ึนจาก “ราคาเดิม” ไปเป็น “ราคาใหม่” ทาให้ “ราคาเดิม” เพิ่มขึ้นเป็น 570 บาท และ 30 บาท น้ี คือ “ส่วนเพ่ิม” น่ันเอง ต่อมาเน่ืองจากเกิดการแข่งขันสูง กิจการจึงต้องลดราคาขายให้ต่าลงเหลือ 550 บาท ทาให้เกิดการยกเลิก “ส่วนเพ่ิม” จานวน 20 บาท และต่อมาอากาศร้อนมาก กิจการจึง ต้องลดราคาขายให้เหลือ 490 บาท ทาให้เกิดการยกเลิก “ส่วนเพ่ิม” จานวน 10 บาท และเกิด “ส่วนลบ” 50 บาท เม่ืออากาศเร่ิมเย็นลงกิจการจึงเพ่ิมราคาขายข้ึนเป็น 510 บาท ทาให้เกิดการ ยกเลิก “สว่ นลบ” จานวน 20 บาท

312 570 560 550 540 ราคาเดมิ 530 520 510 500 490 สรปุ วา่ กจิ การมี “ส่วนเพิ่มสุทธิ” จานวน ………….. บาท และ “สว่ นลบสทุ ธิ” จานวน …………. บาท ข้อ 3. บริษัท ยุติธรรม จากัด ซึ่งกิจการมีข้อมูลที่เกี่ยวช้องกับราคาขายปลีกคือการเพิ่มราคาขาย ปลีก การลดราคาขายปลีก กิจการจึงใช้วิธีราคาขายปลีกเพ่ือคานวณหาสินค้าคงเหลือปลายงวด ในปี 2557 โดยมขี ้อมูลในปี 2557 ดังนี้ ราคาทนุ (บาท) ราคาขายปลีก(บาท) สินค้าคงเหลือตน้ งวด 1,650 2,700 ซื้อสุทธิ 18,870 26,700 สว่ นเพิม่ ขึน้ (Additional Markup) 675 การยกเลิกส่วนเพม่ิ (Markup Cancellation) 75 ส่วนลด (Markdown) 1,800 การยกเลกิ ส่วนลด (Markdown Cancellation) 300 ขายสินคา้ 25,500 ใหท้ า คานวณหาสินคา้ คงเหลือปลายงวดในปี 2557 โดยสมมติว่า กิจการใช้วิธีใช้วิธีการตรวจนับ และตีราคาสินคา้ คงเหลอื ด้วย 1. วิธเี ข้ากอ่ นออกกอ่ น 2. วธิ ีถวั เฉล่ยี

313 ข้อ 4. บริษัท คนไทยรักกัน จากัด ต้องการคานวณหาสินค้าคงเหลือปลายงวดโดยประมาณโดย กิจการนาอัตรากาไรขั้นต้นของปีท่ีแล้ว คือปี 2556 มาพิจารณาร่วมด้วย มีข้อมูลเกี่ยวกับการซ้ือ ขายสนิ ค้า ดังน้ี รายการ ปี 2556 ปี 2557 ขายสินค้า (บาท) 45,000 63,000 ต้นทุนขาย (บาท) 36,000 กาไรข้ันต้น (บาท) 9,000 สนิ คา้ ตน้ งวด (บาท) 18,000 ซ้ือสทุ ธิ (บาท) 42,000 ให้คานวณหามูลค่าสนิ คา้ คงเหลือปลายงวด ปี 2557 โดยใช้วิธีอัตรากาไรข้ันต้นเทียบจาก ยอดขาย ข้อ 5. วิธีราคาทนุ หรอื มูลค่าสทุ ธิท่จี ะได้รับ แลว้ แตร่ าคาใดจะต่ากว่า (Lower of Cost or Net Realizable Value (NRV) Method) บรษิ ัท คนเท่ากัน จากัด มรี ายละเอยี ดเกี่ยวกับสินคา้ คงเหลือ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 25x1 ดงั น้ี ชนิดของสินค้า มะมว่ งสุก มะละกอ สัปปะรด ทเุ รยี น มังคุด ราคาทุน (บาท) 35 45 50 60 45 ราคาทค่ี าดว่าจะขายได้ (บาท) 45 55 65 75 55 ตน้ ทุนทาต่อจนเสร็จและจาหนา่ ย 12 10 16 8 11 การคานวณสินค้าคงเหลือปลายงวดวธิ รี าคาทุนหรอื มูลค่าสุทธทิ ่ีจะได้รบั ท่ีต่ากว่า ทงั้ 2 วิธี ได้ดงั นี้ 1 2 3 4 5 6 ราคาทุน ราคาท่ีคาดว่า ต้นทนุ ทาต่อ มลู ค่าสทุ ธิท่ี ราคาทุนหรอื มลู ค่า ชนดิ ของ (บาท) จนเสร็จและ สทุ ธทิ ีจ่ ะได้รับทีต่ า่ สินค้า จะขายได้ จาหนา่ ย(บาท) จะได้รบั 35 (บาท) (บาท) กวา่ (บาท) มะม่วงสุก 45 12 33 มะละกอ 50 45 33 45 สปั ปะรด 60 10 45 49 ทุเรียน 45 55 49 60 มังคดุ 235 16 67 44 65 8 44 231 รวม 75 238 11 55

314 เม่ือกิจการได้คาดการณ์ผลขาดทุนท่ีอาจเกิดขึ้น โดยเปรียบเทียบระหว่าง “ราคาทุน” กับ “มูลค่า สทุ ธิทจ่ี ะได้รับ” แลว้ กจิ การตอ้ งเลือกรายการท่ตี ่ากว่า ซง่ึ วิธกี ารเลือกมี 2 วธิ ี คือ วิธที ่ี 1. การเปรียบเทียบสนิ ค้าจากยอดรวม คอื นาชอ่ งที่ 1 ไปเปรยี บเทียบกบั ช่องท่ี 5 จะได้ ราคาทุน = ……… บาท และ มูลค่าสุทธิท่ีจะได้รับ = ………….. บาท ซึ่งการ เปรยี บเทียบจะทาในครง้ั เดียวโดยพจิ ารณาจานวนเงินจากยอดรวมได้เลย ต้องเลือก ราคา ท่ีต่ากว่า คือ ราคาทุน = ……. บาท ไม่ต้องบันทึกบัญชีเพราะไม่มีผลต่างเกิดขึ้น กิจการ ต้องใชร้ าคาทุนของสนิ คา้ คงเหลอื อยูแ่ ล้ว การแสดงรายการในงบการเงิน มดี ังนี้ งบกาไรขาดทนุ (บางสว่ น) สิ้นสดุ วนั ท่ี 31 ม.ค. 2557 รายได้ คา่ ใชจ้ า่ ย ขาดทนุ จากการตีราคาสินค้าลดลง ….. งบแสดงฐานะการเงนิ (บางส่วน) ณ 31 ธ.ค. 2557 สนิ ทรัพย์หมุนเวียน …….. สนิ ค้าคงเหลือ (ราคาทุน) - หกั คา่ เผื่อมลู คา่ สนิ ค้าลดลง สนิ ค้า-สทุ ธิ …….. วธิ ีที่ 2. การเปรยี บเทยี บสนิ คา้ ทีละรายการ คอื นาชอ่ งท่ี 1 ไปเปรียบเทียบกับช่องท่ี 6จะได้ ราคาทุน = ………… บาท และ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ = ………. บาท ต้องเลือก ราคาท่ี ต่ากว่า คือ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ = ………… บาท ซึ่งการเปรียบเทียบทีละรายการ เช่น มะม่วงสุก ราคาทุนคือ 35 บาท มูลค่าสุทธิที่จะได้รับคือ 33 บาท จะต้องเลือกตัวที่ต่ากว่า คอื …………… บาท พจิ ารณาเชน่ นจี้ นครบทุกรายการกอ่ นแล้วจึงรวมสินค้าทุกชนดิ การบนั ทกึ บัญชใี นวันสนิ้ งวด มีดังน้ี เดบติ ……………………………………………….. …………. เครดิต ……………………………………………….. ………… การแสดงรายการในงบการเงิน มีดงั น้ี งบกาไรขาดทนุ (บางสว่ น) สิ้นสดุ วนั ที่ 31 ม.ค. 2557 รายได้ คา่ ใช้จ่าย …………………………………………. …………

315 งบแสดงฐานะการเงิน (บางส่วน) ณ 31 ธ.ค. 2557 สินทรัพยห์ มุนเวยี น ……….. สนิ คา้ คงเหลือ ……………………………… …….. หกั ……………………………………….. สินคา้ -สทุ ธิ ……….. ข้อ 6. บริษัท อุดรจัดสรร จากัด ซื้อท่ีดินไว้เพ่ือนามาจัดสรรเป็นท่ีดินจัดสรรเป็นแปลงจานวน 10 ไร่ ราคาซอ้ื 15 ลา้ นบาท และแบง่ ทีด่ ินออกเป็นแปลงยอ่ ยๆ และตงั้ ราคาขายไว้ ดังนี้ ชดุ ที่ 1 จานวน 5 แปลง ราคาขายแปลงละ 2,500,000 บาท ชดุ ท่ี 2 จานวน 5 แปลง ราคาขายแปลงละ 1,500,000 บาท ในระหวา่ งงวด กิจการขายท่ดี ิน กล่มุ ท่ี 1 ได้ 3 แปลง กลุ่มท่ี 2 ขายได้ 1 แปลง การคานวณราคาทนุ ตอ่ แปลง ตน้ ทุนสินค้าท่ขี าย และสินค้าคงเหลอื ไดด้ งั นี้ ชดุ จานวน ราคาขาย ราคาขาย สดั สว่ น ต้นทนุ ตน้ ทุน ต้นทนุ ท่ี แปลง ตอ่ แปลง รวม ราคา ในการซอื้ ในการซ้ือ ในการซ้ือ จัดสรร ตอ่ แปลง ขาย 1 5 2,500,000 12,500,000 125/200 15,000,000 9,375,000 1,875,000 2 5 1,500,000 7,500,000 75/200 15,000,000 5,625,000 1,125,000 20,000,000 15,000,000 ชุดท่ี ขาย ตน้ ทนุ ขาย คงเหลอื ตน้ ทุนสินคา้ คงเหลอื (แปลง) (บาท) (แปลง) (บาท) 1 3 1,875,000x 3 = 5,625,000 2 1,875,000x 2 = 3,750,000 2 1 1,125,000x 1 = 1,125,000 4 1,125,000x 4 = 4,500,000 6,750,000 8,250,000 สรุปวา่ 1. ต้นทุนสินคา้ คงเหลือปลายงวด …………………………………..บาท 2. ต้นทนุ สนิ คา้ ท่ีขายไปแลว้ มีจานวน …………………………….. บาท

316 เอกสารอ้างองิ กรมพัฒนาธรุ กจิ การค้า. (2554). คาชแ้ี จงเร่ือง กาหนดรายการยอ่ ที่ต้องมีในงบการเงิน. สบื คน้ เม่ือ 1 กุมภาพนั ธ์ 2558, จาก http://www.dbd.go.th/ewt_news.php?nid=1099&filename=law06 กอบแกว้ รตั นอุบล. (2555). การบัญชีชัน้ กลาง 1 กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์ จนั ทนา สาขากร และ ศลิ ปพร ศรีจั่นเพชร. (2556). การบญั ชีขนั้ ตน้ . กรุงเทพ: ทีพีเอ็นเพรส. บุญเสริม วิมุกตะนันท์, ดุษฎี สงวนชาติ, นันทพร พิทยะ และ พิมพ์พนา ปีตธวัชชัย (2556). การ บัญชีช้ันกลาง 1. พิมพ์คร้ังที่ 7. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . สมนกึ เอื้อจริ ะพงษ์พันธ์ และ สมเดช โรจน์คุรเี สถียร.(2552). การบญั ชีขั้นต้น. กรงุ เทพ: สานกั พมิ พ์แมคกรอ-ฮลิ . สภาวชิ าชีพบญั ชีในพระบรมราชูปถมั ภ์. (2557). มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 เร่ือง สนิ คา้ คงเหลือ. สืบค้นเม่ือ 26 พฤษภาคม 2558, จาก http://www.fap.or.th/images/column_1412565962/TAS%202%20-web.pdf , มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ. สืบคน้ เม่ือ 26 พฤษภาคม 2558, จาก http://fap.or.th.a33.readyplanet.net/images/column_1359010309/NPAE_web_060 554.pdf สมาคมนักบัญชแี ละผสู้ อบบญั ชีรบั อนญุ าตแห่งประเทศไทย, ศัพท์บญั ชี กรุงเทพมหานคร :2538. พดั ลมไอเย็น. สบื ค้นเมือ่ 26 พฤษภาคม 2558, จาก http://pantip.com/topic/31778243

317 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 6 ทด่ี นิ อาคารและอุปกรณ์ หวั ข้อเนอ้ื หาประจาบท 1. ความหมายของทดี่ นิ อาคารและอปุ กรณ์ 2. ราคาทนุ ของที่ดนิ อาคารและอปุ กรณ์ 3. การจดั หาท่ีดิน อาคารและอปุ กรณ์ 4. การรบั รูแ้ ละการวัดมลู คา่ ของรายการทีด่ ิน อาคารและอปุ กรณ์ 5. คา่ เส่ือมราคา 6. การระบรุ ายจา่ ยท่ีเกิดขึน้ ภายหลังจากการใช้งานสินทรัพย์แล้ว 7. การวดั มลู คา่ ท่ดี นิ อาคารและอปุ กรณ์ ภายหลงั การใชง้ านแลว้ 8. การทบทวนอายกุ ารใหป้ ระโยชน์และมูลคา่ คงเหลอื 9. การตดั รายการทดี่ นิ อาคารและอุปกรณ์ออกจากบญั ชี 10. การแสดงรายการในงบแสดงฐานะและการเปดิ เผยขอ้ มูลในหมายเหตปุ ระกอบงบ การเงนิ 11. มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาหรบั กจิ การท่ีไม่มีสว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม เมอ่ื ศึกษาบทนี้แลว้ ผศู้ ึกษาสามารถ 1. ทราบถึงความหมายและความสาคญั ของท่ีดนิ อาคารและอปุ กรณ์ 2. สามารถกาหนดราคาทนุ ของที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ได้ 3. สามารถอธิบายไดว้ า่ ท่ีดิน อาคารและอปุ กรณ์ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง 4. สามารถอธิบายวธิ กี ารบันทึกบัญชที เ่ี ก่ียวขอ้ งกับที่ดนิ อาคารและอปุ กรณ์ได้ 5. สามารถระบวุ ิธีการคิดคา่ เสอ่ื มราคาทีเ่ หมาะสมกับสนิ ทรัพยแ์ ตล่ ะประเภทได้ วธิ ีการสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอนประจาบท 1. แนะนาเนื้อหารายวชิ า 2. แนะนาตารา เอกสารอนื่ เว็บไซตท์ เ่ี กี่ยวขอ้ ง เพ่ือศึกษาเพิม่ เตมิ 3. แนะนากจิ กรรมการเรยี นการสอน การวัดผลและการประเมนิ ผล

318 4. บรรยายโดยใช้หนังสือและยกตัวอย่างประกอบ ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการ วเิ คราะหบ์ ทเนอื้ หาที่เรียนและนักศกึ ษามีส่วนรว่ มในการซักถามแทรกระหว่างการบรรยาย 5. ใหน้ กั ศึกษาทาการศกึ ษาและทาแบบฝกึ หัดทงั้ ในห้องเรียนและเปน็ การบา้ น 6. การจาลองเหตกุ ารณท์ างธรุ กจิ โดยให้นักศึกษาไดฝ้ กึ ปฏบิ ัตเิ ลยี นแบบเหตุการณ์จริง 7. อาจารย์เฉลยแบบฝกึ หัดรวมถึงการบ้าน ส่อื การเรยี นการสอน 1. ตาราหลกั เอกสารประกอบการสอน และบทความต่างๆ ที่เก่ยี วข้อง 2. มาตรฐานการบญั ชี ฉบบั ท่ี 1 (ปรบั ปรงุ 2557) เร่ือง การนาเสนองบการเงนิ 3. มาตรฐานการบญั ชีฉบับที่ 16 (ปรับปรงุ 2557) เรื่อง ทด่ี นิ อาคารและอปุ กรณ์ 4. กรอบแนวคิดทางการบัญชีสาหรับการรายงานทางการเงิน การวดั และประเมนิ ผล 1. สงั เกตจากการเขา้ เรียนตรงเวลาและความสนใจในห้องเรียน 2. สอบถามเพ่อื ประเมินความเข้าใจในเน้อื หาท่เี รียนเปน็ รายกลมุ่ 3. เฉลยแบบฝึกหัดในห้องและให้สมาชิกในกลุ่มดูแลกันเองหากมีนักศึกษาท่ีทาผิด โดย การแก้ไขใหถ้ กู ต้อง 4. การตอบคาถามท้ายบท

319 บทที่ 6 ทด่ี นิ อาคารและอุปกรณ์ ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ์ (Property Plant and Equipment) เป็นสินทรัพย์ที่กิจการมีไว้ใช้ ประโยชน์เป็นเวลานานกว่าหนึ่งปีและเป็นสินทรัพย์ท่ีต้องใช้เงินลงทุนเป็นจานวนมาก เช่น ใช้ใน การดาเนินงานตามปกติของกิจการ การผลิตสินค้าเพ่ือขาย การให้บริการแก่ลูกค้า เป็นต้น เม่ือ กิจการไดน้ าที่ดนิ อาคารและอปุ กรณ์มาใชเ้ พื่อก่อให้เกิดประโยชน์กับกิจการ ส่งผลให้ท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ์นั้นเสื่อมค่าลงเน่ืองจากการใช้งาน หมายถึงว่ากิจการต้องคานวณมูลค่าท่ีเส่ือมค่าลง ของท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์นั้นออกมาเป็นจานวนเงินให้ได้ โดยมีการคิดคานวณอย่างเป็นระบบ และเหมาะสมกับสินทรัพย์แต่ละประเภทอีกด้วย สุดท้ายกิจการต้องนาเสนอรายการท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ์ในงบการเงินและการเปิดเผยข้อมูลต่างๆที่เก่ียวข้องตามท่ีมาตรฐานการรายงานทาง การเงนิ กาหนดและเพอื่ ให้ผู้ใช้งบการเงนิ ไดน้ าขอ้ มลู ไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจอีกดว้ ย กรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2557) ได้ให้ความหมายของ สนิ ทรัพยไ์ ว้ดงั นี้ สนิ ทรัพย์ หมายถงึ ทรพั ยากรทอี่ ยู่ในความควบคมุ ของกจิ การ ทรพั ยากรดงั กลา่ วเป็นผล ของเหตกุ ารณ์ในอดีตซึ่งกจิ การคาดว่าจะได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากทรพั ยากรน้ันในอนาคต ความหมายของสนิ ทรัพย์ จากความหมายของสินทรัพย์ตามท่กี รอบแนวคิดฯ กาหนด หมายความว่า สินทรัพย์ คอื “ส่ิงของท่ีกิจการมีไว้ใช้ในการดาเนินธุรกิจเพ่ือจะได้รับประโยชน์ในอนาคต อยา่ งเต็มที่จากส่ิงของนั้น” และทุกกิจการจะต้องมีสินทรัพย์ไว้ใช้ในการดาเนินงาน ซึ่งสินทรัพย์ที่ มไี ว้ใชใ้ นการดาเนนิ งานส่วนใหญก่ ็คอื ท่ดี นิ อาคารและอุปกรณ์ ซึง่ เปน็ สินทรัพย์ท่ีมีตัวตนที่กิจการ มีไว้เพ่ือจะได้รับประโยชน์จากการใช้ ซึ่งกิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์มากกว่าหน่ึงรอบ ระยะเวลา” ประโยชนท์ ่ีกจิ การไดร้ บั จากสินทรพั ย์ ไดแ้ ก่

320 1. ประโยชน์ที่ได้รับจากการนาสินทรัพย์มาผลิตสินค้า เช่น บริษัท เพรสซิเดนท์เบเกอรี จากัด (มหาชน) มเี ครื่องจกั รท่ีนามาผลิตขนมปัง เพือ่ จาหนา่ ย 2. ประโยชน์ที่ได้รับจากการนาสินทรัพย์มาใช้ในการจาหน่ายสินค้า เช่น ร้านสะดวกซื้อ 7-11 นาตู้นึ่งซาลาเปามานงึ่ ซาลาเปา เปน็ ตน้ รายการทข่ี ดี เส้นใต้ ไดแ้ ก่ ตนู้ ึง่ ซาลาเปา คือ สินทรัพย์ที่กิจการมีไว้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ แก่กิจการ สินทรัพย์ท่ีกิจการมีไว้เพ่ือให้เกิดประโยชน์กับกิจการส่วนใหญ่คือ ท่ีดิน อาคารและ อุปกรณ์ ซึ่งจะให้ประโยชน์มากกว่าหน่ึงรอบระยะเวลารายงาน ก็คือ ให้ประโยชน์มากกว่า 12 เดือน (ตามที่มาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 1 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง การนาเสนองบการเงิน ระบุว่า รอบระยะเวลาดาเนินงานมีระยะเวลา 12 เดือน) เมื่อกิจการได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์แล้ว กจิ การตอ้ งคานวณออกมาเป็นจานวนเงินว่ามูลค่าของประโยชน์ท่ีได้รับมีจานวนเท่าใด ประโยชน์ ที่กิจการได้รับนี้จะเรียกว่า“ค่าเสื่อมราคา” เป็นบัญชีค่าใช้จ่ายของกิจการ เม่ือกิจการได้รับ ประโยชน์จากสินทรัพย์ส่งผลให้มูลค่าของสินทรัพย์ลดลง กิจการต้องคานวณว่า ประโยชน์ที่ กิจการได้รบั นี้เปน็ จานวนเงินเท่าใด เพื่อจะได้ปฏิบัติให้ถูกต้องว่า สินทรัพย์มีมูลค่าลดลงเน่ืองจาก การถูกใช้งานและกจิ การไดร้ บั ประโยชน์จากการใชง้ านน้ัน ความหมายของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์ ได้ให้ ความหมายของคาว่า ท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์ หมายถึง สินทรัพย์ท่ีมีตัวตน ซ่ึงเข้าเง่ือนไขทุกข้อ ตอ่ ไปนี้ 1) กิจการมไี วเ้ พื่อใชป้ ระโยชนใ์ นการผลติ ในการจาหนา่ ยสินค้าหรือให้บริการ เพื่อให้เช่า หรอื เพอ่ื ใชใ้ นการบรหิ ารงาน 2) กจิ การคาดว่าจะใชป้ ระโยชน์มากกว่าหนง่ึ รอบระยะเวลา จากคานิยามของท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์น้ี ตามที่มาตรฐานการบัญชีกาหนด หมายความวา่ ก) ทด่ี นิ อาคารและอุปกรณ์ กจิ การมไี วเ้ พ่ือ 1. ใช้ประโยชน์ในการผลิตสินค้าเพื่อขาย เช่น เครื่องจักรในโรงงานผลิตน้าตาล เครื่องจักร คือสนิ ทรพั ย์ทนี่ ามาใชใ้ นการผลติ น้าตาล น้าตาลเปน็ สินคา้ สาเรจ็ รูปเพอ่ื นาไปขาย 2. ใช้ประโยชน์ในการจาหน่ายสินค้าหรือให้บริการ เช่น ร้านสะดวกซ้ือ 7-11 มี เครื่องรับเงินสดไว้ใช้ในการดาเนินงาน เคร่ืองรับเงินสด คือสินทรัพย์และร้านเสริมสวยมีเครื่องอบ ไอนา้ ไวค้ อยใหบ้ ริการแกล่ กู คา้ เครอ่ื งอบไอน้าคือสินทรัพยข์ องกิจการ เป็นตน้

321 3. ใช้ประโยชน์ในการให้เช่า เช่น อพาร์ทเม้นท์มีห้องพักรายวันให้เช่าเป็นห้องๆ อพารท์ เม้นท์คือสินทรพั ย์ของกจิ การ 4. ใช้ประโยชน์ในการบริหารงาน เช่น รถยนต์ประจาตาแหน่งของผู้จัดการธนาคาร เพือ่ ไปติดตอ่ ลูกค้า รถยนตเ์ ปน็ สนิ ทรพั ย์ของกิจการ ข) กิจการคาดว่าจะได้ใช้ประโยชน์จากการใช้งานท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์นี้มากกว่า หน่ึงรอบระยะเวลา ธารินี พงศ์สพุ ฒั น์ (2555: 7-1) กล่าววา่ สนิ ทรพั ยท์ ี่มคี วามคงทนหรือสินทรัพย์ถาวร หรอื Fixed Assets คณุ สมบัติท่ีสาคัญของสนิ ทรพั ย์ถาวรมีดังน้ี 1. มีไว้ใช้ในการดาเนินงานและไม่มีวตั ถุประสงคท์ จ่ี ะนาออกขาย 2. มีอายุการใช้งานยาวนานและต้องคิดค่าเสื่อมราคา ที่ดินเป็นสินทรัพย์ถาวรประเภท เดียวที่ไม่ต้องคดิ คา่ เสื่อมราคา 3. จับตอ้ งได้ ซงึ่ จะทาให้แตกต่างจากสนิ ทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตน ตามความหมายข้างต้น สินทรัพย์ท่ีให้ประโยชน์มากกว่าหน่ึงรอบระยะเวลาบัญชี จะต้อง เป็นสินทรัพย์ที่มีลักษณะคงทน มีตัวตนและจับต้องได้ กิจการมีไว้เพื่อนามาใช้ในการดาเนินงาน เทา่ นั้น สินทรัพยเ์ หล่านีต้ ้องคิดคา่ เสื่อมราคายกเวน้ ทดี่ ิน ราคาทนุ ของทด่ี ิน อาคารและอุปกรณ์ มาตรฐานการบญั ชีฉบับที่ 16 (ปรบั ปรงุ 2557) เรอื่ ง ท่ีดนิ อาคารและอปุ กรณ์ กาหนดว่า 7 กจิ การต้องรับร้ตู น้ ทุนของรายการท่ดี ิน อาคารและอุปกรณเ์ ปน็ สนิ ทรัพย์ เมอื่ เป็นไป ตามเงือ่ นไขทกุ ข้อ ตอ่ ไปนี้ 7.1 มคี วามเป็นไปได้ค่อนขา้ งแนท่ ่กี จิ การจะได้รับประโยชน์เชงิ เศรษฐกจิ ในอนาคต จากรายการน้นั 7.2 กิจการสามารถวัดมลู ค่าต้นทนุ ของรายการน้นั ได้อย่างสมเหตสุ มผลนา่ เชอื่ ถือ ตามท่ีมาตรฐานการบัญชีกาหนดไว้ หมายความว่า เมื่อกิจการได้พิจารณาว่ารายการท่ี เกิดข้ึนเมื่อเป็นไปตามคานิยามแล้ว รายการท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์นั้น จะต้องถูกนามาบันทึก บญั ชเี ป็นสนิ ทรัพย์ของกิจการ เมื่อเป็นไปตามเง่อื นไขทง้ั 2 ขอ้ คือ 1. กิจการมั่นใจว่ากิจการต้องได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์น้ันในอนาคตตาม วตั ถปุ ระสงค์ท่กี ิจการต้องการ ไมว่ า่ จะโดยทางตรงหรอื ทางอ้อม 2. กิจการสามารถระบุของราคาทุนสนิ ทรัพย์นน้ั ได้อย่างนา่ เชื่อถือ

322 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557) เร่ือง ทด่ี นิ อาคารและอปุ กรณ์ กาหนดวา่ การวดั มูลค่าเมอ่ื รับรู้รายการ 15 กิจการต้องวดั มลู คา่ ของรายการที่ดนิ อาคารและอปุ กรณ์ท่ีเขา้ เง่ือนไขการรับรู้ รายการเปน็ สนิ ทรัพย์โดยใชร้ าคาทุน สว่ นประกอบของราคาทุน 16 ราคาทนุ ของทดี่ ิน อาคารและอุปกรณป์ ระกอบด้วย 16.1 ราคาซ้ือรวมอากรขาเขา้ และภาษีซื้อที่เรยี กคนื ไม่ไดห้ ลงั หักสว่ นลด การคา้ และจานวนท่ไี ดร้ บั คนื จากผูข้ าย 16.2 ต้นทุนทางตรงอ่ืนๆท่เี กย่ี วข้องกบั การจัดหาสนิ ทรัพยเ์ พอื่ ให้สินทรัพยน์ ้ัน อยู่ในสถานที่และสภาพทพ่ี ร้อมจะใชง้ านได้ตามความประสงคข์ องฝา่ ย บริหาร 16.3 ตน้ ทุนท่ปี ระมาณในเบือ้ งต้นสาหรับการรอ้ื การขนยา้ ย และการบูรณะ สถานท่ีตั้งของสินทรัพย์ ซ่ึงเป็นภาระผูกพันของกิจการท่ีเกิดขึ้นเม่ือ กิจการได้สินทรัพย์น้ันมาหรือเป็นผลจากการใช้สินทรัพย์นั้นในช่วงเวลา หนึ่ ง เพื่ อวัตถุปร ะ สง ค์ ต่าง ๆท่ี มิ ใช่ เ พ่ือวัตถุประ ส งค์ ใ นการผ ลิ ต สิ น ค้ า คงเหลือในระหว่างรอบระยะเวลานัน้ 17 ตัวอยา่ งของตน้ ทุนทางตรงอน่ื ทีเ่ ก่ียวข้อง ไดแ้ ก่ 17.1 ตน้ ทนุ ผลประโยชนข์ องพนักงาน (ตามท่ีกาหนดในมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 19 เร่ือง ผลประโยชน์พนักงาน) ท่ีเกิดขึ้นโดยการ กอ่ สร้างหรอื การไดม้ าซึง่ ทดี่ นิ อาคารและอุปกรณ์ 17.2 ตน้ ทุนการเตรียมสถานที่ 17.3 ตน้ ทุนการขนส่งเร่ิมแรกและการเกบ็ รักษา 17.4 ตน้ ทุนการติดตั้งและการประกอบ 17.5 ต้นทุนในการทดสอบวา่ สนิ ทรพั ยน์ ั้นสามารถใช้งานไดอ้ ย่างเหมาะสม หรือไม่หลังหักมูลค่าส่ิงตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการขายรายการต่างๆท่ี ผลิตได้ในการเตรียมความพร้อมของสินทรัพย์เพื่อให้อยู่ในสถานที่และ สภาพที่พร้อมจะใช้งานได้ (เช่น สินค้าตัวอย่างที่ผลิตขึ้นในช่วงการ ทดสอบอปุ กรณ)์ และ 17.6 ค่าธรรมเนยี มวชิ าชพี

323 ตามที่มาตรฐานการบัญชีกาหนด ราคาทุนของท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์ท่ีจะถูกนาไป บนั ทกึ บญั ชคี านวณจากราคาซ้ือรวมอากรขาเข้าและภาษีซ้ือที่เรียกคืนไม่ได้หลังหักส่วนลดการค้า และจานวนท่ีได้รับคืนจากผู้ขายและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการได้สินทรัพย์มาเพื่อให้ สนิ ทรพั ยน์ ้ันสามารถนามาใชง้ านได้ตามท่ีกิจการได้กาหนดไว้ และอีกรายการหนึ่งในกรณีท่ี กิจการได้เช่าสินทรัพย์นั้นจะต้องรวมรายการนี้เข้าไปในราคาทุนของสินทรัพย์ด้วย คือค่าใช้จ่ายท่ี เกิดขึ้นจากการรื้อถอนซากเก่า การขนซากเก่าไปทิ้ง การบูรณะให้เป็นเหมือนเดิม แต่ถ้าหากเป็น สนิ ทรัพยข์ องกิจการเอง ไมต่ อ้ งนารายการน้มี ารวมคานวณในราคาทุน ตัวอยา่ งของต้นทนุ ทางตรงทเี่ ก่ียวข้องกับการไดม้ าซ่ึงสินทรพั ย์ ได้แก่ 1. ตน้ ทนุ ในการเตรยี มสถานท่ี เช่น การกอ่ อิฐทาฐานเพ่อื วางเครอ่ื งจักร 2. ต้นทุนในการขนส่งเริ่มแรกและการเก็บรักษา เช่น กิจการสั่งเครื่องจักรมาจาก ต่างประเทศจะต้องมีค่าขนส่งเร่ิมแรกและเม่ือเคร่ืองจักรเดินทางมาถึงก่อนจะทาการติดตั้ง อาจมี คา่ ใช้จ่ายในการเก็บรักษา 3. ต้นทุนในการติดต้ังและการประกอบ เช่น เคร่ืองปรับอากาศจะต้องมีการติดต้ังและ ทดสอบกอ่ นใช้งานจรงิ 4. ตน้ ทนุ เร่มิ แรกในการใช้งานสนิ ทรัพย์ คอื การทดสอบว่าสินทรัพย์นั้นสามารถใช้งานได้ ตามปกติหรือไม่ เช่น การซ้ือวัตถุดิบมาทดสอบกับเคร่ืองจักรว่าสามารถใช้ผลิตผลิตภัณฑ์ที่ ต้องการได้ รายจ่ายท่เี กิดจากการซื้อวัตถุดบิ สามารถนามารวมเปน็ ราคาทนุ ของสนิ ทรัพยน์ ัน้ 5. ค่าธรรมเนยี มวิชาชีพ หมายถึง การให้คาปรึกษา ใหค้ าแนะนา ใหร้ ายละเอียดเพิ่มเติม ในการนาสินทรพั ยม์ าใชง้ านเพือ่ จะไดใ้ ช้งานสนิ ทรัพย์ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ตัวอย่างที่ 6-1 วันที่ 15 มีนาคม 2557 กิจการต้องปรับปรุงสถานที่เพ่ือติดต้ังเคร่ืองปรับอากาศ ขนาดใหญ่ เสียค่าใช้จ่าย 100,000 บาท วันท่ี 1 เมษายน 2557 กิจการซ้ือเคร่ืองปรับอากาศมาใน ราคาทุน 800,000 บาท ได้รับส่วนลดการค้า 5 % กิจการจ่ายค่าติดต้ัง 16,000 บาท กิจการได้ทา การทดสอบเคร่อื งปรับอากาศก่อนใช้งานจริงจานวน 4,000 บาท จากน้ันกิจการได้อบรมพนักงาน เกย่ี วกบั การใช้งานเครือ่ งปรับอากาศมีคา่ ใช้จ่าย 3,000 บาท

324 การคานวณราคาทุนของเครื่องปรับอากาศ ราคาซอื้ เครื่องปรบั อากาศ 800,000 หกั สว่ นลดการค้า 5% (800,000 x 5%) 40,000 คงเหลอื 760,000 บวก คา่ ปรับปรุงสถานท่ี 100,000 คา่ ติดตั้ง 16,000 ค่าใช้จา่ ยในการทดสอบกอ่ นใชง้ านจริง 4,000 รวมราคาทุนของเคร่ืองปรับอากาศ 880,000 ราคาทุนของอุปกรณ์คานวณได้ เท่ากับ 880,000 บาท โดยไม่นาค่าใช้จ่ายใน การอบรมพนกั งานเกี่ยวกับการใชง้ านเคร่ืองปรับอากาศ 3,000 บาท มารวม การบันทึกบญั ชี ดังนี้ สมุดรายวันท่ัวไป พ.ศ. 2556 รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต 883,000 บัญชี 880,000 3,000 เม.ย. 1 อปุ กรณส์ านักงาน ค่าใช้จา่ ยในการบรหิ าร เงนิ สด/เจา้ หนี้ บั น ทึ ก ร า ค า ทุ น ข อ ง สิ น ท รั พ ย์ แ ล ะ คา่ ใช้จ่ายตา่ งๆท่เี กี่ยวข้อง การจดั หาท่ดี ิน อาคารและอุปกรณ์ เม่ือกิจการมีความจาเป็นต้องจัดหาสินทรัพย์มาเพื่อใช้ในการดาเนินงาน การพิจารณา อย่างละเอยี ด การลงทุนในสินทรัพย์เป็นเร่ืองสาคัญ ทาให้กิจการได้สินทรัพย์มาใช้งานได้ตรงตาม วัตถุประสงค์อย่างแท้จริง ดังน้ัน กิจการอาจได้สินทรัพย์มาจากการซื้อ การแลกเปล่ียน การสร้าง สินทรพั ยข์ ้ึนใช้เองหรืออาจได้สนิ ทรพั ย์มาจากการรับบรจิ าค สามารถแบ่งเป็นข้อๆ ดงั น้ี 1. การซ้ือสินทรัพย์ หากกิจการซื้อสินทรัพย์มาเพียงชนิดเดียวและสามารถระบุราคา ซ้ือได้อย่างชัดเจน กิจการก็จะสามารถกาหนดราคาทุนของสินทรัพย์ได้ทันที และรายการใดบ้างที่ จะต้องนามารวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ มาตรฐานการบัญชีได้กาหนดไว้แล้วในหัวข้อ “ราคา ทุนของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์” แต่ถ้าหากกิจการซื้อสินทรัพย์มาในราคาซ้ือที่รวมกัน สินทรัพย์

325 ตา่ งๆอาจมรี าคาทุนไม่เทา่ กนั อายุการใหป้ ระโยชนไ์ มเ่ ทา่ กัน เป็นต้น กิจการต้องแยกรายการ สินทรัพย์ต่างๆออกจากกันและระบุมูลค่าของสินทรัพย์แต่ละรายการอย่างชัดเจน ทั้งน้ีเพื่อจะได้ ทราบราคาทุนทแี่ ท้จรงิ และรายการบางรายการไมน่ ามาคานวณค่าเสอื่ มราคา เป็นต้น เมื่อกิจการซื้อสินทรัพย์มารวมกัน เช่น ซื้ออาคารพร้อมอุปกรณ์ในอาคาร การจะแยกรายการ สินทรัพย์ต่างๆ ออกจากกัน สามารถทาโดยการประเมินมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์แต่ละชนิด หากสามารถประเมินมูลค่ายุติธรรมของอาคารและอุปกรณ์ได้ครบทุกชนิด ให้คานวณจากต้นทุน ของสินทรพั ย์ทาให้เป็นสัดส่วนเดียวกันกับมูลค่ายุติธรรมน้ัน แต่ถ้าหากกิจการไม่สามารถประเมิน มลู คา่ ยตุ ธิ รรมของอาคารและอุปกรณ์ไดค้ รบทัง้ หมด ให้นามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ท่ีหาได้เป็น หลักก่อน ส่วนท่ีเหลือคือราคาทุนของสินทรัพย์ท่ีไม่สามารถประเมินราคายุติธรรมได้ โดยท่ี มาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 16 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ได้ให้คานิยามของ คาวา่ “มูลค่ายตุ ธิ รรม” ดงั น้ี มูลค่ายุติธรรม หมายถึง ราคาท่ีจะได้รับจากการขายสินทรัพย์หรือจะจ่ายเพื่อโอนหนี้สิน ในรายการทเ่ี กิดข้ึนในสภาพปกตริ ะหวา่ งผ้รู ว่ มตลาด ณ วันทวี่ ดั มลู คา่ จากความหมายของ มลู คา่ ยตุ ธิ รรม หมายความวา่ มูลค่าของสินทรัพย์ที่กิจการสามารถ ขายออกไปได้ โดยมลู ค่าน้ันเกดิ ข้นึ รว่ มกันระหว่างผู้ซอื้ และผูข้ าย ณ วันที่มกี ารซ้ือขายสินทรัพย์ ตัวอย่างที่ 6-2 วันท่ี 1 เมษายน 2556 กิจการซ้ืออาคารพร้อมท่ีดินในราคารวม 2,000,000 บาท การประเมินมูลค่ายุตธิ รรมของอาคาร 720,000 บาท และมลู ค่ายุตธิ รรมของทด่ี ิน 1,680,000 บาท การคานวณตน้ ทุนของอาคารและท่ดี นิ เพ่ือให้เปน็ สัดสว่ นเดียวกันกับมลู ค่ายุติธรรม ทาได้ ดงั น้ี สนิ ทรัพย์ มลู ค่ายุตธิ รรมรวมของทดี่ ินและ คิดเทยี บกับ 100 อาคาร อาคาร ( บาท ) 720,000 x 100 = 30 % 720,000 2,400,000 ทด่ี ิน 1,680,000 1,680,000x 100 = 70 % 2,400,000 รวม 2,400,000 100 % จากการคานวณในตาราง หมายความว่าอาคารคิดเป็น 30% ของมูลค่ายุติธรรมรวมและ ทด่ี นิ คิดเป็น 70% ของมลู ค่ายุตธิ รรมรวม

326 ดังนั้น การคานวณหาราคาทุนของอาคารและที่ดินคิดเป็นสัดส่วนเดียวกับมูลค่ายุติธรรม ได้ ดังนี้ สนิ ทรัพย์ ราคาทนุ ของทดี่ ินและอาคาร ( บาท ) อาคาร 2,000,000 x 30 % = 600,000 ท่ีดิน 2,000,000 x 70 % = 1,400,000 รวม = 2,000,000 การบนั ทกึ บัญชี เปน็ ดังน้ี สมุดรายวันทั่วไป หนา้ 10 เครดิต พ.ศ. 2556 รายการ เลขที่ เดบิต 2,000,000 บัญชี เม.ย. 1 อาคาร 600,000 ที่ดิน 1,400,000 เงินสด/เจา้ หนี้ บนั ทึกราคาทุนของอาคารและที่ดนิ แต่ถา้ หาก กจิ การสามารถประเมินมูลค่ายุติธรรมของที่ดิน 1,680,000 บาท ได้เพียงชนิด เดยี ว กจิ การต้องนามลู ค่ายุติธรรมของท่ีดินมาหักออกจากราคาทุนรวมท่ีซ้ือมา ส่วนท่ีเหลือจะเป็น ราคาทุนของอาคาร ดงั น้ี ราคาทุนรวมอาคารและทีด่ นิ = 2,000,000 บาท มูลคา่ ยุติธรรมของทีด่ ิน = 1,680,000 บาท มลู ค่ายุติธรรมของอาคาร = 2,000,000 - 1,680,000 = 320,000 บาท การบนั ทึกบัญชี เป็นดงั นี้ สมุดรายวันทวั่ ไป หนา้ 10 พ.ศ. 2556 รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต บญั ชี เม.ย. 1 อาคาร 320,000 ท่ีดนิ 1,680,000 เงนิ สด/เจา้ หนี้ 2,000,000 บันทึกราคาทนุ ของอาคารและท่ีดนิ

327 2. การแลกเปลย่ี นสินทรพั ย์ มาตรฐานการบญั ชีฉบับท่ี 16 (ปรับปรงุ 2557) เร่อื ง ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ กาหนดวา่ 24. กจิ การอาจไดร้ ับรายการทดี่ ิน อาคารและอุปกรณ์จากการแลกเปลี่ยนกับรายการ สินทรัพย์ที่ไม่เป็นตัวเงินหรือแลกเปล่ียนกับทั้งรายการสินทรัพย์ท่ีเป็นตัวเงินและ เปน็ ตัวเงิน ข้อพิจารณาทจี่ ะกลา่ วตอ่ ไปนเ้ี ปน็ ขอ้ พิจารณาสาหรับกรณีแลกเปลี่ยน สินทรัพย์ที่ไม่เป็นตัวเงินกับสินทรัพย์ท่ีเป็นตัวเงินอื่น อย่างไรก็ตาม กิจการ สามารถประยุกต์ใช้ข้อพิจารณาดังกล่าวกับการแลกเปล่ียนทุกกรณีท่ีกล่าวไว้ได้ กิจการต้องวัดมูลค่าต้นทุนของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ได้รับจากการ แลกเปลย่ี นดังกลา่ วดว้ ยมูลคา่ ยตุ ิธรรม ยกเว้นในกรณีใดกรณีหนง่ึ ดังตอ่ ไปน้ี 24.1 รายการแลกเปลีย่ นขาดเน้ือหาเชงิ พาณชิ ย์ 24.2 กิจการไม่สามารถวดั มูลคา่ ยุติธรรมทั้งของสินทรัพย์ที่ได้มาและสนิ ทรัพย์ที่ นาไปแลกไดอ้ ย่างน่าเชื่อถือกิจการต้องวัดมูลค่ารายการสินทรัพย์ที่ได้มา ตามแนวทางนี้ ถงึ แม้ว่ากจิ การจะไม่สามารถตัดรายการสินทรัพย์ที่นาไป แลกเปลี่ยนได้ในทันที หากสินทรัพย์ที่ได้มาไม่ได้วัดด้วยมูลค่ายุติธรรม กิจการต้องวัดมูลค่าสินทรัพย์นั้นโดยใช้มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ท่ี นาไปแลกเปล่ยี น ตามท่ีมาตรฐานการบัญชีกาหนดไว้ หมายความว่า เม่ือเกิดการแลกเปลี่ยนของท่ีดิน อาคารและอปุ กรณ์ ในการแลกเปลีย่ นจะตอ้ งใช้มลู คา่ ยตุ ธิ รรมในการบันทึกบัญชี ยกเว้นกรณีใด กรณหี นงึ่ ดังน้ี 1. การแลกเปลี่ยนขาดเน้ือหาเชิงพาณชิ ย์หรอื 2. กิจการไม่สามารถวัดมูลค่ายุติธรรมทั้งของสินทรัพย์ที่ได้มาและของสินทรัพย์ที่ นาไปแลกไดอ้ ย่างนา่ เชื่อถือ หลักเกณฑ์ในการแลกเปลี่ยนสินทรพั ย์ 1. การแลกเปล่ยี นใชม้ ูลค่ายุตธิ รรม 1.1 กิจการสามารถวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่นาไปแลกเปลี่ยนได้อย่าง น่าเชื่อถือ กิจการต้องบันทึกบัญชีจานวนเงินของสินทรัพย์ท่ีได้มาเท่ากับมูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์ที่นาไปแลกเปลี่ยน อาจเกิดกาไรหรือขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน แล้วแต่กรณี พิจารณา ได้ 3 แบบ ดังนี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook